Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Soft PLC(S)-ISEC

Soft PLC(S)-ISEC

Published by thanawit, 2019-07-08 23:31:00

Description: Soft PLC(S)-ISEC

Search

Read the Text Version

เร่ือง การใช PLC เพอ่ื ควบคุมเครนขาหยงั่ (Gantry Crane) ใน ใบงานที่ 7 ระบบลําเลยี ง SOFTPLC รูปที่ 7.4.5 (ตอ ) Ladder Diagram บน Phase1 ใบงานท่ี 7: การใช PLC เพื่อควบคุมเครนขาหยั่ง (Gantry Crane) ในระบบลําเลยี ง หนา 11 จาก 20

เร่ือง การใช PLC เพอ่ื ควบคุมเครนขาหยงั่ (Gantry Crane) ใน ใบงานที่ 7 ระบบลําเลยี ง SOFTPLC รูปที่ 7.4.5 (ตอ ) Ladder Diagram บน Phase1 ใบงานท่ี 7: การใช PLC เพื่อควบคุมเครนขาหยั่ง (Gantry Crane) ในระบบลําเลยี ง หนา 12 จาก 20

เร่ือง การใช PLC เพอ่ื ควบคุมเครนขาหยงั่ (Gantry Crane) ใน ใบงานที่ 7 ระบบลําเลยี ง SOFTPLC รูปที่ 7.4.5 (ตอ ) Ladder Diagram บน Phase1 ใบงานท่ี 7: การใช PLC เพื่อควบคุมเครนขาหยั่ง (Gantry Crane) ในระบบลําเลยี ง หนา 13 จาก 20

เร่ือง การใช PLC เพอ่ื ควบคุมเครนขาหยงั่ (Gantry Crane) ใน ใบงานที่ 7 ระบบลําเลยี ง SOFTPLC รูปที่ 7.4.5 (ตอ ) Ladder Diagram บน Phase1 ใบงานท่ี 7: การใช PLC เพื่อควบคุมเครนขาหยั่ง (Gantry Crane) ในระบบลําเลยี ง หนา 14 จาก 20

เร่อื ง การใช PLC เพ่ือควบคุมเครนขาหยั่ง (Gantry Crane) ใน ใบงานท่ี 7 ระบบลาํ เลยี ง SOFTPLC 4.4 ทาํ การ Run โปรแกรมซอฟตแ วร Plants Simulator 4.4.1 ทาํ การเชื่อมตอโปรแกรมซอฟตแ วร SoftPLC กับ Plants Simulator โดย (a) Click ท่ี Configure เลอื ก Preferences ตามรูปที่ 7.4.6 รปู ที่ 7.4.6 Click เลือก Preferences ใน Configure ใบงานท่ี 7: การใช PLC เพื่อควบคมุ เครนขาหย่ัง (Gantry Crane) ในระบบลําเลียง หนา 15 จาก 20

เรื่อง การใช PLC เพ่ือควบคุมเครนขาหย่ัง (Gantry Crane) ใน ใบงานท่ี 7 ระบบลาํ เลยี ง SOFTPLC (b) เลือก Miscellaneous และ click ชอ งวา งขา งหนา Enable Communication with Plants Simulator Software ใหมเี ครื่องหมาย  ปรากฏ ดังรูปที่ 7.4.7 รูปที่ 7.4.7 Click ชองวางหนา Enable Communication with Plants Simulator Software ใบงานท่ี 7: การใช PLC เพ่ือควบคมุ เครนขาหย่งั (Gantry Crane) ในระบบลาํ เลยี ง หนา 16 จาก 20

เร่ือง การใช PLC เพ่อื ควบคุมเครนขาหยงั่ (Gantry Crane) ใน ใบงานที่ 7 ระบบลาํ เลยี ง SOFTPLC 4.4.2 ทาํ การ Start โปรแกรมโดย click ทปี่ ุม ดงั รูปท่ี 7.4.8 และจะปรากฏสัญลักษณที่ taskbar ตรงมุมขวาดา นลา งตามรูปที่ 7.4.9 Start รูปท่ี 7.4.8 การ Start โปรแกรม รูปท่ี 7.4.9 โปรแกรมจะถูกยอมาอยูม ุมขวาลา ง ใบงานที่ 7: การใช PLC เพือ่ ควบคุมเครนขาหยั่ง (Gantry Crane) ในระบบลาํ เลียง หนา 17 จาก 20

เรอื่ ง การใช PLC เพอื่ ควบคมุ เครนขาหยัง่ (Gantry Crane) ใน ใบงานที่ 7 ระบบลําเลยี ง SOFTPLC 4.4.3 ทาํ การ Run โปรแกรมซอฟตแ วร Plants Simulator โดย click ทไี่ อคอน Plants Simulator ที่อยูบ น Desktop (a) จะปรากฏโปรแกรมซอฟตแ วร Plants Simulator for SoftPLC ตามรปู ท่ี 7.4.10 และ click ที่ Select Machine รปู ท่ี 7.4.10 การ Run โปรแกรมซอฟตแ วร Plants Simulator ใบงานท่ี 7: การใช PLC เพื่อควบคมุ เครนขาหยั่ง (Gantry Crane) ในระบบลาํ เลียง หนา 18 จาก 20

เรื่อง การใช PLC เพอ่ื ควบคมุ เครนขาหยง่ั (Gantry Crane) ใน ใบงานที่ 7 ระบบลําเลยี ง SOFTPLC (b) เลือก Machine file ช่อื Gantry System จากนัน้ click ที่ Run Machine ตามรปู ท่ี 7.4.11 จะปรากฏแบบจาํ ลองระบบเครนขาหยง่ั (Gantry System) ทเ่ี ลือกไวต ามรูป ที่ 7.4.12 ซงึ่ จะเหน็ การทํางานของแบบจาํ ลองนเี้ ปนภาพเคลอ่ื นไหว ซง่ึ ถกู ควบคมุ การ ทาํ งานดว ยโปรแกรม Ladder รปู ท่ี 7.4.11 การเลอื ก Machine File รปู ที่ 7.4.12 การแสดงการจําลองการทาํ งานของระบบเครนขาหย่งั (Gantry System) ใบงานที่ 7: การใช PLC เพอื่ ควบคมุ เครนขาหยงั่ (Gantry Crane) ในระบบลาํ เลยี ง หนา 19 จาก 20

เร่ือง การใช PLC เพ่ือควบคมุ เครนขาหย่งั (Gantry Crane) ใน ใบงานที่ 7 ระบบลําเลยี ง SOFTPLC 5) ผลการทดลอง 6) สรปุ ผลการทดลอง 7) แบบฝกหดั การทดลอง จงแกไขโปรแกรม Ladder เพื่อใหร ะบบลาํ เลยี งมกี ารทํางานดังตอ ไปนี้ เมื่อเครนขาหยงั่ หยิบจับชิ้นงานไป วางยังสายพานลาํ เลยี งชิ้นงานออกจากระบบแลว แตสายพาน ลําเลยี งชนิ้ งานออกจากระบบจะยงั ไมทํางานจนกวาเครนขาหยง่ั จะเคลอื่ นทีข่ ึ้นสดุ ดังรปู ท่ี 7.7.1 ตําแหนงเครนขาหยงั่ เม่ือเคลื่อนที่ ขนึ ้ สดุ รปู ท่ี 7.7.1 ตําแหนงเครนขาหยงั่ เมื่อเคลื่อนทข่ี ึน้ สุด ใบงานที่ 7: การใช PLC เพอ่ื ควบคุมเครนขาหยัง่ (Gantry Crane) ในระบบลาํ เลยี ง หนา 20 จาก 20

เรื่อง ใบงานที่ 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจุผลติ ภัณฑโดยทํางานรว มกับ หุนยนตช นดิ SCARA เน้ือหารายละเอยี ดใบงาน 1) วตั ถุประสงค 1.1 สามารถออกแบบโปรแกรมโดยใชไ ดอะแกรมขน้ั บนั ได (Ladder Diagram) 1.2 สามารถออกแบบการบรรจุผลติ ภัณฑอัตโนมตั ซิ ึ่งทํางานรว มกบั หนุ ยนตช นิด SCARA ได 1.3 สามารถออกแบบโปรแกรม PLC เพือ่ ใชในการควบคุมงานบรรจุผลิตภัณฑอ ตั โนมตั ิได 2) เนื้อหาและหลกั การ 2.1 แนะนําระบบ ระบบนจ้ี ะเริม่ จากรถ Folk Lift ขนกลอ งบรรจผุ ลติ ภณั ฑมาวางไวท่ี Conveyor Roller 2 (ดูรูปที่ 8.2.2) เพือ่ ลาํ เลียงกลอ งมายงั ตาํ แหนงที่กําหนดไว โดยใชตัว Stopper 4 ตัวเปนตวั หยดุ กลองไวในตาํ แหนง ท่ี กําหนด โดยมี Photocell2 (INP 9) เปน Sensor ตรวจสอบวา มีกลองในตําแหนงท่กี ําหนดหรอื ไม และมี Sensor ทจี่ ดุ หยิบช้นิ งานอีก 2 ตวั เปนตวั กําหนดตําแหนง ทแ่ี นนอนในการหาตําแหนงของแขนหนุ ยนต รวมถงึ การทาํ ใหต วั Stopper ทํางาน โดยช้นิ งานจะ ถูกลาํ เลียงมาจาก Conveyor Belt 1 และที่ปลายสุดของ Conveyor Belt 1 มี Induction Switch อยู 4 ตวั เพื่อตรวจสอบวา มีของอยหู รอื ไม โดยแขนหนุ ยนตจะจบั ชนิ้ งานจากซายสุดไปขวาสุด มาเรียง ใสในกลองท่ีมชี องอยสู ชี่ องเรยี งตามรปู ที่ 8.2.1 a) เม่ือเตม็ แลว ตวั Stopper ท่ีอยูดา นหนา กลอง (Join Table1 Stopper 8 South) จะปลอ ย แลว ตวั Roller Pusher ใตก ลอ ง จะดนั กลอง เพื่อสงตอให Conveyor Roller 1 ลาํ เลียงเขา Line ผลติ อ่นื หรือ Plant อ่นื ตอไป และจะทํางาน ซาํ้ โดยเม่อื ไมมีกลอ งตรงพน้ื ท่ีบรรจชุ ิน้ งานแลวไฟเขียวจะติดและจะเปน การสง สัญญาณให รถ Folk Lift ขน กลอ งเขา มา ไฟแดงใชเ ตือนวา มอี ันตรายจากรถ Folk Lift หา มเขา ไฟเหลืองระวงั เนอื่ งจากเครื่องจกั รกําลงั ทํางาน ดังรปู ท่ี 8.2.2 24 13 รูปท่ี 8.2.1 รปู a) กลอ งพรอมตาํ แหนงการวาง b) หุนยนต SCARA ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจผุ ลิตภณั ฑโดยทาํ งานรว มกบั หุน ยนตช นดิ SCARA หนา 1 จาก 29

เรอ่ื ง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภัณฑโ ดยทํางานรว มกบั หนุ ยนตชนดิ SCARA ทางรถ Folk Conveyor Roller 2 จดุ ท่แี ขนหุน ยนตหยบิ จับช้นิ งาน ้้้้ ตําแหนง ทช่ี ้นิ งานหยุด ตําแหนงท่ีกลองหยุด ลําเลียงชิ้นงานมา Conveyor Roller1 Conveyor Belt 1 รูปท่ี 8.2.2 ระบบการบรรจผุ ลติ ภัณฑท าํ งานรว มกับหนุ ยนตชนิด SCARA ใบงานที่ 8: การออกแบบการบรรจุผลติ ภณั ฑโ ดยทํางานรว มกบั หนุ ยนตชนดิ SCARA หนา 2 จาก 29

เร่อื ง ใบงานที่ 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลิตภณั ฑโ ดยทาํ งานรวมกบั หุนยนตชนดิ SCARA 2.2 อุปกรณ Input/Output ระบบที่จะควบคุมประกอบดวยอุปกรณ Input และ Output ของ PLC ตามรูปท่ี 8.2.3 ตัวอกั ษรสี เขยี วคอื Input ตวั อักษรสแี ดงคือ Output และสีเหลอื งคอื Data Stack ซึง่ ใชส งขอ มลู ตําแหนง ของขอ ตา งๆ ของแขนหนุ ยนต รูปท่ี 8.2.3 Input /Output ในระบบการบรรจุผลติ ภณั ฑท าํ งานรว มกบั หนุ ยนตช นิด SCARA หมายเหตุ การแสดงรายละเอยี ดใหกด F1 ในโปรแกรมซอฟตแ วร Plants Simulator การเปลยี่ นมมุ มองทาํ ได โดยการกดเลข 1-9 เลข 0 เปลย่ี นมุมมองแบบอัตโนมัติ โดยปมุ ที่กลาวไมไดรวมถึงสวน Num Lock ดวย ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลิตภณั ฑโดยทํางานรว มกบั หุนยนตช นิด SCARA หนา 3 จาก 29

เรอ่ื ง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลิตภณั ฑโ ดยทาํ งานรว มกบั หุนยนตชนดิ SCARA 2.3 ลาํ ดบั การทํางานของระบบ ระบบตอ งสามารถทาํ งานไดตามขั้นตอนและเงอ่ื นไข ตาม Sequential Function Chart (SFC) ดังตอ ไปน้ี (สําหรับรายละเอยี ด Input และ Output รวมถงึ ตําแหนงแขนหนุ ยนต (แทนดว ย Robot) ดู รายละเอยี ดในตารางที่ 8.4.1) รปู ที่ 8.2.4 ลําดับขัน้ ตอนการทํางานของระบบ ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลิตภัณฑโดยทาํ งานรว มกับหนุ ยนตช นิด SCARA หนา 4 จาก 29

เร่อื ง ใบงานที่ 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจุผลติ ภัณฑโดยทํางานรวมกบั หนุ ยนตชนดิ SCARA รูปท่ี 8.2.4 (ตอ) ลําดบั ขัน้ ตอนการทํางานของระบบ หนา 5 จาก 29 ใบงานที่ 8: การออกแบบการบรรจุผลติ ภัณฑโดยทํางานรว มกบั หุน ยนตชนิด SCARA

เรือ่ ง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจุผลติ ภัณฑโ ดยทาํ งานรวมกับ หุนยนตชนิด SCARA รปู ท่ี 8.2.4 (ตอ ) ลาํ ดบั ข้นั ตอนการทํางานของระบบ 3) อุปกรณการทดลอง 3.1 Software SoftPLC 1 User License 3.2 USB License Key 1 คยี  3.3 คอมพิวเตอร 1 เครือ่ ง 4) การทดลอง 4.1 Create new program โดยมีขน้ั ตอนดงั น้ี 4.1.1 เปด โปรแกรมซอฟตแ วร SoftPLC ท่อี ยบู น desktop โดย double click ท่ไี อคอน จากนั้นจะปรากฏหนา ตางตามรปู ที่ 8.4.1 click ท่แี ทป Create new program Create New Program รปู ที่ 8.4.1 Create New Program หนา 6 จาก 29 ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจผุ ลิตภณั ฑโ ดยทาํ งานรวมกบั หุนยนตชนิด SCARA

เร่ือง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภณั ฑโ ดยทํางานรว มกบั หุน ยนตช นิด SCARA 4.1.2 เมอ่ื หนาตางตามรูปที่ 8.4.2 ปรากฏ ใหท ําการกาํ หนดที่อยูพ รอ มต้ังชอ่ื ของโปรแกรม Create New Folder รปู ท่ี 8.4.2 ต้ังชอ่ื โฟลเดอรทีบ่ ันทึกโปรแกรม ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจผุ ลิตภัณฑโ ดยทํางานรวมกับหนุ ยนตชนิด SCARA หนา 7 จาก 29

เรอ่ื ง ใบงานที่ 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภัณฑโดยทาํ งานรวมกับ หนุ ยนตช นดิ SCARA 4.1.3 ตงั้ ช่อื โปรแกรมทีอ่ ยใู นโฟลเดอรท ่เี ราสรา งไว แลว click Open ตามรูปที่ 8.4.3 ต้งั ช่อื โปรแกรม รปู ท่ี 8.4.3 ตั้งช่ือโปรแกรม 4.2 จากโปรแกรมซอฟตแวร Plants Simulator โดยกําหนด I/O Address ไดด ังตารางที่ 8.4.1 ตารางท่ี 8.4.1 Input และ Output และ Data Stack Address ชอ่ื หนาที่การทํางาน INP 1 ScaraRobot1 Part Detected ตรวจสอบชิ้นงานที่ Gripper INP 2 InductiveSwitch1 ตรวจสอบตาํ แหนง ชิน้ งาน “ ชิน้ แรก ” INP 3 InductiveSwitch2 ตรวจสอบตําแหนงชน้ิ งาน “ ชิ้นทส่ี อง ” INP 4 InductiveSwitch3 ตรวจสอบตาํ แหนงชิน้ งาน “ ชิน้ ท่สี าม ” INP 5 InductiveSwitch4 ตรวจสอบตาํ แหนงชิ้นงาน “ ชิน้ ทส่ี ่ี ” INP 6 Join Table1 DetectN ตรวจสอบตําแหนงกลอ งบรรจผุ ลิตภณั ฑทางสวนทายกลอ ง INP 7 Join Table1 DetectS ตรวจสอบตาํ แหนง กลอ งบรรจุผลิตภณั ฑทางสวนหนากลอ ง INP 8 Photocell1 ตรวจสอบตําแหนงช้นิ งานในสายพาน Conveyor Belt1 INP 9 Photocell2 ตรวจสอบตาํ แหนงช้ินงานในสายพาน ConveyorRoller2 ใบงานที่ 8: การออกแบบการบรรจุผลติ ภัณฑโดยทํางานรว มกบั หนุ ยนตชนดิ SCARA หนา 8 จาก 29

เรื่อง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภณั ฑโ ดยทํางานรวมกบั หุนยนตชนดิ SCARA Address ช่ือ หนาทก่ี ารทํางาน OUT 1 ConveyorRoller2 Advance รางเลือ่ น 2 หมนุ ขา งหนา OUT 2 ConveyorRoller2 Reverse รางเลอ่ื น 2 หมนุ กลบั ดา น OUT 3 ConveyorRoller1 Advance รางเลือ่ น 1 หมนุ ขา งหนา OUT 4 ConveyorRoller1 Reverse รางเล่อื น 1 หมุนกลับดา น OUT 5 ลกู เล่ือนดนั กลอ ง OUT 6 Roller Ball ตัวหยุดกลองทศิ ตะวันตกและตะวันออก OUT 7 Stopper West & East ตวั หยดุ กลองทิศเหนือ OUT 8 ตัวหยุดกลองทศิ ใต OUT 9 Stopper North สายพานลําเลยี งชนิ้ งาน OUT 10 Stopper South มอื จับของหนุ ยนต SCARA Conveyor Belt1 ScaraRobot1 CloseGrip10 ตารางท่ี 8.4.1 (ตอ ) Input Output และ Data Stack Address ชื่อ หนาทีก่ ารทํางาน DAT1 DAT2 ScaraRobot1 Arm1 จดุ หมนุ ทฐ่ี านของหนุ ยนต (joint 1) DAT3 DAT4 Dat Arm2 จดุ หมุนของแขนที่ 1 (joint 2) Dat Arm3 แขนเลื่อนข้ึนลง Dat Arm4 ตวั หมุน Gripper ใบงานที่ 8: การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภณั ฑโดยทํางานรว มกับหนุ ยนตชนิด SCARA หนา 9 จาก 29

เร่ือง ใบงานท่ี 8 การออกแบบการบรรจุผลิตภัณฑโ ดยทํางานรว มกบั SOFTPLC หนุ ยนตชนิด SCARA 4.3 เขยี นโปรแกรม โดยมีขน้ั ตอนดงั นี้ 4.3.1 เม่ือตง้ั ชื่อเสร็จแลว จะปรากฏหนา ตา งแสดงการทาํ งานตามรูปที่ 8.4.4 รูปที่ 8.4.4 หนาตา งโปรแกรมซอฟตแ วร SoftPLC ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลติ ภัณฑโดยทํางานรวมกับหนุ ยนตชนดิ SCARA หนา 10 จาก 29

เร่อื ง ใบงานท่ี 8 การออกแบบการบรรจผุ ลิตภณั ฑโ ดยทํางานรว มกบั SOFTPLC หนุ ยนตชนิด SCARA 4.3.2 ทําการเขียน Ladder Diagram โดยมขี ั้นตอนตา ง ๆ ดงั น้ี (a) ใน Phase1 เขยี น Ladder Diagram ดังรปู ที่ 8.4.5 รูปที่ 8.4.5 Ladder Diagram บน Phase1 ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลิตภณั ฑโ ดยทาํ งานรวมกับหนุ ยนตช นิด SCARA หนา 11 จาก 29

เร่ือง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภณั ฑโ ดยทํางานรว มกับ หนุ ยนตช นิด SCARA รปู ท่ี 8.4.5 (ตอ ) Ladder Diagram บน Phase1 หนา 12 จาก 29 ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลติ ภณั ฑโดยทาํ งานรวมกบั หนุ ยนตชนดิ SCARA

เร่ือง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภณั ฑโ ดยทํางานรว มกับ หนุ ยนตช นิด SCARA รปู ท่ี 8.4.5 (ตอ ) Ladder Diagram บน Phase1 ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลติ ภณั ฑโดยทาํ งานรวมกบั หนุ ยนตชนดิ SCARA หนา 13 จาก 29

เร่ือง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภณั ฑโ ดยทํางานรว มกับ หนุ ยนตช นิด SCARA รปู ท่ี 8.4.5 (ตอ ) Ladder Diagram บน Phase1 ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลติ ภณั ฑโดยทาํ งานรวมกบั หนุ ยนตชนดิ SCARA หนา 14 จาก 29

เร่ือง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภณั ฑโ ดยทํางานรว มกับ หนุ ยนตช นิด SCARA รปู ท่ี 8.4.5 (ตอ ) Ladder Diagram บน Phase1 ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลติ ภณั ฑโดยทาํ งานรวมกบั หนุ ยนตชนดิ SCARA หนา 15 จาก 29

เร่ือง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภณั ฑโ ดยทํางานรว มกับ หนุ ยนตช นิด SCARA รปู ท่ี 8.4.5 (ตอ ) Ladder Diagram บน Phase1 ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลติ ภณั ฑโดยทาํ งานรวมกบั หนุ ยนตชนดิ SCARA หนา 16 จาก 29

เร่ือง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภณั ฑโ ดยทํางานรว มกับ หนุ ยนตช นิด SCARA รปู ท่ี 8.4.5 (ตอ ) Ladder Diagram บน Phase1 ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลติ ภณั ฑโดยทาํ งานรวมกบั หนุ ยนตชนดิ SCARA หนา 17 จาก 29

เรอ่ื ง ใบงานที่ 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจุผลิตภณั ฑโ ดยทาํ งานรวมกับ หนุ ยนตชนดิ SCARA (b) Add Phase2 โดยการ click ขวา ที่ L1:Level1 และ click เลือก New Phase ตามลําดบั ดังรปู ท่ี 8.4.6 (เนือ่ งจากจาํ นวนบรรทดั ของ Ladder Diagram ในแตละ เฟสมจี ํานวนจาํ กัด เมือ่ จาํ นวนบรรทดั ในเฟส 1 เต็ม จงึ ตองไปเขยี นตอ ในเฟส 2 1 2 รูปท่ี 8.4.6 วิธกี าร Add Phase2 ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลิตภณั ฑโ ดยทาํ งานรว มกับหนุ ยนตช นดิ SCARA หนา 18 จาก 29

เรื่อง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจุผลิตภัณฑโ ดยทํางานรว มกบั หุน ยนตช นดิ SCARA (c) หลังจาก Add Phase2 เรียบรอ ยแลว ให Double click ท่ี Ph2: Phase2 ในชอง ส่ีเหลีย่ มสแี ดง แลวจะปรากฏหนา ตางดังรูปที่ 8.4.7 รปู ที่ 8.4.7 หนาตา ง Phase2 ใบงานที่ 8: การออกแบบการบรรจผุ ลิตภณั ฑโ ดยทาํ งานรว มกบั หนุ ยนตชนดิ SCARA หนา 19 จาก 29

เรื่อง ใบงานท่ี 8 การออกแบบการบรรจุผลติ ภณั ฑโ ดยทาํ งานรว มกบั SOFTPLC หนุ ยนตช นดิ SCARA (d) จากนั้นใหเขยี น Ladder Diagram บน Phase2 ตามรูปท่ี 8.4.8 รปู ที่ 8.4.8 Ladder Diagram บน Phase2 ใบงานที่ 8: การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภณั ฑโ ดยทํางานรว มกบั หนุ ยนตช นิด SCARA หนา 20 จาก 29

เร่ือง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภณั ฑโ ดยทํางานรว มกับ หนุ ยนตช นิด SCARA รปู ท่ี 8.4.8 (ตอ ) Ladder Diagram บน Phase2 ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลติ ภณั ฑโดยทาํ งานรวมกบั หนุ ยนตชนดิ SCARA หนา 21 จาก 29

เร่ือง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภณั ฑโ ดยทํางานรว มกับ หนุ ยนตช นิด SCARA รปู ท่ี 8.4.8 (ตอ ) Ladder Diagram บน Phase2 ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลติ ภณั ฑโดยทาํ งานรวมกบั หนุ ยนตชนดิ SCARA หนา 22 จาก 29

เร่ือง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจุผลิตภัณฑโ ดยทาํ งานรว มกบั หุนยนตช นิด SCARA 4.4 ทาํ การ Run โปรแกรมซอฟตแ วร Plants Simulator 4.4.1 ทําการเช่ือมตอ โปรแกรมซอฟตแ วร SoftPLC กบั Plants Simulator โดย (a) Click ที่ Configure เลอื ก Preferences ตามรปู ท่ี 8.4.9 รูปท่ี 8.4.9 Click เลอื ก Preferences ใน Configure ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจผุ ลิตภณั ฑโ ดยทาํ งานรว มกับหนุ ยนตชนิด SCARA หนา 23 จาก 29

เรื่อง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจุผลิตภณั ฑโดยทาํ งานรว มกับ หุนยนตชนดิ SCARA (b) เลอื ก Miscellaneous และ click ชอ งวางขา งหนา Enable Communication with Plants Simulator Software ใหม เี ครื่องหมาย  ปรากฏ ดังรูปท่ี 8.4.10 รปู ท่ี 8.4.10 Click ชอ งวางหนา Enable Communication with Plants Simulator Software ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลติ ภัณฑโ ดยทาํ งานรวมกับหุนยนตช นิด SCARA หนา 24 จาก 29

เรอ่ื ง ใบงานที่ 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภัณฑโดยทํางานรว มกบั หุนยนตช นดิ SCARA 4.4.2 ทําการ Start โปรแกรมโดย click ทปี่ ุม ดังรปู ท่ี 8.4.11 และจะปรากฏสัญลกั ษณท่ี taskbar ตรงมมุ ขวาดา นลางตามรูปท่ี 8.4.12 Start รูปท่ี 8.4.11 การ Start โปรแกรม รูปที่ 8.4.12 โปรแกรมจะถกู ยอมาอยูม มุ ขวาลา ง ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลติ ภัณฑโดยทํางานรว มกับหุนยนตชนิด SCARA หนา 25 จาก 29

เร่อื ง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลิตภณั ฑโ ดยทํางานรวมกบั หุน ยนตชนดิ SCARA 4.4.3 ทาํ การ Run โปรแกรมซอฟตแวร Plants Simulator โดย click ทีไ่ อคอน Plants Simulator ท่ีอยูบน Desktop (a) จะปรากฏโปรแกรมซอฟตแ วร Plants Simulator for SoftPLC ตามรูปท่ี 8.4.13 และ click ที่ Select Machine รปู ท่ี 8.4.13 การ Run โปรแกรมซอฟตแวร Plants Simulator ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลิตภัณฑโดยทํางานรว มกบั หนุ ยนตชนิด SCARA หนา 26 จาก 29

เรอ่ื ง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจุผลติ ภัณฑโ ดยทาํ งานรวมกับ หนุ ยนตชนดิ SCARA (b) เลอื ก Machine file ชือ่ Packing Scara Robot จากนนั้ click ที่ Run Machine ตามรูปท่ี 8.4.14 และจะปรากฏแบบจาํ ลองของระบบบรรจุผลิตภณั ฑท่ีทาํ งานโดย หุนยนตชนิด SCARA ทเ่ี ลือกไวตามรปู ที่ 8.4.15 ซึง่ จะเหน็ การทาํ งานของแบบจําลอง น้เี ปนภาพเคลือ่ นไหว ซึง่ ถูกควบคุมการทํางานดว ยโปรแกรม Ladder รปู ที่ 8.4.14 การเลือก Machine File ใบงานที่ 8: การออกแบบการบรรจุผลิตภณั ฑโ ดยทาํ งานรวมกบั หนุ ยนตช นดิ SCARA หนา 27 จาก 29

เรอื่ ง ใบงานท่ี 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจุผลิตภณั ฑโ ดยทาํ งานรวมกบั หุนยนตชนดิ SCARA รปู ที่ 8.4.15 การแสดงการจาํ ลองการทํางานของ Machine ใบงานท่ี 8: การออกแบบการบรรจุผลติ ภัณฑโดยทาํ งานรว มกับหุนยนตช นิด SCARA หนา 28 จาก 29

เรื่อง ใบงานที่ 8 SOFTPLC การออกแบบการบรรจผุ ลิตภณั ฑโ ดยทํางานรว มกับ หนุ ยนตชนดิ SCARA 5) ผลการทดลอง 6) สรปุ ผลการทดลอง 7) แบบฝกหัดการทดลอง 7.1 ออกแบบโปรแกรม PLC โดยใหบ รรจชุ ้ินงานลงกลอ งใหค รบ 10 กลองแลวใหหยุดทํางาน 7.2 จากการจาํ ลองในการวางชน้ิ งานลงมาในกลองพบวา Gripper จับวางชิ้นงานไมต รง (ไมตั้งฉากกบั กลอ ง) จงออกแบบให Gripper จับวางช้นิ งานใหต รงตามรูปท่ี 8.7.3 ใบงานที่ 8: การออกแบบการบรรจผุ ลติ ภัณฑโดยทํางานรว มกบั หนุ ยนตช นดิ SCARA หนา 29 จาก 29

เรอื่ ง การสราง Plant ดว ย Plants Editor ใบงานที่ 9 Plants Editor เนอ้ื หารายละเอียดใบงาน 1) วัตถปุ ระสงค 1.1 สามารถเขาใจหลักการสรา ง Plant ดว ยโปรแกรมซอฟตแวร Plants Editor 1.2 สามารถมองเห็นภาพในการออกแบบกระบวนการผลติ ไดช ัดเจนยง่ิ ข้ึน 1.3 สามารถเขาใจการเขยี นโปรแกรม PLC เบอ้ื งตน 2) เนอื้ หาและหลักการ 2.1 แนะนําโปรแกรมซอฟตแ วร Plants Editor โปรแกรมซอฟตแวร Plants Editor เปนโปรแกรมซอฟตแ วรท ่ใี ชอ อกแบบ plant หรือแบบจาํ ลอง กระบวนการทางอตุ สาหกรรมทีเ่ ปน ภาพ 3 มติ เิ สมือนจรงิ โดยสามารถเลือกชิ้นสวนและอุปกรณท ่ีจะใชในการ สรา งแบบจาํ ลอง เชน แขนหุนยนตช นิดตา งๆ สายพานลาํ เลยี ง เครื่องจักร สวติ ชและตัวตรวจจบั (sensors) ตา งๆ รูปแบบโรงงานหรือแมกระท่งั สที องฟา จากชิ้นสว นและ อุปกรณสําเร็จรปู ทีเ่ กบ็ อยูใน Library ของ ซอฟตแ วร และเม่ือสรา งแบบจําลองเสร็จ ก็สามารถจําลองการทาํ งานไดโดยใชโปรแกรมซอฟตแ วร SoftPLC ในการเขยี น Ladder Diagram เพือ่ ควบคุมการทํางานของแบบจําลอง และใชโปรแกรมซอฟตแ วร Plants Simulator ในการเปด แบบจําลองทเี่ ราสรา งขึ้น เพอ่ื การจําลองการทาํ งานของแบบจาํ ลองทคี่ วบคุมโดย โปรแกรม Ladder Diagram ที่อยูในโปรแกรมซอฟตแ วร SoftPLC ในลกั ษณะปฏสิ ัมพันธหรือเชิงโตตอบ (Interactive) 3) อุปกรณก ารทดลอง 3.1 Software SoftPLC 1 User License 3.2 USB License Key 1 คีย 3.3 Software Plants Editor 1 User License 3.4 คอมพวิ เตอร 1 เครื่อง ใบงานท่ี 9: การสราง Plant ดว ย Plants Editor หนา 1 จาก 57

เรื่อง การสราง Plant ดวย Plants Editor ใบงานท่ี 9 Plants Editor 4) การทดลอง 4.1 การสรา งแบบจาํ ลองใน Plants Editor 4.1.1 เปดโปรแกรมซอฟตแ วร Plants Editor ทอี่ ยูบน desktop โดย double click ท่ไี อคอน จากนัน้ จะปรากฏจอหนาตา งตามรูปท่ี 9.4.1 1 2 รูปท่ี 9.4.1หนา ตา งโปรแกรมซอฟตแ วร Plants Editor ใบงานท่ี 9: การสราง Plant ดวย Plants Editor หนา 2 จาก 57

เรอื่ ง การสราง Plant ดว ย Plants Editor ใบงานท่ี 9 Plants Editor 4.1.2 click ที่ File (1) และเลือกclick save (2) ตามรูปท่ี 9.4.1 เพื่อเลอื กที่จดั เกบ็ และบันทกึ แบบจําลอง จะปรากฏจอหนา ตา งตามรูปที่ 9.4.2 รูปท่ี 9.4.2 จอหนา ตา งทีจ่ ัดเกบ็ และบนั ทกึ แบบจาํ ลองโปรแกรม ใบงานท่ี 9: การสราง Plant ดว ย Plants Editor หนา 3 จาก 57

เรือ่ ง การสรา ง Plant ดวย Plants Editor ใบงานที่ 9 Plants Editor 4.1.3 click ที่ เลอื กทีจ่ ัดเก็บแบบจําลองที่สรา งขน้ึ โดยเลอื กที่ Desktop (1) และclick ขวา เลือก New ->Folder (3) เพือ่ งายตอ การหา ตง้ั ชือ่ ตามตอ งการ และกด Save ตามรูปที่ 9.4.3 click ขวาตรงที่ เลอื ก Folder 12 3 รปู ท่ี 9.4.3 ข้นั ตอนการสราง Folder ในการจัดเกบ็ โปรแกรม ใบงานท่ี 9: การสราง Plant ดว ย Plants Editor หนา 4 จาก 57

เรื่อง การสรา ง Plant ดว ย Plants Editor ใบงานท่ี 9 Plants Editor 4.2 การเลือก Component 4.2.1 การเพมิ่ Conveyor Belt (a) click แทบ Components ในหนาตา งดานลางทางซา ย click เครอื่ งหมาย + หนา Components->Transporters และดบั เบิ้ลclick ที่ Conveyor Belt เพอ่ื เพ่ิม Conveyor Belt ลงไปในแบบจาํ ลอง ตามรปู ที่ 9.4.4 ดบั เบล้ิ click ท่ี Conveyor Belt รูปท่ี 9.4.4 การเพิม่ Conveyor Belt ลงไปในแบบจาํ ลอง ใบงานท่ี 9: การสราง Plant ดว ย Plants Editor หนา 5 จาก 57

เรือ่ ง การสรา ง Plant ดวย Plants Editor ใบงานท่ี 9 Plants Editor (b) ตัง้ คา ตางๆในหนาตางตรงกลางทางดานซายของโปรแกรมตามตารางท่ี 9.4.1 จะทาํ ให Conveyor Belt ไปอยูตามตาํ แหนงท่ีกาํ หนดโดยพกิ ัดของคา X, Y, และ Z และมี PLCOutputRun ท่ตี อ งการ (PLCOutputRun คือ หมายเลข Output ในโปรแกรม PLC ท่ีจะมาสง่ั Conveyor Belt ใหท าํ งาน ซ่ึงตามตารางนก้ี าํ หนดใหเ ปน หมายเลข 1) จะไดตามรปู ที่ 9.4.5 ตารางที่ 9.4.1 Index Identifier 0 PLC PLCOutputRun 1 Properties Description Conveyor Belt1 Height 4 Name Conveyor Belt Position -1,0.7,0.7 X -1 Y 0.7 Z 0.7 Rotate 180 Slides True Speed 1 Width 0.4 ใบงานท่ี 9: การสราง Plant ดว ย Plants Editor หนา 6 จาก 57

เรือ่ ง การสราง Plant ดว ย Plants Editor ใบงานที่ 9 Plants Editor รปู ที่ 9.4.5 การกาํ หนดตําแหนง Conveyor Belt ในแบบจําลอง ใบงานที่ 9: การสรา ง Plant ดวย Plants Editor หนา 7 จาก 57

เรือ่ ง การสราง Plant ดวย Plants Editor ใบงานที่ 9 Plants Editor 4.2.2 เพิม่ Photocell (a) click แทบ Components ในหนา ตา งดา นลา งทางซา ย click เครื่องหมาย + หนา Components->Photocells และดบั เบล้ิ click ที่ Photocell เพื่อเพิ่ม Photocell ลงไปในในแบบจําลอง ตามรูปท่ี 9.4.6 ดบั เบิล้ click ท่ี Photocell รปู ที่ 9.4.6 การเพ่ิม Photocell ลงไปในในแบบจําลอง ใบงานที่ 9: การสราง Plant ดว ย Plants Editor หนา 8 จาก 57

เรอื่ ง การสราง Plant ดว ย Plants Editor ใบงานที่ 9 Plants Editor (b) ต้ังคาตางๆในหนา ตางตรงกลางทางดานซา ยของโปรแกรมตามตารางท่ี 9.4.2 จะทําให Photocell ไปอยตู ามตาํ แหนงทีก่ าํ หนด และมี PLCSignalInput (หมายเลข Input ในโปรแกรม PLC ซ่ึงตามตารางน้ีกําหนดใหเปน หมายเลข 1) ทีต่ องการ จะไดตามรปู ที่ 9.4.7 ตารางท่ี 9.4.2 Index Identifier 1 PLC PLCSignalInput 1 Properties Description Photocell Name Photocell Position -0.75, 1.58, 2.6 X -0.75 Y 1.58 Z 2.6 Rotate 0 Scale 0.5, 0.5, 0.5 X 0.5 Y 0.5 Z 0.5 ใบงานที่ 9: การสราง Plant ดว ย Plants Editor หนา 9 จาก 57

เรอื่ ง การสรา ง Plant ดวย Plants Editor ใบงานที่ 9 Plants Editor รูปท่ี 9.4.7 การกําหนดตําแหนง Photocell ใบงานท่ี 9: การสรา ง Plant ดว ย Plants Editor หนา 10 จาก 57

เรื่อง การสรา ง Plant ดวย Plants Editor ใบงานท่ี 9 Plants Editor 4.2.3 เพิม่ Apple ลงในแบบจาํ ลอง (a) แทบ Workpart ในหนา ตางดานลา งทางซา ย click เคร่อื งหมาย + หนา Workparts และดับเบ้ลิ click ท่ี Workpart เพือ่ เพมิ่ Workpart ลงไปในในแบบจาํ ลอง ตามรปู ที่ 9.4.8 ดับเบล้ิ click ท่ี WorkParts รูปท่ี 9.4.8 การเพม่ิ WorkParts ลงไปในในแบบจําลอง ใบงานท่ี 9: การสรา ง Plant ดว ย Plants Editor หนา 11 จาก 57


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook