Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2020-12-15 04:29:17

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 22 3. นักเรียนและครรู ่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีการคำนวณจากกราฟความสัมพนั ธ์ทีก่ ำหนด เพื่อให้นกั เรียน สรปุ สาระสำคัญลงในสมุดจดบนั ทกึ ขน้ั สรปุ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครนู ำนักเรยี นอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับกราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างปริมาณต่าง ๆ ของการเคล่ือนท่ี แนวตรง 2. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนือ้ หาเรอื่ ง กราฟความสัมพนั ธร์ ะหว่างระยะทาง ความเรว็ กับเวลา ว่า มสี ่วนไหนทย่ี งั ไมเ่ ข้าใจและใหค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ ในส่วนนน้ั โดยที่ครูอาจจะใช้ PowerPoint เรื่อง กราฟแสดง ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าณตา่ ง ๆ ของการเคลอื่ นทแี่ นวตรง ช่วยในการอธิบาย 3. ครูใหน้ ักเรียนร่วมกนั ทำใบงานที่ 2.5 เรือ่ ง กราฟความสมั พันธ์ระหวา่ งระยะทาง ความเร็ว กบั เวลา 4. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 2 เรื่อง กราฟแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างปริมาณต่าง ๆ ของการเคล่อื นทีแ่ นวตรง ในหนงั สือเรียนหน้า 80-82 เปน็ การบา้ น ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูสังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้และการร่วมกิจกรรมของนักเรยี น 2. ครสู งั เกตการตอบคำถามของนักเรียน 3. ครูตรวจสอบผลจากใบงานท่ี 2.5 เรือ่ ง กราฟความสัมพันธร์ ะหว่างระยะทาง ความเรว็ กับเวลา 4. ครตู รวจการทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 2 เร่ือง กราฟแสดงความสัมพันธร์ ะหว่างปรมิ าณตา่ ง ๆ ของการเคลือ่ นที่แนวตรง จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 23 7. การวดั และประเมินผล รายการวัด วธิ วี ัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 7.1 การประเมนิ ระหว่าง - ใบงานท่ี 2.5 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ การจัดกิจกรรม - ผลงานท่นี ำเสนอ ระดับคุณภาพ 2 - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑ์ 1) กราฟ - ตรวจใบงานที่ 2.5 การทำงานรายบคุ คล ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งระยะทาง ความเรว็ กบั เวลา 2) การนำเสนอ - ประเมนิ การนำเสนอ ผลงาน ผลงาน 3) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤติกรรม ทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล 4) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคณุ ภาพ 2 ทำงานกลมุ่ การทำงานกลุ่ม การทำงานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ - สังเกตความมีวินยั - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2 5) คุณลักษณะ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมัน่ คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ อันพึงประสงค์ ในการทำงาน อันพึงประสงค์ 8. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี น รายวิชาเพม่ิ เตมิ ฟิสกิ ส์ ม.4 เล่ม 1 2) ใบงานที่ 2.5 เร่ือง กราฟความสัมพันธร์ ะหว่างระยะทาง ความเร็ว กับเวลา 3) PowerPoint เรือ่ ง การเคลือ่ นทใ่ี นแนวตรง 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมดุ 3) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 24 9. การบรู ณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลกั ปรัชญา ครู ผู้เรียน ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดดี ้านจติ ใจ รูจ้ ักใชเ้ ทคโนโลยมี าผลิตส่ือที่ มีจติ สำนกึ ท่ีดี จติ สาธารณะรว่ ม 2. ความมเี หตผุ ล อนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ เหมาะสมและสอดคล้องเนื้อหาเปน็ ส่งิ แวดล้อม ประโยชน์ต่อผเู้ รยี นและพฒั นาจากภมู ิ ปญั ญาของผเู้ รียน ไมห่ ยุดนง่ิ ทหี่ าหนทางในชีวิต หลุดพน้ - ยึดถือการประกอบอาชพี ด้วยความ จากความทกุ ขย์ าก (การค้นหาคำตอบ ถูกต้อง สุจรติ เพอื่ ให้หลดุ พ้นจากความไมร่ ้)ู ภมู ปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ 3. มีภูมคิ ุมกนั ในตัวท่ดี ี ภมู ิปัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ รบั ผิดชอบ ระมดั ระวงั สรา้ งสรรค์ ระมดั ระวงั ความรอบรู้ เรอ่ื ง กราฟแสดง ความสมั พนั ธร์ ะหว่างปรมิ าณตา่ ง ๆ 4. เงอื่ นไขความรู้ ความรอบรู้ เร่อื ง กราฟแสดง สามารถนำความรู้เหลา่ นน้ั มาพิจารณา ใหเ้ กดิ ความเชื่อมโยง สามารถ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปริมาณต่าง ๆ ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มคี วาม ที่เก่ียวขอ้ งรอบด้าน นำความรู้มา ซื่อสัตยส์ จุ ริตและมีความอดทน มี ความเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนิน เชอ่ื มโยงประกอบการวางแผน การ ชีวติ ดำเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ผู้เรียน ความหลากหลายทางชีวภาพ 5. เงือ่ นไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มี - สำรวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ในโรงเรยี น (ตามจุดที่ไดร้ ับมอบหมาย) ความซ่ือสตั ยส์ ุจริตและมคี วามอดทน ผู้เรียน มีความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบค้นข้อมูลการอนุรกั ษ์ความ ดำเนนิ ชีวิต หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหัวข้อที่ ได้มอบหมาย) สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชวี ภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง ชีวภาพในโรงเรยี น (กำหนดจดุ ให้ ผเู้ รยี นสำรวจ) สงิ่ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ กั ษ์ความหลากหลาย - การอนรุ ักษค์ วามหลากหลายทาง ทางชวี ภาพ ชีวภาพ (กำหนดหัวขอ้ ให้ผูเ้ รยี น สืบค้น) จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 25 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผชู้ ่วยผู้อำนวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางสาวรัตตกิ าล ยศสขุ ) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 26 11. บันทึกผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤตกิ รรมท่มี ีปัญหาของนักเรียนเปน็ รายบุคคล (ถา้ ม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชอ่ื .........................................................ครูผสู้ อน (นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 27 ใบงานท่ี 2.5 เรอื่ ง กราฟความสมั พันธ์ระหวา่ งระยะทาง ความเร็ว กบั เวลา คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปน้ี 1. กราฟแสดงความสมั พันธ์ระหว่างการกระจัด (m) และเวลา (s) จากการเคล่ือนท่ีของวตั ถุ จงหา 1.1 ระยะทางทั้งหมด 1.2ความเรว็ เฉล่ีย ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… …………………………………… ……………………………………………………………… 2 จากกราฟ a – t เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุจากจุด หยดุ น่ิง ตลอดระยะเวลา 20 วนิ าที วตั ถุเคลือ่ นทไ่ี ดร้ ะยะทางเทา่ ใด จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 28 ใบงานที่ 2.5 เฉลย เรือ่ ง กราฟความสมั พนั ธ์ระหว่างระยะทาง ความเรว็ กับเวลา คำช้ีแจง : ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามต่อไปนี้ 1. กราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างการกระจัด (m) และเวลา (s) จากการเคลื่อนท่ีของวตั ถุ จงหา 1.1 ระยะทางท้งั หมด 1.2 ความเรว็ เฉล่ยี วธิ ีทำ ระยะทางทง้ั หมด = พื้นที่ A +พื้นที่ B + พ้นื ท่ี C วธิ ที ำ ความเร็วเฉลี่ย = การกระจดั ทง้ั หมด เวลาทง้ั หมด = 1 (2)(200) + 1 (200 + 400)(4) + 1 (2)(400) 22 2 = 1800 = 200 + 1200 + 400 8 = 1800 = 225 ดังนั้น ระยะทางทง้ั หมดมคี ่าเท่ากบั 1800 เมตร ดังนนั้ ความเร็วเฉลีย่ มีค่าเท่ากับ 225 เมตรต่อวินาที 2 จากกราฟ a – t เปน็ การเคล่อื นทขี่ องวัตถจุ ากจดุ หยดุ นง่ิ ตลอดระยะเวลา 20 วนิ าที วตั ถุเคลื่อนทไี่ ด้ระยะทางเท่าใด วิธีทำ ต้องเปล่ยี นเปน็ กราฟ v – t จะได้ ทวี่ นิ าทีที่ 5 มีความเรว็ = พื้นที่ A = (2)(5) = 10 ท่วี ินาทีท่ี 5 มีความเร็วเท่ากับ10 m/s2 ระยะทางทีว่ ัตถุเคลือ่ นที่ = พน้ื ที่ใตก้ ราฟ = 1 (5)(10) + (10 - 5)(10) + 1 (10 - 22 15)(10) + 0 = 25 + 50 + 25 = 100 ดงั น้ัน วัตถุเคลื่อนทีไ่ ด้ระยะทาง 100 เมตร จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 16 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1/2563 กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า ฟิสกิ ส์ 1 (ว31201) หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การเคลื่อนทใ่ี นแนวตรง จำนวนเวลาท่ีสอน 3 ช่วั โมง เรื่อง การเคลื่อนทีข่ องวตั ถุกรณีความเร่งคงตัว ครูผ้สู อน นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา 1. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (ความเข้าใจท่ีคงทน) การเคล่อื นที่ของวัตถุแนวตรงในกรณีความเร่งมีค่าคงตัว คือ การทวี่ ัตถุเคลอื่ นท่ีด้วยความเรง่ โดยมีทั้งขนาด และทิศทางเหมือนเดิมตลอดเวลาของการเคลื่อนที่ โดยสมการการเคลื่อนที่ของวัตถุทีเ่ กี่ยวข้องมีความสัมพันธ์ ตามสมการ v = u + at u+v ∆x = ( 2 ) t ∆x = ut + 1 at2 2 v2 = u2 + 2a∆x 2. ผลการเรยี นรู้ 3. ทดลองและอธบิ ายความสัมพันธร์ ะหวา่ งตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการเคลอ่ื นท่ี ของวตั ถใุ นแนวตรงทีม่ ีความเรง่ คงตัวจากกราฟและสมการ รวมทัง้ ทดลองหาค่าความเรง่ โนม้ ถว่ งของโลก และ คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่เก่ียวข้องได้ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ งการกระจัด เวลา ความเร็ว ความเรง่ ของการเคล่ือนที่เส้นตรงได้ 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) มีทักษะการคำนวณหาปรมิ าณทีเ่ ก่ียวข้องกบั การเคลอื่ นท่ีในแนวตรง 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 3) ทำงานร่วมกบั ผอู้ ื่นอย่างสร้างสรรค์ ยอมรบั ความคดิ เห็นของผอู้ นื่ ได้ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 17 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เน้อื หาสาระหลกั : Knowledge (ผเู้ รยี นตอ้ งรอู้ ะไร) - ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ ตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง โดยความเร็ว และความเร่งมีทั้งค่าเฉลี่ยและค่าขณะหนึ่งซึ่งคิดในช่วงเวลาสั้น ๆ สำหรับปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ เคล่อื นที่แนวตรงด้วยความเรง่ คงตวั มคี วามสัมพันธต์ ามสมการ v = u + at u+v ∆x = ( 2 ) t ∆x = ut + 1 at2 2 v2 = u2 + 2a∆x - การอธบิ ายการเคลือ่ นท่ขี องวัตถุสามารถเขยี นอยูใ่ นรูปกราฟตำแหน่งกบั เวลา กราฟความเรว็ กับเวลา หรอื กราฟความเรง่ กับเวลา ความชันของเส้นกราฟตำแหนง่ กบั เวลาเป็นความเรว็ ความชันของเส้นกราฟความเรว็ กบั เวลาเป็นความเร่ง และพ้นื ที่ใตเ้ ส้นกราฟความเร็วกบั เวลาเป็นการกระจดั ในกรณที ่ีผู้สังเกตมีความเร็ว ความเร็วของวตั ถุ ทีส่ งั เกตไดเ้ ปน็ ความเรว็ ที่เทยี บกับผูส้ งั เกต 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รียนสามารถปฏิบัติอะไรได้) - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทักษะการสงั เกต - ทกั ษะการส่อื สาร - ทักษะการทำงานร่วมกัน - ทักษะการนำความรไู้ ปใช้ 4.3 คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ : Attitude (ผูเ้ รียนควรแสดงพฤตกิ รรมการเรียนอะไรบ้าง) - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - มุง่ มัน่ ในการทำงาน - มคี วามซอ่ื สตั ย์ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 18 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียนและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี ินยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน 2) ทักษะการสงั เกต 4. มคี วามซอื่ สตั ย์ 3) ทกั ษะการสอื่ สาร 4) ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน 5) ทักษะการนำความร้ไู ปใช้ 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้  แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชวั่ โมงที่ 1 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เดิม เกี่ยวกับ ตำแหน่งระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว และความเร่ง เชื่อมโยงเนื้อหาโดยนักเรียนร่วมกันตอบคำถาม เกี่ยวกับ อัตราเร็วและระยะทางมี ความสัมพันธ์กันอย่างไร (ทิ้งช่วงให้นักเรียนคิด) เพื่อนำไปสู่การศึกษา เรื่อง สมการที่ใช้ในการคำนวณ ปรมิ าณต่าง ๆ ของการเคลื่อนท่ีในแนวตรงของวตั ถุทม่ี ีความเรง่ คงตวั 2. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน หน้า 60 ว่า “วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัวจะมี ลักษณะการเคล่ือนทเี่ ป็นอย่างไร” เพอ่ื เปน็ การกระตนุ้ ให้นักเรยี นร่วมกันคดิ (แนวตอบ : วตั ถุจะเคลือ่ นท่ีด้วยความเร่งโดยมที ัง้ ขนาดและทิศทางเหมอื นเดิมตลอดเวลาของการ เคลื่อนที่) 3. นักเรยี นชว่ ยกันอภิปรายและแสดงความคดิ เหน็ 4. ครสู ามารถกระต้นุ ความสนใจของนักเรยี น โดยการเปดิ โปรแกรมสาธิตการเคลือ่ นท่ีของวัตถุด้วยความเร่ง คงตัว จาก http://www.walter-fendt.de/html5/phth/acceleration_th.htm ซึ่งครูอาจจะขอ อาสาสมัครนักเรียนให้ออกมาหน้าชั้นเรียนเพื่อเป็นตัวแทนในการสาธิตการใช้โปรแกรม โดยแนะนำให้ นกั เรียนนำโปรแกรมไปศกึ ษาในเรอ่ื ง การเคลื่อนท่ดี ้วยความเรง่ คงตัว นอกเวลาเรียนได้ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 19 โปรแกรมเรอ่ื ง การเคลื่อนทีด่ ้วยความเร่งคงตวั ชว่ั โมงที่ 2 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครใู ห้นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ แต่ละร่วมกันสบื ค้นขอ้ มูลเกย่ี วกบั สมการที่ใชใ้ นการคำนวณการเคลื่อนท่ีในแนว ตรงดว้ ยความเรง่ คงตัว จากหนงั สอื เรยี น หน้า 60 – 61 โดยถามนกั เรียนวา่ จากกราฟ เราสามารถหา สมการของระยะทางของการเคล่ือนท่ีด้วยความเร่งคงตัว ได้อยา่ งไร 2. สมาชิกทกุ คนในกลุ่มช่วยกันอภปิ รายและแสดงความคดิ เห็นคำตอบทไี่ ด้ 3. ครูอธิบายให้ความรู้เกีย่ วกับสมการทใ่ี ช้ในการคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ของการเคล่ือนท่ีในแนวตรงของวตั ถุ ทีม่ คี วามเร่งคงตัว ดงั น้ี เมือ่ วัตถมุ ีการเคลอื่ นท่ใี นแนวตรงโดยให้มีความเรง่ a คงตวั ทเ่ี วลาเร่มิ ตน้ t = 0 มคี วามเร็วตน้ u และ เม่ือเวลาผ่านไป t ใหว้ ัตถนุ ้ันมีความเร็วปลายเป็น v ถา้ เขียนกราฟระหว่างความเรว็ และทใ่ี ช้ จะได้กราฟ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 20 จากความเร่ง a = ∆v = v−u (A) ∆t t ดงั นั้น v = u + at ครอู ธิบายต่อว่า จากสมการ (A) นกั เรยี นจะเหน็ ได้ว่า เราสามารถหาค่าความเรว็ ของวัตถุท่ีเวลาใด ๆ ก็ ไดถ้ า้ หากวา่ รคู้ ่าความเร็วเริม่ ตน้ และรู้ความเร่ง การเปลย่ี นแปลงความเรว็ จะเพิม่ ข้ึนอย่างเชงิ เส้นตามเวลา เพราะความเรง่ ของการเคล่อื นทม่ี คี า่ คงตัว ดังกราฟ ทำให้ได้ว่า ความเร็วเฉลีย่ ในชว่ งเวลาใด ๆ จะเทา่ กับ คา่ เฉล่ยี ของความเรว็ ของสองจดุ นน้ั ๆ ให้ ∆x เปน็ การกระจดั ของวัตถุ จากนยิ ามของความเร็วเฉล่ยี และใช้ความสัมพนั ธใ์ นสมการ (A) ทำให้ได้สมการของการกระจดั ในอกี รูปแบบหนึง่ ดงั น้ี ∆x = (u+v) t (B) 2 4. ครูใหน้ ักเรียนลองแทนค่า t จากสมการ (A) ในสมการ (B) จะได้อกี รปู แบบหน่งึ ของความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง ดังน้ี ∆x = ut + 1 at2 (c) 2 และยงั สามารถแสดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งความเร็วปลายกับความเรง่ และการกระจดั โดยท่ีไมม่ ตี วั แปร ของเวลาเขา้ มาปรากฎในสมการ ดังน้ี v2 = u2 + 2a∆x (D) 5. ครแู ละนกั เรียนแตล่ ะร่วมกนั อภปิ รายสรปุ ไดว้ ่า สมการการเคล่อื นท่ดี ว้ ยความเร่งคงตัวท่ีได้จะใช้ในการ วเิ คราะห์โจทย์ปญั หาสำหรบั การเคลื่อนท่ีของวตั ถุใด ๆ ได้ ดังตาราง สมการของการเคล่อื นทขี่ องวัตถใุ น แนวตรงภายใตค้ วามเร่งคงตวั สมการ ข้อมูลท่ีไดจ้ ากสมการ ความเรว็ ท่เี ป็นฟงั ก์ชันของเวลา v = u + at การกระจดั ท่ีเปน็ ฟังกช์ ันของความเรว็ u+v ∆x = ( 2 ) t การกระจดั ที่เปน็ ฟงั ก์ชันของเวลา ∆x = ut + 1 at2 ความเร็วท่เี ป็นฟงั กช์ นั ของการกระจดั 2 v2 = u2 + 2a∆x จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 21 ช่วั โมงท่ี 3 ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนร่วมกันศึกษาโจทย์ตัวอยา่ งของวิธีการคำนวณจากสมการการเคลื่อนที่กรณีความเร่งคงตัว จากตัวอยา่ งท่ี 2.13 ในหนงั สือเรียน หนา้ 62 โดยครูอธิบายเสริมเพ่อื ใหน้ ักเรยี นเข้าใจมากขน้ึ 2. ครูให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มศึกษาตัวอย่างที่ 2.14 2.15 และ 2.16 ในหนังสือเรียนหน้า 62-63 ตามขั้นตอน การแก้โจทย์ปญั หา ดงั น้ี • ขน้ั ท่ี 1 ครใู หน้ กั เรียนทุกคนทำความเข้าใจโจทย์ตัวอยา่ ง • ข้นั ที่ 2 ครถู ามนักเรยี นว่า ส่ิงทโ่ี จทย์ต้องการถามหาคืออะไร สงิ่ ที่โจทยก์ ำหนดให้คืออะไร และจะ หาส่ิงท่ีโจทย์ต้องการ ตอ้ งใช้สมการใด • ข้นั ท่ี 3 ครูให้นกั เรียนดวู ธิ ีทำในการคำนวณหาคำตอบ • ข้ันที่ 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตัวอย่างวา่ ถกู ต้อง หรอื ไม่ 3. นกั เรยี นและครรู ่วมกันอภิปรายเกี่ยวกบั วิธีการคำนวณจากสมการการเคลอื่ นท่กี รณีความเรง่ คงตัว เพื่อให้ นักเรียนสรปุ สาระสำคัญลงในสมดุ จดบันทกึ ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรียนสอบถามเนื้อหาเร่ือง การเคล่อื นที่ของวัตถุกรณีความเรง่ คงตัว ว่ามีส่วนไหนท่ียัง ไม่เข้าใจและใหค้ วามร้เู พิม่ เติมในส่วนน้ัน 2. ครูให้นกั เรยี นร่วมกันทำใบงานที่ 2.6 เรอ่ื ง การเคล่อื นทดี่ ้วยความเรง่ คงตัว 3. ครมู อบหมายใหน้ กั เรียนแต่ละคนทำแผนผงั มโนทัศน์ (Concept Mapping) และทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 2 เรื่อง การเคลือ่ นทีข่ องวตั ถุกรณีความเร่งคงตวั เป็นการบา้ น ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคำถาม การรว่ มกันทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 2. ครตู รวจสอบผลจากใบงานที่ 2.6 เร่ือง การเคลอ่ื นทีด่ ้วยความเร่งคงตัว 3. ครูตรวจการทำแบบฝกึ หดั จาก Unit Question 2 เรอ่ื ง การเคล่ือนท่ขี องวัตถุกรณีความเรง่ คงตัว 4. ครูประเมนิ ผลงานจากแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ทนี่ กั เรยี นได้สร้างขึน้ จากขั้นขยายความ เขา้ ใจของนักเรียนเป็นรายบคุ คล จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 22 7. การวดั และประเมนิ ผล วิธีวัด เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ รายการวดั - ตรวจใบงานท่ี 2.6 - ใบงานที่ 2.6 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 7.1 การประเมินระหว่าง การจดั กิจกรรม - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมินการ ระดับคุณภาพ 2 1) การเคล่อื นทีด่ ว้ ย ผลงาน นำเสนอ ผ่านเกณฑ์ ความเรง่ คงตวั - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 2) การนำเสนอ การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ ผลงาน 3) พฤตกิ รรมการ ทำงานรายบุคคล 4) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 ทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม การทำงานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์ - สงั เกตความมีวินัย - แบบประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 2 5) คณุ ลักษณะ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมัน่ คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ อนั พึงประสงค์ ในการทำงาน อนั พงึ ประสงค์ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี น รายวชิ าเพมิ่ เติม ฟิสกิ ส์ ม.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 การเคล่อื นทีใ่ นแนวตรง 2) ใบงานท่ี 2.6 เร่ือง การเคล่ือนทีด่ ว้ ยความเร่งคงตัว 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมดุ 3) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ • การเคล่อื นทห่ี นง่ึ มิติ http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/73/one-dimension-motion.htm สบื คน้ วันที่ 20 มกราคม 2561 • การเคล่ือนทข่ี องวัตถุดว้ ยความเร่งคงตวั http://www.walter-fendt.de/html5/phth/acceleration_th.htm สืบค้นวันที่ 20 มกราคม 2561 จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 23 9. การบรู ณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลักปรัชญา ครู ผูเ้ รยี น ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดดี ้านเทคโนโลยี พอดีดา้ นจติ ใจ รจู้ กั ใช้เทคโนโลยีมาผลติ ส่ือที่ มีจิตสำนึกที่ดี จิตสาธารณะร่วม 2. ความมีเหตผุ ล อนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ เหมาะสมและสอดคล้องเน้ือหาเปน็ สงิ่ แวดล้อม ประโยชนต์ ่อผเู้ รียนและพัฒนาจากภูมิ ปญั ญาของผู้เรยี น ไมห่ ยุดนง่ิ ทหี่ าหนทางในชีวิต หลุดพ้น - ยึดถือการประกอบอาชีพดว้ ยความ จากความทกุ ข์ยาก (การค้นหาคำตอบ ถกู ต้อง สจุ รติ เพื่อให้หลดุ พ้นจากความไม่รู)้ ภมู ิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ 3. มีภูมิคมุ กนั ในตัวที่ดี ภูมปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ รับผดิ ชอบ ระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ ระมัดระวงั ความรอบรู้ เร่อื ง การเคล่อื นท่ขี อง วัตถกุ รณคี วามเร่งคงตวั สามารถนำ 4. เง่ือนไขความรู้ ความรอบรู้ เรื่อง การเคลอ่ื นทข่ี อง ความรู้เหล่านัน้ มาพิจารณาให้เกิด ความเชือ่ มโยง สามารถประยกุ ต์ วตั ถุกรณคี วามเร่งคงตวั ท่ีเกยี่ วข้อง ใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มีความ รอบดา้ น นำความรู้มาเช่อื มโยง ซือ่ สัตยส์ ุจริตและมคี วามอดทน มี ความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนิน ประกอบการวางแผน การดำเนนิ การ ชีวิต จัดกจิ กรรมการเรียนร้ใู ห้กับผเู้ รียน ผเู้ รยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ 5. เงอื่ นไขคณุ ธรรม มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มี - สำรวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ในโรงเรยี น (ตามจุดท่ไี ดร้ ับมอบหมาย) ความซื่อสัตยส์ ุจริตและมคี วามอดทน ผเู้ รยี น มีความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบคน้ ขอ้ มูลการอนุรักษค์ วาม ดำเนนิ ชวี ิต หลากหลายทางชวี ภาพ (ตามหวั ข้อที่ ได้มอบหมาย) สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง ชีวภาพในโรงเรียน (กำหนดจดุ ให้ ผเู้ รยี นสำรวจ) ส่งิ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ ักษค์ วามหลากหลาย - การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทาง ทางชวี ภาพ ชวี ภาพ (กำหนดหัวขอ้ ใหผ้ เู้ รยี น สืบคน้ ) จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 24 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผชู้ ่วยผู้อำนวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางสาวรัตติกาล ยศสขุ ) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 25 11. บันทึกผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤตกิ รรมท่มี ีปัญหาของนักเรียนเปน็ รายบุคคล (ถา้ ม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชอ่ื .........................................................ครูผสู้ อน (นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 26 ใบงานท่ี 2.6 เร่อื ง การเคลือ่ นท่ดี ้วยความเร่งคงตัว คำชแ้ี จง : ให้นักเรียนแสดงวิธีทำและหาคำตอบจากคำถามตอ่ ไปน้ี 1. นักกรีฑาวิ่งออกจากจุดสตาร์ทด้วยความเร็ว 6 เมตรต่อวินาที และสามารถเร่งความเร็วได้ 4 เมตรต่อวินาที2 จงหาว่า เมอ่ื เวลาผา่ นไป 5 วินาที จะวง่ิ ไดร้ ะยะทางเท่าใด 2. ถ้าเคร่ืองบินตอ้ งใช้เวลาในการเรง่ เคร่ือง 20 วินาที จากหยุดนง่ิ และใช้ระยะทาง 400 เมตร กอ่ นที่จะขึ้นจากรันเวย์ได้ จงหาอตั ราเร็วของเครอ่ื งบินขณะท่ีขน้ึ จากรันเวย์เท่ากบั กี่เมตรต่อวนิ าที 3. รถยนต์แล่นบนถนนตรงโดยมีความเร็วต้น 15.0 เมตรต่อวินาที ถ้ารถยนต์มีความเร่งคงตัว 3 เมตรต่อวินาที2 ในชว่ งเวลานานเท่าไร จึงมีความเรว็ เปน็ 2 เท่าของความเร็วต้น 4. รถของตน้ ตดิ ไฟแดง พอไดร้ ับสัญญาณไฟเขยี ว ต้นกเ็ ร่งเครือ่ งออกไปด้วยความเรง่ คงตัวพอไปได้ไกล 100 เมตร วัดความเร็ว ได้ 72 กโิ ลเมตรตอ่ ชั่วโมง อยากทราบว่าความเร่งของรถเป็นเท่าใด จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 27 ใบงานที่ 2.6 เฉลย เรอ่ื ง การเคล่ือนท่ีด้วยความเรง่ คงตัว คำชแ้ี จง : ให้นกั เรียนแสดงวิธีทำและหาคำตอบจากคำถามต่อไปน้ี 1. นักกรีฑาวิ่งออกจากจุดสตาร์ทด้วยความเร็ว 6 เมตรต่อวินาที และสามารถเร่งความเร็วได้ 4 เมตรต่อวินาที2 จงหาว่า เมอื่ เวลาผ่านไป 5 วินาที จะวงิ่ ไดร้ ะยะทางเท่าใด วิธที ำ จากสมการ Δx = ut + 1 at2 2 = (6 m/s)(5 s) + (1)(4 m/s2)(5 s)2 2 Δx = 80 m ดงั นนั้ นักกรีฑาจะว่ิงไดร้ ะยะทางเทา่ กบั 80 เมตร 2. ถ้าเคร่ืองบนิ ตอ้ งใช้เวลาในการเรง่ เครื่อง 20 วนิ าที จากหยุดน่งิ และใช้ระยะทาง 400 เมตร ก่อนทจี่ ะข้ึนจากรันเวย์ได้ จงหาอตั ราเรว็ ของเคร่อื งบินขณะที่ข้ึนจากรันเวยเ์ ท่ากบั กี่เมตรต่อวินาที วิธที ำ จากสมการ Δx = (u + v) t 2 400 m = (0 + v) 20 2 v = 40 m/s ดงั น้ัน อัตราเร็วของเครอื่ งบินขณะทขี่ น้ึ จากรันเวย์เท่ากับ 40 เมตรต่อวนิ าที 3. รถยนตแ์ ลน่ บนถนนตรงโดยมีความเร็วต้น 15.0 เมตรตอ่ วนิ าที ถ้ารถยนต์มีความเรง่ คงตวั 3 เมตรตอ่ วนิ าที2 ในช่วงเวลานานเท่าไร จึงมคี วามเร็วเป็น 2 เท่าของความเร็วตน้ วธิ ีทำ จากสมการ v = u + at 30 m/s = (15 m/s) + (3 m/s2) t t =5s ดงั น้นั รถยนตแ์ ลน่ บนถนนตรงในช่วงเวลานาน 5 วินาที จึงมีความเร็วเปน็ 2 เท่าของความเรว็ ตน้ ในทิศทาง เดียวกนั กบั ความเร็วต้น 4. รถของตน้ ตดิ ไฟแดง พอได้รบั สญั ญาณไฟเขียว ตน้ ก็เร่งเคร่ืองออกไปด้วยความเร่งคงตวั พอไปไดไ้ กล 100 เมตร วดั ความเรว็ ได้ 72 กโิ ลเมตรตอ่ ช่ัวโมง อยากทราบว่าความเรง่ ของรถเป็นเท่าใด วิธที ำ จากสมการ v2 = u2 + 2aΔx (20 m/s)2 = (0 m/s)2 + 2a(100 m) 400 = 200a a = 2 m/s2 ดงั นนั้ ความเรง่ ของรถเท่ากับ 2 เมตรตอ่ วนิ าที2 ในทิศทางเดิมจากเร่ิมต้นออกตัว จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 16 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1/2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า ฟสิ ิกส์ 1 (ว31201) หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 การเคล่อื นที่ในแนวตรง จำนวนเวลาทีส่ อน 5 ชั่วโมง เร่ือง วตั ถตุ กแบบอิสระด้วยความเร่งคงตวั ครูผู้สอน นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (ความเขา้ ใจท่ีคงทน) การเคลื่อนทข่ี องวัตถุจากที่สูงหรือเคล่ือนที่ในแนวดง่ิ ภายใต้สนามโนม้ ถว่ งของโลก เม่ือไม่คิดความต้านทาน ของอากาศ จะปรากฏวา่ วตั ถุทุกชนิดทมี่ ีมวลมากน้อยตา่ งกัน ย่อมตกลงสพู่ ืน้ ด้วยความเรง่ เท่ากนั เสมอ เรียกการ เคลื่อนที่แบบนีว้ า่ การตกแบบอิสระ (free fall) หรือการตกแบบเสรี ซึ่งการตกแบบอิสระนี้ ใช้ได้ทั้งกรณที ีว่ ตั ถุ ตกลงในแนวด่งิ หรอื วา่ ถกู โยนขึน้ 2. ผลการเรียนรู้ 3. ทดลองและอธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหว่างตำแหนง่ การกระจัด ความเรว็ และความเร่งของการเคลอ่ื นที่ ของวตั ถใุ นแนวตรงทม่ี คี วามเรง่ คงตวั จากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาค่าความเรง่ โนม้ ถว่ งของโลก และ คำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่เี กีย่ วขอ้ งได้ 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) บอกความหมายและอธบิ ายลักษณะการเคล่อื นทข่ี องวตั ถตุ กแบบอิสระได้ 3.2 ด้านทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) ทำการทดลองการเคล่อื นทีข่ องวตั ถุท่ีตกอย่างอสิ ระเพอ่ื หาคา่ ความเร่งโนม้ ถ่วงได้ได้ 3) คำนวณหาปรมิ าณทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั การเคลือ่ นที่ในแนวดงิ่ ได้ 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 4) ทำงานร่วมกบั ผอู้ น่ื อย่างสร้างสรรค์ ยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผูอ้ ื่นได้ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (ผ้เู รียนตอ้ งรอู้ ะไร) - การตกแบบเสรเี ปน็ ตัวอย่างหนงึ่ ของการเคล่ือนทใี่ นหนง่ึ มิติที่มคี วามเร่งเทา่ กบั ความเร่งโน้มถว่ งของ โลก จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 17 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผู้เรยี นสามารถปฏิบตั ิอะไรได้) - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ - ทักษะการสงั เกต - ทกั ษะการสื่อสาร - ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน - ทักษะการนำความรไู้ ปใช้ 4.3 คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ : Attitude (ผูเ้ รยี นควรแสดงพฤตกิ รรมการเรยี นอะไรบ้าง) - มีวินยั - ใฝเ่ รยี นรู้ - มงุ่ มั่นในการทำงาน - มีความซอ่ื สัตย์ 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 2) ทกั ษะการสงั เกต 4. มีความซ่ือสัตย์ 3) ทักษะการสือ่ สาร 4) ทักษะการทำงานรว่ มกนั 5) ทกั ษะการนำความร้ไู ปใช้ 3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต 6. กิจกรรมการเรียนรู้  แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชัว่ โมงท่ี 1 ขน้ั นำ กระตุน้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูและนกั เรยี นร่วมกันทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับการเคลื่อนทีข่ องวตั ถุกรณีความเร่งมีคา่ คงตวั เพื่อเปน็ ความรูพ้ น้ื ฐานนำไปสู่การศึกษา เร่อื ง วัตถตุ กอยา่ งอิสระดว้ ยความเรง่ คงตวั จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 18 2. ครูสาธิตปล่อยลูกบอลให้ตกลงพื้น โดยนักเรียนสังเกตแนวการเคลื่อนที่ของ แล้วถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียนหน้า 65 ว่า ถ้านักเรียนปล่อยลูกฟุตบอลตกลงจากตึก ลูกฟุตบอลจะมี ลักษณะการเคลอื่ นทอ่ี ย่างไร (แนวตอบ ลูกบอลมีการเคลอ่ื นท่เี ปน็ เสน้ ตรงในแนวดิง่ ซึ่งเรยี กว่า การตกแบบอสิ ระ (free fall)) 3. ครใู ห้นกั เรยี นอภิปรายแนวการเคลอื่ นที่และสรุปได้ว่า การเคลอื่ นท่ีของลกู บอลเป็นการเคลื่อนท่ีแนวตรง ในแนวด่งิ 4. ครูถามนักเรียนว่า การเคลื่อนทีใ่ นแนวดิ่งของลูกบอลมกี ารเปลี่ยนแปลงความเร็วหรือไม่ หรือมีความเรง่ หรอื ไม่ (แนวตอบ ลูกบอลมคี วามเรว็ เพ่ิมขน้ึ เร่อื ย ๆ ก่อนตกถึงพน้ื น่นั คอื วัตถุตกแบบอิสระจะมีความเร่ง ในขณะตกลงสู่พนื้ ) 5. ครใู หน้ กั เรยี นยกตวั อย่างวัตถุที่ตกลงมาในแนวดง่ิ ท่ีนกั เรียนสามารถพบในชีวิตประจำวัน เพ่ือให้นักเรียน สามารถเช่ือมโยงเนือ้ หากบั ชวี ติ ประจำวนั ได้ (แนวตอบ มะม่วงตกลงบนหลงั คาบ้าน ก้อนหนิ ตกลงมาจากหน้าผา การโดดรม่ แบบดงิ่ พสุธา วัสดุ กอ่ สรา้ งตกจากตึกท่ีกำลงั ก่อสร้าง) 6. จากนั้นครูชีใ้ ห้นักเรยี นเห็นว่า การเคลื่อนทีใ่ นแนวดิ่งของวัตถุที่ตกแบบอิสระ สามารถแบ่งพจิ ารณาได้ 3 แบบ ตามรายละเอยี ดในหนงั สอื เรียน หนา้ 65-66 ดังน้ี • การปล่อยวตั ถุใหต้ กในแนวดง่ิ • การขวา้ งวตั ถุลงมาในแนวดง่ิ • การโยนวตั ถขุ น้ึ ในแนวดง่ิ ช่ัวโมงท่ี 2 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูใหน้ กั เรยี นศกึ ษาความรเู้ ร่อื งการคำนวณหาปริมาณต่าง ๆ ในกรณีทวี่ ตั ถุตกแบบอสิ ระในหนังสอื เรียน หนา้ 67 โดยครูและนกั เรยี นอภปิ รายและสรปุ ร่วมกนั 2. ครูให้ความรเู้ ก่ยี วกบั สมการการเคลื่อนท่ีทอี่ าศัยความร้เู ก่ยี วกับกราฟเส้นตรงแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่าง ความเรว็ กบั เวลา 4 สมการท่ีใช้ในการคำนวณกรณที ่วี ตั ถุตกแบบอิสระ คือ v = u + gt u+v ∆y = ( 2 ) t ∆y = ut + 1 gt2 2 v2 = u2 + 2g∆y จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 19 3. ครูอธบิ ายเพ่มิ เตมิ เก่ยี วกับการใชเ้ ครอื่ งหมายของ u v g และ ∆y เพราะปริมาณเหลา่ น้ีเป็นปรมิ าณ เวกเตอร์ แต่เน่ืองจากการเคลื่อนทแ่ี นวตรงจงึ มีเพียง 2 ทิศเทา่ น้นั นกั เรยี นอาจใชเ้ ครอ่ื งหมายบวกและลบ กำกับเพื่อเป็นการบอกทศิ ทาง 4. ครูนำเสนอตวั อย่างการคำนวณหาปริมาณตา่ ง ๆ จากสมการการเคลอ่ื นท่ี จากตวั อยา่ งที่ 2.18-2.22 5. นกั เรยี นฝึกคำนวณหาปรมิ าณต่าง ๆ จากสมการการเคลอ่ื นท่ี 6. ครูทบทวนความรเู้ ก่ยี วกับเคร่อื งเคาะสญั ญาณเวลาที่จะใชใ้ นการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตอ่ ไป โดยอธิบายว่า เครือ่ งเคาะสญั ญาณเวลาจะเคาะด้วยความถ่ี 50 ครั้งต่อวนิ าที หมายความว่า ใน 1 วินาที เครื่องเคาะจะ เคาะ 50 คร้ัง นนั่ คอื เวลาที่ใน 1 ชว่ งจดุ จะใชเ้ วลา 1/50 วนิ าที ช่วั โมงท่ี 3 ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 7. ครูทบทวนบทเรยี นทเี่ รียนมาแล้ว ด้วยการซักถามและอธบิ าย ตอบขอ้ สงสัยของนกั เรียน แลว้ ให้นักเรียน แบ่งกล่มุ ซ่ึงครูอาจใช้เทคนคิ การแบ่งกลุ่มผลสมั ฤทธิ์ (STAD) คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ่มี ีสมาชกิ กลุ่ม 4–5 คน มรี ะดับสติปญั ญาแตกต่างกัน คอื เก่ง 1 คน: ปานกลาง 2–3 คน: อ่อน 1 คน พรอ้ มท้งั เลือกประธานกลุ่ม รองประธานกลมุ่ เลขานุการกล่มุ และสมาชิกกลุม่ โดยสับเปล่ยี นหน้าทใ่ี นการทำ กจิ กรรมกลุ่ม (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ) 8. ครูช้ีแจงจุดประสงค์การทำกิจจกรมให้นักเรยี นทราบ ดังนี้ - หาขนาดของความเรว็ ขณะวตั ถทุ ี่ตกแบบเสรีได้ จากจดุ บนแถบกระดาษ - เขยี นกราฟระหว่างขนาดของความเรว็ ขณะหนึ่งกบั เวลาได้ - หาขนาดความเร่งเฉลี่ยจากกราฟได้ 9. ครูแจง้ นักเรยี นวา่ จะมกี ารทำกจิ กรรมการทดลอง เรื่อง การเคลอ่ื นที่ของวัตถทุ ี่ตกอย่างอิสระ จากหนงั สือ เรยี น หนา้ 74 10. ครูใหค้ วามรู้ที่จำเป็นต่อการทำกิจกรรม ใหข้ ัน้ ตอนและรายละเอยี ดในการทำกิจจกรรมแก่นักเรียน โดย ใช้วธิ ีการต่าง ๆ ตามความเหมาะสม 11. ครูอาจถามคำถามกระตุ้นให้นักเรียนได้คิดระหวา่ งที่นักเรียนกำลังทำกจิ กรรม ดว้ ยตวั อยา่ งคำถามต่อไปนี้ • การเคลอ่ื นทใ่ี นแนวด่งิ ของถุงทรายมกี ารเปลย่ี นความเร็วหรอื ไม่ • มคี วามเรง่ หรือไม่ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 20 12. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์สรุปผลการทำกิจกรรม วิธีการหาค่าความเร่งของการตกอย่างอิสระของถุง ทราย จากการทำกิจกรรมโดยใช้เคร่อื งเคาะสัญญาณเวลาและนำแสนอหน้าช้ันเรียน ครูและนักเรยี นรว่ ม อภิปรายการทดลองตามแนวคำถามท้ายกิจกรรม สรุปการเรียนรู้ร่วมกัน 13. ครูเชื่อมโยงความรู้จากกิจกรรมให้นักเรียนได้ร่วมกันวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ของปริมาณต่าง ๆ ที่ เก่ยี วข้องกบั การเคล่อื นท่ภี ายใตแ้ รงโน้มถ่วงของโลกได้ 14. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวตรงและการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งที่พบได้ใน ชีวติ ประจำวนั ชั่วโมงท่ี 4-5 ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูทบทวนเกี่ยวกับการหาความเร่งโดยใช้เครื่องเคาะสัญญาณเวลา และให้นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับ ความเรง่ ของถุงทรายท่ีตกอย่างอิสระทีไ่ ดท้ ำในชวั่ โมงท่ีผ่านมา 2. ครูใหน้ กั เรยี นนาขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากการทากจิ กรรมมาวเิ คราะหใ์ นรปู ของตาราง ดงั น้ี ระยะทาง 1.20 2.80 4.60 5.95 7.50 9.15 10.85 12.70 2 ช่วงจดุ (cm) เวลา (s) 1/50 3/50 5/50 7/50 9/50 11/50 13/50 15/50 อตั ราเรว็ 0.3 0.7 1.15 1.49 1.88 2.29 3.71 3.18 (m/s) 3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบตั ิกิจกรรมเกีย่ วกับ การเคลื่อนท่ีของวัตถุที่ตกอย่างอิสระใหไ้ ด้วา่ วัตถุใด ๆ ท่ีตกสพู่ น้ื หรอื เคล่ือนทลี่ งในแนวด่งิ ภายใต้แรงโน้มถว่ งของโลกโดยไม่คิดแรงต้านอากาศ วัตถุจะ เคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัว ซึ่งเรียกว่าความเร่งโน้มถ่วง ความเร่งโน้มถ่วงมีค่าประมาณ 9.8 เมตรต่อ วนิ าที2 และมีทศิ พงุ่ เขา้ สูศ่ นู ย์กลางโลก 4. จากนั้นครูให้นักเรียนกลับสู่กลุ่มเดิมที่แบง่ ไว้ในชั่วโมงที่ผ่านมาแล้วใหร้ ่วมกันศึกษาตัวอย่างการคำนวณ จากโจทยป์ ญั หา ในหนงั สือเรียน หน้า 70-73 ตามขั้นตอนการแกโ้ จทย์ปัญหา ดังน้ี • ขน้ั ท่ี 1 ครใู ห้นักเรยี นทกุ คนทำความเข้าใจโจทย์ตัวอยา่ ง • ขั้นที่ 2 ครูถามนักเรยี นว่า สง่ิ ทโ่ี จทย์ต้องการถามหาคืออะไร และจะหาสิ่งท่ีโจทย์ต้องการ ต้องทำ อย่างไร • ขนั้ ที่ 3 ครูใหน้ ักเรยี นดวู ิธีทำในการคำนวณหาคำตอบ • ขนั้ ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตัวอยา่ งว่าถูกต้อง หรอื ไม่ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 21 5. ครูให้นกั เรียนทำใบงานที่ 2.7 เรือ่ ง วตั ถุตกแบบอสิ ระดว้ ยความเรง่ คงตวั เปน็ รายบคุ คล ขน้ั สรปุ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูนำนักเรียนอภิปรายและสรุปเก่ยี วกับวตั ถตุ กแบบอสิ ระดว้ ยความเรง่ คงตวั ดงั นี้ • ลกั ษณะการเคลอ่ื นทีแ่ บบตกแบบอิสระเป็นอยา่ งไร เก่ียวอะไรกบั แรงโน้มถว่ ง • ความเรง่ ของวัตถเุ ก่ยี วอะไรกบั แรงโนม้ ถว่ ง • ปรมิ าณใดบา้ งทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการเคลื่อนท่ใี นแนวดงิ่ 2. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนอ้ื หาเรื่อง วัตถตุ กแบบอิสระ วา่ มีส่วนไหนทย่ี งั ไม่เข้าใจและให้ความรู้ เพมิ่ เติมในสว่ นนน้ั โดยครูอาจใช้ PowerPoint เร่ือง วตั ถตุ กแบบอิสระด้วยความเรง่ คงตัว 3. ครมู อบหมายให้นกั เรียนตอบคำถามจาก Unit Question 2 เรื่อง วตั ถตุ กแบบอิสระด้วยความเร่งคงตวั 4. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนทำแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) แล้วส่งเป็นการบ้านในคาบ เรยี นต่อไป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครปู ระเมนิ ผล โดยการสงั เกตการตอบคำถาม การร่วมกันทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 2. ครสู งั เกตความสนใจ ความกระตือรือรน้ ในการเรียนรู้ของนกั เรยี น 3. ครูตรวจสอบผลการใบกจิ กรรม เรื่อง การเคล่ือนทขี่ องวตั ถุทีต่ กอย่างอสิ ระ 4. ครูตรวจใบงานที่ 2.7 เร่ือง วตั ถุตกอยา่ งอิสระด้วยความเร่งคงตวั 5. ครูตรวจการทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 2 จากหนังสือเรยี น หน้า 84-85 6. ครปู ระเมินผลงานจากแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ท่ีนักเรยี นได้สร้างขึ้นจากข้ันขยายความ เข้าใจของนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 22 7. การวดั และประเมินผล วิธวี ดั เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน รายการวดั - ตรวจใบงานท่ี 2.7 - ใบงานที่ 2.7 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 7.2 การประเมินระหว่าง การจัดกจิ กรรม - ประเมนิ การนำเสนอ - ผลงานที่นำเสนอ ระดบั คณุ ภาพ 2 1) วัตถุตกแบบอสิ ระ ผลงาน - แบบสงั เกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ ดว้ ยความเรง่ คง - สงั เกตพฤตกิ รรม การทำงานรายบุคคล ระดบั คุณภาพ 2 ตัว การทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ 2) การนำเสนอ ผลงาน 3) พฤติกรรมการ ทำงานรายบุคคล 4) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 ทำงานกลุ่ม การทำงานกลมุ่ การทำงานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ - สังเกตความมวี ินยั - แบบประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 2 5) คุณลักษณะ ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ ม่นั คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ อันพงึ ประสงค์ ในการทำงาน อนั พงึ ประสงค์ 8. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี น รายวิชาเพิม่ เติม ฟสิ กิ ส์ ม.4 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การเคลื่อนทใ่ี นแนวตรง 2) ใบงานท่ี 2.7 เรอื่ ง วตั ถุตกแบบอิสระด้วยความเร่งคงตวั 4) ชดุ การทดลองการเคลื่อนที่ของวัตถทุ ่ตี กอย่างอิสระ 5) แบบฝกึ หดั เรอื่ ง วัตถุตกแบบอิสระดว้ ยความเร่งคงตวั 3) PowerPoint เรือ่ ง วตั ถตุ กแบบอสิ ระดว้ ยความเร่งคงตัว 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) ห้องเรยี น 2) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ เช่น • การเคลือ่ นทห่ี น่งึ มิติ http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/73/one-dimension-motion.htm สืบค้นวนั ที่ 20 มกราคม 2561 • กจิ กรรม การเคลื่อนทแ่ี บบตกอย่างเสรี https://www.youtube.com/watch?v=g5tkscGyIkI สบื คน้ วนั ที่ 20 มกราคม 2561 จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 23 9. การบรู ณาการตามจดุ เน้นของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชีวภาพ หลกั ปรัชญา ครู ผเู้ รยี น ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดีดา้ นจติ ใจ ร้จู ักใชเ้ ทคโนโลยมี าผลติ สื่อท่ี มีจติ สำนกึ ท่ีดี จิตสาธารณะร่วม 2. ความมีเหตผุ ล อนรุ กั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ เหมาะสมและสอดคลอ้ งเนื้อหาเป็น สง่ิ แวดลอ้ ม ประโยชน์ตอ่ ผเู้ รยี นและพฒั นาจากภมู ิ ปัญญาของผูเ้ รยี น ไมห่ ยุดน่ิงทห่ี าหนทางในชวี ิต หลุดพน้ - ยึดถอื การประกอบอาชีพดว้ ยความ จากความทุกขย์ าก (การคน้ หาคำตอบ ถูกต้อง สจุ ริต เพือ่ ใหห้ ลดุ พ้นจากความไมร่ ้)ู ภมู ิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ 3. มีภมู คิ มุ กันในตวั ทดี่ ี ภูมิปัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ รับผดิ ชอบ ระมดั ระวงั สรา้ งสรรค์ ระมัดระวงั ความรอบรู้ เรอ่ื ง วัตถตุ กแบบ อสิ ระด้วยความเร่งคงตัว สามารถนำ 4. เง่อื นไขความรู้ ความรอบรู้ เร่ือง วตั ถุตกแบบ ความรูเ้ หล่านน้ั มาพจิ ารณาให้เกิด ความเชอื่ มโยง สามารถประยกุ ต์ อิสระด้วยความเร่งคงตัว ท่เี กย่ี วข้อง ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ รอบดา้ น นำความรูม้ าเชอื่ มโยง ซอ่ื สัตยส์ จุ ริตและมคี วามอดทน มี ความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนนิ ประกอบการวางแผน การดำเนินการ ชีวติ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ใหก้ ับผู้เรียน ผู้เรียน ความหลากหลายทางชีวภาพ 5. เง่ือนไขคณุ ธรรม มีความตระหนักใน คุณธรรม มี - สำรวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ในโรงเรยี น (ตามจดุ ทไี่ ด้รับมอบหมาย) ความซอ่ื สตั ยส์ ุจริตและมีความอดทน ผู้เรียน มคี วามเพียร ใช้สติปัญญาในการ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบค้นขอ้ มูลการอนุรกั ษ์ความ ดำเนินชวี ิต หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหวั ขอ้ ที่ ได้มอบหมาย) สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง ชีวภาพในโรงเรยี น (กำหนดจดุ ให้ ผู้เรียนสำรวจ) สิ่งแวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรักษ์ความหลากหลาย - การอนรุ กั ษ์ความหลากหลายทาง ทางชวี ภาพ ชีวภาพ (กำหนดหัวข้อใหผ้ ูเ้ รยี น สืบคน้ ) จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 24 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผชู้ ่วยผู้อำนวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางสาวรัตตกิ าล ยศสขุ ) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 25 11. บันทึกผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤตกิ รรมท่มี ีปัญหาของนักเรียนเปน็ รายบุคคล (ถา้ ม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชอ่ื .........................................................ครูผสู้ อน (นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 26 ใบงานที่ 2.7 เรอื่ ง วตั ถุตกแบบอสิ ระด้วยความเร่งคงตัว คำชี้แจง : ให้นกั เรียนตอบคำถามต่อไปนี้ บอลลนู ลกู หนงึ่ ลอยขน้ึ ตรง ๆ ดว้ ยความเรว็ 5.0 เมตรตอ่ วินาที ขณะทล่ี ูกบอลลูนสูงจากพ้นื ดนิ 30 เมตร ผู้ท่อี ยใู่ นบอลลูน ก็ปลอ่ ยถุงทรายลงมา ก. จงหาตำแหนง่ ของถงุ ทรายหลังจากที่ปลอ่ ยไปแล้ว 1.0 และ 2.0 วินาที ข. ถงุ ทรายจะตกถงึ พน้ื ดินในเวลาเทา่ ใด จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 27 ใบงานท่ี 2.7 เรอื่ ง วัตถุตกแบบอสิ ระด้วยความเร่งคงตัว คำชแี้ จง : ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนี้ ค. ขณะที่ถึงพื้นดนิ ถุงทรายมีความเรว็ เท่าใด ง. จดุ สูงสดุ ของถงุ ทรายสงู จากพืน้ ดนิ เทา่ ใด จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 28 ใบงานที่ 2.7 เฉลย เร่อื ง วตั ถตุ กแบบอิสระด้วยความเรง่ คงตวั คำชแี้ จง : ให้นักเรยี นตอบคำถามต่อไปน้ี ขณะทบ่ี อลลนู ลูกหนง่ึ ลอยขนึ้ ตรง ๆ ดว้ ยความเร็ว 5.0 เมตรตอ่ วินาที ขณะทีล่ ูกบอลลนู สูงจากพ้นื ดิน 30 เมตร ผู้ท่ีอยู่ใน บอลลูนก็ปลอ่ ยถงุ ทรายลงมา ก. จงหาตำแหนง่ ของถุงทรายหลังจากที่ปลอ่ ยไปแลว้ 1.0 และ 2.0 วินาที วธิ ที ำ เมอื่ ปล่อยถุงทราย ถงุ ทรายจะมีอัตราเรว็ ตน้ เท่ากับบอลลูน จากสมการ Δy = ut + 1 gt2 2 = (5.0)(1) + (1)(-10)(1)2 2 Δy = 0 m ดงั น้ัน หลังจากปล่อยถุงทรายไปแล้ว 1 วินาที การกระจัดของถุงทรายเปน็ ศนู ย์ นั้นคือ ถุงทรายจะตกกลับมา ณ ตำแหนง่ ท่ีปล่อยถงุ ทราย ถุงทรายจะอยสู่ ูงจากพืน้ 30 เมตร จากสมการ Δy = ut + 1 gt2 2 = (5.0)(2) + (1)(-10)(2)2 2 Δy = -10 m ดงั นน้ั หลงั จากปล่อยถงุ ทรายไปแล้ว 2 วินาที การกระจัดของถุงทรายเป็น –10 เมตร นั้นคอื ถงุ ทรายจะอย่ตู ำ่ กวา่ ตำแหนง่ ท่ปี ลอ่ ยเปน็ ระยะ 10 เมตร หรืออยู่สงู จากพ้นื เป็นระยะ 20 เมตร ข. ถงุ ทรายจะตกถงึ พื้นดินในเวลาเทา่ ใด วิธีทำ เมอ่ื ถุงทรายตกถึงพน้ื s ของถุงทรายเป็น –30 เมตร จากสมการ Δy = ut + 1 gt2 2 -30 = (5.0)t + (1)(-10)t2 2 -30 = 5t – 5t2 t2 – t – 6 = 0 (t – 3)(t + 2) = 0 t = 3, -2 s แต่เวลาเป็นลบไมม่ ีความหมาย ดงั นน้ั ถุงทรายตกถึงพืน้ ใน 3 วนิ าที จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 29 ใบงานที่ 2.7 เฉลย เรื่อง วตั ถตุ กอย่างอสิ ระดว้ ยความเรง่ คงตวั คำชแี้ จง : ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนี้ ขณะท่บี อลลูนลูกหน่ึงลอยข้นึ ตรง ๆ ด้วยความเรว็ 5.0 เมตรตอ่ วนิ าที ขณะท่ลี ูกบอลลูนสงู จากพ้นื ดิน 30 เมตร ผู้ที่อยู่ใน บอลลนู ก็ปลอ่ ยถุงทรายลงมา ค. ขณะท่ีถงึ พน้ื ดนิ ถงุ ทรายมคี วามเรว็ เทา่ ใด วธิ ที ำ จากสมการ v = u + at = (5.0) + (-10)(3) v = -25 m/s ดงั นนั้ ขณะกระทบพ้ืนถุงทรายมีความเร็ว 25 เมตรต่อวินาที มที ศิ ลงในแนวดง่ิ ง. จุดสงู สุดของถงุ ทรายสงู จากพื้นดนิ เทา่ ใด วธิ ที ำ จากสมการ v2 = u2 + 2aΔy (จดุ สูงสุด v = 0 m/s) 0 = (5.0)2 + 2(-10) Δy Δy = 25 20 = 1.25 m ดังนั้น จุดสูงสดุ ของถงุ ทรายอยู่สูงจากจุดปล่อย 1.25 เมตร หรอื อยสู่ ูงจากพ้ืน 31.25 เมตร จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 16 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1/2563 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า ฟสิ ิกส์ 1 (ว31201) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การเคลือ่ นทีใ่ นแนวตรง เรือ่ ง ความเร็วสมั พัทธ์ จำนวนเวลาท่ีสอน 2 ช่วั โมง ครูผสู้ อน นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา 1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (ความเข้าใจทค่ี งทน) การบอกตำแหน่งของวัตถุจะมีการกำหนดจุดอ้างอิงหรือตำแหน่งอ้างอิง ดังนั้น การเขียนบอกความเร็วก็ จะต้องกำหนดจุดอ้างอิงด้วยเช่นกัน ซึ่งความเร็วและตำแหน่งของวัตถุทุกประเภทจะต้องสัมพัทธ์กับจุดหรือ ตำแหน่งหนึ่งตำแหน่งใดเสมอ โดยจะเรียกความเร็วที่บอกเทียบกับจุดอ้างอิงว่า ความเร็วสัมพัทธ์ (relative velocity) 2. ผลการเรียนรู้ 3. ทดลองและอธิบายความสมั พันธร์ ะหวา่ งตำแหนง่ การกระจัด ความเรว็ และความเรง่ ของการเคลอื่ นท่ี ของวตั ถใุ นแนวตรงท่ีมคี วามเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมท้งั ทดลองหาค่าความเร่งโน้มถว่ งของโลก และ คำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้องได้ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) เข้าใจความหมายของกรอบอ้างอิงเฉ่อื ย ปรมิ าณที่มกี ารสัมพัทธ์กัน ในกรณเี ป็นความเรว็ สัมพัทธ์ 3.2 ด้านทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) แสดงคำนวณหาความเรว็ การเคล่ือนทข่ี องวัตถดุ ้วยวธิ ีความเรว็ สมั พทั ธ์ได้ 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 3) สังเกตจากปรากฏการณ์ท่เี ก่ียวขอ้ งกับความเร็วสมั พนั ธท์ ่ีพบในในชวี ติ ประจำวันได้ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เนื้อหาสาระหลกั : Knowledge (ผู้เรียนตอ้ งรู้อะไร) - ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ ตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง โดยความเรว็ และความเร่งมีทั้งค่าเฉลี่ยและค่าขณะหนึ่งซึ่งคิดในช่วงเวลาสั้น ๆ สำหรับปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ เคลื่อนทแ่ี นวตรงด้วยความเร่งคงตัวมคี วามสัมพนั ธ์ตามสมการ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 17 v = u + at u+v ∆x = ( 2 ) t ∆x = ut + 1 at2 2 v2 = u2 + 2a∆x 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผู้เรยี นสามารถปฏบิ ัติอะไรได)้ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการสงั เกต - ทักษะการสอ่ื สาร - ทักษะการทำงานรว่ มกนั - ทักษะการนำความรูไ้ ปใช้ 4.3 คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (ผูเ้ รยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรยี นอะไรบ้าง) - มีวนิ ยั - ใฝเ่ รยี นรู้ - ม่งุ มน่ั ในการทำงาน - มคี วามซ่ือสตั ย์ 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี นิ ยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้ 1) ทกั ษะการวิเคราะห์ 3. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 2) ทกั ษะการสงั เกต 4. มีความซื่อสตั ย์ 3) ทักษะการสื่อสาร 4) ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั 5) ทกั ษะการนำความร้ไู ปใช้ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 18 6. กิจกรรมการเรียนรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงท่ี 1 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนร่วมกนั ทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกบั ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ เคลอ่ื นทีใ่ นแนวตรงด้วยความเรว็ คงตัว การเคล่ือนทใี่ นสองมิติ เวกเตอรต์ ำแหนง่ ความเรว็ ในสองมิติ และ ความเร่งในสองมิติ เพอื่ นำไปส่เู นื้อหาเรือ่ ง ความเรว็ สัมพทั ธแ์ ละกรอบอ้างองิ เฉอ่ื ย 2. ครูสนทนากับนักเรียน โดยยกตัวอยา่ งเร่อื งการโดยสารเคร่อื งบนิ และถามนักเรยี นในประเด็นตอ่ ไปน้ี • ทำไมเวลาอยู่บนเครอ่ื งบนิ ขณะทบี่ ินอยู่ รูส้ ึกว่าความเร็วที่เคล่ือนท่ีช้ากว่าตอนเคลื่อนท่ีบนพื้นดิน และยงั เวลาในการเดินทางไม่นานก็ถงึ จุดหมาย 3. ครทู ้งิ ชว่ งให้นักเรียนคิด จากนน้ั ครอู ธิบายเพอ่ื ให้นกั เรยี นเขา้ ใจวา่ ทำไมเวลาน่งั อยบู่ นเครือ่ งบนิ เราจะรู้สึก เหมอื นว่าเคร่ืองบนิ เคลื่อนที่ช้า แต่ไมน่ านกถ็ ึงจดุ หมาย เพราะความเรว็ สมั พทั ธ์ เช่น เวลาเราข่ีรถจักรยาน เราเร็วกว่าคนที่เดิน ช้ากว่าคนที่ขับมอเตอร์ไซค์ เครื่องบินก็รู้สึกว่าเร็วได้ ตอนที่เครื่องบินทะยานขึ้นสู่ ทอ้ งฟา้ (take-off) หรอื ชว่ งเครือ่ งบนิ กำลงั ลงจอด (landing) เพราะเราเข้าใกลพ้ ้ืนโลกพอที่จะหาอะไรมา เทยี บความเรว็ ได้ ขณะเดยี วกนั เมอื่ มองดดู วงดาว ดวงจนั ทร์ หรือดวงอาทิตย์ เรากลบั รสู้ ึกเหมือนกบั อยู่นิ่ง ๆ ท้ังท่โี ลกเคล่อื นทีด่ ว้ ยความเรว็ มหาศาล (หมุน 1 รอบ ภายใน 1 วัน โคจรรอบดวงอาทติ ย์ 1 รอบใน 1 ปี) ซึ่งคอื ตวั อยา่ งทแี่ สดงถงึ ความเร็วสมั พัทธ์ 4. นกั เรียนช่วยกันอภปิ รายและแสดงความคิดเห็นคำตอบจากคำถาม 5. ครอู าจจะยกตวั อยา่ งการเคล่ือนที่ท่ีเกี่ยวข้องกบั ความเร็วสัมพทั ธ์เพิม่ เติม เช่น การนั่งอยู่ในรถยนต์ แล้วมี รถเมล์ขนาดใหญ่เคลื่อนตัวไปด้านหน้าอยู่ข้าง ๆ รถที่นักเรียนกำลังนัง่ อยู่ นักเรียนจะรู้สึกว่าอยู่ถอยหลัง เป็นต้น ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับความหมายของความเร็วสัมพัทธ์เพื่อให้นักเรียนเข้าใจมากขึ้นว่า ความเร็วสัมพัทธ์ (relative velocity) คอื ความเร็วทเ่ี ทยี บกันระหว่างความเรว็ ของวตั ถุ 2 ส่งิ ซง่ึ การบอกตำแหน่งของวตั ถุ ต้องมีจุดอ้างอิงและแกนอ้างอิง นั่นคือ มีระบบโคออร์ดเิ นตอ้างองิ ในกรณีมีผู้สังเกตสองคนต่างคนต่างก็ สงั เกตโดยอ้างอิงตัวเองเป็นหลัก แต่ท้งั สองคนเคล่อื นทีไ่ ป จะทำใหเ้ กดิ การสัมพัทธก์ นั ในเรือ่ งความเร็วของ ผูส้ ังเกตทง้ั สอง และกรอบอ้างองิ (frame of reference) หมายถึง ระบบพิกัดโคออรด์ ิเนตที่ผู้สังเกตหน่ึง จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 19 ๆ ใช้ในการสังเกตวัตถุอื่น ๆ รอบตัวในการเคลื่อนที่ไป ดังนั้นกรอบอ้างอิงใด ๆ อาจจะเคลื่อนที่ไปโดยผู้ สงั เกตที่อยู่ในกรอบอ้างอิงนั้นไมท่ ราบหรือไมร่ ตู้ ัววา่ ร่วมอยใู่ นการเคลอ่ื นที่ของกรอบอ้างอิงนน้ั ดว้ ย 2. ครูใหน้ ักเรียนพจิ ารณาตวั อย่างการใช้กรอบอ้างองิ ทีเ่ คลอ่ื นที่สัมพันธก์ นั โดยศึกษาจากตำแหนง่ ของ รถยนต์ A เทยี บกบั รถยนต์ B และใหผ้ ู้สงั เกตอยทู่ ่ีจุด E จากหนงั สอื เรยี น หน้า 75-76 3. ครใู ห้เน้อื หาความรแู้ ละอธิบายเพมิ่ เติมเกย่ี วกบั กรอบอ้างองิ และสภาพสมั พทั ธ์ โดยเปิดสอ่ื ใหน้ ักเรียน จาก แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ เชน่ https://www.youtube.com/watch?v=zrrkvblNN0M 4. ครูให้นกั เรยี นบอกความหมายของกรอบอ้างอิงเฉอ่ื ย ว่าคอื อะไร และยกตวั อยา่ ง จากการไดร้ บั ชมวดี ีโอ 5. ครูใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ งความเร็วสมั พัทธ์ที่เก่ียวข้องกับในชวี ติ ประจำวนั ของนกั เรียน และสมุ่ นักเรียนมา 1-2 คน ออกมานำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น ช่วั โมงท่ี 2 ขน้ั สอน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนร่วมกนั ศึกษาโจทยต์ ัวอย่างของวิธีการคำนวณความเร็วจากตวั อย่างที่ 2.23 โดยครูอธิบาย เสริมเพื่อใหน้ ักเรยี นเข้าใจมากขึ้น 2. ครใู ห้นักเรียนแต่ละคนศึกษาตัวอย่าง ตามข้ันตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหา ดังนี้ • ขั้นที่ 1 ครูใหน้ กั เรียนทุกคนทำความเขา้ ใจโจทยต์ ัวอย่าง • ขั้นท่ี 2 ครูถามนกั เรยี นวา่ ส่งิ ทโ่ี จทยต์ ้องการถามหาคอื อะไร และจะหาสิง่ ท่ีโจทย์ต้องการ ต้องทำ อย่างไร • ขั้นท่ี 3 ครใู ห้นกั เรียนดวู ิธที ำในการคำนวณหาคำตอบ • ข้ันท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตวั อย่างว่าถกู ต้อง หรือไม่ 3. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายเก่ียวกับวิธีการคำนวณความเรว็ เพอ่ื ให้นักเรียนสรปุ สาระสำคญั ลงในสมุด จดบนั ทกึ ขน้ั สรปุ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครนู ำนักเรียนอภปิ รายและสรปุ เก่ียวกบั ความเรว็ สัมพัทธ์ ดังน้ี • ความเร็วสมั พทั ธ์และกรอบอ้างอิงเฉ่ือย คืออะไร • ในชีวิตประจำวันของนักเรยี นไดเ้ กยี่ วขอ้ งกบั ความเร็วสมั พัทธ์ อย่างไรบา้ ง ยกตัวอย่าง จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 20 • นักเรียนยืนอยู่บนโลก ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเอง และหมุนรอบดวงอาทิตย์ เหตุใดนักเรียนจงึ ไม่ รสู้ ึกว่าเราเคล่ือนที่ • หากนักเรียนยืนอยู่บนรถเมล์ที่เคลื่อนที่อยู่ แล้วทิ้งสิ่งของลงบนพื้นรถ คนที่อยู่บนรถจะเห็นต่าง จากคนท่ียืนอยขู่ า้ งถนน หรอื คนท่ีอยู่ในรถเมล์อีกคนั อย่างไร 2. ครูเปิดโอกาสให้นกั เรียนคิดและตอบคำถามอย่างอิสระ และสอบถามเนื้อหาเรื่อง ความเร็วสัมพัทธ์ ว่ามี ส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจและให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนั้น โดยที่ครูอาจจะใช้ PowerPoint เรื่อง ความเร็ว สัมพทั ธ์ ชว่ ยในการอธิบาย 3. ครูให้นักเรียนรว่ มกันทำใบงานที่ 2.8 เรอ่ื ง ความเรว็ สมั พัทธ์ 4. ครูให้นักเรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรือ่ ง การเคลื่อนท่ีแนวตรง ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจสอบผลการทำแบบทดสอบหลงั เรียน 2. ครตู รวจและประเมนิ การนำเสนอขอ้ มลู เกีย่ วกับการยกตัวอย่างท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั ความเรว็ สัมพทั ธ์ 3. ครูสังเกตการตอบคำถามของนกั เรยี น 4. ครตู รวจใบงานที่ 2.8 เร่ือง ความเร็วสัมพัทธ์ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 21 7. การวัดและประเมนิ ผล วธิ วี ัด เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมิน รายการวดั - ตรวจใบงานท่ี 2.8 - ใบงานท่ี 2.8 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 7.1 การประเมินระหว่าง การจดั กจิ กรรม 1) ความเร็วสัมพัทธ์ 2) การนำเสนอ - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมนิ การ ระดับคุณภาพ 2 ผลงาน ผลงาน นำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ 3) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคณุ ภาพ 2 ทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ 4) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2 ทำงานกลมุ่ การทำงานกลมุ่ การทำงานกล่มุ ผา่ นเกณฑ์ - สงั เกตความมีวินยั - แบบประเมิน ระดับคณุ ภาพ 2 5) คณุ ลักษณะ ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มน่ั คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ อนั พึงประสงค์ ในการทำงาน อนั พงึ ประสงค์ ตรวจแบบทดสอบหลงั แบบทดสอบหลงั เรยี น ประเมินตามสภาพจริง 6) แบบทดสอบหลงั เรยี น เรียน หน่วยการ เรยี นรทู้ ี่ 2 การ เคลอ่ื นทแ่ี นวตรง 8. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรยี น รายวิชาเพิ่มเติม ฟสิ ิกส์ ม.4 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 การเคลือ่ นท่ใี นแนวตรง 2) ใบงานที่ 2.8 เร่ือง ความเร็วสมั พทั ธ์ 3) PowerPoint เรอื่ ง ความเร็วสัมพทั ธ์ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ เชน่ กรอบอา้ งอิง และสภาพสัมพัทธ์ วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสิกส์) https://www.youtube.com/watch?v=zrrkvblNN0M สืบค้นวนั ท่ี 20 มกราคม 2561 จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 22 9. การบูรณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชีวภาพ หลักปรชั ญา ครู ผูเ้ รียน ของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดดี า้ นจติ ใจ รจู้ ักใชเ้ ทคโนโลยมี าผลติ สื่อท่ี มีจติ สำนึกทดี่ ี จิตสาธารณะร่วม เหมาะสมและสอดคลอ้ งเนื้อหาเปน็ อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ ประโยชน์ต่อผู้เรียนและพัฒนาจากภมู ิ ส่ิงแวดล้อม ปญั ญาของผูเ้ รียน 2. ความมีเหตุผล - ยึดถอื การประกอบอาชีพด้วยความ ไมห่ ยดุ นงิ่ ทห่ี าหนทางในชีวิต หลุดพน้ ถกู ต้อง สจุ ริต จากความทุกขย์ าก (การคน้ หาคำตอบ เพอื่ ให้หลุดพน้ จากความไมร่ ู้) 3. มภี มู ิคุมกนั ในตัวท่ีดี ภูมปิ ญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั รับผดิ ชอบ ระมดั ระวัง สรา้ งสรรค์ 4. เง่ือนไขความรู้ ความรอบรู้ เรื่อง ความเรว็ สัมพทั ธ์ ความรอบรู้ เรอื่ ง ความเร็ว ทเ่ี กี่ยวขอ้ งรอบดา้ น นำความรู้มา สัมพทั ธ์ สามารถนำความรเู้ หล่านัน้ มา เช่ือมโยงประกอบการวางแผน การ พจิ ารณาให้เกดิ ความเชอื่ มโยง ดำเนนิ การจดั กิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้กับ สามารถประยุกต์ ใช้ในชวี ิตประจำวัน ผเู้ รียน ได้ 5. เงือ่ นไขคุณธรรม มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มี มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มีความ ความซอ่ื สตั ย์สุจริตและมีความอดทน ซอื่ สตั ย์สจุ รติ และมคี วามอดทน มี มีความเพยี ร ใช้สติปัญญาในการ ความเพยี ร ใช้สติปญั ญาในการดำเนิน ดำเนนิ ชีวติ ชวี ิต สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ผเู้ รยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง - สำรวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ชีวภาพในโรงเรียน (กำหนดจุดให้ ในโรงเรียน (ตามจดุ ท่ีไดร้ ับมอบหมาย) ผเู้ รยี นสำรวจ) สิง่ แวดลอ้ ม ครู ผเู้ รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรกั ษค์ วามหลากหลาย - การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทาง - สืบคน้ ข้อมูลการอนุรักษค์ วาม ทางชีวภาพ ชีวภาพ (กำหนดหัวขอ้ ให้ผู้เรยี น หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหัวข้อที่ สืบค้น) ได้มอบหมาย) จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 23 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผชู้ ่วยผู้อำนวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางสาวรัตติกาล ยศสขุ ) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางวิลาวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 24 11. บันทึกผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤตกิ รรมท่มี ีปัญหาของนักเรียนเปน็ รายบุคคล (ถา้ ม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชอ่ื .........................................................ครูผสู้ อน (นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 25 ใบงานที่ 2.8 เรอื่ ง ความเรว็ สัมพัทธ์ คำช้ีแจง : ให้นกั เรียนแสดงวธิ ที ำและหาคำตอบจากคำถามต่อไปนี้ 1. เรือลำหนึ่งหันหัวเรอื ไปทางทิศเหนือเพื่อข้ามแม่นำ้ ไปยังฝั่งตรงข้ามด้วยความเรว็ 10 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เทียบกับน้ำ กระแสน้ำไหลไปทางทิศตะวันออกด้วยความเรว็ 5 กิโลเมตรต่อชวั่ โมง เทยี บกบั พ้นื ดิน จงหาความเร็วของเรือเมอ่ื เทียบกับ ผู้สงั เกตทอ่ี ยทู่ ี่ฝง่ั ด้านตรงข้าม และทิศทางเมอื่ เทียบกับพ้นื ดิน จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 26 ใบงานที่ 2.8 เรอ่ื ง ความเร็วสัมพทั ธ์ คำช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนแสดงวิธีทำและหาคำตอบจากคำถามตอ่ ไปน้ี 2. วัตถุ A มีความเรว็ 4 เมตรต่อวนิ าที วัตถุ B มคี วามเร็ว 3 เมตรตอ่ วนิ าที เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง จงหาความเร็วสัมพัทธ์ ของวัตถุ A เทยี บกับ B เมอ่ื วัตถุ A เคลอื่ นไปทางทิศตะวนั ออก ส่วน B เคลอ่ื นไปทางทิศตะวนั ตก และ วัตถุ A เคลอ่ื นไปทางทิศตะวนั ออก สว่ น B เคลอ่ื นไปทางทิศเหนือ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 27 ใบงานที่ 2.8 เฉลย เรอ่ื ง ความเร็วสัมพัทธ์ คำชแ้ี จง : ใหน้ กั เรยี นแสดงวิธที ำและหาคำตอบจากคำถามต่อไปน้ี 1. เรือลำหนึ่งหันหัวเรือไปทางทิศเหนอื เพ่ือข้ามแมน่ ้ำไปยังฝ่ังตรงขา้ มด้วยความเร็ว 10 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เทียบกับน้ำ กระแสนำ้ ไหลไปทางทิศตะวันออกด้วยความเรว็ 5 กโิ ลเมตรตอ่ ช่ัวโมง เทยี บกับพ้ืนดนิ จงหาความเร็วของเรือเม่ือเทียบกับ ผู้สงั เกตทอี่ ย่ทู ฝี่ ั่งด้านตรงข้าม และทศิ ทางเม่ือเทียบกับพ้นื ดิน วธิ ีทำ กำหนดให้ v⃑ br คอื ความเร็วของเรือเทยี บกับนำ้ v⃑ bE คอื ความเร็วของเรือเทียบกับพ้นื ดนิ และ ⃑vrE คอื ความเร็วของกระแสนำ้ เทียบกับพ้ืนดนิ จะได้ v⃑ br = v⃑ bE − v⃑ rE ความเรว็ ของเรอื เทยี บกับผู้สังเกตทอ่ี ยู่บนฝ่งั ตรงข้าม จะได้ ⃑vbE = ⃑vbr + v⃑ rE ขนาดของความเร็ว คือ vbE = √(vb2r) + (vr2E) = √(52) + (102) = 11.2 km/h ทิศทางหาไดจ้ าก θ = tan−1 (vbr) = tan−1 ( 5 ) = 26.6° vrE 10 ดงั นน้ั เรือจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วขนาด 11.2 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในทิศทำมุม 26.6 องศา ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เมอื่ เทียบกับพื้นดนิ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 28 ใบงานที่ 2.8 เฉลย เรื่อง ความเร็วสัมพทั ธ์ คำชีแ้ จง : ใหน้ กั เรียนแสดงวิธที ำและหาคำตอบจากคำถามต่อไปนี้ 2. วัตถุ A มีความเรว็ 4 เมตรต่อวนิ าที วัตถุ B มคี วามเร็ว 3 เมตรต่อวินาที เคล่ือนที่ในแนวเสน้ ตรง จงหาความเรว็ สัมพัทธ์ ของวตั ถุ A เทียบกับ B เมอื่ วตั ถุ A เคลอื่ นไปทางทิศตะวันออก ส่วน B เคลอื่ นไปทางทิศตะวันตก และ วตั ถุ A เคลอ่ื นไปทางทิศตะวันออก สว่ น B เคลอื่ นไปทางทิศเหนอื วธิ ีทำ วัตถุ A เคลอ่ื นไปทางทิศตะวันออก ส่วน B เคล่อื นไปทางทศิ ตะวนั ตก (วตั ถุเคลื่อนที่สวนทางกัน) จากสมการ v⃑ AB = v⃑ A + v⃑ B =4+3 v⃑ AB = 7 m/s ดังนนั้ ความเร็วสัมพัทธข์ องวัตถุ AเทียบกับBเท่ากับ 7เมตรต่อวินาที เมื่อวัตถุ Aเคลื่อนไปทางทิศตะวันออกBเคลื่อนไป ทางทศิ ตะวันตก วตั ถุ A เคลอื่ นไปทางทศิ ตะวันออก ส่วน B เคลอ่ื นไปทางทศิ เหนือ (วตั ถุทำมมุ ต่อกัน) จากสมการ ⃑vAB = √v⃑ A2 + v⃑ B2 − 2v⃑ A⃑vBcosθ = √42 + 32 − 2(4)(3) cos 90° = √16 + 9 − 2(4)(3)(0) ⃑vAB = √25 = 5 ดงั นั้น ความเร็วสัมพัทธข์ องวัตถุ AเทียบกับBเท่ากับ 5เมตรต่อวินาที เมื่อวัตถุ Aเคลื่อนไปทางทศิ ตะวันออกBเคลื่อนไป ทางทศิ เหนอื จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 139 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 แรงและกฎการเคลื่อนท่ี เวลา 28 ชว่ั โมง 1. ผลการเรยี นรู้ เข้าใจธรรมชาติทางฟิสกิ ส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคล่ือนท่ีแนวตรง แรงและกฎการเคลื่อนท่ี ของนิวตัน กฎความโน้มถว่ งสากล แรงเสียดทาน สมดลุ กลของวัตถุ งานและกฎการอนรุ ักษพ์ ลังงานกล โม เมนตัมและกฎการอนุรกั ษโ์ มเมนตมั การเคล่อื นทีแ่ นวโคง้ รวมทง้ั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ 4) ทดลองและอธบิ ายการหาแรงลัพธข์ องแรงสองแรงทที่ ำมุมตอ่ กันได้ 5) เขยี นแผนภาพของแรงที่กระทำตอ่ วัตถุอิสระ ทดลองและอธบิ ายกฎการเคลอ่ื นท่ีของนวิ ตันและการ ใชก้ ฎการเคลือ่ นทขี่ องนวิ ตนั กับสภาพการเคลอ่ื นทีข่ องวตั ถุ รวมทง้ั คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วข้องได้ 6) อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโน้มถ่วงที่ทำให้วัตถุมีน้ำหนัก รวมท้ังคำนวณ ปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งได้ 7) วเิ คราะห์ อธิบาย และคำนวณแรงเสยี ดทานระหวา่ งผวิ สัมผัสของวัตถคุ ู่หน่ึง ๆ ในกรณที ่ีวตั ถุหยุดน่ิง และวัตถุเคลื่อนท่ี รวมทั้งทดลองหาสัมประสิทธ์ิความเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หน่ึง ๆ และนำ ความรู้เรอื่ งแรงเสยี ดทานไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ 2. สาระการเรยี นรู้ 2.1 สาระการเรยี นรู้เพ่มิ เตมิ 1) แรงเป็นปรมิ าณเวกเตอรจ์ ึงมีท้ังขนาดและทศิ ทางกรณที ีม่ ีแรงหลาย ๆ แรงกระทำตอ่ วัตถุสามารถหาแรง ลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุโดยใช้วิธีเขียนเวกเตอร์ของแรงแบบหางต่อหัว วิธีสร้างรูปส่ีเหล่ียมด้านขนานของ แรงและวธิ คี ำนวณ 2) สมบัติของวตั ถุท่ตี ้านการเปล่ียนสภาพการเคล่ือนท่ี เรียกว่า ความเฉื่อย มวลเป็นปริมาณท่ีบอกให้ทราบ ว่าวตั ถใุ ดมีความเฉือ่ ยมากหรอื น้อย 3) การหาแรงลัพธท์ กี่ ระทำต่อวัตถุสามารถเขยี นเป็นแผนภาพของแรงท่ีกระทำตอ่ วัตถอุ ิสระได้ 4) กรณีที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำ วัตถุจะไม่เปล่ียนสภาพการเคล่ือนท่ซี ่ึงเป็นไปตามกฎการเคลอ่ื นท่ีข้อ ทีห่ นึ่งของนวิ ตัน 5) กรณีท่ีมีแรงภายนอกมากระทำโดยแรงลัพธ์ทก่ี ระทำตอ่ วัตถุ ไม่เปน็ ศูนย์ วัตถุจะมคี วามเรง่ โดยความเร่ง มีทศิ ทางเดียวกบั แรงลัพธ์ ความสัมพันธ์ระหวา่ งแรงลพั ธ์ มวลและความเรง่ เขียนแทนไดด้ ว้ ยสมการ n ∑ F⃑ i = ma⃑ i=0 จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 140 6) เม่ือวัตถุสองก้อนออกแรงกระทำต่อกัน แรงระหว่างวัตถุท้ังสองจะมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงข้าม และกระทำต่อวัตถุคนละก้อน เรียกว่า แรงคู่กริ ยิ า-ปฏกิ ิริยา ซ่ึงเป็นไปตามกฎการเคล่อื นที่ขอ้ ทส่ี ามของ นวิ ตัน และเกดิ ขึน้ ไดท้ ง้ั กรณีที่วตั ถทุ งั้ สองสมั ผัสกนั หรอื ไม่สัมผัสกนั กไ็ ด้ 7) แรงดึงดูดระหว่างมวลเปน็ แรงทมี่ วลสองกอ้ นดึงดูดซง่ึ กันและกันด้วยแรงขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงข้าม และเปน็ ไปตามกฎความโน้มถว่ งสากล เขียนแทนได้ดว้ ยสมการ FG = G m1m2 R2 8) รอบโลกมีสนามโน้มถ่วงทำให้เกิดแรงโน้มถ่วง ซึ่งเป็นแรงดึงดูดของโลกที่กระทำต่อวัตถุ ทำให้วัตถุมี น้ำหนกั 9) แรงท่ีเกดิ ขึน้ ท่ีผวิ สัมผสั ระหว่างวัตถุสองกอ้ นในทิศทางตรงข้ามกบั ทิศทาง การเคล่ือนท่ี หรือแนวโน้มที่จะ เคลือ่ นท่ีของวัตถุ เรียกวา่ แรงเสียดทานแรงเสยี ดทานระหวา่ งผวิ สัมผสั คหู่ นงึ่ ๆ ขน้ึ กบั สัมประสิทธ์คิ วาม เสียดทาน และแรงปฏิกิริยาตั้งฉากระหว่างผิวสัมผัสคู่น้ัน ๆ ขณะออกแรงพยายามแต่วัตถุยังคงอยู่น่ิง แรงเสียดทานมีขนาดเทา่ กับแรงพยายามทก่ี ระทำตอ่ วตั ถุนน้ั และแรงเสยี ดทานมีค่ามากทีส่ ุดเม่อื วัตถเุ ร่ิม เคล่ือนท่ี เรียกแรงเสียดทานนี้ว่า แรงเสียดทานสถิต แรงเสียดทานท่ีกระทำต่อวัตถุขณะกำลังเคล่ือนที่ เรียกว่า แรงเสียดทานจลน์ โดยแรงเสียดทานท่ีเกิดระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หน่ึง ๆ คำนวณได้จาก สมการ fs ≤ μsN fk = μkN 10) การเพมิ่ หรอื ลดแรงเสียดทานมีผลต่อการเคลอ่ื นทข่ี องวตั ถุ ซึง่ สามารถนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน 2.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิน่ (พจิ ารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา) 3. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทาง ดังนั้นการหาผลของแรงลัพธ์ท่ีกระทำต่อวัตถุจากการ รวมกันระหว่างแรงย่อย 2 แรงขึ้นไป เราสามารถคำนวณแบบเวกเตอรไ์ ด้ โดยตอ้ งรวมเวกเตอร์ของแรงยอ่ ยทีม่ อี ยใู่ ห้ เป็นปริมาณเดียวกัน เนอ่ื งจากปริมาณเวกเตอรม์ ีท้ังขนาดและทิศทาง ในการรวมเวกเตอร์ของแรงย่อยแต่ละแรงจึง ตอ้ งวิเคราะหท์ ง้ั ขนาดและทิศทางขณะทีน่ ำมารวมกันเพอื่ หาคา่ ของแรงลัพธ์ กฎข้อที่หน่ึงของนิวตัน หรือกฎแห่งความเฉื่อย กล่าวว่า \"วัตถุทุกชนิดจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ นอกจากมี แรงมากระทำต่อวัตถุ\" กฎข้อที่สองของนิวตัน กล่าววา่ \"ความเร่งของของวตั ถจุ ะแปลผันตรงกับแรงสุทธิท่ีกระทำต่อวัตถุ และแปรผกผัน กับมวลของวัตถุ\" ทศิ ของความเร่งจะมีทิศเดียวกับแรงสทุ ธิที่กระทำบนวัตถุ สามารถเขียนอยู่ในรปู ของสมการทาง คณติ ศาสตรไ์ ด้ดังน้ี n ∑ F⃑ i = ma⃑ i=0 จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 141 กฎข้อที่สามของนิวตัน - กฎของแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา กล่าวว่า \"เม่ือวัตถุช้ินหน่ึงออกแรง (แรงกิริยา , action) กระทำต่อวัตถุอีกช้ินหน่ึง วัตถุอันหลังจะออกแรงด้วยขนาดท่ีเท่ากันแต่ทิศตรงกันข้าม (แรงปฏิกิริยา - reaction) กับแรงทีเ่ กดิ จากวตั ถุอนั แรก\" กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน วัตถุท้ังหลายในเอกภพจะออกแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน โดยขนาดของแรง ดึงดูดระหว่างวัตถุคู่หนึ่ง ๆ จะแปรผันตรงกับผลคูณระหว่างมวลวัตถุท้ังสอง และจะแปรผกผันกับกำลังสองของ ระยะทางระหว่างวตั ถุทัง้ สองน้นั สามารถเขียนอยู่ในรปู ของสมการทางคณติ ศาสตร์ได้ ดงั น้ี FG = G m1m2 R2 แรงตั้งฉากหรือแรงปฏิกริ ิยาตั้งฉาก (Normal force) คอื แรงท่ีวัตถุ 2 สง่ิ ทีก่ ระทำซ่ึงกันและกัน จะเกดิ แรงน้ีขึ้น เกือบทกุ ครั้งที่วัตถุสัมผสั กนั (แรงน้ีจะไมเ่ กดิ ในกรณี เช่น ยกกล่องให้ลอยจากพ้ืนพอดี ผวิ ของกล่องกับพื้นสัมผสั กัน แต่มนั ไม่มีแรงตอ่ กนั ) ซ่ึงแรงนีม้ ีทิศทางตง้ั ฉากกับผวิ สัมผสั เสมอ แรงเสียดทาน (Friction force) เป็นแรงท่ีต้านการเคล่ือนที่ของวตั ถุ เกิดข้ึนระหว่างผวิ สัมผัสของวตั ถุ แรงเสียด ทานมี 2 ชนิด คือ แรงเสยี ดทานสถิติ (static friction) และแรงเสียดทานจลน์ (kinetic friction) 4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มวี ินัย 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทกั ษะการวิเคราะห์ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 2) ทักษะการสังเกต 3) ทกั ษะการสอ่ื สาร 4) ทกั ษะการทำงานร่วมกัน 5) ทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้ 6) ทักษะการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 5. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) - แบบบนั ทึกกิจกรรม เรื่อง การหาขนาดและทิศทางของแรงลพั ธ์ - แบบบนั ทึกกิจกรรม เร่อื ง แรงกับความเรง่ - แบบบนั ทึกกิจกรรม เรอื่ ง แรงเสียดทาน - ใบงานที่ 3.1 เร่ือง ระยะทางและการกระจดั - ใบงานที่ 3.2 เรื่อง กฎการเคลือ่ นทขี่ องนวิ ตนั - ใบงานท่ี 3.3 เรือ่ ง กฎแรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวลของนวิ ตัน จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 142 - ใบงานท่ี 3.4 เรอ่ื ง แรงตัง้ ฉากและแรงเสียดทาน - ใบงานท่ี 3.5 เรอ่ื ง กราฟความสัมพนั ธ์ระหว่างระยะทาง ความเร็ว กบั เวลา - ผังมโนทศั น์ เรื่อง กฎการเคล่ือนท่ขี องนิวตัน - ผงั มโนทัศน์ เร่ือง กฏแรงดึงดูดระหว่างมวลของนวิ ตัน - ผงั มโนทัศน์ เรอ่ื ง แรงตัง้ ฉากและแรงเสยี ดทาน 6. การวดั และการประเมนิ ผล รายการวดั วิธวี ดั เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน ระดบั คุณภาพ 2 6.1 การประเมินช้ินงาน/ - ตรวจผงั มโนทัศน์ เรื่อง แบบประเมนิ ช้นิ งาน/ ผ่านเกณฑ์ ภาระงาน (รวบยอด) กฎการเคลอื่ นท่ขี องนวิ ภาระงาน ประเมนิ ตามสภาพจริง ตัน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจผงั มโนทศั น์ เรอ่ื ง ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ กฏแรงดงึ ดดู ระหวา่ ง มวลของนวิ ตัน - ตรวจผงั มโนทัศน์ เรอ่ื ง แรงต้ังฉากและแรงเสยี ด ทาน 6.2 การประเมนิ กอ่ นเรยี น ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น กอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เรอ่ื ง แรงและกฎการ เคล่อื นท่ี 6.3 การประเมินระหว่างการ จัดกิจกรรม 1) แรงและแรงลัพธ์ - ตรวจใบงานท่ี 3.1 - ใบงานที่ 3.1 - ตรวจแบบฝกึ หดั ท่ี 1.1 - แบบฝกึ หดั ที่ 1.1 2) กฎการเคล่อื นท่ขี อง - ตรวจใบงานที่ 3.2 - ใบงานที่ 3.2 นวิ ตนั - ตรวจแบบฝกึ หดั ท่ี 2.1 - แบบฝึกหัดท่ี 2.1 3) กฎแรงดงึ ดูดระหวา่ ง - ตรวจใบงานที่ 3.3 - ใบงานท่ี 3.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ มวลของนวิ ตัน - ตรวจแบบฝึกหดั ที่ 3.1- - แบบฝกึ หัดที่ 3.1-3.3 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 3.2 จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook