Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Military Dictionary

Military Dictionary

Published by ATCLC LIBRARY, 2021-11-29 08:42:55

Description: Military Dictionary

Search

Read the Text Version

41173_Sahyblock_(01)-(12).indd 1 6/29/2015 9:44:54 AM

41173_Sahyblock_(01)-(12).indd 2 6/29/2015 9:44:54 AM

คำนำ กระทรวงกลาโหมได้ตระหนักถึงความสาคัญของการฝึกและการปฏิบัติการยุทธร่วมของเหลา่ ทัพต่าง ๆ และการยุทธผสมระหว่างนานาประเทศ ที่จะต้องประสานสอดคล้องและสื่อสารกันด้วยความเข้าใจในแนวทาง เดียวกัน เพือ่ ปฏิบตั ภิ ารกิจให้สาเร็จ ซึง่ จากแนวคิดดงั กล่าวนี้ กระทรวงกลาโหมจงึ ได้จดั ทาพจนานุกรมศัพท์ทหาร อังกฤษ – ไทย ฉบับใช้ร่วมสามเหล่าทพั ข้ึน เพ่ือใหเ้ ป็นสอ่ื กลางในการสร้างความเข้าใจร่วมกันในการปฏิบัตกิ าร ทางทหารรว่ มและผสมระหวา่ งกองทัพไทยกับกองทัพของนานาประเทศ และเพอ่ื ใหก้ าลงั พลของกองทัพไทยได้ใช้ ประโยชน์เปน็ แหลง่ ศกึ ษาคน้ คว้าและอา้ งองิ การจัดทาพจนานุกรมศัพทท์ หาร องั กฤษ – ไทย ฉบับใชร้ ่วมสามเหลา่ ทพั พ.ศ.๒๕๕๘ น้ี ไดป้ รับปรงุ แกไ้ ข มาจากฉบับเดิม พ.ศ.๒๕๔๗ โดยใช้พจนานุกรมภาษาอังกฤษของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา คือ Joint Publication 1-02 Department of Defense Dictionary of Military and Associated Terms 8 November 2010 (As Amended Through 15 January 2012) เป็นต้นฉบับในการจดั ทา มีคาศัพท์บัญญัติเพ่มิ เติมเก่ียวกบั ด้านกาลังพล การข่าว ยุทธการ การส่งกาลังบารุง และการส่ือสาร ตลอดจนคาศัพท์เก่ียวกับอาวุธยุทโธปกรณ์ ที่ได้รับการพัฒนาขนึ้ ให้ทันสมยั และเหมาะสมกบั ภารกจิ ในปัจจบุ ัน คณะกรรมการพิจารณาปรับปรงุ แกไ้ ขพจนานุกรมศัพท์ทหารฉบบั ใช้รว่ มสามเหลา่ ทัพ ซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนจากสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม กองบัญชาการ กองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทพั อากาศ จานวน ๓๐ นาย โดยมผี ู้บญั ชาการสถาบันวชิ าการปอ้ งกันประเทศ เป็นประธานกรรมการฯ ได้ดาเนินการจดั ทาพจนานุกรมศัพท์ทหาร อังกฤษ – ไทย ฉบับใช้ร่วมสามเหล่าทพั พ.ศ.๒๕๕๘เสรจ็ เรยี บร้อยแลว้ อยา่ งไรกต็ ามหากผู้ใช้พจนานกุ รมศัพท์ทหารฯ พบขอ้ ผิดพลาดประการใด กรุณาแจ้งให้สถาบนั วิชาการป้องกันประเทศทราบ เพ่อื จะไดด้ าเนินการแก้ไขปรบั ปรงุ ในโอกาสต่อไป สถาบันวิชาการปอ้ งกนั ประเทศ ขอขอบคุณคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการพิจารณาปรบั ปรุงแกไ้ ข พจนานุกรมศัพท์ทหาร ฉบับใช้ร่วมสามเหล่าทัพ ทุกท่าน ตลอดจนเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้อง ที่ได้ใช้ความรู้ ความสามารถท้ังด้านภาษา เทคนิคและวิทยาการเฉพาะทาง รวมทั้งให้ความร่วมมือในการดาเนนิ การจนประสบ ผลสาเร็จด้วยดี และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าพจนานุกรมศัพท์ทหารฯ ฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์แก่กองทัพไทยและ ส่วนราชการอน่ื ๆ สบื ไป พลเอก (สุรพนั ธ์ วงศไ์ ทย) ผู้บญั ชาการสถาบันวิชาการปอ้ งกนั ประเทศ / ประธานคณะกรรมการฯ 41173_Sahyblock_(01)-(12).indd 3 6/29/2015 9:44:54 AM

คาสง่ั กระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ที่ ๓๖๘/๕๔ เรอ่ื ง แต่งต้งั คณะกรรมการพิจารณาปรบั ปรงุ แก้ไขพจนานกุ รมศพั ทท์ หาร ฉบบั ใช้รว่ มสามเหลา่ ทพั ------------------------------------------------- ตามที่แต่งต้งั คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงแก้ไขพจนานกุ รมศัพท์ทหาร ฉบับใช้รว่ มสามเหล่าทัพ โดยอาศัยอานาจตามความในมาตรา ๙ แหง่ พระราชบัญญตั จิ ัดระเบยี บราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑ นั้น เนือ่ งจากไดม้ กี ารเปลยี่ นแปลงสว่ นราชการใน บก.ทท. สง่ ผลใหต้ าแหนง่ กรรมการไมส่ อดคลอ้ ง สมควรแกไ้ ขเพือ่ ให้ การจดั ทาพจนานุกรมศพั ท์ทหาร ภาษาองั กฤษ – ไทย ฉบบั ใช้รว่ มสามเหลา่ ทพั เป็นไปอย่างตอ่ เนือ่ ง จงึ ให้ ๑. ยกเลิกคาส่ัง กห. (เฉพาะ) ที่ ๓๐๔/๕๒ ลง ๒๕ ก.ย.๕๒ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการ พจิ ารณาปรับปรงุ แก้ไขพจนานุกรมศพั ท์ทหาร ฉบบั ใชร้ ว่ มสามเหล่าทพั โดยใหใ้ ช้คาสั่งฉบับน้ีแทน ๒. แต่งต้ังคณะกรรมการพิจารณาปรบั ปรงุ แกไ้ ขพจนานุกรมศัพทท์ หาร ฉบบั ใช้ร่วมสามเหลา่ ทพั ประกอบด้วย ๒.๑ ผบ.สปท. ประธานกรรมการ ๒.๒ รอง ผบ.สปท. (๒) รองประธานกรรมการ (๑) ๒.๓ ผช.ผบ.สปท. (๒) รองประธานกรรมการ (๒) ๒.๔ ผแู้ ทน สป. ๓ นาย กรรมการ ๒.๕ ผแู้ ทน กพ.ทหาร ๒ นาย กรรมการ ๒.๖ ผู้แทน ขว.ทหาร ๒ นาย กรรมการ ๒.๗ ผู้แทน ยก.ทหาร ๒ นาย กรรมการ ๒.๘ ผูแ้ ทน กบ.ทหาร ๒ นาย กรรมการ ๒.๙ ผแู้ ทน กร.ทหาร ๒ นาย กรรมการ ๒.๑๐ ผู้แทน สส.ทหาร ๑ นาย กรรมการ ๒.๑๑ ผแู้ ทน สปช.ทหาร ๑ นาย กรรมการ ๒.๑๒ ผู้แทน ทบ. ๓ นาย กรรมการ ๒.๑๓ ผู้แทน ทร. ๓ นาย กรรมการ ๒.๑๔ ผ้แู ทน ทอ. ๓ นาย กรรมการ ๒.๑๕ ผอ.สภท.บก.สปท. กรรมการและเลขานุการ ๒.๑๖ รอง ผอ.สภท.บก.สปท. กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ ๒.๑๗ ประจากอง สภท.บก.สปท. กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ /๓. สาหรบั ... 41173_Sahyblock_(01)-(12).indd 4 6/29/2015 9:44:54 AM

-๒- ๓. สาหรับผู้แทนส่วนราชการ ตามข้อ ๒.๔ – ๒.๑๔ ให้ สป., บก.ทท., ทบ., ทร., และ ทอ. พิจารณาจัดผูท้ รงคณุ วุฒิทงั้ ทางดา้ นภาษา เทคนิค และวิทยาการ เข้าร่วมเป็นกรรมการ ๔. คณะกรรมการมีอานาจหนา้ ที่ ๔.๑ พิจารณาปรับปรุงแก้ไขพจนานุกรมศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ – ไทย ฉบับใช้ร่วมสามเหล่าทัพ ให้ถกู ตอ้ งเป็นมาตรฐาน ๔.๒ รายงานสรุปผลการประชุมให้ทราบ อย่างน้อยปีละ ๒ คร้ัง และเม่ือได้ดาเนินการ จัดทาบัญญติศัพท์และความหมายแล้ว ให้รายงานขออนุมัติใช้พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ – ไทย ในโอกาสแรง รวมท้งั จดั พิมพใ์ หเ้ สรจ็ ตามกาหนดเวลา ๔.๓ เชิญผู้ทรงคุณวุฒิ ซ่ึงเป็นผู้แทนส่วนราชการต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก กระทรวงกลาโหม เข้าร่วมประชุมช้ีแจงรายละเอียดในการบัญญัติศัพท์และความหมาย ซึ่งเกี่ยวข้องกับ สายวิทยาการโดยเฉพาะ ไดต้ ามความจาเปน็ ๔.๔ แตง่ ตัง้ คณะอนุกรรมการ และ/หรือ คณะทางาน ไดต้ ามความเหมาะสม ท้ังน้ี ตั้งแตบ่ ัดนี้เป็นต้นไป ส่ัง ณ วันที่ ๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๔ พล.อ. ยุทธศักด์ิ ศศิประภา (ยทุ ธศักดิ์ ศศปิ ระภา) รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงกระทรวงกลาโหม สาเนาถกู ตอ้ ง ร.อ.หญิง มนชนก สงวนชาติ (มนชนก สงวนชาต)ิ รรก.ประจากอง สภท.บก.สปท. 41173_Sahyblock_(01)-(12).indd 5 6/29/2015 9:44:54 AM

รำยนำมคณะกรรมกำรพจิ ำรณำปรบั ปรงุ แก้ไขพจนำนกุ รมศพั ท์ทหำร ฉบับใชร้ ่วมสำมเหลำ่ ทพั (ปี พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๘) ปี พ.ศ.๒๕๕๕ ประธำนกรรมกำร ๑. พล.อ. ชูศกั ด์ิ เมฆสวุ รรณ์ ผบ.สปท. รองประธำนกรรมกำร ๑ รอง ผบ.สปท. (๒) ๒. พล.ท. วิทวัส บุญยสมั พนั ธ์ุ ผช.ผบ.สปท. (๒) รองประธำนกรรมกำร ๒ นายทหารปฏิบัตกิ ารประจา สป. ช่วยปฏบิ ตั ิ ราชการ สงป.กห. ๓. พล.ร.ต. ภวัต วชิ ยั ดิษฐ ร.น. รอง ผอ.กกต.ธน. รอง ผอ.กวพ.พท.ศอพท. ผูแ้ ทนสำนกั งำนปลัดกระทรวงกลำโหม หน.นโยบายและแผน กนผ.สนผพ.กพ.ทหาร ๔. น.อ.หญงิ สธุ าศินี เสนียว์ งศ์ ณ อยุธยา ประจาแผนกการศึกษาและฝกึ อบรม กพพ.กพ.ทหาร ๕. พ.อ. ปิยชาต เจรญิ ผล บรุ กรรมโกวทิ รอง ผอ.กภต.ขว.ทหาร ๖. น.อ. สิริวฒุ ิ หน.แปล กภต.ขว.ทหาร ผู้แทนกรมกำลังพลทหำร ศรีแกว้ บัวสรวง นายทหารปฏบิ ตั ิการประจา สร. ๗. น.ท. ธวนิ ช่วยราชการ ยก.ทหาร ประจาแผนกปฏบิ ตั กิ าร กปก.ศสภ.ยก.ทหาร ๘. พ.ต.หญงิ กันตา นายทหารปฏิบัติการประจา กบ.ทหาร ผแู้ ทนกรมขำ่ วทหำร มณรี ตั น์ ผช.ผอ.กบท.สบส.กบ.ทหาร ๙. พ.อ.หญิง สาลนิ ี ชวนราลึก ร.น. ๑๐. น.ท.หญงิ ศภุ วรรณ กิตตขิ จร ผู้แทนกรมยทุ ธกำรทหำร ๑๑. พ.อ. กิจกอ้ ง ๑๒. พ.ต.หญงิ ปรนิ ทรฉ์ ตั ร ภมี รัชตธารงค์ ผู้แทนกรมส่งกำลังบำรุงทหำร วฒั นมงคล ร.น. ๑๓. น.อ.หญงิ ภณั ฑิรา เกิดสนอง ร.น. ๑๔. น.อ.หญงิ จุไร 41173_Sahyblock_(01)-(12).indd 6 6/29/2015 9:44:54 AM

-๒- ผูแ้ ทนกรมกจิ กำรพลเรือนทหำร ๑๕. พ.อ. พีรวฒั น์ ชุณหะนันทน์ ผอ.กปจ.กร.ทหาร รอง ผอ.กบภ.สกร.กร.ทหาร ๑๖. พ.อ. พงศพ์ ิชาญ พรสินธนรัชต์ ผอ.กทค.ศทท.สส.ทหาร ผู้แทนกรมกำรส่ือสำรทหำร ผอ.กตป.สปช.ทหาร ๑๗. พ.อ. สุเมธ นิลมัย รอง ผอ.กพล.ศพย.ยศ.ทบ. สำนักงำนปลัดบัญชที หำร ฝสธ.ประจา ยก.ทบ. หน.ขว.ทบ. ๑๘. พ.อ. อรรถนพ ลาภชมุ่ ศรี รอง ผอ.ยก.นย. กองทัพบก รอง ผอ.กพก.ยก.ทร. รอง ผอ.กวก.สพ.ทร. ๑๙. พ.อ. กฤตตภิ มู ิ หอมหวน ผอ.ศภษ.ยศ.ทอ. ๒๐. พ.อ. ดารง วรรณสงิ ห์ รอง ผอ.กวช.สบศ.บก.ยศ.ทบ. หน.ผผศ.ศภษ.ยศ.ทอ. ๒๑. พ.อ. อธิสทิ ธ์ิ ไชยนุวัติ ผอ.สภท.บก.สปท. กองทัพเรือ รอง ผอ.สภท.บก.สปท. ๒๒. น.อ. วรี ะชัย หลคี า้ ร.น. ประจากอง สภท.บก.สปท. ๒๓. น.อ. ณรงค์ จงรกั ภบู าล ร.น. ผบ.สปท. ๒๔. น.อ. วิสิทธ์ิ เดชพิรยิ ะภทั ร ร.น. รอง ผบ.สปท. (๒) กองทพั อำกำศ ๒๕. น.อ.หญิง สุคนธท์ พิ ย์ วฒั นามระ ๒๖. น.อ. วนิ จิ จนั ทรมณี ๒๗. น.ท.หญิง กันยารตั น์ เหลอื ล้น เลขำนุกำร ๒๘. น.อ.หญงิ กฤดาการ พนั ธ์บรู ณะ ร.น. ผู้ชว่ ยเลขำนกุ ำร ๒๙. พ.อ.หญิง ศศิธร ทันศรี ๓๐. น.ต.หญงิ สิรพิ ร ศักดศ์ิ รชยั ร.น. ปี พ.ศ.๒๕๕๖ เมฆสุวรรณ์ ประธำนกรรมกำร บญุ ยสมั พันธ์ุ ๑. พล.อ. ชศู ักดิ์ รองประธำนกรรมกำร ๑ ๒. พล.ท. วิทวัส 41173_Sahyblock_(01)-(12).indd 7 6/29/2015 9:44:54 AM

-๓- รองประธำนกรรมกำร ๒ ๓. พล.ร.ต. ภวตั วชิ ยั ดิษฐ ร.น. ผช.ผบ.สปท. (๒) ผแู้ ทนสำนักงำนปลัดกระทรวงกลำโหม รอง ผอ.กกต.ธน. รอง ผอ.กวพ.พท.ศอพท ๔. พ.อ. ปิยชาต เจริญผล รอง ผอ.กจก.สงป.กห. หน.กฎหมายระหวา่ งประเทศ กกต.ธน. ๕. น.อ. สิรวิ ฒุ ิ บรุ กรรมโกวิท หน.นโยบายและแผน กนผ.สนผพ.กพ.ทหาร ๖. น.อ.หญิง อินทริ า ตนั เจรญิ ร.น. หน.การศกึ ษาและฝกึ อบรม กพพ.กพ.ทหาร (สารอง) พ.ท. พงษศ์ ริ ิ เผอื กใจแผ้ว (สารอง) รอง ผอ.กภต.ขว.ทหาร หน.แปล กภต.ขว.ทหาร ผแู้ ทนกรมกำลงั พลทหำร ผอ.กรป.สนผ.ยก.ทหาร ๗. น.ท. ธวิน ศรีแก้ว ผอ.กพป.สวฝ.ยก.ทหาร ๘. พ.ท.หญงิ รตั นาวดี บวั สรวง นายทหารปฏบิ ัตกิ ารประจา กบ.ทหาร ผช.ผอ.กบท.สบส.กบ.ทหาร ผ้แู ทนกรมข่ำวทหำร ผอ.กบภ.สกร.กร.ทหาร ๙. พ.อ.หญงิ สาลนิ ี มณรี ตั น์ รอง ผอ.กบภ.สกร.กร.ทหาร ๑๐. น.ท.หญงิ ศภุ วรรณ ชวนราลึก ร.น. ผช.ผอ.กซบร.ศทท.สส.ทหาร ผูแ้ ทนกรมยุทธกำรทหำร ผอ.กตป.สปช.ทหาร ๑๑. พ.อ. กิตติ คงสมบตั ิ รอง ผอ.กพล.ศพย.ยศ.ทบ. ฝสธ.ประจา ยก.ทบ. ๑๒. น.อ. ณัฐพงศ์ เกตุสมบรู ณ์ ร.น. หน.สปข.ขว.ทบ. ผู้แทนกรมส่งกำลงั บำรุงทหำร ๑๓. น.อ.หญิง ภัณฑิรา วัฒนมงคล ร.น. ๑๔. น.อ.หญิง จุไร เกิดสนอง ร.น. ผแู้ ทนกรมกจิ กำรพลเรอื นทหำร ๑๕. พ.อ. พรี วฒั น์ ชณุ หะนนั ทน์ ๑๖. พ.อ. พงศ์พิชาญ พรสินธนรชั ต์ ผูแ้ ทนกรมกำรสื่อสำรทหำร ๑๗. พ.อ. ภวนวยี ์ อามาตย์นิรนั สำนักงำนปลดั บัญชีทหำร ๑๘. พ.อ. อรรถนพ ลาภชุ่มศรี กองทัพบก ๑๙. พ.อ. กฤตติภูมิ หอมหวน ๒๐. พ.อ. ดารง วรรณสงิ ห์ ๒๑. พ.อ. อธสิ ทิ ธ์ิ ไชยนุวตั ิ 41173_Sahyblock_(01)-(12).indd 8 6/29/2015 9:44:55 AM

-๔- กองทพั เรือ เดชพริ ยิ ะภทั ร ร.น. รอง ผอ.กวก.สพ.ทร. ๒๒. น.อ. วสิ ิทธิ์ ยศธสาร ร.น. รอง ผอ.กพก.ยก.ทร. ศุภกาญจน์ ร.น. รอง ผอ.ยก.นย. ๒๓. น.อ. กรจกั ร วัฒนามระ ผอ.ศภษ.ยศ.ทอ. ๒๔. น.อ. วิทวัส จันทรมณี รอง ผอ.กวช.สบศ.บก.ยศ.ทบ. กองทัพอำกำศ เหลอื ล้น หน.ผผศ.ศภษ.ยศ.ทอ. ๒๕. น.อ.หญงิ สุคนธท์ ิพย์ พันธบ์ รู ณะ ร.น. ผอ.สภท.บก.สปท. ๒๖. น.อ. วนิ ิจ ทันศรี รอง ผอ.สภท.บก.สปท. ศักดิศ์ รชัย ร.น. ประจากอง สภท.บก.สปท. ๒๗. น.ท.หญิง กนั ยารัตน์ ผบ.สปท. เลขำนกุ ำร ๒๘. น.อ.หญงิ กฤดาการ รอง ผบ.สปท. (๒) ผชู้ ว่ ยเลขำนุกำร ผช.ผบ.สปท. (๒) ๒๙. พ.อ.หญิง ศศิธร รอง ผอ.กกต.ธน. ๓๐. น.ต.หญงิ สริ พิ ร นายทหารปฏบิ ัตกิ ารประจา วท.กห. ชว่ ยราชการ พท.ศอพท. ปี พ.ศ.๒๕๕๗ ฝสธ.ประจา สงป.กห. ประธำนกรรมกำร หน.กฎหมายระหวา่ งประเทศ กกต.ธน. ๑. พล.อ. วุฒินันท์ ลีลายทุ ธ ผช.ผอ.กพพ.กพ.ทหาร นายทหารประเมินผลระบบการบรหิ าร รองประธำนกรรมกำร ๑ ทรพั ยากรบคุ คล กพบท.กพ.ทหาร ๒. พล.ท. วสุ เฟื่องสารวจ รองประธำนกรรมกำร ๒ ๓. พล.ต. ชัยฤกษ์ แก้วพรหมมาลย์ ผูแ้ ทนสำนักงำนปลดั กระทรวงกลำโหม ๔. พ.อ. ปยิ ชาต เจรญิ ผล ๕. น.อ. สิรวิ ฒุ ิ บรุ กรรมโกวิท ๖. พ.อ. วฒุ ไิ กร พบิ ารงุ (สารอง) พ.ท. พงษ์ศิริ เผือกใจแผว้ ผแู้ ทนกรมกำลังพลทหำร ๗. น.อ. ธวิน ศรแี ก้ว ๘. ร.อ.หญิง ณภคั วลัญชณ์ บวรฤทธ์เิ วศฐ์ 41173_Sahyblock_(01)-(12).indd 9 6/29/2015 9:44:55 AM

-๕- ผ้แู ทนกรมข่ำวทหำร มณรี ตั น์ นายทหารปฏบิ ัตกิ าร ประจา ศรภ. ๙. พ.อ.หญงิ สาลนิ ี ชว่ ยราชการ ขว.ทหาร ผช.ผอ.กภต.ขว.ทหาร ๑๐. น.อ.หญิง ศภุ วรรณ ชวนราลึก ร.น. ผอ.กรป.สนผ.ยก.ทหาร ผแู้ ทนกรมยทุ ธกำรทหำร ผอ.กรผ.สวฝ.ยก.ทหาร ๑๑. พ.อ. กิตติ คงสมบัติ นายทหารปฏบิ ตั กิ ารประจา กบ.ทหาร ผช.ผอ.กบท.สบส.กบ.ทหาร ๑๒. น.อ. ณัฐพงศ์ เกตุสมบรู ณ์ ร.น. ผอ.กบภ.สกร.กร.ทหาร ผู้แทนกรมสง่ กำลังบำรุงทหำร ประจา กร.ทหาร ๑๓. น.อ.หญิง ภณั ฑริ า วฒั นมงคล ร.น. รอง ผอ.กนผ.สผอ.สส.ทหาร ๑๔. น.อ.หญงิ จไุ ร เกดิ สนอง ร.น. ผช.ผอ.กปท.สบท.สปช.ทหาร ผ้แู ทนกรมกจิ กำรพลเรอื นทหำร หน.ศพย.ยศ.ทบ. ฝสธ.ประจา ยก.ทบ. ๑๕. พ.อ. พีรวัฒน์ ชณุ หะนนั ทน์ หน.สปข.ขว.ทบ. ๑๖. พ.อ. ธรี ะพันธ์ พงษไ์ พบลู ย์ รอง ผอ.กวก.สพ.ทร. รอง ผอ.กพก.ยก.ทร. ผู้แทนกรมกำรสอื่ สำรทหำร รอง ผอ.ยก.นย. ๑๗. พ.อ. ภวนวยี ์ อามาตย์นิรัน ผอ.ศภษ.ยศ.ทอ. รอง ผอ.กวช.สบศ.บก.ยศ.ทบ. สำนักงำนปลดั บัญชีทหำร หน.ผผศ.ศภษ.ยศ.ทอ. ๑๘. พ.อ. กฤษดา จนี เกิด กองทพั บก ๑๙. พ.อ. ทวศี ักดิ์ บญุ รกั ษา ๒๐. พ.อ. ดารง วรรณสงิ ห์ ๒๑. พ.อ. อธสิ ิทธิ์ ไชยนุวตั ิ กองทพั เรอื ๒๒. น.อ. วิสทิ ธ์ิ เดชพิริยะภทั ร ร.น. ๒๓. น.อ. กรจักร ยศธสาร ร.น. ๒๔. น.อ. วิทวสั ศภุ กาญจน์ ร.น. กองทพั อำกำศ ๒๕. น.อ.หญงิ สคุ นธท์ พิ ย์ วัฒนามระ ๒๖. น.อ. วนิ ิจ จันทรมณี ๒๗. น.ท.หญงิ กนั ยารตั น์ เหลือล้น 41173_Sahyblock_(01)-(12).indd 10 6/29/2015 9:44:55 AM

-๖- เลขำนุกำร พันธ์บรู ณะ ร.น. ผอ.สภท.บก.สปท. ๒๘ น.อ.หญิง กฤดาการ ทนั ศรี รอง ผอ.สภท.บก.สปท. ผชู้ ่วยเลขำนุกำร ศักด์ิศรชยั ร.น. ประจากอง สภท.บก.สปท. ๒๙. พ.อ.หญงิ ศศิธร ผบ.สปท. ๓๐. น.ต.หญงิ สิรพิ ร รอง ผบ.สปท. (๒) ปี พ.ศ.๒๕๕๘ ประธำนกรรมกำร ผช.ผบ.สปท. (๒) ๑. พล.อ. สุรพนั ธ์ วงศไ์ ทย รอง ผอ.กกต.ธน. ผอ.กจค.สงป.กห. รองประธำนกรรมกำร ๑ ผอ.กปต.พท.ศอพท. หน.กฎหมายระหวา่ งประเทศ กกต.ธน. ๒. พล.ท. นวิ ตั ิ สุบงกฎ ผช.ผอ.กพพ.กพ.ทหาร รองประธำนกรรมกำร ๒ นายทหารประเมินผลระบบการบรหิ าร ทรพั ยากรบุคคล กพบท.กพ.ทหาร ๓. พล.ต. รตั นชัย สวุ รรณเทศ นายทหารปฏบิ ัติการประจา ศรภ. ผ้แู ทนสำนกั งำนปลัดกระทรวงกลำโหม ชว่ ยราชการ ขว.ทหาร ผช.ผอ.กภต.ขว.ทหาร ๔. พ.อ. ปิยชาต เจรญิ ผล ผอ.กรป.สนผ.ยก.ทหาร ๕. พ.อ. วุฒิไกร พิบารงุ ผอ.กนผ.สวฝ.ยก.ทหาร ๖. น.อ.หญิง วิรงรอง มานติ ยกลุ (สารอง) พ.ท. พงษ์ศิริ เผือกใจแผ้ว ผแู้ ทนกรมกำลงั พลทหำร ๗. น.อ. ธวนิ ศรแี ก้ว ๘. พ.ต.หญงิ ณภคั วลัญชณ์ บวรฤทธ์ิเวศฐ์ ผู้แทนกรมข่ำวทหำร มณรี ตั น์ ๙. พ.อ.หญิง สาลินี ๑๐. น.อ.หญิง ศุภวรรณ ชวนราลึก ร.น. ผู้แทนกรมยทุ ธกำรทหำร คงสมบัติ ๑๑. พ.อ. กติ ติ เกตุสมบรู ณ์ ร.น. ๑๒. น.อ. ณัฐพงศ์ 41173_Sahyblock_(01)-(12).indd 11 6/29/2015 9:44:55 AM

-๗- ผู้แทนกรมสง่ กำลังบำรุงทหำร ๑๓. น.อ.หญงิ ภณั ฑิรา วัฒนมงคล ร.น. นายทหารปฏิบัติการประจา กบ.ทหาร ผช.ผอ.กบท.สบส.กบ.ทหาร ๑๔. น.อ.หญิง จไุ ร เกดิ สนอง ร.น. นายทหารปฏบตั ิการประจา กร.ทหาร ผ้แู ทนกรมกจิ กำรพลเรอื นทหำร หน.ปฏบิ ัตกิ าร กบภ.สกร.กร.ทหาร ๑๕.พ.อ. ธรี ะพันธ์ พงษ์ไพบูลย์ ประจา สผอ.สส.ทหาร ๑๖.พ.ท.หญงิ บัณรสี ชวาลศลิ ป์ ผช.ผอ.กจก.สปช.ทหาร ผูแ้ ทนกรมกำรสอ่ื สำรทหำร หน.ศพย.ยศ.ทบ. รอง ผอ.กตท.สวส.ขว.ทบ. ๑๗. น.ท. อิทธกิ ร เกษตรสนุ ทร หน.ยก.ทบ. สำนกั งำนปลัดบัญชที หำร รอง ผอ.กมภ.สานักกิจการความม่ันคง ยก.ทร. รอง ผอ.ยก.นย. ๑๘. พ.อ. กฤษดา จีนเกดิ รอง ผอ.กวก.สพ.ทร. กองทพั บก ผอ.ศภษ.ยศ.ทอ. ผอ.กอก.สบศ.บก.ยศ.ทอ. ๑๙. พ.อ. ทวศี ักด์ิ บญุ รกั ษา หน.ผผศ.ศภษ.ยศ.ทอ. ๒๐. พ.อ. อธิสทิ ธ์ิ ไชยนุวตั ิ ผอ.สภท.บก.สปท. ๒๑. พ.ท. สรุ าษฎร์ ติรพัฒน์ รอง ผอ.สภท.บก.สปท. ประจากอง สภท.บก.สปท. กองทพั เรือ ๒๒. น.อ. กรจักร ยศธสาร ร.น. ๒๓. น.อ. ชยตุ ฉตั รอสิ รกลุ ร.น. ๒๔. น.อ.หญิง กิง่ แกว้ แกว้ กรรณ์ ร.น. กองทพั อำกำศ ๒๕. น.อ.หญิง สุคนธท์ พิ ย์ วฒั นามระ ๒๖. น.อ. วินจิ จันทรมณ๊ ๒๗. น.ท.หญิง กันยารตั น์ เหลอื ล้น เลขำนกุ ำร ๒๘. น.อ.หญิง กฤดาการ พันธบ์ ูรณะ ร.น. ผ้ชู ว่ ยเลขำนุกำร ๒๙. พ.อ.หญงิ ศศธิ ร ทนั ศรี ๓๐. น.ต.หญงิ สริ พิ ร ศักดิศ์ รชัย ร.น. 41173_Sahyblock_(01)-(12).indd 12 6/29/2015 9:44:55 AM

สำรบัญ หมวดอักษร หนำ้ A -------------------------------------------------------------------- ๑ B -------------------------------------------------------------------- ๒๙ C -------------------------------------------------------------------- ๓๙ D -------------------------------------------------------------------- ๘๑ E -------------------------------------------------------------------- ๑๐๑ F -------------------------------------------------------------------- ๑๑๕ G -------------------------------------------------------------------- ๑๓๐ H -------------------------------------------------------------------- ๑๓๗ I -------------------------------------------------------------------- ๑๔๕ J -------------------------------------------------------------------- ๑๖๒ K -------------------------------------------------------------------- ๑๗๕ L -------------------------------------------------------------------- ๑๗๖ M -------------------------------------------------------------------- ๑๘๕ N -------------------------------------------------------------------- ๒๐๗ O -------------------------------------------------------------------- ๒๒๒ P -------------------------------------------------------------------- ๒๓๓ Q -------------------------------------------------------------------- ๒๕๐ R -------------------------------------------------------------------- ๒๕๑ S -------------------------------------------------------------------- ๒๖๔ T -------------------------------------------------------------------- ๒๙๔ U -------------------------------------------------------------------- ๓๑๓ V -------------------------------------------------------------------- ๓๑๙ W -------------------------------------------------------------------- ๓๒๒ Z -------------------------------------------------------------------- ๓๒๘ 41173_Sahyblock_(01)-(12).indd 13 6/29/2015 9:44:55 AM

41173_Sahyblock_(01)-(12).indd 14 6/29/2015 9:44:55 AM

คำนำ กระทรวงกลาโหมได้ตระหนักถึงความสาคัญของการฝึกและการปฏิบัติการยุทธร่วมของเหลา่ ทัพต่าง ๆ และการยุทธผสมระหว่างนานาประเทศ ที่จะต้องประสานสอดคล้องและสื่อสารกันด้วยความเข้าใจในแนวทาง เดียวกัน เพือ่ ปฏิบตั ภิ ารกิจให้สาเร็จ ซึง่ จากแนวคิดดงั กล่าวนี้ กระทรวงกลาโหมจงึ ได้จดั ทาพจนานุกรมศัพท์ทหาร อังกฤษ – ไทย ฉบับใช้ร่วมสามเหล่าทพั ข้ึน เพ่ือใหเ้ ป็นสอ่ื กลางในการสร้างความเข้าใจร่วมกันในการปฏิบัตกิ าร ทางทหารรว่ มและผสมระหวา่ งกองทัพไทยกับกองทัพของนานาประเทศ และเพอ่ื ใหก้ าลงั พลของกองทัพไทยได้ใช้ ประโยชน์เปน็ แหลง่ ศกึ ษาคน้ คว้าและอา้ งองิ การจัดทาพจนานุกรมศัพทท์ หาร องั กฤษ – ไทย ฉบับใชร้ ่วมสามเหลา่ ทพั พ.ศ.๒๕๕๘ น้ี ไดป้ รับปรงุ แกไ้ ข มาจากฉบับเดิม พ.ศ.๒๕๔๗ โดยใช้พจนานุกรมภาษาอังกฤษของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา คือ Joint Publication 1-02 Department of Defense Dictionary of Military and Associated Terms 8 November 2010 (As Amended Through 15 January 2012) เป็นต้นฉบับในการจดั ทา มีคาศัพท์บัญญัติเพ่มิ เติมเก่ียวกบั ด้านกาลังพล การข่าว ยุทธการ การส่งกาลังบารุง และการส่ือสาร ตลอดจนคาศัพท์เก่ียวกับอาวุธยุทโธปกรณ์ ที่ได้รับการพัฒนาขนึ้ ให้ทันสมยั และเหมาะสมกบั ภารกจิ ในปัจจบุ ัน คณะกรรมการพิจารณาปรับปรงุ แกไ้ ขพจนานุกรมศัพท์ทหารฉบบั ใช้รว่ มสามเหลา่ ทัพ ซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนจากสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม กองบัญชาการ กองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทพั อากาศ จานวน ๓๐ นาย โดยมผี ู้บญั ชาการสถาบันวชิ าการปอ้ งกันประเทศ เป็นประธานกรรมการฯ ได้ดาเนินการจดั ทาพจนานุกรมศัพท์ทหาร อังกฤษ – ไทย ฉบับใช้ร่วมสามเหล่าทพั พ.ศ.๒๕๕๘เสรจ็ เรยี บร้อยแลว้ อยา่ งไรกต็ ามหากผู้ใช้พจนานกุ รมศัพท์ทหารฯ พบขอ้ ผิดพลาดประการใด กรุณาแจ้งให้สถาบนั วิชาการป้องกันประเทศทราบ เพ่อื จะไดด้ าเนินการแก้ไขปรบั ปรงุ ในโอกาสต่อไป สถาบันวิชาการปอ้ งกนั ประเทศ ขอขอบคุณคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการพิจารณาปรบั ปรุงแกไ้ ข พจนานุกรมศัพท์ทหาร ฉบับใช้ร่วมสามเหล่าทัพ ทุกท่าน ตลอดจนเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้อง ที่ได้ใช้ความรู้ ความสามารถท้ังด้านภาษา เทคนิคและวิทยาการเฉพาะทาง รวมทั้งให้ความร่วมมือในการดาเนนิ การจนประสบ ผลสาเร็จด้วยดี และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าพจนานุกรมศัพท์ทหารฯ ฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์แก่กองทัพไทยและ ส่วนราชการอน่ื ๆ สบื ไป พลเอก (สุรพนั ธ์ วงศไ์ ทย) ผู้บญั ชาการสถาบันวิชาการปอ้ งกนั ประเทศ / ประธานคณะกรรมการฯ 41173_Sahyblock_(01)-(12).indd 3 6/30/2015 8:08:56 PM

1 abort accuracy of information A ๑. ยกเลิก : ยกเลิกภารกจิ อันเนอื่ งจากเหตอุ นื่ ความถูกต้องของข่าวสาร, ความแน่นอนของ ข่าวสาร ซ่ึงมิใช่การกระทาำ ของขา้ ศึก อาจเกดิ ขน้ึ ณ เวลาใดเวลา หนงึ่ ตั้งแตเ่ ริม่ ภารกิจจนถงึ ก่อนสิน้ สุดภารกิจ ดู evaluation ๒. อะบอร์ต : ระงับการว่ิงขึ้นของอากาศยาน acoustical surveillance หรือการยิงอาวธุ ปลอ่ ย การเฝา้ ตรวจแหล่งเสยี ง acceptability การใชอ้ ปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รวมทง้ั เครอื่ งบนั ทกึ การยอมรบั เสียง เคร่ืองรบั หรอื เคร่อื งสง่ ในการรวบรวมข่าวสาร เกณฑ์การพิจารณาแผนยุทธการว่าหนทางปฏิบัติ acoustic intelligence คมุ้ ค่าการลงทนุ หรอื ไม่ในด้านกาำ ลังพล ยุทโธปกรณ์และ ขา่ วกรองทางเสียง เวลา และสอดคลอ้ งกบั กฎหมายสงคราม รวมทง้ั สามารถ สนบั สนุนทางการทหารและการเมือง ข่าวกรองที่ได้จากการรวบรวม และการดำาเนิน กรรมวิธตี อ่ ปรากฏการณท์ างเสียง เรยี กวา่ ACINT ดว้ ย ดู adequacy; feasibility ด้วย acoustic jamming access to classified information การก่อกวนทางเสยี ง การเข้าถงึ ขา่ วสารลบั การสง่ หรอื การสง่ ซา้ำ สญั ญาณเสยี งทางกลหรอื ทาง ความสามารถและโอกาสในการล่วงรู้ข่าวสารลับ ไฟฟ้าโดยเจตนา โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพือ่ ทจ่ี ะลบล้างหรอื บุคคลใดจะเข้าถึงข่าวสารลับได้ก็ต่อเมื่อบุคคลน้ันได้รับ เคลอื บคลมุ สญั ญาณทขี่ า้ ศกึ พยายามรบั และขดั ขวางระบบ อนุญาตใหล้ ่วงรขู้ ่าวสารนั้นได้หรือตอ่ เม่อื บคุ คลนน้ั ไดอ้ ยู่ อาวุธขา้ ศกึ ในตาำ แหนง่ ซ่งึ น่าจะได้ล่วงรขู้ า่ วสารน้ัน แต่บคุ คลใดย่อม ไม่สามารถเข้าถึงข่าวสารลับ ท้ังที่ได้อยู่ในที่ซ่ึงเก็บรักษา ดู barrage jamming; electronic warfare; เอกสารลับหากมีมาตรการรักษาความปลอดภัยป้องกัน jamming ดว้ ย มใิ หบ้ คุ คลนนั้ ไดล้ ว่ งรู้ข่าวสารนน้ั ๆ acquire accompanying supplies สงิ่ อุปกรณ์ท่นี าำ ไปกบั หน่วย ๑. หาเปา้ หมาย : เมอื่ ใชก้ บั เรดารค์ น้ หาเปา้ หมาย คอื กรรมวธิ ใี นการตรวจคน้ การปรากฏและทอี่ ยขู่ องเปา้ เพอ่ื ส่ิงอปุ กรณ์ของหน่วยซ่งึ ได้นำาไปกับกาำ ลังรบ ให้ไดร้ ายละเอยี ดเพยี งพอทีจ่ ะพสิ ูจนท์ ราบ accountability ๒. เกาะเป้าหมาย : เมื่อใช้กับเรดาร์ติดตาม ภาระรับผดิ ชอบ หมายถึงกรรมวิธีในการทำาให้ลำาคลื่นเรดาร์จับท่ีเป้าหมาย เพอ่ื เออ้ื อาำ นวยในการใช้อาวธุ ให้ได้ผล หนา้ ทตี่ ามกฎหมายหรอื คาำ สงั่ ทถ่ี กู ตอ้ งตามกฎหมาย หรอื ระเบยี บขอ้ บงั คบั ของนายทหาร หรอื บคุ คลอนื่ ในการ ดู target acquisition ดว้ ย ทำาบัญชีทรพั ยส์ นิ เอกสาร หรอื เงนิ ทุน ให้ถกู ต้อง บุคคล ผู้มีหน้าท่ีนี้อาจมีทรัพย์สิน เอกสารหรือเงินทุนดังกล่าว acquisition and cross-servicing agreement อยู่ในครอบครองจริงหรือไม่ก็ได้ ภาระรับผิดชอบน้ีจะ ความตกลงเกย่ี วกบั การรบั และการบรกิ ารตา่ งฝา่ ย เกยี่ วกบั การทาำ บญั ชเี ปน็ หลกั แตค่ วามรบั ผดิ ชอบจะเกยี่ วขอ้ ง กบั การคมุ้ ครอง ดแู ลและเกบ็ รกั ษาใหป้ ลอดภยั เปน็ สาำ คญั ความตกลงซ่ึงเจรจากันแบบทวิภาคีกับประเทศ พนั ธมติ รตา่ ง ๆ หรอื พนั ธมติ รชว่ั คราวของสหรฐั อเมรกิ าท่ี ดู responsibility ดว้ ย ยนิ ยอมใหก้ าำ ลงั รบของสหรฐั ฯ แลกเปลย่ี นชนดิ การสนบั สนนุ แบบทว่ั ไป รวมถงึ อาหาร เชอ้ื เพลงิ การขนสง่ กระสนุ วตั ถุ

2 A ระเบิดและยุทธภัณฑ์ โดยปกติรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ทางอากาศ การสงครามทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และอาวธุ อน่ื ๆ กลาโหมจะมอบอำ�นาจในการเจรจาเก่ียวกับความตกลง ทม่ี อี ยู่ ดงั กลา่ วใหก้ บั ผบู้ ญั ชาการรบ อ�ำ นาจในการสงั่ การใหป้ ฏบิ ตั ิ ตามความตกลงนขี้ น้ึ อยกู่ บั รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหม ดู air defense ดว้ ย หรอื ผทู้ ี่ไดร้ บั มอบอ�ำ นาจ ความตกลงนี้ใช้ในการเผชญิ เหตุ การปฏบิ ตั ิ การรกั ษาสนั ตภิ าพ เหตฉุ กุ เฉนิ ทไี่ มค่ าดคดิ หรอื active communications satellite ดาวเทียมส่ือสารรับส่งสัญญาณ ใช้ในการฝึกเพ่ือแก้ไขความไม่เพียงพอด้านการส่งกำ�ลัง ดู communications satellite บำ�รุงซ่ึงไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยวิธีการระดับชาติ ท้ังนี้ ตามทกี่ ฎหมายบญั ญตั ิ การสนบั สนนุ จะไดร้ บั การชดใชค้ นื active defense ภายใต้เง่ือนไขของความตกลงเกี่ยวกับการรับและ การตง้ั รับเชิงรุก การบริการต่างฝ่าย เรียกว่า ACSA ด้วย ดู cross-servicing; servicing ดว้ ย การปฏบิ ตั กิ ารรกุ อยา่ งจ�ำ กดั และการตโี ตต้ อบเพอื่ ไม่ใหข้ ้าศึกแย่งยดึ พื้นท่ีหรอื ทม่ี นั่ action information center ดู passive defense ดว้ ย ศนู ยข์ ่าวสารปฏิบตั ิการ active duty ดู air defense control center; combat ประจำ�การ information center หน้าท่ีซ่ึงต้องปฏิบัติเต็มเวลาในเหล่าทัพของ action phase สหรฐั อเมรกิ าเปน็ ศพั ท์โดยทว่ั ไปซง่ึ ใชก้ บั ทหารประจ�ำ การ ขั้นการปฏิบตั ิ ทกุ คน รวมทงั้ หนา้ ที่ในก�ำ ลงั ปอ้ งกนั ชาตทิ ปี่ ฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี ตม็ เวลาโดยไมค่ �ำ นงึ ถงึ หว้ งระยะเวลาหรอื ความมงุ่ หมาย เรยี ก ห้วงเวลาต้ังแต่กำ�ลังรบยกพลข้ึนบกของกำ�ลังรบ ว่า AD ด้วย สะเทนิ น�้ำ สะเทนิ บกมาถงึ พนื้ ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร จนกระทง่ั สน้ิ สดุ ดู active duty for training; inactive duty ภารกจิ ในการปฏิบัตกิ ารสะเทนิ นำ้�สะเทินบก training ดว้ ย ดู amphibious force; amphibious operation; active duty for special work landing force; mission ดว้ ย ประจำ�การเพื่อปฏบิ ัติงานพิเศษ activation ห้วงเวลาประจำ�การสำ�หรับกำ�ลังพลสำ�รองในการ การเข้าประจำ�การ ปฏิบัติงานในโครงการของหน่วยประจำ�การ หรือ คำ�สั่งให้เข้าประจำ�การ (นอกเหนือจากการฝึก) หน่วยกำ�ลังสำ�รองตามท่ีได้รับอนุมัติ เช่น การฝึกเพ่ือ ในงานของรัฐบาลกลาง การตรวจสอบประจำ�ปี การฝกึ ภาคสนาม การฝึกทางเรือ และการฝึกตามหน้าที่ท่ีจำ�เป็นในกรณีที่หน่วยเปลี่ยน ดู active duty; federal service ดว้ ย ระบบยทุ โธปกรณ์ใหม่ การประจ�ำ การเพอ่ื ปฏบิ ตั งิ านพเิ ศษ อาจจะทำ�เพื่อสนับสนุนการศึกษาเป็นกลุ่ม หน่วยฝึก active air defense โครงการระยะสนั้ และพนั ธกจิ ทางธรุ การหรอื การสนบั สนนุ การปอ้ งกันทางอากาศเชงิ รุก การปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั โดยตรง ทก่ี ระท�ำ เพอ่ื ท�ำ ลาย ตามปกติห้วงเวลาประจำ�การเพ่ือปฏิบัติงานพิเศษจะมี ลบล้าง หรือลดประสิทธิภาพของการคุกคามทางอากาศ กำ�หนดเวลาไม่เกิน ๑๗๙ วัน ใน ๑ ปีงบประมาณ และอาวุธปลอ่ ยของข้าศกึ ตอ่ กำ�ลงั รบ และสนิ ทรพั ย์ของ การประจ�ำ การเกนิ กวา่ ๑๘๐ วนั นบั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของความ ฝ่ายเดียวกัน ซึ่งรวมถึงการใช้อากาศยานอาวุธป้องกนั ภัย ตอ้ งการกำ�ลังพลประจ�ำ การ

3 active duty for training กำ�ลังสำ�รองที่อยู่ในสถานภาพประจำ�การ อาจทำ�การฝึก A ประจ�ำ การเพือ่ การฝกึ เพ่อื นำ�มาคิดคะแนนสะสม และ/หรือ ค่าตอบแทน และ อาจไดร้ บั การพิจารณาเล่ือนยศ หว้ งเวลาประจ�ำ การทใี่ ชเ้ พอื่ การฝกึ สมาชกิ ของสว่ น กำ�ลังสำ�รอง เพื่อให้ได้หน่วยทหารท่ีผ่านการฝึกมาแล้ว activity และให้ไดก้ �ำ ลงั พลทม่ี คี ณุ วฒุ สิ �ำ หรบั บรรจตุ ามความจ�ำ เปน็ ของกองทัพในยามสงครามหรือยามฉุกเฉินของชาติและ ๑. หนว่ ย, องคก์ ร, สถานทตี่ ัง้ : หน่วย องค์กร ในเวลาอนื่ ๆ ทตี่ อ้ งการรกั ษาความมน่ั คงของชาติ หว้ งเวลา หรอื สถานทต่ี ั้ง ซึง่ ปฏบิ ตั พิ นั ธกจิ หรอื ภารกจิ เชน่ ศนู ยร์ ับ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทน่ี เ้ี ปน็ ไปตามระเบยี บซง่ึ จะมขี อ้ ก�ำ หนดในเรอ่ื ง ก�ำ ลังพล ศูนย์จา่ ยกำ�ลังพล สถานีทหารเรือ อู่ทหารเรือ การกลบั คนื สสู่ ภาพนอกประจ�ำ การ เมอ่ื การเขา้ ประจ�ำ การ ๒. พันธกิจ, ภารกิจ, กจิ กรรม, กลมุ่ กจิ กรรม เพือ่ การฝกึ ได้ครบสมบรู ณ์แล้ว หว้ งเวลาน้ีรวมถงึ การฝึก เรียกวา่ ACT ด้วย ประจ�ำ ปี การปฏบิ ตั หิ นา้ ทป่ี ระจ�ำ การเปน็ พเิ ศษเพอ่ื ฝกึ การ เข้าศึกษาในโรงเรียนตลอดจนการเข้าประจำ�การครั้งแรก active of mercy ของผ้ทู ยี่ งั ไมเ่ คยรบั ราชการมากอ่ น เรยี กวา่ ADT ดว้ ย การกระทำ�ดว้ ยความปรานี Active Guard and Reserve ในการปฏิบัติการเล็ดลอดและรับกลับ หมายถึง ก�ำ ลงั ปอ้ งกันชาตแิ ละก�ำ ลงั ส�ำ รองประจ�ำ การ ความชว่ ยเหลอื ทใ่ี หแ้ กผ่ เู้ ลด็ ลอดโดยบคุ คลหนง่ึ หรอื องคก์ ร ประชาชนในทอ้ งถนิ่ นนั้ ซง่ึ สงสารหรอื เหน็ ใจในชะตากรรม สมาชิกกำ�ลังป้องกันชาติและกำ�ลังสำ�รอง ที่เป็น ของผเู้ ล็ดลอด อาสาสมคั รเขา้ ประจ�ำ การเตม็ เวลาในการสนบั สนนุ แกห่ นว่ ย ดู evader; evasion; recovery ดว้ ย กำ�ลังป้องกันชาติ กำ�ลังสำ�รองและส่วนกำ�ลังประจำ�การ เพ่ือวัตถุประสงค์ในการจัด การบริหาร การรับสมัคร actual ground zero การสอน หรอื การฝกึ สว่ นก�ำ ลงั ส�ำ รอง เรยี กวา่ AGR ดว้ ย ศนู ย์กลางการระเบิดบนพนื้ ดนิ จริง active material จดุ บนผวิ พนื้ โลกทอี่ ยใู่ ตห้ รอื ตรงพอดี หรอื อยเู่ หนอื วสั ดุกัมมนั ตรังสี ศูนย์กลางของการระเบิดจรงิ ของอาวุธนวิ เคลียร์ ดู ground zero ดว้ ย วัสดุเช่นพลูโทเนียม และไอโซโทบบางชนิดของ ยเู รเนยี ม ซง่ึ สามารถท�ำ ใหเ้ กดิ ปฏกิ ริ ยิ าลกู โซแ่ บบแตกตวั ได้ acute care services การบรกิ ารดูแลผู้ปว่ ยอาการเฉยี บพลัน active sealift forces ก�ำ ลงั ล�ำ เลียงทางทะเลประจ�ำ การ การบริการทางการแพทย์สำ�หรับผู้ป่วยท่ีมีอาการ เฉียบพลัน และตามด้วยการดูแลในห้วงสั้น ๆ หรือ การล�ำ เลยี งทางทะเลทใี่ ชร้ ว่ มกนั ในหนว่ ยบญั ชาการ ตอ้ งการการดแู ลทนั ที การดแู ลผปู้ ว่ ยในสนามรบสว่ นใหญ่ ลำ�เลียงทางทะลทหารและกำ�ลังที่นำ�เข้าที่ไว้ก่อนในทะเล ซึง่ กระท�ำ ภายหลงั ท่ีได้รบั การบาดเจบ็ การเจบ็ ป่วย หรือ รวมถงึ ระบบการยกขนสมั ภาระและระบบการสง่ มอบและ การประสบอันตราย ถือเป็นการบริการดูแลผู้ป่วย ก�ำ ลังพลท่จี ำ�เป็นในการปฏบิ ตั ิงาน อาการเฉียบพลัน โดยจะให้การบริการดังกล่าวหลังจาก ดู afloat pre-positioning force; common เกิดอาการ ซึ่งแตกต่างจากการดูแลเชิงป้องกันที่กระทำ� user sealift; Military Sealift Command ดว้ ย กอ่ นท่อี าการเจ็บป่วยจะปรากฏ active status acute radiation dose สถานภาพประจ�ำ การ ปรมิ าณการแผร่ ังสีเฉียบพลัน สถานภาพของกำ�ลังสำ�รองทั้งหมดยกเว้นผู้ที่มี ปริมาณการแผ่รังสีไอออนท้ังสิ้นที่ได้รับหน่ึงครั้ง รายชื่ออยู่ในบัญชีนอกประจำ�การ หรือปลดประจำ�การ และในชว่ งเวลาทส่ี น้ั มากจนไม่เกดิ การฟื้นตวั ทางชวี ะ

4 A acute radiation syndrome ข้อพิจารณาทางยุทธวธิ ี ยุทธภัณฑ์ และสง่ิ อุปกรณ์ ซึง่ อยู่ อาการปว่ ยเฉียบพลนั จากรังสี ในสภาพการบรรทุกแบบน้ีจะต้องทำ�การขนถ่ายและจัด ประเภทก่อน จึงจะนำ�ไปใช้ได้ เรียกว่า commercial ความเจ็บป่วยเฉียบพลันซึ่งเกิดจากการท่ีร่างกาย loading ด้วย ไดร้ บั รงั สปี รมิ าณสงู ในระยะเวลาทส่ี น้ั มาก เรยี กวา่ ARS ดว้ ย advanced base adequacy ฐานทัพหน้า ความพอเพียง ฐานทัพที่ตั้งอยู่ในหรือใกล้พ้ืนท่ีปฏิบัติการ โดยมี เกณฑ์การพจิ ารณาแผนยุทธการ วา่ ขอบเขตและ ภารกจิ หลกั ในการสนบั สนนุ การปฏิบัติการทางทหาร แนวความคิดของแผนยุทธการท่ีกำ�หนดไว้พอเพียงที่จะ บรรลุภารกจิ ท่ีไดร้ ับมอบ advanced geospatial intelligence ดู acceptability; feasibility ดว้ ย การขา่ วกรองดา้ นยีออสเปเชยี ลข้ันสงู adjust อ้างถึงข่าวสารด้านเทคนิค ยีออสเปเชียล และ ปรับ การข่าวกรอง ที่ได้จากการตีความ หรือการวิเคราะห์ โดยใช้กรรมวิธีข้ันสูงของข้อมูลท้ังหมดท่ีรวบรวม ค�ำ สงั่ ถงึ ผตู้ รวจการณห์ รอื ผตู้ รวจต�ำ บลกระสนุ ตก ได้จากภาพ หรือระบบการรวบรวมที่เก่ียวข้องกับภาพ เพือ่ ให้เร่มิ ปรบั การยิงต่อเปา้ หมายทกี่ �ำ หนด รู้จักกันในนามของข่าวกรองการวัด และสัญญาณแสดง ที่ได้จากภาพ เรยี กว่า AGI ดว้ ย administrative control การควบคุมทางธุรการ, การควบคุมทางการ advanced operations base ชว่ ยรบ, การควบคุมดา้ นบรหิ าร ฐานปฏบิ ตั ิการหนา้ การอำ�นวยการหรือการใช้อำ�นาจหน้าท่ีต่อหน่วย ในการปฏิบัติการพิเศษ หมายถึง ฐานปฏิบัติการ รองหรอื หนว่ ยงานอน่ื ใดในเรอื่ งทเี่ กยี่ วกบั ธรุ การ และการ ชว่ั คราวขนาดเลก็ ซง่ึ ตงั้ อยู่ใกลห้ รอื อยู่ในพน้ื ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร สนับสนุน เชน่ การจดั กำ�ลังรบของเหล่าทพั การควบคุม พิเศษร่วม เพื่อใช้ในการบังคับบัญชา การควบคุมและ/ ทรพั ยากรและยทุ ธภณั ฑ์ การจดั การก�ำ ลงั พล การสง่ ก�ำ ลงั หรือการสนับสนนุ การฝึก หรือการปฏิบัตทิ างยุทธวธิ ีตาม บ�ำ รงุ ของหนว่ ย การฝกึ เปน็ รายบคุ คลและเปน็ หนว่ ยความ ปกติมีส่ิงอำ�นวยความสะดวกที่จำ�กัด ฐานนี้อาจจะตั้งอยู่ พรอ้ ม การระดมพล การเลกิ ระดมพล ระเบียบวนิ ัยและ บนฝ่ังหรือลอยน้ำ� ถ้าฐานตั้งอยู่บนฝั่งอาจจะมีสนามบิน การอืน่ ๆ ซ่งึ ไม่ใช่ภารกจิ ทางยทุ ธการของหน่วยรอง หรือ หรือทางขึ้นลงของเคร่ืองบินในยามฉุกเฉิน ท่าเรือหรือท่ี หน่วยงานอ่ืน ๆ เรยี กว่า ADCON ดว้ ย ทอดสมอเรือ ตามปกติฐานปฏิบัติการหน้าอยู่ภายใต้การ ควบคุม และ/หรอื สนับสนนุ โดยฐานปฏบิ ัตกิ ารหลกั หรือ administrative landing ฐานปฏบิ ัติการส่วนหน้า เรียกวา่ AOB ดว้ ย การยกพลข้นึ บกทางธุรการ ดู forward operations base; main operations base ด้วย การยกพลข้ึนบกที่ไม่มีการขัดขวางเก่ียวกับการ ขนออกจากยาน ซง่ึ มีการบรรทกุ แบบธรุ การ advance force ดู administrative loading; logistic-over- ก�ำ ลังสว่ นลว่ งหน้า the-shore operations ดว้ ย หน่วยการจัดช่ัวคราวในกองเรือเฉพาะกิจ administrative loading สะเทินน้ำ�สะเทินบก ซึ่งแยกเดินทางล่วงหน้าจาก การบรรทุกทางธรุ การ ก�ำ ลงั หลกั ไปยงั พน้ื ทท่ี ห่ี มายเพอื่ ปฏบิ ตั กิ ารเตรยี มทหี่ มาย สำ�หรับการโจมตีหลักโดยดำ�เนินการปฏิบัติการ เช่น ระบบการบรรทกุ ซงึ่ มงุ่ ใชร้ ะวางบรรทกุ ส�ำ หรบั ก�ำ ลงั ทหารและสัมภาระให้ได้ประโยชน์สูงสุด โดยไม่คำ�นึงถึง

5 การลาดตระเวนยึดที่ม่ันสนับสนุน กวาดทุ่นระเบิด aeromedical evacuation A ระดมยิงฝ่ังข้ันต้น การทำ�ลายใต้น้ำ�และการสนับสนุน การสง่ กลบั สายแพทย์ทางอากาศ ทางอากาศ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ภายใต้การกำ�กับดูแลทาง advance guard การแพทย์ โดยการขนสง่ ทางอากาศไปยงั เรอื หรอื ระหวา่ ง กองระวงั หน้า สถานบำ�บัดทางการแพทย์ เรียกวา่ AE ดว้ ย หน่วยแยกท่ีส่งออกไปปฏิบัติอยู่ข้างหน้ากำ�ลัง aeromedical evacuation control team ส่วนใหญ่ เพื่อให้การรุกไปข้างหน้าของกำ�ลังส่วนใหญ่ ชุดควบคุมการส่งกลับสายแพทย์ทางอากาศ ไม่ถูกขัดขวาง ป้องกันกำ�ลังส่วนใหญ่จากการถูกจู่โจม อ�ำ นวยความสะดวกในการรกุ ดว้ ยการรอื้ ถอนเครอ่ื งกดี ขวาง สว่ นภายในศนู ยย์ ทุ ธการทางอากาศและเปน็ หนว่ ย ซ่อมถนนและสะพาน และเพื่อกำ�บังการจัดขบวนรบ ปฏิบัติหลักชุดหนึ่งในกองการเคลื่อนท่ีทางอากาศ ซ่ึง ของก�ำ ลังสว่ นใหญห่ ากจะตอ้ งเขา้ ทำ�การรบ บงั คบั บญั ชาและควบคมุ สว่ นสง่ กลบั สายแพทยท์ างอากาศ ประจำ�ภาคพื้น ขึ้นตรงต่อผู้อำ�นวยการกำ�ลังรบเคล่ือนที่ adversary ด้านการวางแผนปฏิบัติการส่งกลับสายแพทย์ทางอากาศ ฝา่ ยตรงขา้ ม และปฏิบัติภารกิจในขณะนั้น ชุดควบคุมการส่งกลับ สายแพทย์ทางอากาศมีหน้าที่วิเคราะห์ความต้องการ ฝ่ายท่ีทราบว่ามีแนวโน้มที่จะเป็นปรปักษ์ต่อ การเคล่ือนย้ายผู้ป่วย ประสานการลำ�เลียงทางอากาศ ฝา่ ยเราและอาจตอ้ งใช้กำ�ลังต่อฝ่ายนน้ั เพอ่ื สนองความตอ้ งการการสง่ กลบั สายแพทยท์ างอากาศ กำ�หนดกิจเฉพาะให้ส่วนส่งกลับสายแพทย์ทางอากาศ aerial port ทเ่ี หมาะสม รวมทง้ั ความตอ้ งการทางการแพทยเ์ ปน็ พเิ ศษ ท่าอากาศยาน เมอ่ื จ�ำ เปน็ และสง่ ขา่ วสารภารกจิ ใหแ้ กศ่ นู ยค์ วามตอ้ งการ เคลอ่ื นย้ายผปู้ ่วย เรียกว่า AECT ด้วย สนามบินซึ่งถูกกำ�หนดให้ใช้เพ่ือการเคล่ือนย้าย ดู aeromedical evacuation; air mobility ก�ำ ลงั พลและวสั ดทุ างอากาศโดยตอ่ เนอื่ ง และเพอ่ื ใชเ้ ปน็ division ดว้ ย ทา่ อากาศยานอนญุ าตส�ำ หรบั การเขา้ หรอื ออกจากประเทศ ทส่ี นามบินนน้ั ต้งั อยู่ เรียกวา่ APORT ด้วย aeromedical evacuation coordination center ดู port of debarkation; port of embarkation ศนู ยป์ ระสานการส่งกลับสายแพทยท์ างอากาศ ด้วย ศนู ยป์ ระสานทอ่ี ยภู่ ายในสว่ นประสานการล�ำ เลยี ง aerial port squadron ทางอากาศของศูนย์ยุทธการทางอากาศร่วม ซ่ึงทำ�หน้าท่ี หน่วยขนสง่ ทางอากาศประจ�ำ ท่าอากาศยาน เฝา้ ตดิ ตามกจิ กรรมทง้ั ปวงทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การปฏบิ ตั กิ ารสง่ กลบั สายแพทยท์ างอากาศ ศนู ยน์ จ้ี ะจดั การดา้ นการแพทย์ หน่วยทหารอากาศท่ีปฏิบัติและดำ�เนินการตาม ของภารกจิ การสง่ กลบั สายแพทยท์ างอากาศและท�ำ หนา้ ที่ พันธกิจต่าง ๆ ซึ่งท่าอากาศยานได้รับมอบ รวมท้ังการ เป็นสถานีบังคับข่ายในการติดต่อส่ือสารของการส่งกลับ ดำ�เนินกรรมวิธีต่อกำ�ลังพลและสัมภาระท่ีจะเคล่ือนย้าย สายแพทยท์ างอากาศ นอกจากนนั้ ยงั ประสานความตอ้ งการ ทางอากาศ ผกู มดั เพอื่ การทงิ้ ลงจากอากาศ การพบั รม่ ชชู พี ดา้ นการแพทยก์ บั ขดี ความสามารถในการล�ำ เลยี งทางอากาศ การบรรทุกยุทธภัณฑ์ การจัดทำ�แผนสัมภาระ และ แบ่งมอบภารกิจด้านการแพทย์ให้กับหน่วยส่งกลับสาย การบรรทกุ ทางอากาศ การบรรทกุ และการยดึ อากาศยาน แพทยท์ างอากาศทเี่ หมาะสม และเฝา้ ตดิ ตามกจิ กรรมการ การปลดสัมภาระ เพ่ือส่งลงขณะบินและการกำ�กับดูแล เคลอื่ นยา้ ยผปู้ ่วย เรยี กวา่ AECC ดว้ ย หน่วยต่าง ๆ ที่ร่วมในการบรรทุกข้ึน และขนลงจาก ดู aeromedical evacuation; aeromedical อากาศยาน evacuation system; aeromedical evacuation unit ดว้ ย

6 A aeromedical evacuation system กนั นถี้ อื วา่ เปน็ สว่ นเดยี วกนั เมอื่ เกยี่ วกบั การปลอ่ ยการน�ำ ระบบการส่งกลบั สายแพทย์ทางอากาศ วิถีและการควบคุมยาน ซ่ึงจะเดินทางอยู่ในทั้งสอง ส่วนนัน้ ระบบงานซง่ึ ดำ�เนินการในเรือ่ ง aerospace defense – ก. ควบคมุ การเคลอ่ื นยา้ ยผปู้ ว่ ยโดยการขนสง่ ทาง การป้องกนั อากาศ-อวกาศ อากาศ ๑. มาตรการปอ้ งกนั ทงั้ ปวงทก่ี �ำ หนดไวเ้ พอ่ื ท�ำ ลาย ข. จดั เจ้าหนา้ ทแี่ พทย์ผู้มคี วามช�ำ นาญเฉพาะทาง หรอื ลบลา้ งอากาศยาน อาวธุ ปลอ่ ยของขา้ ศกึ ทจ่ี ะมาโจมตี เจ้าหน้าที่แพทย์เพ่ิมเติมและผู้ดูแลท่ีมีความชำ�นาญ และปฏิเสธระบบหว้ งอากาศของขา้ ศึกด้วย ทางสายแพทย์และเวชภัณฑ์ เพื่อทำ�การรักษาพยาบาล ระหวา่ งท�ำ การบนิ ๒. ศัพท์นี้ครอบคลุมถึงการป้องกันทางอากาศ ค. จัดหน่วยอ�ำ นวยความสะดวกต่าง ๆ ทล่ี านบนิ การป้องกนั ขีปนาวธุ และการป้องกันอวกาศดว้ ย และฐานบินต่าง ๆ หรือในบริเวณใกล้เคียง เพ่ือให้การ ดู air defense ด้วย ดูแลรักษาแก่ผู้ป่วยท่ีเดินทางเข้า เดินทางผ่าน หรือ เดินทางออกไปจากระบบ afloat pre-positioning force ง. ติดต่อกับหน่วยอำ�นวยความสะดวกทางการ ก�ำ ลงั ทีน่ �ำ เขา้ ที่ไวก้ ่อนในทะเล แพทย์ที่ต้นทาง ปลายทาง หรือระหว่างทางเกี่ยวกับ การขนส่งผู้ป่วย เรียกวา่ AES ด้วย การขนส่งท่ีคงสภาพการปฏิบัติการเต็ม เพ่ือนำ� ดู aeromedical evacuation ดว้ ย ยุทธภัณฑ์และส่ิงอุปกรณ์ทางทหารเข้าที่ไว้ก่อนในทะเล ในการสนบั สนนุ แผนยทุ ธการของผบู้ ญั ชาการ ก�ำ ลงั ทหาร aeromedical evacuation unit ทน่ี ำ�เข้าที่ไว้ก่อนประกอบดว้ ย ๓ หมู่เรอื และเรือที่นำ�เขา้ ท่ีไวก้ อ่ นในทะเล เรยี กวา่ APF ดว้ ย หน่วยส่งกลับสายแพทยท์ างอากาศ ดู afloat pre-positioning ships; maritime หน่วยในสายแพทย์ซ่ึงมีหน้าที่หลักเก่ียวกับ pre - positioning ships ดว้ ย การจัดการและควบคุมผู้ป่วย ซึ่งอยู่ระหว่างการขนส่ง afloat pre-positioning operations โดยระบบงาน หรือส่วนของระบบงานส่งกลับสายแพทย์ การปฏบิ ัตกิ ารนำ�เข้าที่ไว้กอ่ นในทะเล ทางอากาศ ดู forward aeromedical evacuation ดว้ ย การนำ�เรือที่บรรทุกยุทธภัณฑ์และส่ิงอุปกรณ์ [รวมทั้ง อมภัณฑ์ (กระสุนวัตถุระเบิด) และน้ำ�มันเชื้อ aeronautical chart เพลิง] เข้าที่ไว้ก่อน เพื่อเป็นหนทางเลือกในแผนการ ที่จะใช้ฐานบนบก แนวคิดนี้จัดเตรียมเรือ ยุทธภัณฑ์ แผนทเ่ี ดนิ อากาศ และสิ่งอุปกรณ์บนเรือเพ่ือสนับสนุนกำ�ลังรบ โดยวางไว้ ใกล้กับพื้นท่ีท่ีอาจจะเกิดวิกฤตการณ์ขึ้น เพื่อให้สามารถ แผนทเี่ ฉพาะซง่ึ แสดงลกั ษณะของผวิ โลก หรอื บาง จดั สง่ ไปใหก้ �ำ ลงั รบรว่ มทล่ี �ำ เลยี งมาทางอากาศยานในพน้ื ที่ ส่วนของผิวโลก จัดทำ�ข้ึนเพ่ือแสดงลักษณะภูมิประเทศ ปฏิบตั กิ ารได้อย่างรวดเร็ว การนำ�เขา้ ที่ไว้กอ่ นในทะเลใน พืชพันธ์ุไม้ และลักษณะทางอุทกศาสตร์ และข่าวสาร พนื้ ทส่ี ว่ นหนา้ เพม่ิ ขดี ความสามารถของก�ำ ลงั รบเพอื่ ตอบ เพิ่มเติมท่ีต้องการสำ�หรับการเดินอากาศ การนำ�ร่อง สนองวิกฤตการณ์ซ่ึงส่งผลให้เวลาปฏิบัติตอบโต้มีความ หรือในการวางแผนปฏิบัติการทางอากาศ รวดเรว็ ขน้ึ ดู operation ด้วย aerospace อากาศ-อวกาศ, หว้ งอากาศ-อวกาศ เป็นเรื่องของบรรยากาศหรือเก่ียวกับบรรยากาศ ทห่ี ่อหุม้ โลกและอวกาศเหนอื ขนึ้ ไป สองส่วนซ่งึ แยกจาก

7 afloat pre-positioning ships air alert A เรอื ทน่ี �ำ เข้าท่ีไว้กอ่ นในทะเล การเตรยี มพร้อมเพ่อื ป้องกันทางอากาศ เรอื สนิ คา้ ทวี่ างก�ำ ลงั สว่ นหนง่ึ ซง่ึ บรรทกุ ยทุ ธภณั ฑ์ ดู airborne alert; air defense warning และสิ่งอุปกรณ์ทางยุทธวิธี เพื่อสนับสนุนการวางกำ�ลัง conditions; ground alert ด้วย ทหารขนั้ ตน้ เรียกวา่ APS ดว้ ย air and space expeditionary task force afloat support กำ�ลังรบเฉพาะกิจนอกประเทศทางอากาศและ การสนบั สนนุ จากเรือ อวกาศ การสนับสนุนทางการส่งกำ�ลังบำ�รุงแบบหนึ่งนอก กองทัพอากาศหมายเลข หรือส่วนบังคับบัญชา เขตท่าเรอื ซึง่ เปน็ การจัดสง่ น�ำ้ มนั เช้ือเพลิง กระสุนวตั ถุ ระดบั รองของกองทพั อากาศหมายเลขทเ่ี คลอ่ื นยา้ ยไปวาง ระเบิดและสิ่งอุปกรณ์ให้แก่กำ�ลังรบที่เข้าปฏิบัติการ ก�ำ ลงั ซงึ่ จดั เปน็ หนว่ ยบญั ชาการสว่ นเหลา่ ทพั อากาศสหรฐั ฯ ในขณะเดินทาง หรือขณะทอดสมอ เพือ่ การปฏิบัติการรว่ ม เรยี กวา่ AETF ดว้ ย ดู air expeditionary force; air expeditionary agency wing ดว้ ย องคก์ ร air assault เมื่อใช่ในด้านการข่าวกรอง หมายถึงองคก์ ารหรอื การโจมตีสง่ ทางอากาศ บคุ คลทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการรวบรวมและ/หรอื ด�ำ เนนิ กรรมวธิ ี ต่อขา่ วสาร เรียกวา่ collection agency การเคล่ือนย้านกำ�ลังรบโจมตีของฝ่ายเดียวกัน ดู agent; source ดว้ ย (หน่วยรบ หน่วยสนับสนุนการรบ และหน่วยสนับสนุน การชว่ ยรบ) โดยอากาศยานปกี หมนุ เพอ่ื โจมตแี ละท�ำ ลาย agent กำ�ลังรบฝ่ายข้าศึก หรือยึดและครอบครองภูมิประเทศ สายลบั สำ�คญั ดู assault ดว้ ย เมอ่ื ใช้ในดา้ นการขา่ วกรอง หมายถงึ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั ิ หรือได้รับการสอนให้หา หรือช่วยหาข่าวสารเพื่อการ air assault force ข่าวกรอง หรือการต่อตา้ นการขา่ วกรอง ก�ำ ลงั รบโจมตสี ่งทางอากาศ aimpoint ก�ำ ลงั รบทสี่ ว่ นใหญป่ ระกอบดว้ ยหนว่ ยภาคพนื้ ดนิ จดุ เล็ง และหน่วยอากาศยานปีกหมุน ซงึ่ มกี ารจดั หน่วยติดอาวธุ และฝึกส�ำ หรบั การปฏบิ ตั ิการโจมตสี ่งทางอากาศ ๑. เปา้ หมายทแ่ี นช่ ดั ถกู ก�ำ หนดส�ำ หรบั ต�ำ บลกระสนุ ตกของอาวธุ เฉพาะ เพอื่ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละระดบั ของ air assault operation การทำ�ลายท่ีตั้งไว้ อาจระบุโดยกริดอ้างอิงหรือที่ตั้งทาง การปฏบิ ัติการโจมตีสง่ ทางอากาศ ภมู ิศาสตร์ เช่น ชอ่ งระบายอากาศ กลางหลงั คา ๒. จดุ สงั เกตทเี่ ดน่ ชดั บนจอเรดาร์ เชน่ สว่ นปลาย การปฏิบัติการท่ีกำ�ลังรบโจมตี (หน่วยรบ หน่วย ของแผน่ ดนิ หรอื สะพาน ซ่งึ ช่วยลกู เรือในการนำ�ร่องหรอื สนบั สนนุ การรบ และหนว่ ยสนบั สนนุ การชว่ ยรบ) ใชค้ วาม การยิงอาวุธ (โดยปกติเมอ่ื สภาพอากาศเลวร้ายหรือเวลา คล่องแคล่วในการเคล่ือนที่ของอากาศยานปีกหมุนและ กลางคืน) เรียกวา่ offset aimpoint (OAP) ดว้ ย การสนธิอำ�นาจการยิงที่มีอยู่ดำ�เนินกลยุทธ์ ภายใต้การ ดู desired mean point of impact; desired ควบคุมของผู้บัญชาการดำ�เนินกลยุทธ์ภาคพ้ืนดินหรือ point of impact ดว้ ย ทางอากาศ เพ่ือโจมตกี ำ�ลงั รบฝา่ ยข้าศึก หรือเพ่ือยึดและ ครอบครองภมู ิประเทศสำ�คญั

8 A airborne airborne early warning and control การแจง้ เตอื นลว่ งหนา้ และควบคมุ ในอากาศ ๑. สง่ ทางอากาศ : เม่อื ใชก้ บั ก�ำ ลงั พล หมายถงึ กองทหารที่ผ่านการฝึกพิเศษ เพ่ือผลทางด้านการขนส่ง การเฝา้ ตรวจและควบคมุ ทางอากาศ โดยอากาศยาน ทางอากาศ การสง่ ลงเพอื่ การโจมตี เชน่ การสง่ ทางรม่ หรอื แจ้งเตือนล่วงหน้าในอากาศ ซ่ึงยานน้ีมีเรดาร์ค้นหาและ การลงแตะพน้ื เรดาร์วัดความสูง พร้อมทั้งเครื่องมือสื่อสารสำ�หรับการ ควบคมุ ระบบอาวุธทั้งหลาย เรยี กวา่ AEW & C ดว้ ย ๒. สำ�หรับส่งทางอากาศ : เม่ือใช้กับบริภัณฑ์ หมายถงึ ชนิ้ สว่ นของบรภิ ณั ฑท์ อ่ี อกแบบขนึ้ เปน็ พเิ ศษเพอื่ airborne lift ใช้ระหว่างหรือหลังการส่งลงเพ่ือการโจมตีโดยกองทหาร ระวางขนส่งทางอากาศ ในอากาศ บรภิ ณั ฑเ์ ดนิ ทางอากาศบางชนดิ ออกแบบเพ่อื บรรลภุ ารกจิ บางประการดว้ ย ความสามารถรวมที่แสดงในรูปของกำ�ลังคนและ ๓. ช้นิ ส่วนอากาศยาน : เมอ่ื ใชก้ บั ยุทโธปกรณ์ สัมภาระ ท่ีลำ�เลียงไปหรือสามารถลำ�เลียงไปได้ด้วย หมายถึง ชนิ้ สว่ นทปี่ ระกอบเป็นอากาศยานทั้งลำ� อากาศยานทีม่ ีอยู่ในหนงึ่ เทีย่ ว ๔. ในอากาศ : เมื่อใช้กับอากาศยาน หมายถึง airborne operation นบั จากขณะทอี่ ากาศยานลอยตวั ในอากาศยานเตม็ ทจ่ี นถงึ ปฏบิ ตั กิ ารสง่ ทางอากาศ, การยทุ ธสง่ ทางอากาศ ขณะทสี่ น้ิ สดุ การลอยตวั อากาศยานประเภทเบากวา่ อากาศ หากมีการผูกยึดไว้กับพื้นดินไม่จัดว่าลอยตัวในอากาศ การยทุ ธทมี่ กี ารเคลอื่ นยา้ ยก�ำ ลงั รบและสว่ นสนบั สนนุ ยกเว้นบัลลูนที่ผูกยึดไว้ เมื่อถูกปล่อยให้ลอยขึ้นถือว่า ทางการสง่ ก�ำ ลงั บ�ำ รงุ เขา้ ไปยงั พน้ื ทที่ หี่ มายโดยทางอากาศ ลอยตวั ในอากาศ เรยี กวา่ ABN ดว้ ย เพอื่ ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ทางยทุ ธวธิ หี รอื ยทุ ธศาสตรก์ �ำ ลงั ที่ใชอ้ าจ เปน็ ก�ำ ลงั ผสมใด ๆ ของหนว่ ยสง่ ทางอากาศ หนว่ ยทข่ี นสง่ airborne alert ทางอากาศได้ และอากาศยานลำ�เลียงแบบต่าง ๆ ซ่ึง ข้นึ กบั ภารกิจและสถานการณ์ท้งั ปวง การเตรียมพร้อมในอากาศ สถานะความพร้อมของอากาศยานที่มีอากาศยาน ดู assault; assault phase ด้วย ทตี่ ดิ บรภิ ณั ฑร์ บบนิ อยู่ในอากาศ และพรอ้ มทจี่ ะปฏบิ ตั กิ าร airborne troops ทนั ที หนว่ ยทหารส่งทางอากาศ (เฉพาะ กห.) การเตรียมพร้อมในอากาศจะช่วย ลดเวลาปฏบิ ัตกิ ารตอบโตแ้ ละเพิ่มปจั จัยการอยรู่ อด หนว่ ยภาคพนื้ ดนิ ทม่ี ภี ารกจิ หลกั คอื ท�ำ การโจมตลี ง ดู combat air patrol; ground alert ด้วย สูพ่ ืน้ จากทางอากาศ airborne assault air-breathing missile การโจมตสี ่งทางอากาศ อาวธุ ปลอ่ ยใชอ้ ากาศภายนอก ดู assault phase, ขอ้ ๒ อาวุธปล่อยท่ีมีเครื่องยนต์ซ่ึงใช้อากาศภายนอก เขา้ ไปเผาไหมเ้ ชอ้ื เพลงิ ดงั เช่น เครือ่ งยนต์แรมเจ็ตหรือ เทอร์โบเจต็ ตา่ งกบั อาวธุ ปลอ่ ยประเภทจรวดซงึ่ บรรทกุ ตวั airborne early warning เตมิ ออกซเิ จนไปเองท�ำ ใหส้ ามารถปฏบิ ตั งิ านนอกบรรยากาศได้ การแจง้ เตอื นลว่ งหนา้ ในอากาศ การตรวจคน้ หนว่ ยทางอากาศหรอื ภาคพนื้ ของขา้ ศกึ air-capable ship ดว้ ยเรดารห์ รอื เครอ่ื งมอื อยา่ งอน่ื ทนี่ �ำ ไปกบั ยานในอากาศ เรอื ท่ีอากาศยานขน้ึ ลงได้ และส่งการแจ้งเตือนไปยังหน่วยฝ่ายเดียวกัน เรียกว่า เรอื ทกุ ประเภท ทีส่ ามารถให้อากาศยานวง่ิ ขึ้นบนิ AEW ดว้ ย กลบั หรือรับและถ่ายโอนการสนบั สนนุ การส่งกำ�ลังบำ�รุง ตามปกติ นอกเหนอื จากเรอื บรรทกุ อากาศยาน เรอื บรรทกุ

9 อากาศยานพลังงานนิวเคลียร์ เรือโจมตีสะเทินน้ำ� aircraft tiedown A สะเทนิ บกทีม่ ลี านจอดเฮลิคอปเตอร์ เรอื โจมตสี ะเทินน�ำ้ การยดึ ตรงึ อากาศยาน สะเทนิ บกอเนกประสงคห์ รอื เรอื โจมตสี ะเทนิ น�้ำ สะเทนิ บก อเนกประสงค์ (มีอเู่ รอื อยภู่ ายใน) การยดึ อากาศยานเม่ือจอดอย่กู ลางแจง้ เพ่อื มใิ ห้ ดู aviation ship ดว้ ย มกี ารเคลื่อนไหวอนั เนือ่ งมาจากลมฟา้ อากาศ หรือสภาพ ของพ้นื ทจ่ี อด air corridor ฉนวนอากาศ air defense การป้องกนั ทางอากาศ เส้นทางบินเฉพาะสำ�หรับอากาศยานฝ่ายเราที่ กำ�หนดไว้ เพื่อป้องกันมิให้อากาศยานฝ่ายเราถูกยิงจาก มาตรการป้องกันท้ังปวงท่ีกำ�หนดข้ึน เพ่ือทำ�ลาย ฝ่ายเดยี วกนั อากาศยานโจมตีหรืออาวุธปล่อยของข้าศึกในบรรยากาศ ที่ห่อหุ้มโลกหรือเพ่ือลบล้างหรือลดประสิทธิผลของการ aircraft carrier โจมตนี น้ั เรยี กวา่ AD ดว้ ย เรอื บรรทุกอากาศยาน ดู active air defense; aerospace defense; passive air defense ด้วย เรอื รบทอี่ อกแบบเพอ่ื สนบั สนนุ และใชอ้ ากาศยาน เขา้ โจมตเี ปา้ หมายทอี่ ยู่ในน�ำ้ หรอื บนฝง่ั และเขา้ ปฏบิ ตั กิ าร air defense area อย่างตอ่ เน่ืองเพอื่ สนับสนนุ ก�ำ ลังรบอนื่ ๆ ก�ำ หนดชือ่ ยอ่ พน้ื ทป่ี ้องกันทางอากาศ วา่ CV หรือ CVN สำ�หรับ CVN ใช้พลงั งานนิวเคลยี ร์ ๑. โพ้นทะเล : ห้วงอากาศที่กำ�หนดข้ึนไว้ aircraft cross-serving โดยเฉพาะซ่ึงจะต้องวางแผนและจัดให้มีการป้องกัน การให้บรกิ ารแก่อากาศยานตา่ งหนว่ ย ทางอากาศไว้ ๒. ในสหรฐั อเมรกิ า : หว้ งอากาศทร่ี ะบมุ ติ ไิ ว้โดย การให้บริการแก่อากาศยานโดยหน่วยงานอ่ืนซึ่ง หน่วยที่รับผิดชอบซ่ึงภายในห้วงอากาศน้ันต้องการให้มี อากาศยานนั้นมไิ ดบ้ รรจอุ ยู่ โดยเปน็ ไปตามความตอ้ งการ การควบคมุ โดยทนั ทตี อ่ ยานในอากาศตา่ ง ๆ เพอ่ื ประโยชน์ การบริการต่างฝ่ายทางยุทธการสำ�หรับอากาศยานที่ได้ ในการรักษาความปลอดภัยของชาติระหว่างภาวะฉุกเฉิน ก�ำ หนดขน้ึ และเพอ่ื ใช้ในการคดิ คา่ บรกิ าร การบรกิ ารตา่ ง ของการป้องกันทางอากาศ ฝา่ ยสำ�หรบั อากาศยาน จะแบง่ ออกเป็นสองประเภทคอื ก. การบริการต่างเหลา่ ทพั ขั้น ก : การบรกิ าร air defense control center อากาศยานบนสนามบนิ /เรอื เพือ่ ใหส้ ามารถท�ำ การบนิ ไป ศนู ย์ควบคมุ การป้องกันภัยทางอากาศ ยงั สนามบิน/เรอื อ่ืนได้ ข. การบรกิ ารต่างเหลา่ ทพั ข้นั ข : การบริการ ศนู ยห์ ลกั ดา้ นขา่ วสาร สอื่ สารและยทุ ธการซงึ่ ก�ำ กบั อากาศยานบนสนามบนิ /เรอื เพอ่ื ใหส้ ามารถท�ำ การปฏบิ ตั ิ ดูแลและประสานการปฏิบัติท้ังมวลของอากาศยาน ภารกจิ ทางยทุ ธการได้ การปฏิบัติการต่อสู้อากาศยาน ปืนใหญ่ ป้องกันภัย ทางอากาศ อาวุธปล่อยนำ�วิถี และพันธกิจการเตือนภัย aircraft loading table ทางอากาศให้แก่พ้ืนที่ซึ่งรับผิดชอบในการป้องกันภัย ตารางบรรทุกอากาศยาน ทางอากาศท่ีกำ�หนดไว้โดยเฉพาะ ดู combat information center ดว้ ย แผน่ ขอ้ มลู ทผี่ บู้ ญั ชาการล�ำ เลยี งทางอากาศใชง้ าน ซ่ึงมีข่าวสารเก่ียวกับภาระท่ีบรรทุกจริงในอากาศยาน air defense direction center แตล่ ะลำ� เรยี กวา่ aircraft role equipment ดว้ ย ศนู ยอ์ �ำ นวยการป้องกนั ภยั ทางอากาศ สถานที่ต้ังที่มีขีดความสามารถในการเฝ้าตรวจ ทางอากาศ การควบคุม การสกัดกั้น และอำ�นวยการ

10 A ต่ออาวุธป้องกันภัยทางอากาศท่ีได้รับมอบหมายในเขต การเตือนภัยทางอากาศ สีแดง : หมายความ รบั ผดิ ชอบ อนง่ึ อาจมคี วามสามารถในการพสิ จู นฝ์ า่ ยไดด้ ว้ ย วา่ การโจมตโี ดยอากาศยานและ/หรอื อาวธุ ปลอ่ ยของขา้ ศกึ ใกล้จะเกิดข้ึนหรือกำ�ลังเกิดข้ึน ใช้ในกรณีที่อากาศยาน air defense early warning และ/หรืออาวุธปล่อยของข้าศึกนั้นอยู่ในเขตป้องกันภัย การแจ้งเตอื นล่วงหน้าป้องกันภัยทางอากาศ ทางอากาศแลว้ หรืออยู่ใกล้กบั เขตปอ้ งกนั ภัยทางอากาศ มาก ซึ่งมีโอกาสสูงมากท่ีจะเข้ามาภายในเขตป้องกันภัย ดู early warning ทางอากาศ air defense identification zone เขตพิสูจน์ทราบป้องกันทางอากาศ การเตือนภัยทางอากาศ สขี าว : หมายความว่า หว้ งอากาศทกี่ �ำ หนดมติ ไิ วซ้ ง่ึ ตอ้ งการใหพ้ สิ จู นท์ ราบ การโจมตีโดยอากาศยานและ/หรืออาวุธปล่อยของข้าศึก หาตำ�แหน่งที่อยู่ และควบคุมยานที่อยู่ในอากาศได้ทันที ยงั ไมน่ า่ จะเกดิ ขน้ึ ประมวลนอี้ าจใชก้ อ่ นหรอื หลงั การเตอื น เรียกวา่ ADIZ ภยั ทางอากาศสเี หลอื งหรอื สแี ดง การเรม่ิ แจง้ ภาวะฉกุ เฉนิ ปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศในขนั้ ตน้ จะใชก้ ารเตอื นภยั ทางอากาศ air defense operations center ที่ไม่ใช่ สขี าวโดยอตั โนมตั ิ ทง้ั นเ้ี พอื่ ความปลอดภยั ในการ ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการป้องกนั ทางอากาศ ควบคุมการจราจรทางอากาศ ดู air defense control center air delivery การส่งทางอากาศ air defense region ภาคปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศ ดู airdrop; air movement การแบ่งย่อยทางภูมิศาสตร์ของพื้นท่ีป้องกันภัย airdrop ทางอากาศพน้ื ทห่ี นึง่ การท้ิงลงจากอากาศ air defense sector เขตป้องกันภัยทางอากาศ การขนถา่ ยก�ำ ลงั พลหรอื ยทุ โธปกรณล์ งจากอากาศยาน ขณะบิน การแบง่ ยอ่ ยทางภมู ศิ าสตรข์ องภาคปอ้ งกนั ภยั ทาง อากาศภาคหน่ึง ดู air movement; free drop; free fall; high-verocity drop; low-verocity drop ดว้ ย air defense warning conditions ข้ันการแจ้งเตอื นปอ้ งกนั ภัยทางอากาศ air expeditionary force กำ�ลงั รบนอกประเทศทางอากาศ ระดับความน่าจะเป็นของการถูกโจมตีทางอากาศ กำ�หนดไว้เป็นประมวล ดังจะได้กล่าวต่อไป เขตป้องกัน กองบนิ กองบนิ นอ้ ย และฝงู บนิ ของกองทพั อากาศ ภัยทางอากาศท่ีกล่าวในที่นี้อาจหมายรวมถึงกำ�ลังรบและ สหรฐั ฯ ที่มกี ารวางกำ�ลัง เพื่อการปฏิบัตกิ ารรว่ ม เรยี กวา่ หนว่ ยทลี่ อยล�ำ และ/หรอื ที่ไปวางก�ำ ลงั อยู่ในเขตหนา้ แลว้ AEF ดว้ ย ตามแตจ่ ะตรงกบั ขอ้ ใด ดู air and space expeditionary task การเตอื นภัยทางอากาศ สีเหลือง : หมายความ force ดว้ ย วา่ อาจถกู โจมตโี ดยอากาศยาน และ/หรอื อาวธุ ปล่อยของ ข้าศึก ใช้ในกรณีที่อากาศยานและ/หรืออาวุธปล่อยของ air expeditionary wing ขา้ ศกึ ก�ำ ลงั มงุ่ มาทางเขตปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศหรอื อากาศยาน กองบนิ นอกประเทศ และ/หรืออาวุธปล่อยที่ไม่ทราบฝ่ายกำ�ลังมุ่งมาทางหรือ อย่ภู ายในเขตปอ้ งกนั ภัยทางอากาศ กองบิน หรอื ส่วนหน่งึ ของกองบิน ซ่ึงอยู่ในความ ควบคุมทางธุรการของกำ�ลังรบเฉพาะกิจนอกประเทศ ทางอากาศและอวกาศ หรือกำ�ลงั รบเฉพาะกจิ ทางอากาศ

11 และอวกาศ ตามคำ�สั่งของทบวงทหารอากาศเพื่อการ Air Force special operations forces A ปฏิบตั กิ ารรว่ ม เรยี กว่า AEW ด้วย หนว่ ยปฏิบตั กิ ารพิเศษกองทัพอากาศ ดู air and space expeditionary task force ด้วย หน่วยกำ�ลังประจำ�การและหน่วยกำ�ลังสำ�รองของ กองทพั อากาศ ซง่ึ จดั ตง้ั โดยรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหม air facility หน่วยกำ�ลังน้ีมีการจัดกำ�ลังโครงสร้างหน่วย การฝึกและ สง่ิ อ�ำ นวยความสะดวกในการปฏบิ ตั กิ ารทางอากาศ ยุทธภัณฑ์โดยเฉพาะ เพ่ือดำ�เนินการและสนับสนุนการ ปฏิบตั ิการพิเศษ เรียกว่า AFSOF ดว้ ย สถานทตี่ ง้ั ซงึ่ อาจใช้ในการปฏบิ ตั กิ ารทางอากาศได้ หรือกำ�ลังใชป้ ฏบิ ัตกิ ารอยู่ airhead ดู facility ดว้ ย หัวหาดอากาศ airfield ๑. พนื้ ทซี่ งึ่ ก�ำ หนดขน้ึ ในดนิ แดนของฝา่ ยขา้ ศกึ หรอื สนามบิน ในดนิ แดนที่ถูกคุกคาม ซึง่ ถา้ ยึดและรักษาไว้ไดก้ ็จะทำ�ให้ มนั่ ใจในการสง่ ทหารและยทุ โธปกรณด์ ว้ ยการบนิ ลงไดอ้ ยา่ ง พน้ื ทซ่ี ง่ึ จดั เตรยี มไวส้ �ำ หรบั การจอดพกั (รวมถงึ ตวั ตอ่ เน่ือง และใชเ้ ปน็ พน้ื ทดี่ �ำ เนินกลยุทธอ์ นั จ�ำ เปน็ สำ�หรบั อาคาร สถานท่ตี ง้ั และบรภิ ณั ฑ์ใด ๆ) การลงสู่พ้นื และ การยุทธที่ได้วางแผนไว้ โดยปกติเป็นพ้ืนที่ซ่ึงยึดได้ การวิ่งขึน้ ของอากาศยาน ในขน้ั การโจมตขี องการยุทธสง่ ทางอากาศ ดู departure airfield; landing area; landing ๒. ตำ�บลซึ่งกำ�หนดขึ้นในพื้นที่ปฏิบัติการสำ�หรับ site ด้วย ใชเ้ ปน็ ฐานในการส่งกำ�ลงั และสง่ กลบั ทางอากาศ หมายเหตุ : สหรัฐอเมริกาใช้ “airfield” และ ดู beachhead ดว้ ย นาโตใช้ “aerodrome” ซึ่งท้ังสองคำ�มีความหมาย เหมอื นกัน airhead line แนวหวั หาดอากาศ Air Force special operations component ส่วนปฏบิ ตั ิการพเิ ศษกองทพั อากาศ แนวซึ่งแสดงถึงขอบเขตพื้นที่ท่ีหมายในการโจมตี ส่งทางอากาศ แนวหัวหาดอากาศนี้ กำ�หนดจากท่ีหมาย หนว่ ยก�ำ ลงั กองทพั อากาศในสว่ นปฏบิ ตั กิ ารพเิ ศษ ของการโจมตีซงึ่ ตั้งปฏิบัตกิ ารอยู่ เพอ่ื ใหม้ น่ั ใจว่าข้าศึกไม่ ก�ำ ลงั รบรว่ ม เรยี กวา่ AFSOC ดว้ ย สามารถยงิ ไปยังท่หี มายสำ�คญั ไดแ้ ละเพื่อใหก้ ำ�ลงั รบฝา่ ย ดู Army special operations component; เดียวกันสามารถปฏิบัติการปอ้ งกันเชงิ ลึกได้ Navy special operations component ดว้ ย ดู airhead; assault phase; objective area ดว้ ย Air Force special operations detachment air intercept control common หน่วยแยกปฏบิ ตั กิ ารพเิ ศษกองทัพอากาศ ความถีร่ ว่ มในการควบคมุ การบินสกดั กนั้ กองบงั คับการระดับฝูงบนิ ซง่ึ อาจเป็นหน่วยผสม ความถ่ีวิทยุทางยุทธวิธีอากาศสู่พ้ืนดินท่ีหน่วย ทีป่ ระกอบดว้ ยกำ�ลังปฏบิ ตั ิการพิเศษตา่ ง ๆ ของกองทพั อำ�นวยความสะดวกในการควบคุมการบินสกัดกั้นทั้งปวง อากาศ ตามปกติหน่วยแยกน้ีเป็นหน่วยซ่ึงอยู่ใต้บังคับ ภายในบริเวณหน่ึงเฝ้าฟังอยู่ ซึ่งความถี่นี้ใช้เสริมความถ่ี บัญชาของหน่วยปฏิบัติการพิเศษกองทัพอากาศกำ�ลังรบ ควบคุมทางยทุ ธวิธอี ืน่ ๆ เฉพาะกจิ ปฏบิ ตั กิ ารพเิ ศษรว่ ม หรอื ก�ำ ลงั รบเฉพาะกจิ รว่ ม ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับขนาดและห้วงเวลาของการปฏิบัติการ เรียกว่า AFSOD ดว้ ย

12 A air interception ผู้บัญชาการภาคพ้ืนดินเก่ียวกับการปฏิบัติการทางอากาศ การบนิ สกัดกนั้ เรยี กวา่ ALO ด้วย ดู liaison ด้วย การบนิ ทอ่ี ากาศยานฝา่ ยเราเหน็ อากาศยานล�ำ อน่ื ๆ ได้โดยตลอดทางสายตาหรือทางอิเล็กทรอนิกส์ ตาม airlift capability ปกติการบินสกัดกั้นกระทำ�เปน็ ๕ ข้ันตอนดังต่อไปน้ี ขดี ความสามารถในการล�ำ เลยี งทางอากาศ ก. ขนั้ ไต่ข้ึน : การขึน้ สู่อากาศจนถึงระดบั สูงของ ความจรุ วมทแ่ี สดงจ�ำ นวนผู้โดยสารและ/หรอื ระวาง การบิน น�้ำ หนกั /ปรมิ าตรของสมั ภาระทสี่ ามารถล�ำ เลยี งไปสทู่ หี่ มาย ข. ขน้ั ด�ำ เนนิ กลยทุ ธ์ : การไดร้ บั เวกเตอร์ขน้ั ตน้ ปลายทางที่กำ�หนด ด้วยการบริการลำ�เลียงทางอากาศ เพ่ือเข้าสู่เป้าหมายจนถึงการเร่ิมเปล่ียนเข้าสู่ท้ังความเร็ว ทม่ี อี ยู่ได้ในแตล่ ะคร้งั และระยะสูงโจมตี ดู airlift requirement ดว้ ย ค. ขั้นเตรียมโจมตี : การเพิ่มหรือลดความเร็ว airlift control team และความสูงท่ตี อ้ งการสำ�หรับการโจมตี ชุดควบคมุ การล�ำ เลยี งทางอากาศ ง. ขนั้ โจมตี : การเลย้ี งเขา้ สทู่ ศิ ทางโจมตี เขา้ โจมตี สว่ นภายในศนู ยย์ ทุ ธการทางอากาศ และเปน็ หนว่ ย เปา้ หมาย การเสรจ็ สน้ิ การโจมตี และการเลย้ี วเขา้ สทู่ ศิ ทาง ปฏิบัติหลักชุดหน่ึงในกองการเคลื่อนที่ทางอากาศ ผละออก ชดุ ควบคมุ การล�ำเลยี งทางอากาศน�ำค�ำแนะน�ำของผชู้ �ำนาญ จ. ข้ันกลบั มาลงสนาม : การผละออกจนถงึ การ การล�ำเลียงทางอากาศประจ�ำภาคพ้ืนจากองค์กรภาคพื้น ลงสู่พ้นื มาใช้ในการวางแผน ประสาน จัดการ และบริหาร การปฏิบัติการล�ำเลียงทางอากาศประจ�ำภาคพื้นในพื้นท่ี ดู close controlled air interception ด้วย รับผิดชอบและพื้นที่การยุทธร่วมให้กับผู้บัญชาการ ส่วนก�ำลังทหารอากาศของก�ำลังรบรว่ ม หน่วยบญั ชาการ air interdiction ขนส่งสหรัญอเมริกาและหน่วยบัญชาการเคลื่อนที่ การบนิ ขดั ขวาง ทหารอากาศอาจเพมิ่ เตมิ ค�ำแนะน�ำของผชู้ �ำนาญการล�ำเลยี ง ทางอากาศประจ�ำภาคพ้ืนให้กับชุดควบคุมการล�ำเลียง การปฏิบัติการทางอากาศเพ่ือทำ�ลายตัดรอน ทางอากาศ แหล่งความช�ำนาญการล�ำเลียงทางอากาศ หรือร้ังหน่วงศักยภาพทางทหารของข้าศึก ก่อนท่ีข้าศึก ทงั้ สองแหลง่ รวมกนั เปน็ ชดุ ควบคมุ การล�ำเลยี งทางอากาศ จะนำ�ศักยภาพดังกล่าวน้ันมาใช้กำ�ลังรบฝ่ายเราอย่างมี ในกองการเคล่อื นที่ทางอากาศ เรยี กวา่ ALCT ด้วย ประสทิ ธิภาพ ในระยะทางทหี่ ่างจากกำ�ลังรบฝา่ ยเดียวกนั ดู air mobility dicision; intratheater airlift ดว้ ย จนไม่จำ�เป็นต้องมีการสนธิในรายละเอียดระหว่างภารกิจ ทางอากาศแต่ละภารกิจกับการยิง และการเคลื่อนที่ airlift mission cammander ของก�ำ ลังรบของฝ่ายเรา ผ้บู ัญชาการภารกิจลำ�เลยี งทางอากาศ ดู interdiction ดว้ ย ผู้บัญชาการท่ีได้รับการแต่งต้ังเมื่ออากาศยานการ air-launched ballistic missile ลำ�เลียงทางอากาศเข้าร่วมในการปฏิบัติการการลำ�เลียง ขีปนาวธุ ปล่อยจากอากาศ ทางอากาศทรี่ ะบไุ ว้ในค�ำ สงั่ การปฏบิ ตั กิ ารผบู้ ญั ชาการภารกจิ ขีปนาวุธที่ปล่อยจากยานในอากาศ air liaison officer การล�ำ เลยี งทางอากาศน้ี ตามปกตจิ ะแตง่ ตง้ั โดยผบู้ ญั ชาการ นายทหารอากาศตดิ ตอ่ , นายทหารนกั บนิ ตดิ ตอ่ หน่วยลำ�เลียงทางอากาศในพ้ืนท่ี แต่อาจเลือกสรร โดยผบู้ ญั ชาการสว่ นก�ำ ลงั กองทพั อากาศหรอื ผบู้ ญั ชาการ นายทหาร (นกั บนิ หรอื นายทหารนักบนิ ทหารเรอื ) ส่วนกำ�ลงั กองทพั อากาศร่วม ทั้งนขี้ ้ึนอยู่กับภารกิจน้ัน ๆ ที่จัดสมทบแก่หน่วยภาคพื้นดินในฐานะท่ีปรึกษาหลักแก่ ดู joint force air component commander ดว้ ย

13 airlift requirement ในการปฏบิ ตั กิ ารทงั้ ปวงของการเคลอ่ื นทที่ างอากาศ เขา้ ไป A ความต้องการการล�ำ เลียงทางอากาศ ใน ออกจาก และภายในพนื้ ทรี่ บั ผดิ ชอบหรอื พนื้ ทก่ี ารยทุ ธ ร่วม ชุดควบคุมการเคล่ือนที่ทางอากาศจะด�ำรงขั้นตอน จ�ำ นวนรวมของผู้โดยสารและ/หรอื ระวางน�้ำ หนกั / การปฏิบัติและการสื่อสารอย่างต่อเนื่องในการก�ำหนดกิจ ปรมิ าตรของสมั ภาระทต่ี อ้ งการใหล้ �ำ เลยี งทางอากาศส�ำ หรบั เฉพาะ การประสานและการบนิ กับกองปฏบิ ัตกิ ารรบของ กิจเฉพาะอย่าง ศนู ยย์ ทุ ธการทางอากาศ หนว่ ยรองการเคลอ่ื นทที่ างอากาศ ดู airlift capability ดว้ ย และก�ำลังรบปฏบิ ตั ิภารกจิ เรียกว่า AMCT ด้วย ดู air mobility; air mobility division ด้วย airmiss เกอื บชนในอากาศ air mobility division กองการเคลอ่ื นทที่ างอากาศ ดู near miss กองการเคลอื่ นทท่ี างอากาศตงั้ อยู่ในศนู ยย์ ทุ ธการ air mobility ทางอากาศ เพ่อื วางแผน ประสาน ก�ำหนดกิจและปฏบิ ัติ การเคลื่อนทที่ างอากาศ ภารกิจการเคลื่อนท่ีทางอากาศประกอบด้วยชุดควบคุม การเคลอื่ นทที่ างอากาศ การควบคมุ การล�ำเลยี งทางอากาศ การเคล่ือนย้ายกำ�ลังพล ยุทโธปกรณ์ และกำ�ลัง ชุดควบคุมการเติมเชื้อเพลิงในอากาศ ชุดควบคุม รบอยา่ งรวดเรว็ ไปยงั และออกจากหรอื ภายในภาคพน้ื โดย การส่งกลับสายแพทย์ทางอากาศ และส่วนการเคลื่อนที่ ทางอากาศ การเคลอ่ื นยา้ ยนี้ รวมถงึ การล�ำ เลยี งทางอากาศ ทางอากาศ ประสานกับความต้องการเคลื่อนย้ายของ และการเตมิ เชอื้ เพลิงในอากาศ ผู้บัญชาการก�ำลังรบร่วม และเจ้าหน้าท่ีควบคุม รวมท้ัง ดู air refueling ดว้ ย ประสานกบั ศนู ยค์ วบคมุ การปฏบิ ตั กิ ารเคลอื่ นทที่ างอากาศ ประจ�ำภาคพน้ื หากมกี ารจดั ตง้ั และประสานกบั ศนู ยค์ วบคมุ Air Mobility Command การล�ำเลยี งทางอากาศโดยอากาศยานบรรทกุ เชอื้ เพลงิ ของ หนว่ ยบัญชาการเคลอื่ นท่ที หารอากาศ หน่วยบัญชาการเคลื่อนที่ทหารอากาศตามความต้องการ เรยี กวา่ AMD ดว้ ย หน่วยบัญชาการในส่วนกองทัพอากาศของหน่วย ดู air mobility ด้วย บญั ชาการขนสง่ สหรัฐอเมรกิ า เรยี กวา่ AMC ด้วย air mobility liaison officer air mobility control team นายทหารตดิ ต่อการเคลอ่ื นย้ายทางอากาศ ชดุ ควบคมุ การเคล่ือนทที่ างอากาศ นายทหารท่ีไดร้ บั การฝกึ เปน็ พเิ ศษ เพอ่ื ปฏบิ ตั กิ าร สว่ นงานภายในศูนย์ยุทธการทางอากาศ และเป็น ให้เป็นไปตามระบบควบคุมทางอากาศในพื้นที่การรบ หน่วยปฏิบัติหลักชุดหนึ่งในกองการเคล่ือนที่ทางอากาศ และให้คำ�แนะนำ�เก่ียวกับการควบคุมทรัพยากรในการ ชุดควบคุมการเคลื่อนท่ีทางอากาศเป็นศูนย์รวมของ ลำ�เลยี งทางอากาศ เรยี กวา่ AMLO ดว้ ย การบงั คบั บญั ชา การควบคมุ และการสอ่ื สารของการเคลอ่ื นท่ี ทางอากาศส�ำหรับผู้อ�ำนวยการเคลื่อนย้ายระหว่างการ air movement ปฏิบัติภารกิจ ผู้อ�ำนวยการการเคลื่อนย้ายใช้ชุดควบคุม การเคล่อื นย้ายทางอากาศ การเคลอื่ นทท่ี างอากาศในการสงั่ การ (หรอื สงั่ การใหมต่ าม ความตอ้ งการ) ก�ำลงั รบเคลอ่ื นทที่ างอากาศโดยสอดคลอ้ ง การลำ�เลียงหน่วย กำ�ลังพล ส่ิงอุปกรณ์ และ กับก�ำลังรบทางอากาศและอวกาศอ่ืน ๆ เพื่อตอบสนอง ยทุ ธภณั ฑท์ างอากาศ รวมทงั้ การทงิ้ ลงจากอากาศและการ การเปลยี่ นแปลงความตอ้ งการล�ำดบั ความเรง่ ดว่ นทส่ี งู กวา่ สง่ ด้วยการบนิ ลง หรือข้อจ�ำกัดของการปฏิบัติการแบบเร่งด่วน ชุดควบคุม ดู airdrop ด้วย การเคล่ือนท่ีทางอากาศน้ีจะเป็นหน่วยขจัดความขัดแย้ง

14 A airport air request net ข่ายค�ำ ขอทางอากาศ ทา่ อากาศยาน ดู airfield ขา่ ยวทิ ยคุ วามถสี่ งู สง่ ขา้ งเดยี ว ไมม่ รี ะบบการรกั ษา ความปลอดภยั เฝา้ ฟงั โดยหนว่ ยควบคมุ ทางอากาศยทุ ธวธิ ี air refueling ทกุ หนว่ ยและศูนย์ปฏิบตั กิ ารสนบั สนนุ ทางอากาศ ขา่ ยน้ี การเติมเชือ้ เพลิงในอากาศ อนญุ าตใหส้ ง่ ค�ำ ขอทนั ทจี ากหนว่ ยควบคมุ ทางอากาศยทุ ธวธิ ี ความสามารถทจ่ี ะเตมิ เชอ้ื เพลงิ อากาศยานระหวา่ ง ท่ีประจำ�อยู่กับหน่วยกองทัพในทุกระดับโดยตรงไปยัง การบิน ซึ่งยืดระยะเวลาการบนิ เพมิ่ ระยะปฏิบตั กิ ารของ ศูนย์ปฏิบัติการสนับสนุนทางอากาศเพ่ือการตอบสนอง อากาศยาน และท�ำ หนา้ ทเ่ี ปน็ ตวั เพม่ิ ก�ำ ลงั รบ เรยี กวา่ AR ดว้ ย อย่างรวดเรว็ air refueling control point air route จดุ ควบคมุ การเตมิ เชื้อเพลงิ ในอากาศ เส้นทางบิน จุดภูมิศาสตร์ที่อากาศยานรับเติมเช้ือเพลิงมาถึง ห้วงอากาศที่ใช้เดินอากาศได้ระหว่างจุดสองจุด ณ ตำ�แหน่งสังเกตการณ์ หรือตำ�แหน่งก่อนเข้าเติม ซ่ึงแสดงให้ทราบด้วยขอบเขตที่จำ�เป็นสำ�หรับการใช้กฎ เชอื้ เพลงิ โดยยดึ ต�ำ แหนง่ ของอากาศยานบรรทกุ เชอ้ื เพลงิ การบิน เปน็ หลกั ในระหวา่ งการเตมิ เชอ้ื เพลงิ เรยี กวา่ ARCP ดว้ ย air route traffic control center air refueling control team ศูนย์ควบคมุ จราจรเสน้ ทางการบนิ ชดุ ควบคุมการเติมเชือ้ เพลิงในอากาศ หนว่ ยอ�ำ นวยความสะดวกหลกั ทที่ �ำ หนา้ ทค่ี วบคมุ ส่วนงานภายในศนู ย์ยุทธการทางอากาศ และเป็น อากาศยานซ่ึงบินตามเส้นทางบินโดยใช้กฎการบิน หน่วยปฏิบัติหลักชุดหนึ่งในกองการเคลื่อนที่ทางอากาศ ด้วยเคร่ืองวัดภายในบริเวณท่ีอยู่ในอำ�นาจหน้าท่ี ศูนย์ เป็นส่วนหน่ึงของศูนย์ยุทธการทางอากาศท่ีประสานการ เช่นน้ีประมาณ ๒๖ ศูนย์ ศูนย์ปฏิบัติการครอบคลุม วางแผนการเติมเชื้อเพลิงในอากาศ การกำ�หนดกิจและ สหรัฐอเมริกาและดินแดนในครอบครอง แต่ละศูนย์ การท�ำ ก�ำ หนดการเพอ่ื สนบั สนนุ การปฏบิ ตั กิ ารรบทางอากาศ มีขดี ความสามารถในการสอื่ สารกบั ศนู ยอ์ นื่ ๆ หรือเพ่ือสนับสนุนสะพานอากาศยุทธศาสตร์ภายในพ้ืนท่ี รับผิดชอบหรือพ้นื ที่ปฏิบัติการร่วม เรยี กวา่ ARCT ด้วย air smuggling event ดู air mobility division; air refueling ดว้ ย การควบคมุ หว้ งอากาศ air refueling control time บริการท่ีจัดให้ในเขตหน้าเพื่อเพ่ิมประสิทธิผล เวลาควบคุมการเติมเช้ือเพลิงในอากาศ ในการปฏบิ ตั โิ ดยการสง่ เสรมิ ความปลอดภยั ประสทิ ธภิ าพ และความอ่อนตัวในการใช้ห้วงอากาศ การควบคุม เวลาทอ่ี ากาศยานรบั เตมิ เชอ้ื เพลงิ และอากาศยาน ห้วงอากาศ กระท�ำเพื่อให้การปฏิบัติการมีความอ่อนตัว บรรทกุ เชอื้ เพลิงมาถึง ณ จุดควบคุมการเติมเช้อื เพลิงใน มากขึ้น ผู้บังคับบัญชาทางยุทธการแต่ผู้เดียวที่จะเป็น อากาศ ในระหวา่ งการเตมิ เชอื้ เพลงิ เรยี กวา่ ARCT ดว้ ย ผู้อนมุ ตั ิ ไม่อนมุ ตั ิ หรือปฏเิ สธการปฏบิ ัตกิ ารรบ air refueling initiation point air sovereignty จุดเริม่ การเตมิ เชือ้ เพลงิ ในอากาศ อธิปไตยเหนือนา่ นฟ้า จุดที่อยู่ก่อนถึงจุดควบคุมการเติมเชื้อเพลิง สิทธิของประเทศในการควบคุมและใช้อำ�นาจ ในอากาศ (ในขาบินเข้าหาจุดควบคุมการเติมเช้ือเพลิง อย่างเดด็ ขาดในห้วงอากาศเหนือดินแดนของตน ในอากาศ) ซ่ึงอากาศยานรับเติมเชื้อเพลิงเริ่มการนัดพบ ดู air sovereignty mission ด้วย ในระหวา่ งการเติมเช้อื เพลิง เรยี กวา่ ARIP ด้วย

15 air sovereignty mission airspace control sector A ภารกจิ การรกั ษาอธิปไตยเหนอื นา่ นฟ้า เขตควบคุมหว้ งอากาศ กจิ กรรมในการเฝา้ ตรวจและควบคมุ ซงึ่ เปน็ การใช้ พื้นที่ส่วนย่อยในพ้ืนท่ีควบคุมห้วงอากาศกำ�หนด อ�ำ นาจของชาตใิ นหว้ งอากาศเหนือดินแดนของตน ข้ึนเพ่ืออำ�นวยความสะดวกในการควบคุมพ้ืนท่ีท้ังหมด ดู air sovereignty ดว้ ย โดยปกติแล้วเส้นแบ่งเขตของเขตควบคุมน่านฟ้าจะเป็น เส้นเดียวกับเส้นแบ่งเขตย่อยในการป้องกันทางอากาศ airspace control area เขตควบคมุ หว้ งอากาศก�ำ หนดขนึ้ เพอื่ ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บ พ้ืนท่ีควบคุมห้วงอากาศ ปฏิบัติและแนวทางการปฏิบัติของแผนการควบคุม ห้วงอากาศ โดยคำ�นึงถึงความสามารถในการปฏิบัติการ หว้ งอากาศทก่ี �ำ หนดขอบเขตโดยเสน้ แบง่ เขตของ และความต้องการในการควบคุมห้วงอากาศของเหล่าทัพ พน้ื ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร พน้ื ทคี่ วบคมุ หว้ งอากาศอาจแบง่ ออกเปน็ ประเทศเจา้ บ้าน และประเทศพันธมติ ร พ้ืนทีค่ วบคุมห้วงอากาศย่อยหลายพ้นื ที่ได้ ดู airspace control area ด้วย airspace control authority airspace control system ผมู้ อี �ำ นาจควบคมุ หว้ งอากาศ ระบบควบคุมหว้ งอากาศ ผบู้ งั คบั บญั ชาท่ีไดร้ บั มอบความรบั ผดิ ชอบทง้ั ปวง การจัดการในเร่ืองหน่วยงาน ก�ำลังพล นโยบาย ในระบบการปฏิบัติการควบคุมห้วงอากาศภายในพ้ืนท่ี ระเบียบปฏิบัจิ และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ท่ีต้องการ ควบคุมห้วงอากาศ เรียกวา่ ACA ดว้ ย เพ่ือการปฏิบัติพันธกิจควบคุมห้วงอากาศ เรียกว่า ดู airspace control area; airspace control ACS ดว้ ย system; control; operation ดว้ ย airspace coordination area airspace control order พ้นื ท่ีประสานหว้ งอากาศ คำ�สงั่ การควบคมุ ห้วงอากาศ ห้วงอากาศสามมิติในพ้ืนท่ีเป้าหมาย กำ�หนดขึ้น ค�ำ สงั่ ทใี่ ช้ในแผนการควบคมุ หว้ งอากาศ ซงึ่ ก�ำ หนด โดยผู้บัญชาการภาคพ้ืนดินที่เก่ียวข้องซ่ึงเป็นห้วงอากาศ รายละเอยี ดของค�ำ รอ้ งขอส�ำ หรบั มาตรการในการควบคมุ ท่ีอากาศยานของฝ่ายเดียวกันปลอดภัยจากการยิงจาก หว้ งอากาศไดร้ ับอนมุ ัตไิ ว้แลว้ อาจจะจัดพมิ พ์ไว้ในคำ�สง่ั ผิวพ้ืนของฝ่ายเดียวกัน พ้ืนท่ีประสานห้วงอากาศ ยุทธการย่อยหรือพิมพ์แยกเป็นเอกสารเฉพาะ เรียกว่า อาจกำ�หนดอย่างเป็นทางการหรอื ไม่เป็นทางการ เรียกว่า ACO ดว้ ย ACA ดว้ ย airspace control plan airspace management แผนการควบคมุ หว้ งอากาศ การจดั การห้วงอากาศ เอกสารทเี่ ปน็ แนวทางในการวางแผนและขนั้ ตอน การประสานงาน การรวม และกฎระเบียบการใช้ การปฏิบัติของระบบควบคุมห้วงอากาศภายในพ้ืนที่ ห้วงอากาศทมี่ ีมติ ทิ แี่ น่นอน ความรบั ผดิ ชอบของก�ำ ลงั รบรว่ ม/พน้ื ทก่ี ารยทุ ธรว่ ม ไดร้ บั อนุมัตโิ ดยผู้บัญชาการกำ�ลังรบรว่ ม เรียกวา่ ACP ด้วย airspace reservation ดู airspace control system; area of หว้ งอากาศสงวน responsibility; joint force commander; joint operation area ดว้ ย ห้วงอากาศเหนือพ้ืนที่หน่ึงบนพ้ืนดินหรือพ้ืนน้�ำ ซึ่งได้ก�ำหนดข้ึนและแยกออกไว้ โดยค�ำส่ังบริหารของ ประธานาธิบดี หรือโดยรัฐจักรภพ หรือดินแดน ซ่ึงห้าม

16 A หรือจ�ำกัดการบินผ่านของอากาศยานเพ่ือความมุ่งหมาย air supremacy ในการป้องกันประเทศ หรือเพื่อความมุ่งหมายอื่นใด ความเปน็ เจ้าอากาศ, การครองอากาศ ของรัฐบาล ระดบั ความไดเ้ ปรยี บทางอากาศ ซงึ่ ก�ำ ลงั ทางอากาศ air strike ของฝ่ายตรงข้าม ไม่สามารถทำ�การรบกวนอย่างมี การโจมตที างอากาศ การโจมตีที่หมายเฉพาะของเคร่ืองบินขับไล่ ประสทิ ธผิ ลได้ เคร่ืองบินทิ้งระเบิด หรือเครื่องบินโจมตีในภารกิจการรุก อาจประกอบด้วยหน่วยบินหลายหหน่วยที่อยู่ภายใต้ air surveillance หนว่ ยบญั ชาการหน่วยเดียวในอากาศ การเฝา้ ตรวจทางอากาศ air superiority การตรวจการณ์อย่างเป็นระบบในห้วงอากาศด้วย ความได้เปรียบทางอากาศ, ความเหนือกว่า วธิ กี ารทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สด์ ว้ ยสายตาหรอื วธิ กี ารอนื่ ใดเพอ่ื ทางอากาศ ความมงุ่ หมายหลกั ในการพสิ จู นฝ์ า่ ยและพจิ ารณาก�ำ หนดการ เคลอื่ นไหวของอากาศยาน และอาวธุ ปลอ่ ย ทงั้ ฝา่ ยเดยี วกนั และฝ่ายขา้ ศึก ในห้วงอากาศท่ีทำ�การตรวจการณ์นน้ั ระดับความเหนือกว่าในการยุทธทางอากาศของ ดู satellite and missile surveillance; กำ�ลังรบฝ่ายหนึ่งท่ีมีต่ออีกฝ่ายหน่ึงซึ่งทำ�ให้ฝ่ายแรกและ surveillance ด้วย ก�ำ ลงั รบทางบก เรอื และอากาศทสี่ มั พนั ธน์ น้ั สามารถปฏบิ ตั ิ การยทุ ธ ณ เวลาและสถานทท่ี กี่ �ำ หนดได้ โดยปราศจาก air tasking order การรบกวนขัดขวางจากกำ�ลังรบของฝ่ายตรงข้าม คำ�สั่งการก�ำ หนดกิจทางอากาศ air support operations center วธิ กี ารทใ่ี ชก้ �ำ หนดกจิ และแจง้ ใหแ้ กส่ ว่ นก�ำ ลงั หนว่ ย ศนู ย์ปฏิบัตกิ ารสนบั สนุนทางอากาศ รอง รวมท้ังหนว่ ยบงั คับบญั ชาและควบคมุ ซึ่งระบุเทยี่ ว บนิ /ขดี ความสามารถ/ก�ำ ลงั รบส�ำ หรบั เปา้ หมายและภารกจิ หน่วยงานของระบบควบคุมทางอากาศยุทธวิธี เฉพาะ โดยปกติคำ�ส่ังเฉพาะจะระบุนามเรียกขาน เป้า มที ต่ี งั้ รว่ มกบั กองบญั ชาการกองทพั นอ้ ยหรอื กองบญั ชาการ หมาย หน่วยควบคุม เป็นต้น เช่นเดียวกับคำ�ส่ังท่ัวไป กำ�ลังทางบกท่ีเหมาะสม มีหน้าที่ประสานงานและ เรียกว่า ATO ด้วย อำ�นวยการ การสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิดและ การสนับสนนุ ทางอากาศยทุ ธวิธีอน่ื ๆ air terminal ดู close air support; operation; tactical air สถานีขนสง่ ทางอากาศ control center ดว้ ย หนว่ ยอ�ำ นวยความสะดวกของสนามบนิ ซงึ่ ปฏบิ ตั ิ air support request พันธกิจเป็นศูนย์การขนส่งทางอากาศ และอำ�นวยความ คำ�ขอการสนับสนุนทางอากาศ สะดวกในการบรรทุกและขนถ่ายจากอากาศยานลำ�เลียง และการดำ�เนินกรรมวิธีต่อสิ่งสัญจรระหว่างการเดินทาง วิธีการที่จะขอรับการสนับสนุนทางอากาศอย่าง สนามบนิ ดงั กลา่ วนน้ั อาจก�ำ หนด เรยี กวา่ เปน็ ทา่ อากาศยาน ใกลช้ ดิ การขดั ขวางทางอากาศ การลาดตระเวนทางอากาศ หรอื ไม่ก็ได้ การเฝ้าตรวจ การคุ้มกัน การลำ�เลียงทางอากาศ โดย air-to-air guided missile เฮลิคอปเตอร์ และภารกจิ อนื่ ๆ ของอากาศยานทง้ั คำ�ขอ อาวุธปล่อยนำ�วถิ /ี ขีปนาวธุ อากาศสู่อากาศ ตามแผนและค�ำ ขอเรง่ ดว่ น เรยี กวา่ AIRSUPREQ ดว้ ย อาวธุ ปลอ่ ยน�ำ วถิ ที ย่ี งิ ในอากาศ เพอ่ื โจมตเี ปา้ หมาย ในอากาศ ดู guided missile ด้วย

17 air traffic controller all appropriate action A ผูค้ วบคุมจราจรทางอากาศ การปฏิบัตทิ งั้ ปวงท่เี หมาะสม ผคู้ วบคมุ จราจรทางอากาศที่ไดร้ บั การฝกึ อบรมมา การปฏบิ ัตใิ นการปอ้ งกนั ตนเอง ซง่ึ สมเหตสุ มผล เปน็ พิเศษ และได้รับมอบหมายให้ท�ำ หน้าทจ่ี ดั ดำ�เนนิ การ ในระดบั ของความรนุ แรง ระยะเวลา และขนาดของก�ำ ลัง เกยี่ วกบั หว้ งอากาศ และควบคมุ จราจรของวตั ถใุ นอากาศ เป็นการปฏิบัติตามข้อเท็จจริงท้ังหมดที่ผู้บังคับบัญชา ได้รับทราบในขณะน้ัน airways station สถานวี ิทยกุ ารบนิ alliance ความเปน็ พันธมิตร สถานที่ตั้งทางการส่ือสารบนพื้นดินซึ่งจัดต้ังข้ึน บรรจุเจ้าหน้าท่ีและมีบริภัณฑ์ เพื่อติดต่อส่ือสารกับ ความเป็นพันธมิตร เป็นผลมาจากความตกลง อากาศยานในขณะบนิ และกบั สถานทต่ี งั้ วทิ ยกุ ารบนิ อน่ื ๆ อยา่ งเป็นทางการ (เช่นสนธสิ ัญญา) ระหวา่ งสองประเทศ ที่ก�ำหนดไว้ ด้วยความมุ่งหมายที่จะให้การเดินทางของ หรือมากกว่า เพอ่ื จุดประสงค์อยา่ งกว้าง ๆ ในระยะยาว อากาศยานสะดวกรวดเร็วและปลอดภัย สถานีเหล่าน้ี ซงึ่ สนับสนุนต่อผลประโยชน์ร่วมกนั ของสมาชกิ อาจตงั้ อย่หู รอื ไม่ต้ังอยู่บนเส้นทางเดนิ อากาศท่กี �ำหนดไว้ ดู coalition; multinational ดว้ ย alert force allocation ก�ำ ลงั รบเตรียมพร้อม การแบ่งมอบ, การจดั สรร กำ�ลังรบซึ่งกำ�หนดไว้โดยเฉพาะให้คงระดับความ โดยทว่ั ไป หมายถงึ การจดั สรรทรพั ยากรทมี่ จี �ำ กดั พร้อมไวเ้ ป็นพเิ ศษ ให้แก่หน่วยใช้ท่ีเสนอความต้องการการแบ่งมอบเฉพาะ (เชน่ เท่ียวบนิ อาวุธนวิ เคลยี ร์ กำ�ลงั รบ และการขนสง่ ) alerting service ไดแ้ ก่ การแบง่ มอบเท่ยี วบิน อาวธุ นิวเคลียร์ เป็นตน้ บรกิ ารแจง้ ภยั ดู appointment ดว้ ย การบริการท่ีจัดข้ึนเพื่อแจ้งให้หน่วยท่ีเก่ียวข้อง allocation request ได้ทราบเก่ียวกับอากาศยานที่ต้องการความช่วยเหลือให้ ค�ำ ขอการแบ่งมอบ ไปคน้ หาและกภู้ ยั และเพอ่ื ชว่ ยหนว่ ยดงั กลา่ วตามตอ้ งการ ขอ้ ความทใี่ ช้ในการประมาณการความพยายามทาง alert order อากาศทง้ั หมด ระบเุ ที่ยวบินส่วนเกินใด ๆ และเท่ียวบิน คำ�สงั่ เตรียมพร้อม ของอากาศยานที่สนับสนุนท่ัวไปแก่กำ�ลังร่วม อีกทั้งระบุ ความตอ้ งการทางอากาศทย่ี งั ไมค่ รบ ขอ้ ความนจ้ี ะใชเ้ ฉพาะ ๑. ค�ำ สงั่ นโยบายในการวางแผนในภาวะวกิ ฤตจาก ภารกจิ ที่ได้วางแผนล่วงหนา้ เท่าน้นั โดยปกติจะสง่ ทุกวนั รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ออกโดยประธานคณะ ล่วงหน้าก่อนเร่ิมวันกำ�หนดกิจทางอากาศ ๒๔ ช่ัวโมง เสนาธกิ ารรว่ ม ใหแ้ นวทางทจ่ี �ำ เปน็ ตอ่ การวางแผนและสง่ั เรยี กว่า ALLOREQ ดว้ ย ให้เริ่มการวางแผนสำ�หรับหนทางปฏิบัติที่เลือกไว้ตามท่ี รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงกลาโหมอนมุ ตั ิ allotment ๒. ค�ำ สงั่ นโยบายในการวางแผนซงึ่ ใหแ้ นวทางการ การแบง่ มอบ วางแผนที่จำ�เป็น และส่ังให้เร่ิมการวางแผนหลังจากผู้มี อ�ำ นาจสงั่ การไดอ้ นมุ ตั หิ นทางปฏบิ ตั ทิ างทหาร ค�ำ สง่ั เตรยี ม การเปล่ียนแปลงชั่วคราวในการบรรจุกำ�ลังทาง พร้อมนี้ไม่ให้อำ�นาจดำ�เนินการตามหนทางปฏิบัติที่ได้รับ อากาศยุทธวธิ ี ระหว่างหน่วยบัญชาการรองตา่ ง ๆ อำ�นาจ อนุมตั ิ ใ น ก า ร แ บ่ ง ม อ บ เ ป็ น ข อ ง ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า ท่ี มี อำ � น า จ ดู course of action; crisis action planning; บงั คับบญั ชา execution planning ดว้ ย

18 A ดู combatant command (command สิ้นเปลืองกระสุนวัตถุระเบิดระหว่างการปฏิบัติการยุทธ authority) ด้วย ในแต่ละห้วงของการวางแผน อัตราน้ีจะประกาศใช้และ แจง้ ใหท้ ราบตามสายการบงั คบั บญั ชาโดยพจิ ารณาจากอตั รา allowable cabin load การส่งก�ำลังที่ต้องการที่ผู้บังคับหน่วยรองเสนอขึ้นมา การบรรทกุ ในห้องเคบนิ ท่ีได้รบั อนญุ าต กบั ปรมิ าณกระสนุ วตั ถรุ ะเบดิ ทีม่ ใี ช้ได้ นำ้�หนักบรรทุกมากท่ีสุด ซ่ึงสามารถบรรทุกใน ammunition lot เทยี่ วบนิ ของแตล่ ะบุคคล เรียกวา่ ACL ดว้ ย งวดกระสุนวตั ถุระเบดิ all-source intelligence กระสุนวัตถรุ ะเบิดจ�ำ นวหนงึ่ ท่มี คี ุณสมบตั เิ หมอื น ขา่ วกรองจากทกุ แหลง่ กันทุกประการ มีหมายเลขกำ�กับงวดแสดงไว้โดยแน่ชัด ได้รับการผลิตประกอบหรือนำ�กลับมาใช้ ใหม่โดยหน่วย ๑. ขา่ วกรอง และ/หรอื ผลการปฏบิ ตั ขิ องหน่วย ด�ำ เนนิ การหนว่ ยเดยี วกนั ภายใตส้ ภาพเดยี วกนั และคาด ตา่ ง ๆ ซึ่งดำ�เนนิ การเก่ียวกับการรวบรวมขา่ วสารจากทุก หมายใหท้ ำ�งานตามสภาพ แหล่ง ได้แก่ ขา่ วกรองจากบคุ คล ขา่ วกรองจากภาพ ขา่ ว กรองทางเทคนิค ข่าวกรองทางสัญญาณและข้อมูลจาก ammunition supply point แหลง่ ขา่ วเปิด เพอ่ื ใช้ในการผลติ ข่าวกรอง ตำ�บลสง่ ก�ำ ลังกระสนุ วตั ถรุ ะเบิด ๒. ในการรวบรวมข่าวกรอง เพอื่ ตอบสนองความ ต้องการข่าวกรองของผู้บังคับบัญชานั้น จะต้องพิจารณา ดู distribution point มอบภารกิจให้แก่หน่วยท่ีเหมาะสมท่ีสุด เพื่อดำ�เนินการ amphibian รวบรวมขา่ วจากทกุ แหลง่ การด�ำ เนนิ กรรมวธิ กี ารใชป้ ระโยชน์ ยานสะเทินน้ำ�สะเทนิ บก จากเคร่ืองมือต่าง ๆ ระบบการรายงานเพื่อให้เกิดความ สำ�เร็จตามความต้องการดา้ นข่าวกรอง ยานขนาดเล็กซ่ึงขับเคลื่อนด้วยใบพัดหรือ ดู intelligence ดว้ ย ใบจกั รลอ้ หรอื เบาะอากาศ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ใหเ้ คลอื่ นท่ี ไดท้ ง้ั บนบกและในน�้ำ ambulance exchange point amphibious assault จุดสบั เปลย่ี นรถพยาบาล การโจมตสี ะเทินน้ำ�สะเทินบก ที่ต้ังซ่ึงผู้ป่วยถูกย้ายจากรถพยาบาลคันหน่ึงไปสู่ การยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบกแบบหลักท่ีมีการ อีกคันหน่ึงระหว่างทางไปยังสถานที่รักษาพยาบาล จุดน้ี สถาปนาก�ำ ลงั รบขนึ้ บนฝง่ั ทะเลของขา้ ศกึ หรอื ชายฝง่ั ทะเล อาจเป็นจุดท่ีกำ�หนดบนเส้นทางข้ึนล่องของรถพยาบาล ท่ีข้าศกึ น่าจะยึดครอง หรอื อาจถูกก�ำ หนดโดยอสิ ระ เรยี กวา่ AXP ดว้ ย ดู assault; assault phase ดว้ ย ดู medical treatment facility ด้วย amphibious assault ship (general purpose) ammunition controlled supply rate – เรอื โจมตสี ะเทินน�ำ้ สะเทินบก (ความมุง่ หมาย อัตราควบคมุ การสง่ ก�ำ ลังกระสุนวัตถรุ ะเบิด ทวั่ ไป) เมอ่ื ใช้ในกองทพั บก หมายถึง จ�ำนวนกระสนุ วัตถุ เรือของทหารเรือซึ่งออกแบบ เพื่อบรรทุก ระเบดิ ทปี่ ระมาณการวา่ จะมใี หห้ นว่ ยก�ำลงั รบทกี่ �ำหนดใช้ วางกำ�ลัง และส่งส่วนต่าง ๆ ของกำ�ลังรบยกพลขึ้นบก รบได้อย่างต่อเน่ืองในห้วงเวลาที่ก�ำหนดถ้าควบคุม ในการโจมตโี ดยเฮลคิ อปเตอร์ เรอื ระบายพล ยานสะเทนิ ความส้ินเปลืองในอัตรานี้ ส�ำหรับอาวุธยิงก�ำหนดเป็น น�ำ้ สะเทนิ บก และโดยการผสมของวธิ ตี า่ ง ๆ ดงั กลา่ วแลว้ จ�ำนวนนดั ตอ่ กระบอกตอ่ วนั สว่ นกระสนุ วตั ถรุ ะเบดิ ทจ่ี า่ ย ก�ำ หนดชอื่ วา่ LHA หรอื พรอ้ มดว้ ยอเู่ รอื ภายในเรอื ก�ำ หนด รวมเป็นปริมาณมากจะก�ำหนดเป็นหน่วยนับต่อหน่วยใช้ ชื่อว่า LHD ตอ่ วนั ผบู้ งั คบั หนว่ ยทางยทุ ธวธิ จี ะใชอ้ ตั รานคี้ วบคมุ ความ

19 amphibious aviation assault ship amphibious objective area A เรอื โจมตสี ะเทนิ น�ำ้ สะเทนิ บกอากาศยานขน้ึ ลงได ้ พืน้ ท่ีท่หี มายสะเทินน้ำ�สะเทินบก เรอื โจมตสี ะเทนิ น�้ำ สะเทนิ บกทม่ี ลี านจอดเฮลคิ อปเตอร์ พ้นื ท่ที างภมู ิศาสตร์ (ทกี่ �ำหนดไว้ในค�ำสง่ั นโยบาย เรอื โจมตสี ะเทนิ น�้ำ สะเทนิ บกอเนกประสงค์ หรอื เรอื โจมตี เริ่มต้นการปฏิบัติการสะเทินน�้ำสะเทินบก เพ่ือความ สะเทนิ นำ้�สะเทนิ บกอเนกประสงค์ (มีอู่เรืออยภู่ ายใน) มงุ่ หมายในการบังคับบัญชาและควบคมุ ) ภายในพืน้ ทีซ่ ่ึง จะก�ำหนดทหี่ มายทกี่ �ำลงั รบเฉพาะกจิ สะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บก amphibious construction battalion จะตอ้ งยดึ ครอง พนื้ ทน่ี จ้ี ะตอ้ งมขี นาดเพยี งพอทจ่ี ะประกนั กองพนั กอ่ สร้างสะเทินน�้ำ สะเทนิ บก การบรรลุภารกจิ ของก�ำลังรบสะเทนิ น้ำ� สะเทินบก และจะ ต้องมีพื้นที่เพียงพอส�ำหรับการปฏิบัติการทางทะเล หน่วยทหารเรือประจำ�การถาวร ซงึ่ เป็นหน่วยทาง ทางอากาศและทางบกทจี่ �ำเป็น เรียกวา่ AOA ด้วย ธรุ การขนึ้ ตรงตอ่ ผบู้ งั คบั พวกปฏบิ ตั กิ ารชายหาดฝา่ ยทหาร ดู amphibious force; mission ดว้ ย เรือ ซ่ึงจะจัดกำ�ลังพลและยุทธโธปกรณ์เป็นส่วนต่าง ๆ ทางยทุ ธวธิ ีไปใหก้ ารสนบั สนนุ กบั ผบู้ งั คบั บญั ชาทเ่ี หมาะสม amphibious operation เพอื่ ควบคมุ สะพานทนุ่ ระเบดิ เรอื ขนถา่ ย เรอื ลากจงู และ ปฏิบัติการสะเทินนำ้�สะเทินบก, การยุทธ เรอื น�ำ้ มนั เชือ้ เพลิง เพ่อื การโจมตแี ละชว่ ยกู้ภยั ตามความ สะเทินน้ำ�สะเทินบก ตอ้ งการของชุดปฏิบัตกิ ารชายหาดฝ่ายทหารเรือ เรียกว่า PHIBCB ด้วย การปฏิบัติการทางทหารท่ีเร่ิมจากทะเลโดยกำ�ลัง รบสะเทนิ นำ้�สะเทนิ บกที่อยบู่ นเรอื ใหญห่ รอื เรอื เล็ก โดย amphibious demonstration มคี วามมงุ่ หมายหลกั ในการน�ำ ก�ำ ลงั รบยกพลขนึ้ บกขน้ึ ฝงั่ การแสดงลวงสะเทนิ นำ�้ สะเทินบก เพ่ือบรรลภุ ารกจิ ท่ีได้รับมอบ ดู amphibious force; landing force; mission; การยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบกประเภทหนึ่งที่ operation ดว้ ย ด�ำ เนนิ การเพอ่ื ความมงุ่ หมายทจี่ ะลวงขา้ ศกึ ดว้ ยการแสดง ก�ำ ลงั เพอ่ื หวงั ทจ่ี ะท�ำ ใหข้ า้ ศกึ หลงกลไปเลอื กหนทางปฏบิ ตั ิ amphibious planning ท่ีไม่เก้อื กูลแกฝ่ ่ายขา้ ศึกเอง การวางแผนการยทุ ธสะเทินน้ำ�สะเทินบก amphibious force กระบวนวางแผนส�ำ หรบั การยทุ ธสะเทนิ น�้ำ สะเทนิ ก�ำ ลงั รบสะเทนิ น้�ำ สะเทินบก บก ซง่ึ ก�ำ ลงั รบทเ่ี กย่ี วขอ้ งไดด้ �ำ เนนิ การวางแผนพรอ้ มกนั กองกำ�ลังเฉพาะกิจสะเทินน้ำ�สะเทินบก และ การวางแผนคู่ขนานและการวางแผนในรายละเอียด การวางแผนดังกล่าวนี้มีลักษณะเป็นการวางแผนตาม กำ�ลังรบยกพลข้ึนบกพร้อมด้วยกำ�ลังรบอ่ืน ๆ ซึ่งได้รับ วงรอบ ซงึ่ ประกอบดว้ ยล�ำ ดบั การวเิ คราะหแ์ ละการตกลง การฝึก การจัด และมียุทธภัณฑ์สำ�หรับการยุทธ ใจตามสถานการณต์ า่ ง ๆ ทางยทุ ธการโดยพจิ ารณาเหตกุ ารณ์ สะเทนิ น�ำ้ สะเทนิ บก เรยี กว่า AF ดว้ ย ทเ่ี กดิ ขึ้นกอ่ น ดู amphibious operation; amphibious task force; landing force ด้วย amphibious raid การโจมตีโฉบฉวยสะเทนิ น้ำ�สะเทนิ บก amphibious lift ความสามารถล�ำ เลียงสะเทินนำ้�สะเทินบก เป็นการยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบกประเภทหนึ่งที่ เกย่ี วกบั การบกุ อยา่ งรวดเรว็ เขา้ ไปยงั ทหี่ มาย หรอื การยดึ ความจุรวมของเรือลำ�เลียงโจมตีที่ใช้ในการยุทธ ทห่ี มายไวช้ ว่ั คราว ตอ่ จากนั้นกท็ ำ�การถอนตัวตามแผน สะเทนิ น�ำ้ สะเทนิ บก แสดงดว้ ยจ�ำ นวนก�ำ ลงั พล ยานพาหนะ ดู amphibious operation ด้วย และตันปริมาตรหรือตนั นำ้�หนกั ของสิ่งอปุ กรณ์

20 A amphibious shipping amphibious transport group หมวดเรอื ล�ำ เลยี งสะเทินนำ้�สะเทนิ บก เรอื ลำ�เลยี งสะเทนิ นำ้�สะเทนิ บก หนว่ ยรองของกองก�ำ ลงั เฉพาะกจิ สะเทนิ น�ำ้ สะเทนิ บก เรอื ในอัตราของกองทัพเรอื ทอ่ี อกแบบโดยเฉพาะ ซงึ่ ประกอบดว้ ยเรอื ล�ำ เลยี งเปน็ หลกั ขนาดของหมวดเรอื ส�ำ หรบั การล�ำ เลยี ง เกยหาด และสนบั สนนุ ก�ำ ลงั รบยกพล ล�ำ เลยี งจะขนึ้ อยกู่ บั ขอบเขตของการปฏบิ ตั กิ าร เรอื ตา่ ง ๆ ข้ึนบกในปฏิบัติการโจมตีสะเทินนำ้�สะเทินบก และมี ของหมวดเรอื ล�ำ เลยี งจะไดร้ บั การบรรทกุ รบเพอื่ สนบั สนนุ ขดี ความสามารถในการบรรทกุ หรอื ขนถา่ ยในพน้ื ทท่ี หี่ มาย แผนการดำ�เนินกลยุทธ์บนฝ่ัง ปกติหน่วยเรือลำ�เลียง ปฏิบัติการสะเทินน้ำ�สะเทินบกได้ด้วยกำ�ลังพลทหารเรือ จะได้รับการจัดขึ้นมาสำ�หรับการลำ�เลียงกำ�ลังทหารและ โดยไม่ต้องรบั การช่วยเหลอื จากภายนอก ยทุ โธปกรณเ์ พอื่ น�ำ ขนึ้ บกบนหาดทก่ี �ำ หนด หรอื เพอ่ื ล�ำ เลยี ง ก�ำ ลงั ทหารและยทุ โธปกรณข์ องการยทุ ธเคลอ่ื นทที่ างอากาศ amphibious squadron กองเรือสะเทินน้ำ�สะเทินบก amphibious vehicle ยานสะเทินนำ้�สะเทินบก หนว่ ยการจดั ทางยทุ ธวิธแี ละธุรการ ประกอบด้วย เรือโจมตีสะเทินน้ำ�สะเทินบกสำ�หรับลำ�เลียงกำ�ลังทหาร ยานล้อหรือสายพานที่สามารถปฏิบัติการได้ท้ัง และยุทธภัณฑ์ ไปปฏิบัติการโจมตีสะเทินน้ำ�สะเทินบก บนบกและในนำ้� เรยี กวา่ PHIBRON ดว้ ย amphibious task force ดู landing craft ด้วย กองก�ำ ลงั เฉพาะกิจสะเทนิ น�้ำ สะเทินบก amphibious vehicle availability table ตารางยานสะเทนิ นำ้�สะเทินบกทีม่ ีใช้ได้ การจัดหน่วยเฉพาะกิจของกองทัพเรือเพื่อปฏิบัติ การยุทธสะเทินนำ้�สะเทินบก กองกำ�ลังเฉพาะกิจ ตารางแสดงประเภทและจ�ำ นวนของยานสะเทนิ น�ำ้ สะเทินนำ้�สะเทินบกพร้อมด้วยกำ�ลังรบยกพลข้ึนบกและ สะเทินบกที่สามารถนำ�ไปใช้เป็นหลัก สำ�หรับการโจมตี ก�ำ ลงั รบอนื่ ๆ ประกอบขน้ึ เปน็ ก�ำ ลงั รบสะเทนิ น�ำ้ สะเทนิ บก ยกพลข้นึ บก และใชส้ นบั สนุนหน่วยอืน่ ๆ ในการยุทธ เรยี กวา่ ATF ดว้ ย ดู amphibious force; amphibious operation; amphibious vehicle employment plan landing force ดว้ ย แผนการใช้ยานสะเทนิ น้ำ�สะเทนิ บก amphibious tractor แผนซง่ึ แสดงเปน็ ตารางการใชย้ านสะเทนิ น�ำ้ สะเทนิ บก รถสายพานสะเทนิ น�้ำ สะเทินบก ในการปฏิบัติการยกพลข้ึนบก รวมท้ังการใช้ยานเหล่านี้ ภายหลงั การเคลื่อนทขี่ ้นั ตน้ เขา้ ส่หู าด ดู amphibious vehicle amphibious vehicle launching area พื้นทป่ี ล่อยยานสะเทินน้ำ�สะเทนิ บก amphibious transport dock เรืออลู่ ำ�เลยี งยานสะเทนิ นำ้�สะเทนิ บก พื้นท่ีในทะเลและบริเวณใกล้เคียงด้านนอกทะเล เรอื ซงึ่ ออกแบบเพือ่ ล�ำ เลยี งก�ำ ลังทหารยุทธภณั ฑ์ ของแนวออกตี ซึ่งเรือยกพลขึ้นบกจะแล่นเข้าไป และ และสิ่งอุปกรณ์ต่าง ๆ ไปข้ึนบกด้วยเรือระบายพล ปลอ่ ยยานสะเทินน้ำ�สะเทนิ บกลงนำ้� ยานสะเทินนำ้�สะเทินบก และเฮลิคอปเตอร์ท่ีข้ึนสู่เรือ amphibious withdrawal กำ�หนดช่อื ว่า LPD การถอนตัวสะเทินนำ้�สะเทนิ บก เป็นการยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบกประเภทหนึ่ง ทเี่ กี่ยวกับการถอนกำ�ลงั รบออกมาทางทะเลด้วยเรือใหญ่

21 หรือเรือเล็กของกองทัพเรือจากฝั่งของข้าศึกหรือฝั่ง antisubmarine warfare A ท่ีน่าจะเปน็ ขา้ ศึก การสงครามปราบเรอื ด�ำ น�ำ้ ดู amphibious operation ด้วย การปฏิบัติการต่าง ๆ ท่ีกระทำ�เพ่ือขัดขวางไม่ให้ anchorage ขา้ ศึกใช้เรอื ดำ�นำ้�ได้ผล เรยี กว่า ASW ด้วย ทที่ อดสมอ antisubmarine warfare forces สถานท่ีซ่ึงกำ�หนดไว้สำ�หรับการทอดสมอหรือ กองกำ�ลงั ในการสงครามปราบเรือด�ำ น�้ำ ผกู ทุน่ เรอื ในร่องน�ำ้ หรือบริเวณไกลฝงั่ กำ�ลังรบที่จัดขึ้นเพื่อการปราบเรือดำ�นำ้�เป็นหลัก annotation อาจประกอบด้วย เรอื ผวิ น�ำ้ อากาศยาน เรอื ดำ�น้ำ� หรือ การแสดงข้อมูลประกอบ หลายชนิดผสมกัน พร้อมด้วยระบบสนับสนุนของ แตล่ ะชนดิ นั้น การใส่เครื่องหมายลงบนภาพถ่ายหรือภาพเขียน ดว้ ยความมงุ่ หมายเพอ่ื อธบิ าย หรอื แสดงรายการหรอื พน้ื ท่ี antiterrorism ซงึ่ มคี วามส�ำ คญั เปน็ พเิ ศษ การตอ่ ตา้ นการกอ่ การร้าย annual screening มาตรการป้องกันเชิงรับที่ใช้ ในการลดความ การตรวจสอบประจ�ำ ปี ล่อแหลมของบุคคลและทรัพย์สินต่อการก่อการร้าย รวมทั้งตอบโต้อย่างจำ�กัด และการใช้กำ�ลังทหารในพ้ืนที่ การเรียกพลประจ�ำปีของก�ำลังพลส�ำรองประเภท เรยี กว่า AT ด้วย บคุ คล เพ่ือรับการฝกึ ประจ�ำปเี ปน็ เวลา ๑ วัน ท้งั นีเ้ พือ่ ให้ ดู counterterrorism; terrorism ด้วย เหล่าทัพสามารถติดตามสถานภาพปัจจุบันของทุกคน ในเรื่องร่างกาย ครอบครัว คุณสมบัติทางทหาร apogee ความช�ำนาญในวิชาชีพพลเรือน ความพร้อมส�ำหรับ อะโปจี การเรียกพล และข้อมลู อน่ื ๆ จดุ ในวถิ ขี องอาวธุ ปลอ่ ยหรอื วงโคจรของดาวเทยี ม annual training ซึ่งอยู่ห่างที่สุดจากศูนย์กลางของสนามความดึงดูดของ การฝกึ ประจ�ำ ปี สงิ่ ควบคุม หว้ งเวลานอ้ ยทสี่ ดุ ของการฝกึ ทก่ี �ำ ลงั ส�ำ รองจะตอ้ ง application ไดร้ บั ในแตล่ ะปี เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามขอ้ ก�ำ หนด ซงึ่ เกย่ี วขอ้ ง การใช้งาน กบั การบรรจุกำ�ลงั ส�ำ รอง ๑. ระบบหรือปัญหา ซึ่งใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ antideficiency violations เข้าแก้ไข ส่วนการเรียกประเภทของการใช้งานนั้นก็อาจ การใช้จ่ายผิดระเบียบ เป็นประเภทค�ำนวณ (ส่วนใหญ่เป็นการค�ำนวณตัวเลข) หรืออาจเป็นประเภทกรรมวิธีข้อมูล (ส่วนใหญ่เป็นเรื่อง การผูกพนั งบประมาณหรอื ใชจ้ า่ ยงบประมาณเกิน การจดั การข้อมูล) กว่างบประมาณที่ได้รบั ๒. ในดา้ นการขา่ วกรอง การคดั เลือกและต่อเติม ขา่ วสารโดยตรง ซึง่ ส่งมาจากแหลง่ ขา่ วโดยเร็วท่สี ดุ โดย antiradiation missile มุ่งเน้นและให้เป็นไปตามความต้องการท่ีเจาะจงเฉพาะ อาวธุ ปล่อยสแู่ หล่งรงั สี เร่อื งหรอื เป็นไปตามส่งั การ อาวุธปล่อย ซ่ึงเมื่อยิงแล้วจะเข้าสู่แหล่งรังสีโดย การน�ำ วิถเี ชงิ รับ เรียกว่า ARM ดว้ ย ดู guided missile ดว้ ย

22 A apportionment area command หน่วยบัญชาการภาค, หนว่ ยบญั ชาการพ้ืนท่ี การแบง่ มอบก�ำ ลัง ศัพท์น้ี โดยท่ัวไปหมายถึง การจัดสรรทรัพยากร หนว่ ยบัญชาการซ่ึงประกอบด้วยสว่ นตา่ ง ๆ ทีจ่ ดั ที่มีจ�ำกัดเพ่ือการวางแผนให้กับหน่วยใช้ท่ีเสนอความ ขน้ึ จากเหลา่ ทพั หนง่ึ หรอื มากกวา่ ซง่ึ ถกู ก�ำ หนดใหป้ ฏบิ ตั ิ ต้องการ การแบ่งมอบก�ำลังเฉพาะอยา่ ง (เช่น เท่ียวบิน การภายในพ้ืนท่ีทางภูมิศาสตร์เฉพาะแห่งหน่ึง โดยอยู่ และก�ำลังรบตามแผน) ได้แก่ การแบ่งมอบเที่ยวบนิ และ ใต้การบงั คับบญั ชาของผบู้ งั คับบัญชาคนเดียว ก�ำลังรบตามแผน เป็นต้น ดู allocation ด้วย ดู command ดว้ ย approach schedule area damage control ก�ำ หนดเวลาเคลอ่ื นท่ี การควบคมุ ความเสยี หายเปน็ พ้นื ท่ี ก�ำ หนดเวลาซง่ึ แสดงเวลา ทแ่ี ตล่ ะคลน่ื ตามก�ำ หนด มาตรการทง้ั หลายทท่ี �ำ ไวก้ อ่ นในระหวา่ งหรอื ภายหลงั การ เวลาออกจากพื้นท่ีนัดพบ จากแนวออกตีและจากจุด ปฏบิ ตั ขิ องข้าศกึ หรอื การเกดิ ภยั ธรรมชาติ หรอื ภัยทีเ่ กิด ควบคมุ อ่ืน ๆ และเวลาถงึ หาด จากการกระทำ�ของมนุษย์ เพ่ือลดความเสียหายท่ีน่าจะ เกดิ และเพือ่ ใหม้ ีผลกระทบนอ้ ยทส่ี ดุ approach time ดู disaster control ด้วย เวลาเรมิ่ บินเขา้ area of influence เวลาที่คาดว่าอากาศยานจะเร่ิมต้นวิธีดำ�เนินการ พนื้ ที่อิทธพิ ล บินเขา้ พนื้ ทท่ี างภมู ศิ าสตรซ์ งึ่ ภายในพน้ื ทน่ี ผี้ บู้ งั คบั หนว่ ย ทหารบังคับการยุทธได้โดยตรง ด้วยการดำ�เนินกลยุทธ์ apron หรือระบบการยิงสนับสนุน ซึ่งตามปกติอยู่ในการบังคับ ลานจอด บญั ชาหรือการควบคุมของผบู้ ังคับหน่วยทหารนั้น พื้นที่ซ่ึงกำ�หนดขอบเขตในสนามบิน เพื่ออำ�นวย area of interest ความสะดวกแก่อากาศยานในการบรรทุก หรือขนถ่าย พ้ืนท่ีสนใจ ผู้โดยสารหรือสัมภาระ การเติมเช้ือเพลิง การจอดหรือ การซ่อมบ�ำ รุง พื้นท่ีซ่ึงมีความเกี่ยวข้องกับผู้บังคับบัญชา ซึ่ง area air defense commander รวมถึงพ้ืนที่ในอำ�นาจ พ้ืนที่ข้างเคียงกับพื้นท่ีในอำ�นาจ ผู้บัญชาการป้องกันทางอากาศภาค และลึกเข้าไปในดินแดนข้าศึกจนถึงท่ีหมายของการยุทธ ในปจั จบุ นั หรอื ที่ไดว้ างแผนไว้ พน้ื ทน่ี ร้ี วมถงึ พน้ื ที่ในความ ภายในหน่วยบญั ชาการรวม หนว่ ยบญั ชาการรวม ยดึ ครองของก�ำ ลงั รบขา้ ศกึ ซงึ่ อาจขดั ขวางการบรรลภุ ารกจิ รอง หรอื ก�ำ ลงั รบเฉพาะกจิ รว่ ม ผบู้ ญั ชาการหนว่ ยจะมอบ เรียกวา่ AOI ด้วย ความรับผิดชอบท้ังหมดในการป้องกันทางอากาศให้แก่ ดู area of influence ดว้ ย ผบู้ งั คบั บญั ชาคนเดยี ว โดยปกตกิ จ็ ะเปน็ ผบู้ ญั ชาการหนว่ ย ที่มีขีดความสามารถในการป้องกันทางอากาศที่มากกว่า area of limitation ทง้ั ในดา้ นการบงั คับบัญชา การควบคมุ การติดตอ่ ส่ือสาร พน้ื ท่ีจ�ำ กัด ในการวางแผน และอ�ำ นวยการยุทธทั้งปวงในการปอ้ งกนั ทางอากาศ หน่วยกองกำ�ลงั อนื่ ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งจะส่งผู้แทน พื้นที่ก�ำหนดซ่ึงมีการจ�ำกัดเฉพาะด้านก�ำลังและ มารว่ มในกองบญั ชาการของผบู้ ญั ชาการปอ้ งกนั ทางอากาศ ป้อมค่ายของก�ำลังรบที่เป็นคู่พิพาทหรือคู่สงคราม ภาคตามความเหมาะสม เรียก AADC ดว้ ย ตามปกติข้อจ�ำกัดสูงสุดจะก�ำหนดจ�ำนวนและประเภท

23 การจดั รถถงั อาวธุ ตอ่ สอู้ ากาศยาน ปนื ใหญ่ และระบบ area target A อาวธุ อ่ืน ๆ ในพืน้ ท่ีจ�ำกัดนั้น เรียกวา่ AOL ด้วย เป้าหมายเปน็ พื้นที่ ดู line of demarcation; peace operations ดว้ ย เป้าหมายซ่ึงประกอบด้วยพื้นท่ีหนึ่งซึ่งมิใช่เป็น area of operations จดุ ใดจุดหนง่ึ พนื้ ทีป่ ฏบิ ัตกิ าร arming พน้ื ทปี่ ฏบิ ตั กิ ารซงึ่ ก�ำ หนดโดยผบู้ ญั ชาการก�ำ ลงั รบ การพร้อมระเบิด ร่วมของกำ�ลังทางบกและกำ�ลังทหารเรือ โดยปกติพื้นที่ ปฏิบัติการไม่ได้ครอบคลุมพ้ืนที่ปฏิบัติการทั้งหมดของผู้ เมอื่ ใชก้ บั วตั ถรุ ะเบดิ อาวธุ และกระสนุ วตั ถรุ ะเบดิ บัญชาการกำ�ลังรบร่วม แต่ควรจะมีขนาดใหญ่พอสำ�หรับ หมายถึงการเปลี่ยนจากลักษณะปลอดภัยไปเป็นสถานะ ผบู้ ญั ชาการสว่ นก�ำ ลงั ทจี่ ะปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ใหส้ �ำ เรจ็ และพทิ กั ษ์ ความพร้อมตอ่ การเร่มิ จดุ ระเบดิ ก�ำ ลังของตน เรยี กวา่ AO ด้วย ดู area of responsibility; joint operations armistice area; joint special operations area ด้วย การสงบศกึ area of responsibility ในกฎหมายระหว่างประเทศ หมายถึงการพักรบ พ้นื ทร่ี ับผดิ ชอบ หรือการหยุดยิงช่ัวคราวตามความตกลงระหว่างประเทศ ค่สู งคราม ในพนื้ ทท่ี างภมู ศิ าสตรท์ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั หนว่ ยบญั ชาการ รบ ซง่ึ ภายในพน้ื ทน่ี ี้ ผบู้ ญั ชาการรบมอี �ำ นาจวางแผน และ armistice demarcation line ดำ�เนินการปฏิบตั ิการ เรยี กวา่ AOR ดว้ ย แนวก�ำ หนดเขตการสงบศกึ ดู combatant command ดว้ ย แนวท่ีกำ�หนดทางภูมิศาสตร์ซึ่งกำ�ลังรบท่ีเป็น area of separation คู่พิพาทหรือคู่สงครามผละจากกันและถอนตัวกลับไปยัง พื้นทีแ่ ยก ฝา่ ยของตน ภายหลงั การท�ำ ความตกลงพกั รบชวั่ คราวหรอื หยุดยิง เรียกวา่ แนวหยุดยิงในการฏบิ ตั ิการบางอยา่ งของ ดู buffer zone เรียกวา่ AOS ดว้ ย สหประชาชาติด้วย เรียกวา่ ADL ดว้ ย ดู peace operations ด้วย ดู armistice; cease fire line; peace operations ด้วย area operations ปฏิบตั กิ ารเปน็ พน้ื ท่ี arm or de-arm ใส่ชนวนหรือถอดชนวน เมอื่ ใช้เกย่ี วกับทางทะเล หมายถึง การปฏิบัติการ ที่กระทำ�ในพ้ืนท่ีทางภูมิศาสตร์บริเวณหน่ึง และไม่เก่ียว ใช้กับกระบวนการในบทท่ีว่าด้วยการใส่หรือถอด กบั การป้องกันของกำ�ลงั รบเฉพาะ ชนวนอาวธุ ตามคมู่ ือการบรรทกุ อาวธุ หรอื รายการตรวจ สอบของอากาศยานเฉพาะแบบ ทก่ี �ำหนดใหส้ รรพาวธุ หรอื area search กลอปุ กรณว์ ตั ถรุ ะเบดิ อยใู่ นสภาพพรอ้ มใชง้ านหรอื ปลอดภยั การค้นหาเป็นพน้ื ท่ี เชน่ เครอื่ งปลอ่ ยจรวด, อาวธุ ปลอ่ ยน�ำวถิ ,ี ปนื แบบตดิ ตงั้ อยู่ภายในและแบบเป็นกระเปาะ, พลุส่องสว่าง การลาดตระเวนด้วยสายตาในพ้ืนที่จำ�กัดหรือ (แบบบรรทกุ ภายนอก และแบบบรรจใุ นเครอื่ งปลอ่ ยแบบ มขี อบเขตที่แน่นอน SUU-44/25) (หมายเหตุ: การถอดหรือติดต้ังสลักนิรภัยของ ไพลอนหรอื รางปลอ่ ยระเบดิ ในต�ำแหนง่ ที่ไม่ไดต้ ดิ ตงั้ วตั ถุ

24 A ระเบิดน้ันถือว่าเป็นกิจที่ต้องปฏิบัติภายใต้ขอบเขตของ Army special operations forces คมู่ อื ดังกลา่ งข้างต้น) หน่วยปฏิบัตกิ ารพิเศษกองทัพบก ดู arming; de-arming; ordnance ดว้ ย ก�ำลังทหารประจ�ำการและส่วนก�ำลังส�ำรอง arms control agreement กองทัพบกซึ่งจัดต้ังโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ทมี่ ีการจดั การฝกึ และยุทโธปกรณ์โดยเฉพาะ เพ่ือการ ความตกลงวา่ ดว้ ยการควบคุมกำ�ลังรบ ด�ำเนินการและสนับสนุนการปฏิบัติการพิเศษ เรียกว่า ARSOF ดว้ ย มาตรการควบคุมกำ�ลังรบตั้งแต่เร่ืองหน่ึงขึ้นไป ท่ีสองชาติหรือมากกว่าตกลงยอมรับ อาจเขียนเป็น arrival zone ลายลกั ษณ์อักษรหรอื ไมก่ ็ได้ เขตมาถึง arms control measure มาตรการควบคมุ กำ�ลงั รบ ในการปฏบิ ตั กิ ารตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ หมายถงึ พนื้ ที่ ภายในหรอื พน้ื ทต่ี ดิ กบั สหรฐั อเมรกิ า ซงึ่ การลกั ลอบขนยา หนทางปฏบิ ัตเิ ฉพาะใด ๆ ในการควบคมุ ก�ำ ลงั รบ เสพตดิ ยตุ ลิ ง และเรมิ่ การแจกจา่ ยภายในประเทศโดยทาง อากาศ ณ ลานบินและทางทะเล ณ จุดขนขึ้นบกหรือ Army air-ground system ขนถ่ายไปยังเรอื ขนาดเล็ก ระบบอากาศพื้นดินของกองทัพบก ระบบของกองทัพบกที่จัดขึ้นเพ่ือการปฏิบัติงาน assault ร่วมกันระหว่างหน่วยของกองทัพบกกับหน่วยสนับสนุน ทางอากาศยุทธวิธีของเหล่าทัพอ่ืน ๆ ในการวางแผน ๑. การตลุมบอน : ขั้นสุดยอดของการเข้าตี ประเมินค่า ด�ำเนินกรรมวิธี และประสานความต้องการ การเขา้ ใกลข้ า้ ศกึ ถึงขนั้ การตอ่ ส้รู ะยะประชดิ และการปฏิบัติการสนับสนนุ ทางอากาศ ระบบน้ีประกอบ ๒. การโจมตี : ในการยทุ ธสะเทินนำ้�สะเทนิ บก ดว้ ยเจา้ หนา้ ทฝี่ า่ ยอ�ำนวยการทเี่ หมาะสม รวมทงั้ เจา้ หนา้ ที่ คือช่วงเวลาระหว่างที่กำ�ลังรบโจมตีหลักของกำ�ลังรบ สธ.๒ อากาศ และ สธ.๓ อากาศกับเคร่ืองมือส่ือสาร เฉพาะกจิ สะเทนิ น�้ำ สะเทนิ บกมาถงึ พน้ื ทท่ี ห่ี มาย จนถงึ การ ที่จ�ำเปน็ เรียกวา่ AAGS ด้วย บรรลุภารกจิ ของกำ�ลงั รบเฉพาะกจิ สะเทนิ น้ำ�สะเทนิ บก Army corps ๓. การจู่โจม : การเข้าตีอย่างรุนแรงชั่วระยะ กองทัพน้อย เวลาสน้ั แตม่ ีระเบียบต่อท่ีหมายเฉพาะตำ�บล เชน่ ท่ตี ั้ง ปนื ป้อม หรอื รงั ปืนกล หน่วยทางยุทธวิธีท่ีใหญ่กว่ากองพล แต่เล็กกว่า กองทัพสนาม กองทัพน้อยมักจะประกอบด้วย กองพล ๔. ขน้ั การโจมตี : ขนั้ ของการยุทธส่งทางอากาศ ตง้ั แตส่ องกองพลขน้ึ ไปพรอ้ มดว้ ยอาวธุ และบรกิ ารสนบั สนนุ เริ่มต้ังแต่การส่งส่วนโจมตีของกำ�ลังรบโดยทางอากาศไป ตา่ ง ๆ ยังพ้นื ทที่ ่ีหมาย และไปจนถงึ การเขา้ ตีท่ีหมายโจมตี และ การเสริมท่ีม่นั ในหวั หาดอากาศข้นั ตน้ Army special operations component สว่ นปฏบิ ัติการพิเศษกองทพั บก ดู assault phase ด้วย ส่วนกองกำ�ลังกองทัพบกของส่วนปฏิบัติการ assault craft พิเศษร่วม เรยี กว่า ARSOC ดว้ ย ยานโจมตี ดู Air Force special operations component; Navy special operations component ดว้ ย เรือระบายพล หรือยานสะเทินน้�ำสะเทินบกที่ใช้ ส่งก�ำลังทหารและยุทธภัณฑ์ขึ้นบกในคลื่นโจมตีของ การยทุ ธสะเทนิ น้�ำสะเทนิ บก

25 assault craft unit ๒. ในการยทุ ธสง่ ทางอากาศ ขน้ั ทเ่ี รม่ิ ตน้ เมอื่ เรม่ิ A หนว่ ยยานโจมตี ส่งกำ�ลังส่วนโจมตีโดยทางอากาศไปยังพื้นที่ที่หมายและ ตอ่ เนอ่ื งไปจนตลอดการเขา้ ตที ี่หมายโจมตี และการเสริม การจัดหน่วยเรือประจำ�การ ซ่ึงเป็นหน่วยรอง ทม่ี ั่นในหวั หาดอากาศขนั้ ต้น ขนึ้ ตรงกบั บงั คบั พวกจดั ระเบยี บชายหาดทหารเรอื ประกอบ ดู assault ด้วย ด้วย ยานยกพลข้ึนบกและพลประจำ�เรือที่จำ�เป็นต่อ การปฏิบัตกิ ารสะเทนิ น้ำ�สะเทินบก เรยี กวา่ ACU ด้วย assault shipping เรอื ล�ำ เลียงโจมตี assault echelon สว่ นโจมตี เรอื ทม่ี อบใหแ้ กก่ �ำ ลงั รบเฉพาะกจิ สะเทนิ น�ำ้ สะเทนิ บก และใช้ในการล�ำ เลยี งก�ำ ลงั ทหารโจมตี ยานพาหนะ ยทุ ธภณั ฑ์ ในการปฏิบัติการสะเทินน้ำ�สะเทินบก ส่วน และสง่ิ อุปกรณ์ ไปยังพืน้ ท่ีทหี่ มาย กำ�ลังรบหน่ึงซึ่งประกอบด้วยหน่วยและอากาศยานซึ่ง จัดขึ้นเฉพาะตามที่ได้รับมอบหมายให้ดำ�เนินการโจมตี assault wave ขนั้ ต้นในพนื้ ท่ีการยทุ ธ เรยี กวา่ AE ดว้ ย คลื่นโจมตี ดู amphibious operation ดว้ ย ดู wave assault fire assembly area ๑. การยิงในการตลุมบอน : การยงิ ท่ีกระทำ�โดย ก�ำ ลงั ทหารทเ่ี ขา้ ตขี ณะท่ีเขา้ ประชิดข้าศกึ ๑. ทร่ี วมพล : พน้ื ทซี่ ง่ึ หนว่ ยมารวมกนั เพอื่ เตรยี ม ๒. การยงิ ท�ำ ลายใกล้ชิด : ในการทหารปืนใหญ่ ปฏบิ ตั ิการต่อไป หมายถึง การยิงทำ�ลายต่อเป้าหมายเป็นจุดในระยะใกล้ ๒. ท่ปี ระกอบชิ้นส่วน : ในสถานที่ตั้งทางการสง่ ดว้ ยความแมน่ ยำ�สงู สดุ กำ�ลังแห่งหน่ึง หมายถึงพื้นที่ท้ังหมดซึ่งใช้รวบรวมและ ประกอบส่วนตา่ ง ๆ เขา้ เป็นหน่วยชดุ หรอื สว่ นประกอบ assault follow-on echelon ต่าง ๆ สว่ นตดิ ตามสว่ นโจมตี assessment ในการยุทธสะเทินนำ้�สะเทินบก ส่วนของกำ�ลัง หน่วยโจมตี ยานพาหนะ บริภัณฑ์อากาศยาน และสิ่ง ๑. การประเมิน : การวิเคราะห์การรักษาความ อุปกรณ์ต่าง ๆ ซ่ึงแม้ว่าจะยังไม่ต้องใช้เม่ือเริ่มการโจมตี ปลอดภยั ประสทิ ธผิ ลและศกั ยภาพของกจิ กรรมขา่ วกรอง แตต่ อ้ งการเพอื่ สนบั สนนุ และด�ำ รงการโจมตี เพอื่ ทจี่ ะบรรลุ ทเ่ี ปน็ อยหู่ รอื วางแผนไว้ ตามความมุ่งหมายนี้ ตามปกติจะต้องการให้ส่งเข้ามาใน ๒. การวนิ จิ ฉยั : การวินิจฉยั เจตนา คณุ สมบัติ บริเวณที่หมายไม่ช้ากว่า ๕ วัน หลังจากเริ่มการโจมตี และคุณลักษณะของลูกจ้างหรือสายลับในปัจจุบันหรือ ยกพลขนึ้ บก เรียกวา่ AFOE ดว้ ย อนาคต assault phase asset (intelligence) ขน้ั การโจมตี ขุมก�ำ ลงั (การขา่ วกรอง) ๑. ในการยทุ ธสะเทินนำ้�สะเทนิ บก คอื ห้วงเวลา ทรัพยากรใดๆ : บุคคล กลมุ่ บคุ คล ความสมั พนั ธ์ ตั้งแต่กำ�ลังรบโจมตีส่วนใหญ่ของกำ�ลังรบเฉพาะกิจ เครอ่ื งมอื สถานทต่ี งั้ หรอื การสง่ ก�ำ ลงั ทอ่ี ยใู่ นความควบคมุ สะเทินน้ำ�สะเทินบกมาถึงพ้ืนที่ที่หมาย จนถึงการบรรลุ ของหน่วยข่าวกรองสำ�หรับใช้ในบทบาทการปฏิบัติ หรือ ภารกิจของกำ�ลงั รบเฉพาะกิจสะเทนิ น้ำ�สะเทินบก การสนับสนุน มักใช้กับศพั ทท์ ม่ี าขยาย เชน่ ขมุ กำ�ลังของ สายลบั ขมุ กำ�ลังการโฆษณาชวนเชือ่ เปน็ ตน้

26 A assign at sea ในทะเล ๑. การบรรจุ : การบรรจุหนว่ ยตา่ ง ๆ หรอื กำ�ลงั พลไว้ ในหน่วยงานซึ่งเป็นการบรรจุที่ค่อนข้างถาวร กอปรด้วยพ้นื ที่ในทะเล ดงั น:้ี น่านนำ้�ภายในของ และ/หรือเม่ือหน่วยนั้นจะควบคุม และดำ�เนินการทาง ต่างประเทศ น่านนำ้�หมู่เกาะและทะเลอาณาเขตของ ธุรการให้แก่หน่วยหรือกำ�ลังพลเหล่าน้ัน เพื่อการปฏิบัติ ต่างประเทศ เขตต่อเน่อื งของตา่ งประเทศ เขตเศรษฐกิจ พนั ธกิจหลักหรอื สว่ นใหญ่ของพนั ธกจิ ตา่ ง ๆ ของหนว่ ย จ�ำ เพาะของตา่ งประเทศ ทะเลหลวง รวมทง้ั เขตเศรษฐกจิ หรอื ก�ำ ลงั พลน้ัน จ�ำ เพาะ ทะเลอาณาเขต และนา่ นน�ำ้ ภายในของสหรฐั อเมรกิ า ๒. การมอบหมาย : การมอบหมายหน้าที่หรือ attach พันธกิจเฉพาะให้แก่แต่ละบุคคลโดยท่ีหน้าท่ีหรือพันธกิจ ขึ้นสมทบ เหลา่ นน้ั เปน็ งานหลัก และ/หรือคอ่ นขา้ งถาวร ดู attach ด้วย ๑. การบรรจหุ นว่ ยตา่ ง ๆ หรอื ก�ำ ลงั พลลงในหนว่ ย การจัดหน่งึ ซ่ึงเปน็ การบรรจทุ ี่คอ่ นขา้ งชว่ั คราว assistance in kind ๒. การมอบหมายพันธกิจเฉพาะให้แต่ละบุคคล ความชว่ ยเหลอื ตามประเภท ซึ่งพันธกิจเช่นน้ันเป็นพันธกิจรองหรือค่อนข้างช่ัวคราว เชน่ ขนึ้ สมทบเพอ่ื ใหเ้ ขา้ อยู่ในทพ่ี กั และรบั เสบยี งหรอื ขนึ้ การช่วยเหลือโดยการสนับสนุนส่ิงอุปกรณ์และ สมทบเพอื่ ให้ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีการบนิ การบริการ เพ่ือการแลกเปล่ียนทางการส่งกำ�ลังบำ�รุง ดู assign ด้วย ด้วยสิ่งอุปกรณ์และการบริการ ที่มีมูลค่าเท่ากันระหว่าง รัฐบาลของประเทศท่ีมีสิทธ์ิ จะได้รับความช่วยเหลือ attack assessment เรยี กว่า AIK ดว้ ย การประเมินการโจมตี assumption การประเมินค่าข่าวสารเพ่ือพิจารณาศักยภาพหรอื สมมุติฐาน ลกั ษณะทแ่ี ทจ้ รงิ และวตั ถปุ ระสงคข์ องการโจมตดี ว้ ยความ ข้อสมมุติในสถานการณ์ปัจจุบันหรือข้อสมมุติ มุ่งหมายในการใหข้ ่าวสารเพอ่ื การตกลงใจท่ีทันเวลา ล่วงหน้าเก่ียวกับหนทางในอนาคตอย่างใดอย่างหน่ึงหรือ ดู damage estimation ดว้ ย ทั้งสองอย่าง ท่ีถือว่าเป็นจริงตราบที่ยังไม่มีการพิสูจน์ ได้แน่ชัด แต่เป็นส่ิงจำ�เป็นสำ�หรับทำ�ให้ผู้บังคับบัญชา attack group สามารถประมาณสถานการณ์และตกลงใจเลือกหนทาง หมวดเรือโจมตี ปฏบิ ตั ิได้ในกรรมวธิ กี ารวางแผน หนว่ ยเฉพาะกจิ รองของก�ำลงั รบทางเรอื ของก�ำลงั atmospheric environment รบเฉพาะกิจสะเทินน�้ำสะเทินบก หน่วยเฉพาะกิจรองนี้ บรรยากาศแวดลอ้ ม ประกอบด้วย หน่วยเรือล�ำเลียงโจมตีและหน่วยเรือ สนับสนุนต่าง ๆ ที่ก�ำหนดขึ้นเพ่ือล�ำเลียง คุ้มกัน อากาศทห่ี อ่ หมุ้ และลอ้ มรอบโลก รวมทงั้ สว่ นทเี่ ปน็ สง่ ขนึ้ บก และสนับสนนุ ในขน้ั ต้นแกพ่ วกยกพลข้นึ บก เขตร่วมและส่วนท่ีมีปฏิกิริยากับผิวพ้ืนแข็งหรือเหลว ของโลกดว้ ย attack heading ทิศหวั เครื่องโจมตี atomic weapon อาวธุ ปรมาณู ๑. ทิศหัวเคร่ืองของเคร่ืองบินสกัดกั้นในระหว่าง ข้นั โจมตี ซึ่งจะทำ�ใหเ้ กดิ มุมแทรค็ ตดั กันทต่ี อ้ งการ ดู nuclear weapon ๒. ทิศหัวเคร่ืองตามเข็มทิศแม่เหล็กที่ก�ำหนด ให้อากาศยานท�ำการบนิ ในระหวา่ งขน้ั การใชอ้ าวธุ ของการ โจมตีทางอากาศ

27 attack pattern ๔. ในการปฏิบัติการเล็ดลอดและการรับกลับ A รูปแบบการโจมตี หมายถึง กรรมวิธใี นการพิสูจนท์ ราบของผเู้ ล็ดลอดไดร้ ับ การยนื ยัน ประเภทและการกระจายของเป้าหมายท่ีจะโจมตี ดู evader; evasion; security ด้วย เรียกว่า target pattern ดว้ ย ดู attack assessment ดว้ ย authenticator ตวั รบั รองฝ่าย attack position ท่ีเตรยี มพรอ้ ม, ต�ำ บลออกตี สัญลักษณ์ตัวหน่ึงหรือกลุ่มสัญลักษณ์หรือชุด ของบติ ที่ไดเ้ ลือกไว้หรือจัดไว้ล่วงหนา้ ตามปกตจิ ะแทรก ที่ตั้งสุดท้ายที่ส่วนโจมตีเข้าไปอยู่ก่อนการผ่าน เข้าไปในขา่ ว หรือการส่งคล่นื ณ จดุ ท่ีได้กำ�หนดไวก้ ่อน แนวออกตี โดยมีความมุ่งหมายเพ่ือพิสูจน์ความถูกต้องของข่าวหรือ คล่นื ทส่ี ่งมา attack timing ก�ำ หนดเวลาโจมตี authorized departure การออกจากทีต่ ้ังโดยไดร้ บั การอนมุ ตั ิ เวลาที่คาดคะเนไว้หรือเวลาจริงของการระเบิด การกระทบ หรอื การไปถงึ ของอาวธุ ณ เปา้ หมายทตี่ อ้ งการ ระเบียบปฏิบัติที่มิใช่การออกจากที่ตั้งโดยมีคำ�สั่ง โจมตี ซึ่งอนุญาตให้ลูกจ้างหรือผู้อยู่ในความดูแลหรือ ทั้งสอง ประเภท ออกจากท่ีตั้งก่อนการหมุนเวียนปกติ เมื่อเป็น augmentation forces เรอื่ งเกย่ี วกบั ผลประโยชนแ์ หง่ ชาติ หรอื ภยั คกุ คามตอ่ ชวี ติ ก�ำ ลังเพม่ิ เตมิ automated identification technology กำ�ลังท่ีผู้บัญชาการที่ให้การสนับสนุนจะมอบให้ เทคโนโลยีการพิสูจนท์ ราบโดยอัตโนมตั ิ อยู่ในการบังคับบัญชา หรือการควบคุมทางยุทธการของ ผู้บัญชาการท่ีรับการสนับสนุนในระหว่างการปฏิบัติตาม ชดุ เคร่ืองมอื อ�ำนวยความสะดวกในการเกบ็ และ คำ�ส่งั ยุทธการทอ่ี นุมัตโิ ดยคณะผบู้ ญั ชาการแห่งชาติ ถา่ ยโอนขอ้ มลู เดมิ ในการตดิ ตามขอ้ มลู สถานภาพสนิ ทรพั ย์ ทั้งมวล เทคโนโลยีการพิสูจน์ทราบโดยอัตโนมัติรวมถึง authenticate กลอปุ กรณต์ า่ ง ๆ เชน่ รหสั แทง่ แถบแมเ่ หลก็ การด์ ความ รบั รองฝา่ ย จ�ำอ่านด้วยแสง และปา้ ยความถวี่ ทิ ยุ ที่ใชท้ �ำเครอ่ื งหมาย หรอื ตดิ ปา้ ยวสั ดแุ ตล่ ะรายการ หบี หอ่ บรรจหุ ลายชน้ิ บรภิ ณั ฑ์ การถามด้วยคำ�พูด หรือเครื่องมือทางไฟฟ้าเพ่ือ ฐานรองพัสดทุ างอากาศ หรือต้คู อนเทนเนอร์ พรอ้ มด้วย พิสูจน์ความเชือ่ ถือได้ของข่าวหรอื การสง่ ขา่ ว ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ต้องใช้ในการสร้างกลอุปกรณ์ อ่านข่าวสารท่ีปรากฏอยู่บนกลอุปกรณ์เหล่านี้และรวม authentication ขา่ วสารนน้ั กบั ขา่ วสารดา้ นการสง่ ก�ำลงั บ�ำรงุ อน่ื ๆ การรวม การรบั รองฝ่าย, การรบั รองเอกสาร เทคโนโลยกี ารพสิ จู นท์ ราบโดยอตั โนมตั เิ ขา้ กบั ระบบขา่ วสาร ดา้ นการสง่ ก�ำลงั บ�ำรงุ มคี วามส�ำคญั ตอ่ ความเพยี รพยายาม ๑. มาตรการรกั ษาความปลอดภยั ทกี่ �ำ หนดขนึ้ เพอ่ื ในการติดตามข้อมูลสถานภาพสินทรัพย์ท้ังมวลของ ปอ้ งกนั ระบบการสอื่ สารใหพ้ น้ จากการรบั การสง่ ขา่ วหลอก กระทรวงกลาโหม เรียกวา่ AIT ด้วย หรือการปลอมแปลงโดยการกำ�หนดเกณฑ์ความถูกต้อง ของการส่งขา่ ว ขา่ ว หรือหน่วยต้นข่าว ๒. วธิ ีการพิสูจน์ฝ่าย และสอบถามระหวา่ งบคุ คล เพื่อรับข่าวประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะ ๓. หลักฐานเป็นลายมือช่ือหรือลายประทับตรา อันถูกต้อง แสดงว่าเปน็ เอกสารแท้จริง และเป็นทางการ

28 A Automated Repatriation Reporting System avenue of approach ระบบการรายงานการกลบั สถู่ น่ิ เดมิ โดยอตั โนมตั ิ แนวทางเคลอ่ื นท่ี ศนู ยข์ อ้ มลู ก�ำ ลงั คนกลาโหมใชร้ ะบบนใ้ี นการตดิ ตาม เส้นทางในอากาศหรือบนพ้ืนดินของกำ�ลังรบ สถานภาพของผู้ถูกอพยพท่ีไม่มีหน้าที่ทำ�การรบหลังจาก ขนาดหนึ่งท่ีทำ�การเข้าตี จะใช้เป็นแนวทางเพื่อมุ่งไปสู่ที่ ท่มี าถงึ พื้นทีป่ ลอดภยั ขน้ั ตน้ ในสหรัฐอเมรกิ า หมายหรอื ภูมิประเทศสำ�คญั automatic approach and landing aviation medicine การบินเข้าและลงสู่พ้ืนโดยอตั โนมตั ิ เวชศาสตร์การบนิ วิธีควบคุมวิธีหน่ึงซ่ึงความเร็วและวิถีบินของ สาขาพิเศษของเวชศาสตร์ ท่ีเกี่ยวกับปัญหาทาง อากาศยานจะถูกควบคุมโดยอัตโนมัติในการบินเข้า การ ชวี ะและจติ วทิ ยาของการบนิ เงยตัวและการลงสูพ่ ้ืน aviation ship – automation network เรือบรรทกุ อากาศยาน ข่ายงานอตั โนมัติ เรอื บรรทกุ อากาศยาน ขา่ ยงานอตั โนมตั ริ วมกลไกอปุ กรณท์ งั้ หมดท่ีใช้ใน ดู air-capable ship; amphibious aviation การรวบรวมขา่ วสาร เทคโนโลยกี ารพสิ จู นท์ ราบโดยอตั โนมตั ิ assault ship ด้วย และระบบขา่ วสารอตั โนมตั ิ ซงึ่ สนบั สนนุ หรอื อ�ำ นวยความ สะดวกในการรบั ของ การพกั รอการเคลอื่ นยา้ ยตอ่ ไป และ axis of advance การสนธกิ ระบวนการ เส้นหลักการรุก ดู automated identification technology; joint reception, staging, onward movement, and เส้นทางรุกที่กำ�หนดข้ึนเพ่ือความมุ่งหมายในการ integration ด้วย ควบคุม ซึ่งมักจะเป็นถนนเส้นหน่ึงหรือหลายเส้น หรือ ลำ�ดับที่ต้งั ต่าง ๆ ทกี่ ำ�หนดขน้ึ ในทศิ ทางไปสูข่ า้ ศกึ autonomous operation การปฏบิ ัติการเปน็ อิสระ azimuth อะซมิ ุท, ภาคทิศ ในการป้องกันภัยทางอากาศ หมายถึง วิธีปฏิบัติ การท่ีหน่วยหนึ่งเข้ารับผิดชอบภายหลังที่หน่วยน้ันขาด ขนาดของมุมที่จะมีจำ�นวนเป็นบวกเมื่อเพิ่มขึ้นใน การสื่อสารโดยส้ินเชิงกับหน่วยเหนือผู้บังคับหน่วยจะ ทิศทางตามเข็มนาฬิกา หรือในพิกัดเอ็กซ์วาย ซ่ึงทิศใต้ เข้ารับผิดชอบอย่างเต็มที่ในการควบคุมอาวุธ และการ และทิศตะวันตกจะมีค่าเป็นลบ ขนาดของมุมอาจอ้างถึง เขา้ ท�ำการยิงตอ่ เป้าหมายทเ่ี ป็นข้าศึก ทิเศเหนือจริงหรือทิศเหนือแม่เหล็กก็ได้ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับ ระบบอาวุธเฉพาะที่ใช้ available-to-load date วันพรอ้ มบรรทุก วันท่ีซึ่งกำ�หนดไว้สำ�หรับแต่ละหน่วยในข้อมูล กำ�ลังรบและการวางกำ�ลังตามขั้นเวลา เพ่ือช้ีบอกว่า เมื่อใดหนว่ ยน้ันพร้อมท่ีจะบรรทุก ณ จดุ ขนขนึ้ เรียกวา่ ALD ด้วย

2๙ backfill ดู guided missile ด้วย B การบรรจุทดแทน ballistic missile early warning system หน่วยก�าลังส�ารองและก�าลังพลส�ารองที่ถูก ระบบแจง้ เตือนลว่ งหนา้ ขปี นาวธุ เรียกพล เพ่ือทดแทนหน่วยและ/หรอื กา� ลังพลประจ�าการ ท่ีกา� ลงั ปฏิบัตหิ นา้ ทีท่ ัง้ ในและนอกภาคพื้นทวีปสหรฐั ฯ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ตรวจหาและแจ้งเตือน ด ู Reserve Components ดว้ ย ล่วงหน้าให้ทราบถึงการโจมตีด้วยขีปนาวุธข้ามทวีปของ ขา้ ศึกเรียกว่า BMEWS ดว้ ย background count ปรมิ าณรังสีพ้นื ฐาน ballistic wind ลมขีปนวถิ ี หลกั ฐานหรอื ผลทป่ี รากฏในเครอื่ งตรวจวดั การแผร่ งั สี อนั เกดิ จากการแผร่ งั สพี นื้ ฐาน ในดา้ นทเี่ กยี่ วกบั การปอ้ งกนั กระแสลมคงที่ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อวิถีของ สุขภาพน้ัน ปริมาณรังสีพ้ืนฐานรวมถึงแต่ไม่จ�ากัดเฉพาะ ลกู ระเบดิ หรอื โปรเจค็ ไตล ์ เชน่ เดยี วกบั กระแสลมทป่ี ะทะ การแผ่รังสีท่ีเป็นผลจากกัมมันตรังสีคอสมิกท่ีเกิดขึ้น ขณะท่ีลกู ระเบดิ หรอื โปรเจ็คไตล์นัน้ ผ่านไป ตามธรรมชาต ิ balloon barrage backshore ฉากบัลลูน พ้นื ที่หลังฝงั ด ู barrage, ขอ้ ๒ พื้นที่ของหาดต่อจากแนวฟองน้�าขึ้นสูงสุดจนถึง เนินทราย หรอื ขอบในสดุ ของหาด bar สนั ดอน backwash กระแสน้�าไหลกลับ สันหรอื เนินของทราย กรวด หรอื โคลน ทจ่ี มอยู่ ใต้น้�าหรอื โผลข่ ้ึนมาเหนอื น้�าบรเิ วณเขตนา�้ ตน้ื ซึ่งเกดิ ขนึ้ ชน้ั นา้� ทร่ี าบเรยี บ ท่ีไหลยอ้ นกลบั ตามพนื้ ทอ้ งทะเล จากคลน่ื และกระแสนา้� สนั ดอนอาจประกอบไปดว้ ยเปลอื ก จากชายหาดผ่านเขตคลื่น เกิดจากการสะสมของน�้าบน แข็งของสตั วน์ �้า ชายหาด ซงึ่ เกิดจากคล่ืนหวั แตกท่ซี ัดเขา้ ฝง่ั bare base bale cubic capacity ฐานทพั ส�ารอง ความจุเปน็ ลูกบาศกเ์ บล ฐานทัพซึ่งมีสิ่งอ�านวยความสะดวกเท่าท่ีจ�าเป็น ระวางส�าหรับบรรทุกสินค้าท่ีวัดเป็นลูกบาศก์ฟุต เพ่ือการดา� รงความต่อเนือ่ ง และสนบั สนุนการปฏบิ ัติการ จากด้านในของไม้กันระวางสินค้า กงเรือและด้านใต้ของ รวมทงั้ ทางวงิ่ ทางขบั และลานจอดอากาศยาน ถา้ ตอ้ งการ ขื่อในการบรรทุกสินค้าทั่วไปที่มีสินค้าหลายประเภทอยู่ จะตอ้ งมแี หลง่ นา้� ซง่ึ ใชบ้ รโิ ภคได ้ สง่ิ ทต่ี อ้ งการอน่ื ๆ สา� หรบั รวมกัน จะวัดเป็นลูกบาศก์เบล การบรรทุกสินค้าผสมน้ ี ฐานทพั ส�ารองกค็ อื จะตอ้ งมกี า� ลังทหารทพี่ อเพียง ในการ จะวางสินค้าให้แตะกับไม้กันระวางสินค้าเท่านั้น และ ปฏบิ ัตงิ าน ตามกฎท่วั ไปจะไม่วางสนิ คา้ ล้�าจนแตะผนงั เหล็กตัวเรือ ดู base ดว้ ย ballistic missile barge ขปี นาวธุ เรือท้องแบน อาวธุ ปลอ่ ยใด ๆ ทไี่ มต่ อ้ งอาศยั ผวิ พน้ื อากาศพลวตั เรือท้องแบนที่กินน้�าตื้น แบบไม่มีโครงสร้างส่วน เพ่ือท�าให้เกิดแรงยกและจะเคลื่อนที่ต่อไปตามขีปนวิถี บน ใชส้ า� หรบั ลา� เลยี งสมั ภาระและเปน็ ทเ่ี กบ็ สมั ภาระของ ภายหลงั จากที่แรงขับดนั ไดห้ มดลงแลว้ เรอื ใหญ่หรือใช้เอนกประสงค์ ดู watercraft ด้วย

30 barrage ดู combat air patrol ดว้ ย B ฉาก barrier, obstacle, and mine warfare plan ๑. ฉากการยิงกั้นกางท่ีเตรียมไว้ล่วงหน้าท่ีมิใช่ แผนฉากขัดขวาง เครื่องกดี ขวาง และสงคราม การยงิ จากปนื เลก็ ซงึ่ วางไวป้ อ้ งกนั หนว่ ยทหารและสถานท่ี ท่นุ ระเบิด ตั้งฝ่ายเดียวกัน โดยขัดขวางการเคล่ือนที่ของข้าศึกมิให้ ผา่ นแนวหรอื พ้ืนทตี่ ัง้ รับ แผนที่ประสานกันเป็นแผนรวม ว่าด้วยความ ๒. ม่านบัลลูนคุ้มครอง ที่ผูกไว้กับพ้ืนดินและให้ รับผิดชอบที่ต้ังโดยท่ัวไปของฉากขัดขวางท่ีไม่ระบุชนิด ลอยอยู่ในความสูงท่ีก�ำหนดไว้ เพ่ือป้องกันหรือขัดขวาง และระบุชนิด เครื่องกีดขวาง และสนามทุ่นระเบิด การปฏิบัติการของอากาศยานข้าศึก ตามความหมายน้ี ค�ำแนะน�ำพิเศษ ข้อจ�ำกัด การประสานงาน และเวลาท่ี เรยี ก ฉากบัลลนู ด้วย เสร็จสมบูรณ์ แผนที่อาจระบุสถานท่ี ซึ่งเป็นเขตหรือ แนวของเครอื่ งกดี ขวาง ตามปกตแิ ผนทนี่ จี้ ดั ทำ� เปน็ ผนวก ๓. การโจมตที างอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ บบหนงึ่ ทป่ี ระสงค์ ประกอบแผนการทัพ แผนยทุ ธการ หรอื ค�ำสงั่ ยทุ ธการ จะกอ่ กวนพรอ้ มกนั ทวั่ ยา่ นความถ่ีที่กว้างมาก ดู barrage jamming; electronic warfare; base fires ด้วย ๑. ฐาน : ตำ�บลทซี่ ง่ึ การปฏบิ ตั กิ ารจะไดร้ บั แผข่ ยาย หรือได้รบั การสนบั สนุน barrage jamming ๒. ฐานทัพ : พ้นื ที่ตำ�บลซ่งึ มีสถานที่ต้งั ต่าง ๆ ที่ การกอ่ กวนเป็นฉาก ให้การสนับสนุนทางการส่งกำ�ลังบำ�รุงหรือการสนับสนุน การก่อกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้าพร้อมกันทั่วย่าน อ่ืน ๆ ความถีก่ ว้าง ดู establishment ดว้ ย ดู jamming ด้วย ๓. ฐานบิน (เฉพาะ กห.) : สนามบนิ หรอื เรอื บรรทกุ เคร่ืองบินท่ีเปน็ ที่ต้งั หนว่ ย barrier ดู base of operations; facility ด้วย ฉากขดั ขวาง base boundary ชุดของเคร่ืองกีดขวางท่ีมีการประสานกัน ซ่ึง เสน้ แบ่งเขตฐานที่ตงั้ /เสน้ ขอบฐาน ออกแบบไวห้ รอื ใชเ้ พอ่ื บบี บงั คบั แนวทาง นำ� ทาง จำ� กดั รงั้ หนว่ งหรอื ยบั ยง้ั การเคลอื่ นทขี่ องกำ� ลงั รบฝา่ ยตรงขา้ ม และ เสน้ ทก่ี ำ� หนดขอบเขตของฐานทต่ี ง้ั เพอื่ ใหเ้ กดิ ความ ท�ำให้เกิดการสูญเสียก�ำลังพล เวลา และยุทธภัณฑ์ สะดวกในการประสานงานและขจัดความขัดแย้งในการ แก่กำ� ลงั รบฝ่ายตรงข้ามเพมิ่ มากขึน้ ฉากขดั ขวางอาจเกิด ปฏบิ ัตกิ ารระหวา่ งหนว่ ย รปู ขบวน หรอื พน้ื ทขี่ ้างเคยี ง ขน้ึ ตามธรรมชาตหิ รอื เปน็ สง่ิ ทมี่ นษุ ยท์ ำ� ขน้ึ หรอื ทงั้ สองอยา่ ง ประกอบกนั base cluster กลุ่มฐานทพั barrier combat air patrol การบินรบรักษาเขตเป็นฉากขดั ขวาง ในการปอ้ งกนั ฐานทพั หมายถงึ ฐานทพั จำ� นวนหนงึ่ ซงึ่ จดั รวมกนั เปน็ กลมุ่ ตามสภาพภมู ศิ าสตร์ เพอ่ื การปอ้ งกนั กองพลบินหรือหน่วยอากาศยานขับไล่ต้ังแต่หน่ึง ร่วมกนั และสะดวกตอ่ การบงั คบั บญั ชาและการควบคมุ หน่วยข้ึนไปท่ีใช้เป็นฉากขัดขวางการโจมตีของข้าศึกใน ทิศทางท่ีน่าจะเป็นระหวา่ งก�ำลังรบกับพ้นื ที่ ทหี่ มายกำ� ลัง base cluster commander ทางอากาศนจ้ี ะใชอ้ ยเู่ มอื่ อยหู่ า่ งจากกำ� ลงั รบนนั้ เทา่ ทส่ี ภาพ ผู้บัญชาการกลมุ่ ฐานทพั การควบคมุ จะอำ� นวยให้ เพอ่ื เพมิ่ การคมุ้ ครองจากการจ่โู จม ท่ีใช้แนวทางเคลอ่ื นที่ทตี่ รงท่สี ดุ ในการปอ้ งกันฐานทัพ หมายถงึ นายทหารอาวโุ ส ในกลุ่มฐานทัพ (ยกเว้น แพทย์ อนุศาสนาจารย์ และ

31 ผู้บังคับหน่วยส่งผ่าน) ซึ่งรับผิดชอบในการประสาน ศนู ยร์ วมสำ� หรบั ความรกั ษาความปลอดภยั และการปอ้ งกนั B การป้องกันฐานทัพในกลุ่มฐานทัพ และผสมผสาน ในพน้ื ทกี่ บั ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารพทิ กั ษพ์ นื้ ทส่ี ว่ นหลงั /ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิ แผนการป้องกันฐานทัพต่างๆ เป็นแผนการป้องกัน การทางยทุ ธวธิ ีส่วนหลังเรยี กวา่ BDOC ด้วย กลมุ่ ฐานทัพแผนเดยี ว base defense zone base cluster operations center เขตปอ้ งกนั ฐานทพั ศนู ยป์ ฏบิ ัติการกลมุ่ ฐานทพั เขตป้องกันทางอากาศที่ก�ำหนดข้ึนรอบฐานทัพ ศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มฐานทัพ หมายถึง ส่ิงอ�ำนวย อากาศและจำ� กดั เขตถงึ ระยะการยงิ คมุ้ กนั ของระบบ อาวธุ ความสะดวกในการบังคับบัญชาและควบคุม ซ่ึงเป็น ป้องกันทางอากาศระยะต�่ำในการป้องกันฐานทัพน้ัน ศนู ยร์ วมในการปอ้ งกนั และรกั ษาความปลอดภยั กลมุ่ ฐานทพั เขตปอ้ งกันฐานทัพน้มี ีทางเขา้ และออกโดยเฉพาะ และมี ของผู้บงั คบั บญั ชาการกลุ่มฐานทัพ เรียกวา่ BCOC ดว้ ย ระบบพสิ จู นฝ์ ่าย เรยี กวา่ BDZ ดว้ ย base command base development (less force beddown) หนว่ ยบัญชาการฐานทพั การพัฒนาฐานทัพ (ไมร่ วมถงึ ท่พี ักทหาร) พ้ืนท่ีซ่ึงมีฐานทัพทางทหารแห่งหนึ่งหรือกลุ่มของ การจดั หา การพฒั นา การขยาย การปรบั ปรุง และ ฐานทพั ท่ีจดั ขึ้นอยภู่ ายใตผ้ ู้บังคบั บัญชาคนเดยี ว การกอ่ สรา้ ง และ/หรอื การทดแทนสง่ิ อำ� นวยความสะดวก ดู command ดว้ ย และทรัพยากรของพ้ืนที่หรือสถานท่ีตั้ง เพ่ือสนับสนุน ก�ำลังรบท่ีใช้ ในการปฏิบัติการทางทหารหรือที่วางก�ำลัง base defense โดยสอดคลอ้ งกับแผนยทุ ธศาสตร์ การปอ้ งกันฐานทพั base line มาตรการทางทหารในท้องถ่ิน ท้ังยามปกติและ เส้นฐาน ยามฉกุ เฉนิ ซง่ึ ต้องการใช้เพ่ือลบล้างหรอื ลดประสทิ ธผิ ล ในการโจมตี หรอื การกอ่ วนิ าศกรรมของข้าศึกตอ่ ฐานทัพ ๑. การสำ� รวจ : เสน้ ที่ได้มกี ารส�ำรวจดว้ ยความ ท�ำให้ม่ันใจว่าจะมีความสามารถสูงสุดของส่ิงอ�ำนวย แน่นอนกว่าปกติ ซึ่งการส�ำรวจเพื่อหาพิกัดและการสอบ ความสะดวกในฐานทพั ใหแ้ ก่ก�ำลังรบของสหรัฐฯ ใช้ได้ เทียบจะเช่ือมโยงกบั เส้นน้ี ๒. โฟโตแกรมเมตรี : เส้นระหว่างจุดหลักของ base defense forces ภาพถ่ายทางอากาศแนวดิง่ สองรูปตอ่ เนอ่ื งกนั โดยมักจะ กองกำ� ลงั ป้องกันฐานทัพ วดั บนภาพถ่ายภาพหนึง่ ภายหลงั ท่ีได้ถ่ายจุดหลกั จากอีก ภาพหนง่ึ มาลงไวแ้ ลว้ กองทหารซ่ึงได้รับการบรรจุมอบหรือข้ึนสมทบ ๓. ระบบการเดินหนด้วยวิทยุ : เส้นโค้งส่วน ต่อฐานทัพแห่งหนึ่งโดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพ่ือป้องกัน ท่ีส้ันกว่าของเส้นโค้งวงใหญ่ ซึ่งเช่ือมสถานีส่งวิทยุ และรักษาความปลอดภัยให้แก่ฐานทัพ รวมท้ังก�ำลังพล สองสถานีในระบบการเดินหน เพมิ่ เตมิ และกำ� ลงั พลตดิ อาวธุ ทผี่ บู้ ญั ชาการฐานทพั สามารถ ๔. การสามเหลยี่ ม : ดา้ นของสามเหลี่ยมรูปหนง่ึ ใช้ ได้ในการป้องกันฐานทัพจากหน่วยท่ีมีภารกิจหลัก ในหลายรปู ทสี่ มั พนั ธก์ นั ซง่ึ ความยาวของดา้ นนหี้ าไดด้ ว้ ย นอกเหนอื จากการปอ้ งกันฐานทัพ การวดั โดยมีความถูกตอ้ งและความประณีตตามเกณฑ์ท่ี กำ� หนด และจากความยาวของด้านน้ี ความยาวของดา้ น base defense operation center อน่ื กห็ ามาได้ด้วยการค�ำนวณ ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการป้องกันฐานทพั ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกในการบังคับบัญชาและ ควบคุม ซึ่งผู้บัญชาการฐานทัพจัดตั้งข้ึน เพื่อใช้เป็น

32 baseline costs basic load – (*) B คา่ ใชจ้ ่ายพ้นื ฐาน อตั รามูลฐาน คา่ ใชจ้ า่ ยตอ่ เนอื่ งประจำ� ปขี องงบประมาณทางทหาร ปรมิ าณสง่ิ อปุ กรณ์ ซง่ึ ตอ้ งการใหม้ ีไว้ และสามารถ โดยใช้งบปฏิบัติการและซ่อมบ�ำรุง และงบบุคลากร นำ� ไปได้โดยหนว่ ย หรอื รปู ขบวน ปรมิ าณนจี้ ะระบตุ ามการ ทางทหาร จัดหน่วยหรือขบวนในเวลาสงคราม และจะต้องด�ำรงไว้ ณ ระดับทกี่ �ำหนดไว้ base plan แผนมลู ฐาน basic tactical organization ในบริบทของการวางแผนการยุทธร่วมระดับ ๒ การจัดหนว่ ยทางยุทธวิธมี ลู ฐาน แผนมลู ฐานเปน็ แผนยทุ ธการชนดิ หนง่ึ ทอี่ ธบิ ายแนวความ การจัดหน่วยก�ำลังรบยกพลข้ึนบกตามแบบ คิดในการปฏิบัติก�ำลังรบหลัก แนวความคิดในการด�ำรง เพอื่ ทำ� การรบทเ่ี กย่ี วกบั การผสมทหารราบ กำ� ลงั สนบั สนนุ สภาพการรบ และห้วงเวลาที่คาดว่าจะปฏิบัติภารกิจให้ ทางพนื้ ดนิ และทางอากาศ เพอื่ บรรลภุ ารกจิ บนฝง่ั รปู การ สำ� เร็จลลุ ่วง โดยปกติไมร่ วมถงึ ผนวกหรือขอ้ มูลกำ� ลงั รบ จดั แบบนจ้ี ะใช้ในโอกาสแรกทที่ ำ� ไดห้ ลงั จากการขนึ้ บกของ และการวางกำ� ลงั ตามขั้นเวลา สว่ นโจมตีตา่ ง ๆ ของก�ำลงั รบยกพลข้ึนบก base support installation battalion landing team ท่ตี ง้ั ฐานการสนับสนุน กองพันผสมยกพลข้นึ บก ทต่ี งั้ ขององคก์ รหรอื เหลา่ ทพั ของกระทรวงกลาโหม ในการยุทธสะเทินน้�ำสะเทินบกกองพันทหารราบ ภายในสหรัฐอเมริกา รวมถึงดินแดนในครอบครองและ ซ่ึงตามปกติจะได้รับการเพ่ิมเติมก�ำลังโดยส่วนรบ และ อาณาเขต ซ่ึงก�ำหนดให้ใช้เป็นฐานส�ำหรับกองก�ำลัง ส่วนบริการที่จ�ำเป็น เป็นหน่วยหลักส�ำหรับการวางแผน ทางทหาร ทีป่ ฏิบัตกิ ารในการปอ้ งกนั มาตภุ ูมิ หรอื ในการ การโจมตยี กพลขนึ้ บก เรียกวา่ BLT ดว้ ย สนบั สนุนด้านพลเรือน เรยี กว่า BSI ดว้ ย battle damage assessment base surge การประเมนิ ความเสียหายในการรบ ระลอกจากฐาน การประเมนิ ความเสยี หาย ซง่ึ เกดิ จากการใชก้ ำ� ลงั กลุ่มละอองที่ม้วนกระจายออกจากฐานล�ำ ซ่ึง ทหารตอ่ เปา้ หมายทกี่ ำ� หนดไวล้ ว่ งหนา้ ไมว่ า่ ความเสยี หาย เกิดจากการระเบิดใต้ผิวพื้นของอาวุธนิวเคลียร์ ในการ นั้นจะเป็นอันตรายต่อชีวิตหรือไม่ เป็นการประเมิน ระเบิดใต้ผิวน�้ำ ระลอกก็คือกลุ่มละอองของหยาดน้�ำ ความเสียหายอย่างถูกต้องและทันเวลา การประเมิน ซึ่งมีคุณสมบัติในการไหล เหมือนกับเป็นการไหล ความเสียหายในการรบน้ี สามารถประยุกต์ใช้กับระบบ เน้ือเดียวกันในการระเบิดใต้พ้ืนดิน ระลอกจะประกอบ อาวุธทุกชนิด (ระบบอาวุธทางอากาศ บก เรือ และรบ ดว้ ยอนุภาคของของแข็งขนาดเลก็ แต่ยงั มีลกั ษณะคล้าย พิเศษ) ทุกการปฏิบัติการทางทหาร การประเมินความ ของเหลว เสียหายในการรบ เป็นความรับผิดชอบทางด้านการข่าว ซ่ึงต้องการข้อมูลและการประสานงาน จากผู้ปฏิบัติ basic encyclopedia การประเมินความเสียหายในการรบนี้ประกอบด้วย สารานกุ รมมลู ฐาน การประเมินความเสียหายทางกายภาพ การประเมิน ความเสยี หายทางพนั ธกจิ และการประเมนิ ระบบเปา้ หมาย การรวบรวมสถานทต่ี งั้ ทพ่ี สิ จู นท์ ราบแลว้ และพนื้ ท่ี เรยี กวา่ BDA ดว้ ย ทางกายภาพ ซ่ึงน่าจะมีความส�ำคัญในฐานะเป็นที่หมาย ดู combat assessment ด้วย เพ่ือการเขา้ ตี เรยี กว่า BE ดว้ ย

33 battle damage repair หรือวัตถุของภูมิประเทศ หรือจนถึงแนวท่ีมีพืชพันธุ์ไม้ B การซ่อมแซมความเสียหายจากการรบ ขน้ึ อยอู่ ย่างถาวร (เส้นขอบฝ่งั ทะเล) ๒. ในการยทุ ธสะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บก หมายถงึ สว่ น การซอ่ มแซมทจี่ ำ� เปน็ ซง่ึ อาจจะตอ้ งกระทำ� ในทนั ที ของแนวฝั่งที่ก�ำหนดไว้ให้หน่วยการจัดทางยุทธวิธีท�ำการ และต้องด�ำเนินการโดยเร่งด่วนในสนามรบ เพื่อให้สิ่ง ยกพลขึน้ บก อปุ กรณท์ เี่ สยี หายหรอื ใชก้ ารไม่ไดก้ ลบั มาใชก้ ารไดช้ วั่ คราว เรียกวา่ BDR ด้วย beach group พวกจดั ระเบียบชายหาด battlefield coordination detachment ส่วนแยกประสานสนามรบ ดู naval beach group; shore party นายทหารบกติดต่อ ซึ่งจัดโดยผู้บัญชาการ beachhead ส่วนก�ำลังทางบกให้แก่ศูนย์ยุทธการทางอากาศและ/หรือ หัวหาด สว่ นกำ� ลงั อน่ื ทกี่ ำ� หนดโดยผบู้ งั คบั บญั ชาการกำ� ลงั รบรว่ ม เพ่ือวางแผน ประสานงาน และลดความขัดแย้งในการ พื้นที่ที่ก�ำหนดข้ึนบนฝั่งข้าศึกหรือท่ีข้าศึกน่าจะ ปฏิบตั ทิ างอากาศ สว่ นแยกประสานสนามรบ ดำ� เนินการ ยึดครอง ซง่ึ เม่ือยึดและรกั ษาไว้ได้แล้วจะตอ้ งมั่นใจไดว้ า่ ตามคำ� ขอของกองทพั บกเกย่ี วกบั การสนบั สนนุ ทางอากาศ ก�ำลังทหาร และยุทโธปกรณ์ สามารถขึ้นบกได้อย่าง ยทุ ธวิธี เฝา้ ตดิ ตามและตีความสถานการณ์การรบทางบก ตอ่ เนอ่ื ง และจะต้องมพี ้นื ที่ด�ำเนนิ กลยทุ ธอ์ ย่างเพยี งพอ ใหแ้ กศ่ นู ยย์ ทุ ธการทางอากาศ และจดั สอื่ ประสานทจ่ี ำ� เปน็ สำ� หรับการปฏิบัตกิ ารบนฝ่งั ของหนว่ ยอนื่ ๆ ตอ่ ไป ในการแลกเปลย่ี นขา่ วกรองปจั จบุ นั และขอ้ มลู ทางยทุ ธการ เรียกวา่ BCD ด้วย beach marker ดู air operations center; liaison ด้วย เคร่อื งหมายหาด battle force เครอ่ื งหมายหรอื อปุ กรณ์ที่ใชเ้ พ่ือแสดงหาด หรือ กองเรือรบ กิจกรรมต่าง ๆ บนหาด เพื่อการจราจรทางน�้ำเข้าสู่หาด เคร่ืองหมายเหล่านี้อาจท�ำเป็นแผ่นผ้า แสง ทุ่น หรือ การจดั กำ� ลงั เฉพาะกจิ ทางเรอื เปน็ ประจำ� เพอื่ ปฏบิ ตั ิ อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การยทุ ธ ประกอบด้วยเรือบรรทกุ เครือ่ งบิน เรอื รบผวิ นำ้� และเรอื ดำ� นำ้� ซง่ึ มอบใหท้ พั เรอื หมายเลขตา่ ง ๆ กองเรอื รบ beachmaster แบ่งยอ่ ยออกเปน็ หมวดเรอื รบหมวดตา่ ง ๆ ผบู้ งั คบั หาด battle rhythm นายทหารเรือซ่ึงมีหน้าท่ีบังคับบัญชา หน่วย จังหวะการรบ บังคับหาดของหมวดจัดระเบียบชายหาดทหารเรือ เรียก ว่า BM ด้วย วงรอบประจำ� วนั อยา่ งประณตี ของสว่ นบงั คบั บญั ชา ฝา่ ยอำ� นวยการ/ฝา่ ยเสนาธกิ ารและกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของหนว่ ย beachmaster unit ที่มุ่งให้เกิดการประสานสอดคล้องของการปฏิบัติการ หน่วยบงั คับหาด ในปัจจบุ ันและอนาคต หนว่ ยทหารเรอื ที่ไดร้ บั มอบหมายหนา้ ทข่ี องหมวด beach จัดระเบียบชายหาดทหารเรือที่ก�ำหนดไว้ เพ่ือจัดให้แก่ หาด หน่วยจัดระเบียบชายฝั่ง ซ่ึงเป็นส่วนของก�ำลังทางเรือ ทเ่ี รยี กวา่ หนว่ ยปฏบิ ตั งิ านชายหาด หนว่ ยนสี้ ามารถใหก้ าร ๑. พ้ืนที่ซึ่งต่อจากแนวฝั่งเข้าไปในผืนแผ่นดิน สนับสนุนการยกพลข้ึนบกสะเทินน�้ำสะเทินบกของหน่ึง จนถงึ แนวทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั ทางลกั ษณะ กองพล (เพม่ิ เติมก�ำลัง) เรยี กวา่ BMU ดว้ ย ดู beach party; naval beach group; shore party ดว้ ย

34 B beach party จากแนวนำ�้ ลงตำ�่ สดุ เขา้ ไปจนถงึ ขอบในสดุ ทางดา้ นแผน่ ดนิ หนว่ ยปฏิบัตงิ านชายหาด ของหาด (เส้นขอบฝั่งทะเล) สว่ นของกำ� ลงั ทางเรอื ของหนว่ ยจดั ระเบยี บชายฝง่ั begin morning civil twilight ดู beachmaster unit; shore party ดว้ ย เวลาเร่มิ แสงทางพลเรือน beach party commander ช่วงเวลาท่ีดวงดาอาทิตย์อยู่คร่ึงทางระหว่างเวลา ผู้บงั คบั หน่วยปฏบิ ตั งิ านชายหาด เร่ิมแสงทางทหารและเวลาที่ดวงอาทิตย์ข้ึน มีแสงสว่าง เพยี งพอทม่ี องเหน็ วตั ถชุ ดั เจนดว้ ยตาเปลา่ ในเวลาดงั กลา่ ว นายทหารเรอื ซง่ึ มหี นา้ ทบ่ี งั คบั บญั ชากำ� ลงั ทางเรอื อุปกรณ์ท่ีเพิ่มความเข้มของแสงจะไม่มีประสิทธิภาพ ของหน่วยจัดระเบียบชายฝั่ง อกี ตอ่ ไป และดวงอาทติ ยอ์ ยตู่ �่ำกวา่ ขอบฟา้ ทศิ ตะวนั ออก ๖ องศา เรียกวา่ BMCT ดว้ ย beach photography การถา่ ยรปู หาด begin morning nautical twilight เวลาเรมิ่ แสงทางทหาร ภาพถ่ายทางดิ่ง ทางเฉียง ทางภาคพ้ืนดิน และ จากกล้องเปอรสิ โคป ด้วยมาตราสว่ นตา่ ง ๆ กัน เพือ่ ให้ การเรม่ิ ตน้ ของชว่ งเวลาในสภาวะทดี่ แี ละปราศจาก ข่าวสารของพื้นท่ีนอกฝั่ง บนฝั่ง และในฝั่ง ภาพถ่าย การส่องสว่างอ่ืนใด ซ่ึงมีแสงเพียงพอท่ีจะระบุเค้าโครง จะครอบคลุมภูมิประเทศ ซึ่งท�ำให้สามารถตรวจการณ์ ท่ัวไปของวัตถุบนพ้ืนดินได้ และสามารถปฏิบัติการ หาดต่าง ๆ ได้ และจะเกี่ยวกับลักษณะทางธรณีวิทยา ทางทหารได้อย่างจ�ำกัด อุปกรณ์เพิ่มความเข้มของแสง และทางยุทธวธิ ีของหาดเปน็ หลกั ยังคงใช้การได้อยู่ และอาจมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน ในเวลาน้ีดวงอาทิตย์อยู่ต�่ำกว่าขอบฟ้าทิศตะวันออก beach support area ๑๒ องศาเรยี กว่า BMNT ด้วย พน้ื ท่ีหาดสนบั สนนุ berm, natural ในการยุทธสะเทินน�้ำสะเทินบก พื้นท่ีส่วนหลัง เนนิ ทรายตามธรรมชาติ ของก�ำลังรบยกพลข้ึนบก หรือส่วนตา่ ง ๆ ของกำ� ลงั รบนี้ ท่ีหน่วยจัดระเบียบชายฝั่งได้สถาปนาขึ้น และปฏิบัติงาน ส่วนของหาด หรือพื้นที่หลังฝั่งท่ีเกือบจะเป็น ซ่ึงจะมีสงิ่ อ�ำนวยความสะดวก สำ� หรับขนถา่ ยกำ� ลงั ทหาร แนวระดับที่มีแนวลาดชัน เกิดจากการสะสมของสิ่งที่ และยุทโธปกรณ์ และเพื่อสนับสนุนก�ำลังรบบนฝั่ง คลนื่ ซดั มาทบั ถมกนั เนนิ ทรายจะเปน็ เขตแสดงแนวนำ้� ขน้ึ รวมทั้งส่ิงอ�ำนวยความสะดวกในการส่งกลับผู้บาดเจ็บ สูงสุดในระดับปกติ ส�ำหรับยานเบาะอากาศเนินทราย เชลยฝ่ายข้าศึก และยุทโธปกรณ์ที่ยึดได้ เรียกว่า (ที่สร้างขึ้น) มีความจ�ำเป็นต่อการป้องกันยุทโธปกรณ์ BSA ด้วย ในการขนถ่ายยทุ ธภัณฑ์ beach survey ดู backshore ด้วย การส�ำรวจหาด bight การรวบรวมข้อมูลท่ีบอกให้ทราบถึงคุณลักษณะ อา่ วขนาดเลก็ ทางกายภาพของหาด ซ่ึงเป็นพ้ืนที่ท่ีมีแนวเขตประกอบ ดว้ ยแนวชายฝง่ั เสน้ ขอบฝง่ั ทะเล และแนวปกี ตามธรรมชาติ ส่วนเว้าของชายฝั่งท่ีก่อตัวเป็นอ่าวเปิด หรืออ่าว หรอื ทก่ี �ำหนดขน้ึ เองสองดา้ น เปดิ ทกี่ ่อตวั จากสว่ นเวา้ ดังกลา่ ว beach width bill ความกวา้ งของหาด ปูมเรือ มิติทางราบของหาดที่วัดตั้งฉากกับแนวชายฝั่ง ปูมเรือขนาดใหญ่ท่ีมีระเบียบปฏิบัติทางยุทธการ หรือทางธรุ การ

35 biological agent blister agent B สารชีวะ สารพพุ อง, สารทำ�ลายผวิ หนงั จลุ นิ ทรยี ซ์ งึ่ ทำ� ใหเ้ กดิ โรคแกก่ ำ� ลงั พล พชื หรอื สตั ว์ สารเคมีซ่งึ เป็นอนั ตรายแก่ตาและปอด และทำ� ให้ หรือซ่ึงท�ำให้ยทุ โธปกรณ์เสอื่ มคณุ ภาพ ผิวหนังไหมห้ รอื พอง เรียกว่า vesicant agent ด้วย ดู biological weapon; chemical agent ด้วย blood agent biological half-time สารทำ�ลายโลหิต คร่งึ อายุทางชีวะ สารประกอบเคมี รวมทั้งกลุ่มไซยาไนต์ ซึ่งมี ดู half-life ผลร้ายต่อการท�ำงานของร่างกาย โดยขัดขวางการใช้ ออกซิเจนโดยเนอ้ื เยอื่ ของรา่ งกายตามปกติ biological weapon อาวุธชวี ะ blood chit แผน่ ผ้าสัญญารางวลั ยุทโธปกรณ์รายการหน่งึ ซงึ่ ส่ง กระจาย หรือแพร่ สารชวี ะ รวมทงั้ แมลงตา่ ง ๆ ท่ีเป็นพาหะดว้ ย ผืนผ้าเล็ก ๆ ที่มีเครื่องหมายธงชาติอเมริกัน พร้อมด้วยข้อความภาษาต่าง ๆ มีใจความว่าถ้าหากผู้ใด biometric ชว่ ยเหลอื ผู้ถอื ผืนผา้ นี้ให้ปลอดภัยจะได้รางวลั ไบโอเมตรกิ ดู evasion aids ด้วย ลักษณะทางกายภาพหรือลักษณะเฉพาะทาง Blue bark พฤตกิ รรมของบคุ คลทสี่ ามารถวดั ได้ ซงึ่ ใชเ้ พอื่ พสิ จู นท์ ราบ บลบู ารค์ บุคคลตามทกี่ ลา่ วอา้ ง หรอื พิสจู น์เอกลักษณ์บคุ คล กำ� ลงั พลซงึ่ เปน็ ทหารสหรฐั ฯ ลกู จา้ งพลเรอื นสญั ชาติ biometrics อเมริกันของกระทรวงกลาโหม และครอบครัวของ กระบวนการไบโอเมตริก กำ� ลงั พลทง้ั สองประเภท ซง่ึ เดนิ ทางเกยี่ วเนอ่ื งจากการตาย ของสมาชิกใกล้ชิดในครอบครัว นอกจากนี้ยังใช้กับ กระบวนการในการระบุตัวบุคคล โดยอาศัย การก�ำหนดตัวผู้ติดตามครอบครัวของทหารท่ีเสียชีวิต คุณลักษณะที่สามารถวัดได้ทางลักษณะทางกายวิภาค และยังใช้ก�ำหนดการส่งทรัพย์สินส่วนตัวของผู้ตาย สรีระ และพฤติกรรม กลบั บา้ นดว้ ย blast effect board ผลจากแรงผลกั ดนั ฉบั พลนั คณะกรรมการ การท�ำลายหรือความเสียหายต่อสงิ่ กอ่ สร้าง และ กลุ่มบุคคลภายในกองบัญชาการของผู้บัญชาการ ก�ำลังพลโดยแรงจากการระเบิดที่ผิวพ้ืนหรือ เหนือผิว ก�ำลังรบร่วมท่ีได้รับการแต่งตั้งโดยผู้บัญชาการ (หรือ พื้นดิน ผลจากแรงผลักดันฉับพลันอาจต่างจากผล อ�ำนาจอื่น) ซ่ึงประชุมเพ่ือให้บรรลุถึงแนวทางหรือ จากหลมุ ระเบดิ และการสนั่ สะเทอื นของพนื้ ดนิ เมอื่ กระสนุ การตกลงใจ ความรบั ผดิ ชอบและอำ� นาจของคณะกรรมการ หรอื วัตถรุ ะเบดิ เกดิ ระเบดิ ใตผ้ ิวพน้ื น้ีไดร้ ับการกำ� หนดโดยผมู้ อี �ำนาจจัดตัง้ คณะกรรมการ blast wave boat group คลนื่ แรงผลกั ดันฉบั พลนั หมวดเรอื เลก็ คลน่ื ทม่ี คี วามดนั เพม่ิ ขนึ้ ซง่ึ กำ� หนดไดแ้ นช่ ดั กระจาย การจัดหน่วยแบบมูลฐานของเรือระบายพล ผา่ นมชั ฌมิ ทแ่ี วดลอ้ มอยอู่ อกไปอยา่ งรวดเรว็ จากศนู ยก์ ลาง หมวดเรอื เลก็ หนง่ึ หมวดจะถกู จดั ไวส้ ำ� หรบั ลำ� เลยี งกองพนั ของการระเบิด หรือปรากฏการณ์ของแรงท่ีมีลักษณะ คล้ายคลึงกัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook