Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานวิจัยในชั้นเรียนเรื่องผลของการใช้

รายงานวิจัยในชั้นเรียนเรื่องผลของการใช้

Published by Suntareeya Laongpow, 2021-04-20 02:35:25

Description: รายงานวิจัยในชั้นเรียนเรื่องผลของการใช้

Search

Read the Text Version

90 3.3.5 การสร้างและการตรวจสอบคุณภาพแบบวดั เจตคติของนกั เรยี นที่มตี ่อ วิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 การสร้างและพัฒนาแบบวัดเจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับ นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 มขี น้ั ตอนการดำเนนิ การ ดงั นี้ 1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับเจตคติ แบบวัดเจตคติ และเจตคติ ตอ่ วชิ าคณติ ศาสตร์ 2) สร้างแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวน 30 ข้อ ซ่ึงเป็นแบบสอบถามท่ีมีลักษณะเป็นแบบมาตรวัดประมาณค่าแบบลิเคิร์ท 5 ระดับ ซ่ึงเปน็ ขอ้ คำถามทางบวก โดยกำหนดคะแนน ดังนี้ คะแนน ความหมาย 1 เห็นดว้ ยน้อยทสี่ ดุ หมายถึง ข้อความนน้ั ตรงกับความคดิ /ความร้สู กึ ของผตู้ อบไม่เกนิ ร้อยละ 20 2 เหน็ ด้วยน้อย หมายถึง ขอ้ ความน้นั ตรงกบั ความคดิ /ความรู้สกึ ของผู้ตอบร้อยละ 21 - 40 3 เหน็ ดว้ ยปานกลาง หมายถงึ ขอ้ ความน้นั ตรงกับความคิด/ความร้สู ึก ของผู้ตอบร้อยละ 41 - 60 4 เห็นดว้ ยมาก หมายถึง ข้อความนัน้ ตรงกบั ความคิด/ความรสู้ ึก ของผู้ตอบร้อยละ 61 - 80 5 เหน็ ด้วยมากทสี่ ดุ หมายถึง ขอ้ ความนน้ั ตรงกับความคิด/ความร้สู ึก ของผูต้ อบเกินร้อยละ 80 3) นำแบบวัดเจตคติของนักเรียนท่ีมีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 30 ข้อ ให้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 ท่าน ตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา ซ่ึงเกณฑ์การประเมินมีดังนี้ คะแนน ความหมาย 1 เหน็ ด้วยน้อยท่ีสุด หมายถึง ข้อความนนั้ ตรงกบั ความคิด/ความรู้สึก ของผตู้ อบไมเ่ กินร้อยละ 20 2 เห็นด้วยนอ้ ย หมายถงึ ขอ้ ความน้ันตรงกับความคิด/ความรูส้ ึก ของผตู้ อบรอ้ ยละ 21 - 40 3 เห็นดว้ ยปานกลาง หมายถงึ ข้อความน้ันตรงกบั ความคดิ /ความรูส้ ึก ของผู้ตอบร้อยละ 41 - 60 4 เหน็ ด้วยมาก หมายถงึ ข้อความนัน้ ตรงกับความคดิ /ความรู้สกึ ของผู้ตอบร้อยละ 61 – 80 5 เหน็ ดว้ ยมากทสี่ ุด หมายถึง ข้อความนนั้ ตรงกับความคิด/ความรู้สกึ ของผตู้ อบเกนิ ร้อยละ 80

91 4) นำผลการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน วิเคราะห์ความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา พบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินมคี ่า 3.60-4.80 (รายละเอียดจาก ตารางท่ี ข13 ในภาคผนวก ข) นั่นคือ ผู้เชี่ยวชาญเห็นด้วยในระดับมาก ว่าแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ฉบับนี้ มีความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา สามารถใช้วัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ได้ 5) นำแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวน 30 ข้อ ที่ปรับปรุงแล้วไปทดลองใช้กับกลุ่มทดลองภาคสนาม จำนวน 39 คน หาค่าความเช่ือม่ันของ แบบวัดเจตคติต่อรายวิชาคณิตศาสตร์ด้วยสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ซ่งึ พบวา่ แบบวดั เจตคติตอ่ วิชาคณิตศาสตร์ สำหรบั นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ทสี่ รา้ งขึ้น มคี า่ ความเชือ่ ม่ันทง้ั ฉบับเทา่ กับ 0.79 (ดงั ตารางท่ี ค5 ภาคผนวก ค) 6) จัดทำชุดแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ใหเ้ พยี งพอกบั กลุม่ ตัวอยา่ ง 3.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การวจิ ัยนเ้ี ป็นการวจิ ัยแบบกง่ึ ทดลอง โดยมีกลุ่มตวั อย่างรวมทั้งส้ิน 73 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ไดแ้ ก่ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมและมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง โดยมีลักษณะการวจิ ัย ดังน้ี ทดสอบก่อนเรยี น ทดสอบหลงั เรียน การจัดกระทำ T11 X1 T12 T21 X2 T22 ภาพที่ 3.1 แบบแผนการวิจัยแบบกง่ึ ทดลอง และมกี ารทดสอบก่อนและหลงั การทดลอง จากภาพท่ี 3.1 อธิบายสญั ลักษณ์ได้ดงั น้ี X1 หมายถึง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 6 X2 หมายถึง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เรอื่ งการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรยี นรูแ้ บบปกติ สำหรับนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 T11 หมายถงึ การทดสอบกอ่ นเรยี น (pre-test) ของกล่มุ ทดลอง T21 หมายถงึ การทดสอบก่อนเรยี นของกลุ่มควบคุม

92 T12 หมายถึง การทดสอบหลังเรียน (post-test) ของกลมุ่ ทดลอง T22 หมายถงึ การทดสอบหลังเรียนของกลุ่มควบคมุ ในการศึกษาครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนกบินทร์วิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 2 ห้องเรียน รวมท้ังส้ิน 73 คน ซ่ึงเป็นการเลือกกลุม่ ตัวอยา่ งแบบเจาะจง โดยแบ่งนักเรียนเปน็ 2 กลุ่ม คอื กลมุ่ ทดลอง เปน็ นักเรยี น ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 จำนวน 38 คน และกลุ่มควบคุม เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6/2 จำนวน 35 คน สำหรับการทดลองครั้งน้ี ผู้วิจัยเป็นผู้ดำเนินการจัดการเรียนรู้ วัดและประเมิน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นด้วยตนเอง โดยมขี ั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้ ข้ันตอนท่ี 1 ทดสอบก่อนเรียน โดยก่อนการดำเนินการทดลอง ผู้วิจัยให้กลุ่มตัวอย่าง ทดสอบก่อนเรยี น ดังน้ี (1) วัดความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณของกลุ่มตัวอย่าง ด้วยแบบวัด ความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวน 35 ข้อ และสอบถามกลุ่มตัวอย่างเก่ียวกับเจตคติต่อคณิตศาสตร์ ด้วยแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวน 30 ข้อ แล้วบันทึกคะแนนของตัวอย่างแต่ละคนที่ได้ (ใชเ้ วลา 50 นาที นอกตารางเรยี น) (2) วัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน เรื่องการแจกแจกปกติ สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 30 ข้อ แล้วบันทึก คะแนนของตัวอยา่ งแตล่ ะคนท่ีได้ (ใช้เวลา 50 นาที นอกตารางเรียน) ขน้ั ตอนท่ี 2 จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ผู้วิจยั ดำเนินการจดั การเรยี นรู้ใหก้ บั กลุ่มทดลองโดยใช้ แผนการจัดการเรียนรู้ เร่ืองการแจกแจงปกติ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานที่ผู้วิจัย สร้างและพัฒนาขน้ึ ซง่ึ จดั การเรียนรู้ให้กบั กลุ่มควบคมุ โดยใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ เรอื่ งการแจกแจง ปกติ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ โดยจัดการเรียนรู้ให้แต่ละกลุ่ม ตามแผนการจัดการเรียนรู้ ทั้ง 10 แผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งการจัดการเรียนการเรียนรู้แต่ละกลุ่มจะใช้เวลาทั้งหมด 20 คาบ โดยผู้วิจัยเป็นผู้จัดการเรยี นรู้และเก็บรวบรวมคะแนนระหว่างการจัดการเรียนรู้ในแต่ละแผน (คะแนน เต็มแผนละ 10 คะแนน) แล้วบนั ทกึ คะแนนทไ่ี ด้ ขน้ั ตอนที่ 3 ทดสอบหลังเรียน หลังจากเสร็จสิ้นการทดลองแล้ว ผู้วิจยั ดำเนินการทดสอบ หลงั เรยี นกบั กล่มุ ตัวอย่าง ดงั รายการ ต่อไปน้ี (1) วดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของกล่มุ ตัวอย่าง ด้วยแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียน เร่อื งการแจกแจกปกติ สำหรับนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 จำนวน 30 ข้อ แล้วบันทึก คะแนนทไ่ี ด้ (ใชเ้ วลา 50 นาที นอกตารางเรยี น)

93 (2) วัดความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณของกลุ่มตัวอย่าง ด้วยแบบวัด ความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จำนวน 35 ข้อ และวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของ กลุ่มตัวอย่าง ด้วยแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ จำนวน 30 ข้อ แล้วบนั ทึกคะแนนท่ีได้ (ใช้เวลา 50 นาที นอกตารางเรยี น) 3.5 การวเิ คราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตามวตั ถปุ ระสงค์และสมมตฐิ านของการวิจัย ดงั นี้ 3.5.1 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง การแจกแจงปกติ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 6 วเิ คราะห์ข้อมูลเพื่อหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการแจกแจงปกติ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยใช้เกณฑ์ ประสิทธิภาพ E1 E2 เท่ากับ 80/80 3.5.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถด้าน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนและหลังเรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบ ใชป้ ญั หาเป็นฐาน และการจัดการเรียนรู้แบบปกติ สำหรับนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 วิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ความสามารถด้านการคิด อย่างมีวจิ ารณญาณ และเจตคตติ ่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลัง เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน และการจัดการเรียนรู้แบบปกติ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ด้วยค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติทดสอบที สำหรับตัวอย่างสองกลุ่มท่ีสัมพันธ์กัน (The t-test for two dependent samples) ท่รี ะดบั นยั สำคญั ทางสถิติ .05 3.5.3 การวิเคราะห์ข้อมลู เพื่อศึกษาเจตคติตอ่ วิชาคณติ ศาสตร์ของตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง ก่อนและหลัง การจัดการเรียนรู้ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน และการจัดการเรียนรู้แบบปกติ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ด้วยค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และแปลความหมายของค่าเฉลี่ยของคะแนนเจตคติโดยใช้เกณฑ์ของ ลเิ คอร์ท (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2545 : 72-73 อ้างถึงใน กรองทิพย์ เพยี รพจิ ติ ร, 2554 : 59) ดังนี้

94 คา่ เฉล่ีย ความหมาย 1.00 - 1.50 มเี จตคตทิ ่ดี อี ย่ใู นระดบั นอ้ ยที่สุด 1.51 - 2.50 มเี จตคตทิ ่ีดอี ยูใ่ นระดับน้อย 2.51 - 3.50 มเี จตคตทิ ีด่ อี ยู่ในระดบั ปานกลาง 3.51 - 4.50 มเี จตคตทิ ี่ดอี ยู่ในระดบั มาก 4.51 - 5.00 มเี จตคตทิ ี่ดอี ยู่ในระดับมากที่สุด 3.5.4 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถด้าน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 หลังเรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เร่ืองการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหา เป็นฐาน และการจดั การเรยี นรแู้ บบปกติ สำหรับนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ความสามารถด้านการคิด อย่างมีวจิ ารณญาณ และเจตคติต่อวชิ าคณิตศาสตร์ ของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 หลงั เรียนดว้ ย แผนการจดั การเรียนรู้ เรือ่ งการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรยี นรู้แบบใช้ปญั หาเป็นฐาน และการ จัดการเรียนรู้แบบปกติ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ด้วยค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที สำหรับตัวอย่างสองกลุ่มท่ีเป็นอิสระกัน (The t-test for two independent samples) ทร่ี ะดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 3.6 สถิตทิ ใ่ี ช้ในการวิจยั สถิติที่ใช้ในการวิจัยจะประกอบไปด้วยสถิติพื้นฐาน สถิติที่ใช้ตรวจสอบคุณภาพของ เครื่องมือทใี่ ชใ้ นการวิจัย และสถติ ทิ ี่ใชใ้ นการทดสอบสมมตฐิ าน ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ 3.6.1 สถิตพิ ื้นฐาน ไดแ้ ก่ ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน มีสูตรดังนี้ (1) คา่ เฉลี่ย X = 1 n Xi n i=1 เมื่อ X แทน ค่าเฉลย่ี ตัวอย่าง Xi แทน คา่ สังเกตของตัวอยา่ งหน่วยที่ i n แทน ผลรวมค่าสังเกตทั้งหมด  Xi i=1 n แทน ขนาดตัวอย่าง

95 (2) สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน n n X (Xi − X)2 2 − nX2 i S.D. = i=1 = i=1 n −1 n −1 เม่อื S.D. แทนสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานตวั อย่าง n แทนผลรวมคา่ สังเกตกำลังสอง  Xi2 i=1 3.6.2 สถิติทใี่ ช้ตรวจสอบคุณภาพของเครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการวิจัย (1) ดัชนีความสอดคล้อง IOC =  R N เมือ่ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้อง R แทน ผลรวมคะแนนประเมินของผ้เู ชี่ยวชาญทัง้ หมด N แทน จำนวนผเู้ ช่ียวชาญ (2) การหาประสิทธิภาพ E1 E2 โดยใช้สตู ร E1 = X1 100 และ E2 = X2 100 A B เม่ือ E1 แทน ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ซึ่งวัดจากการทดสอบหรือทำใบงานใน ระหวา่ งการจัดการเรยี นรู้แตล่ ะแผน E2 แทน ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ซ่ึงวัดด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นหลงั เรยี น X1 แทน ค่าเฉล่ียของคะแนนทนี่ กั เรียนทำไดห้ ลงั เรียนแตล่ ะแผนการจัดการ เรียนรู้ X2 แทน ค่าเฉลีย่ ของคะแนนทน่ี กั เรียนทำไดห้ ลังสิ้นสดุ การทดลอง A แทน คะแนนเต็มของวัดจากการทดสอบหรือทำใบงานในระหว่าง การจัดการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 10 แผน คะแนนเต็มแต่ละแผนเท่ากับ 10 คะแนน (รวมคะแนนเต็ม 100 คะแนน) B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังสน้ิ สุด การทดลอง (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) (3) คา่ ความยากง่ายและคา่ อำนาจจำแนก (ปราณี หลำเบ็ญสะ, 2559 : 7-8) P = RH + RL และ R = RH − RL = RH − RL NH + NL NH NL

96 เมอ่ื P แทน คา่ ความยากงา่ ยของข้อสอบ R แทน คา่ อำนาจจำแนกของข้อสอบ RH แทน จำนวนนักเรยี นทตี่ อบถูกในกลุ่มคะแนนสูง RL แทน จำนวนนกั เรียนทตี่ อบถูกในกล่มุ คะแนนตำ่ NH แทน จำนวนนกั เรยี นทง้ั หมดในกล่มุ คะแนนสงู NL แทน จำนวนนักเรียนท้งั หมดในกลมุ่ คะแนนต่ำ (4) ค่าความเชือ่ ม่ัน ของแบบทดสอบ ในกรณีท่ีค่าความยากง่ายของขอ้ สอบแตล่ ะข้อ ไม่เท่ากันโดยใช้สูตร KR-20 ของคูเดอร์-ริชารด์ สนั (Kuder-Richardson) มีสูตรดงั น้ี (ปราณี หลำเบ็ญ สะ, 2559 : 5)  K  N  N 2   เมอื่rtt    K  piqi N Tj2 − Tj 1 − = i=1  S2t = j=1  j=1  S2t  K −1 N2   เม่ือ rtt แทนคา่ ความเชือ่ ม่นั K แทนจำนวนข้อในแบบทดสอบ N แทนจำนวนผู้ตอบทั้งหมด pi แทนสดั สว่ นของผ้ทู ี่ตอบถกู ในข้อท่ี i เมอื่ pi = Ri N Ri แทนจำนวนของผู้ท่ีตอบถกู ในขอ้ ที่ i qi แทนสดั ส่วนของผู้ท่ีตอบผดิ ในขอ้ ที่ i เม่อื qi =1− pi K แทนผลรวมของผลคูณ pi และ qi ทง้ั หมด  piqi i=1 Tj แทนคะแนนรวมของผ้ตู อบคนที่ j S2t แทนความแปรปรวนของคะแนนรวมของผตู้ อบท้ังหมด (5) สัมประสทิ ธแ์ิ อลฟา่ ของครอนบาค มสี ูตรดังนี้  K  K   Si2 α= 1− i=1  K −1  S2t    เมอื่ N  N 2 N  N 2  N  Xij   N   Xi2j − Tj2 − Tj Si2 = j=1  j=1  และ S2t = j=1  j=1  N2 N2

97 เมือ่ α แทนค่าความเชื่อมนั่ ของครอนบาค K แทนจำนวนขอ้ ถามในแบบทดสอบ N แทนจำนวนผูต้ อบแบบทดสอบทัง้ หมด Xij แทนคะแนนในข้อถามที่ i ของผ้ตู อบคนท่ี j Si2 แทนความแปรปรวนของคะแนนในขอ้ ถามที่ i K แทนผลรวมของความแปรปรวนของคะแนนทุก ๆ ข้อถาม  Si2 i=1 Tj แทนคะแนนรวมของผู้ตอบคนที่ j S2t แทนความแปรปรวนของคะแนนรวมของผตู้ อบทงั้ หมด 3.6.3 สถิติที่ใชใ้ นการทดสอบสมมติฐาน (1) การเปรียบเทียบความแตกต่างระหวา่ งคะแนนกอ่ นเรยี นและคะแนนหลังเรยี น สมมตฐิ าน H0 : คะแนนหลังเรยี นไมส่ ูงกว่าคะแนนก่อนเรียน H1 : คะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนกอ่ นเรยี น สถิติทดสอบที สำหรับตัวอยา่ งสองกลมุ่ ทส่ี มั พันธ์กัน t = d −μd Sd / n โดยท่ี nn   d = 1n และ Sd = (di − d)2 di2 − nd2 di i=1 = n i=1 i=1 n −1 n −1 เมอื่ X1i แทนคะแนนก่อนเรยี นของตัวอยา่ งหนว่ ยท่ี i X2i แทนคะแนนหลังเรยี นของตัวอยา่ งหน่วยท่ี i di แทนผลตา่ งของ X2i และ X1i น่ันคอื di = X2i − X1i n แทนขนาดตวั อย่าง n แทนผลรวมของ di ทง้ั หมด n ค่า di i=1 d แทนค่าเฉลีย่ ของผลตา่ งของคะแนนหลงั เรยี นและคะแนนกอ่ นเรยี น n แทนผลรวมของกำลังสองของ ทัง้ หมด คา่ d 2 di n i i=1 Sd แทนส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของผลตา่ ง di (2) การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุม

98 สมมตฐิ าน H0 : คะแนนเฉล่ยี ของกลมุ่ ทดลองไม่สูงกวา่ คะแนนเฉล่ยี ของกลมุ่ ควบคมุ H1 : คะแนนเฉลยี่ ของกลุ่มทดลองสูงกวา่ คะแนนเฉลี่ยของกลมุ่ ควบคมุ สถิติทดสอบที สำหรับตัวอยา่ งสองกลมุ่ ท่ีเปน็ อิสระกนั กรณี ความแปรปรวนของประชากรทั้งสองกลุม่ ไมแ่ ตกตา่ งกนั t = (X1 − X2 ) − (1 − 2 ) เมอ่ื Sp = (n1−1)S12 + (n2 −1)S22 n1+ n2 − 2 Sp 1+1 n1 n2 กรณี ความแปรปรวนของประชากรท้งั สองกลมุ่ แตกต่างกัน t = (X1 − X2 ) − (1 − 2 ) S12 + S22 n1 n2 เมื่อ 1 แทนคา่ เฉลี่ยประชากรของกลุ่มทดลอง 2 แทนคา่ เฉลี่ยประชากรของกลุ่มควบคุม X1 แทนค่าเฉลยี่ ตวั อย่างของกลุม่ ทดลอง X2 แทนค่าเฉลยี่ ตัวอย่างของกลุม่ ควบคมุ S12 แทนความแปรปรวนตัวอย่างของกลุม่ ทดลอง S22 แทนความแปรปรวนตวั อย่างของกลุม่ ควบคมุ n1 แทนขนาดตวั อยา่ งของกล่มุ ทดลอง n2 แทนขนาดตวั อย่างของกลมุ่ ควบคมุ

99 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล การวิจัยในคร้ังนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง ประกอบด้วย กลุ่มทดลอง จำนวน 38 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 35 คน รวมจำนวนตัวอย่างทั้งสิ้น 73 คน โดยมีการทดสอบก่อนเรียนและ หลังเรียน ซึ่งการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพ่ือสร้างและหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ เร่ืองการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องการ แจกแจงปกติ ความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน และ (3) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแจกแจงปกติ ความสามารถด้านการคิด อย่างมีวิจารณญาณ และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 หลังเรียนโดย การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ โดยผู้วิจัยจะนำเสนอ สัญลักษณท์ ีใ่ ชใ้ นการนำเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลและผลของการวิจยั ตามวัตถปุ ระสงค์ ดงั ตอ่ ไปนี้ สัญลกั ษณ์ ความหมาย X คา่ เฉลยี่ ของตัวอยา่ ง n ขนาดตัวอย่าง S.D. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานตัวอยา่ ง d ค่าเฉล่ยี ของผลตา่ งของคะแนนหลงั เรียนและคะแนนก่อนเรียน Sd ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของผลตา่ งของคะแนนหลังเรียนและคะแนนก่อนเรียน t คา่ ของสถติ ทิ ดสอบที df องศาเสรี (degree of freedom) p ความน่าจะเป็นท่จี ะได้ค่าสังเกต โดยมเี งอื่ นไขว่าสมมติฐานเป็นจริง * มีนัยสำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .05 เมื่อ p  .05 4.1 ผลการวิเคราะห์เพื่อหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการแจกแจง ปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษา ปีท่ี 6 ให้มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 จากการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ เร่ืองการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 10 แผนการจัดการเรียนรู้ กับกลุ่ม ทดลอง จำนวน 38 คน เม่ือดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ คะแนนระหว่างเรียนในแต่ละ แผนการจัดการเรียนรู้ และคะแนนหลังเรียนภายหลังที่จัดการเรียนครบท้ัง 10 แผนการจัดการเรียนรู้ เมื่อนำข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์เพ่ือหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรยี นร้แู บบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรบั นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ได้ผลการวจิ ัยดังนี้

100 ตารางท่ี 4.1 ผลการวิเคราะหเ์ พื่อหาประสิทธิภาพของแผนการจดั การเรียนรู้ เร่ืองการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ( n = 38) แผนการจดั การเรียนรู้ ระหว่างเรยี น หลังเรยี น คะแนน คะแนน ร้อยของ คะแนน คะแนน ร้อยของ เต็ม เฉลี่ย คะแนน เต็ม เฉล่ยี คะแนน เฉล่ยี เฉล่ยี แผนท่ี 1 คา่ มาตรฐาน 10 8.21 82.11 30 24.03 80.09 แผนท่ี 2 สมบัตขิ องคา่ มาตรฐาน 10 8.00 80.00 แผนที่ 3 การเปลี่ยนข้อมลู เป็นคา่ 10 8.03 80.26 มาตรฐาน แผนท่ี 4 การเปรียบเทียบข้อมลู 10 8.18 81.84 โดยใชค้ ่ามาตรฐาน แผนท่ี 5การแจกแจงปกตแิ ละเส้น 10 8.26 82.63 โคง้ ปกติ แผนที่ 6 สมบตั ิของเสน้ โค้งปกติ 10 8.21 82.11 แผนที่ 7 พื้นทใ่ี ตเ้ ส้นโค้งปกติ 10 8.16 81.58 แผนที่ 8 พ้นื ทใ่ี ต้เส้นโคง้ ปกติ (ตอ่ ) 10 8.05 80.53 แผนที่ 9 การนำความร้เู ก่ียวกับ 10 8.13 81.32 พื้นทใี่ ตเ้ สน้ โคง้ ปกติไปใช้ แผนท่ี 10 การนำความรเู้ ก่ียวกับ 10 8.29 82.89 พนื้ ท่ีใต้เส้นโค้งปกติไปใช้ (ต่อ) โดยเฉลีย่ 100 81.53 81.53 30 24.03 80.09 จากตารางที่ 4.1 พบว่า ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เท่ากับ 81.53/80.09 ซ่ึงมีประสิทธิภาพไม่น้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่กำหนดไว้ เม่ือพิจารณา แผนการจัดการเรียนรู้แต่ละแผน พบว่า แผนที่ 1-10 มีประสิทธิภาพไม่น้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ทกุ แผนการจดั การเรยี นรู้ (รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี จ1 ภาคผนวก จ)

101 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องการแจกแจง ปกติ ความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และเจตคติต่อวิชา คณิตศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการ จดั การเรียนรู้แบบใชป้ ัญหาเป็นฐาน จากการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ เร่ืองการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 กับกลุ่มทดลอง และจากการใช้แผนการจัดการ เรียนรู้ เรื่องการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 กับกลุ่มควบคุม โดยวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องการแจกแจงปกติก่อนเรียนและหลังเรียนด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแจกแจงปกติ จำนวน 30 ข้อ (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) ได้ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลดังน้ี ตารางท่ี 4.2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองการแจกแจงปกติ ของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการ เรียนรู้แบบปกติ จำแนกตามผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นก่อนเรยี นและหลงั เรียน ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน X . S.D.. d . Sd . t . . df p . กลมุ่ ทดลอง กอ่ นเรียน 8.76 1.97 15.26 0.89 105.61* 37 <.01 (38 คน) หลังเรียน 24.03 2.33 กลมุ่ ควบคมุ ก่อนเรยี น 8.94 2.57 11.14 2.10 31.36* 34 <.01 (35 คน) หลงั เรยี น 20.09 2.81 จากตารางที่ 4.2 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแจกแจงปกติ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้ แบบปกติ จำแนกตามผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยสถิติทดสอบที สำหรับ ตวั อย่างสองกลุ่มที่สัมพันธ์กัน พบว่า นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบ ใช้ปัญหาเป็นฐาน มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ืองการแจกแจงปกติหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ( t =105.61 และ p  .01) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ืองการแจกแจงปกติหลังเรียนสูง กว่ากอ่ นเรียน ( t =31.36 และ p  .01) อยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิติที่ระดบั .05 จากการวัดความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนเรียนและหลังเรียนด้วย แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จำนวน 35 ข้อ (คะแนนเต็ม 35 คะแนน) ได้ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลดงั นี้

102 ตารางท่ี 4.3 ผลการเปรียบเทียบความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัด การเรียนรู้แบบปกติ จำแนกตามความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อน เรยี นและหลงั เรียน ความสามารถดา้ นการคิด X . S.D.. d . Sd . t . . df p . อย่างมีวจิ ารณญาณ กลุม่ ทดลอง กอ่ นเรียน 13.11 2.51 8.76 1.42 37.98* 37 <.01 (38 คน) หลังเรียน 21.87 2.04 กลมุ่ ควบคุม กอ่ นเรยี น 13.40 2.75 6.51 2.12 18.18* 34 <.01 (35คน) หลงั เรียน 19.91 2.51 จากตารางที่ 4.3 แสดงผลการเปรียบเทียบความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้ แบบปกติ จำแนกตามความสามารถด้านการคิดอย่างมวี ิจารณญาณกอ่ นเรียนและหลังเรียน ด้วยสถิติ ทดสอบที สำหรับตัวอย่างสองกลุ่มที่สัมพันธ์กัน พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีเรียนโดยการ จัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน มีความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียน ( t =37.98 และ p  .01) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 6 ท่ีเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ มีความสามารถด้านการคิดอย่าง มีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ( t =18.18 และ p  .01) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 จากการวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนเรียนและหลัง เรียนด้วยแบบวัดเจตคตติ ่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวน 30 ข้อ (แต่ละ ข้อมีคะแนน 1-5 คะแนน) เม่ือพิจารณาคะแนนเฉลี่ยของข้อถามแต่ละข้อ (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) ไดผ้ ลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดังนี้ ตารางที่ 4.4 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนเฉลี่ยของเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 โดยการจัดการเรยี นรู้แบบใชป้ ญั หาเป็นฐาน จำแนก ตามเจตคติตอ่ วิชาคณิตศาสตร์ก่อนเรยี นและหลงั เรียน รายการ ก่อนเรยี น หลงั เรียน X . S.D.. ความหมาย X . S.D.. ความหมาย 1. คณิตศาสตร์เป็นวิชาท่ีจำเป็น 3.50 0.83 ปานกลาง 4.24 0.75 มาก สำหรบั การเรียนตอ่ ในระดบั ท่ี สงู ข้ึน 2. คณิตศาสตร์ฝึกใหค้ นทำงาน 3.39 0.79 ปานกลาง 4.24 0.85 มาก อยา่ งมีระบบ

103 ตารางท่ี 4.4 (ตอ่ ) รายการ X. ก่อนเรยี น หลงั เรียน 3.29 S.D.. ความหมาย X . S.D.. ความหมาย 3. การเรียนรูค้ ณิตศาสตร์เข้าใจ 3.71 0.84 ปานกลาง 4.24 0.91 มาก งา่ ยเพราะมีข้นั ตอน 3.26 0.84 มาก 4.50 0.69 มาก 4. ขา้ พเจ้าสนุกกับการแก้ไข 0.79 ปานกลาง 4.29 0.65 มาก ปัญหาทางคณติ ศาสตร์ 3.63 5. คณิตศาสตรเ์ ปน็ วิชาท่ขี ้าพเจ้า 3.47 0.79 มาก 4.55 0.60 มากทสี่ ุด กระตือรอื รน้ ในการค้นคว้า 0.92 ปานกลาง 4.34 0.75 มาก คำตอบอยเู่ สมอ 3.32 6. ขา้ พเจา้ ชอบเรยี นวิชา 0.74 ปานกลาง 4.26 0.86 มาก คณิตศาสตร์มากกว่าวิชาอืน่ ๆ 3.32 7. ขา้ พเจ้าชอบหาคำตอบของ 0.74 ปานกลาง 4.37 0.82 มาก โจทยป์ ัญหาทางคณติ ศาสตร์ 3.61 ที่ยากและท้าทายความคิด 3.61 0.75 มาก 4.45 0.69 มาก 8. วชิ าคณติ ศาสตร์เปน็ วชิ าที่ 3.74 0.72 มาก 4.61 0.50 มากทส่ี ดุ ข้าพเจา้ อยากเรียน เพราะทำ 3.50 0.92 มาก 4.32 0.81 มาก ความเขา้ ใจง่าย 3.84 1.03 ปานกลาง 4.29 0.87 มาก 9. ขา้ พเจ้าชอบเรียนวชิ า 3.74 0.79 มาก 4.39 0.75 มาก คณิตศาสตรเ์ พราะได้เรียนรู้ได้ 1.06 มาก 4.66 0.48 มากท่สี ุด เรว็ กว่าวชิ าอื่น ๆ 3.37 10. ขา้ พเจ้าอยากทำการบ้าน 1.00 ปานกลาง 4.63 0.59 มากท่สี ุด วชิ าคณติ ศาสตร์ 11. คณิตศาสตรฝ์ ึกให้คดิ อย่างมีขนั้ ตอน 12. ขา้ พเจ้าสนกุ กับการคดิ คำนวณทซ่ี บั ซ้อน 13. ขา้ พเจ้าขยนั ทำแบบฝึกหัด วชิ าคณิตศาสตร์ 14. ข้าพเจา้ ตอบปัญหาทาง คณติ ศาสตร์ได้ดีกว่าวิชาอืน่ 15. ข้าพเจ้าสบายใจ เม่อื ได้ทำ กจิ กรรมหรืองานท่ีเกี่ยวกับ วชิ าคณิตศาสตร์ 16. คณิตศาสตร์เปน็ วิชาทเ่ี รยี น สนุก

104 ตารางท่ี 4.4 (ต่อ) รายการ X. ก่อนเรยี น หลงั เรียน 3.47 S.D.. ความหมาย X . S.D.. ความหมาย 17. ข้าพเจ้าชอบทำแบบฝึกหัด 3.32 0.86 ปานกลาง 4.29 0.73 มาก วิชาคณิตศาสตรม์ ากกวา่ วชิ าอื่น 3.39 0.96 ปานกลาง 4.29 0.84 มาก 18. ขา้ พเจา้ มคี วามสขุ เม่ือได้ทำ 0.95 ปานกลาง 4.39 0.79 มาก แบบทดสอบวิชาคณิตศาสตร์ 3.21 19. ขา้ พเจ้าชอบเขา้ รว่ มกิจกรรม 3.37 0.78 ปานกลาง 4.34 0.75 มาก ท่เี ก่ยี วข้องกับวิชาคณติ ศาสตร์ 3.82 0.82 ปานกลาง 4.42 0.68 มาก อยู่เสมอ 3.32 1.06 มาก 4.37 0.85 มาก 20. คณิตศาสตรฝ์ ึกใหค้ น 3.50 0.93 ปานกลาง 4.37 0.79 มาก ตัดสนิ ใจอย่างมีเหตุผล 3.55 0.98 ปานกลาง 4.39 0.68 มาก 21. วชิ าคณติ ศาสตร์เป็นวิชา 1.01 มาก 4.34 0.78 มาก ทไ่ี มน่ า่ เบ่ือ 3.58 22. ขา้ พเจ้ามีความมน่ั ใจมาก 0.86 มาก 4.61 0.55 มากทส่ี ดุ เมอ่ื คิดคำนวณทางคณติ ศาสตร์ 3.32 23. ข้าพเจ้าอยากใหเ้ พื่อน ๆ 3.47 0.93 ปานกลาง 4.24 0.82 มาก ทำการบ้านวชิ าคณิตศาสตร์ 3.39 0.92 ปานกลาง 4.34 0.88 มาก 24. ขา้ พเจ้ารูส้ กึ ต่ืนเต้น 0.72 ปานกลาง 4.47 0.69 มาก เม่อื เจอโจทย์ปญั หาทซ่ี ับซ้อน 25. ข้าพเจ้ารสู้ ึกดเี มื่อรู้ว่าจะได้ เรยี นวิชาคณติ ศาสตรใ์ นชั่วโมง ถดั ไป 26. ข้าพเจ้ารสู้ กึ มน่ั ใจเมื่อครูให้ ออกไปทำกิจกรรมคณิตศาสตร์ หนา้ ชนั้ เรยี น 27. ข้าพเจา้ ชอบการแขง่ ขนั ตอบ ปญั หาทางคณิตศาสตร์ 28. คณิตศาสตรเ์ ปน็ วิชาที่ไม่ยาก ถา้ ใช้ความพยายาม 29. ขา้ พเจา้ รู้สึกไมร่ ำคาญเมื่อ พอ่ แม่หรอื ครูถามปญั หาเก่ยี วกับ วชิ าคณิตศาสตร์

105 ตารางที่ 4.4 (ตอ่ ) กอ่ นเรียน หลังเรียน รายการ X . S.D.. ความหมาย X . S.D.. ความหมาย 30. ข้าพเจ้าชอบนำความรู้ 3.42 0.83 ปานกลาง 4.37 0.67 มาก ทางคณิตศาสตรม์ าใชใ้ น ชีวิตประจำวนั อยเู่ สมอ 3.48 0.22 ปานกลาง 4.39 0.28 มาก เช่น การคิดเงินทอน ฯลฯ โดยเฉล่ีย จากตารางที่ 4.4 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนเฉลี่ยของเจตคติต่อ วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน จำแนกตามเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า นักเรียนมีเจตคติท่ีดีต่อวิชา คณิตศาสตร์ก่อนเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.48 และ S.D. = 0.22) โดยข้อถามท่ีมีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด 3 อันดับแรก คือ ตอบปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้ ดีกว่าวิชาอื่น ( X = 3.84 และ S.D. = 0.79) มีความม่ันใจมาก เม่ือคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์ ( X = 3.82 และ S.D. = 1.06) และสนุกกับการคิดคำนวณที่ซับซ้อน ( X = 3.74 และ S.D. = 0.92) ตามลำดับ แต่หลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานแล้ว นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชา คณิตศาสตร์อยู่ในระดับมาก ( X = 4.39 และ S.D. = 0.28) โดยขอ้ ถามท่ีมีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด 3 อันดับ แรก คือสบายใจเม่อื ได้ทำกจิ กรรม หรืองานท่ีเก่ียวกับวิชาคณิตศาสตร์ ( X = 4.66 และ S.D. = 0.48) คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เรียนสนุก ( X = 4.63 และ S.D. = 0.59) และคณิตศาสตร์ฝึกให้คิดอย่างมี ขนั้ ตอน ( X = 4.61 และ S.D. = 0.50) ตามลำดบั ตารางที่ 4.5 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนเฉล่ียของเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ จำแนกตามเจตคติ ตอ่ วชิ าคณิตศาสตร์กอ่ นเรียนและหลังเรียน รายการ ก่อนเรียน หลังเรียน X . S.D.. ความหมาย X . S.D.. ความหมาย 1. คณิตศาสตร์เปน็ วิชาที่จำเปน็ 3.29 0.71 ปานกลาง 4.03 0.86 มาก สำหรับการเรยี นตอ่ ในระดบั ท่ี สงู ขนึ้ 2. คณิตศาสตร์ฝกึ ให้คนทำงาน 3.20 0.76 ปานกลาง 4.00 0.80 มาก อยา่ งมรี ะบบ 3. การเรียนรคู้ ณติ ศาสตรเ์ ขา้ ใจ 3.34 0.80 ปานกลาง 4.14 0.88 มาก งา่ ยเพราะมขี ้นั ตอน 4. ข้าพเจา้ สนกุ กบั การแก้ไข 3.54 0.82 มาก 4.69 0.47 มากทส่ี ุด ปญั หาทางคณติ ศาสตร์

106 ตารางท่ี 4.5 (ต่อ) รายการ ก่อนเรียน หลังเรียน X . S.D.. ความหมาย X . S.D.. ความหมาย 5. คณติ ศาสตร์เปน็ วชิ าที่ 3.37 0.77 ปานกลาง 4.14 0.77 มาก ข้าพเจ้ากระตือรือร้นใน การค้นควา้ คำตอบอยู่เสมอ 6. ขา้ พเจ้าชอบเรยี นวชิ า 3.49 0.74 ปานกลาง 4.37 0.73 มาก คณิตศาสตร์มากกวา่ วิชาอื่น ๆ 7. ข้าพเจ้าชอบหาคำตอบของ 3.34 0.87 ปานกลาง 3.86 0.77 มาก โจทย์ปัญหาทางคณติ ศาสตร์ ที่ยากและท้าทายความคดิ 8. วชิ าคณติ ศาสตรเ์ ปน็ วชิ าที่ 3.23 0.84 ปานกลาง 3.94 0.91 มาก ข้าพเจ้าอยากเรยี น เพราะทำ ความเข้าใจงา่ ย 9. ขา้ พเจ้าชอบเรยี นวิชา 3.35 0.69 ปานกลาง 4.17 0.92 มาก คณติ ศาสตร์เพราะไดเ้ รียนรู้ ไดเ้ รว็ กวา่ วิชาอนื่ ๆ 11. คณติ ศาสตร์ฝึกให้คดิ 3.23 0.73 ปานกลาง 4.11 0.83 มาก อย่างมีขน้ั ตอน 12. ข้าพเจา้ สนุกกบั การคดิ 3.51 0.89 มาก 4.14 0.88 มาก คำนวณท่ีซบั ซ้อน 13. ขา้ พเจ้าขยนั ทำแบบฝกึ หัด 3.26 0.82 ปานกลาง 4.49 0.70 มาก วิชาคณติ ศาสตร์ 14. ข้าพเจ้าตอบปญั หาทาง 3.86 0.81 มาก 4.37 0.77 มาก คณิตศาสตร์ไดด้ ีกว่าวิชาอ่ืน 15. ขา้ พเจา้ สบายใจเม่อื ไดท้ ำ 3.83 1.04 มาก 4.17 0.75 มาก กจิ กรรมหรืองานทีเ่ ก่ียวกบั วิชาคณิตศาสตร์ 16. คณิตศาสตร์เป็นวิชาท่เี รยี น 3.37 1.00 ปานกลาง 4.43 0.70 มาก สนุก 17. ขา้ พเจ้าชอบทำแบบฝึกหัด 3.66 0.94 มาก 4.09 0.78 มาก วชิ าคณิตศาสตรม์ ากกวา่ วชิ าอื่น 18. ขา้ พเจ้ามคี วามสุขเมอื่ ได้ทำ 3.66 0.94 มาก 4.03 0.82 มาก แบบทดสอบวชิ าคณิตศาสตร์

107 ตารางท่ี 4.5 (ต่อ) รายการ กอ่ นเรียน หลังเรียน X . S.D.. ความหมาย X . S.D.. ความหมาย 19. ขา้ พเจ้าชอบเขา้ ร่วมกจิ กรรม 3.43 0.95 ปานกลาง 4.26 0.82 มาก ท่ีเกยี่ วข้องกบั วิชาคณิตศาสตร์ อยูเ่ สมอ 20. คณิตศาสตรฝ์ ึกใหค้ น 3.11 0.76 ปานกลาง 4.20 0.76 มาก ตัดสินใจอยา่ งมีเหตผุ ล 21. วชิ าคณติ ศาสตร์เป็นวชิ า 3.26 0.85 ปานกลาง 4.43 0.70 มาก ทไ่ี ม่น่าเบ่ือ 22. ขา้ พเจ้ามีความม่ันใจมาก 4.14 0.88 มาก 3.97 0.86 มาก เม่ือคิดคำนวณทางคณติ ศาสตร์ 24. ข้าพเจ้ารู้สกึ ตื่นเตน้ เมื่อ 3.71 1.07 มาก 4.23 0.73 มาก เจอโจทยป์ ัญหาท่ีซบั ซอ้ น 25. ข้าพเจ้ารู้สกึ ดีเม่ือรูว้ า่ จะได้ 3.60 1.01 มาก 4.06 0.80 มาก เรียนวชิ าคณติ ศาสตร์ในชั่วโมง ถัดไป 26. ขา้ พเจา้ รู้สกึ ม่ันใจเม่ือครูให้ 3.60 0.88 มาก 3.97 0.71 มาก ออกไปทำกจิ กรรมคณติ ศาสตร์ หน้าชนั้ เรียน 27. ข้าพเจ้าชอบการแขง่ ขนั 3.26 0.95 ปานกลาง 4.00 0.80 มาก ตอบปญั หาทางคณิตศาสตร์ 28. คณิตศาสตรเ์ ป็นวชิ าท่ีไม่ยาก 3.49 0.92 ปานกลาง 3.69 0.68 มาก ถ้าใช้ความพยายาม 29. ข้าพเจา้ รู้สึกไมร่ ำคาญเม่ือ 3.37 0.73 ปานกลาง 3.94 0.80 มาก พ่อแม่หรือครถู ามปญั หาเกีย่ วกบั วิชาคณิตศาสตร์ 30. ขา้ พเจ้าชอบนำความรู้ 3.43 0.85 ปานกลาง 4.03 0.75 มาก ทางคณิตศาสตร์มาใช้ใน ชีวติ ประจำวนั อย่เู สมอ เชน่ การคดิ เงินทอน ฯลฯ โดยเฉล่ีย 3.45 0.86 ปานกลาง 4.15 0.78 มาก จากตารางท่ี 4.5 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนเฉล่ียของเจตคติต่อ วิชาคณิตศาสตรข์ องนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 โดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ จำแนกตามเจตคติ ต่อวิชาคณิตศาสตรก์ ่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ก่อนเรียน

108 โดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.45 และ S.D. = 0.86) โดยข้อถามที่มี ค่าเฉลี่ยมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ มีความม่ันใจมากเม่ือคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์ ( X = 4.14 และ S.D. = 0.88) ตอบปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้ดีกว่าวิชาอ่ืน ( X = 3.86 และ S.D. = 0.81) และ สบายใจเมื่อได้ทำกิจกรรมหรืองานที่เกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์ ( X = 3.86 และ S.D. = 0.81) ตามลำดับ แต่หลงั เรียนโดยการจัดการเรียนรูแ้ บบปกติแล้วนกั เรียนมีเจตคตทิ ่ีดตี ่อวิชาคณติ ศาสตร์อยู่ ในระดับมาก ( X = 4.15 และ S.D. = 0.78) โดยข้อถามท่ีมีค่าเฉล่ียมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ สนุก กับการแก้ไขปัญหาทางคณิตศาสตร์ ( X = 4.69 และ S.D. = 0.47) ขยันทำแบบฝึกหัดวิชา คณิตศาสตร์ ( X = 4.49 และ S.D. = 0.70) และคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เรียนสนุก และวิชา คณติ ศาสตร์เปน็ วิชาท่ีไมน่ ่าเบอ่ื ( X = 4.43 และ S.D. = 0.70) ตามลำดับ ตารางที่ 4.6 ผลการเปรียบเทียบเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดย การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ จำแนกตาม ความสามารถด้านการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณก่อนเรียนและหลงั เรียน เจตคติต่อวิชาคณติ ศาสตร์ X . S.D.. d . Sd . t . . df p . กลมุ่ ทดลอง ก่อนเรยี น 3.48 0.22 0.91 0.29 19.15* 37 <.01 (n = 38) หลงั เรยี น 4.39 0.28 กล่มุ ควบคุม ก่อนเรียน 3.45 0.22 0.69 0.32 12.78* 34 <.01 (n = 35) หลังเรียน 4.15 0.24 จากตารางที่ 4.6 แสดงผลการเปรียบเทียบเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยการจัดการเรียนรแู้ บบใช้ปัญหาเป็นฐานและการจดั การเรียนรู้แบบปกติ จำแนก ตามเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ก่อนเรยี นและหลังเรียน ด้วยสถิติทดสอบที สำหรับตัวอย่างสองกลุ่มที่ สัมพันธ์กัน พบว่า นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ท่เี รียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใชป้ ัญหาเป็นฐาน มี เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์หลังเรียนสงู กว่าก่อนเรียน ( t = 19.15 และ p  .01) อย่างมีนัยสำคัญทาง สถติ ทิ รี่ ะดบั .05 และนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่เรยี นโดยการจัดการเรยี นรู้แบบปกติ มีเจตคติต่อ วิชาคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ( t =12.78 และ p  .01) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .05 4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ืองการแจกแจง ปกติ ความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และเจตคติต่อวิชา คณิตศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 หลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ แบบใชป้ ัญหาเป็นฐานและการจดั การเรียนรู้แบบปกติ จากการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กับกลุ่มทดลอง และจากการใช้แผนการจัดการ

109 เรียนรู้ เร่ืองการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 กับกลุ่มควบคุม ได้ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ดังนี้ ตารางท่ี 4.7 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองการแจกแจงปกติ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนเรียนและหลังเรียน จำแนกตามการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปญั หาเปน็ ฐานและการจัดการเรยี นรแู้ บบปกติ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ขนาดตวั อยา่ ง X . S.D.. t . . df p . ก่อนเรยี น กลมุ่ ทดลอง 38 8.76 1.97 -0.34 71 .74 กลมุ่ ควบคมุ 35 8.94 2.57 หลังเรยี น กลมุ่ ทดลอง 38 24.03 2.33 6.54* 71 <.01 กลมุ่ ควบคุม 35 20.09 2.81 จากตารางท่ี 4.7 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองการแจกแจงปกติ ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ก่อนเรียนและหลงั เรียน จำแนกตามการจดั การเรยี นรู้แบบใช้ปญั หา เป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ด้วยสถิติทดสอบที สำหรับตัวอย่างสองกลุ่มท่ีเป็นอิสระกัน พบว่า นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ท่ีเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานและ การจัดการเรียนรู้แบบปกติ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องการแจกแจงปกติก่อนเรียนไม่แตกต่างกัน ( t =-0.34 และ p =.74) ท่ีระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 และนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียน โดยการจัดการเรยี นรู้แบบใช้ปัญหาเปน็ ฐาน มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเร่ืองการแจกแจงปกติหลงั เรียน สูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ( t = 6.54 และ p  .01) อย่างมีนัยสำคัญทาง สถติ ทิ ีร่ ะดบั .05 ตารางท่ี 4.8 ผลการเปรียบเทียบความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนเรียนและหลังเรียน จำแนกตามการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปญั หาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ความสามารถ ขนาดตัวอยา่ ง X. S.D. . t. . df p. ดา้ นการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ ก่อนเรยี น กลุ่มทดลอง 38 13.11 2.51 -0.52 71 .60 กลุม่ ควบคมุ 35 13.40 2.75 หลังเรียน กลุ่มทดลอง 38 21.87 2.04 3.32* 71 <.01 กลมุ่ ควบคุม 35 19.91 2.51 จากตารางที่ 4.8 แสดงผลการเปรียบเทียบความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ก่อนเรียนและหลงั เรียน จำแนกตามการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหา เป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ด้วยสถิติทดสอบที สำหรับตัวอย่างสองกลุ่มท่ีเป็นอิสระกัน พบว่า นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ท่ีเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานและ

110 การจัดการเรียนรู้แบบปกติ มีความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนเรียนไม่แตกต่างกัน ( t = -0.52 และ p =.60) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 และนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีเรียน โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน มีความสามารถด้านการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณหลังเรียน สูงกว่านักเรียนท่ีเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ( t = 3.32 และ p  .01) อย่างมีนัยสำคัญทาง สถติ ิทีร่ ะดับ .05 ตารางท่ี 4.9 ผลการเปรียบเทียบเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนเรียนและหลังเรียน จำแนกตามการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานและ การจัดการเรียนร้แู บบปกติ เจตคตติ อ่ วิชาคณติ ศาสตร์ ขนาดตัวอยา่ ง X . S.D.. t . . df p . ก่อนเรยี น กลมุ่ ทดลอง 38 3.48 0.22 0.54 71 .59 กล่มุ ควบคุม 35 3.45 0.22 หลังเรียน กลมุ่ ทดลอง 38 4.39 0.28 3.94* 71 <.01 กลมุ่ ควบคุม 35 4.15 0.24 จากตารางท่ี 4.9 แสดงผลการเปรียบเทียบเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนเรียนและหลังเรียน จำแนกตามการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน และการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ด้วยสถิติทดสอบที สำหรับตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระกัน พบว่า นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการ เรียนรู้แบบปกติ มีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ก่อนเรียนไม่แตกต่างกัน ( t = 0.54 และ p =.59) ที่ ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 และนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน มีเจตคติตอ่ วิชาคณิตศาสตรห์ ลังเรยี นสงู กว่านักเรียนทเี่ รียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบ ปกติ ( t =3.94 และ p  .01) อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05

111 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ก า ร วิ จั ย ใน ค ร้ั งนี้ เป็ น ก าร ศึ ก ษ า ผ ล ข อ งก า ร จั ด ก า ร เรี ย น รู้แ บ บ ใช้ ปั ญ ห าเป็ น ฐ า น ที่ มี ต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องการแจกแจงปกติ ความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนกบินทร์วิทยา โดยมี วตั ถุประสงค์ (1) เพื่อสรา้ งและหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรยี นรู้เร่ืองการแจกแจงปกติ โดย การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ให้มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ืองการแจกแจงปกติ ความสามารถด้าน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ก่อน เรียนและหลังเรียนของนักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน และ (3) เพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เร่ืองการแจกแจงปกติ ความสามารถด้านการคิดอย่าง มีวิจารณญาณ และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีได้รับการจัดการ เรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานและการจดั การเรยี นรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนกบินทร์วิทยา ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 จำนวน 73 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง โดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองเป็นนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 จำนวน 38 คน และกลุ่มควบคุมเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 จำนวน 35 คน และเครอ่ื งมอื ทีใ่ นการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรยี นรู้ เร่อื งการแจกแจงปกติ โดยการจัด การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรยี นรแู้ บบปกติ สำหรับนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการแจกแจงปกติ สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ปีท่ี 6 (3) แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 และ (4) แบบวัด เจตคติตอ่ วชิ าคณิตศาสตร์ สำหรับนกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ (1) วิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือหาประสิทธิภาพของ แผนการจัดการเรียนรู้ เร่ืองการแจกแจงปกติ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับ นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 โดยใช้เกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 80/80 (2) วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อ เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ความสามารถด้านการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และเจตคตติ ่อวิชา คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนและหลังเรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน และการจัดการเรียนรู้แบบปกติ สำหรับนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ด้วยค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และสถติ ิทดสอบที สำหรับ ตัวอย่างสองกลุ่มที่สัมพันธ์กัน และ (3) วิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 6 หลังเรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน และการจัดการเรียนรู้แบบปกติ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ด้วย ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที สำหรับตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระกัน ผลการศกึ ษาสรุปได้ดงั น้ี

112 5.1 สรุปผล 1) ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 81.53/80.09 ซ่ึงมีประสิทธิภาพ ไม่นอ้ ยกว่าเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 ทก่ี ำหนดไว้ 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองการแจกแจงปกติ ความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ เจตคตติ อ่ วิชาคณติ ศาสตร์ หลงั เรียนสงู กว่าก่อนเรยี น อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดบั .05 3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นเรื่องการแจกแจงปกติ ความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และเจตคติต่อวิชา คณิตศาสตร์ หลังเรียนสงู กว่ากอ่ นเรยี น อยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05 4) นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ก่อนเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหา เป็นฐานอยู่ในระดับปานกลาง โดยข้อคำถามที่มีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด 3 อันดับแรก คือ ตอบปัญหาทาง คณิตศาสตร์ได้ดีกว่าวิชาอื่น มีความม่ันใจมากเมื่อคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์และสนุกกับการคิด คำนวณท่ีซับซ้อน ตามลำดับ แต่ภายหลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานแล้ว นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับมาก โดยข้อคำถามท่ีมีค่าเฉล่ียมากที่สุด 3 อันดับ แรก คือสบายใจเม่ือได้ทำกิจกรรมหรืองานที่เกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์เป็นวิชาท่ีเรียน สนุก และคณิตศาสตร์ฝกึ ให้คดิ อย่างมีข้นั ตอน ตามลำดบั 5) นักเรียนมีเจตคติท่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ก่อนเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติอยู่ใน ระดับปานกลาง โดยข้อคำถามที่มีคา่ เฉลี่ยมากทีส่ ดุ 3 อนั ดับแรก คือ มีความมั่นใจมากเม่ือคิดคำนวณ ทางคณิตศาสตร์ ตอบปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้ดีกว่าวิชาอื่น และสบายใจเมื่อได้ทำกิจกรรมหรืองาน ที่เก่ียวกับวิชาคณิตศาสตร์ ตามลำดับ แต่ภายหลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติแล้วนักเรียนมี เจตคติท่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับมาก โดยข้อคำถามที่มีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด 3 อันดับแรก คือ สนกุ กับการแก้ไขปัญหาทางคณิตศาสตร์ ขยันทำแบบฝึกหัดวิชาคณิตศาสตร์ และคณติ ศาสตร์เป็นวิชา ทเี่ รยี นสนกุ และวชิ าคณติ ศาสตรเ์ ป็นวิชาท่ไี ม่นา่ เบื่อ ตามลำดับ 6) นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานและ การจัดการเรียนรูแ้ บบปกติ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองการแจกแจงปกติ ความสามารถด้านการคิด อย่างมีวิจารณญาณ และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ก่อนเรียนไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทาง สถติ ิ .05 7) นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ืองการแจกแจงปกติ ความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่านักเรียนท่ีเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ .05

113 5.2 อภิปรายผล ผวู้ ิจัยนำเสนอการอภปิ ราย ดงั น้ี 1) ผลการศึกษา พบว่าแผนการจัดการเรียนรู้ เร่ืองการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้ แบบใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.53/80.09 นั่น แสดงว่าแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการแจกแจงปกติ โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพไม่น้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐานท่ีกำหนดและส่งผล ที่ดีต่อนักเรียน ทำให้นักเรียนมีความรู้เพ่ิมขึ้น รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานมี ประสิทธิภาพในการช่วยให้กระบวนการเรียนการสอนดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยท่ีส่งผลให้ กระบวนการระหว่างการจัดการเรียนรู้และหลังจัดการเรียนรู้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ต้ังไว้ สอดคล้องกับงานวิจัยของ สายใจ จำปาหวาย (2549) ท่ีพบว่า แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องบทประยุกต์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โดยใช้ปัญหาเป็นฐานมีประสิทธิภาพ 81.41/79.44 อีกท้ังสอดคล้องกับงานวิจัยของ เพ็ญศรี พิลาสันต์ (2551) ที่พบว่า แผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องเศษส่วนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 ที่จดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน มีประสทิ ธิภาพเท่ากับ 81.99/79.76 และสอดคล้องกับงานวิจัยของ เอมอร จรัสพันธ์ (2550) ทพี่ บว่า ชุดการเรียนกลุ่ มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบใช้ปัญ หาเป็นฐา นมี ประสิทธภิ าพ 83.33/88.88 ซึ่งสงู กว่าเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 เน่ืองจากการจดั การเรียนการสอนแบบ ใช้ปัญหาเป็นฐานสนับสนุนให้นักเรียนมีการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างลุ่มลึก โจทย์ปัญหาที่ใช้ในการ เรยี นรู้จะส่งผลให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของส่ิงท่ีเรยี นกบั การปฏิบตั ิงานในอนาคต ทำใหเ้ กิดแรงจูงใจ ในการเรียนรู้สามารถจดจำได้ดีขึ้น ท้ังครูและนักเรียนสนุกกับการเรียน ครูส่งเสริมและสนับสนุนการ ทำงานเป็นทีม และเปิดโอกาสให้มีการฝึกทักษะการส่ือสาร การแก้ปัญหา การคิดอย่างมีวิจารญาณ และการหาข้อสรุปเม่ือมีความขัดแย้ง และผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงและสนุกกับการทำงานเป็นกลุ่ม สอดคล้องกับคำกล่าวของ ศิริพันธุ์ ศิริพันธ์ และยุพาวรรณ ศรีสวัสด์ิ (2554) ท่ีกล่าวว่าการจัดการ เรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เป็นใช้กระบวนการกลุ่ม ท่ีช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีความเข็งแกร่งทาง อารมณ์ โดยผู้เรียนจะมีโอกาสเผชิญกับความรู้สึกท่ีรุนแรง ความขัดแย้ง และทัศนคติท่ีแตกต่างกัน ในกลุ่ม กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ประสบการณ์ของตนเองและของกลุ่มในการแก้ปัญหา เกิดการ ช่วยเหลือกันระหว่างเพื่อนในกลุ่ม ในการแสดงความรู้สึกประสบการณ์ และสิ่งแวดล้อม การปฏิบัติ ต่าง ๆ มาใช้ต้ังคำถามและนำมาเป็นประเด็นปัญหา ครูได้เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายเพ่ือให้เกิด คุณค่าและเป้าหมายในทางบวก นักเรียนมีความร่วมมือในการทำงาน มีโอกาสเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ยอมรับกติกากลุ่ม ทำให้ผู้เรียนเกิดความคุ้นเคยในการค้นคว้าหาความรู้อย่างต่อเนื่องและแสวงหา ความรู้จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ซึ่งต้องอาศัยความสามารถในการแยกแยะและวิเคราะห์ข้อมูล การ เชื่อมโยงความสมั พันธ์ การให้เหตุผล การศึกษาท่ีละเอียดรอบคอบ รวมกับการสรุปท่ีได้ประเด็นและ สาระที่สำคัญ และได้ฝึกทักษะการแก้ปัญหาเพ่ือนำไปสู่การปฏิบัติและการให้เหตุผล ต้องผ่าน กระบวนการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณแบบบูรณาการอกี ด้วย และสอดคล้องกบั บทสรุปของสำนักพัฒนา นวัตกรรม การจัดการศึกษา (2551) ที่สรุปว่า การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานเป็นรูปแบบ การสอนแนวทางหน่ึงท่ีจะนำไปสู่การปฏิรปู การศึกษา อย่างแท้จริงซ่ึงจะส่งผลทำให้การจัดการเรียนรู้

114 ของครูเปล่ียนไปเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญโดยครูและนักเรียน มีความพึงพอใจในการเรียนรู้แบบใช้ปัญหา เป็นฐานท่ีทำให้ผู้เรียนได้ร่วมกันคิดร่วมกันทำงานเป็นทีม กล้าพูดกล้า แสดงออกมากขึ้น ผู้เรียนมี ความสามารถคดิ เป็นระบบมากข้ึน รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลในการตัดสินใจแก้ปัญหา ตามสถานการณ์ท่ี ครูและนักเรียนร่วมกันกำหนดข้ึน หรือปัญหาในชีวิตประจำวัน และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ บีไฮย์ (Behiye, 2009 อ้างถึงใน รุสดา จะปะเกีย, 2558) พบว่า การเรียนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานมี อทิ ธิพลสำหรับการเรยี นรเู้ ป็นอย่างมาก ซงึ่ การเรยี นดังกล่าว เป็นแนวทางการศกึ ษาทท่ี ้าทายนักเรียน ในการทำงานร่วมกันในกลุ่มท่ีจะแสวงหาคำตอบเพ่ือนำมาใช้ในการแก้ปัญหาการเรียนการสอน โดย นักเรียนเป็นศูนย์กลางมากข้ึน และครูมีบทบาทคอยอำนวยความสะดวก สนับสนุนการเรียนรู้ของ นกั เรียนเพื่อนกั เรียนสามารถคน้ หาผลลพั ธข์ องปัญหาได้ 2) ผลการศึกษาพบว่านักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปญั หาเป็นฐาน มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนหลังเรยี นสูงกว่ากอ่ นเรยี น และนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปญั หาเป็นฐาน มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นหลังเรียนสูงกว่านักเรยี น ท่ีเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ถึงแม้ว่าโดยปกติการทดสอบหลังเรียนน้ันย่อมมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงกว่ากอ่ นเรียน แต่จากการวิจัยคร้ังนี้ กลุ่มทดลองมีคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสงู กว่า กลุ่มควบคุม อีกท้ังจากผลการศึกษาก็ช้ีให้เห็นชัดว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีเรียนโดยการ จัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน เรียนไม่แตกต่างกัน ดังนั้นจะสรุปได้ว่าการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนสูงขึ้น ท้ังนี้เป็นเพราะการจัดกิจกรรมแบบใช้ปัญหาเป็นฐานเป็น ปัจจัยท่ีส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนมากข้ึน มีความสามารถในการวิเคราะห์โจทย์ ปัญหาและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ จนสามารถเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาที่สนใจได้อย่าง สมเหตุสมผล การเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานมีส่วนช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาท่ีมี ความซับซ้อน และเพิ่มความสามารถในการเรียนได้สูงมากข้ึน และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีสูงกว่า การเรียนที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ สอดคล้องกับงานวิจัยของ ไพลิน สว่างเมฆารัตน์ (2552) วนั ดี ต่อเพ็ญ (2553) วาสนา ก่ิมเท้ิง (2553) และณัฐพร ขำสุวรรณ์ (2556) ท่ีได้จัดการเรียน การสอนแบบใชป้ ัญหาเปน็ ฐานในวิชาคณิตศาสตร์ แล้วพบวา่ นักเรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสงู ข้ึน อีกทั้งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ณัฐพร เอี่ยมทอง (2560) และวิลาศิณีย์ อินทร์ชู (2551) ท่ีจัดการ เรียนโดยรูปแบบใช้ปัญหาเป็นฐานกับรูปแบบการสอนปกติ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนโดยใช้รูปแบบใช้ปัญหาเป็นฐานสูงกว่าก่อนเรียน และนักเรียนมี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นคณิตศาสตรโ์ ดยใช้รปู แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สงู กวา่ รูปแบบการสอนปกติอยา่ ง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานทำให้นักเรียนได้ฝึกการอ่านเพ่ือ วิเคราะห์มากขึ้น และได้คิดเก่ียวกับสิ่งท่ีได้อ่านหรือจากข้อมูลที่สืบค้นได้ สอดคล้องกับคำกล่าวของ วัชรี บูรณสิงห์ (2546) ท่ีกล่าวว่า องค์ประกอบเก่ียวกับการฝึกการแก้โจทย์ปัญหาคณิต เมื่ออ่านและ คดิ วิเคราะห์ไดม้ ากขึ้น รจู้ ักแกป้ ัญหาเป็นขั้นตอน มีการตรวจสอบคำตอบ ประเมินคา่ ของคำตอบ เม่ือ ทำเป็นประจำก็จะส่งผลต่อการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิสูงขึ้น และสอดคล้องกับคำกล่าวของคากีร์ และเต็ก กายา (Çakir & Tekkaya, 1999 อ้างถึงใน สาริญา และสุม, 2560) ได้กล่าวว่าการจัดการเรียนรู้โดย ใช้ปัญหาเป็นฐานสามารถพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียน สร้างโอกาสให้นักเรียนได้คิดแบบ

115 อภิปัญญาส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีความหมาย และเพิ่มแรงจูงใจในการเรียน ดังนั้นจึงสรปุ ได้ว่าด้วย กระบวนการของการจดั การเรียนรู้โดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานส่งผลใหน้ กั เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชา คณติ ศาสตร์สูงกวา่ กอ่ นเรียน และมีผลสัมฤทธ์ิสูงกวา่ การจัดการเรยี นรู้แบบปกติ 3) ผลการศึกษาพบว่านักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน มีความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และ นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ที่เรยี นโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน มีความสามารถด้าน การคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่านักเรียนท่ีเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ โดยปกติ การทดสอบหลังเรียนย่อมส่งผลลัพธ์ที่สูงกว่าก่อนเรียน แต่จากการวิจัยครั้งน้ีกลุ่มทดลองมีคะแนน แตกต่างจากกลุ่มควบคุม อีกทัง้ จากผลการศึกษาก็ช้ใี ห้เห็นชัดวา่ นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่เรียน โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ มีความสามารถด้านการ คดิ อยา่ งมีวิจารณญาณกอ่ นเรยี นไม่แตกต่างกนั ดังนั้นจะสรุปไดว้ า่ การจดั การเรียนรู้แบบใชป้ ัญหาเป็น ฐาน ส่งผลให้ความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนของนักเรียนสูงข้ึน สอดคลอ้ งกับ งานวิจัยของไพลนิ สว่างเมฆารตั น์ (2552) ได้ศึกษาผลการจัดการเรยี นรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน พบว่า นักเรียนมีความสามารถในการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณที่เรยี นวิชาคณิตศาสตร์ หลังการจัดการเรยี นรู้สูง กวา่ ก่อนจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน และสอดคล้องกับงานวิจัยของ อารยา ช่ออังชัญ (2553) พบว่า นักเรียนท่ีเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหา อย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และ ผลการวจิ ัยบางส่วนสอดคล้องกับ สรพงษ์ สมสอน (2546) ได้ศึกษาผลการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน โดยใช้คอมพิวเตอร์ท่ีมีต่อการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ผลการศึกษาพบว่า หลังเรียนแบบการใช้ปัญหา เป็นฐาน นักเรียนมีพัฒนาการดา้ นการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ กล่าวคือนักเรียนมีคะแนนการคิดอย่าง มีวิจารณญาณก่อนเรียนในระดับต่ำ จะมีคะแนนเพ่ิมมากข้ึนอย่างชัดเจนหลังเรียนแต่ละหน่วยการ เรียน และนักเรียนท่ีมีคะแนนการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณก่อนเรยี นในระดับสูง มคี ะแนนการคิดอยา่ งมี วิจารณญาณเพ่ิมข้ึนเล็กน้อย สอดคล้องกับงานวิจัยของ แคนเตอร์กและเบเซอร์ (Canturk & Baser, 2009 อ้างถึงใน นภสร เรือนโรจน์รุ่ง (2558) พบว่า นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เกิดปัญหาเป็น ฐานมีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงกวา่ นกั เรียนทเ่ี รียนรู้จากแบบปกติ และสอดคล้องกับผลวจิ ัย ของ บีไฮย์ (Behiye, 2009 อ้างถึงใน รุสดา จะปะเกีย, 2558) พบว่า การเรียนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน มีอิทธิพลสำหรับการเรียนรู้เป็นอย่างมาก ซึ่งการเรียนดังกล่าวเป็นแนวทางการศึกษาท่ีท้าทาย นักเรียนในการทำงานร่วมกันในกลุ่มที่จะแสวงหาคำตอบเพื่อนำมาแก้ปัญหาการเรียนการสอน โดย นักเรียนเป็นศูนย์กลางมากขึ้น ครูมีบทบาทคอยอำนวยความสะดวก นอกจากนี้วิธีการน้ีจะช่วยให้ นักเรียนพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา รู้จักทำงานร่วมกัน ดังนั้นจะสรุปได้ว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานนอกจากจะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ให้สูงขึ้น ยังเป็นการพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณให้กับนักเรียนอีกด้วย และ สอดคล้องกับคำกล่าวของ คากีร์ และเต็กกายา (Çakir & Tekkaya, 1999 อ้างถึงใน สาริญา และ สมุ , 2560) ได้กล่าวว่า การจดั การเรยี นรู้โดยใช้ปญั หาเป็นฐานสามารถพฒั นาทกั ษะการแก้ปญั หาของ นักเรียน สร้างโอกาสให้นักเรียนได้คิดแบบอภิปัญญาส่งเสริมการเรียนรู้ อย่างมีความหมาย เพ่ิม แรงจงู ใจในการเรียน นกั เรียนสามารถมีปฏิสัมพนั ธ์กับครผู ้สู อน และนอกจากนี้ การจดั การเรียนรโู้ ดย

116 ใช้ปัญหาเป็นฐานเป็นวิธีการที่สำคัญมีประสิทธิภาพมากกว่ารูปแบบการบรรยายแบบดั้งเดิมในการ พัฒนาการคดิ แบบมวี ิจารณญาณ 4) ผลการศึกษาพบว่านักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน มีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 6 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน มีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์หลังเรียน สูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ซ่ึงจะสรุปได้ว่า การจัดการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ทั้งสองรูปแบบส่งผลให้นักเรียนมีเจตคติท่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์มีค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ สูงข้ึน แต่อย่างไรก็ตามจากผลการศึกษาพบว่า นักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้ท้ังสองแบบมีเจตคติ ที่ต่อวิชาคณิตศาสตร์ก่อนเรียนไม่แตกต่างกัน และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับปาน กลาง แต่ภายหลังเรียนด้วยการจดั การเรยี นรู้ทงั้ สองแบบจะพบว่า นกั เรียนทัง้ สองกลุ่มมเี จตคติที่ดีต่อ วิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน แต่ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่ เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน มีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่า นกั เรียนที่เรียนโดยการจดั การเรียนรู้แบบปกติ ผลการศึกษานี้สอดคลอ้ งกับงานวจิ ัยของ อาภรณ์ แสง รัศมี (2543) และศุภิสรา โพธ์ิทอง (2547) ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนท่ีเรียนด้วยวิธีการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน มีความพึงพอใจต่อรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานอยู่ในระดับมาก แต่ไม่ สอดคล้องกับงานวิจัยของ ไพลิน สว่างเมฆารัตน์ (2552) และกนกวรรณ ไกลสุทธิ์ (2558) ที่พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบใช้ปัญหาเป็นฐานอยู่ในระดับมาก ที่สุด สำหรับผลการวิจัยในประเด็นท่ีว่า นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ท่ีเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน มีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซ่ึงผลน้ีสอดคล้องกับ งานวิจัยของ พิมพ์ใจ เกตุการณ์ (2558) พบว่า ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวิทยาศาสตร์ ความสามารถใน การแก้ปัญหา และเจตคติหลังเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วย ปัญหาเปน็ ฐานสูงกว่าก่อนเรียน และสอดคลอ้ งกับ แคนเตอร์กและเบเซอร์ (Canturk & Baser, 2009 อ้างถึงใน นภสร เรอื นโรจน์รงุ่ , 2558) ไดศ้ ึกษาเจตคติของนักเรียน ครู และคณาจารยใ์ นมหาวทิ ยาลัย ทมี่ ีต่อการเรียนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ผลการศึกษาพบวา่ นักเรียนครูและคณาจารย์ในมหาวิทยาลัยมี เจตคติที่ดีตอ่ การเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นหลักที่มตี ่อทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนกั เรยี น แต่ ผลการวิจัยน้ีขัดแย้งกับ นภสร เรือนโรจน์รุง่ (2558 : บทคัดย่อ) พบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุมมีเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดย ท้ัง 2 กลุ่มมีเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ท้ังก่อนและหลังเรียนอยู่ในระดับปานกลาง แต่อาจ เนื่องมาจากเปน็ ความรู้สกึ นึกคิดของแตล่ ะบุคคล ถงึ แมว้ ่าเจตคติเปน็ เร่อื งท่ีไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ในทันทีตามคำกล่าวของ แสงเดือน ทวีสิน (2545) ท่ีได้กล่าวไว้วา่ การเปลี่ยนแปลงเจตคติของบุคคล จะต้องใช้เวลาระยะเวลาพอสมควร เน่ืองจากการสร้างเจตคติแต่ละเรื่องน้ันต้องใช้เวลาในการส่ังสม ยาวนาน การที่จะเปล่ียนเจตคติจึงต้องอาศัยเวลาเช่นกัน แต่การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานยังคง ส่งผลดีต่อความรู้สึกของผู้เรียน สามารถกระตุ้นให้ผู้เรียนมีการพัฒนาด้านเจตคติในทิศทางท่ีดีขึ้นได้ เพราะเป็นรูปแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อันเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนได้ช่วยกันทำงาน กลุ่ม ได้ช่วยกันคดิ วิเคราะหแ์ ละวางแผน โดยทีท่ กุ คนได้เสนอความคดิ เห็น ชว่ ยกันรบั ผิดชอบในหน้าท่ี ของตนเอง เพ่ือให้งานสำเร็จลุล่วง โดยปกตินักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนท่ีแตกต่างกัน

117 เม่ือเรียนจบบทเรียนและทำแบบฝึกหัดกลุ่มเก่งจะทำเสร็จเร็ว และมักจะพบข้อผิดพลาดมากขึ้น เพราะนักเรียนเบื่อวิธีการทำโจทย์แบบเดิมและส่วนใหญ่มีอุปนิสัยชอบทำงานแข่งกัน ส่วนนักเรียน กลุ่มอ่อนจะทำงานช้า จะเกิดความรู้สึกไม่อยากทำ หากทำแบบฝึกหัดน้ันไม่ได้ หรืออาจไม่เข้าใจ วิธีการทำ มักจะน่ังเล่นรอให้หมดเวลาเรียน แต่การเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานจะทำให้ทุกคนเห็น คุณค่าของตนเองและมีความสนใจที่จะหาคำตอบจากสิ่งท่ีได้เรยี นรู้ สามารถแลกเปล่ียนเรียนรู้กนั กับ เพื่อนในห้องได้อย่างกว้างขวางไม่กลัวการตอบถูกหรือผิด จะเห็นว่าเจตคติเป็นความรู้สึกส่วนบุคคล เป็นความรู้สึกกับส่ิงที่ได้รับหรือประสบการณ์ที่พบเจอ ดังน้ันจึงสามารถพัฒนาเจตคติได้ อาจจะด้วย การสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ผู้เรียน ดังข้อเสนอแนะของ ดวงเดือน อ่อนน่วม (2536) ที่ได้กล่าว เก่ียวกับการพัฒนาเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ว่า เจตคติเป็นสิ่งท่ีไม่สามารถสอนได้โดยตรงแต่ เป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนหรือได้รับการปลูกฝังทีละเล็กทีละน้อยกับตัวนักเรียน ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ดังน้ันพฤติกรรมที่จะช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมเี จตคตทิ ่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ได้แก่ การสร้าง คำถามปลายเปิดเพ่ือกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความอยากรู้อยากเห็นและอยากค้นหาคำตอบด้วยวิธีการ สอน สื่อการเรียนการสอน ที่เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมให้นักเรียนได้ใช้ความสามารถอย่างมี เหตุผล ส่งเสริมให้นักเรียนเข้าใจลักษณะโครงสร้างและประโยชน์ของคณิตศาสตร์จะเห็นว่าตรงกับ ขน้ั ตอนของการจัดการเรียนรแู้ บบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน จากผลการวิจัยจะเห็นได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานช่วยพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนและทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนให้สูงข้ึน ซ่ึงเป็นทักษะที่ควรฝึกให้ นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง นำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต และเสริมสร้างเจตคติที่ดีต่อ วิชาคณิตศาสตร์ การปรับเปลี่ยนการเรียนแบบบรรยายสู่การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักต้องอาศัย เวลา ผู้สนับสนนุ การเรยี นร้ตู อ้ งเช่ือม่ันในรูปแบบการจัดการเรียนรู้นี้ ผู้สนับสนุนการเรยี นรตู้ อ้ งเช่ือมั่น ในผู้เรียนว่าสามารถบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และต้องกระตุ้น สนับสนุนผู้เรียนให้ เกิดการเรียนรู้ การเปล่ียนวิธีการสอนเป็นรูปแบบการใช้ปัญหาเป็นฐานเป็นสิ่งท่ีท้าทาย แต่จะได้ผล คมุ้ ค่า เน่ืองจาก ข้อดีของการจัดการเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน ผู้เรียนและผู้สอนเห็นประโยชน์ของ การเรียนแบบการใช้ปัญหาเป็นฐาน จะช่วยส่งเสริมการทำงานเป็นทีม บทบาทผู้นำและสมาชิกกลุ่ม การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน ซ่ึงเป็นการเตรียมนักศึกษาสู่การทำงานร่วมกัน การแลกเปลี่ยน ความรู้และการตดั สินใจแก้ปัญหา ผู้เรียนจะคงความรู้ได้ยาวนานและมที ักษะการเรียนรดู้ ้วยตนเองได้ ดกี ว่า ซึง่ เป็นทักษะของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ส่วนขอ้ จำกัดของการเรียนการสอนแบบใช้ปัญหา เป็นหลัก คือ อาจทำให้ผู้เรียนเกิดความเครียด ดังน้ันการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ต้องมีแหล่งคน้ คว้าท่ีเพียงพอ หลากหลาย และผู้สนับสนุนการเรยี นรู้ ต้องมีการเตรยี มความพร้อมเป็น อย่างดี 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 ขอ้ เสนอแนะจากการวิจัยในคร้ังน้ี 1) การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ต้องสร้างโจทย์ปัญหาที่กระตุ้นให้ผู้เรียน เกิดความรู้สึกอยากค้นคว้าต่อยอด และต้องมีส่ิงสนับสนุนที่พร้อมและเพียงพอ นอกจากนี้การนำ

118 วิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักมีข้อที่ควรคำนึงถึงหลายประเด็นคือ การแบ่งกลุ่มผู้เรียน ควรเป็นจัดเป็นกลุ่มเล็ก 4-5 คน เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นและแลกเปล่ียนเรียนรู้ได้อย่าง ทั่วถึง และควรแบ่งกลุ่มผู้เรียนท่ีมีผลการเรียนที่มีความใกล้เคียงกันระหว่างกลุ่ม โดยการจัดแบ่ง ผู้เรียนที่มีผลการเรียนสูง กลาง ต่ำ ไว้ในกลุ่มเดียวกันในทุก ๆ กลุ่ม เพ่ือให้กระบวนการกลุ่มเป็นไป อย่างสมบูรณ์ 2) ครูควรมีประสบการณ์ในการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน หรือเตรียมความพร้อม โดยศึกษาจากคู่มือและแผนการจัดการเรียนรู้ ให้ละเอียดก่อน และพงึ ระลึกเสมอว่าบทบาทของครูจะ เป็นเพียงผู้กระตุ้นนักเรียนให้เกิดความอยากเรียนรู้ ไม่ใช่การสอนโดยการบอก การบรรยาย เหมือน แบบเก่า รวมถงึ การปรับโจทย์สถานการณ์และข้อมลู เพิ่มเติมจากโจทย์ทุกปี เพอื่ เป็นการปรบั ความคิด ความเข้าใจที่มีต่อการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน โจทย์สถานการณ์ควรมีการวิพากษ์และ ทดลองใช้จริง มีคูม่ อื ของครู และมตี ำราทเ่ี พียงพอ 3) ครูและผู้เรียนต้องเข้าใจกระบวนการทำงานกลุ่ม บทบาทของสมาชิกแต่ละคนใน กลุม่ ซง่ึ กระบวนการกลมุ่ ท่ีดจี ะทำให้การเรียนรมู้ ปี ระสิทธผิ ลยิ่งขน้ึ 4) ควรเตรียมความพร้อมของห้องเรียนกลุ่มย่อยให้เพียงพอ รวมทั้งโสต สื่อต่าง ๆ เพ่มิ หนังสือห้องสมุด สำหรบั ค้นควา้ และจัดหาวัสดอุ ปุ กรณใ์ ห้เพยี งพอในแต่ละกลุ่ม 5.3.2 ขอ้ เสนอแนะสำหรบั การวจิ ัยในครง้ั ต่อไป 1) ควรมีการพัฒนารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเสริมสร้างความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณในหลายระดับ เช่น ระดับประถมศึกษา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ หรอื ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย เปน็ ตน้ 2) ควรมีการศกึ ษาแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานของโรงเรียนอน่ื ๆ เพื่อเปรียบเทียบผลของการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีแนวทางแตกต่างกัน เพื่อนำมา ปรับแผนการจัดการเรยี นรใู้ หเ้ หมาะสมกับเนื้อหาและความรู้เดิมหรือบรบิ ทของนกั เรยี น 3) ควรพัฒนารูปแบบการสอนแบบอ่ืน ๆ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของวิชา คณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 เช่น การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกบั เทคนิค “Think-Pair-Share” เปน็ ต้น 4) ควรนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานไปพัฒนาทักษะด้านอื่น ๆ เช่น ทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ เป็นตน้

119 บรรณานุกรม กรองทพิ ย์ เพียรพิจิตร. (2554). รายงานการพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองอาหารสำรับ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียน วังจันทร์วิทยา จังหวัดระยอง. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2559 จาก https://drive.google.com/ file/d/0B-BZzafRJDOzYjdrN0R1dl95Y2M/view กนกวรรณ ไกลสุทธ์ิ. (2558). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ระหว่าง การจดั การเรยี นร้โู ดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน (PBL) กับการจดั การเรียนรู้แบบปกติของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนบ้านย่านตาขาว จังหวัดตรัง. วิทยานิพนธ์ปริญญา ศกึ ษาศาสตร์มหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. กรมวิชาการ. (2540). แนวทางการสอนท่ีเน้นทักษะกระบวนการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว. . (2544). นโยบายและกระบวนการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพรา้ ว. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรงุ เทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ. กดิ านนั ท์ มลทิ อง. (2543). เทคโนโลยีการศึกษาและนวตั กรรม. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ วนชม. ขนิษฐา บุญภักดี. (2552). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาของนักศึกษา ระดับ ปริญญาตรี คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าธนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์อตุ สาหกรรมมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบรุ .ี จุลลดา ศรีวิพัฒน์ และนฤมล อินทร์ประสิทธ์ิ. (2560). การปรับแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) : กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านนางแดดเหนือ จังหวัดชัยภูมิ. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11(3) : 36-47. ฉันทนา ภาคบงกช. (2528). เขียนให้เด็กคิด : โมเดลกับการพัฒนาทักษะการคิดเพ่ือคุณภาพชีวิต และสังคม. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร. ชมนาด เช้ือสุวรรณทวี. (2542). การสอนคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : ภาควิชาหลักสูตรการสอน มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. ชลาธิป สมาหิโต. (2560). การจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem- Based Learning) ผ่าน การเล่านิทาน สำหรับเด็กปฐมวัย . วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร,์ 28(3), 177-184. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพส่ือหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากร ศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(1), 7-19.

120 ซาฟีนา หลักแหล่ง. (2552). ผลของการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนมูลนิธิอาซิซสถาน จงั หวดั ปัตตานี. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาศึกษาศาสตร์มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี. ณัฏฐ์ชญา อินพูลวงษ์. (2559). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เจตคติต่อคณิตศาสตร์ และ พฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ที่เรยี นโดยการจดั การเรียนรู้ แบบรว่ มมือเทคนคิ STAD. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาศาสตรม์ หาบัณฑิต มหาวิทยาลัย บรู พา. ณฐั พร เอ่ียมทอง. (2560). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นคณิตศาสตร์และความสามารถ ในการคดิ วิเคราะห์ของนักเรียนระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ท่ีเรียนโดยรปู แบบ Problem- based learningกับรูปแบบการสอนปกติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบรู พา. ดารารัตน์ มากมีทรัพย์. (2553). การศึกษาผลการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธ์ิทาง การเรียนด้วยการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหา วิชาการเลือกและ การใช้ส่ือการเรยี นการสอนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วิทยานพิ นธ์ปริญญาการศึกษา มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. ทิศนา แขมมณี. (2556). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดการกระบวนการเรียนรู้ท่ีมี ประสิทธิภาพ. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 17. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ทิวาวรรณ จิตตะภาค. (2548). การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและทักษะการสื่อสารด้วยการ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning / PBL). วิทยานิพนธป์ ริญญาการศกึ ษามหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรว์ โิ รฒ. นพมาศ ธรี เวคิน. (2542). จติ วิทยาสังคมกบั ชีวติ . กรุงเทพฯ : พมิ พล์ ักษณ์. นภสร เรือนโรจน์รุ่ง. (2558). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทาง การเรียนทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน และเจตคติต่อการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. รายงานการวิจัย. กรุงเทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. นัจญ์มีย์ สะอะ. (2551). ผลของการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทยาศาสตร์ลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเองและความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5. บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร.์ นัสรินทร์ เชื้อพันธ์. (2547). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โดยใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง กับการจัดการเรียนการสอนตามปกติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา.

121 นัสรินทร์ บือซา. (2558). ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา (STEM Education) ท่ีมี ตอ่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนชวี วทิ ยา ความสามารถในการแกป้ ัญหาและความพึงพอใจต่อ การจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร.์ บุญชม ศรีสะอาด และคณะ. (2552). พื้นฐานการวิจัยการศึกษา. พิมพ์ครงั้ ท่ี 5. กาฬสินธุ์ : ประสาน การพิมพ์. บุญนำ อินทนนท์. (2551). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถใน การแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนโยธินบำรุง ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. บุญศรี พรหมมาพันธุ์ สมคิด พรมจุ้ย และวรรณ์ดี แสงประทีปทอง. (2553). การพัฒนาชุดฝึกอบรม การเขียนและวเิ คราะห์ข้อสอบวัดผลสมั ฤทธิ์. นนทบรุ .ี มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. บุญเลย้ี ง ทมุ ทอง. (2556). ทฤษฎแี ละการพัฒนารูปแบบการจัดการเรยี นรู. กรงุ เทพฯ : บริษัท ทริป เพิ้ล กรปุ จํากดั ปราณี กองจินดา. (2549). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์และทักษะ การคิดเลขในใจของนักเรียนท่ีได้รับการสอนตามรูปแบบซิปปาโดยใช้แบบฝึกหัดที่ เน้นทักษะการคิดเลขในใจกบั นักเรยี นที่ได้รับการสอนโดยใช้คู่มือครู. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญา ครุศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา. ปราณี หลำเบ็ญสะ. (2559). การหาคุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมินผล. โครงการบริการ วิชาการท่าสาบโมเดล. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2559 จาก http://edu.yru.ac.th/evaluate/attach/1465551003_เอกสาร ประกอบการอบรม.pdf. ปิยพร นิสัยตรง. (2560). การพัฒนาแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. วิทยานิพนธ์ ปริญญาการศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. ปิยพร นิสัยตรง และสมพงษ์ พันธุรัตน์. (2560). การพัฒนาแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรบั นักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 25. รายงานสืบเน่ืองการประชมุ สัมมนาวิชาการ การนำเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ เครือข่าย บัณฑติ ศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั ภาคเหนือ ครง้ั ท่ี 17 : 677-688. พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์. (2544). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหา PROBLEM-BASED LEARNING. วทิ ยานิพนธ์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา. พัฒนพงษ์ สีกา. (2551). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักศึกษาช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซ่ึงเป็นผลมาจากการทดสอบคุณภาพการศึกษา ระดับชาติปีการศึกษา 2548 ของจังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์ มหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์.

122 พชิ ติ ฤทธ์จิ รูญ. (2549). หลกั การวดั และประเมนิ ผลการศึกษา. กรงุ เทพฯ : เฮ้าส์ ออฟ เคอร์มิสท.์ พิมพ์ประภา อรัญมิตร. (2552). ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทย ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเลย เขต 3 โดยการวิเคราะห์พหุระดับ. วารสารครุศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ปีที่ 3 ฉบบั ที่ 4 มี.ค.-ธ.ค. 52. พิมพ์ใจ เกตุการณ์ (2558). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ความสามารถในการแก้ปัญหาและเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยบูรพา. พริ ณุ โปรย สำโรงทอง. (2554). การศึกษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นและเจตคตติ ่อการเรียนภาษาไทย ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กับการจัดการเรียนรู้ตามคู่มือครู. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. พิสณุ ฟองศรี. (2551). เทคนิควิธีประเมินโครงการ. พิมพ์คร้ังท่ี 5. กรุงเทพมหานคร พรอพเพอร์ ตพี้ รนิ ท์ จำกัด. เพ็ญศรี พิลาสันต. (2551). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิทาง การเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูคณิตศาสตร์ เรื่องเศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที ี่ 5 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน (PBL) กับการจัดกิจกรรม การเรียนรูตามวิธีปกติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. ไพลิน สว่างเมฆารัตน์. (2552). การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ ความสามารถใน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 โดย การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ . ไพศาล สุวรรณน้อย. (2559). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning: PBL). เอกสารประกอบการบรรยายโครงการพัฒนาการเรียนการสอน สถาบันพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ ฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2560 จาก http://ph.kku.ac.th/thai/images/file/km/pbl-he-58-1.pdf. ภิญญาพัชญ์ ปลากัดทอง. (2551). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ เพ่ือเสริมสร้างความสามารถใน การเผชิญอุปสรรคของนักเรียนระดับช่วงช้ันที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎี บัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. มัณฑรา ธรรมบุศย์. (2545). การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้โดยใช้ PBL (Problem-Based Learning). วิชาการ. 2 (กมุ ภาพันธ)์ : 11-17. เยาวดี วิบูลย์ศรี. (2548). การวัดผลและการสร้างแบบสอบผลสัมฤทธ์ิ. พิมพ์ครั้งท่ี 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

123 ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมี บุคสพ์ บั ลเิ คชั่นส์. ราตรี เกตบุ ุตตา. (2546). ผลของการเรยี นแบบใชป้ ญั หาเป็นหลกั ตอ่ ความสามารถในการแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญา ครศุ าสตรมหาบัณฑติ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. รุสดา จะปะเกีย. (2558). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนวิชาชีววิทยาและความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์. วนิดา ดีแป้น. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย โดย การวิเคราะหพ์ หุระดับ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. วัลลี สัตยาศัย. (2547). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก รูปแบบการเรียนรู้โดยผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ: บุ๊คเนท็ . วันดี ต่อเพ็ง. (2553). ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนคณิตศาสตร์เร่ือง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วโิ รฒ. วาสนา กิ่มเท้ิง. (2553). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) ท่ีมีต่อทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการเชื่อโยงทางคณิตศาสตร์ และความใฝ่รู้ ใฝ่เรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. วาสนา ภูมี. (2555). ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ ท่ีมีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ และความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วโิ รฒ. วภิ าดา คล้ายนิ่ม ชานนท์ จันทรา และตอ้ งตา สมใจเพง็ . (2560). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตร์ของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 เรื่องความน่าจะเปน็ โดยใชร้ ูปแบบ SSCS. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มสธ. ปีท่ี 10 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม) 2560 : 329-345. วภิ าพรรณ เจรญิ กลุ . (2558). การปรับพฤตกิ รรมการเรยี นในช้ันเรยี นและการสง่ งาน/การบ้าน วชิ า จิตวิทยา เพอื่ การพัฒนาตน ของนักศกึ ษาหลักสูตรศิลปศาสตรบ์ ัณฑิต สาขารัฐประศาสน ศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกท่ีต้ังตรัง. [ออนไลน์] สืบค้นเม่ือ 14 ธันวาคม 2559 จาก www.hu.ac.th/conference/.../data/...P.../1326-065H-P(วิภา พรรณ%20เจริญกุล).pdf

124 วิลาศิณีย์ อินทร์ชู. (2551). การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความคงทนใน การเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องอัตราส่วนและร้อยละของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ร ะ ห ว่ า งก า ร จั ด ก า ร เรี ย น รู้ โด ย ใ ช้ ปั ญ ห า เป็ น ฐ า น กั บ ก า ร จั ด ก า ร เรี ย น รู้ แ บ บ ป ก ติ . วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาการศกึ ษามหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ. วุฒิชัย ดานะ. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศและส่ิงแวดล้อมในโรงเรียนกับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักศึกษาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาในจังหวัดเลย. วิทยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั ราชภฏั เลย. ศรัณย์ จันทร์ศรี และน้อมจิต กิตติโชติพาณิชย์. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคะแนนวิชา คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขตพระโขนง. Journal of Science Ladkrabang, 23(1) : 62-79. ศักดิ์ สนุ ทรเสณี. (2531). เจตคติ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพร์ ่งุ วัฒนา. ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์ และอุษา ชูชาติ. (2544). ฝึกสมองให้คิดอย่างมีวิจารณญาณ. กรุงเทพฯ: วัฒนา พานิช. ศริ ิชัย กาญจนวาสี. (2544). การเลอื กใช้สถิติที่เหมาะสมสำหรับการวิจัย. (พิมพ์คร้ังท่ี 4). กรงุ เทพฯ : บญุ ศิริการพิมพ.์ ศริ ิพันธ์ุ ศิรพิ ันธ์ และยพุ าวรรณ ศรีสวสั ดิ์. (2554). การจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : วิธีการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก. Princess of Naradhiwas University Journal, 3(1). [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2559 จาก https://li01.tci-thaijo.org/index. p/pnujr/article/view/53695. ศุภิสรา โททอง. (2547). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ ระหว่างการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) กับการสอนตามคู่มือของ สสวท. กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์เรื่องการวัด ความยาวในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2562). สรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้น พื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2561. [ออนไลน์] สืบค้นเม่ือ 30 เมษายน 2562 จาก http://www.newonetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/ PDF/SummaryONETM6_2561.pdf. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). การวัดผลประเมินผลคณิตศาสตร์. กรงุ เทพฯ : ซีเอด็ ยเู คชัน. . (2561). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมชนสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. . (2561). รายงานPISA 2018. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2561 จาก https:// pisathailand. ipst.ac.th/news-12/

125 สมพร เชื้อพันธ์. (2547). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองกับ การจัดการเรียนการสอนตามปกติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา. สมนึก ภัททยิ ธนี. (2549). การวดั ผลการศึกษา. กาฬสินธ์ุ : ประสานการพมิ พ.์ สรพงษ์ สมสอน. (2546). ผลการเรียนแบบการใช้ปัญหาเป็นฐาน โดยใช้คอมพิวเตอร์ ท่ีมีต่อ การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ. มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่. สาริญา และสุม. (2560). ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิทาง การเรียนวิชาชีววิทยา ทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์และเจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ของ นักเรียน ชั้น มัธยมศึกษ าปีที่ 6 . วิทยานิพนธ์ปริญ ญ าศึกษาศาสตรมหาบัณ ฑิ ต มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร.์ สายใจ จำปาหวาย. (2549). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและรูปแบบของ สสวท. เรื่องบทประยุกต์ท่ีมีต่อผลการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาการศกึ ษามหาบณั ฑติ . มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. [ออนไลน์] สบื ค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2560 จาก http://plan.bru.ac.th/. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. (2548). การประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่งสินค้า และพสั ดุภัณฑ.์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. (2541). เอกสารชุดแนวดำเนินการเพื่อการประกัน คุณ ภ าพ แ ละการรับ รองม าตรฐาน คุ ณ ภ าพ การศึกษ าข องโรงเรียน เอกชน . กระทรวงศึกษาธิการ. สำนักงานมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ (2550). การจัดการเรียนรูแ้ บบใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน. กรงุ เทพฯ : สำนักมาตรฐานฯ. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหา. กรุงเทพฯ : กลุ่ม ส่งเสริมนวัตกรรมการเรียนรู้ของครูและบุคลากรทางการศึกษา. . (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค จำกดั . . (2561). สภาวะการศึกษาไทยปี ๒๕๕๙/๒๕๖๐ แนวทางการปฏิรูปการศึกษาไทยเพื่อ ก้าวสยู่ ุค Thailand ๔.๐. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั พริกหวานกราฟฟิค จำกัด. สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย. (2559). แนวทางจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21(21st Century Skills). [ออนไลน์] สืบค้นเม่ือ 5 มกราคม 2560 จาก https://webs.rmutl. ac.th/assets/upload/files/2016/09/20160908101755_51855.pdf. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

126 สิริพร ทิพย์คง. (2545). หลักสูตรและการสอนคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนาคุณภาพ วชิ าการ (พว.) จำกัด. สุทธดา เหลืองห่อ. (2560). รายงานผลการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2560. โรงเรียนกบนิ ทรว์ ิทยา จังหวัดปราจนี บรุ .ี สุวรรณา จ้ยุ ทอง. (2559). การจดั การเรียนรู้และการจัดการชน้ั เรียน. ปทุมธานี : มหาวิทยาลยั ราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปถมั ภ.์ สวุ ิทย์ แบ่งทิศ. (2559). การพัฒนารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ เพ่ือเสริมสร้างความสามารถด้าน การคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญา ดษุ ฎบี ณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครสวรรค.์ สุวิทย์ แบ่งทิศ บัณฑิตา อินสมบัติ และวารีรัตน์ แก้วอุไร. (2560). การพัฒนารูปแบบการสอน คณิตศาสตร์เพ่ือเสริมสรา้ งความสามารถด้านการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ สำหรบั นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ ภาคเหนือ. ปที ี่ 7 ฉบับที่ 12 มกราคม-มิถุนายน 2560 : 103-116. ชวาล แพรตั กลุ . (2552). เทคนคิ การวัดผล. พิมพค์ รง้ั ท่ี 7. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. อนงค์ คำแสงทอง. (2550). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ืองไฟฟ้า กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เจตคติต่อการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และ ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ระหว่างการสอน วิทยาศาสตร์ ตามรูปแบบสมองครบส่วน (สคศ.) การสอนแบบ วัฏจักรการเรียนรู้(7E) กับการสอนปกต.ิ วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาการศกึ ษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. อรจรีย์ ณ ตะก่ัวทงุ่ . (2545). สดุ ยอดพฒั นาการเรียนการสอน. กรงุ เทพฯ : เอ็กซเปอรเ์ น็ทบุ๊คส์. อรนุช ศรีสะอาด และคณะ. (2550). การวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพ์คร้ังท่ี 2. กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์. อรพิณ พัฒนผล. (2551). การพัฒนาแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนช่วงชั้นท่ี 3 โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา นครสวรรค์เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. อาพร ไตรภัทร. (2543). คู่มือการเรียนการสอน การคิดวิเคราะห์ วิจารณ์. ขอนแก่น : ขอนแก่น การพิมพ.์ อาภรณ์ แสงรัศมี. (2543). ศึกษาผลการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักต่อลักษณะการเรียนรู้ด้วย ตนเอง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตรส์ งิ่ แวดล้อมและความพงึ พอใจตอ่ การเรียนการสอนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. เอมอร จรัสพันธ์. (2550). การสร้างชุดการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียน สิ่งมีชวี ิตและสิ่งแวดล้อมโดยใชร้ ูปแบบการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียน ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6. วิทยานิพนธป์ ริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั บูรพา. Allen, D.E., Duch, B.J., & Groh, S.E. (1996). The Power of Problem Based Learning in Introductory Science Courses. San Francisco : Jossey-Bass.

127 Barell, J. (1998). PBL An Inquiry Approach. Illinois: Skylight Training and Publishing, Inc. Barrows, H. S & Tamblyn, P. M. (1980). Problem –Based Learning: An Approach to Medical Education. New York: Springer Publishing Company. Behiye AKCAY. (2009). Problem-Based Learning in Science Education. Turkish Science Education. 6 (April 2009), 26-36. Canturk, G.B. & Baser, N. (2009). Students, Teachers, and Faculty Members, Opinions About Problem Based Learning. Necatibey Faculty of Education Electronic Journal of Science & Mathematics Educatation. V.3. pp. 134 -155. Colman, M.R. (1995). Problem-Based Learning : A New Approach for teaching Gifted Students. Gifted Today Magazine. 18 (May-June 1995), 18-19. Cowedrow, E. 1997. Problem-Based Learning. Available from : http://www.ic.polyn .hk/posh7/Student/PBL/pbI01.htn. Diana, D. & Henk, S. (1995). The Advantages of Problem-Based Curricula. Netherlands : Department of Educational Development and Research University of Limburg. New Jersey : Lawrence Erlbaum Associates. Dolmans, D., & Schmidt, H. (1995). The Advantages of a Problem-Based Curriculum. Netherlands: Department of Educational Development and Research University of Limburg. Dolmans, D.H. J. M., & Snellen, B.H. (1997). Seven Principles of Effective Case Design for a Problem-Based Curriculum. Medical Teacher. 19 (September 1997), 185-189. Eysenck, J., Arnold, W., and Meili, R. (1972). Encyclopedia of Psychology. London : Search Press Limited. Ferguson, G. A. 1976. Gallagher, S.A. (1997). Problem-Based Learning : Where did it come From, What does it do, and Where is it going?. Journal for the Education of the Gifted. 20(4): 332-362. Gijselaers, W.H. (1996). Connecting Problem-Based Practices with Educational Theory. San Francisco : Jossey-Bass. Gallagher T, et al. (1995). The prosegment-subtilisin BPN' complex: crystal structure of a specific 'foldase'. Structure 3(9) : 907-14. Good, C.V. (1973). Dictionary of Education. New York : McGraw-hill Book. Hmelo, C.E., & Lin, Xiaodong. (2000). Becoming Self-Directed Learners : strategy Development in Problem-Based Learning. Mahwah, New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.

128 Joyce, B. and Weil, M. (1992). Models of Teaching. (3 rd ed). Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall Joyce, B. & Weil, M. (2000). Models of Teaching. (6th ed.) Boston: Allyn and Bacon. Education. 17 (January 1983), 11-16. Schmidt, H.G. (1983). Problem-Based Learning: Rationale and Description. Medical

129 ภาคผนวก

130 ภาคผนวก ก รายนามผู้เชย่ี วชาญ

131 รายนามผูเ้ ชีย่ วชาญ 1. ดร.อภิสทิ ธ์ิ ธงไชย ผชู้ ำนาญ ฝา่ ยบรหิ ารเครอื ขา่ ยและพัฒนาครู 2. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วยิ ดา คำเอม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. ดร.ปิยะทพิ ย์ ประดจุ พรม (สสวท.) ผเู้ ชีย่ วชาญด้านหลักสูตรและการสอน 4. ดร.ปณฏั ฐา ศรเดช อาจารย์ประจำสาขาวิชาสถิตปิ ระยุกต์ 5. นางศนั สนยี ์ อนิ ทรบริสทุ ธิ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี ผเู้ ชี่ยวชาญด้านสถติ ิและการวิจยั อาจารย์ประจำสาขาวิชาการวัดและเทคโนโลยีทาง วิทยาการปัญญาวิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการ ปัญญา มหาวิทยาลยั บรู พา ผู้เชยี่ วชาญดา้ นการวัดและการประเมนิ ผล ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะเชีย่ วชาญ กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ โรงเรยี นอนุบาลระยอง สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต ๑ ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรยี นการสอน ตำแหน่งครู วิทยฐานะเชีย่ วชาญ กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ โรงเรยี นชมุ ชนวดั หนองค้อ องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั ชลบรุ ี ผู้เชี่ยวชาญดา้ นการจัดการเรียนการสอน

132 หลักฐาน การขอความอนเุ คราะห์และการตอบรับเป็นผ้เู ช่ยี วชาญ

133 ท่ี ศธ ๐๔๒๓๗.๑๓/๐๐๓ โรงเรยี นกบนิ ทรว์ ิทยา ๑๖๖หมู่ ๖ต.กบินทร์อ.กบนิ ทรบ์ รุ ี จ. ปราจนี บรุ ี ๒๕๑๑๐ ๓ มกราคม ๒๕๖๑ เร่อื ง ขอความอนุเคราะห์เปน็ ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือวจิ ัย เรยี น ดร. อภสิ ทิ ธิ์ ธงไชย สงิ่ ทีส่ ง่ มาด้วย ๑. แบบตอบรับการเปน็ ผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือวจิ ัย จำนวน ๑ ชุด ๒. เครื่องมือในการวิจัย จำนวน ๑ ชดุ ดว้ ย นางสทุ ธดา เหลอื งหอ่ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะชำนาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ โรงเรยี นกบนิ ทร์วิทยา สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๗ กำลงั ดำเนินการ จดั ทำผลงานทางวชิ าการ รายงานวิจยั ในช้นั เรยี น เรือ่ ง ผลของการจัดการเรียนรู้แบบใชป้ ัญหาฐาน ท่มี ตี อ่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นเร่อื งการแจกแจงปกติ ความสามารถดา้ นการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และเจตคตติ ่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ โรงเรียนกบินทร์วิทยา สำหรบั ประกอบการประเมินเพื่อขอเล่ือนวิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ นั้น ในการนี้ โรงเรยี นกบินทรว์ ทิ ยาพจิ ารณาแล้วเหน็ วา่ ทา่ นเป็นผู้ท่มี คี วามรู้ความสามารถ ด้านการวิจัยเปน็ อยา่ งดี จงึ ใคร่ของความอนเุ คราะหจ์ ากท่านเป็นผู้เชย่ี วชาญตรวจสอบเครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจยั ในคร้ังน้ี เพ่อื ผวู้ จิ ยั จะไดน้ ำไปปรบั ปรงุ แก้ไขและดำเนินการต่อไป จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณาให้ความอนุเคราะห์และขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี ขอแสดงความนบั ถือ วา่ ท่รี อ้ ยตรี (ธงชยั กอ้ นสดั ทัด) ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นกบนิ ทรว์ ิทยา ฝา่ ยบริหารงานท่ัวไป งานธรุ การ โทร. ๐-๓๗๒๘-๑๘๗๗ โทรสาร ๐-๓๗๒๘-๑๘๗๗

134 แบบตอบรับการเปน็ ผู้เช่ยี วชาญตรวจสอบเคร่อื งมือวจิ ยั ตามทโี่ รงเรียนกบนิ ทรว์ ทิ ยา สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต ๗ ได้มีหนงั สือ โรงเรยี นกบนิ ทร์วิทยา ท่ี ศธ ๐๔๒๓๗.๑๓/๐๐๓ ลงวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๖๑ เพ่ือขอความอนเุ คราะห์ เปน็ ผู้เชยี่ วชาญ ในการตรวจสอบเคร่ืองมือในการวจิ ัยในช้นั เรียน เรอื่ ง ผลของการจัดการเรียนรู้แบบ ใช้ปญั หาฐานท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเรื่องการแจกแจงปกติ ความสามารถด้านการคิดอย่างมี วจิ ารณญาณและเจตคตติ ่อวชิ าคณติ ศาสตร์ ของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ โรงเรียนกบินทร์วิทยา สำหรับประกอบการประเมนิ เพือ่ ขอเล่ือนวทิ ยฐานะครูเชย่ี วชาญ ของ นางสุทธดา เหลืองห่อ นน้ั ข้าพเจ้า ดร.อภิสิทธ์ิ ธงไชย ผู้ชำนาญ ฝ่ายบริหารเครือข่ายและพัฒนาครู สถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้รับหนังสือขอความอนุเคราะห์เป็นผู้เชี่ยวชาญเพ่ือ ตรวจสอบเครื่องมอื ที่ใช้ในการวจิ ยั ครัง้ นแี้ ลว้ และได้พิจารณาการเป็นผูเ้ ชยี่ วชาญ ดังน้ี  สามารถเป็นผเู้ ชีย่ วชาญตรวจสอบเครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการวิจัย  ไมส่ ามารถเป็นผเู้ ชีย่ วชาญตรวจสอบเครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการวิจัย จงึ เรยี นมาเพื่อทราบ ขอแสดงความนับถือ ลงช่ือ ( ดร.อภสิ ิทธ์ิ ธงไชย) ผชู้ ำนาญ ฝ่ายบรหิ ารเครอื ขา่ ยและพฒั นาครู สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

135 ที่ ศธ ๐๔๒๓๗.๑๓/๐๐๓ โรงเรยี นกบินทรว์ ทิ ยา ๑๖๖หมู่ ๖ต.กบินทร์อ.กบินทร์บรุ ี จ. ปราจนี บรุ ี ๒๕๑๑๐ ๓ มกราคม ๒๕๖๑ เร่ือง ขอความอนเุ คราะหเ์ ป็นผู้เช่ยี วชาญตรวจสอบคุณภาพเครอ่ื งมือวิจยั เรียน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยดา คำเอม สง่ิ ทีส่ ง่ มาด้วย ๑. แบบตอบรับการเปน็ ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือวิจัย จำนวน ๑ ชุด ๒. เคร่ืองมือในการวิจัย จำนวน ๑ ชดุ ด้วย นางสุทธดา เหลืองหอ่ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ โรงเรียนกบินทร์วทิ ยา สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๗ กำลังดำเนนิ การ จดั ทำผลงานทางวิชาการ รายงานวิจัยในชัน้ เรียน เร่อื ง ผลของการจดั การเรยี นรู้แบบใช้ปัญหาฐาน ที่มตี ่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนเรอ่ื งการแจกแจงปกติ ความสามารถดา้ นการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๖ โรงเรียนกบนิ ทรว์ ทิ ยา สำหรบั ประกอบการประเมินเพ่ือขอเล่อื นวิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ นั้น ในการนี้ โรงเรียนกบนิ ทร์วิทยาพจิ ารณาแลว้ เห็นวา่ ทา่ นเปน็ ผู้ท่มี คี วามรู้ความสามารถ ด้านการวจิ ัยเปน็ อยา่ งดี จึงใคร่ของความอนเุ คราะห์จากทา่ นเปน็ ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวจิ ยั ในคร้ังน้ี เพอ่ื ผ้วู ิจยั จะได้นำไปปรับปรงุ แก้ไขและดำเนนิ การต่อไป จึงเรยี นมาเพอ่ื โปรดพจิ ารณาใหค้ วามอนเุ คราะห์และขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี ขอแสดงความนบั ถอื วา่ ทร่ี อ้ ยตรี (ธงชัย ก้อนสัดทดั ) ผู้อำนวยการโรงเรยี นกบนิ ทร์วิทยา ฝ่ายบริหารงานทัว่ ไป งานธุรการ โทร. ๐-๓๗๒๘-๑๘๗๗ โทรสาร ๐-๓๗๒๘-๑๘๗๗

136 แบบตอบรบั การเป็นผเู้ ช่ียวชาญตรวจสอบเครอ่ื งมอื วจิ ัย ตามทีโ่ รงเรยี นกบนิ ทร์วิทยา สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาเขต ๗ ได้มีหนงั สือ โรงเรยี นกบนิ ทรว์ ิทยา ท่ี ศธ ๐๔๒๓๗.๑๓/๐๐๓ ลงวนั ท่ี ๓ มกราคม ๒๕๖๑ เพื่อขอความอนเุ คราะห์ เป็นผู้เช่ียวชาญ ในการตรวจสอบเคร่ืองมือในการวจิ ัยในชัน้ เรยี น เร่อื ง ผลของการจดั การเรียนรู้แบบ ใชป้ ัญหาฐานทม่ี ตี ่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นเร่ืองการแจกแจงปกติ ความสามารถด้านการคิดอย่างมี วิจารณญาณและเจตคตติ ่อวชิ าคณิตศาสตร์ ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ โรงเรียนกบินทร์วทิ ยา สำหรับประกอบการประเมนิ เพอ่ื ขอเล่ือนวทิ ยฐานะครูเชีย่ วชาญ ของ นางสุทธดา เหลอื งหอ่ นั้น ข้าพเจ้า ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยดา คำเอม อาจารย์ประจำสาขาวิชาสถิติประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ได้รับหนังสือขอความอนุเคราะห์เป็นผู้เช่ียวชาญเพ่ือตรวจสอบ เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในการวิจัยครั้งนแี้ ลว้ และไดพ้ จิ ารณาการเป็นผเู้ ชย่ี วชาญ ดังน้ี  สามารถเป็นผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจัย  ไม่สามารถเปน็ ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่ืองมอื ท่ใี ช้ในการวิจยั จงึ เรยี นมาเพอื่ ทราบ ขอแสดงความนบั ถอื ลงชือ่ ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยดา คำเอม ) อาจารยป์ ระจำสาขาวชิ าสถติ ปิ ระยกุ ต์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล

137 ที่ ศธ ๐๔๒๓๗.๑๓/๐๐๓ โรงเรยี นกบินทรว์ ิทยา ๑๖๖หมู่ ๖ต.กบินทร์อ.กบนิ ทรบ์ ุรี จ. ปราจนี บุรี ๒๕๑๑๐ ๓ มกราคม ๒๕๖๑ เร่อื ง ขอความอนุเคราะห์เป็นผูเ้ ช่ยี วชาญตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมือวิจัย เรยี น ดร.ปยิ ะทพิ ย์ ประดจุ พรม ส่งิ ท่ีส่งมาดว้ ย ๑. แบบตอบรับการเป็นผูเ้ ชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือวจิ ัย จำนวน ๑ ชุด ๒. เคร่ืองมือในการวจิ ัย จำนวน ๑ ชดุ ด้วย นางสุทธดา เหลอื งห่อ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ โรงเรียนกบินทร์วิทยา สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๗ กำลังดำเนินการ จดั ทำผลงานทางวิชาการ รายงานวิจยั ในชั้นเรียน เรอื่ ง ผลของการจัดการเรยี นรู้แบบใช้ปัญหาฐาน ทม่ี ตี ่อผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเร่อื งการแจกแจงปกติ ความสามารถด้านการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ และเจตคตติ ่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ โรงเรียนกบนิ ทร์วทิ ยา สำหรับ ประกอบการประเมนิ เพื่อขอเลื่อนวิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ นนั้ ในการน้ี โรงเรยี นกบินทรว์ ิทยาพิจารณาแลว้ เห็นวา่ ท่านเป็นผู้ทม่ี ีความรู้ความสามารถ ด้านการวจิ ัยเป็นอยา่ งดี จึงใคร่ของความอนุเคราะห์จากทา่ นเปน็ ผู้เชยี่ วชาญตรวจสอบเครอื่ งมือทใ่ี ช้ ในการวิจัยในครง้ั น้ี เพือ่ ผู้วิจยั จะไดน้ ำไปปรับปรุงแก้ไขและดำเนนิ การต่อไป จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดพจิ ารณาให้ความอนเุ คราะห์และขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี ขอแสดงความนับถอื ว่าทร่ี อ้ ยตรี (ธงชยั ก้อนสดั ทัด) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนกบนิ ทร์วิทยา ฝา่ ยบรหิ ารงานทั่วไป งานธรุ การ โทร. ๐-๓๗๒๘-๑๘๗๗ โทรสาร ๐-๓๗๒๘-๑๘๗๗

138 แบบตอบรับการเปน็ ผู้เชย่ี วชาญตรวจสอบเคร่อื งมอื วจิ ยั ตามที่โรงเรียนกบินทรว์ ทิ ยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต ๗ ไดม้ หี นังสือ โรงเรียนกบนิ ทรว์ ทิ ยา ที่ ศธ ๐๔๒๓๗.๑๓/๐๐๓ ลงวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๖๑ เพื่อขอความอนุเคราะห์ เป็นผ้เู ชย่ี วชาญ ในการตรวจสอบเคร่ืองมือในการวจิ ัยในชั้นเรยี น เร่อื ง ผลของการจดั การเรยี นรู้แบบ ใช้ปัญหาฐานทมี่ ตี ่อผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนเร่ืองการแจกแจงปกติ ความสามารถด้านการคิดอยา่ งมี วจิ ารณญาณและเจตคติต่อวชิ าคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ โรงเรียนกบนิ ทรว์ ิทยา สำหรับประกอบการประเมินเพื่อขอเลื่อนวิทยฐานะครูเชีย่ วชาญ ของ นางสุทธดา เหลืองห่อ นั้น ขา้ พเจา้ ดร.ปิยะทพิ ย์ ประดจุ พรม อาจารยป์ ระจำสาขาวิชาการวัดและเทคโนโลยี ทางวิทยาการปัญญา วทิ ยาลัยวิทยาการวจิ ัยและวิทยาการปญั ญา มหาวทิ ยาลัยบูรพา ไดร้ ับหนงั สือ ขอความอนุเคราะห์เป็นผเู้ ชยี่ วชาญเพื่อตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีแล้ว และได้พจิ ารณา การเปน็ ผู้เชี่ยวชาญ ดงั นี้  สามารถเป็นผเู้ ชย่ี วชาญตรวจสอบเครื่องมอื ทใี่ ช้ในการวิจยั  ไมส่ ามารถเปน็ ผู้เชย่ี วชาญตรวจสอบเครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการวจิ ัย จงึ เรียนมาเพอ่ื ทราบ ขอแสดงความนับถือ ลงชอ่ื ( ดร.ปยิ ะทพิ ย์ ประดุจพรม) อาจารย์ประจำ วทิ ยาลัยวทิ ยาการวิจัยและวทิ ยาการปัญญา มหาวิทยาลยั บรู พา

139 ที่ ศธ ๐๔๒๓๗.๑๓/๐๐๓ โรงเรยี นกบนิ ทร์วทิ ยา ๑๖๖หมู่ ๖ต.กบินทร์อ.กบินทร์บรุ ี จ. ปราจีนบรุ ี ๒๕๑๑๐ ๓ มกราคม ๒๕๖๑ เร่อื ง ขอความอนุเคราะห์เปน็ ผูเ้ ชี่ยวชาญตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือวจิ ัย เรียน ดร.ปณฏั ฐา ศรเดช ส่ิงท่ีส่งมาด้วย ๑. แบบตอบรับการเป็นผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือวจิ ัย จำนวน ๑ ชดุ ๒. เครื่องมือในการวจิ ัย จำนวน ๑ ชดุ ด้วย นางสทุ ธดา เหลืองห่อ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนกบนิ ทร์วทิ ยา สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๗ กำลงั ดำเนนิ การ จดั ทำผลงานทางวิชาการ รายงานวิจยั ในชัน้ เรียน เร่อื ง ผลของการจดั การเรยี นรู้แบบใช้ปญั หาฐาน ที่มตี ่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรอ่ื งการแจกแจงปกติ ความสามารถดา้ นการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และเจตคตติ ่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ โรงเรยี นกบินทร์วทิ ยา สำหรับ ประกอบการประเมินเพื่อขอเลอ่ื นวิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ นนั้ ในการน้ี โรงเรียนกบนิ ทร์วทิ ยาพจิ ารณาแล้วเห็นวา่ ทา่ นเป็นผู้ทมี่ ีความรู้ความสามารถ ด้านการวจิ ัยเปน็ อย่างดี จึงใคร่ของความอนุเคราะหจ์ ากทา่ นเป็นผเู้ ชีย่ วชาญตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ ในการวจิ ยั ในคร้งั น้ี เพอ่ื ผู้วจิ ัยจะได้นำไปปรับปรุงแก้ไขและดำเนนิ การต่อไป จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดพจิ ารณาใหค้ วามอนุเคราะหแ์ ละขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสน้ี ขอแสดงความนบั ถือ วา่ ทรี่ อ้ ยตรี (ธงชยั ก้อนสัดทัด) ผู้อำนวยการโรงเรียนกบินทร์วทิ ยา ฝา่ ยบรหิ ารงานทว่ั ไป งานธุรการ โทร. ๐-๓๗๒๘-๑๘๗๗ โทรสาร ๐-๓๗๒๘-๑๘๗๗


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook