Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Soft PLC(S)-ISEC

Soft PLC(S)-ISEC

Published by thanawit, 2019-07-08 23:31:00

Description: Soft PLC(S)-ISEC

Search

Read the Text Version

ใบงานการทดลอง ชุดครุภัณฑ์ห้องปฏบิ ัติการจาํ ลองงานออกแบบเสมือนจริงและทดสอบ ระบบควบคมุ เครื่องจกั รกลอุตสาหกรรมอัตโนมตั ชิ น้ั สงู เร่ือง ระบบออกแบบควบคมุ เครือ่ งจกั รกลอตุ สาหกรรมอตั โนมตั ิ ดว้ ยโปรแกรมซอฟต์แวร์ SoftPLC บรษิ ัท ไอเสค็ องิ ค์ จาํ กัด www.isec-inc.com

ใบงานการทดลอง ชดุ ครภุ ัณฑห์ อ้ งปฏบิ ตั ิการจาํ ลองงานออกแบบเสมอื นจริงและทดสอบระบบควบคมุ เครื่องจักรกล อุตสาหกรรมอตั โนมัตชิ นั้ สงู เรอ่ื ง ระบบออกแบบควบคุมเครื่องจักรกลอุตสาหกรรมอตั โนมตั ดิ ว้ ยโปรแกรมซอฟต์แวร์ SoftPLC ISEC-SoftPLC(S)-AC2556 Version 2 สงวนลิขสทิ ธติ์ ามกฎหมาย ห้ามคัดลอกถ่ายเอกสารหรอื พิมพ์ หรือใชว้ ธิ หี นง่ึ วิธใี ดของใบงานเลม่ น้กี อ่ นไดร้ บั อนุญาต ยกเวน้ ใชเ้ พอื่ ประกอบการเรียนการสอนเทา่ นน้ั ราคา 400 บาท จัดทาํ โดย บริษทั ไอเส็ค องิ ค์ จํากดั 2521/2 โครงการบซิ ทาวนล์ าดพรา้ ว ถนนลาดพรา้ ว แขวงคลองเจา้ คณุ สิงค์ เขตวังทองหลาง กรงุ เทพ 10310 โทร : 02 933 1699/โทรสาร :02 933 1144

คํานาํ ใบงานการทดลองเล่มนี้จัดทําข้ึนเพ่ือประกอบการทดลองชุดครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการจําลองงาน ออกแบบเสมือนจริงและทดสอบระบบควบคุมเครื่องจักรกลอุตสาหกรรมอัตโนมัติชั้นสูง ระบบออกแบบ ควบคุมเครื่องจักรกลอุตสาหกรรมอัตโนมัติด้วยโปรแกรม SoftPLC การทดลองจะประกอบไปด้วยโปรแกรม และอปุ กรณ์ตอ่ เชอ่ื มตา่ งๆ ได้แก่ ชุดซอฟตแ์ วร์ SoftPLC ชุดซอฟท์แวร์ Plants Simulator ชดุ PLC Siemens S7-1200 ชุดซอฟต์แวร์Software SIMATIC STEP 7 Professional V11 ชุดSIMATIC HMI KTP600 Basic Color และ ชุดPhidget Board ในการทดลองนั้น ผูท้ ดลองจะได้เรียนรู้และใช้งานโปรแกรมและอุปกรณ์ต่างๆ เบื้องต้นก่อน และควรดูแลเป็นพิเศษเมื่อทดลองปฏิบัติงานจริง เพื่อป้องกันอันตรายท่ีจะเกิดกับผู้ทดลองและ ความเสียหายท่ีเกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของผู้ทดลองเอง ผู้ทดลองสามารถการใช้ฟังก์ชั่นอื่นของ โปรแกรมและอุปกรณ์ต่อเช่ือม นอกเหนือจากในใบงานการทดลอง ซ่ึงจะทําให้สามารถใช้ชุดอุปกรณ์และ โปรแกรมไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ทางบริษัทฯ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าใบงานการทดลองเล่มนี้จะเป็นแนวทางในการเรียนรู้ เพื่อช่วย เสริมสร้างความรู้ แลทักษะความชํานาญแก่ผู้เรียนได้อย่างดี หากคู่มือเล่มน้ีมีข้อผิดพลาดประการใด ทาง บริษทั ฯตอ้ งขออภยั มา ณ ท่ีน้ีด้วย บรษิ ทั ไอเสค็ องิ ค์ จาํ กัด

สารบญั ใบงานท่ี 01 การทํางานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน ใบงานท่ี 02 การออกแบบระบบลาํ เลียงสายพานของผลแอปเปิล ใบงานที่ 03 การใช้ PLC เพ่ือควบคุมระบบขนถ่ายดว้ ย SFC และ LD ใบงานท่ี 04 การคัดแยกกล่องจากความสงู ใบงานท่ี 05 การออกแบบระบบไฟสัญญาณจราจร ใบงานท่ี 06 การใช้ PLC ใน ระบบลาํ เลียงและการเจยี รอตั โนมัติ ใบงานที่ 07 การใช้ PLC เพื่อควบคุมระบบโครงเคล่อื นยา้ ยสิง่ ของดว้ ย Ladder Diagram ใบงานท่ี 08 การออกแบบการบรรจุผลิตภณั ฑโ์ ดยทาํ งานร่วมกับหุ่นยนตช์ นิด SCARA ใบงานท่ี 09 การสร้าง Plant ด้วย Plants Editor ใบงานที่ 10 การ Interface ระหวา่ งโปรแกรม SoftPLC และ Phidget Board ใบงานท่ี 11 การเชือ่ มต่อระหว่าง PLC Siemens S7-1200 กับ Plants Simulator ใบงานท่ี 12 การใช้ PLC Siemens S7-1200 เพือ่ ควบคมุ ระบบขนถ่าย ใบงานท่ี 13 การใช้ PLC Siemens S7-1200 ระบบไฟสัญญาณจราจร ใบงานที่ 14 การโปรแกรม Touch Screen เบอื้ งตน้ ใบงานท่ี 15 การเชอื่ มต่อระหว่าง Plants Simulator, PLC และอุปกรณ์ HMI

เรอื่ ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้นื ฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC เนื้อหารายละเอยี ดใบงาน 1) วัตถุประสงค 1.1 เพือ่ ศกึ ษาและสามารถอธิบายหลักการทาํ งานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน 1.2 สามารถออกแบบโปรแกรมโดยใชไดอะแกรมขน้ั บนั ได (Ladder Diagram) 2) เน้อื หาและหลกั การ 2.1 PLC คอื อะไร PLC ยอ มาจาก Programmable Logic Controller เปน ตวั ควบคมุ ทางอิเล็กทรอนกิ ส ที่นยิ มใชใ น ระบบควบคุมอตั โนมัตใิ นโรงงาน (Factory Automation) เพ่อื ทาํ ใหการควบคมุ เคร่ืองจกั รมีประสทิ ธิภาพ สงู สุด สว นประกอบของ PLC ประกอบดวย 3 สว นหลักๆ คือ Memory Program Data Memory Memory Input Circuit Output Circuit CPU รูปท่ี 1.4.1 แผนภาพแสดงสวนประกอบของ PLC 2.1.1 ไมโครโปรเซสเซอร ซ่ึงใชใ นการประมวลผลโปรแกรมหรอื ชดุ คาํ สั่งทป่ี อ นเขา ทผ่ี ูใ ชได ออกแบบไว 2.1.2 หนว ยความจาํ เปน สว นทเี่ ก็บขอ มูลโดยแบงเปน 2 สวน คือ - หนว ยความจาํ โปรแกรม (Program Memory) เปน สว นที่ใชเ กบ็ ชุดคาํ สง่ั ทผ่ี ูใชได ออกแบบไว - หนว ยความจาํ ขอ มูล (Data Memory) เปน สว นที่ใชเ กบ็ สถานะของขอ มูลตา งๆ ทไ่ี ด ประมวลผล ใบงานที่ 1: การทํางานโปรแกรม PLC พืน้ ฐาน หนา 1 จาก 49

เร่ือง การทาํ งานโปรแกรม PLC พื้นฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC 2.1.3 หนวยอินพุต /เอาทพ ุต เปน สวนทใ่ี ชตอกับอปุ กรณภายนอกทีพ่ รอมใชงานไดอ ยา งสะดวก นอกจากชือ่ PLC แลว ยงั มชี ือ่ เรียกอีกหลายช่อื เชน PC (Programmable Controller), SC (Sequence Controller), ตัวจดั ลาํ ดบั (Sequencer) หรอื Smart Relay 2.2 ลกั ษณะเดนของ PLC PLC เปนตัวควบคมุ ท่ีนิยมใชในระบบควบคุมอตั โนมตั ิ เนอ่ื งจาก PLC มีลักษณะเดน ดงั นี้ 2.2.1 PLC สามารถเช่ือมตอ กบั อปุ กรณภ ายนอกไดทันที 2.2.2 ถา ขวั้ ท่ใี ชต อกับอปุ กรณภายนอก (Terminal) ไมเ พยี งพอตอการใชงาน แลว ผใู ชสามารถเพ่มิ ขว้ั ตอโดยเพม่ิ สวนทเี่ รียกวา Extension Module 2.2.3 การใชงานงายโดยไมจ ําเปนตองมีความรพู ้นื ฐานทางไมโครโปรเซสเซอรม ากอน 2.2.4 PLC มีเสถียรภาพในการใชงานทด่ี ี คอื สามารถใชงานติดตอ กนั เปนเวลานานโดยโปรแกรมยงั สามารถทาํ งานปกติดี 2.2.5 ภาษาทีใ่ ชใ น PLC มกี ารกาํ หนดเปนมาตรฐาน ซึ่งทําใหผ ูใชส ามารถเขา ใจโปรแกรมไดดเี ม่อื มี การเปลี่ยนชนดิ และรนุ ของ PLC ตามผูผลติ ตางๆ กนั 2.2.6 ภาษาทน่ี ยิ มใชกัน คือ Ladder Diagram (LD) เปน ภาษาท่เี ลยี นแบบการตอ สายไฟฟาใน วงจรรีเลย ทําใหผ ใู ชง านท่ีเขาใจตอ การเดนิ สายไฟสามารถออกแบบไดท นั ที 2.2.7 เมอื่ ผูใ ชต อ งการเปล่ียนข้ันตอนการทาํ งานของ PLC สามารถแกไ ขไดที่โปรแกรม โดยไมมกี าร เปลย่ี นการเดินสายไฟใหม 3) อปุ กรณการทดลอง 3.1 ซอฟตแ วร SoftPLC 1 User License 3.2 USB License Key 1 คยี  3.3 คอมพวิ เตอร 1 เครือ่ ง 4) การทดลอง 4.1 การทดลองยอยที่ 1 (วงจร AND) วงจรท่ีจะศึกษาสรปุ ไดดังรูปที่ 1.4.1 (a) และมขี ัน้ ตอนดังน้ี รูปท่ี 1.4.1 (a) วงจร AND หนา 2 จาก 49 ใบงานที่ 1: การทํางานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน

เร่อื ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC 4.1.1 การดาํ เนนิ การ Create new program มขี น้ั ตอนดังนี้ (a) เปด โปรแกรมซอฟตแ วร SoftPLC ทอี่ ยบู น desktop โดย double click ที่ ไอคอน จากน้นั จะปรากฏหนาตางตามรปู ที่ รปู ที่ 1.4.1 (b) Create New Program รูปที่ 1.4.1 (b) Create New Program (b) เมอ่ื หนาตางตามรูปท่ี 1.4.1 (b) ปรากฏ ใหท ําการกําหนดที่อยพู รอ มตง้ั ชื่อของ โปรแกรม Create New Folder รูปท่ี 1.4.1 (c) ต้ังชอื่ โฟลเดอรท บี่ นั ทกึ โปรแกรม หนา 3 จาก 49 ใบงานที่ 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน

เร่ือง การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้นื ฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC (c) ตั้งชอื่ โปรแกรม: Lab1_1 ทอี่ ยูในโฟลเดอรท่ีเราสรา งไว Click Open ตามรูปที่ 1.4.1 (d) ตั้งช่ือโปรแกรม รปู ท่ี 1.4.1 (d) ต้ังชอื่ โปรแกรม 4.1.2 การเขียนโปรแกรมซอฟตแวร SoftPLC โดยมีข้ันตอนดังน้ี (a) เมือ่ ตั้งชือ่ เสรจ็ แลว จะปรากฏหนา ตางแสดงการทํางานตามรูปที่ 1.4.1 (e) รูปที่ 1.4.1 (e) หนาตา งโปรแกรม SoftPLC หนา 4 จาก 49 ใบงานท่ี 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พื้นฐาน

เร่ือง การทํางานโปรแกรม PLC พ้นื ฐาน ใบงานท่ี 1 (b) Click ท่ี contact ปกตเิ ปดตามรปู ที่ 1.4.1 (f) SOFTPLC Contact ปกติเปด รูปที่ 1.4.1 (f) การ add contact ปกตเิ ปด ใบงานท่ี 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พื้นฐาน หนา 5 จาก 49

เร่อื ง การทํางานโปรแกรม PLC พ้นื ฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC (c) เม่อื ทําการ add contact ปกตเิ ปด จะปรากฏ address และชนิดของ contact โดยเลือกเปน Input ตามรปู ที่ 1.4.1 (g) เลือก Input รปู ที่ 1.4.1 (g) เลือกชนิดเปน Input ใบงานท่ี 1: การทํางานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน หนา 6 จาก 49

เร่ือง การทํางานโปรแกรม PLC พืน้ ฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC (d) เลอื ก address ตามรูปท่ี 1.4.1 (h) และจะปรากฏ INP 1 Simul ตามรูปที่ 1.4.1 (g) เลือก 1 Simul แลว กด Enter รปู ที่ 1.4.1 (h) เลือก address เปน 1 Simul ใบงานท่ี 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน หนา 7 จาก 49

เรื่อง การทาํ งานโปรแกรม PLC พื้นฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC (e) จากนนั้ add contact ปกตปิ ดตามรูปท่ี 1.4.1 (g) โดย click ท่ีตําแหนง (1) ทีต่ อ งการ add contact กอน แลว จงึ click เลือก contact แบบปกตปิ ด (2) 2 1 รูปที่ 1.4.1 (g) การ add contact ปกตปิ ด ใบงานที่ 1: การทํางานโปรแกรม PLC พื้นฐาน หนา 8 จาก 49

เรอื่ ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้นื ฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC (f) กาํ หนด contact เปน INP 2 Simul ตามดวยการ add contact ปกติเปด จะไดตามรูป ที่ 1.4.1 (h) รูปที่ 1.4.1 (h) การ add contact ปกติปด ใบงานท่ี 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้นื ฐาน หนา 9 จาก 49

เรือ่ ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้นื ฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC (g) เพิ่มเสน ตรงไปยัง output โดย click(1) ทต่ี ําแหนง ท่ีตองการกอน แลว click(2) สญั ลกั ษณล กู ศรชที้ างขวา 3 ครัง้ ดังรปู ที่ 1.4.1 (i) ตามลาํ ดับ 2 1 รูปท่ี 1.4.1 (i) การเพ่ิมเสน ใน Ladder diagram ใบงานที่ 1: การทํางานโปรแกรม PLC พน้ื ฐาน หนา 10 จาก 49

เรือ่ ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC (h) Click ท่ีสัญลักษณ coil ตามรูปท่ี 1.4.1 (j) จากน้นั กําหนดชนิดเปน Output ตามรปู ท่ี 1.4.1 (k) และกําหนด address เปน 1 Simul ดงั รปู ที่ 1.4.1 (l) Click มาทตี่ าํ แหนงนี้และ Add coil รูปที่ 1.4.1 (j) การเพิม่ coil ใน Ladder diagram ใบงานท่ี 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน หนา 11 จาก 49

เรื่อง การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้นื ฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC เลอื ก Output รูปที่ 1.4.1 (k) กาํ หนดเปน Output 1 Simul รปู ท่ี 1.4.1 (l) กาํ หนด Output เปน 1 Simul หนา 12 จาก 49 ใบงานที่ 1: การทํางานโปรแกรม PLC พื้นฐาน

เรอ่ื ง การทํางานโปรแกรม PLC พื้นฐาน ใบงานท่ี 1 (i) จะไดโปรแกรมดงั รปู ท่ี 1.4.1 (m) SOFTPLC รปู ที่ 1.4.1 (m) วงจร AND 4.1.3 ทาํ การ Start โปรแกรมซอฟตแวร SoftPLC (a) Click ท่แี ถบเมนู Configure เลอื ก Preferences ตามรูปท่ี 1.4.1 (n) รปู ท่ี 1.4.1 (n) Click เลือก Preferences ใน Configure ใบงานที่ 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน หนา 13 จาก 49

เร่อื ง การทํางานโปรแกรม PLC พืน้ ฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC (b) เม่ือปรากฏแถบ Preference ใหเลือกเมนู Miscellaneous และ click ชองวา ง ขา งหนา Enable communication with Plants Simulator Software หา มใหม ี เครือ่ งหมาย  ปรากฏ ดังรปู ท่ี 1.4.1 (o) 21 รูปที่ 1.4.1 (o) ชอ งวา งหนา Enable communication with Plants Simulator Software ใบงานที่ 1: การทํางานโปรแกรม PLC พื้นฐาน หนา 14 จาก 49

เร่อื ง การทํางานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC (c) Start โปรแกรมโดย click ทป่ี มุ ดังรูปท่ี 1.4.1 (p) และจะปรากฏสัญลกั ษณท่ี Task bar ตรงมมุ ขวาดานลางตามรปู ที่ 1.4.1 (q) Start รปู ที่1.4.1 (p) การ Start โปรแกรม รปู ท1ี่ .4.1 (q) โปรแกรมจะถูกยอ มาอยูมุมลางขวา 4.1.4 การทดลองใน Simulated I/O มขี ัน้ ตอนดงั ตอ ไปน้ี (a) จากรูปที่ 1.4.1 (q) คลิกซายที่ จะปรากฏเมนูบนสัญลกั ษณ ตามรปู ท1่ี .4.1 (s) รูปท1ี่ .4.1 (s) เมนู หนา 15 จาก 49 ใบงานท่ี 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน

เรื่อง การทํางานโปรแกรม PLC พื้นฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC (b) เลือก View Simulated IO จะปรากฏ เมนู Virtual I/O ตามรูปที่1.4.1 (t) รปู ท1่ี .4.1 (t) เมนู Virtual I/O (c) คลิกที่ Inp1 และ Inp2 สักเกตกุ ารเปล่ียนแปลงที่ Out1 4.1.5 บนั ทกึ ผลการทดลอง 4.2 การทดลองยอ ยที่ 2 (วงจร OR) วงจรท่ีจะศกึ ษาสรุปไดดงั รปู ที่ 1.4.2 (a) และมขี ้ันตอนดงั น้ี รปู ท่ี 1.4.2 (a) วงจร OR 4.2.1 Create new program โดยทําขนั้ ตอนเดยี วกับข้ันตอน 4.1.1 แตเปล่ยี นชอื่ โปรแกรมเปน Lab1_2 4.2.2 เขียนโปรแกรม โดยมขี น้ั ตอนเดยี วกบั ข้นั ตอนท่ี 4.1.2 แตจะเพ่ิมขน้ั ตอนดังตอไปนี้ ใบงานที่ 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พื้นฐาน หนา 16 จาก 49

เร่ือง การทาํ งานโปรแกรม PLC พน้ื ฐาน ใบงานที่ 1 (a) Click ท่ี contact ปกตเิ ปด ตามรปู ที่ 1.4.2 (a) SOFTPLC Contact ปกติเปด รูปที่ 1.4.2 (a) การ add contact ปกตเิ ปด ใบงานท่ี 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พื้นฐาน หนา 17 จาก 49

เรอ่ื ง การทํางานโปรแกรม PLC พืน้ ฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC (b) เม่อื ทําการ add contact ปกตเิ ปด จะปรากฏ address และชนดิ ของ contact โดย เลอื กเปน Input ตามรูปท่ี 1.4.2 (b) รูปที่ 1.4.2 (b) เลือกชนดิ เปน Input ใบงานที่ 1: การทํางานโปรแกรม PLC พ้นื ฐาน หนา 18 จาก 49

เรอ่ื ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC (c) เลอื ก address ตามรูปท่ี 1.4.2 (c) และจะปรากฏ INP 3 Simul และเพม่ิ เสน ตรง 1 เสนตามรูปท่ี 1.4.2 (d) เลือก 3 Simul รูปท่ี 1.4.2 (c) เลอื ก address เปน 3 Simul ใบงานที่ 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พืน้ ฐาน หนา 19 จาก 49

เร่อื ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พืน้ ฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC 2 1 รปู ท่ี 1.4.2 (d) (d) จากรูปที่1.4.2 (d) เช่ือมตอบรรทดั บนและลา งเขาดว ยกนั โดยคลกิ ท่ที า ยเสนท่ตี อ งการ จะเชือ่ ม(1) จากนนั้ คลกิ ทสี่ ญั ลักษณ (2) จะไดวงจร OR ตามรูปท1ี่ .4.2 (e) รูปที1่ .4.2 (e) วงจร OR 4.2.3 ทําการ Start โปรแกรมซอฟตแวร SoftPLC ดังขอ ท่ี 4.1.3 4.2.4 การทดลองใน Simulated I/O ดังขอที่ 4.1.4 โดยคลิกท่ี INP1, INP2, INP3 สงั เกตผลท่ี เกดิ ขนึ้ ที่ OUT1 4.2.5 บนั ทกึ ผลการทดลอง ใบงานท่ี 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้นื ฐาน หนา 20 จาก 49

เร่อื ง การทํางานโปรแกรม PLC พื้นฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC 4.3 การทดลองยอยที่ 3 (วงจร SET และ วงจร RESET) วงจรทจ่ี ะศึกษาสรุปไดดังรูปที่ 1.4.3 (a) และมี ข้นั ตอนดังนี้ รปู ท่ี 1.4.3 (a) วงจร SET และ วงจร RESET 4.3.1 Create new program โดยทาํ ขนั้ ตอนเดยี วกบั ขั้นตอน 4.1.1 แตเปลย่ี นชอื่ โปรแกรมเปน Lab1_3 4.3.2 เขยี นโปรแกรม โดยมีข้นั ตอนเดยี วกบั ข้นั ตอนท่ี 4.1.2 แตจะเพมิ่ ขนั้ ตอนดงั ตอไปนี้ (a) สราง INP1 และ INP2 พรอมทง้ั ตอเสน ดงั รปู ท่ี 1.4.3 (b) รปู ที่ 1.4.3 (b) การสราง contact ปกติเปด INP1 และ INP2 ใบงานท่ี 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน หนา 21 จาก 49

เรอื่ ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC (b) บรรทัด INP1 สรา ง Coil โดยเลือกประเภทเปน Set Output ดงั รูปที่ 1.4.3 (c) และ กําหนด Set Output เปน1 Simul ดังรูปท่ี 1.4.3 (d) รูปท่ี 1.4.3 (c) กาํ หนดเปน Set Output ใบงานที่ 1: การทํางานโปรแกรม PLC พื้นฐาน หนา 22 จาก 49

เร่อื ง การทํางานโปรแกรม PLC พ้นื ฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC รปู ที่ 1.4.3 (d) กําหนด Set Output เปน 1 Simul ใบงานท่ี 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน หนา 23 จาก 49

เรื่อง การทํางานโปรแกรม PLC พืน้ ฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC (c) บรรทัด INP2 ทําเชนเดยี วกบั บรรทัด INP1 แตเปลี่ยนเปน Reset Output และกําหนด เปน 2 Simul ดงั รูปท่ี 1.4.3 (e) รปู ที่ 1.4.3 (e) วงจร Set และวงจร Reset 4.3.3 ทาํ การ Start โปรแกรมซอฟตแ วร SoftPLC ดังขอ ท่ี 4.1.3 4.3.4 การทดลองใน Simulated I/O ดงั ขอ ท่ี 4.1.4 โดยคลกิ INP1 และ INP2 สังเกตผลทเ่ี กิดขึน้ ท่ี OUT1 และ OUT2 4.3.5 บันทกึ ผลการทดลอง ใบงานที่ 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน หนา 24 จาก 49

เรือ่ ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC 4.4 การทดลองยอยท่ี 4 (วงจร Timer) วงจรทจ่ี ะศึกษาสรปุ ไดดังรปู ท่ี 1.4.4 (a) และมีข้นั ตอนดังนี้ รูปท่ี 1.4.4 (a) วงจร Timer 4.4.1 Create new program โดยทาํ ขนั้ ตอนเดียวกบั ขั้นตอน 4.1.1 แตเปลีย่ นช่ือโปรแกรมเปน Lab1_4 4.4.2 เขียนโปรแกรม โดยมีขัน้ ตอนเดียวกับขั้นตอนท่ี 4.1.2 แตจะเพิม่ ขั้นตอนดงั ตอ ไปนี้ (a) เมือ่ สรา ง INP1 และเสน ดังรปู ท่ี 1.4.4 (b) แลว ข้นั ตอ มาจะสราง Coil Output Timer โดยเลอื กประเภท Output เปน Set Timer ดงั รปู ที่ 1.4.4 (b) เลอื ก Set Timer รูปท่ี 1.4.4 (b) การเลอื ก Output เปน Set Timer หนา 25 จาก 49 ใบงานที่ 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พน้ื ฐาน

เร่ือง การทาํ งานโปรแกรม PLC พืน้ ฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC (b) ใสตัวเลข1 ท่ี TMR แลว กด Enter เพือ่ กําหนดใหเปน Timer ตัวที่ 1 ดงั รปู ท่ี 1.4.4 (c) TMR1 รูปที่ 1.4.4 (c) กาํ หนดให Timer เปนตวั ที่ 1 ใบงานท่ี 1: การทํางานโปรแกรม PLC พน้ื ฐาน หนา 26 จาก 49

เรื่อง การทํางานโปรแกรม PLC พื้นฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC (c) Double Click ท่ี TMR1 จะปรากฏหนาตาง Property ข้ึนมา ใหใส 5000 ท่ี Time หมายถึง 5000 มิลลวิ นิ าที = 5 วินาที ดงั รูปท่ี 1.4.4 (d) 5000 มลิ ลวิ ินาที รปู ท่ี 1.4.4 (d) การตง้ั คา Timer ใบงานท่ี 1: การทํางานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน หนา 27 จาก 49

เรือ่ ง การทํางานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC (d) ขน้ึ บรรทดั ตอมาสราง Contact ปกตปิ ดโดยเลอื กประเภทเปน Timer ดังรูปที่ 1.4.4 (e) Contact ปกตเิ ปด Timer รปู ที่ 1.4.4 (e) การเลอื ก Contact ประเภท Timer ใบงานท่ี 1: การทํางานโปรแกรม PLC พน้ื ฐาน หนา 28 จาก 49

เรอื่ ง การทํางานโปรแกรม PLC พืน้ ฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC (e) กาํ หนดหมายเลข TMR เปนหมายเลข1 จากน้นั ทาํ การเช่ือมเสนสัญญาณและสราง Output Coil 1 ดังรปู ท่ี 1.4.4 (f) Contact Timer รปู ท่ี 1.4.4 (f) การกําหนด Contact ปกติเปดเปน TMR1และ Output Coil 1 ใบงานท่ี 1: การทํางานโปรแกรม PLC พืน้ ฐาน หนา 29 จาก 49

เร่ือง การทาํ งานโปรแกรม PLC พน้ื ฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC (f) ข้ึนบรรทดั ใหมแ ละสรา ง Contact ปกตเิ ปด โดยกําหนดใหเ ปน INP2 และสราง Coil โดยกาํ หนดประเภท Coil เปน Reset Timer ดงั รูปท่ี 1.4.4 (g) โดยกําหนดใหเปน Reset Timer หมายเลข 1 ดงั รปู ที่ 1.4.4 (h) Reset Timer รปู ที่ 1.4.4 (g) การสรา ง Reset Timer ใบงานที่ 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พื้นฐาน หนา 30 จาก 49

เรื่อง การทาํ งานโปรแกรม PLC พืน้ ฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC Reset Timer รูปที่ 1.4.4 (h) กาํ หนด Reset Timer หมายเลข 1 (g) จะไดว งจร Timer ดังรปู ท่ี 1.4.4 (i) รูปที่ 1.4.4 (i) วงจร Timer 4.4.3 ทาํ การ Start โปรแกรมซอฟตแวร SoftPLC ดงั ขอท่ี 4.1.3 4.4.4 การทดลองใน Simulated I/O ดงั ขอ ท่ี 4.1.4 โดยคลิก INP1 สงั เกตผลท่เี กิดขึ้นกับ OUT1 จากนน้ั คลกิ INP2 สังเกตผลทีเ่ กิดขึน้ 4.4.5 บนั ทึกผลการทดลอง ใบงานท่ี 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พน้ื ฐาน หนา 31 จาก 49

เรอื่ ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC 4.5 การทดลองยอ ยที่ 5 (วงจร Counter) วงจรทจ่ี ะศึกษาสรุปไดดงั รูปท่ี 1.4.5 (a) และมีขัน้ ตอนดังน้ี รูปท่ี 1.4.5 (a) วงจร Counter 4.5.1 Create new program โดยทาํ ขั้นตอนเดยี วกบั ขั้นตอน 4.1.1 แตเปล่ียนชื่อโปรแกรมเปน Lab1_5 4.5.2 เขยี นโปรแกรม โดยมขี ัน้ ตอนเดียวกบั ขน้ั ตอนที่ 4.1.2 แตจะเพิม่ ขั้นตอนดงั ตอ ไปนี้ (a) เมือ่ สรา ง INP1 และเสนดงั รูปที่ 1.4.5 (b) แลว ขั้นตอมาจะสรา ง Coil Output Counter โดยเลอื กประเภท Output เปน Counter+ ดังรปู ท่ี 1.4.5 (b) Counter+ รปู ท่ี 1.4.5 (b)การเลือก Output เปน Counter+ ใบงานที่ 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พน้ื ฐาน หนา 32 จาก 49

เร่อื ง การทํางานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC (b) ใสตวั เลข1 ท่ี CN แลว กด Enter เพ่อื กําหนดใหเปน Counter ตวั ท่ี 1 ดงั รปู ท่ี 1.4.5 (c) Counter ตวั ท่ี 1 รูปท่ี 1.4.5 (c) กาํ หนด Counter เปน ตัวที่ 1 ใบงานที่ 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พื้นฐาน หนา 33 จาก 49

เรือ่ ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC (c) ขนึ้ บรรทดั ตอมาสรางContact ปกตปิ ดโดยเลือกประเภทเปนCounter ดงั รปู ที่ 1.4.5 (d) Contact Counter รปู ท่ี 1.4.5 (d) กาํ หนด Contact Counter ใบงานที่ 1: การทํางานโปรแกรม PLC พน้ื ฐาน หนา 34 จาก 49

เรือ่ ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC (d) เมือ่ คลิกเลอื กแลวจะตองกําหนดวา จะรบั คา จาก Counter ตัวไหน ในท่นี ใ้ี สเ ลข 1 แลว กด Enter จะปรากฏหนาตาง Wizard ใหใ สเ ลข 5 เพ่อื กําหนดจํานวนที่จะนบั เทากบั 5 ดงั รูปท่ี 1.4.5 (e) Contact Counter จาํ นวนนับ รปู ท่ี 1.4.5 (e) การตัง้ คา Counter ใบงานท่ี 1: การทํางานโปรแกรม PLC พน้ื ฐาน หนา 35 จาก 49

เรอ่ื ง การทํางานโปรแกรม PLC พืน้ ฐาน ใบงานท่ี 1 (e) สรา ง Output Coil โดยกําหนดใหเ ปน OUT1 ดังรูปท่ี 1.4.5 (f) SOFTPLC รูปท่ี 1.4.5 (f) สราง Output Coil ใบงานท่ี 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้นื ฐาน หนา 36 จาก 49

เร่อื ง การทํางานโปรแกรม PLC พน้ื ฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC (f) บรรทัดตอมาสรา ง INP2 และสราง Coil ประเภท Reset Counter ดังรูปท่ี 1.4.5 (g) โดยกําหนดให Reset Counter เปน หมายเลข 1 ดังรปู ที่ 1.4.5 (h) Reset Counter รูปที่ 1.4.5 (g) สรา ง Reset Counter ใบงานที่ 1: การทํางานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน หนา 37 จาก 49

เรอ่ื ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้นื ฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC Reset Counter 1 รูปที่ 1.4.5 (h) Reset Counter หมายเลข 1 (g) จะไดว งจร Counter ดังรูปท่ี 1.4.5 (i) รปู ที่ 1.4.5 (i) วงจร Counter 4.5.3 ทาํ การ Start โปรแกรมซอฟตแ วร SoftPLC ดงั ขอที่ 4.1.3 4.5.4 การทดลองใน Simulated I/O ดังขอ ท่ี 4.1.4 โดย คลิก INP1 ใหตดิ ไฟจํานวน 5 ครั้ง สงั เกต OUT1 จากนน้ั ใหคลกิ INP2 สงั เกต การเปล่ยี นแปลง 4.5.5 บนั ทกึ ผลการทดลอง ใบงานท่ี 1: การทํางานโปรแกรม PLC พน้ื ฐาน หนา 38 จาก 49

เร่ือง การทาํ งานโปรแกรม PLC พน้ื ฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC 4.6 การทดลองยอ ยที่ 6 (วงจร Self-Holding) วงจรทจ่ี ะศึกษาสรุปไดดงั รูปที่ 1.4.6 (a) และมีขัน้ ตอน ดงั นี้ รปู ท่ี 1.4.6 (a) วงจร Self-Holding 4.6.1 Create new program โดยทําข้นั ตอนเดียวกับขัน้ ตอน 4.1.1 แตเปลี่ยนช่ือโปรแกรมเปน Lab1_6 4.6.2 เขยี นโปรแกรม โดยมีขั้นตอนเดียวกบั ขนั้ ตอนท่ี 4.1.2 แตจะเพม่ิ ขัน้ ตอนดังตอ ไปนี้ (a) สรา ง Contact ปกตเิ ปด (INP1), Contact ปกตปิ ด (INP2) และ สราง Coil Output (OUT1) ดงั รปู ท่ี 1.4.6 (b) รปู ท่ี 1.4.6 (b) Contact ปกตเิ ปด (INP1), Contact ปกติปด (INP2) และCoil Output (OUT1) ใบงานที่ 1: การทํางานโปรแกรม PLC พื้นฐาน หนา 39 จาก 49

เรือ่ ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พืน้ ฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC (b) บรรทดั ตอมา สรา ง Contact โดยเลือกเปนประเภท Output ดงั รปู ที่ 1.4.6 (c) จากนน้ั เลอื ก 1 Simul และกด Enter ดังรูปท่ี 1.4.6 (d) Contact Output รปู ท่ี 1.4.6 (c) กําหนดประเภท Contact เปน Output ใบงานที่ 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พื้นฐาน หนา 40 จาก 49

เร่ือง การทาํ งานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC 1 Simul รูปท่ี 1.4.6 (d) กําหนดเปน Output หมายเลข 1 ใบงานที่ 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พน้ื ฐาน หนา 41 จาก 49

เรื่อง การทาํ งานโปรแกรม PLC พื้นฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC (c) คลิกท่ี Contact OUT1 และคลกิ ที่สัญลักษณล ูกศรข้นึ ดงั รปู ที่ 1.4. 6 (e) จะไดเสนท่ี เช่ือมระหวา ง 2 บรรทดั ก็จะไดว งจร Self-Holding ดังรปู ท่ี 1.4.6 (f) 2 1 รปู ที่ 1.4.6 (e) การสรา งเสน เช่ือมระหวา งบรรทดั รปู ท่ี 1.4.6 (f) วงจร Self-Holding 4.6.3 ทาํ การ Start โปรแกรมซอฟตแวร SoftPLC ดงั ขอท่ี 4.1.3 4.6.4 การทดลองใน Simulated I/O ดงั ขอ ที่ 4.1.4 โดยคลิก INP1 สงั เกต OUT1 จากนน้ั คลิก INP2 สังเกต 4.6.5 บันทึกผลการทดลอง ใบงานที่ 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน หนา 42 จาก 49

เรอ่ื ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC 4.7 การทดลองยอยท่ี 7 (วงจร Interlocking) วงจรทจี่ ะศกึ ษาสรุปไดดังรูปที่ 1.4.7 (a) และมีข้ันตอน ดงั น้ี รปู ท่ี 1.4.7 (a) วงจร Interlocking 4.7.1 Create new program โดยทาํ ขนั้ ตอนเดียวกับขั้นตอน 4.1.1 แตเ ปลยี่ นช่ือโปรแกรมเปน Lab1_7 4.7.2 เขยี นโปรแกรม โดยมขี ้ันตอนเดียวกบั ขั้นตอนท่ี 4.1.2 โดยกําหนดคา Contact และ Coil ตามขัน้ ตอนตอไปน้ี ใบงานที่ 1: การทํางานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน หนา 43 จาก 49

เร่ือง การทํางานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC (a) ในบรรทดั แรก สรา งContact Input ปกตเิ ปด INP1 ตอ ดวย Contact Output ปกตปิ ด OUT2 จากนัน้ สราง Contact Input ปกติปด INP3 และสรา ง Coil Output OUT1 ดงั รปู ที่ 1.4.7 (b) INP1 OUT2 INP3 OUT1 รปู ท่ี 1.4.7 (b) การสรา งและกาํ หนดตัวแปรในบรรทดั แรก ใบงานที่ 1: การทาํ งานโปรแกรม PLC พนื้ ฐาน หนา 44 จาก 49

เร่ือง การทํางานโปรแกรม PLC พื้นฐาน ใบงานท่ี 1 SOFTPLC (b) บรรทัดท่ี 2 สรา ง Contact Output 1 และทาํ การเชือ่ มตอกับบรรทดั แรกดงั รูปที่ 1.47.(c) เชื่อมตอระหวางบรรทัด OUT1 รูปท่ี 1.4.7 (c) การสราง Contact OUT1 และเช่อื มตอ ระหวา งบรรทดั ใบงานที่ 1: การทํางานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน หนา 45 จาก 49

เรือ่ ง การทาํ งานโปรแกรม PLC พ้นื ฐาน ใบงานที่ 1 SOFTPLC (c) บรรทดั ท่ี 3 สราง Contact Input ปกติเปด INP2 ตอดวย Contact Output ปกตปิ ด OUT1 จากน้ันสราง Contact Input ปกติปด INP3 และสรา ง Coil Output OUT1 ดงั รูปท่ี 1.4.7 (d) INP1 OUT1 INP3 OUT2 รูปท่ี 1.4.7 (d) การสรา งและกาํ หนดตวั แปรในบรรทดั ที่ 3 ใบงานที่ 1: การทํางานโปรแกรม PLC พ้ืนฐาน หนา 46 จาก 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook