Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ວິຊາການຈັດການ ການດຳເນີນງານoperation management

ວິຊາການຈັດການ ການດຳເນີນງານoperation management

Published by lavanh5579, 2021-08-25 01:41:51

Description: ວິຊາການຈັດການ ການດຳເນີນງານoperation management

Search

Read the Text Version

เนือ่ งจากแนวทางการบารุงรกั ษาแบบทวผี ลทท่ี ุกคนมีสว่ นรว่ มมจี ดุ กาเนนิ มาจากแนวคิดแบบ ญี่ปุ่นซ่ึงคล้ายคลึงกับแนวคิดการจัดการคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จ (Total Quality Management) โดย มแี นวคิด 3 ประการดงั ตอ่ ไปนี้ 1. การวิเคราะห์ความสูญเสีย (Loss Analysis) คือการค้นหาข้อบกพร่อง ปัญหาต่าง ๆ ท่ี ทาให้เกิดความสูญเสียในระบบ และทาการวิเคราะห์เพ่ือหาสาเหตุท่ีแท้จริงของปัญหา เช่น ความ สูญเสยี ความเรว็ ในระบบ ความสูญเสยี ทีเ่ กิดจากความบกพร่องของผลิตภัณฑ์ 2. การปรับปรุงและพัฒนา (Kaizen, Improvement) คือ การนาเอาสาเหตุท่ีแท้จริงของ ปัญหาที่เกิดจากการวิเคราะห์ความสูญเสยี ดังกล่าว ทาการปรับปรุงแก้ไขเพ่ือให้ปัญหาหมดไป พร้อม ทัง้ หามาตรการปอ้ งกันการเกิดปัญหาซ้าจากสาเหตุดังกลา่ ว 3. การบารุงรักษาด้วยตัวเอง (Autonomous Maintenance) คือ การท่ีพนักงาน สามารถบารงุ รกั ษาอปุ กรณ์และเคร่ืองจักรไดด้ ว้ ยตัวเอง ซงึ่ พนกั งานจะต้องผา่ นการอบรม จนมีความรู้ ความเข้าใจในอุปกรณ์และเครื่องจักร จนมีความสามารถที่จะตรวจเช็คสภาพเบ้ืองต้น คอยสังเกตสิ่ง ผิดปกติต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นระหว่างการดาเนินงาน และสามารถซ่อมแซมแก้ไขในส่วนท่ีเครื่องจักรชารุด จนสามารถกลับมาใช้งานได้ กิจกรรมการบารุงรักษาด้วยตนเองนี้จะมีกระบวนการดาเนินงานที่ เรยี กว่า Jishu Hozen (Joel Levitt, 2010: 52) ดังตอ่ ไปนี้ 1) ระดับซ่อมบารุง (Repair Level) พนักงานจะทาหน้าท่ีซ่อมบารุงเพื่อแก้ปัญหาที่ เกิดขึ้น แต่ไม่สามารถคาดการณ์ปัญหาท่ีจะเกิดขึ้นในภายหลังได้ ทาให้พนักงานไม่ทราบ สาเหตุและผลกระทบของปัญหา ทาได้เพียงแก้ไขตามอาการท่ีพบเท่านั้น เช่น เม่ือพบคราบ สกปรกทเี่ กิดขึน้ พนกั งานจะทาการเช็ดทาความสะอาดและดาเนนิ การต่อ 2) ระดับการป้องกัน (Preventive Level) พนักงานสามารถดาเนินการแก้ไขปัญหา ท่ีเกิดข้ึนและสามารถคาดการณ์ปัญหาที่จะเกิดขึ้นในภายหลังได้ เช่น เม่ือพบคราบสกปรกท่ี เกิดขึ้นพนักงานสามารถคาดการณ์ได้ว่า ปัญหาน่าจะมีสาเหตุเกิดจากการรั่วซึม เมื่อทาการ เปล่ียนซีลยาง (Rubber Seal) ใหม่ปัญหาดังกล่าวน่าจะหมดไปและไม่มีคราบสกปรกอีก เนอ่ื งจากเปน็ การแก้ที่ตน้ ตอของปัญหาดงั กล่าว การจดั การการดาเนินงาน | Operations Management 377

3) ระดับการปรับปรุง (Improvement Level) พนักงานไม่เพียงแต่สามารถแก้ไข และคาดการณ์สาเหตุของปัญหาได้เท่านั้น แต่ยังสามารถเสนอแนวทางการปรับปรุงเพ่ือ ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาซ้าได้ เช่น เม่ือพนักงานพบคราบสกปรกท่ีเกิดข้ึน สามารถตรวจเช็ค และแก้ไขด้วยการเปล่ียนซีลยาง และดาเนินการป้องกันปัญหาเกิดซ้าโดยทาการหล่อล่ืน เคร่ืองจักรอย่างสม่าเสมอ พร้อมทั้งแนะนาช่างเทคนิคในการออกแบบแก้ไขปัญหาเม่ือมีการ ออกแบบอปุ กรณ์และเครือ่ งจักรขึ้นใหม่ กิจกรรมของการบารุงรักษาทวีผลท่ีทุกคนมีส่วนร่วม (TPM) จะมุ่งเน้นไปที่ความมีส่วนร่วม ของพนักงานในการปฏิบัติการสาหรับการบารุงรักษาอุปกรณ์และเครื่องจักร ได้แก่ ทักษะ วิธีการ ปฏิบตั ิการและภาระการทางานของเคร่ืองจักรซง่ึ จะสง่ ผลกระทบต่อความน่าเช่อื ถอื ของเคร่ืองจักร แต่ ไม่ได้เป็นการปรับปรุงและยกระดับความน่าเชือ่ ถือของระบบ รวมท้ังความน่าเชือ่ ถือของอุปกรณ์และ เครื่องจักรให้สูงขึ้น ซึ่งแตกต่างจากกิจกรรมการบารุงรักษาโดยการวิเคราะห์ความเชื่อมั่นเป็น ศูนยก์ ลาง (RCM) จะมงุ่ เนน้ ไปทีย่ กระดบั ความนา่ เชอ่ื ถือของระบบ อปุ กรณแ์ ละเครื่องจักรใหส้ ูงขึ้น การบารงุ รกั ษาท่มี ุ่งเนน้ ขบั เคลอ่ื นคุณค่า แนวคิดการบารุงรักษาที่มุ่งเน้นขับเคล่ือนคุณค่า (Value Driven Maintenance: VDM) นาเสนอครั้งแรกในปี 2004 โดย Mark Haarman และ Guy Delahay โดยมีแนวคิดพ้ืนฐาน ให้เกิด ความสมดุลระหว่างความน่าเชือ่ ถือ ระดับการบริการ และต้นทุนต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องในการบารุงรักษา เพ่ือใหเ้ กดิ ผลตอบแทน (Value) สงู ทสี่ ุด โดยพิจารณาจากองคป์ ระกอบต่าง ๆ ดังนี้ 1. การใช้ประโยชน์ของสินทรัพย์ (Asset Utilization) ปัจจุบันเทคโนโลยีในการผลิตมี ความก้าวหน้ามากข้ึน มีอุปกรณ์และเครื่องจักรที่ทนั สมัยช่วยในการผลติ ซ่งึ มคี า่ ใชจ้ ่ายและการลงทุน สูง อีกท้ังองค์กรยังต้องเผชญิ ความผนั ผวนต่อปริมาณความต้องการของลกู ค้าที่เกิดจากการแข่งขันใน ภาคธุรกิจที่รุนแรง การใช้ประโยชน์ของสินทรัพย์จะต้องพิจารณาองค์ประกอบต่าง ๆ ได้แก่ รายได้ท่ี เพ่ิมข้ึน เงินลงทุนเร่ิมต้น ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานรวมทั้งต้นทุนในการบารุงรักษา การประหยัดที่ เกิดขึ้น การทดแทนเม่ือต้องทาการเปล่ียนอุปกรณ์และเคร่ืองจักรใหม่แทนของเดิม และความเสี่ยง ความไม่แน่นอนที่เกิดจากความผันผวนจากปริมาณความต้องการของลูกค้า รวมถึงการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยอี ย่างรวดเรว็ 378 การจดั การบารงุ รกั ษา | Maintenance Management

2. ความปลอดภัยและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (Safety, Health & Environment) ใน การพิจารณาต้นทุนการบารุงรักษาไม่ไดพ้ ิจารณาเฉพาะต้นทุนท่ีเกิดกับอุปกรณ์และเครื่องจกั รเท่านน้ั แต่จะต้องคานึงถึงความปลอดภัยของพนักงานในการใช้งานอุปกรณ์และเครื่องจักร ผลกระทบที่มีต่อ สุขภาพอนามัยของพนักงาน รวมทง้ั ผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อม ซึง่ ตน้ ทนุ เหลา่ นี้เป็นต้นทุนแฝงทย่ี ากจะ คาดการณ์ ตวั อยา่ งเชน่ การรว่ั ไหลของสารเคมีในกระบวนการผลิตลงสชู่ ุมชน ซึง่ มกั มสี าเหตุเกี่ยวพัน กับการบารุงรักษาอุปกรณ์และเครื่องจักร ผลกระทบดังกล่าวอาจสร้างความเสียหายในวงกวา้ งทั้งต่อ ตวั พนักงานเอง รวมทัง้ คนในชุมชนทาใหอ้ งค์กรเกิดต้นทนุ ในการแก้ไขปญั หาดงั กล่าวข้นึ จานวนมาก 3. การควบคุมต้นทุน (Cost Control) โดยทั่วไปต้นทุนการบารุงรักษาประกอบไปด้วย ค่าใช้จ่ายทางตรง ได้แก่ ค่าแรงงาน ค่าวัสดุ ค่าอะไหล่สารอง และค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษาจาก บุคลากรภายนอก ซ่ึงเป็นต้นทุนทสี่ ามารถพจิ ารณาและควบคุมได้ สว่ นต้นทุนทป่ี ระเมนิ และควบคุมได้ ยากได้แก่ ต้นทุนความเสียหายท่ีเกดิ จากการชารดุ หรือขดั ข้องของเครื่องจักร เช่น ตน้ ทนุ คา่ เสียโอกาส เม่ืออุปกรณ์และเครื่องจักรชารุดไม่สามารถผลิตได้ ทาให้วัตถุดิบท่ีเป็นสินค้าคงคลงั เพิ่มสูงขึ้น จะต้อง เสยี คา่ เกบ็ รกั ษาและดอกเบย้ี จากการท่ีไม่สามารถส่งมอบสินคา้ ให้กับลูกค้า ต้นทุนคา่ เสียหายจากการ ทไี่ ม่สามารถส่งมอบสนิ ค้าใหก้ บั ลกู คา้ ได้ ดังนั้นต้นทุนท่ีเหมาะสมในการบารุงรักษาจะต้องเกิดความสมดุลระหว่างค่ าใช้จ่ายในการ บารุงรักษาแบบป้องกัน และค่าใช้จ่ายการบารุงรักษาแบบแก้ไขเมื่ออุปกรณ์และเคร่ืองจักรเกิดการ ชารุด ซึ่งขึ้นกับนโยบายการบารุงรกั ษา และการตรวจสอบบนฐานความเสี่ยงเพื่อลดความผิดพลาดใน การบารงุ รกั ษาและสามารถควบคมุ ตน้ ทุนการบารุงรักษาตามแผนและนโยบายทว่ี างไว้ 4. การจัดสรรทรัพยากร (Resource Allocation) จะพิจารณาถึงการจัดสรรทรัพยากร ประกอบไปด้วย ทรัพยากรบุคคลได้แก่ ช่างเทคนิค รวมถึงพนักงานที่เกี่ยวข้องกับการบารุงรักษา ทรัพยากรที่เป็นสินค้าคงคลังไดแ้ ก่ การสารองอะไหล่จากนโยบายการบารุงรักษาแบบแก้ไข ทรพั ยากร ภายนอกได้แก่คู่สัญญาในการจัดหาอะไหล่หรือซ่อมแซมฉุกเฉินในกรณีที่ อุปกรณ์และเคร่ืองจักรเกิด การชารุดหรือขัดข้องฉุกเฉิน รวมไปถึงพันธมิตรทางธุรกิจท่ีมีการแลกเปล่ียนและร่วมมือในการใช้ เทคโนโลยใี นการผลติ และทรัพยากรที่เปน็ องคค์ วามรตู้ ่าง ๆ ในการบารงุ รกั ษา การจดั การการดาเนนิ งาน | Operations Management 379

คณุ คา่ ความปลอดภัยและ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม คุณคา่ การใชป้ ระโยชน์ การควบคมุ ตน้ ทนุ คุณคา่ ของสินทรพั ย์ การจดั สรรทรพั ยากรการ บารุงรกั ษา คุณค่า ภาพท่ี 13.11 แสดงแนวคิดการบารุงรกั ษาทมี่ ุ่งเนน้ ขบั เคลื่อนคุณคา่ (VDM) ระบบสารสนเทศการบารงุ รกั ษา ในปัจจุบันการจัดการบารุงรักษาได้นาระบบสารสนเทศมาช่วยในการจัดการข้อมูล ได้แก่ ประวัติการชารุด ประวัติการซ่อมแซม ความถี่การซ่อมแซม การใช้อะไหล่สารอง การติดต่อกับช่าง เทคนิคจากภายนอก รวมถึงสาเหตุต่าง ๆ และค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนผ่านระบบ ประมวลผลด้วย คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบการจัดการบารุงรักษาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computerized Maintenance Management System: CMMS) เพื่อช่วยในการจัดการใบส่ังงาน การกาหนด มาตรฐานในการบารุงรักษา การกาหนดและวางแผนตารางเวลา การออกเอกสารและรายงานไปยงั ผู้ ทีเ่ กีย่ วข้อง และการวิเคราะหข์ ้อมลู เพื่อหาสาเหตุทแี่ ท้จรงิ ของปัญหา ดงั ภาพที่ 13.13 380 การจดั การบารงุ รักษา | Maintenance Management

การจัดการใบสงั่ งาน การจดั การอะไหลส่ ารอง /แจ้งซ่อม และประวัตกิ ารบารุงรักษา การบารงุ รักษา ตารางตรวจสอบ/ แบบปอ้ งกนั คาแนะนาการบารงุ รักษา คอมพิวเตอรแ์ ละซอฟต์แวร์ CMMS การบารงุ รกั ษาแบบแกไ้ ข/ การออกเอกสารและ เมือ่ ชารดุ รายงาน ภาพท่ี 13.12 แสดงองคป์ ระกอบระบบการจัดการบารุงรกั ษาด้วยคอมพวิ เตอร์ (CMMS) ระบบการจัดการบารุงรักษาด้วยคอมพิวเตอร์ (CMMS) ข้อมูลที่ได้จะถูกนาไปวางแผนเพื่อ ปรับปรุงสมรรถนะของอุปกรณ์และเคร่ืองจักร หรือวางแผนออกแบบและจัดซื้อใหม่เพื่อทดแทน ของเดิม พนักงานบารุงรักษาสามารถนาข้อมูลและคาแนะนาเพ่ือใช้ในการแก้ไขเบื้องต้นและการซอ่ ม บารงุ ดว้ ยตัวเอง ทราบระดับอะไหล่สารอง เพ่ือนามากาหนดนโยบายการบารงุ รักษาใหเ้ หมาะสมและ สอดคล้องกับตน้ ทนุ นอกจากนี้ระบบการจัดการบารุงรักษาด้วยคอมพิวเตอร์ (CMMS) ได้พัฒนาจนสามารถ ทางานเชื่อมโยงผ่านระบบเครือข่าย มีชื่อเรียกว่าระบบสารสนเทศการจัดการบารุงรักษา (Maintenance Management Information System: MMIS) และได้ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหน่ึงใน ระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร (ERP) และเชื่อมโยงไปยังระบบสารสนเทศอื่น ๆ เช่น ระบบ สารสนเทศในการจัดการโซ่อุปทาน ระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ ระบบการจัดการสินค้าคงคลัง และ ระบบการจัดการความสมั พันธ์กบั ผ้สู ง่ มอบหรือค่คู า้ เปน็ ต้น การจัดการการดาเนินงาน | Operations Management 381

บทสรปุ ก่อนปี ค.ศ. 1950 แนวคิดการบารุงรักษาจะเป็นแบบการซ่อมแซมหรือการแก้ไขเฉพาะกิจ หลังจากปี ค.ศ. 1950 มกี ารนาเทคโนโลยีทางการผลติ มาใชใ้ นอุตสาหกรรม แนวคดิ การบารงุ รกั ษาจะ เป็นแนวคิดแบบป้องกัน เพื่อไม่ให้อุปกรณ์และเครื่องจักรเกิดการชารุดหรือมีเหตุขัดข้อง ช่วงปี ค.ศ. 1960 มีการพัฒนาแนวคิดการบารุงรักษาโดยการวิเคราะห์ความเชื่อม่ันเป็นศูนย์กลาง (RCM) ให้ ความสาคัญกับระดับการบริการ ความน่าเช่ือถือของอุปกรณ์และเครื่องจักร ช่วงปี ค.ศ. 1980-1990 มกี ารนาแนวคดิ การวเิ คราะห์ต้นทุนตลอดอายกุ ารใช้งาน (LCC) โดยพิจารณาตน้ ทนุ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการบารุงรักษาตลอดช่วงเวลาท่ีใช้งาน และ การบารุงรักษาทวีผลท่ีทุกคนมีส่วนร่วม (TPM) พนักงานทกุ คนมสี ่วนรว่ ม และสามารถดาเนนิ การบารงุ รักษาได้ด้วยตัวเอง ช่วงปี ค.ศ. 2000-ปัจจุบัน แนวคิดการบารุงรักษาจะคานึงถึงความเส่ียงต่าง ๆ การ บารุงรกั ษาโดยมีความเส่ียงเป็นศนู ย์กลาง (RBM) และการบารุงรักษาทเี่ ปน็ ศนู ย์กลางของธรุ กิจ (BCM) ซ่ึงให้ความสาคัญกับการบารุงรักษาอย่างต่อเนื่อง และได้พัฒนาจนเกิดแนวคิดความสมดุลระหว่าง ความน่าเช่ือถือ ระดับการบริการ และต้นทุนต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องในการบารุงรักษาที่เรียกว่า การ บารงุ รกั ษาท่ีมุ่งเน้นขบั เคลื่อนคุณคา่ (VDM) ประเภทการบารุงรักษาแบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ การบารงุ รักษาแบบไม่มีแผน และการ บารุงรักษาแบบมีแผนซ่ึงยังแบ่งแยกย่อยได้เป็นการบารุงรักษาแบบแก้ไขและการบารุงรักษาแบบ ปอ้ งกนั โดยมนี โยบายการบารุงรักษาได้แก่ การบารุงรักษาเม่ือชารุด (FBM) การบารงุ รักษาเพ่ือขจัด ปัญหาให้หมดไป (DOM) การบารุงรักษาเมื่อตรวจสอบพบ (DBM) การบารุงรักษาตามสภาพ (CBM) และการบารุงรักษาตามการใชง้ าน (UBM) ต้นทุนทีเ่ หมาะสมในการบารงุ รกั ษาจะตอ้ งเกิดความสมดลุ ระหว่างคา่ ใชจ้ ่ายในกาบารงุ รักษา แบบป้องกัน และคา่ ใช้จ่ายการบารงุ รกั ษาแบบแก้ไขเมอ่ื อุปกรณ์และเครือ่ งจกั รเกิดการชารุดและยัง ต้องพิจารณาตน้ ทนุ ความเสียหายทเี่ กิดจากการชารุดหรือขัดข้องของเคร่ืองจักร ปัจจุบันการจัดการบารุงรักษาได้นาระบบสารสนเทศมาช่วยในการจัดการข้อมูล ผ่านระบบ ประมวลผลดว้ ยคอมพวิ เตอร์ที่เรียกว่า ระบบการจัดการบารุงรักษาดว้ ยคอมพวิ เตอร์ (CMMS) 382 การจัดการบารุงรักษา | Maintenance Management

คาถามทา้ ยบท 1. จงอธิบายแนวคิดการบารงุ รักษาในแต่ละช่วงเวลา 2. จงอธบิ ายความแตกตา่ งการบารุงรักษาแต่ละประเภท 3. จงอธบิ ายการกาหนดนโยบายการบารงุ รักษา 4. บรษิ ทั แห่งหนึ่ง ได้ทาการจดั ซ้ือเครอื่ งปรบั อากาศจานวน 20 เครื่อง โดยทาสัญญาวา่ จ้างจากบริษัท ภายนอกเพื่อให้ทาการบารุงรักษาแบบป้องกนั โดยมีคา่ ใช้จา่ ยครง้ั ละ 1,000 บาทต่อเครื่อง ค่าใช้จ่าย ในการซ่อมแซมเมื่อเกิดการชารุดโดยเฉล่ียเคร่ืองละ 5,000 บาท ทางบริษัทควรวางแผนการ บารงุ รักษาอย่างไร โดยประเมนิ โอกาสทีเ่ คร่อื งจะชารุดเสียหายไดด้ ังนี้ ระยะเวลาท่เี ครือ่ งชารุดภายหลงั โอกาสท่ีเครอื่ งหยดุ การทางานหรอื การบารงุ รกั ษา (เดอื น) ชารดุ 1 0.05 2 0.15 3 0.45 4 0.35 5. บริษัทแหง่ หนึ่งดาเนนิ การติดต้ังเครอ่ื งจักรใหมท่ ้ังหมดจานวน 5 เครอื่ งแสดงดงั ภาพ โดยมีค่าความ น่าเชอ่ื ถอื ของเครอ่ื งจักรแต่ละเคร่ืองดังภาพจงหาความน่าเช่อื ถือของระบบโดยรวม กลุ่มย่อย S1 กลมุ่ ย่อย S2 R1=0.8 R2=0.7 R4=0.9 R5=0.9 RS R3=0.8 การจัดการการดาเนนิ งาน | Operations Management 383

เอกสารอา้ งองิ โกศล ดศี ลี ธรรม. (2547). การจัดการบารุงรักษาสาหรับงานอุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: เอ็มแอนด์อี, 117. เธยี รไชย จิตต์แจง้ . (2553). การจดั การการผลิตและปฏิบัตกิ าร (Production and Operation Management): หน่วยท่ี 14. ระบบการบารุงรักษาเครื่องจกั รและโรงงาน. พมิ พ์ครั้งท่ี 17, มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช, 705. Haarman, M. and Delahay, G. (2008). “Value Driven Maintenance – new faith in maintenance”. 2nd Edition, Mainnovation. Dordrecht, 29. Heizer, J. and Render, B. (2011). Operations Management. 10th Global Edition, Pearson Prentice Hall, 688. Joel Levitt. (2010). TPM Reloaded: Total Productive Maintenance, New York: Industrial Press. Inc., 52. Linker, J. K. (2004). The Toyota Way: 14 Management Principles from the World's Greatest Manufacturer, McGraw-Hill, 21. 384 การจัดการบารุงรักษา | Maintenance Management

ตารางท่ี 1 การแจกแจงความน่าจะเป็ นแบบปกติ (Normal Distribution) ตารางท่ี 2 แแสสดดงงคระ่าดคบังกทาี่ทรี่ใบชรใ้ นกิ การาร(คSาeนrวvณiceแผLeนvภeูมl)ิคแวบลคะ ุมตแวั ปบรบะกXอบแเลพะอ่ื Rความ ตารางท่ี 3 ปลอดภยั (Z) ภาคผนวก | Appendix 385

ตารางท่ี 1 การแจกแจงความน่าจะเป็ นแบบปกติ (Normal Distribution) z 0.00 0.01 0.02 0.03 0.04 0.05 0.06 0.07 0.08 0.09 0.0 0.0000 0.0040 0.0080 0.0120 0.0160 0.0199 0.0239 0.0279 0.0319 0.0359 0.1 0.0398 0.0438 0.0478 0.0517 0.0557 0.0596 0.0636 0.0675 0.0714 0.0753 0.2 0.0793 0.0832 0.0871 0.0910 0.0948 0.0987 0.1026 0.1064 0.1103 0.1141 0.3 0.1179 0.1217 0.1255 0.1293 0.1331 0.1368 0.1406 0.1443 0.1480 0.1517 0.4 0.1554 0.1591 0.1628 0.1664 0.1700 0.1736 0.1772 0.1808 0.1844 0.1879 0.5 0.1915 0.1950 0.1985 0.2019 0.2054 0.2088 0.2123 0.2157 0.2190 0.2224 0.6 0.2257 0.2291 0.2324 0.2357 0.2389 0.2422 0.2454 0.2486 0.2517 0.2549 0.7 0.2580 0.2611 0.2642 0.2673 0.2704 0.2734 0.2764 0.2794 0.2823 0.2852 0.8 0.2881 0.2910 0.2939 0.2967 0.2995 0.3023 0.3051 0.3078 0.3106 0.3133 0.9 0.3159 0.3186 0.3212 0.3238 0.3264 0.3289 0.3315 0.3340 0.3365 0.3389 1.0 0.3413 0.3438 0.3461 0.3485 0.3508 0.3531 0.3554 0.3577 0.3599 0.3621 1.1 0.3643 0.3665 0.3686 0.3708 0.3729 0.3749 0.3770 0.3790 0.3810 0.3830 1.2 0.3849 0.3869 0.3888 0.3907 0.3925 0.3944 0.3962 0.3980 0.3997 0.4015 1.3 0.4032 0.4049 0.4066 0.4082 0.4099 0.4115 0.4131 0.4147 0.4162 0.4177 1.4 0.4192 0.4207 0.4222 0.4236 0.4251 0.4265 0.4279 0.4292 0.4306 0.4319 1.5 0.4332 0.4345 0.4357 0.4370 0.4382 0.4394 0.4406 0.4418 0.4429 0.4441 1.6 0.4452 0.4463 0.4474 0.4484 0.4495 0.4505 0.4515 0.4525 0.4535 0.4545 1.7 0.4554 0.4564 0.4573 0.4582 0.4591 0.4599 0.4608 0.4616 0.4625 0.4633 1.8 0.4641 0.4649 0.4656 0.4664 0.4671 0.4678 0.4686 0.4693 0.4699 0.4706 1.9 0.4713 0.4719 0.4726 0.4732 0.4738 0.4744 0.4750 0.4756 0.4761 0.4767 2.0 0.4772 0.4778 0.4783 0.4788 0.4793 0.4798 0.4803 0.4808 0.4812 0.4817 2.1 0.4821 0.4826 0.4830 0.4834 0.4838 0.4842 0.4846 0.4850 0.4854 0.4857 2.2 0.4861 0.4864 0.4868 0.4871 0.4875 0.4878 0.4881 0.4884 0.4887 0.4890 2.3 0.4893 0.4896 0.4898 0.4901 0.4904 0.4906 0.4909 0.4911 0.4913 0.4916 2.4 0.4918 0.4920 0.4922 0.4925 0.4927 0.4929 0.4931 0.4932 0.4934 0.4936 2.5 0.4938 0.4940 0.4941 0.4943 0.4945 0.4946 0.4948 0.4949 0.4951 0.4952 2.6 0.4953 0.4955 0.4956 0.4957 0.4959 0.4960 0.4961 0.4962 0.4963 0.4964 2.7 0.4965 0.4966 0.4967 0.4968 0.4969 0.4970 0.4971 0.4972 0.4973 0.4974 2.8 0.4974 0.4975 0.4976 0.4977 0.4977 0.4978 0.4979 0.4979 0.4980 0.4981 2.9 0.4981 0.4982 0.4982 0.4983 0.4984 0.4984 0.4985 0.4985 0.4986 0.4986 3.0 0.4987 0.4987 0.4987 0.4988 0.4988 0.4989 0.4989 0.4989 0.4990 0.4990 386 ภาคผนวก | Appendix

ตารางท่ี 2 แสดงค่าคงท่ีทใ่ี ชใ้ นการคานวณแผนภูมิควบคมุ แบบ X และ R จานวนตัวอย่าง (n) A2 D3 D4 2 1.880 0 3.269 3 1.023 0 2.574 4 0.729 0 2.282 5 0.577 0 2.114 6 0.483 0 2.004 7 0.419 0.076 1.924 8 0.373 0.136 1.864 9 0.337 0.184 1.816 10 0.308 0.223 1.777 11 0.285 0.256 1.744 12 0.266 0.284 1.716 13 0.249 0.308 1.692 14 0.235 0.329 1.671 15 0.223 0.348 1.652 16 0.212 0.364 1.636 17 0.203 0.379 1.621 18 0.194 0.392 1.608 19 0.187 0.404 1.596 20 0.180 0.414 1.586 21 0.173 0.425 1.575 22 0.167 0.434 1.566 23 0.162 0.443 1.557 24 0.157 0.451 1.548 25 0.153 0.459 1.541 ภาคผนวก | Appendix 387

ตารางท่ี 3 แสดงระดบั การบรกิ าร (Service Level) และ ตวั ประกอบเพอ่ื ความปลอดภยั (Z) ระดบั การบรกิ าร ตัวประกอบเพอ่ื ระดบั การบรกิ าร ตัวประกอบเพ่ือ (Service Level) ความปลอดภัย (Z) (Service Level) ความปลอดภัย (Z) 50% 0.00 90% 1.28 55% 0.13 91% 1.34 60% 0.25 92% 1.41 65% 0.39 93% 1.48 70% 0.52 94% 1.55 75% 0.67 95% 1.64 80% 0.84 96% 1.75 81% 0.88 97% 1.88 82% 0.92 98% 2.05 83% 0.95 99% 2.33 84% 0.99 99.50% 2.58 85% 1.04 99.60% 2.65 86% 1.08 99.70% 2.75 87% 1.13 99.80% 2.88 88% 1.17 99.90% 3.09 89% 1.23 99.99% 3.72 388 ภาคผนวก | Appendix

บรรณานุกรม | Bibliography 389

บรรณานกุ รม กติ ติศักดิ์ พลอยพานิชเจรญิ . (2557). TQM: การบรหิ ารเพอื่ คณุ ภาพโดยรวม. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์ ส.ส.ท. กติ ตศิ ักดิ์ พลอยพานชิ เจรญิ . (2551). การวเิ คราะห์ความสามารถของกระบวนการ. พมิ พ์คร้ังที่ 5. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์ ส.ส.ท. โกศล ดศี ีลธรรม. (2547). การจัดการบารงุ รกั ษาสาหรับงานอตุ สาหกรรม. พิมพ์คร้ังที่ 1, กรงุ เทพฯ: เอ็มแอนด์อี. คานาย อภิปรชั ญาสกลุ . (2557). การบรหิ ารการผลติ . พิมพค์ รงั้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ: โฟกัสมีเดีย แอนด์ พับลิชชงิ่ . ชุมพล ศฤงคารศริ ิ. (2553). การวางแผนและควบคุมการผลติ . พิมพ์คร้ังที่ 21, สมาคมส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีป่นุ . ฐาปนา บญุ หลา้ และ นงลกั ษณ์ นิมิตภูวดล (2555). การจัดการโลจิสตกิ ส์มิติซัพพลายเชน. กรงุ เทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. ธนิต โสรตั น.์ (2550). การประยกุ ตใ์ ช้โลจิสตกิ ส์และโซ่อุปทาน. กรงุ เทพฯ: ประชมุ ทอง พริ้นต๊ิง กรปุ๊ . เธยี รไชย จติ ต์แจง้ . (2553). การจัดการการผลติ และปฏบิ ัติการ (Production and Operation Management): หนว่ ยท่ี 14. ระบบการบารงุ รักษาเครือ่ งจักรและโรงงาน. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 17, มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. พิสทิ ธ์ิ พพิ ัฒน์โภคากุล. (2549). เทคนิคในการสร้างระบบรกิ ารใหเ้ ปน็ เลศิ . กรุงเทพฯ: ซเี อ็ดยูเคชนั่ . ศลษิ า ภมรสถติ . (2551). การจดั การการดาเนนิ งาน. พิมพ์ครง้ั ที่ 3. กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพ์ท้อป. 390 บรรณานกุ รม | Bibliography

สาธิต พะเนยี งทอง (2548). การจัดการโซอ่ ปุ ทานเชิงกลยทุ ธ์. กรงุ เทพฯ: ซเี อด็ ยเู คช่ัน. สทุ ธิมา ชานาญเวช. (2555). การวิเคราะห์เชิงปรมิ าณ. พิมพ์ครงั้ ท่ี 6, กรงุ เทพฯ: วิทยพัฒน์. Akao, Yoji. (1994). \"Development History of Quality Function Deployment\". The Customer Driven Approach to Quality Planning and Deployment. Minato, Tokyo 107 Japan: Asian Productivity Organization. Bowerman, B.L., O’connell, R.T. & Koehler, A.B. (2005). Forecasting, Time series, and Regression. Printed in the United States: Thomson. Bowersox, D.J., Closs, D.J. and Cooper, M.B. (2009). Supply chain Logistics management. New York: McGraw- Hill Irwin. Bracker, J. (1980). The Historical Development of The Strategic Management Concept. Academy of Management Review. Buttle, F. (2009). Customer Relationship Management: Concepts and Technologies. 2nd edition, Amsterdam: Elsevier. Choi, D. K. (2011). Human-centered Productivity. Korea Productivity Center. Christopher, M. (2010). Logistics and Supply Chain Management. 4th Edition. Financial Times, Prentice Hall. Cleland, D.I. & Gareis, R. (2006). Global Project Management Handbook. McGraw- Hill Professional. Foster, S.T. (2007). Managing Quality. New Jersey: Pearson Prentice Hall. Gavin D.A. (1988). Managing Quaility. New York: The Free Press. Grant, R. M. (2010). Contemporary Strategy Analysis. 7th ed. John Wiley & Sons. บรรณานกุ รม | Bibliography 391

Haarman, M. and Delahay, G. (2008). “Value Driven Maintenance – new faith in maintenance”. 2nd Edition, Mainnovation. Dordrecht. Harrison, A. and Hoek, R.V. (2002). Logistics Management and Strategy. London: Pearson Education. Heizer, J. and Render, B. (2011). Operations Management. 10th Global Edition, Pearson Prentice Hall. Hines, P. (2000). Value Stream Management: Strategy and Excellence in the Supply Chain, New York: Prentice Hall. Imai M. (1986). Kaizen: A Common Sense, Low Cost Approach to Management, New York: McGraw-Hill. Jacobs, F. R. (2013). Operations and Supply Chain Management: The Core. 3rd Edition, Chicago: Irwin/McGraw-Hill. Jacobs, F.R., Chase, R.B. & Acquilano, N.J. (2009). Operations and supply management. New York: McGraw-Hill. Joel Levitt. (2010). TPM Reloaded: Total Productive Maintenance, New York: Industrial Press. Juran, J.M. (1999). “How to think about Quality” Juran’s Quality Handbook. International Edition. McGrawhill, Singapore. Kim, W.C. and Mauborgne, R. (2005). Blue Ocean Strategy. How To Create Uncontested Market Space And Make The Competition Irrelevant. Boston, M.A.: Harvard Business School Press. 392 บรรณานกุ รม | Bibliography

Kotler, P. and Keller, K.L. (2011). Marketing Management. 14th Edition, NJ: Pearson Prentice Hall. Kuczmarski, T.D. (2000). Managing New Products: Using the MAP System to Accelerate Growth. 3rd edition, Prentice Hall. Kumar, S. and Suresh, N. (2009). Operations Management. New Delhi: New Age International. Leon, A. (2008). ERP Demystified. 2nd Edition, Tata McGraw-Hill Education. Lewis, M. and Slack, N. (2008). Operations strategy. 2nd edition, FT Prentice-Hall. Linker, J. K. (2004). The Toyota Way: 14 Management Principles from the World's Greatest Manufacturer, McGraw-Hill. Moen, Ronald D. and Norman, Clifford L. (2010). Evolution of the PDCA Cycle. Quality Progress, Vol. 43 No. 11. Moritz, S. (2005). Service Design. Practical access to an evolving field. MSc thesis, KISD. Payne, A. (2006). Handbook of CRM: Achieving Excellence in Customer Management. Elsevier, Oxford. Render, B., Stair, R.M. and Hanna, M.E. (2011). Quantitative Analysis for Management. 11th Edition, Pearson Prentice Hall. Russell, R.S. and Taylor III, B.W. (2011). Operations Management. 7th Edition, John Wiley & Sons. บรรณานกุ รม | Bibliography 393

Rutkauskas, J. and Paulaviciene, E. (2005). Concept of Productivity in Service Sector. Engineering Economics 2005. Influence of Quality Management of The Country’s Economy. Saxena, R.S. (2009). Inventory Management: Controlling in a Fluctuating Demand Environment, Global India Publications. Schmenner, R. W. (2004). Service Businesses and Productivity. Decision Sciences. Schwarz, Leroy B. (2008). The Economic Order-Quantity (EOQ) Model. Operations Management Models and Principles, Springer Science Business Media, LLC; 2008. Singh, P.J., Power, D. (2009). The nature and effectiveness of collaboration between firms, their customers and suppliers: a supply chain perspective. Supply Chain Management: An International Journal 14(3). Stevens, M.J. (2002). Project Management Pathways. Association for Project Management, APM Publishing, Tague, N. R. (2004). \"Seven Basic Quality Tools\". The Quality Toolbox. Milwaukee, Wisconsin: American Society for Quality. Upendra Kachru. (2009). Production & Operations Management. New Delhi: Excel Books. Wauters, F. and Mathot, J. (2002). Overall Equipment Effectiveness. ABB. William, D.P., William, D.P.Jr., and McCarthy, E.J. (2010). Basic Marketing. 17th Edition, McGraw-Hill Education. 394 บรรณานกุ รม | Bibliography

เฉลยคำถำมทำ้ ยบท | Solutions to Even-Numbered Problems 395

เฉลยคำถำมทำ้ ยบท เฉลยคำตอบในสว่ นทเี่ ป็นข้อคำถำมแสดงวิธีทำ บทท่ี 1 7.2) ยอดขำยปี 2557 ไตรมำสท่ี 1-4 ยอดขำย=43.1, 119.7, 79.4, 58.4 ตนั 7.1) TFP 2556 = 1.27, TFP 2557 = 1.20 8.2) X=7.12 หน่วย บทท่ี 3 บทท่ี 6 5.2) 13 วัน 5.3) ออกแบบ, จดั ทำแบบ, ผลติ , ประกอบ 5) A, B และ C 6) ขอบเขตคุณภำพ = 11.71-91.71 และจัดสง่ 5.4) สั่งชิ้นส่วนและจดั ส่งช้นิ ส่วน ลำ่ ช้ำได้ 20 กิจกรรมละ 4 วัน 10 6.1) A=2, B=2, C=2, D=3, E=4, F=7 และ 20 27 34 41 48 55 62 69 76 83 G=6 วัน 0 6.3) 12 วนั 6.4) B, E และ G บทท่ี 7 6.5) A=1, C=3, D=1, F=3 วัน 6.6) ร้อยละ 65.91 4) ขอบเขตควบคุมแผนภมู ิแบบX UCL= 7.13 บทที่ 4 CL = 4.67 LCL= 2.21 5.2) 2 เดือน = 26 ชิน้ , 3 เดอื น = 27.33 ช้ิน 5.3) 25.8 ชนิ้ 8 5.4) 25.55 ชิ้น 7 5.6) MAD1=4.75, MAD2=3.625, 6 5 MSE1=27.92, MSE2=17.20 4 6.2) 204.89 หน่วย 3 2 396 เฉลยคำถำมท้ำยบท | Solutions to Even-Numbered Problems

ขอบเขตควบคุมแผนภมู ิแบบ R ประสิทธภิ ำพ=70%, เวลำสูญเปลำ่ =30% และประสทิ ธิผล=80% UCL= 6.18 บทที่ 11 CL = 2.40 3.1) EOQ=700 ช้ิน LCL = 0 3.2) ROP=70 หน่วย 3.3) สั่งครั้งละ 2,000 ชน้ิ จะมตี น้ ทุนรวม 7 6 ต่ำสุดเท่ำกบั 34,322.5 บำท 5 4.1) EPQ=40 หน่วย/ครงั้ , TC=20,000 บำท 4 4.2) tC=30 วนั , n=10 คร้งั , Qmax=20 หน่วย 3 5) ROP=82.65 หน่วย 2 6) d=720.26 หนว่ ย 1 0 บทท่ี 12 6.1) 400,000 หน่วย, 4,000,000 บำท 1) 6.2) 130 วัน ชนิ้ ส่วน 1 สัปดำหท์ ี่ 5 บทที่ 8 130 180 C 60 234 3) แหลง่ ที่ 1 หรือ แหล่งที่ 2, มีค่ำ EV เทำ่ กัน D 240 200 180 เทำ่ กบั 200,000 บำท 210 340 290 4) พิกัด (5.28, 5.64) 2) EOQ=800 หน่วย, t=5 สปั ดำห์ 5) C=3,950 บำท, D=4,150 บำท เลือกขยำย C 12345 โรงงำนไป C ควำมต้องกำรรวม 140 240 200 180 บทที่ 9 รบั ตำมกำหนด 6) ตน้ ทนุ เคล่ือนย้ำยรวม= 2,000 บำท สินคำ้ ทใี่ ชไ้ ด้ : 10 10 670 430 230 50 BA CD ควำมต้องกำรสทุ ธิ 0000 E รับตำมแผน 800 7) สง่ั ตำมแผน 800 A,B C D E F 2 1.5 2 2 3 เฉลยคำถำมทำ้ ยบท | Solutions to Even-Numbered Problems 397

บทที่ 13 4) ตน้ ทุนกำรซ่อมแซมแก้ไขเมอ่ื ชำรุดไมม่ กี ำร บำรุงรักษำแบบป้องกนั =32,258 บำท ตน้ ทนุ กำรบำรุงรักษำรวมตำ่ ท่สี ุด เมื่อทำ กำรบำรงุ รักษำแบบปอ้ งกันในรอบ 2 เดอื น=20,125 บำท 5) Rs=0.80 หรอื ร้อยละ 80 398 เฉลยคำถำมท้ำยบท | Solutions to Even-Numbered Problems

ดชั นี | Index 399

ก. ดชั นี กระบวนการ, 175 การนากลยทุ ธไ์ ปสูป่ ฏบิ ัต,ิ 36 กระบวนการงานบริการ, 186 การบารงุ รักษา, 50 กระบวนการจดั การเชงิ กลยุทธ,์ 36 การบารุงรกั ษาขณะเดนิ เคร่อง, 361 กราฟ, 159 การบารงุ รักษาขณะหยุดเครอ่ ง, 361 กลยุทธ์ผู้นาทางด้านตน้ ทนุ , 40 การบารุงรักษาโดยมีความเส่ียงเปน็ ศนู ยก์ ลาง, 359 กลยุทธร์ ะดบั ธุรกิจ,39 การบารงุ รกั ษาตามการใช้งาน, 363, 365 กลยุทธร์ ะดับหนา้ ท,่ี 41 การบารุงรกั ษาตามสภาพ, 363, 365 กลยทุ ธร์ ะดบั องคก์ ร, 38 การบารงุ รกั ษาทวผี ลทท่ี กุ คนมสี ่วนร่วม, 359, 376 กลยุทธ์สรา้ งความแตกตา่ ง, 40 การบารงุ รักษาท่ีเป็นศูนยก์ ลางของธรุ กจิ , 359 การควบคุมกระบวนการ, 182 การบารุงรกั ษาที่มงุ่ เนน้ ขับเคล่อนคณุ คา่ , 359, 378 การควบคุมและประเมินผลเชิงกลยุทธ์, 37 การบารุงรักษาแบบแกไ้ ข, 361 การควบคมุ สนิ ค้าคงคลัง, 318 การบารงุ รักษาแบบป้องกนั , 361 การจัดการความสัมพนั ธก์ ับผสู้ ่งมอบ, 274 การบารุงรกั ษาแบบมีแผน, 361 การจดั การคณุ ภาพ, 49 การบารงุ รักษาแบบไมม่ ีแผน, 360 การจดั การโซ่อุปทาน, 50, 270 การบารงุ รักษาเพ่อขจัดปัญหาใหห้ มดไป, 363, 365 การจัดการบารุงรกั ษา, 356 การบารงุ รกั ษาเม่อชารดุ , 361-362 การจัดการลกู คา้ สมั พนั ธ,์ 271 การบารงุ รกั ษาเม่อตรวจสอบพบ, 363, 365 การจัดการโลจสิ ติกส,์ 282 การประเมนิ ผลและทบทวนโครงการ, 62 การจดั การสนิ ค้าคงคลงั , 50, 304 การพยากรณ์ 1 หน่วยเวลาล่วงหนา้ , 86 การจดั ตงั้ โครงการ, 61 การพยากรณค์ วามต้องการ, 83 การจัดลาดับความสาคญั ของปจั จยั , 231 การพยากรณ์เชิงคุณภาพ, 87 การจัดสรรงานและทรัพยากรบุคคล, 50 การพยากรณเ์ ชิงปริมาณ, 87 การจดั สานกั งานแบบแยกห้องเฉพาะ, 245 การพยากรณร์ ะยะปานกลาง, 87 การจัดสานักงานแบบเปดิ , 246 การพยากรณร์ ะยะยาว, 87 การดาเนนิ โครงการ, 61 การพยากรณร์ ะยะส้นั , 86 การดาเนนิ งานดา้ นการบริการ, 18 การรเิ ริ่มโครงการ, 61 การดาเนนิ งานด้านการผลติ , 15 การเล่อกสถานทต่ี ้งั , 49, 204 การตอบสนองอย่างรวดเรว็ , 41 การวัดผลิตภาพการบริการ, 27 การตดิ ตามและควบคมุ โครงการ, 61 การวัดผลติ ภาพการผลติ , 22 การทบทวนโครงการและปดิ โครงการ, 61 การวัดอตั ราการชารดุ , 374 การวางผังกลมุ่ เซลล์ปฏบิ ตั ิการ, 242 400 ดัชนี | Index

การวางผังคลงั สินคา้ , 251 เกณฑ์ค่าคาดคะเน, 211 การวางผังตามกระบวนการ, 240 เกณฑ์ค่าคาดคะเนทเี่ สียโอกาส, 212 การวางผงั ตามตาแหน่งงาน, 239 เกณฑม์ ินแิ มกซร์ เี กรต, 214 การวางผังตามผลติ ภณั ฑ,์ 241 เกณฑแ์ มกซิมนิ , 214 การวางผังแบบกระดกู , 250 เกณฑแ์ มกซแิ มกซ,์ 213 การวางผังแบบตาราง, 248 การวางผงั แบบวน, 249 ข. การวางผงั แบบอิสระ, 248 การวางผังสถานประกอบการ, 49, 236 ข้อมลู ที่มลี ักษณะแนวโนม้ , 88 การวางผงั สานักงาน, 243 ข้อมูลท่มี ลี กั ษณะเป็นแนวระดับ, 88 การวางผังสาหรับธุรกิจค้าปลกี , 248 ข้อมูลท่ีมีลักษณะเปน็ วัฏจักร, 88 การวางแผนกระบวนการ, 178 ขอ้ มูลที่มลี ักษณะรปู แบบตามฤดกู าล, 88 การวางแผนกลยุทธ,์ 36 การวางแผนความตอ้ งการกาลังการผลิต, 346 ค. การวางแผนความตอ้ งการวัสดแุ บบวงจรปดิ , 346 การวางแผนโครงการ, 61 คลงั สนิ คา้ ท่ีมหี น้าท่ีกระจายสนิ คา้ , 252 การวางแผนทรัพยากรการผลติ , 348 คลังสนิ คา้ ทีม่ หี นา้ ที่เกบ็ รักษาสินคา้ , 251 การวางแผนทรพั ยากรองคก์ ร, 328, 349-350 ความต้องการของลกู คา้ , 125-126 การวเิ คราะห์กระบวนการ, 180 ความน่าเช่อถ่อ, 370 การวเิ คราะห์ขา่ ยงาน, 68 ความแม่นยาของค่าพยากรณ,์ 106 การวเิ คราะห์ความเช่อม่ันเปน็ ศนู ยก์ ลาง, 358 ความสาคญั การดาเนินงาน, 10, 19 การวเิ คราะห์จดุ คุ้มทนุ , 195 คา่ เฉล่ียความคาดเคล่อนกาลงั สอง, 106 การวิเคราะห์โซ่คณุ คา่ , 42-43 ค่าเฉลี่ยความคาดเคล่อนสมั บรู ณ,์ 106 การวิเคราะห์ต้นทุนตลอดอายกุ ารใช้งาน, 359 คา่ เฉลี่ยเคลอ่ นท,ี่ 91 การสรา้ งข่ายงาน, 65 ค่าเฉลยี่ เคล่อนท่ีแบบถว่ งน้าหนกั , 91 การใหค้ ะแนนถว่ งน้าหนัก, 231 ค่าเฉล่ยี เคล่อนทอ่ี ยา่ งงา่ ย, 91 การออกแบบกระบวนการ, 49 ค่าปรบั เรียบเอกซโ์ พเนนเชียล, 96 การออกแบบผลติ ภณั ฑ,์ 122 โครงการ, 60 การออกแบบผงั ตามกระบวนการ, 253 โครงสรา้ งผลิตภณั ฑ,์ 332 การออกแบบผังตามผลิตภณั ฑ,์ 258 การออกแบบสินค้าและบรกิ าร, 49 จ. กาลงั การผลติ , 49, 193 กจิ กรรมหลกั โลจสิ ตกิ ส,์ 284 จัดแยกหอ้ งเฉพาะบุคคล, 245 เกณฑ์ของลาปลาซ, 215 จัดแยกหอ้ งเฉพาะแบบกลุม่ , 245 เกณฑ์ของเฮอรว์ ิกซ,์ 215 จุดสง่ั ซ้่อทปี่ ระหยดั ทสี่ ดุ , 305 จดุ ส่ังซอ้่ ใหม,่ 309 ช. ช่องว่างคณุ ภาพของงานบรกิ าร, 138 ซ. โซ่อปุ ทาน, 269 ดชั นี | Index 401

ต. บ. ต้นทนุ การเก็บรกั ษา, 302, 306 บ้านแห่งคุณภาพ, 131-132 ต้นทุนการบารงุ รกั ษา, 366 แบบรูปทรงเรขาคณติ , 246 ต้นทนุ การสัง่ ซ่อ้ , 302, 307 แบบรปู ทรงอิสระ, 247 ตน้ ทนุ เน่องจากสินคา้ ขาดแคลน, 303 ใบตรวจสอบ, 153 ต้นทนุ ในการบารุงรกั ษาแบบป้องกัน, 366 ต้นทนุ บารงุ รกั ษาในการซ่อมแซม, 366 ป. ต้นทนุ ผลติ ภณั ฑ,์ 302 ต้นทนุ โลจสิ ตกิ ส,์ 287 ประสทิ ธผิ ล, 26 ตน้ ทุนสนิ ค้าคงคลงั , 302 ประสทิ ธภิ าพ, 26 ตวั แบบการขนส่ง, 221 ปรากฏการณแ์ ส้มา้ , 271 ตัวแบบพ่น้ ฐานสินคา้ คงคลัง, 305 ตัวแบบสินค้าคงคลังจากการผลติ , 313 ผ. ตารางรายการผลติ หลัก, 331 ผลติ ภณั ฑใ์ หม,่ 120-121 ท. ผลติ ภาพ, 21, 26 ผลิตภาพจากปจั จัยการผลติ สุทธ,ิ 22 เทคนิคการจดั ผังกลมุ่ งาน, 253 ผลติ ภาพจากปัจจยั เด่ียว, 22 เทคนิคการจดั ผังเชงิ ความสัมพนั ธ,์ 256 ผลิตภาพจากพหปุ ัจจยั ,22 เทคนคิ การปรบั เรยี บ, 91 ผลิตภาพทีค่ วรจะเปน็ , 26 เทคนิคการออกคาสงั่ ซ่อ้ , 336 ผงั กลมุ่ ความคดิ , 162 เทคนคิ การออกแบบผลติ ภัณฑ,์ 136 ผงั กา้ งปลา, 152 เทคโนโลยกี ระบวนการ, 188 ผังการวิเคราะห์ข้อมลู , 167 เทคโนโลยีควบคุมตวั เลข, 191 ผงั ความสมั พนั ธ์, 163 เทคโนโลยีในการผลติ , 188 ผังต้นไม,้ 163 เทคโนโลยแี บบกลมุ่ , 242 ผงั เมตรกิ ซ,์ 164 เทคโนโลยีผลติ ภณั ฑ,์ 188 ผังลูกศร, 165 เทคโนโลยีสารสนเทศ, 192 ผงั เหตแุ ละผล, 152 แผนผงั แจงนบั , 153 น. แผนภาพการกระจาย, 158 แผนภาพช่วยในการตดั สนิ ใจ, 358 นโยบายการบารงุ รกั ษา, 362 แผนภูมิกระบวนการไหล, 180 แนวคิดการจดั การบารงุ รักษา, 357 แผนภมู ิการไหลของกระบวนการ, 180 แนวคดิ ดา้ นคณุ ภาพ, 147 แผนภูมิการไหลของผลิตภณั ฑ,์ 180 แนวทางการลดตน้ ทนุ ขนส่ง, 289 แผนภมู แิ กนต,์ 59, 76 แนวทางการลดต้นทุนคลงั สนิ ค้า, 292 แผนภูมิขน้ั ตอนการตดั สนิ ใจ, 166 แนวทางการลดต้นทนุ บริหารจัดการโลจสิ ตกิ ส,์ 294 แผนภูมิควบคุม, 161, 182 แนวทางการลดตน้ ทนุ โลจสิ ตกิ ส,์ 289 แผนภูมิพาเรโต, 154 แนวทางการลดตน้ ทนุ สนิ ค้าคงคลงั , 291 402 ดชั นี | Index

พ. ว. พันธมติ รทางธุรกจิ , 275, 277 วงจร PDCA, 148-149, 151 วงจร PDSA, 149-150 ฟ. วงจรชีวติ ผลติ ภณั ฑ,์ 47, 118-119 วธิ กี าลังสองนอ้ ยทส่ี ดุ , 97 แฟม้ ข้อมลู รายการสนิ คา้ คงคลงั , 333 วิธกี ิจกรรมบนจดุ เชอ่ ม, 65-67 วิธกี ิจกรรมบนเส้นเช่อม, 65 ม. วธิ ดี ัชนฤี ดกู าล, 101 วิวฒั นาการวงจรการจดั การคณุ ภาพ, 148 มาตรฐาน ISO 14000, 168 มาตรฐาน ISO 9000, 167 ส. มุง่ ตลาดเฉพาะ, 41 เมตริกซก์ ารตัดสนิ ใจ, 209 สินคา้ คงคลัง, 301 ร. ห. รอบในการสง่ั ซ้่อ, 309 หลกั การออกแบบผลติ ภณั ฑ,์ 127 ระดบั กลยุทธ,์ 37 หุ่นยนต,์ 191 ระดับการให้บรกิ าร ระดบั การออกแบบการบรกิ าร, 140 อ. ระดับสนิ คา้ คงคลงั เพอ่ ความปลอดภยั , 319 ระดับสินคา้ และบริการ, 12-13 องค์ประกอบโลจสิ ตกิ ส,์ 283 ระบบการจดั การความสมั พันธ์กบั ผู้ส่งมอบ, 280 อนุกรมเวลา, 88, 91 ระบบการจัดการบารุงรักษาดว้ ยคอมพิวเตอร,์ 380 อายุการใชง้ านกอ่ นชารดุ , 367, 375 ระบบการจัดการลกู คา้ สมั พนั ธ,์ 279 เอจวี ,ี 189 ระบบการดาเนินงาน, 10-11 ระบบการผลติ แบบยด่ หยุน่ , 190 ฮ. ระบบการวางแผนความตอ้ งการวสั ด,ุ 330 ระบบการวางแผนจดั การทรพั ยากรในองค์กร, 281 ฮสิ โตแกรม, 155 ระบบจดั เก็บสนิ คา้ อตั โนมตั ,ิ 190 ระบบบรหิ ารจดั การการขนส่งสนิ คา้ , 295 7. ระบบบารโ์ คด้ , 294 ระบบปรมิ าณการสงั่ คงที่, 319 7 New QC tools, 162 ระบบลาเลยี งอัตโนมตั ,ิ 189 7 QC tools, 152 ระบบสงั่ ซ่อ้ โดยชว่ งเวลาคงท่ี, 322 ระบบสารสนเทศการจดั การบารงุ รักษา, 381 A. ระบบสารสนเทศในการจดั การโซอ่ ปุ ทาน, 277 ระบบอัตโนมัต,ิ 188 Activity on Arc, 65 ระเบียบวธิ วี ิถวี กิ ฤต,ิ 59, 64 Activity on Node, 65 Affinity Diagram, 162 Arrow Diagram, 165 Assembly line, 7 Automated Conveyor Systems, 189 Automated guided Vehicle, 189 Automated Storage and Retrieval, 190 Automation, 188 ดัชนี | Index 403

B. Customization Focus, 9, 177 Cyclical Pattern, 88 Barcode System, 294 Batch Production,16 D. Bathtub Curve, 357 Bill of Material, 332 Decision Matrix Analysis, 209 Block Diagramming, 253 Design Out Maintenance, 363, 365 Breakdown Maintenance, 361 Detective Based Maintenance, 363, 365 Break-even Point, 195 Differentiation,40 Bullwhip Effect, 271 Business Centred Maintenance, 359 E. Business Strategy,39 Economic Order Quantity, 7, 305 C. Effectiveness,26 Efficiency,26 Capacity Requirement Planning, 346 Electronic Data Interchange, 9, 273, 278 Carrying Costs, 302 Enterprise Resource Planning, 9,281 Causal Forecasting, 89, 104-105 Expected Opportunity Loss, 212 Cause-Effect Diagram, 152 Expected Value, 211 Center of Gravity Method, 216 Exponential Smoothing, 96 Check Sheet, 153 Computer Aided Design, 9, 191 F. Computer Aided Engineering, 192 Computer Aided Manufacturing, 9, 191 Factor Rating System, 231 Computer Numerically Controlled, 191 Failure Based Maintenance, 362 Computerized Maintenance Management Failure Rate, 374 Fish Bone Diagram, 152 System, 380 Fixed – Position Layout, 239 Condition Based Maintenance, 363, 365 Fixed Order Interval System, 322 Continuous Production,15 Fixed Order Quantity System, 319 Control Chart, 161 Flexible Manufacturing System, 190 Corporate Strategy,38 Flow Process Chart, 180 Corrective Maintenance, 361 Free Flow Layout, 248 Corrective Maintenance Cost, 366 Functional Strategy, 41 Cost Leadership, 40 Critical Activity, 68, 73 G. Critical Path, 68 Critical Path Model, 59 Gantt Chart, 7, 59, 76 Customer Relationship Management, 271 Geometric Form, 246 Graph, 159 404 ดชั นี | Index Grid Layout, 248 Group Technology, 242

H. Maximin, 214 Mean Absolute Deviation, 106 Histogram, 155 Mean Square Error, 106 Holding Costs, 302 Mean Time Between Failure, 367, 375 Horizontal Pattern, 88 Medium-term Forecasting, 87 Hurwicz, 215 Minimax Regret, 214 Motion study, 7 I. Moving Average, 91 MRP Closed Loop, 346 Immediate-term Forecasting, 86 Multifactor Productivity, 22 Individual Room System, 245 Information Technology, 192 O. Item Master File, 333 Open Layout System, 246 J. Operations Management, 10 Operative Flow Process Chart, 180 Job-Shop Production,16 Order Cycle, 309 Just in Time, 8-9 Ordering Costs, 302 L. P. Labor Specialization, 6 Pareto Diagram, 154 Landscape Form, 247 Partial Factor Productivity, 22 Laplace, 215 Partnership, 275, 277 Least Squares Method, 97 Pert & CPM, 8-9 Life Cycle Cost, 359 Planned Maintenance, 361 Logistics Management, 282 Preventive Maintenance, 361 Long-term Forecasting, 87 Preventive Maintenance Cost, 366 Loop Layout, 249 Process Decision Program Chart, 166 Lot -for-lot Technique, 336 Process Focus, 175 Process Layout, 240 M. Process Technology, 188 Product Cost, 302 Maintenance Management Information Product Flow Process Chart, 180 System, 381 Product Focus, 175 Product Layout, 241 Manufacturing Resource Planning, 348 Product Structures, 332 Mass Production, 16 Product Technology, 188 Master Production Schedule, 331 Production Management, 10 Material Requirement Planning, 9 Material Resource Planning, 8-9 ดัชนี | Index 405 Matrix Data Analysis, 167 Matrix Diagram, 164 Maximax, 213

Productivity, 21 Short -term Forecasting, 86 Program Evaluation and Review, 59, 62 Shortage Costs, 303 Project Execution, 61 Shutdown Maintenance, 361 Project Initiation, 61 Simple Moving Average, 91 Project Monitoring & Control, 61 Smoothing Techniques, 91 Project Planning, 61 Spine Layout, 250 Project Review & Close, 61 Standardized Part, 6 Project Start-Up, 61 Statistical Quality Control, 7 Stock out Costs, 303 Q. Strategic Control and Evaluation, 37 Strategic Implementation, 36 Quality Function Deployment, 131-132 Strategic Planning, 36 Quantitative Forecasting, 87 Supplier Relationship Management, 274 Queuing Theory, 6 Supply Chain Management,9 Quick & Dirty Diagram, 358 Quick Response, 41 T. R. Tally Chart, 153 Time Series, 88 Radio Frequency Identification, 295 Total Factor Productivity, 22 Ranking Technique, 231 Total Productive Maintenance, 359, 376 Relation Diagram, 163 Total Quality Management, 8-9 Relationship Diagramming, 256 Total Slack, 74 Reliability, 370 Transportation management system, 295 Reliability-Centered Maintenance, 358 Transportation Models, 221 Re-Order Point, 309 Tree Diagram, 163 Repetitive Focus, 176 Trend Pattern, 88 Retail Layout, 248 Risk Based Maintenance, 359 U. Robot, 191 Running Maintenance, 361 Unplanned Maintenance, 360 Use Based Maintenance, 363, 365 S. V. Safety Stock, 319 Value Chain, 42-43 Scatter Diagram, 158 Value Driven Maintenance, 359, 378 Scientific Management, 6 Seasonal Index, 101 W. Seasonal Pattern, 88 Service Costs, 302 Weight Moving Average, 91 Service Level Work-cell Layout, 242 406 ดัชนี | Index

ประวตั ิผูเ้ ขยี น ชอ่ื -นามสกุล นายมานน เซียวประจวบ สถานท่ีทางาน สาขาวิชาการจดั การทัว่ ไป คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี ประวัตกิ ารศกึ ษา - ปริญญาโทบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) สาขาวิชาการจัดการทั่วไป จากมหาวิทยาลัย ขอนแก่น: 2547 - ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วศ.บ.) สาขาวศิ วกรรมโยธา จากมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ : 2544 ประวัตกิ ารฝกึ อบรม 1. อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ “การจัดการคณุ ภาพตามมาตรฐาน ISO 9001: 2000”: 2548 2. อบรมเชิงปฏิบัติการ “การแปลงวิสัยทัศน์สู่ภาคปฏิบัติด้วยเครื่องมือ Balanced Scorecard”: 2549 3. อบรมเชิงปฏิบตั ิการ “พัฒนาศกั ยภาพการจัดทากิจกรรม 5 ส.”: 2549 4. บริกรธุรกิจอุตสาหกรรม (Service Provider) ประเภทข้อมูลเบื้องต้นสาหรับวิสาหกิจชุมชน : 2550 ประวตั ผิ ลงานการวจิ ัย 1. ส่ือพื้นบ้านในฐานะทุนวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมการท่องเท่ียว กรณีศึกษา: บ้านเชียง จังหวัด อุดรธานี: 2549 2. การศึกษาศักยภาพและการดูแลรักษาแหล่งท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ เพื่อพัฒนาการท่องเท่ียว อยา่ งย่งั ยืน กรณศี กึ ษาอุทยานประวตั ิศาสตร์ “ภูพระบาท”: 2550 3. การพัฒนาระบบสารสนเทศการประเมินผลการจัดการเรียนการสอนเพ่ือประกันคุณภาพ การศกึ ษาของคณาจารย์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี: 2551 ประวตั ิผูเ้ ขยี น | Curriculum Vitae 407

4. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้การใช้ส่ือการสอนเกมธุรกิจจาลอง: กรณีศึกษาคณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี: 2551 5. การประเมินความต้องการจาเป็นในการพัฒนาตนเองของนักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจ คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธานี: 2555 ประสบการณ์ด้านการสอน 1. การบริหารการผลติ และการดาเนินงาน 2. การจัดการการจดั ส่งทางธุรกิจ 3. นวัตกรรมทางการจดั การ 4. การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกจิ 5. การจัดการเชงิ กลยุทธ์ 6. การจัดการธรุ กิจด้วยคอมพวิ เตอร์ ประสบการณ์ดา้ นงานบริหาร พ.ศ. 2556 - 2557 รองคณบดฝี ่ายบริหาร คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี พ.ศ. 2552 - 2556 ผชู้ ่วยคณบดี คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี ประสบการณ์ดา้ นงานธุรกจิ พ.ศ. 2547 - 2548 บริษทั โชคชัยวัฒนก์ อ่ สรา้ ง จากัด ตาแหน่งวิศวกรโครงการ พ.ศ. 2546 - 2547 บริษทั กฤษณาดวี ลี อปท์เมนต์ จากัด ตาแหนง่ วิศวกรโครงการ พ.ศ. 2544 - 2545 บริษัทอุดรพัชรกี ารโยธา จากัด ตาแหนง่ วิศวกรประจาสานักงาน 408 ประวัติผเู้ ขยี น | Curriculum Vitae

 


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook