คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 อากาศและชวี ติ ของสัตว์ 210 แนวคำตอบในแบบบนั ทกึ กิจกรรม สังเกตและบรรยายสิ่งท่ีจำเปน็ ต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชวี ิต ของสัตว์ บอกแนวทางในการดแู ลสตั ว์ใหไ้ ดร้ บั ส่งิ ท่ีจำเป็นต่อการเจริญเติบโต และการดำรงชีวติ อยา่ งเหมาะสม คำตอบขน้ึ อยู่กบั การเลือกชนดิ ปลาของนักเรยี น เชน่ ปลาสอด คำตอบขึน้ อยู่กับผลการเลอื กชนิดปลา และการสืบคน้ ข้อมูลของนกั เรียน เชน่ การเลยี้ งปลาสอด เตรยี มตปู้ ลาหรอื อา่ งท่ีมีขนาดพอเหมาะ ใส่น้ำสะอาด เพ่ิม ไม้น้ำ พืชน้ำ หรือสาหร่ายลงไป จากนั้นใส่ปลาลงในตู้ปลาหรืออ่าง การให้ อาหาร ใชอ้ าหารเมด็ สำเร็จรูปที่มีขนาดเลก็ วนั ละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น คร้ังละ ประมาณ 10 เม็ด ต่อปลา 1 ตัว ในสัปดาห์แรก และอาจจะให้เพิ่มขึ้นใน สปั ดาหถ์ ัด ๆ ไป และถา้ ไมเ่ ติมออกซเิ จนลงไปในนำ้ ตอ้ งเปลีย่ นนำ้ สปั ดาห์ละ 1 คร้งั สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
211 คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 อากาศและชีวติ ของสตั ว์ คำตอบข้ึนอยู่กับผลการทำกิจกรรม ของนักเรียน เชน่ ปลากินอาหาร วา่ ยน้ำไปมา 2.4, 2.3, 2.3 หรอื อยนู่ ิง่ ๆ อา้ ปากและหบุ ปาก 3.2, 3.1, 3.0 บ่อย ๆ มีการขยับแผ่นปดิ เหงือก 3.4, 3.3, 3.4 ปลากนิ อาหาร ว่ายนำ้ ไปมา หรืออย่นู ่ิง ๆ อ้าปากและหุบปาก บ่อย ๆ มีการขยับแผ่นปิดเหงือก ปลากินอาหาร วา่ ยนำ้ ไปมา หรืออย่นู ่ิง ๆ อ้าปากและหบุ ปาก บ่อย ๆ มีการขยบั แผ่นปิดเหงอื ก อาหาร น้ำ และแกส๊ ออกซิเจน อาหาร นำ้ อากาศ √ สัตว์แต่ละชนดิ ได้รับอาหารแตกตา่ งกนั ในปริมาณท่เี หมาะสมกับขนาดของสัตว์ รวมท้ังได้รบั นำ้ ทีส่ ะอาด อย่ใู นทท่ี เี่ หมาะสมและมีอากาศอยา่ งเพียงพอ ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 อากาศและชีวิตของสัตว์ 212 ใหอ้ าหารปลาตามความเหมาะสมกบั ชนิดและขนาดของปลา เลย้ี งปลาในนำ้ ท่สี ะอาด มีแกส๊ ออกซิเจนอย่างเพียงพอ ลกู ปลามีการเจริญเตบิ โต รู้ได้จากลกู ปลามีความยาวลำตัวเพม่ิ ขึน้ ในแตล่ ะ สัปดาห์ กนิ อาหารเมื่อใส่อาหารลงไปในน้ำ วา่ ยนำ้ หรืออยนู่ ิ่ง ๆ อ้าและหุบปาก ตลอดเวลา ขยับแผ่นปิดเหงือก เพื่อนำน้ำและแกส๊ ออกซิเจนเขา้ ส่รู ่างกาย อาหาร นำ้ และอากาศ ให้สัตวไ์ ด้รบั อาหารทีเ่ หมาะสมกับชนิดและขนาดของสตั ว์ ได้รับน้ำสะอาด และ อยูใ่ นสถานทที่ ่ีมีอากาศสะอาดและถา่ ยเทสะดวก สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
213 คู่มือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 อากาศและชีวติ ของสตั ว์ สตั ว์ชนิดตา่ ง ๆ เช่น ปลา สุนัข แมว นก ต้องการอาหาร นำ้ และอากาศ ซ่งึ เปน็ สิง่ ทจ่ี ำเปน็ ต่อการเจริญเตบิ โตและการดำรงชวี ติ โดยควรให้อาหารตาม ความเหมาะสมกับชนิดและขนาดของสัตว์ ให้สัตว์ได้รบั น้ำท่สี ะอาดอยา่ ง เพยี งพอ และให้อยใู่ นที่ทมี่ ีอากาศสะอาดและถ่ายเทสะดวก อาหาร นำ้ และอากาศเป็นส่งิ ที่จำเป็นต่อการเจรญิ เตบิ โตและการดำรงชวี ติ ของ สัตว์ชนิดตา่ ง ๆ จงึ ควรดแู ลสตั วใ์ หไ้ ด้รับสง่ิ ที่จำเปน็ เหลา่ นน้ั อย่างเหมาะสม คำถามของนกั เรยี นท่ตี ั้งตามความอยากร้ขู องตนเอง ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คูม่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 อากาศและชวี ติ ของสตั ว์ 214 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นทำได้ ดงั นี้ 1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภิปรายในชน้ั เรยี น 2. ประเมนิ การเรียนรู้จากคำตอบของนักเรยี นระหวา่ งการจดั การเรียนรู้และจากแบบบันทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรียน การประเมินจากการทำกจิ กรรมที่ 1.1 สตั วต์ อ้ งการส่งิ ใดในการเจรญิ เติบโต และการดำรงชวี ติ รหสั ส่งิ ทีป่ ระเมนิ คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S2 การวดั S8 การลงความเห็นจากขอ้ มูล S13 การตีความหมายขอ้ มลู และลงข้อสรุป ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C2 การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ C4 การสอ่ื สาร C5 ความรว่ มมอื รวมคะแนน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
215 คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 อากาศและชวี ิตของสตั ว์ ตาราง รายการประเมินและเกณฑ์การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทกั ษะ เกณฑ์การประเมนิ กระบวนการทาง รายการประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) วทิ ยาศาสตร์ S1 การสังเกต การใชป้ ระสาทสัมผสั สามารถใชป้ ระสาท สามารถใช้ประสาท สามารถใช้ประสาท เก็บรายละเอียด สมั ผัสเกบ็ รายละเอียด สมั ผสั เก็บรายละเอียด สมั ผัสเกบ็ รายละเอียด เกี่ยวกับพฤติกรรมและ เก่ียวกับพฤติกรรมและ เกี่ยวกับพฤติกรรมและ เกี่ยวกับพฤติกรรมและ การเปลีย่ นแปลงรูปรา่ ง การเปล่ยี นแปลงรูปร่าง การเปลย่ี นแปลงรูปรา่ ง การเปลย่ี นแปลงรูปรา่ ง ลกั ษณะของปลา ลักษณะของปลาได้ ลักษณะของปลาได้ ลักษณะของปลาได้เพียง ถูกต้องครบถ้วนด้วย ถูกต้องครบถ้วนจาก บางสว่ น แมว้ ่าจะได้ ตนเอง โดยไม่เพมิ่ เติม การชี้แนะของครูหรือ รบั คำชี้แนะจากครหู รอื ความคิดเห็น ผอู้ ่นื หรือมกี าร ผอู้ ื่น เพ่ิมเติมความคิดเหน็ S2 การวดั การใช้ไมบ้ รรทดั วดั สามารถใชไ้ ม้บรรทัด สามารถใช้ไมบ้ รรทัด สามารถใช้ไมบ้ รรทัดวดั ความยาวของปลาและ วดั ความยาวของปลา วดั ความยาวของปลา ความยาวของปลา แต่ไม่ ระบหุ นว่ ยได้ และระบหุ น่วยได้ และระบหุ น่วยได้ สามารถระบหุ น่วยได้ ถกู ต้องดว้ ยตนเอง ถูกต้องจากการชแ้ี นะ ถกู ต้อง แมว้ ่าจะได้รบั คำ ของครูหรอื ผู้อ่นื ช้แี นะจากครหู รือผอู้ ื่น S8 การลง การลงความเหน็ จาก สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็นจาก ความเหน็ จาก ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการ ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการสงั เกต ขอ้ มลู สังเกต การอา่ น จากข้อมลู ท่ีได้จาก จากข้อมลู ที่ไดจ้ ากการ การอ่านใบความรู้ และดู ใบความรู้ และดู วดี ิทศั น์ เก่ยี วกับการ วดี ทิ ัศน์ เกยี่ วกบั การ การสงั เกต การอา่ นใบ สังเกต การอา่ นใบ เจริญเติบโตและ เจริญเติบโตและ พฤติกรรมตา่ ง ๆ ของ พฤติกรรมตา่ ง ๆ ของ ความรู้ และดูวีดิทัศน์ ความรู้ และดูวดี ทิ ัศน์ ปลา สงิ่ ท่ีจำเปน็ ต่อการ ปลา ส่งิ ทีจ่ ำเปน็ ต่อ เจรญิ เตบิ โตและการ การเจริญเตบิ โตและ เกย่ี วกบั การ เกยี่ วกบั การ ดำรงชีวิตของสัตว์ การดำรงชีวติ ของสัตว์ ตลอดจนการดูแลสัตว์ให้ ตลอดจนการดูแลสัตว์ เจรญิ เตบิ โตและ เจรญิ เติบโตและ ได้รับอาหาร นำ้ และ ให้ไดร้ บั อาหาร น้ำ อากาศอย่างเพยี งพอได้ และอากาศอย่าง พฤติกรรมตา่ ง ๆ ของ พฤติกรรมตา่ ง ๆ ของ เพยี งบางส่วนแม้ว่าจะได้ เพียงพอ ปลา สง่ิ ท่จี ำเป็นต่อ ปลา สง่ิ ท่จี ำเป็นต่อ การเจริญเติบโตและ การเจริญเติบโตและ การดำรงชีวติ ของสัตว์ การดำรงชีวิตของสตั ว์ ตลอดจนการดูแลสัตว์ ตลอดจนการดูแลสตั ว์ ให้ไดร้ บั อาหาร นำ้ ใหไ้ ด้รบั อาหาร น้ำ และอากาศอย่าง และอากาศอย่าง เพียงพอไดถ้ ูกต้องจาก ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 อากาศและชีวิตของสัตว์ 216 ทกั ษะ เกณฑ์การประเมิน กระบวนการทาง รายการประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) วทิ ยาศาสตร์ เพยี งพอไดถ้ ูกตอ้ ง การชแ้ี นะของครูหรอื รบั คำชี้แนะจากครหู รือ ดว้ ยตนเอง ผอู้ ืน่ ผู้อ่นื S13 การ การตคี วามหมายข้อมูล สามารถตีความหมาย สามารถตคี วามหมาย สามารถตคี วามหมาย ตคี วามหมายข้อมูล ท่ไี ด้จากการสังเกตการ ขอ้ มลู ที่ได้จากการ ขอ้ มูลท่ีได้จากการ ขอ้ มลู ท่ีได้จากการสังเกต และการลงขอ้ สรุป เจริญเติบโตและ สงั เกตการเจริญเติบโต สงั เกตการเจรญิ เติบโต การเจริญเติบโตและ พฤติกรรมของปลา การ และพฤติกรรมของปลา และพฤติกรรมของปลา พฤติกรรมของปลา การ อา่ นใบความรู้ การดู การอ่านใบความรู้ การ การอา่ นใบความรู้ การ อ่านใบความรู้ การดู วดี ทิ ัศน์ และลงข้อสรุป ดวู ดี ทิ ัศน์ และลง ดวู ีดทิ ศั น์ และลง วีดทิ ัศน์ และลงข้อสรุป ได้ว่าอาหาร น้ำ และ ข้อสรปุ ไดว้ ่าอาหาร ขอ้ สรปุ ไดว้ ่าอาหาร น้ำ ไดเ้ พียงบางส่วนว่า อากาศเปน็ ส่งิ ท่จี ำเป็น นำ้ และอากาศเปน็ สง่ิ และอากาศเปน็ ส่ิงที่ อาหาร นำ้ และอากาศ ต่อการเจรญิ เติบโต ทจ่ี ำเปน็ ตอ่ การ จำเปน็ ต่อการ เปน็ สิ่งท่ีจำเปน็ ตอ่ การ และการดำรงชีวิตของ เจรญิ เตบิ โตและการ เจรญิ เตบิ โตและการ เจรญิ เติบโตและการ สตั ว์ชนิดตา่ ง ๆ ดำรงชวี ิตของสัตว์ ดำรงชีวิตของสตั วช์ นดิ ดำรงชีวิตของสตั ว์ชนิด ชนิดตา่ ง ๆ ได้ด้วย ต่าง ๆ ไดจ้ ากการ ต่าง ๆ ไดเ้ พยี งบางสว่ น ตนเอง ชี้แนะจากครูและผู้อื่น แมว้ ่าจะไดร้ บั คำช้แี นะ จากครูหรือผู้อ่นื ตาราง รายการประเมินและเกณฑ์การประเมินทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทกั ษะแห่ง รายการประเมนิ ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ศตวรรษท่ี 21 พอใช้ (2) C2 การคดิ อยา่ งมี การวิเคราะห์การ สามารถวิเคราะห์การ สามารถวิเคราะห์การ สามารถวิเคราะห์การ วจิ ารณญาณ เจริญเติบโตและ เจริญเติบโตและ เจริญเติบโตและ เจริญเติบโตและ พฤติกรรมของปลา พฤติกรรมของปลา พฤติกรรมของปลา พฤติกรรมของปลา รวมท้ังใช้ข้อมูลท่ีได้ รวมทั้งใช้ข้อมูลท่ีได้จาก รวมท้ังใช้ข้อมูลท่ีได้จาก รวมทั้งใช้ข้อมูลท่ีได้จาก จากการอ่าน การอ่านใบความรู้และดู การอ่านใบความรู้และดู การอ่านใบความรู้และดู ใบความรู้และดู วีดิทัศน์เพื่อสรุป วีดิทัศน์เพ่ือสรุป วีดิทัศน์เพ่ือสรุป วีดิทัศน์เพื่อสรุป เกี่ยวกับส่ิงที่จำเป็นต่อ เก่ียวกับส่ิงที่จำเป็นต่อ เกี่ยวกับส่ิงท่ีจำเป็นต่อ เกี่ยวกับส่ิงที่จำเป็น การเจริญเติบโตและ การเจริญเติบโตและ การเจริญเติบโตและ ต่อการเจริญเติบโต การดำรงชีวิตของสัตว์ การดำรงชีวิตของสัตว์ การดำรงชีวิตของสัตว์ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
217 คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 อากาศและชวี ติ ของสัตว์ ทกั ษะแห่ง รายการประเมนิ ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรับปรุง (1) ศตวรรษท่ี 21 และการดูแลสัตว์ให้ พอใช้ (2) และการดูแลสัตว์ให้ และการดำรงชีวิต ได้รับส่ิงท่ีจำเป็นต่าง ๆ ได้รับสิ่งท่ีจำเป็นต่าง ๆ C4 การสือ่ สาร ของสัตว์ และการ อย่างเหมาะสมได้ถกู ตอ้ ง และการดูแลสัตว์ให้ อย่างเหมาะสมไดเ้ พยี ง ดูแลสัตว์ให้ได้รับส่ิงที่ ด้วยตนเอง ได้รับสิ่งที่จำเป็นต่าง ๆ บางสว่ น แมว้ า่ จะได้ C5 ความ จำเป็นต่าง ๆ อย่าง อย่างเหมาะสมได้ รบั คำช้แี นะจากครหู รือ รว่ มมอื เหมาะสม สามารถนำเสนอวิธีการ ถูกต้อง โดยอาศัยการ ผอู้ ่ืน เลย้ี งปลา และผลการ ช้ีแนะจากครหู รือผ้อู น่ื สามารถนำเสนอวธิ ีการ การนำเสนอวธิ ีการ เล้ยี งปลา โดยเขียน เลีย้ งปลา และผลการ เล้ยี งปลา และผลการ บรรยายหรือบรรยาย สามารถนำเสนอวธิ ีการ เลีย้ งปลา โดยเขยี น เลย้ี งปลา โดยเขยี น ด้วยคำพูดเพื่อให้ผอู้ ่นื เลีย้ งปลา และผลการ บรรยายหรอื บรรยาย บรรยายหรือบรรยาย เขา้ ใจได้ด้วยตนเอง เลี้ยงปลา โดยเขียน ดว้ ยคำพูดได้ แตไ่ ม่ ด้วยคำพดู เพ่อื ให้ผู้อืน่ บรรยายหรอื บรรยาย ครบถว้ นสมบูรณ์ แมว้ า่ เขา้ ใจ สามารถทำงานร่วมกับ ด้วยคำพูดเพ่ือใหผ้ ้อู น่ื จะไดร้ บั คำชแี้ นะจากครู ผู้อนื่ ในการเลีย้ งปลา เขา้ ใจได้ โดยอาศยั การ หรือผูอ้ ื่น การทำงานรว่ มกบั สงั เกตพฤติกรรมและ ชีแ้ นะจากครหู รือผู้อืน่ สามารถทำงานรว่ มกบั ผอู้ น่ื ในการเล้ียงปลา การเจรญิ เตบิ โตของปลา ผอู้ ืน่ ในการเลยี้ งปลา สงั เกตพฤติกรรมและ การอภิปรายเกีย่ วกบั สามารถทำงานรว่ มกับ สังเกตพฤตกิ รรมและ การเจริญเตบิ โตของ สิ่งทจี่ ำเปน็ ตอ่ การ ผอู้ นื่ ในการเลีย้ งปลา การเจริญเติบโตของปลา ปลา การอภปิ ราย เจรญิ เติบโตและการ สงั เกตพฤตกิ รรมและ การอภิปรายเกยี่ วกบั เก่ียวกับสง่ิ ทีจ่ ำเป็น ดำรงชวี ติ ของสตั ว์ การ การเจรญิ เติบโตของปลา ส่งิ ทจ่ี ำเปน็ ตอ่ การ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต ดแู ลสัตวช์ นิดต่าง ๆ ให้ การอภิปรายเก่ียวกบั เจรญิ เติบโตและการ และการดำรงชีวติ ของ ไดร้ บั สิ่งท่ีจำเป็นเหล่าน้ัน สิ่งทจี่ ำเป็นต่อการ ดำรงชวี ติ ของสตั ว์ การ สัตว์ การดูแลสตั ว์ อย่างเหมาะสม รวมท้ัง เจริญเติบโตและการ ดูแลสัตว์ชนดิ ตา่ ง ๆ ให้ ชนดิ ต่าง ๆ ให้ได้รบั ยอมรบั ความคดิ เหน็ ของ ดำรงชีวิตของสตั ว์ การ ไดร้ บั ส่ิงทจ่ี ำเป็นเหลา่ นนั้ สิง่ ทจี่ ำเปน็ เหล่าน้ัน ผอู้ ื่นตัง้ แตเ่ รมิ่ ต้นจน ดูแลสัตว์ชนิดต่าง ๆ ให้ อย่างเหมาะสม รวมท้งั อยา่ งเหมาะสม สำเรจ็ ไดร้ ับสิ่งที่จำเป็นเหล่านัน้ ยอมรับความคดิ เหน็ ของ รวมทัง้ ยอมรบั ความ อยา่ งเหมาะสม รวมทัง้ ผอู้ ืน่ เป็นบางชว่ งเวลาท่ี คิดเหน็ ของผูอ้ ื่น ยอมรบั ความคิดเหน็ ของ ทำกจิ กรรม ท้งั น้ตี ้อง ผู้อ่นื ในบางช่วงเวลาทท่ี ำ อาศัยการกระตนุ้ จากครู กิจกรรม หรอื ผ้อู ื่น ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 อากาศและชวี ิตของสัตว์ 218 กิจกรรมที่ 1.2 มนุษยต์ อ้ งการสิ่งใดในการเจรญิ เตบิ โตและการดำรงชีวิต กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ สิ่งที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของ มนุษย์ จากการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และอ่านใบความรู้ เพื่อบรรยายสิ่งที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการ ดำรงชีวิตของมนุษย์ รวมทั้งบอกแนวทางในการดูแล ตนเองให้ไดร้ บั สิ่งจำเปน็ ตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม เวลา 2 ช่ัวโมง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 1. รวบรวมข้อมูลและบรรยายสิ่งที่จำเป็นต่อการ C2 การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ เจรญิ เติบโตและการดำรงชีวิตของมนุษย์ C5 ความรว่ มมือ 2. สบื คน้ ขอ้ มูลและบอกแนวทางในการดูแลตนเอง ส่อื การเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้ ให้ได้รับสิ่งที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการ ดำรงชวี ติ อย่างเหมาะสม 1. หนังสอื เรียน ป.3 เลม่ 1 หนา้ 85-88 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป.3 เล่ม 1 หนา้ 82-85 วสั ดุ อปุ กรณ์สำหรบั ทำกจิ กรรม 1 เคร่อื ง 1 เครือ่ ง ส่ิงทค่ี รูต้องเตรยี ม/ห้อง 1. ท่วี ัดสว่ นสูง 1 เลม่ 2. เคร่ืองชั่งนำ้ หนัก สง่ิ ท่ีครูตอ้ งเตรียม/คน สมุดรายงานสุขภาพประจำปี ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S2 การวัด S3 การใช้จำนวน S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรปุ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
219 คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 อากาศและชวี ิตของสตั ว์ แนวการจดั การเรียนรู้ ในการทบทวนความรู้พื้นฐาน ครูควรให้เวลานักเรียนคิดอย่าง 1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและ เหมาะสม รอคอยอย่างอดทน การดำรงชีวติ ของสัตว์ โดยใช้คำถามดงั ต่อไปนี้ นักเรียนต้องตอบคำถามเหล่านี้ได้ 1.1 สัตว์ต้องการสิ่งที่จำเป็นใดบ้างสำหรับการเจริญเติบโตและ ถูกต้อง หากตอบไม่ได้หรือลืมครู การดำรงชวี ติ (อาหาร นำ้ และอากาศ) ตอ้ งใหค้ วามรู้ท่ีถกู ตอ้ งทันที 1.2 เราจะดูแลสัตว์ให้ได้รับสิ่งที่จำเป็นต่าง ๆ อย่างเหมาะสมได้อย่างไร (ใหอ้ าหารทีเ่ หมาะสมกับชนดิ และขนาดของสัตว์ ใหน้ ้ำสะอาดอย่าง ในการตรวจสอบความรู้เดิม เพยี งพอ และใหอ้ ยู่ในท่มี ีอากาศถา่ ยเทสะดวก) ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ 2. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับสิ่งที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการ แต่ชักชวนให้หาคำตอบที่ถูกต้อง ดำรงชวี ิตของมนษุ ย์ โดยใชค้ ำถามดงั ตอ่ ไปนี้ จากการทำกิจกรรม 2.1 นักเรียนคิดว่าตวั เรามีการเจริญเติบโตหรือไม่ รูไ้ ด้อย่างไร (นักเรียน ตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ตัวเรามีการเจริญเติบโต รู้ได้ จากน้ำหนกั และส่วนสูงที่เพมิ่ ข้ึน ขนาดลำตัวใหญ่ขึ้น) 2.2 อะไรคือสิ่งสำคัญที่ช่วยให้เราเจริญเติบโตและดำรงชีวิตอยู่ได้ (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง เชน่ อาหาร น้ำ อากาศ) 2.3 ในแต่ละวันนักเรียนได้รับสิ่งที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและ การดำรงชีวิตเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความ เข้าใจของตนเอง เช่น เหมาะสม เพราะเรารับประทานอาหารที่มี ประโยชน์ ครบถ้วน ดื่มน้ำอย่างเพียงพอ และอยู่ในที่ที่มีอากาศ สะอาด) 3. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 1.2 โดยใช้คำถามว่า มนษุ ย์ตอ้ งการสิง่ ท่จี ำเป็นตอ่ การเจรญิ เติบโตและการดำรงชวี ติ ใดบา้ ง 4. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากนั้นร่วมกันอภิปราย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถาม ดังนี้ 4.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (สิ่งที่จำเป็นต่อ การเจริญเตบิ โตและการดำรงชวี ิตของมนษุ ย์) 4.2 นกั เรียนจะไดเ้ รียนรู้เรือ่ งนด้ี ว้ ยวิธใี ด (การรวบรวมขอ้ มูล) 4.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (บรรยายสิ่งที่จำเป็นต่อ การเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของมนุษย์ และบอกแนวทาง ในการดูแลตนเองใหไ้ ดร้ บั สิ่งทจี่ ำเป็นดงั กลา่ วอย่างเหมาะสม) 5. นกั เรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม หน้า 82 ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คูม่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 อากาศและชีวิตของสตั ว์ 220 6. นักเรียนอ่านสิ่งที่ต้องใช้ในการทำกิจกรรม ถ้านักเรียนไม่รู้จักวัสดุ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ อุปกรณ์บางอย่าง ครูควรนำวัสดุอุปกรณ์เหล่านั้นมาแสดงให้ดู หรือถ้า ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทน่ี ักเรยี นจะได้ฝกึ นกั เรียนไมร่ ู้วธิ กี ารใชอ้ ุปกรณ์ ครคู วรแนะนำและสาธิตวธิ ีการใชอ้ ปุ กรณ์ จากการทำกจิ กรรม 7. นักเรียนอ่านทำอย่างไรทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกการอ่านที่เหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับ S2 วัดความสูงและชั่งน้ำหนักของตนเอง วิธีการทำกิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำกิจกรรม (ครูอาจเขียน พรอ้ มระบหุ น่วย ขนั้ ตอนการทำกิจกรรมบนกระดาน) โดยครใู ช้คำถามดงั นี้ 7.1 นักเรียนต้องบันทึกข้อมูลอะไรบ้าง (น้ำหนักและส่วนสูงของตนเอง S3 นำค่าความสูงและน้ำหนักของตนเองท่ี เมอ่ื อย่รู ะดับชน้ั ป.2) วัดได้ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 7.2 สิ่งที่จะต้องทำต่อไปคืออะไร (ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง แล้วหา และ 2 มาหาผลต่าง ผลตา่ งของนำ้ หนกั และสว่ นสูงระหวา่ งช้นั ป.2 และ ป.3) 7.3 นกั เรยี นต้องอภปิ รายเก่ียวกบั เรื่องอะไร (สาเหตุทที่ ำให้น้ำหนักและ S8 ลงความเห็นจากข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่ ส่วนสงู ของตนเองและเพื่อนเปลีย่ นแปลงในเวลา 1 ปี) จำเป็นต่อการเจริญเติบโต และ 7.4 นักเรียนต้องอ่านใบความรู้เรื่องอะไร (สิ่งที่จำเป็นต่อการ การดำรงชีวิตของมนุษย์ และการดูแล เจริญเตบิ โตและการดำรงชวี ิตของมนษุ ย์) ตนเองให้ได้รับสิ่งที่จำเป็นเหล่าน้ีอย่าง 7.5 เมื่ออ่านใบความรู้แล้ว นักเรียนต้องทำอะไรต่อไป (อภิปรายข้อมูล เหมาะสมห จากใบความรู้และวิเคราะห์ว่า ในชีวิตประจำวันของเราได้รับสิ่งท่ี จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตเหมาะสมหรือไม่ และ C2 วิเคราะห์สาเหตุที่ทำให้น้ำหนัก บอกแนวทางในการดูแลตนเองให้ไดร้ ับส่งิ เหลา่ นัน้ อย่างเหมาะสม) และส่วนสูงเปลี่ยนแปลง รวมทั้ง วิเคราะห์เพื่อสรุปว่าในชีวิตประจำวัน 8. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไรแล้ว ให้นักเรียนเร่ิม ตนเองได้รับสิ่งที่จำเป็นเหล่านั้นอย่าง ปฏบิ ัติตามขนั้ ตอนของกิจกรรม เหมาะสมหรือไม่ 9. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทำ C5 ทำงานร่วมกับผู้อื่นในการอภิปราย กจิ กรรม โดยใชค้ ำถามดงั ตอ่ ไปนี้ เกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้น้ำหนักและ 9.1 จากระดับชั้น ป.2 จนถึงปัจจุบัน น้ำหนักและส่วนสูงของนักเรียนมี ส่วนสูงเปลี่ยนแปลง และแนวทางในการ การเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเป็นจริง ดูแลตนเองให้ได้รับสิ่งที่จำเป็นต่าง ๆ เช่น น้ำหนักและส่วนสูงมีการเปล่ียนแปลง โดยน้ำหนักและส่วนสงู อย่างเหมาะสม เพมิ่ ขึน้ จากระดบั ช้นั ป.2) 9.2 ร่างกายของเรามีการเจริญเติบโตหรอื ไม่ รู้ได้อย่างไร (นักเรียนตอบ ตามความเขา้ ใจของตนเอง เชน่ มี รู้ได้จากการมนี ้ำหนกั และส่วนสูง เพิ่มขึน้ ) 9.3 เพราะเหตใุ ดรา่ งกายของเราจงึ มีการเจริญเติบโต (นกั เรยี นตอบตาม ความเข้าใจของตนเอง เช่น เพราะเรารับประทานอาหารที่มี สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
221 คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 อากาศและชวี ิตของสัตว์ ประโยชน์อย่างครบถ้วนและหลากหลาย ดื่มน้ำสะอาดอย่าง หากนักเรียนไม่สามารถตอบ เพยี งพอ และอยใู่ นที่ทีม่ อี ากาศสะอาดและถ่ายเทสะดวก) คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 9.4 สิ่งที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของเรามีอะไรบ้าง คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด (อาหาร นำ้ และอากาศ) อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน 9.5 อาหารมีประโยชน์ต่อร่างกายอย่างไร (ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต และรับฟังแนวความคิดของ แข็งแรง ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ให้พลังงาน และช่วยให้ร่างกาย นกั เรยี น ทำงานไดอ้ ยา่ งปกต)ิ 9.6 เราควรรับประทานอาหารอย่างไรจึงจะเหมาะสม ต่อการ ถ้าครูพบว่านักเรียนยังมี เจริญเติบโตและการดำรงชีวิต (เราควรรับประทานอาหารที่มี แนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ ประโยชน์ให้ครบถ้วนและหลากหลายในปริมาณที่เหมาะสมกับ สิ่งที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโต ความต้องการของร่างกาย ไม่รับประทานอาหารมากหรือน้อย และการดำรงชีวิตของมนุษย์ เกินไป ไม่รับประทานอาหารที่มีรสจัด และลดการรับประทาน ให้ร่วมกันอภิปรายจนนักเรียน อาหารที่มนี ้ำมันหรือไขมันเปน็ ส่วนประกอบ) มีแนวคดิ ทถ่ี ูกต้อง 9.7 น้ำมีประโยชน์ต่อร่างกายของเราอย่างไร (ช่วยให้ร่างกาย เจริญเตบิ โตและดำรงชวี ิตได้อยา่ งปกติ) 9.8 เราได้รับน้ำจากที่ใดบา้ ง (จากการรับประทานอาหารและการดื่มน้ำ สะอาด) 9.9 เราควรดื่มน้ำต่อวันประมาณเท่าใดจึงจะเหมาะสม (ประมาณ 6-8 แก้วต่อวัน) 9.10 เด็กชาย A (ชื่อนักเรียนชายที่มีรูปร่างใหญ่ที่สุดในห้อง) กับ เดก็ หญงิ B (ชือ่ นักเรียนหญงิ ทีม่ รี ปู ร่างเลก็ ทส่ี ุดในห้อง) ควรดม่ื น้ำ ในปริมาณเท่ากันหรือไม่ เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามความ เข้าใจของตนเอง ซึ่งควรตอบได้ว่า ไม่เท่ากัน ปริมาณน้ำที่แต่ละ คนต้องการขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ส่วนสูง น้ำหนัก กิจกรรม ต่าง ๆ ท่ที ำ ซงึ่ เด็กชาย A ควรดมื่ น้ำมากกวา่ เด็กหญงิ B) 9.11 นอกจากอาหารและน้ำแล้ว ร่างกายของเรายังต้องการสิ่งใด อีก (อากาศ) 9.12 อากาศที่อยู่รอบตัวเรามีสิ่งใดที่จำเป็นต่อร่างกายของเรา (แก๊ส ออกซเิ จน) 9.13 ทำอยา่ งไรจงึ จะได้รับแก๊สออกซิเจนจากอากาศอย่างเพียงพอ (อยู่ ในสถานที่ที่มอี ากาศสะอาดและถา่ ยเทสะดวก) ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 อากาศและชีวติ ของสตั ว์ 222 9.14 นอกจากร่างกายได้รับสิ่งที่จำเป็นต่าง ๆ ดังกล่าวแล้ว เราควรทำ อยา่ งไรเพื่อให้รา่ งกายแข็งแรงและมสี ุขภาพดี (ออกกำลังกายและ พักผ่อนอย่างเพียงพอ) 10. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งที่ จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของมนุษย์ จากนั้นร่วมกัน อภิปรายและลงข้อสรุปว่า ร่างกายของเรามีการเจริญเติบโต สังเกตได้ จากน้ำหนักและส่วนสงู เพิ่มขึน้ สิ่งที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการ ดำรงชีวิตของมนุษย์ ได้แก่ อาหาร น้ำ และอากาศ โดยอาหารช่วยให้ ร่างกายเจริญเติบโต แข็งแรง ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และให้พลังงาน แก่ร่างกาย น้ำและอากาศช่วยให้ร่างกายทำงานได้อย่างปกติ ดังนั้นจงึ ควรดแู ลตนเองให้ไดร้ บั ส่ิงทจ่ี ำเป็นเหลา่ นนั้ อย่างเหมาะสม (S13) 11. นักเรียนตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร และร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้แนว คำตอบที่ถกู ตอ้ ง 12. นักเรียนสรุปสิง่ ท่ีไดเ้ รยี นรู้ในกิจกรรมน้ี จากนัน้ ครใู ห้นักเรียนอ่าน ส่ิงที่ ได้เรยี นรู้ และเปรยี บเทียบกับข้อสรุปของตนเอง 13. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เกีย่ วกบั คำถามท่นี ำเสนอ 14. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 อะไรบ้างและในขน้ั ตอนใด 15. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียนหน้า 89 ครูนำ อภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในเรื่องนี้ จากนั้นครู กระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเนื้อเรื่อง ซึ่งเป็นคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนเนื้อหาในบทถัดไป ดังน้ี “ในขณะที่มนุษย์ และสัตว์เจริญเติบโต ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง” นักเรียนสามารถตอบตามความเข้าใจของตนเอง ซึ่งจะหาคำตอบได้ จากการเรยี นในบทตอ่ ไป สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
223 คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 อากาศและชีวิตของสตั ว์ แนวคำตอบในแบบบันทึกกิจกรรม รวบรวมข้อมูลและบรรยายสิ่งทจี่ ำเปน็ ต่อการเจรญิ เติบโตและการ ดำรงชวี ติ ของมนุษย์ สบื ค้นข้อมูลและบอกแนวทางในการดูแลตนเองใหไ้ ดร้ ับสง่ิ ทีจ่ ำเปน็ ต่อ การเจริญเติบโตและการดำรงชวี ติ อย่างเหมาะสม คำตอบของนกั เรียนข้ึนอยู่กับ ผลการทำกิจกรรม ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 อากาศและชีวิตของสัตว์ 224 นกั เรียนตอบตามผลการอภิปรายของตนเอง ซงึ่ อาจตอบได้วา่ ร่างกายมกี ารเปลี่ยนแปลง เนอ่ื งจากการกินอาหาร ดื่มน้ำ และได้รับอากาศ อาหาร น้ำ อากาศ ทำให้รา่ งกายเจรญิ เตบิ โต ทำใหร้ า่ งกายเจรญิ เติบโต ใช้ในการหายใจ ชว่ ยให้ แขง็ แรง ซ่อมแซมส่วนท่ี และดำรงชีวิตไดอ้ ย่าง รา่ งกายดำรงชีวติ ได้ สกึ หรอ ใหพ้ ลังงาน และ ปกติ อยา่ งปกติ ทำให้ร่างกายทำงานได้ อย่างปกติ นกั เรยี นตอบตามผลการทำกิจกรรมในหอ้ งเรียน รบั ประทานอาหารที่มีประโยชนอ์ ยา่ งครบถ้วนและหลากหลาย ในปรมิ าณที่ เพียงพอ ดมื่ นำ้ สะอาดอย่างเพียงพอ และอยใู่ นท่ีทม่ี ีอากาศสะอาดและถา่ ยเท สะดวก สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
225 คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 อากาศและชวี ติ ของสัตว์ รา่ งกายของเรามีการเจริญเตบิ โต รู้ได้จากการมนี ้ำหนกั และสว่ นสูงเพม่ิ ข้นึ จากในระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 2 อาหาร นำ้ และอากาศ ดแู ลให้รา่ งกายไดร้ บั ส่ิงที่จำเป็นตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม โดยรบั ประทาน อาหารท่มี ีประโยชน์อยา่ งครบถ้วนและหลากหลาย ในปริมาณทเ่ี พียงพอ ดื่มน้ำสะอาดอยา่ งเพียงพอ และอยู่ในท่ีท่มี ีอากาศสะอาดและถา่ ยเทสะดวก นำ้ หนกั และส่วนสงู ของนักเรยี นเพ่มิ ข้ึนจากระดับชั้น ป.2 เพราะได้ รับประทานอาหาร ดื่มนำ้ และได้รับอากาศ อาหารทำใหร้ ่างกายเจริญเตบิ โต แขง็ แรง นำ้ ทำให้รา่ งกายเจริญเตบิ โต และดำรงชวี ติ ได้อย่างปกติ และอากาศใช้ในการหายใจ ช่วยใหร้ า่ งกาย ดำรงชีวิตได้อย่างปกติ ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 อากาศและชวี ิตของสตั ว์ 226 อาหาร น้ำ และอากาศ เป็นสง่ิ ทจี่ ำเปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดำรงชวี ติ ของมนษุ ย์ จึงควรดูแลตนเองใหไ้ ด้รับส่งิ ท่ีจำเป็นต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม คำถามของนกั เรียนท่ีต้ังตามความอยากรขู้ องตนเอง สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
227 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 อากาศและชีวิตของสัตว์ แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมนิ การเรียนร้ขู องนักเรยี นทำได้ ดังน้ี 1. ประเมนิ ความร้เู ดิมจากการอภปิ รายในชน้ั เรียน 2. ประเมินการเรยี นรจู้ ากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจดั การเรียนรแู้ ละจากแบบบนั ทึกกิจกรรม 3. ประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จากการทำกจิ กรรมของนักเรยี น การประเมินจากการทำกิจกรรมท่ี 1.2 มนุษยต์ ้องการสง่ิ ใดในการเจริญเตบิ โต และการดำรงชวี ิต รหัส ส่งิ ท่ปี ระเมนิ ระดับ คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S2 การวัด S3 การใช้จำนวน S8 การลงความเหน็ จากข้อมลู S13 การตคี วามหมายขอ้ มูลและลงข้อสรปุ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C2 การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ C5 ความรว่ มมอื รวมคะแนน ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 อากาศและชีวิตของสตั ว์ 228 ตาราง รายการประเมินและเกณฑ์การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทกั ษะ เกณฑ์การประเมนิ กระบวนการทาง รายการประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรุง (1) วิทยาศาสตร์ S2 การวัด การใชเ้ คร่ืองวัดส่วนสูง สามารถใชเ้ คร่ืองวดั สามารถใชเ้ คร่ืองวดั สามารถใชเ้ ครื่องวดั ในการวัดส่วนสูงของ ส่วนสูงในการวดั สว่ นสงู ส่วนสูงในการวดั สว่ นสูง ส่วนสงู ในการวัดส่วนสงู ตนเองและเพื่อน และ ของตนเองและเพอ่ื น ของตนเองและเพือ่ น และ ของตนเองและเพอ่ื น ใช้เครอื่ งชั่งน้ำหนักใน และใช้เครื่องช่ังน้ำหนัก ใช้เครอื่ งชง่ั น้ำหนักในการ และใชเ้ คร่ืองชั่งนำ้ หนัก การชั่งนำ้ หนกั ของ ในการชงั่ นำ้ หนักของ ช่งั น้ำหนักของตนเอง และ ในการชง่ั น้ำหนกั ของ ตนเอง และระบุหน่วย ตนเอง และระบหุ น่วยได้ ระบหุ น่วยไดถ้ ูกต้อง จาก ตนเอง แตร่ ะบุหน่วยไม่ ได้ ถูกต้อง ดว้ ยตนเอง การชแ้ี นะของครหู รอื ผู้อน่ื ถูกต้อง แม้ว่าจะได้รับ คำชี้แนะจากครหู รอื ผู้อน่ื S3 การใช้จำนวน การหาผลตา่ งของ สามารถหาผลตา่ งของ สามารถหาผลต่างของ สามารถหาผลต่างของ สว่ นสงู และนำ้ หนกั สว่ นสงู และนำ้ หนกั ส่วนสูงและนำ้ หนกั ส่วนสูงและนำ้ หนัก ระหวา่ งระดับชั้น ระหว่างระดับช้ัน ระหวา่ งระดบั ชัน้ ระหวา่ งระดบั ช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 3 ประถมศึกษาปีท่ี 3 และ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 และ 2 ประถมศึกษาปีท่ี 3 และ และ 2 2 ไดถ้ ูกต้อง ดว้ ยตนเอง ไดถ้ ูกตอ้ งจากการชี้แนะ 2 ไดถ้ ูกต้องเพียงอยา่ ง ของครหู รือผอู้ ่นื เดียว แมว้ า่ จะได้รับคำ ช้ีแนะจากครหู รือผอู้ ื่น S8 การลง การลงความเห็น สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเหน็ จาก สามารถลงความเห็นจาก ความเห็นจาก จากข้อมูลการ ขอ้ มูลการเปลยี่ นแปลง ขอ้ มูลการเปลย่ี นแปลง ขอ้ มูลการเปล่ยี นแปลง ข้อมูล เปล่ยี นแปลงความสงู ความสงู และน้ำหนักของ ความสูงและนำ้ หนักของ ความสูงและน้ำหนักของ และนำ้ หนักของตนเอง ตนเองและเพ่ือน และ ตนเองและเพ่ือน และจาก ตนเองและเพ่ือน และ และเพื่อน และจากใบ จากใบความรู้ไดว้ ่า ใบความรู้ได้วา่ รา่ งกายมี จากใบความรู้ไดว้ า่ ความรไู้ ดว้ ่า รา่ งกายมี รา่ งกายมีการ การเจริญเติบโต โดยได้รบั รา่ งกายมีการ การเจริญเตบิ โต โดย เจริญเติบโต โดยไดร้ ับ อาหาร นำ้ และอากาศ ซง่ึ เจรญิ เติบโต โดยไดร้ บั ไดร้ บั อาหาร นำ้ และ อาหาร นำ้ และอากาศ เปน็ สง่ิ ทีจ่ ำเปน็ ตอ่ การ อาหาร นำ้ และอากาศ อากาศ ซง่ึ เป็นส่ิงที่ ซง่ึ เปน็ สิง่ ทจ่ี ำเป็นต่อการ เจรญิ เติบโตของมนษุ ย์ ซง่ึ เป็นสิ่งที่จำเป็นต่อการ จำเป็นต่อการ เจรญิ เติบโตของมนษุ ย์ และบอกได้ว่าตนเองได้รบั เจรญิ เตบิ โตของมนษุ ย์ เจริญเตบิ โตของมนษุ ย์ และบอกไดว้ า่ ตนเอง สงิ่ ท่ีจำเปน็ เหลา่ นน้ั อยา่ ง และบอกได้ว่าตนเอง และบอกไดว้ า่ ตนเอง ได้รับสงิ่ ทจ่ี ำเป็นเหลา่ นัน้ เหมาะสมหรือไม่ ได้ ได้รับส่งิ ท่ีจำเปน็ เหล่าน้นั ได้รบั ส่งิ ทีจ่ ำเปน็ อย่างเหมาะสมหรือไม่ ถกู ต้องจากการชีแ้ นะของ อย่างเหมาะสมหรือไม่ได้ ไดถ้ ูกตอ้ งดว้ ยตนเอง ครหู รอื ผู้อื่น ถูกต้อง แต่ไมค่ รบถว้ น สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
229 คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 อากาศและชวี ติ ของสตั ว์ ทกั ษะ เกณฑก์ ารประเมนิ กระบวนการทาง รายการประเมิน ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) วทิ ยาศาสตร์ เหล่าน้ันอย่าง สมบรู ณ์ แม้วา่ จะได้ เหมาะสมหรือไม่ รับคำชแ้ี นะจากครหู รอื ผูอ้ ่ืน S13 การ การตีความหมายข้อมลู สามารถตคี วามหมาย สามารถตคี วามหมาย สามารถตคี วามหมาย ตีความหมาย ที่ได้จากการสังเกตการ ขอ้ มลู ท่ีได้จากการสงั เกต ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต ขอ้ มูลท่ีได้จากการสังเกต ข้อมูลและการลง เจริญเติบโตของตนเอง การเจริญเติบโตของ การเจริญเติบโตของตนเอง การเจริญเติบโตของ ข้อสรปุ และจากการอ่านใบ ตนเองและจากการอ่านใบ และจากการอ่านใบความรู้ ตนเองและจากการอ่าน ความรู้ และลงขอ้ สรปุ ความรู้ และลงขอ้ สรุปได้ และลงข้อสรุปไดว้ ่าอาหาร ใบความรู้ แต่ลงข้อสรุป ไดว้ ่าอาหาร น้ำ และ วา่ อาหาร น้ำ และ น้ำ และอากาศเปน็ ส่ิงที่ ไดเ้ พยี งบางส่วนวา่ อากาศเปน็ สิง่ ทจ่ี ำเป็น อากาศเปน็ สงิ่ ท่ีจำเปน็ จำเปน็ ต่อการเจริญเติบโต อาหาร น้ำ อากาศเปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต ต่อการเจริญเตบิ โตและ และการดำรงชีวติ ของ สงิ่ ท่ีจำเปน็ ตอ่ การ และการดำรงชีวติ ของ การดำรงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์ และควรดูแล เจริญเติบโตและการ มนษุ ย์ และควรดแู ล และควรดูแลตนเองให้ ตนเองให้ได้รับสง่ิ ทจี่ ำเป็น ดำรงชีวติ ของมนุษย์ ตนเองให้ไดร้ ับสง่ิ ที่ ได้รบั ส่งิ ท่จี ำเป็นเหลา่ น้ัน เหลา่ นนั้ อย่างเหมาะสมได้ และควรดแู ลตนเองให้ จำเปน็ เหลา่ นนั้ อยา่ ง อยา่ งเหมาะสมได้ถูกตอ้ ง ถูกต้องจากการช้แี นะจาก ไดร้ ับส่งิ ที่จำเป็นเหลา่ น้นั เหมาะสม ด้วยตนเอง ครแู ละผ้อู นื่ อยา่ งเหมาะสม แม้วา่ จะ ได้รับคำช้ีแนะจากครู หรือผ้อู ่นื ตาราง รายการประเมนิ และเกณฑ์การประเมินทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ทักษะแห่ง รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1) ศตวรรษท่ี 21 พอใช้ (2) C2 การคดิ อย่างมี วิจารณญาณ การวิเคราะห์ สามารถวิเคราะห์สาเหตุ สามารถวิเคราะห์สาเหตุท่ี สามารถวิเคราะห์สาเหตุที่ สาเหตุที่ทำให้ ท่ีทำให้น้ำหนักและ ทำให้น้ำหนักและส่วนสูง ทำให้น้ำหนักและส่วนสูง น้ำหนักและส่วนสูง ส่วนสูงของตนเองและ ของตนเองและเพ่ือนมกี าร ของตนเองและเพื่อนมีการ ของตนเองและเพ่อื น เพื่อนมีการเปลย่ี นแปลง เปลี่ยนแปลงเพือ่ สรปุ สิ่งท่ี เปลี่ยนแปลงเพื่อสรุปสงิ่ ท่ี มีการเปล่ียนแปลงเพอื่ เพือ่ สรปุ สง่ิ ทจ่ี ำเป็นต่อการ จำเป็นตอ่ การเจริญเตบิ โตและ จำเป็นตอ่ การเจริญเติบโตและ สรปุ สง่ิ ท่ีจำเป็นต่อการ เจรญิ เติบโตและการ การดำรงชีวติ ของมนุษย์ และ การดำรงชวี ติ ของมนษุ ย์ และ เจริญเตบิ โตและการ ดำรงชวี ิตของมนุษย์ และ วเิ คราะห์ว่า ใน ในชีวติ ประจำวนั ได้รบั สงิ่ ที่ ดำรงชวี ิตของมนษุ ย์ วเิ คราะห์วา่ ใน ชวี ิตประจำวนั ได้รับสง่ิ ที่ จำเป็นเหล่านัน้ อยา่ ง ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คูม่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 อากาศและชวี ติ ของสตั ว์ 230 ทกั ษะแห่ง รายการประเมิน ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1) ศตวรรษที่ 21 ชวี ติ ประจำวนั ได้รับส่งิ ที่ พอใช้ (2) เหมาะสมหรือไม่ เพ่ือบอก และวิเคราะหว์ ่า ใน จำเป็นเหล่าน้นั อย่าง แนวทางในการดูแล C5 ความร่วมมือ ชวี ติ ประจำวัน เหมาะสมหรือไม่ เพ่ือ จำเป็นเหล่าน้ันอยา่ ง ตนเองให้ได้รับส่ิงท่ีจำเป็น ไดร้ ับสงิ่ ทจี่ ำเป็น บอกแนวทางในการดูแล เหมาะสมหรือไม่ เพื่อบอก ต่าง ๆ อย่างเหมาะสมได้ เหล่านั้นอย่าง ตนเองให้ได้รับส่ิงท่ี แนวทางในการดูแล ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ แม้วา่ เหมาะสมหรือไม่ จำเป็นต่าง ๆ อย่าง ตนเองให้ได้รับสิ่งที่จำเป็น จะไดร้ บั คำชแี้ นะจากครู เพื่อบอกแนวทาง เหมาะสมได้ถูกต้องดว้ ย ต่าง ๆ อย่างเหมาะสมได้ หรือผอู้ น่ื ในการดูแลตนเอง ตนเอง ถกู ต้องจากการชแี้ นะจาก ให้ได้รับส่ิงที่จำเป็น ครูหรือผอู้ ืน่ สามารถทำงานรว่ มกบั ผอู้ น่ื ต่าง ๆ อย่าง สามารถทำงานร่วมกบั ในการอภิปรายเก่ียวกบั เหมาะสม ผอู้ นื่ ในการอภปิ ราย สามารถทำงานร่วมกบั ผู้อื่น สาเหตทุ ี่ทำใหน้ ำ้ หนักและ การทำงานรว่ มกบั เก่ยี วกบั สาเหตทุ ีท่ ำให้ ในการอภิปรายเกย่ี วกบั ส่วนสงู ของตนเองและเพ่ือน ผู้อ่นื ในการอภปิ ราย น้ำหนักและสว่ นสงู ของ สาเหตทุ ี่ทำใหน้ ำ้ หนกั และ มกี ารเปล่ยี นแปลงไป และ เก่ียวกบั สาเหตทุ ี่ทำ ตนเองและเพ่อื นมกี าร สว่ นสงู ของตนเองและเพ่ือน บอกแนวทางในการดแู ล ใหน้ ้ำหนักและ เปล่ยี นแปลงไป และบอก มีการเปล่ียนแปลงไป และ ตนเองใหไ้ ดร้ ับส่ิงทจี่ ำเปน็ ส่วนสงู ของตนเอง แนวทางในการดูแลตนเอง บอกแนวทางในการดแู ล ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม และเพือ่ นมีการ ใหไ้ ด้รับส่งิ ทีจ่ ำเป็นต่าง ๆ ตนเองใหไ้ ดร้ ับสงิ่ ที่จำเปน็ รวมทัง้ ยอมรับความ เปลย่ี นแปลงไป และ อยา่ งเหมาะสม รวมท้งั ตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม คดิ เห็นของผอู้ ืน่ ในบาง บอกแนวทางในการ ยอมรับความคดิ เห็นของ รวมทั้งยอมรบั ความ ช่วงเวลาทท่ี ำกจิ กรรม ดแู ลตนเองให้ไดร้ บั ผู้อ่นื ตัง้ แต่เร่มิ ต้นจน คดิ เหน็ ของผู้อื่นในบาง ท้ังนต้ี ้องอาศัยการกระต้นุ สิง่ ท่จี ำเป็นตา่ ง ๆ สำเร็จ ชว่ งเวลาท่ที ำกจิ กรรม จากครหู รือผู้อ่นื อยา่ งเหมาะสม รวมทง้ั ยอมรับความ คิดเหน็ ของผอู้ ื่น สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
231 คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 อากาศและชีวติ ของสัตว์ เรื่องที่ 2 วัฏจกั รชวี ติ ของสัตว์ ในเรื่องนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตของ สตั ว์ชนิดตา่ ง ๆ และเปรียบเทียบวัฏจกั รชีวิตของสัตว์บางชนิด รวมทั้งการบอกแนวทางที่ไม่ทำให้วัฏจักรชีวิตของสัตว์ เปลี่ยนแปลง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. รวบรวมข้อมูลและสร้างแบบจำลองที่บรรยาย วัฏจกั รชีวติ ของสัตว์ 2. เปรียบเทียบวัฏจกั รชีวิตของสัตว์ชนดิ ตา่ ง ๆ 3. อภิปรายและบอกแนวทางการไม่ทำให้วัฏจักรชีวิต ของสัตว์เปล่ียนแปลง เวลา 3 ชว่ั โมง วสั ดุ อปุ กรณส์ ำหรบั ทำกิจกรรม บัตรภาพแสดงการเจริญเติบโตในระยะต่าง ๆ ของ มนษุ ย์ ไก่ และผเี ส้อื ไหม บัตรคำ สือ่ การเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ 1. หนังสือเรียน ป.3 เล่ม 1 หนา้ 91-99 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.3 เล่ม 1 หนา้ 86-93 ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คูม่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 อากาศและชวี ิตของสัตว์ 232 แนวการจัดการเรียนรู้ (60 นาท)ี ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น ขน้ั ตรวจสอบความรู้ (10 นาที) สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้หาคำตอบด้วย 1. ครตู รวจสอบความรู้เดมิ เก่ยี วกับวัฏจกั รชวี ติ ของสตั ว์ โดยใช้คำถามดังน้ี ตนเองจากการอ่านเนอื้ เรื่อง 1.1 เมื่อลูกเจี๊ยบฟักออกมาจากไข่ ลูกเจี๊ยบจะเจริญเติบโตไปเป็นอะไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ลูกเจี๊ยบจะ เจริญเติบโตไปเป็นไกต่ ัวเตม็ วัย) 1.2 ในขณะเจริญเติบโต ร่างกายของลูกเจี๊ยบมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น มีการ เปลี่ยนแปลง โดยลูกเจี๊ยบจะมีขนาดลำตัวใหญข่ ึ้น ขนแข็งขึ้น สีขน เปลย่ี นแปลง) 1.3 นักเรียนเคยสังเกตลูกสัตว์อื่น ๆ อีกหรือไม่ และคิดว่าลูกสัตว์ เหลา่ น้นั เจรญิ เตบิ โตไปเปน็ อะไร (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง เช่น เคยเห็นลูกสุนัข โดยลูกสุนัขเจริญเติบโตไปเป็นสุนัข ทม่ี ีขนาดตวั ใหญข่ นึ้ ) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนสู่การเรียนเรื่องวัฏจักรชีวิตของสัตว์ โดยใช้คำถามว่า ในขณะเจริญเติบโต รูปร่างลักษณะและการดำรงชีวิต ของสตั ว์ชนดิ ต่าง ๆ มกี ารเปล่ียนแปลงหรอื ไม่ อย่างไร ข้นั ฝกึ ทักษะจากการอา่ น (40 นาที) 3. ครูให้นักเรียนอ่านชื่อเรื่อง และคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียน หน้า 91 จากนั้นร่วมกนั อภิปรายเพ่ือหาแนวคำตอบและนำเสนอ ครบู นั ทึกคำตอบ ของนกั เรียนบนกระดานเพื่อใชเ้ ปรียบเทยี บคำตอบหลังการอา่ นเร่ือง 4. นกั เรียนอ่านคำสำคัญ ทงั้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียนอ่าน ไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชักชวนให้นักเรียนอธิบาย ความหมายของคำสำคัญตามความเข้าใจของตนเอง 5. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่องในหนังสือเรียน หน้า 91 โดยครูฝึกทักษะการอ่าน ตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน ครูตรวจสอบ ความเขา้ ใจจากการอา่ น โดยใช้คำถามดงั นี้ 5.1 ข้าวตเู ลี้ยงสตั ว์ชนิดใด (สุนขั ) 5.2 สุนัขของข้าวตูมีการเจริญเติบโตหรือไม่ อย่างไร (สุนัขมีการ เจริญเติบโต โดยสนุ ัขมีขนาดลำตวั ใหญข่ ้นึ ) สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
233 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 อากาศและชีวติ ของสัตว์ 5.3 ข้าวตูเลี้ยงดสู นุ ัขอย่างไร สุนัขจึงสามารถเจริญเติบโตและดำรงชีวติ หากนักเรียนไม่สามารถตอบ อยู่ได้ (ข้าวตูให้อาหารและน้ำอย่างเพียงพอ และสร้างบ้านให้สุนัข คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว ในบรเิ วณท่ีมอี ากาศถ่ายเทสะดวก) คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน 5.4 ขณะท่ีลูกสุนัขเจริญเติบโต สุนัขมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง และรับฟังแนวความคิดของ (สุนัขมีขนาดลำตัวใหญ่ขึ้น เมื่อถึงระยะหนึ่งสุนัขพร้อมจะสืบพันธ์ุ นักเรียน เพือ่ มีลูกตอ่ ไป) 5.5 ผลทเ่ี กดิ จากการสบื พันธุ์ของสนุ ขั คอื อะไร (จะได้ลูกสุนขั ตวั เลก็ ) 5.6 รูปร่างลักษณะของลูกสุนัขเหมือนหรือแตกต่างจากสุนัขตัวเต็มวัย (เหมือนกนั คอื ลูกสนุ ขั จะมรี ปู ร่างลักษณะเหมือนกบั สนุ ัขตัวเต็มวัย แต่จะมีขนาดเล็กกว่าสุนขั ตัวเต็มวัย) 5.7 การเปลี่ยนแปลงของสุนัขขณะเจริญเติบโตเป็นวัฏจักรชีวิตหรือไม่ อยา่ งไร (เป็นวัฏจักรชวี ิต สนุ ขั ทเี่ จรญิ เตบิ โตเปน็ ตวั เต็มวัยจะสืบพันธ์ุ และมีลูก เมื่อลูกสุนัขเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยก็จะสืบพันธุ์และมี ลูกต่อไปอีก หมุนเวียนเป็นแบบรูปคงที่ซ้ำเดิมอย่างต่อเนื่องเป็น วัฏจักรชีวติ ของสนุ ัข) 5.8 นักเรยี นสามารถเขียนแผนภาพวัฏจกั รชวี ิตของสุนัขไดอ้ ยา่ งไร ลูกสุนัข สนุ ขั ตวั เต็มวัย ครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน ออกมาเขียนแผนภาพวัฏจักรชีวิต ของสุนัขบนกระดาน ถ้านักเรียนเขียนไม่ได้ครูควรอธิบายเพิ่มเติม เกี่ยวกับการเขียนวัฏจักรชีวิต หรืออาจนำแผนภาพวัฏจักรชีวิตของ พชื ทเ่ี คยเรยี นผา่ นมาในระดบั ชัน้ ป.2 มาให้นกั เรียนดูอีกครง้ั 5.9 นอกจากสุนัขแล้ว สัตว์ชนิดอื่น ๆ มีวัฏจักรชีวิตหรือไม่ (สัตว์ชนิด อื่น ๆ กม็ วี ัฏจักรชวี ติ เช่นกนั ) ข้ันสรปุ จากการอา่ น (10 นาที) 6. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องที่อ่าน ซึ่งควรสรุปได้ว่า ในขณะ เจริญเติบโตสัตว์ชนิดต่าง ๆ จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ โดย สัตว์ที่เจริญเติบโตจนเป็นตัวเต็มวัยจะมีการสืบพันธุ์และมีลูก เมื่อลูก เจริญเติบโตต่อไปจนเป็นตัวเต็มวัยก็จะสืบพันธุ์และมีลูกต่อไปอีก หมุนเวียนเป็นแบบรูปคงทีซ่ ้ำเดิมอยา่ งตอ่ เนือ่ งเปน็ วฏั จกั รชวี ิตของสตั ว์ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 อากาศและชวี ิตของสตั ว์ 234 7. นกั เรยี นตอบคำถามในร้หู รอื ยัง ในแบบบันทกึ กิจกรรม หน้า 86 การเตรยี มตวั ล่วงหน้าสำหรบั ครู 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคำตอบของนักเรียนใน เพ่ือจดั การเรียนรู้ในครง้ั ถดั ไป รู้หรือยงั กบั คำตอบทเ่ี คยตอบและบันทึกไว้ในคดิ ก่อนอา่ น ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำ 9. ครูให้นักเรียนตอบคำถามท้ายเรื่องที่อ่าน ดังนี้ วัฏจักรชีวิตของสัตว์ กิจกรรมท่ี 2 วัฏจักรชีวิตของสัตว์เป็น อยา่ งไร โดยครเู ตรียมสอื่ การสอน ดังนี้ ชนิดต่าง ๆ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร (นักเรียนตอบคำถามตาม 1. รูปหนอน 1 รูป เพื่อใช้ตรวจสอบ ความเขา้ ใจของตนเอง) ความรเู้ ดมิ ของนักเรยี น ครูยังไม่เฉลยคำตอบแต่ชักชวนให้นักเรียนหาคำตอบจากการทำ 2. บัตรภาพแสดงการเจริญเติบโตใน กจิ กรรม ระยะต่าง ๆ ของมนุษย์ ไก่ และ ผเี สือ้ ไหม และบัตรคำ ซงึ่ ครูสามารถ ดาวน์โหลดบัตรภาพและบัตรคำได้ โดยสแกน QR code ในหนังสือ เรียน หน้า 93 และนำมาตัดเพื่อให้ นกั เรยี นใชท้ ำกจิ กรรม สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
235 คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 อากาศและชีวติ ของสตั ว์ แนวคำตอบในแบบบันทกึ กิจกรรม เมือ่ สัตวเ์ จรญิ เติบโตขน้ึ จนเป็นตัวเต็มวัย จะมกี ารสบื พันธุ์ และมีลกู เม่อื ลกู เจริญเตบิ โตจนเป็นตวั เต็มวัยกพ็ ร้อมท่ีจะสืบพนั ธ์แุ ละมีลูกต่อไปไดอ้ กี หมุนเวียนเป็นแบบรูปคงท่ีซ้ำเดมิ อย่างต่อเน่ืองเป็นวัฏจักรชีวิตของสตั ว์ จุดประสงคข์ องกจิ กรรมนจ้ี ะไดเ้ รียนต่อไปในกิจกรรมที่ 2 ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คูม่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 อากาศและชวี ติ ของสตั ว์ 236 กิจกรรมท่ี 2 วฏั จกั รชวี ิตของสตั ว์เป็นอย่างไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้สังเกตบัตรภาพแสดง การเจริญเติบโตในระยะต่าง ๆ ของมนุษย์ ไก่ และผีเส้ือ ไหม จับคู่บัตรภาพกับบัตรคำ และสร้างแบบจำลองจาก บัตรภาพดังกล่าว เพื่อบรรยายและเปรียบเทียบวัฏจักร ชีวิตของสัตว์ชนิดต่าง ๆ รวมทั้งการอ่านสถานการณ์เพ่ือ บ อ ก แ น ว ท า ง ก า ร ไ ม ่ ท ำ ใ ห ้ ว ั ฏ จ ั ก ร ช ี ว ิ ต ข อ ง ส ั ต ว์ เปลยี่ นแปลง เวลา 2 ชวั่ โมง จุดประสงค์การเรยี นรู้ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 1. รวบรวมข้อมูลและสร้างแบบจำลองที่ C2 การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ บรรยายวฏั จักรชีวิตของสัตว์ C4 การสอ่ื สาร C5 ความร่วมมือ 2. เปรียบเทยี บวฏั จักรชีวติ ของสัตวช์ นิดตา่ ง ๆ C6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3. อภิปรายและบอกแนวทางการไม่ทำให้วัฏจักร สือ่ การเรยี นร้แู ละแหล่งเรียนรู้ ชวี ิตของสตั วเ์ ปลย่ี นแปลง 1. หนงั สือเรียน ป.3 เล่ม 1 หนา้ 93-96 วัสดุ อุปกรณ์สำหรบั ทำกิจกรรม 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.3 เลม่ 1 หนา้ 86-93 สงิ่ ท่ีครูต้องเตรียม/กลุม่ 1. บตั รภาพแสดงการเจรญิ เติบโตในระยะต่าง ๆ ของมนุษย์ ไก่ และผีเสื้อไหม 1 ชุด 2. บตั รคำ 1 ชุด ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S1 การสังเกต S6 การจดั กระทำและสอ่ื ความหมายข้อมลู S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล S13 การตีความหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ S14 การสรา้ งแบบจำลอง สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
237 คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 อากาศและชีวิตของสตั ว์ แนวการจัดการเรยี นรู้ ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครู เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกีย่ วกับวฏั จักรชีวิตของสตั ว์ โดยนำ สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ รปู หนอนชนดิ หนง่ึ มาใหน้ ักเรียนดู จากน้ันอภปิ รายโดยใชค้ ำถามดังน้ี ชักชวนให้หาคำตอบที่ถูกต้องจาก 1.1 รูปนี้เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดใด (นักเรียนตอบตามประสบการณ์ของ การทำกิจกรรม ตนเอง เช่น สัตว์ หนอน หนอนผเี สอื้ ) 1.2 หนอนเกิดมาได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เชน่ หนอนฟักออกมาจากไข่) 1.3 หนอนมีการเจริญเติบโตหรือไม่ ถ้ามี เมื่อหนอนเจริญเติบโตจะมี การเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง เช่น หนอนมีการเจริญเติบโต โดยเปลี่ยนเป็นดักแด้ หรือ เปลยี่ นเปน็ แมลงวัน) 1.4 นักเรียนคิดว่าหนอนมีวัฏจักรชีวิตหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบ ตามความเข้าใจของตนเอง เช่น หนอนมีวัฏจักรชีวิต เมื่อหนอน เจริญเติบโตต่อไปจะเปลี่ยนเป็นดักแด้ ดักแด้เจริญเติบโตไปเป็น ผีเสื้อตัวเต็มวัย เมื่อผีเสื้อตัวเต็มวัยสืบพันธ์ุจะวางไข่ จากนั้นไข่จะ ฟักออกมาเป็นหนอนอีกครั้ง หมุนเวียนอย่างต่อเนื่องเป็นวัฏจักร ชีวิต) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 2 โดยใช้คำถามว่า วฏั จักรชีวติ ของหนอนและสัตว์ชนิดอื่น ๆ เปน็ อย่างไร 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากนั้นร่วมกันอภิปราย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยครู ใชค้ ำถาม ดงั น้ี 3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (วัฏจักรชีวิตของสัตว์และ การไม่ทำให้วัฏจกั รชีวติ ของสตั ว์เปลยี่ นแปลง) 3.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องนี้ด้วยวิธีใด (การรวบรวมข้อมูลและ การสร้างแบบจำลอง) 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (บรรยายวัฏจักรชีวิตของสัตว์ เปรียบเทียบวัฏจักรชีวิตของสัตว์ชนิดต่าง ๆ และบอกแนวทางการ ไม่ทำให้วฏั จักรชวี ิตของสัตวเ์ ปล่ยี นแปลง) 4. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ตอนที่ 1 ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 86 และจดุ ประสงค์ตอนท่ี 2 ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา้ 90 5. นกั เรยี นอ่านส่ิงที่ต้องใช้ในการทำกิจกรรม โดยครูนำวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ใน กจิ กรรมมาแสดงให้นกั เรยี นดู ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 อากาศและชีวิตของสัตว์ 238 6. นักเรียนอ่านทำอย่างไร ตอนท่ี 1 ทีละข้อ โดยครูฝึกการอ่านตามความ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ เหมาะสมกับความสามารถของนักเรยี น จากนั้นรว่ มกนั อภิปรายเพื่อสรุป ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทนี่ ักเรยี นจะได้ ขัน้ ตอนการทำกจิ กรรม โดยครูใช้คำถามต่อไปนี้ 6.1 นักเรียนต้องสังเกตบัตรภาพแสดงการเจริญเติบโตในระยะต่าง ๆ ฝกึ จากการทำกิจกรรม ของสัตวช์ นิดใดบา้ ง (มนษุ ย์ ไก่ และผเี ส้อื ไหม) 6.2 เมื่อสังเกตบัตรภาพแล้ว นักเรียนต้องทำอะไร (จับคู่บัตรภาพแสดง ตอนที่ 1 การเจรญิ เติบโตของมนุษย์ ไก่ และผีเส้ือไหม กับบตั รคำ) S1 สังเกตบัตรภาพแสดงการเจริญเติบโตใน 6.3 เม่อื จบั คูบ่ ตั รภาพกบั บัตรคำแล้ว นักเรียนต้องอภิปรายเกยี่ วกับเร่ือง อะไร (การเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ การกินอาหาร และ ระยะต่าง ๆ ของมนุษย์ ไก่ และผเี สื้อไหม แหลง่ ที่อยูข่ ณะเจรญิ เติบโตของมนษุ ย์ ไก่ และผเี ส้อื ไหม) S6 นำข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและจับคู่ 6.4 นักเรียนต้องเขยี นแผนภาพและนำเสนอเกี่ยวกับเรื่องอะไร (วัฏจักร ชวี ติ ของมนษุ ย์ ไก่ และผเี ส้ือไหม) บัตรภาพกับข้อมูลในบัตรคำมาเขียน 6.5 นักเรียนต้องอภิปรายและเปรียบเทียบเกี่ยวกับเรื่องอะไรบ้าง แผนภาพวัฏจักรชีวิตของมนุษย์ ไก่ และ (รปู รา่ งลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งท่อี ยู่) ผเี ส้ือไหม S8 ลงความเห็นข้อมูลจากการอภิปราย 7. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไรแล้ว ให้นักเรียนเริ่ม เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ ปฏิบัติตามขน้ั ตอนของกจิ กรรม การกินอาหาร และแหล่งที่อยู่ ขณะ เจริญเตบิ โตของ มนษุ ย์ ไก่ และผเี ส้อื ไหม 8. หลังจากทำกจิ กรรมแลว้ ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้คำถาม S14 สร้างแบบจำลองโดยใช้ข้อมูลจาก ดังตอ่ ไปน้ี บัตรภาพและข้อมูลในบัตรคำมาเขียน 8.1 นักเรียนเข้าใจคำว่าแรกเกิดว่าอย่างไร (นักเรียนตอบตามความ แผนภาพวัฏจักรชีวิตของมนุษย์ ไก่ และ เข้าใจของตนเอง ถ้านักเรียนยังตอบไม่ได้ ครูอาจให้ความรู้เพิ่มเติม ผีเส้ือไหม เพือ่ บรรยายวฏั จกั รชวี ิต ว่า แรกเกิด เป็นระยะท่ีเมื่อมนุษย์คลอดออกมาจากท้องแม่ หรือ C2 วิเคราะห์เกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตของสัตว์ สัตว์ฟักออกมาจากไข่ หรือสัตว์คลอดออกมาจากท้องแม่) ชนิดต่าง ๆ รวมทั้งเปรียบเทียบความ แตกต่างของวัฏจักรชีวิตของสัตว์แต่ละ 8.2 ลำดับการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งที่ ชนิด และบรรยายวัฏจักรชีวิตของสัตว์ อยู่ของมนุษย์เป็นอย่างไร (มนุษย์ในวัยแรกเกิดจะเจริญเติบโตข้ึน ชนิดตา่ ง ๆ ตามวัยจนเปน็ มนษุ ยต์ ัวเต็มวัยที่สามารถสืบพันธแ์ุ ละมลี ูกได้ รูปร่าง C4 เขียนและนำเสนอแผนภาพวัฏจักรชีวิต ลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งที่อยู่ของมนุษย์ในแต่ละระยะจะ ของมนุษย์ ไก่ และผีเสื้อไหม เพื่อให้ผู้อ่ืน คล้ายกัน แต่มนุษย์ในวัยแรกเกิดจะมีขนาดเล็กกว่า ดื่มนมเป็น เข้าใจ อาหาร แต่เมื่อโตขึ้นจะกินอาหารได้หลากหลายประเภท C5 ทำงานร่วมกับผู้อื่นในการอภิปรายและ เชน่ เดยี วกบั ตัวเต็มวยั มีบา้ นเป็นทอ่ี ยู่อาศยั ) นำเสนอเกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตของสัตว์ รวมถึงการอภิปรายเกี่ยวกับสถานการณ์ ทสี่ ง่ ผลตอ่ วัฏจกั รชวี ติ ของสตั ว์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
239 คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 อากาศและชีวติ ของสัตว์ 8.3 เขียนแผนภาพวฏั จักรชีวิตของมนุษยไ์ ดอ้ ยา่ งไร 12 ปขี ้นึ ไป มนษุ ยต์ ัวเตม็ วัย มนษุ ยใ์ นวยั ทารกแรกเกิด วัยแรกเกิด มีอายุ 0-1 ปี จากนัน้ จะเจรญิ เติบโต หากนักเรยี นไมส่ ามารถตอบ ขน้ึ ตามวยั จนมีความพรอ้ มในการสบื พนั ธุ์ คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน 8.4 ลำดับการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งท่ี คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง อยู่ของไก่เปน็ อย่างไร (เม่อื ไกต่ ัวเตม็ วัยสบื พนั ธจุ์ ะวางไข่บนกองฟาง อดทน และรับฟังแนวความคิด หรือพ้นื ดิน ไขม่ ีรปู รา่ งคลา้ ยวงรี ภายในมตี วั ออ่ นที่มีรูปร่างลักษณะ ของนักเรยี น คล้ายไก่ตัวเต็มวัย ใช้ไข่แดงเป็นอาหาร ต่อมาตัวอ่อนจะฟักออกมา เป็นลูกเจี๊ยบและเจริญเติบโตต่อไปเป็นไก่ตัวเต็มวัย ลูกเจี๊ยบมี รปู รา่ งลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งทีอ่ ย่คู ลา้ ยไก่ตวั เต็มวัย กิน ได้ท้ังพืชและสัตว์ คุย้ เขีย่ หาอาหารบนพน้ื ดิน แตล่ กู เจ๊ยี บจะมีขนาด เล็กกวา่ ) 8.5 เขียนแผนภาพวัฏจักรชีวติ ของไกไ่ ด้อยา่ งไร 2-4 ปี ไกต่ วั เตม็ วยั ไขไ่ ก่ 3-6 เดือน ลกู เจย๊ี บ 21 วนั 8.6 ลำดับการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งท่ี อยู่ของผีเสื้อไหมเป็นอย่างไร (เมื่อผีเสื้อไหมตัวเต็มวัยสืบพันธุ์จะ วางไข่ ไข่มีลักษณะกลม ขนาดเล็ก ภายในมีตัวอ่อนและอาหาร สำหรับเล้ยี งตวั อ่อน จากนั้นหนอนจะฟักออกมาจากไข่ มีลำตัวเป็น ปล้อง กินใบหม่อนเป็นอาหาร แล้วหนอนจะเจริญเติบโตต่อไปเป็น ดักแด้ มีลักษณะกลมรี ไม่กินอาหาร ต่อมาดักแด้จะเจริญเติบโต ต่อไปเป็นผีเสื้อไหมตัวเต็มวัย มีลำตัวเป็นปล้อง มีปีก 2 ข้าง ไม่กิน อาหาร สามารถสบื พันธ์ุและวางไขไ่ ด)้ ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 อากาศและชีวติ ของสตั ว์ 240 8.7 เขยี นแผนภาพวฏั จกั รชีวติ ของผีเสอ้ื ไหมได้อยา่ งไร 2-3 วนั ไข่ผีเสื้อไหม 10-12 วัน ผเี สอ้ื ไหมตวั เตม็ วยั หนอนผีเสอ้ื ไหม 10-12 วัน ดักแดผ้ ีเสอ้ื ไหม 19-25 วัน 8.8 สัตว์ชนิดใดบ้างท่ีมีวัฏจักรชีวิตแบบไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ถ้าครูพบว่านักเรียนยังมี ลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งที่อยู่ในขณะเจริญเติบโตตั้งแต่ แนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ แรกเกิดจนเปน็ ตัวเตม็ วัย (ไก่และมนษุ ย์) วัฏจักรชีวิตของสัตว์ ให้ร่วมกัน อภิปรายจนนกั เรียน มีแนวคิดที่ 8.9 วัฏจักรชีวิตของมนษุ ย์และไก่ เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร (สิ่งท่ี ถูกตอ้ ง แตกต่างกัน คอื รปู ร่างลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งท่อี ยู่ในวัฏ จกั รชวี ติ ของมนษุ ย์แตกต่างกบั วัฏจกั รชวี ติ ของไก่ แต่ส่ิงทเ่ี หมือนกัน ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติมสำหรับครู คือ ในขณะเจริญเติบโตตั้งแต่แรกเกิดจนเป็นตัวเต็มวัย มนุษย์และ ไก่จะไมม่ ีการเปลยี่ นแปลงรปู รา่ งลักษณะ การกนิ อาหาร และแหล่ง หลังจากทำกิจกรรมที่ 2 ตอนท่ี 1 ทอี่ ยู่) เรียบร้อยแล้ว ครูอาจให้นักเรียนอ่าน ทำอย่างไร ในกิจกรรมที่ 2 ตอนที่ 2 8.10 วัฏจักรชีวิตของไก่และผีเสื้อไหมแตกต่างกันอย่างไร (รูปร่าง จากน้ันร่วมกันอภิปรายข้ันตอนการทำ ลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งที่อยู่ในวัฏจักรชีวิตของไก่จะ กิจกรรม ซึ่งนักเรียนต้องไปสืบค้น แตกต่างกับวัฏจักรชีวิตของผีเสื้อไหม และในขณะเจริญเติบโต เกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตของปลาทูและกบ ตั้งแต่ออกจากไข่จนเป็นตัวเต็มวัย ไก่จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ครูควรมอบหมายให้นักเรียนกลับไป รูปร่างลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งที่อยู่ แต่ผีเสื้อไหมมีการ สบื คน้ ขอ้ มูลดังกล่าวเป็นการบ้าน แล้ว เปลีย่ นแปลงดงั กลา่ ว) กลับมาทำกิจกรรมที่ 2 ตอนที่ 2 ใน ช่วั โมงถดั ไป 8.11 นอกจากไก่และมนุษย์ นักเรียนคิดว่ามีสัตว์อะไรอีกบ้างที่ไม่มีการ เปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งที่อยู่ตั้งแต่ แรกเกิดจนเป็นตัวเต็มวัย รู้ได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง ซึ่งครูอาจจะให้นักเรียนยกตัวอย่างสัตว์ที่เคยพบเห็น ในชีวิตประจำวัน เช่น สุนัข แมว นก ปลาหางนกยูง โดยรู้ได้จาก การที่สัตว์เหล่านั้นไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ การกิน อาหาร และแหลง่ ท่ีอย่ใู นขณะเจริญเติบโต ซึ่งลกู ของสตั วเ์ หล่านั้น มีรูปรา่ งลักษณะคลา้ ยกบั สัตว์ตวั เต็มวยั แต่มขี นาดเล็กกว่า) 8.12 นอกจากผีเสื้อไหม นักเรียนคิดว่ามีสัตว์อะไรอีกบ้างที่มีการ เปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งที่อยู่ตั้งแต่ แรกเกิดจนเป็นตัวเต็มวัย รู้ได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิด สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
241 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 อากาศและชวี ติ ของสตั ว์ ของตนเอง ซึ่งครูอาจจะให้นักเรียนยกตัวอย่างสัตว์ที่เคยพบเห็น ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ ในชีวิตประจำวัน เชน่ ยงุ กบ โดยรู้ไดจ้ ากการท่ีสัตว์เหล่าน้ันมีการ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทน่ี ักเรยี นจะได้ เปลีย่ นแปลงรปู รา่ งลกั ษณะ การกินอาหาร และแหลง่ ที่อยใู่ นขณะ เจริญเตบิ โต) ฝกึ จากการทำกจิ กรรม เมื่อนักเรียนตอบคำถามข้อ 8.11-8.12 แล้ว ครูอาจจะให้ S8 ลงความเห็นข้อมูลจากการวิเคราะห์ นักเรียนเขียนวัฏจักรชีวิตของสัตว์ที่นักเรียนยกตัวอย่าง โดยครู สถานการณ์และอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งท่ี อาจให้คำแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกบั วัฏจักรชีวิตของสตั วช์ นิดน้ัน ๆ ส่งผลต่อวัฏจักรชีวติ ของสัตว์ 9. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับวัฏจักร ชีวิตของสัตว์ จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า สัตว์ชนิดต่าง ๆ C2 วเิ คราะห์ผลกระทบท่จี ะเกดิ ขนึ้ ต่อวัฎจักร มีวัฏจักรชีวิตท่ีมีลักษณะเฉพาะและแตกต่างกัน โดยสัตว์บางชนิดจะมี ชวี ิตของสตั วใ์ นสถานการณท์ ่กี ำหนดให้ การเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งที่อยู่ในขณะ เจรญิ เตบิ โต แตส่ ตั วบ์ างชนิดไม่มกี ารเปลย่ี นแปลงดงั กลา่ ว (S13) C4 ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับสถานการณ์ท่ี 10. นกั เรยี นตอบคำถามใน ฉันรอู้ ะไร ตอนท่ี 1 และร่วมกันอภปิ รายเพื่อให้ ส่งผลตอ่ วฏั จกั รชวี ติ ของสัตว์ ได้แนวคำตอบท่ถี ูกตอ้ ง 11. ครูใช้คำถามเชื่อมโยงความรู้ที่ได้จากตอนที่ 1 ไปยังตอนที่ 2 โดยใช้ C6 ใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูล คำถามว่า ถ้าวัฏจักรชีวิตของสัตว์ชนิดต่าง ๆ ถูกทำลายลง จะเป็น เกีย่ วกับวัฏจักรชวี ิตของกบและปลาทู อยา่ งไร 12. นกั เรียนอ่านทำอยา่ งไร ตอนท่ี 2 ทลี ะข้อ โดยครฝู กึ การอา่ นตามความ เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพ่ือ สรปุ ข้นั ตอนการทำกจิ กรรม โดยครใู ช้คำถามต่อไปน้ี 12.1 นักเรียนต้องสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตของสัตว์ชนิด ใดบา้ ง (กบและปลาทู) 12.2 นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลจากแหลง่ ใด (อนิ เทอร์เน็ต หนังสือ สอบถามครหู รือผู้ปกครอง) 12.3 หลังจากอ่านสถานการณ์แล้ว นักเรียนต้องอภิปรายเกี่ยวกับ เรื่องอะไร (การกระทำในแต่ละสถานการณ์มีผลต่อวัฏจักรชีวิต ของสัตว์ชนิดนนั้ หรือไม่ อย่างไร) 13. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไรแล้ว ให้นักเรียนเร่ิม ปฏบิ ัติตามขัน้ ตอนของกจิ กรรม 14. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถามดงั ตอ่ ไปน้ี 14.1 ไวัฏจักรชีวิตของกบเป็นอย่างไร (เมื่อกบตัวเต็มวัยสืบพันธุ์จะ วางไข่ ไข่กบมีลักษณะกลม เกาะกันเป็นแพลอยในน้ำ เมื่อไข่ ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 อากาศและชวี ิตของสตั ว์ 242 ได้รับการผสมจะเจริญเติบโตเป็นลูกอ๊อด มีส่วนหัวกลม มีหาง กินสาหรา่ ยหรอื พืชนำ้ เป็นอาหาร จากนน้ั ลกู ออ๊ ดจะเจริญเติบโต ต่อไปเป็นลกู กบ เริ่มขึ้นมาอยู่บนบก กินแมลงเป็นอาหาร ต่อมา ลูกกบจะเจริญเติบโตเป็นกบตัวเต็มวัย ซึ่งมีรูปร่างลักษณะ การ กินอาหาร และแหล่งที่อยู่คล้ายลูกกบ แต่มีขนาดใหญ่กว่า สามารถสืบพันธุ์ และวางไขต่ ่อไปได)้ 14.2 นักเรียนเขยี นแผนภาพวัฏจกั รชวี ติ ของกบไดอ้ ยา่ งไร 12-14 สปั ดาห์ 1-3 สปั ดาห์ ลูกอ๊อด ลูกกบ ไขก่ บ 2-4 ปี กบตวั เต็มวยั 5-10 ปี หากนักเรียนไมส่ ามารถตอบ คำถามหรืออภิปรายไดต้ ามแนว ครูอาจสุ่มนักเรียนออกมาเขียนแผนภาพวัฏจักรชีวิตของ คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน กบบนกระดาน คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง 14.3 วัฏจักรชีวิตของปลาทูเป็นอย่างไร (เมื่อปลาทูตัวเต็มวัยสืบพันธ์ุ อดทน และรับฟังแนวความคิด จะวางไข่จำนวนมาก เป็นเม็ดกลมขนาดเล็ก ไข่ที่ได้รับการผสม ของนักเรยี น จะเจริญเติบโตเป็นลูกปลาทู มีครีบ ว่ายน้ำได้ กินสัตว์น้ำขนาด เล็กเป็นอาหาร จากนั้นลูกปลาทูจะเจริญเติบโตต่อไปเป็นปลาทู ถ้าครูพบว่านักเรียนยังมี ตัวเต็มวัย ซึ่งมีรูปร่างลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งที่อยู่ แนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ คล้ายลูกปลาทู แต่มีขนาดใหญ่กวา่ สามารถสืบพันธุ์ และวางไข่ การไม่ทำลายวัฏจักรชีวิตของ ต่อไปได)้ สัตว์ ให้ร่วมกันอภิปรายจน 14.4 นกั เรียนเขียนแผนภาพวฏั จักรชวี ติ ของปลาทไู ดอ้ ย่างไร นักเรียน มีแนวคิดทถ่ี กู ตอ้ ง 10 วนั ไข่ปลาทู ลูกปลาทู 3 ปี ปลาทูตัวเต็มวยั 6-7 เดอื น ครูอาจสุ่มนักเรียนออกมาเขียนแผนภาพวัฏจักรชีวิตของ ปลาทูบนกระดาน สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
243 คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 อากาศและชวี ิตของสัตว์ 14.5 จากสถานการณ์ที่ 1 เกิดอะไรขึ้นกับลูกอ๊อด (มนุษย์จับลูกอ๊อด ไปทำอาหาร และแบง่ ขาย) 14.6 การกระทำของมนุษย์ในสถานการณ์ที่ 1 ส่งผลต่อวัฏจักรชีวิต ของกบหรอื ไม่ อย่างไร (สง่ ผล เพราะการจบั ลกู ออ๊ ดไปทำอาหาร จะทำให้จำนวนลูกอ๊อดลดลง จะส่งผลให้จำนวนลูกกบ กบตัวเต็มวัย และไข่กบลดลงไปด้วย ทำให้วัฏจักรชีวิตของกบ เปลี่ยนแปลงไป) 14.7 จากสถานการณ์ที่ 2 เกดิ อะไรขน้ึ กับลูกปลาทู (มนุษยล์ กั ลอบจับ ลกู ปลาทไู ปทำปลาทตู ากแห้ง) 14.8 การกระทำของมนุษย์ในสถานการณ์ที่ 2 ส่งผลต่อวัฏจักรชีวิต ของปลาทูหรือไม่ อย่างไร (ส่งผล เพราะการจับลูกปลาทูไปทำ ปลาทูตากแห้ง จะทำให้จำนวนลูกปลาทูลดลง ส่งผลให้จำนวน ปลาทูตัวเต็มวัยและไข่ปลาทลู ดลงไปด้วย ทำให้วัฏจักรชีวิตของ ปลาทเู ปลีย่ นแปลงไป) 14.9 ถ้าสถานการณ์ดังกล่าวยังคงดำเนินต่อไปเรื่อย ๆ จะเกิดอะไร ขึน้ กบั กบและปลาทู (กบและปลาทู จะมจี ำนวนลดลงไปเรื่อย ๆ จนอาจทำให้สัตวท์ ้งั สองชนิดสญู พันธ์ุ) 14.10 นักเรียนควรทำอยา่ งไรเพื่อไม่ให้วัฏจักรชีวติ ของกบและปลาทู เปลี่ยนแปลงไป (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ช่วยกันดูแล ไม่จับลูกอ๊อดและลูกปลาทูไปกิน ไปขาย หรือ ไมท่ ำลายระยะใดระยะหน่ึงของวฏั จักรชวี ติ ของกบและปลาทู) 15. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการไม่ ทำให้วัฏจักรชีวิตของสัตว์เปลี่ยนแปลง จากนั้นร่วมกันอภิปรายและ ลงข้อสรุปว่า การทำลายสัตว์ในระยะใดระยะหนึ่งของการเจริญเติบโต จะทำให้วัฏจักรชวี ิตของสัตวเ์ กิดการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นจึงควรชว่ ยกัน ดูแลและไม่ทำลายชีวิตสัตว์ เพื่อให้วัฏจักรชีวิตของสัตว์ยังคงดำเนิน ต่อไปได้ (S13) 16. นักเรียนตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร ตอนท่ี 2 และรว่ มกันอภิปรายเพื่อให้ ได้แนวคำตอบท่ถี ูกตอ้ ง 17. นักเรียนอ่าน สิ่งที่ได้เรียนรู้ และเปรียบเทียบกับข้อสรุปที่ได้จากการ อภปิ ราย 18. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 อากาศและชวี ติ ของสตั ว์ 244 คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เกย่ี วกับคำถามทีน่ ำเสนอ 19. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 อะไรบ้างและในข้ันตอนใด 20. นักเรียนร่วมกันอ่าน รู้อะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียน หน้า 97 ครูนำ อภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในเรื่องนี้ และให้ นักเรยี นสงั เกตวัฏจักรชวี ิตของไก่โดยใชแ้ อปพลิเคชันสำหรับการสังเกต ภาพเสมือนจริงสามมิติ (AR) เรื่องวัฏจักรชีวิตของไก่ ในหนังสือเรียน หน้า 98 เป็นสื่อประกอบเพิ่มเติม จากนั้นครูกระตุ้นให้นักเรียนตอบ คำถามในช่วงท้ายของเนื้อเรื่อง ซึ่งเป็นคำถามเพื่อเชื่อมโยงไปสู่การ เรียนเน้อื หาในบทถัดไป ดังน้ี “ส่ิงต่าง ๆ รอบตัวเรา ท่ไี มใ่ ช่ส่ิงมีชีวิตก็มี การเปลี่ยนแปลงได้เช่นกัน การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดจากสาเหตุใด และจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร” นักเรียนสามารถตอบตามความเข้าใจ ของตนเอง ซง่ึ จะหาคำตอบได้จากการเรยี นในบทต่อไป 21. นักเรียนร่วมกันอ่านเกร็ดน่ารู้ ในหนังสือเรียน หน้า 100 และอภิปราย รว่ มกันเกย่ี วกบั ประโยชนข์ องวฏั จกั รชวี ิตของสัตว์ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
245 คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 อากาศและชีวติ ของสัตว์ ความรู้เพิ่มเตมิ สำหรบั ครู สัตว์สามารถจำแนกตามการมีกระดูกสันหลังได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง และกลุ่ม สัตว์มีกระดูกสันหลัง กลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังสามารถจำแนกต่อไปได้เป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์ สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม แต่ละกลุ่มจะมี ลักษณะเฉพาะและแตกต่างกัน ดังน้ี 1. กลุ่มปลา : มีครีบยื่นออกมาจากลำตัว ส่วนใหญ่ผิวหนังเป็นเกล็ด ดำรงชีวิตอยู่ในน้ำตลอดชีวิต เม่ือ เจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยจะออกลูกเป็นไข่ซึ่งจะฟักออกมาเป็นลูกปลาท่ีมีรูปร่างลักษณะเหมือนตวั เตม็ วยั แตม่ ีขนาดเล็กกว่า แต่มีปลาบางชนดิ ออกลูกเปน็ ตวั โดยไข่จะอย่ใู นท้องของเพศเมีย เมื่อไข่ได้รับการ ผสมกับอสุจิของเพศผู้จะเจริญเติบโตและพัฒนาเป็นเอ็มบริโออยู่ในท้องของเพศเมีย เมื่อเจริญเติบโต เต็มที่จนเป็นลูกปลา ก็จะออกจากท้องแม่ ลูกปลามีรูปร่างลักษณะเหมือนกับตัวเต็มวัย แต่มีขนาดเล็ก กวา่ 2. กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก : มีผิวหนังเปียกชื้นตลอดเวลา เมื่อเป็นตัวเต็มวัย เพศผู้จะปล่อยอสุจิ เพศเมียจะปล่อยไข่ออกมาให้ผสมกันในนำ้ จากน้นั ลูกอ๊อดจะฟักออกมาจากไข่ ลกู ออ๊ ดมีรูปร่างลักษณะ แตกต่างจากตัวเต็มวัย ดำรงชีวิตอยู่ในน้ำตลอดเวลาจนกระทั่งเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยจึงจะสามารถ ดำรงชีวิตบนบกได้ 3. กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน : มีผิวหนังแห้ง ไม่มีขน มีเกล็ดปกคลุมทั่วตัว อาศัยได้ทั้งบนบกและในน้ำ สัตว์ บางชนิดในกลุ่มนี้ออกลูกเป็นไข่ ซึ่งจะขึ้นมาวางไข่บนบก ภายในไข่จะมีการพัฒนาของเอ็มบริโอ จนกระทั่งเอ็มบริโอเจริญเติบโตเต็มที่เป็นลูกสัตว์ขนาดเล็ก ก็จะฟักออกมาจากไข่ ลูกสัตว์มีรูปร่าง ลกั ษณะเหมอื นตัวเต็มวัย แตม่ ีขนาดเลก็ กวา่ แตส่ ตั ว์บางชนดิ ในกลุม่ น้ีจะออกลกู เปน็ ตัว 4. กลุ่มนก : ผิวหนังมีขนลักษณะเป็นแผงปกคลุมร่างกาย ออกลูกเป็นไข่ ภายในไข่จะมีการพัฒนาของ เอม็ บริโอจนกระทง่ั เอม็ บริโอเจริญเติบโตเต็มท่ีเปน็ ลูกนกขนาดเล็ก กจ็ ะฟกั ออกมาจากไข่ ลกู นกมีรูปร่าง ลักษณะเหมอื นตัวเต็มวยั แตม่ ีขนาดเลก็ กวา่ 5. กลุ่มสัตว์เลย้ี งลูกดว้ ยนำ้ นม : ผิวหนังมขี นลกั ษณะเป็นเส้นปกคลุมร่างกาย ออกลกู เป็นตวั โดยไข่จะอยู่ใน ทอ้ งของเพศเมยี เมื่อไขไ่ ด้รบั การผสมกับอสุจขิ องเพศผจู้ ะเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาเปน็ เอม็ บรโิ ออยู่ในท้อง ของเพศเมยี เมอ่ื เจรญิ เตบิ โตเตม็ ทก่ี ็จะคลอดออกจากท้องแม่ รูปร่างลักษณะเหมอื นตวั เต็มวยั สัตว์กลุ่มน้ี จะเลยี้ งลูกดว้ ยน้ำนม อาศัยบนบก แตย่ ังมีสัตว์บางชนิดในกลุม่ นที้ ีอ่ าศัยอยใู่ นน้ำและออกลูกเปน็ ไข่ หมายเหตุ : ระยะเอ็มบรโิ อ เปน็ ระยะของสงิ่ มีชวี ิตท่อี าศัยอยู่ในเย่ือปฏิสนธิ เช่น เอ็มบรโิ อท่อี ยใู่ นเปลือก ไขข่ องนก ไก่ หรือสัตวเ์ ลอ้ื ยคลาน ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 อากาศและชวี ติ ของสตั ว์ 246 ความรู้เพมิ่ เตมิ สำหรบั ครู วัฏจักรชีวิตของสัตว์ เป็นการเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโตของสัตว์ที่มีการหมุนเวียนเป็นแบบรูปคงท่ี ซ้ำเดิมอย่างต่อเน่ือง การเจริญเตบิ โตของสตั ว์จะมีการเพิ่มจำนวนเซลล์ มีการเปล่ียนแปลงรูปร่างเพื่อทำหน้าท่ี เฉพาะ และเกิดเป็นรูปร่างที่แน่นอนของสิ่งมีชีวิต ซึ่งการเจริญเติบโตในระยะหลังเอ็มบริโอ (เมื่อสัตว์ฟักออก จากไขห่ รอื คลอดออกจากท้องแม่) ของสตั ว์แตล่ ะชนดิ จะมลี กั ษณะเฉพาะตัวและแตกตา่ งกัน ดังนี้ 1. สัตว์บางชนิดไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะในขณะเจริญเติบโต เรียกว่า Ametamorphosis พบใน สัตว์กลุ่มปลา กลุ่มนก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม โดยเมื่อสัตว์เหล่านี้เกิดมา (ฟักออกจากไข่หรือคลอดออกมาจากท้องแม่) จะมีรูปร่างลักษณะ และการดำรงชีวิต (การกินอาหาร แหล่งที่อยู่) เหมือนกับพ่อและแม่ แต่จะมีขนาดเล็กกว่า ต่อมาลูกสัตว์จะเจริญเติบโตต่อไปจนเป็น ตัวเต็มวยั 2. สัตว์บางชนิดจะมกี ารเปลย่ี นแปลงรูปรา่ งลักษณะในขณะเจริญเติบโต เรียกว่า Metamorphosis พบในสัตว์ กลุ่มแมลง เช่น ผีเสื้อ ยุง แมลงวัน ด้วง มด ผึ้ง ตั๊กแตน แมลงปอ แมลงสาบ จิ้งหรีด ปลวก เห็บ โดยใน แต่ละระยะของการเจริญเตบิ โตสัตวจ์ ะมรี ปู ร่างลกั ษณะและการดำรงชวี ิตที่แตกต่างกัน การเจริญเติบโตของมนุษย์ในวัฏจักรชีวิต จะมีหลายช่วงอายุ เริ่มตั้งแต่ก่อนคลอดออกมาจากท้องแม่ จนกระทั่งวัยสูงอายุ ซึ่งในแต่ละช่วงอายุรูปร่างลักษณะและการดำรงชีวิตของมนุษย์จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง สามารถแบง่ ระยะตา่ ง ๆ ของการเจริญเตบิ โตของมนุษย์ตามวยั ไดด้ งั นี้ 1. ก่อนคลอด : ระยะทีเ่ จริญเตบิ โตอยู่ในท้องแม่ เมื่อไข่ของแม่และสเปริ ม์ ของพ่อผสมกนั จะพัฒนาเปน็ ไซโกต (zygote) แลว้ ไซโกตพัฒนาต่อไปเปน็ เอ็มบรโิ อ (embryo) จากนน้ั เอม็ บรโิ อก็พัฒนาตอ่ ไปจน เขา้ สรู่ ะยะฟีตสั (Fetus) และพร้อมจะคลอดออกมาจากท้องแม่ 2. วัยทารก : เป็นวัยที่นับตั้งแต่แรกคลอดออกมาจากท้องแม่ จนอายุประมาณ 1 ปี วัยนี้ไม่สามารถพูด ได้ สื่อสารโดยการรอ้ งไห้ ร่างกายจะมีพฒั นาการข้นึ เร่อื ย ๆ เช่น ในอายุ 6-8 เดอื น จะสามารถนั่งและ คลานได้ ในอายุประมาณ 1 ปี จะมฟี ันและพยายามพูด 3. วัยเด็ก : อายุตั้งแต่ 1-12 ปี วัยนี้มีอัตราการเจริญเติบโตลดลง ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมีการ เปลี่ยนแปลงจากวัยทารกชัดเจนขึ้น ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเจริญได้มากขึ้น เช่น แขน ขายาวข้ึน ร่างกายสงู ข้ึน กระดูกแข็งแรงขึ้น มีการเคล่ือนไหวไดด้ ีข้นึ 4. วยั รุ่น : อายุตัง้ แต่ 12-20 ปี วยั นีม้ ีอตั ราการเจรญิ เติบโตอยา่ งรวดเรว็ รา่ งกายมพี ฒั นาการหลายอย่าง ลกั ษณะทางเพศปรากฏให้เห็นชดั เจนขึ้น เชน่ ในเพศหญิงจะมเี ต้านม เอวคอด สะโพกผาย ในเพศชาย เสยี งหา้ วข้ึน ไหลข่ ยายกว้าง ซ่งึ รา่ งกายเริม่ มคี วามพรอ้ มทีจ่ ะเปน็ พอ่ และแม่ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
247 คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 อากาศและชวี ติ ของสัตว์ ความรู้เพมิ่ เติมสำหรบั ครู 5. วัยผู้ใหญ่ : อายุตั้งแต่ 20-60 ปี ในช่วงต้นของวัยจะมีพัฒนาการด้านร่างกายอย่างเต็มที่ ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมีการเจริญอย่างสมบูรณ์ และในช่วงท้ายของวัย ร่างกายจะเริ่มเสื่อมสภาพลง วัยนี้จะมี กระบวนการคิดท่ีซับซอ้ น รู้จกั ไตรต่ รองมากข้นึ มีบทบาทความเป็นพ่อและแม่ 6. วัยสูงอายุ : อายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป วัยนี้เซลล์ต่าง ๆ ของร่างกายเริ่มตายลง เซลล์ใหม่เกิดทดแทนได้ น้อยและช้า ร่างกายสึกหรอ เช่น ผมหงอก ฟันหลุดร่วง ตาฝ้าฟาง หูตึง ผิวหนังเหี่ยวย่น กล้ามเน้ือ หยอ่ นยาน ถ้ามอี าการเจบ็ ปว่ ยจะรกั ษายากกวา่ วยั อื่น ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 อากาศและชวี ติ ของสตั ว์ 248 แนวคำตอบในแบบบันทึกกิจกรรม เม่อื สัตวเ์ จริญเติบโตเปน็ ตัวเตม็ วัย จะมีการสืบพันธุ์ และมลี ูก เมื่อลกู เจรญิ เตบิ โตจนเป็นตวั เตม็ วัยก็พร้อมทจี่ ะสบื พนั ธ์แุ ละมีลูกตอ่ ไปไดอ้ กี หมนุ เวยี นเป็นแบบรูปคงที่ซ้ำเดมิ อย่างต่อเน่ืองเปน็ วฏั จกั รชวี ิตของสัตว์ รวบรวมข้อมูลและสร้างแบบจำลองท่บี รรยายวฏั จักรชีวิตของสัตว์ เปรียบเทยี บวฏั จกั รชีวติ ของสัตวช์ นิดตา่ ง ๆ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
249 คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 อากาศและชวี ติ ของสตั ว์ วัยแรกเกดิ มีอายุ 0-1 ปี มนุษย์ตัวเต็มวยั 12 ปี ขน้ึ ไป จากนั้นจะเจริญเตบิ โตขึ้น มนุษยใ์ นวัยแรกเกิด ตามวัย จนมคี วามพรอ้ ม ในการสืบพันธุ์ 21 วัน ลูกเจี๊ยบ 3-6 เดอื น ไขไ่ ก่ ไก่ตัวเตม็ วัย 2-4 ปี 19-25 วัน ดักแดผ้ ีเสอ้ื ไหม 10-12 วัน หนอนผีเส้อื ไหม ไขผ่ ีเสอื้ ไหม ผเี สือ้ ไหมตัวเตม็ วยั 10-12 วนั 2-3 วนั ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 อากาศและชวี ิตของสตั ว์ 250 √√√ √√√ √√√ √√√ √√√ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
251 คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 อากาศและชวี ติ ของสัตว์ √√√ √√√ √√√ √√√ √ √ √ ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 อากาศและชวี ิตของสัตว์ 252 อภิปรายและบอกแนวทางการไมท่ ำให้วัฏจกั รชวี ติ ของสัตว์ เปล่ยี นแปลง 5-10 ปี ไข่กบ 1-3 สปั ดาห์ กบตัวเตม็ วัย 2-4 ปี ลกู กบ ลกู อ๊อด 12-14 สปั ดาห์ 3 ปี ไข่ปลาทู 10 วนั ปลาทูตวั เต็มวัย ลูกปลาทู 6-7 เดอื น สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
253 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 อากาศและชวี ติ ของสตั ว์ มผี ล การจับลูกอ๊อดไปทำอาหาร จะทำใหจ้ ำนวนลูกอ๊อดลดลง สง่ ผลใหจ้ ำนวนลูกกบ กบตัวเต็มวัย และไข่กบลดลงไปด้วย ทำใหว้ ฏั จักรชีวิตของกบ เปล่ยี นแปลงไป ถา้ จำนวนลูกอ๊อดยังคงลดลงเรือ่ ย ๆ อาจทำให้กบสูญพนั ธุ์ได้ ไมจ่ ับลกู อ๊อดหรือกบตัวเตม็ วัย มาทำอาหาร มผี ล การจบั ลูกปลาทไู ปทำปลาทตู ากแห้ง จะทำให้จำนวนลกู ปลาทู ลดลง ส่งผลให้จำนวนปลาทูตวั เต็มวัยและไข่ปลาทลู ดลงไปดว้ ย ทำให้วฏั จักรชีวิตของ ปลาทเู ปลีย่ นแปลงไป ถา้ จำนวนลกู ปลาทูยังคงลดลงเร่อื ย ๆ อาจทำให้ปลาทูสญู พนั ธไุ์ ด้ ไมจ่ บั ลูกปลาทมู าทำอาหาร หรอื ไม่จับปลาทใู นช่วงฤดูวางไข่ ผีเสือ้ ไหม มนษุ ยแ์ ละไก่ ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 อากาศและชวี ิตของสตั ว์ 254 สิ่งที่แตกต่างกัน คือ รูปร่างลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งที่อยู่ในวฎั จักรชีวิตของ มนุษยจ์ ะแตกต่างกบั ในวฎั จักรชวี ิตของไก่ แต่ส่ิงทีเ่ หมือนกนั คอื ในขณะเจริญเติบโต ตั้งแต่แรกเกิดจนเป็นตัวเต็มวัย มนุษย์และไก่จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ การกนิ อาหาร และแหล่งท่อี ยู่ ไก่และผีเสอ้ื ไหม มวี ัฏจกั รชีวิตท่ีมลี ักษณะเฉพาะและแตกตา่ งกนั โดยจะมรี ปู รา่ งลักษณะ การ กินอาหาร และแหล่งที่อยู่ในวัฎจักรชีวิตของไก่จะแตกต่างกับในวัฎจักรชีวิตของผีเสื้อไหม และในขณะเจริญเติบโตตั้งแต่ออกจากไข่จนเป็นตัวเต็มวัย ไก่จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ลักษณะ การกนิ อาหาร และแหล่งทอี่ ยู่ แตผ่ เี สอ้ื ไหมมกี ารเปลยี่ นแปลงดังกล่าว วัฏจกั รชีวิตของสตั ว์บางชนดิ จะไม่มกี ารเปล่ียนแปลงรูปร่างลกั ษณะ การกิน อาหาร และแหล่งที่อยู่ในขณะเจริญเติบโตตั้งแต่แรกเกิดจนเป็นตัวเต็มวัย เช่น วัฏจักรชีวิตของมนุษย์และไก่ ส่วนวัฏจักรชีวิตของสัตว์บางชนิดจะมี การเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งที่อยู่ในขณะ เจริญเตบิ โตตง้ั แตแ่ รกเกิดจนเปน็ ตัวเตม็ วัย เช่น วฏั จักรชวี ิตของผีเสื้อไหม การจับลูกอ๊อดและลูกปลาทูมาทำอาหาร จะทำให้วฏั จักรชวี ติ ของกบและ ปลาทูเปลย่ี นแปลงไป โดยลูกอ๊อดและลกู ปลาทจู ะมจี ำนวนลดลง และสง่ ผล ให้ชวี ติ กบและปลาทใู นระยะต่าง ๆ มีจำนวนลดลงไปด้วย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
255 คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 อากาศและชวี ิตของสตั ว์ ไม่จบั กบตัวเตม็ วัยหรือลกู อ๊อดมาทำอาหาร หรือไม่จับลกู ปลาทูหรือปลาทู ตวั เต็มวัยในชว่ งฤดวู างไข่มาทำอาหาร การกินลกู ออ๊ ดและลูกปลาทู เปน็ การทำลายวฏั จักรชวี ติ ของกบและปลาทู และถา้ การทำลายยังคงดำเนินต่อไปเรื่อย ๆ จะสง่ ผลให้เกดิ การสญู พนั ธุ์ จงึ ไม่ควรทำลายชีวิตของลูกอ๊อดและลกู ปลาทู สัตวแ์ ตล่ ะชนดิ จะมีวัฏจกั รชีวติ ท่ีมลี ักษณะเฉพาะและแตกตา่ งกนั และ การทำลายชีวติ สตั วใ์ นระยะใดระยะหน่ึงจะสง่ ผลให้วัฏจักรชีวติ ของสัตว์ เปลี่ยนแปลงไปและอาจสญู พนั ธุ์ได้ จงึ ไม่ควรทำลายชีวิตของสัตวใ์ นระยะใด ระยะหนึ่งของการเจริญเติบโต คำถามของนกั เรียนท่ีต้ังตามความอยากรู้ของตนเอง ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 อากาศและชีวติ ของสตั ว์ 256 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมนิ การเรียนรขู้ องนักเรียนทำได้ ดังน้ี 1. ประเมนิ ความรูเ้ ดิมจากการอภิปรายในช้นั เรยี น 2. ประเมนิ การเรียนรจู้ ากคำตอบของนักเรยี นระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรยี น การประเมนิ จากการทำกิจกรรมท่ี 2 วัฏจกั รชีวติ ของสตั วเ์ ปน็ อย่างไร รหสั ส่งิ ทปี่ ระเมนิ ระดับ คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S6 การจดั กระทำและสือ่ ความหมายขอ้ มลู S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงขอ้ สรปุ S14 การสร้างแบบจำลอง ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C2 การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ C4 การสอื่ สาร C5 ความร่วมมือ C6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอื่ สาร รวมคะแนน สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
257 คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 อากาศและชวี ติ ของสัตว์ ตาราง รายการประเมนิ และเกณฑ์การประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) เกณฑ์การประเมนิ ควรปรับปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2) S1 การสังเกต การใชป้ ระสาทสัมผสั สามารถใช้ประสาท สามารถใช้ประสาท สามารถใช้ประสาท เกบ็ รายละเอยี ดของ สมั ผสั เกบ็ รายละเอียด สัมผสั เกบ็ รายละเอียด สัมผสั เก็บรายละเอียด สตั วใ์ นบัตรภาพ ของสัตวใ์ นบัตรภาพ ของสตั ว์ในบัตรภาพ ของสัตว์ในบตั รภาพ แสดงการเจรญิ เตบิ โต แสดงการเจรญิ เตบิ โต แสดงการเจริญเตบิ โตใน แสดงการเจรญิ เติบโต ในระยะตา่ ง ๆ ของ ในระยะต่าง ๆ ของ ระยะต่าง ๆ ของมนุษย์ ในระยะตา่ ง ๆ ของ มนุษย์ ไก่ และผีเสอื้ มนษุ ย์ ไก่ และผเี สือ้ ไก่ และผเี สื้อไหมได้ มนษุ ย์ ไก่ และผีเส้อื ไหม ไหมได้ถกู ต้องดว้ ย ถูกต้องจากการชแี้ นะ ไหม ได้ถกู ต้องเพยี ง ตนเอง โดยไม่เพ่ิมความ ของครูหรือผู้อ่ืน บางสว่ น แมว้ า่ จะได้ คดิ เห็น รับคำชีแ้ นะจากครหู รือ ผ้อู ่นื S6 การจัดกระทำ การนำข้อมูลท่ีได้จาก สามารถนำข้อมูลที่ได้ สามารถนำข้อมลู ที่ได้ สามารถนำข้อมลู ที่ได้ และสื่อความหมาย การสงั เกตและจบั คู่ จากการสงั เกตและจบั คู่ จากการสงั เกตและจบั คู่ จากการสงั เกตและจับคู่ ขอ้ มลู บัตรภาพกบั ข้อมลู ใน บัตรภาพกบั ข้อมลู ใน บตั รภาพกับข้อมลู ใน บัตรภาพกบั ข้อมลู ใน บัตรคำมาเขยี น บตั รคำมาเขยี น บัตรคำมาเขียน บตั รคำมาเขียน แผนภาพวฏั จักรชวี ิต แผนภาพวฏั จักรชวี ิต แผนภาพวัฏจักรชีวติ แผนภาพวัฏจักรชีวติ ของมนษุ ย์ ไก่ และ ของมนุษย์ ไก่ และ ของมนษุ ย์ ไก่ และ ของมนุษย์ ไก่ และ ผเี สือ้ ไหม และสื่อให้ ผีเสอ้ื ไหม และส่อื ให้ ผีเสอื้ ไหม และสอ่ื ให้ ผีเสอื้ ไหม และส่อื ให้ ผอู้ ืน่ เข้าใจ ผอู้ น่ื เขา้ ใจได้ถูกต้อง ผอู้ ่ืนเข้าใจได้ถูกต้องจาก ผอู้ นื่ เขา้ ใจได้ถูกต้อง ด้วยตนเอง การชแ้ี นะของครหู รอื เพียงบางสว่ น แม้วา่ จะ ผ้อู ื่น ไดร้ ับคำช้แี นะจากครู หรือผู้อ่ืน S8 การลงความเหน็ การลงความเห็นข้อมูล สามารถลงความเหน็ สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็น จากขอ้ มูล จากการอภปิ รายได้ว่า ข้อมลู จากการอภปิ ราย ข้อมูลจากการอภิปราย ข้อมูลจากการอภิปราย มนุษย์และไก่ไม่มีการ ไดว้ า่ มนษุ ยแ์ ละไก่ไม่มี ไดว้ า่ มนุษย์และไก่ไม่มี ไดว้ ่า มนุษยแ์ ละไก่ไมม่ ี เปลยี่ นแปลงรูปรา่ ง การเปล่ียนแปลงรปู รา่ ง การเปล่ยี นแปลงรูปรา่ ง การเปลี่ยนแปลงรูปรา่ ง ลกั ษณะ การกิน ลกั ษณะ การกนิ อาหาร ลักษณะ การกินอาหาร ลกั ษณะ การกินอาหาร อาหาร และแหลง่ ที่อยู่ และแหล่งที่อยู่ขณะ และแหล่งท่ีอยู่ขณะ และแหล่งท่ีอยู่ขณะ ขณะเจริญเติบโต แต่ เจรญิ เตบิ โต แต่ผเี ส้อื เจริญเติบโต แต่ผเี ส้ือไหม เจริญเติบโต แตผ่ ีเสอื้ ไหม ผเี ส้ือไหม มีการ ไหม มกี ารเปล่ยี นแปลง มกี ารเปลี่ยนแปลง มกี ารเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลงดังกล่าว ดงั กลา่ ว รวมท้ังลง ดังกลา่ ว รวมทั้งลง ดงั กล่าว รวมท้ังลง ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 อากาศและชีวิตของสัตว์ 258 ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) เกณฑ์การประเมนิ ควรปรับปรุง (1) ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2) รวมทัง้ ลงความเห็น ความเห็นจากการ ความเห็นจากการ ความเห็นจากการ จากการวเิ คราะห์ วเิ คราะห์สถานการณ์ วิเคราะห์สถานการณ์และ วเิ คราะห์สถานการณ์ สถานการณ์และ และร่วมกันอภปิ รายได้ รว่ มกันอภิปรายไดว้ า่ และร่วมกันอภิปรายได้ ร่วมกันอภิปรายได้วา่ ว่า การกระทำใน การกระทำในสถานการณ์ ว่า การกระทำใน การกระทำใน สถานการณ์ดังกลา่ วจะ ดงั กล่าวจะสง่ ผลต่อ สถานการณด์ ังกล่าวจะ สถานการณด์ ังกล่าว สง่ ผลต่อวฏั จักรชวี ิตของ วัฏจักรชวี ติ ของสตั ว์ ได้ ส่งผลต่อวฏั จักรชีวิตของ จะสง่ ผลต่อวฏั จักร สตั ว์ ไดถ้ กู ต้องด้วย ถกู ต้องจากการชแี้ นะ สตั ว์ ไดถ้ ูกตอ้ งเพียง ชวี ติ ของสัตว์ ตนเอง ของครูหรือผอู้ ่นื บางสว่ น แมว้ า่ จะได้ รับคำช้แี นะจากครหู รือ ผู้อืน่ S13 ก า ร ต ี ค ว า ม การตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย หมายข้อมูลและ ข้อมลู ท่ีได้จากการ ขอ้ มูลที่ได้จากการ ข้อมลู ที่ได้จากการ ข้อมลู ท่ีได้จากการ ลงขอ้ สรุป อภิปรายเปรียบเทยี บ อภปิ รายเปรยี บเทียบ อภปิ รายเปรยี บเทยี บ อภปิ รายเปรียบเทยี บ และวิเคราะห์ และวิเคราะห์ และวิเคราะห์ และวิเคราะห์ สถานการณ์ และลง สถานการณ์ และลง สถานการณ์ และลง สถานการณ์ และลง ขอ้ สรุปไดว้ า่ สตั ว์ ข้อสรุปได้ว่า สัตว์บาง ขอ้ สรุปไดว้ ่า สตั วบ์ าง ข้อสรปุ ได้ว่า สตั วบ์ าง บางชนดิ มีการ ชนดิ มีการเปลย่ี นแปลง ชนิดมีการเปล่ียนแปลง ชนดิ มีการเปลีย่ นแปลง เปล่ยี นแปลงรปู รา่ ง รปู รา่ งลกั ษณะ การกนิ รูปร่างลกั ษณะ การกิน รปู รา่ งลกั ษณะ การกนิ ลักษณะ การกนิ อาหาร และแหล่งทีอ่ ยู่ อาหาร และแหลง่ ท่อี ยู่ อาหาร และแหลง่ ท่อี ยู่ อาหาร และแหล่งที่ ขณะเจริญเติบโต แต่ ขณะเจริญเตบิ โต แต่ ขณะเจริญเติบโต แต่ อยู่ขณะเจริญเตบิ โต สตั วบ์ างชนิดไมม่ ีการ สัตว์ สตั ว์บางชนดิ ไมม่ ีการ แต่สัตว์บางชนดิ ไมม่ ี เปล่ียนแปลงดงั กล่าว บางชนิดไมม่ ีการ เปลย่ี นแปลงดงั กล่าว การเปล่ยี นแปลง และการทำลายชีวติ เปล่ียนแปลงดงั กลา่ ว และการทำลายชีวิต ดงั กลา่ ว และการ สัตว์ในระยะใดระยะ และการทำลายชีวิตสตั ว์ สตั วใ์ นระยะใดระยะ ทำลายชวี ติ สัตว์ใน หนงึ่ เป็นการทำลาย ในระยะใดระยะหนึ่งเป็น หนึง่ เปน็ การทำลาย ระยะใดระยะหนึ่ง วัฏจกั รชวี ิตของสตั ว์ การทำลายวัฏจักรชวี ติ วฏั จักรชีวิตของสตั ว์ เปน็ การทำลายวัฏ ถูกต้องดว้ ยตนเอง ของสตั ว์ถูกต้องจากการ แมว้ า่ จะไดร้ ับคำช้แี นะ จกั รชีวติ ของสตั ว์ ชแ้ี นะของครหู รือผอู้ นื่ จากครหู รือผู้อืน่ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
259 คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 อากาศและชีวติ ของสตั ว์ ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรุง (1) สามารถสรา้ ง S14 ก า ร ส ร ้ า ง การสรา้ งแบบจำลอง สามารถสรา้ ง สามารถสร้าง แบบจำลองโดยใช้ ขอ้ มูลจากบตั รภาพและ แบบจำลอง โดยใช้ข้อมลู จาก แบบจำลองโดยใช้ แบบจำลองโดยใช้ข้อมูล บตั รคำมาเขียน แผนภาพวัฏจกั รชวี ิต บัตรภาพและบตั รคำ ข้อมลู จากบัตรภาพและ จากบัตรภาพและบัตร ของมนุษย์ ไก่ และ ผีเสื้อไหม เพื่อ มาเขยี นแผนภาพ บัตรคำมาเขยี น คำมาเขียนแผนภาพ บรรยายวัฏจกั รชีวิต ของสัตว์ได้ถูกต้องเพียง วัฏจักรชวี ิตของ แผนภาพวฏั จกั รชวี ิต วฏั จกั รชวี ิตของมนุษย์ บางส่วน แมว้ ่าจะได้ รับคำชแี้ นะจากครหู รือ มนุษย์ ไก่ และผีเสื้อ ของมนษุ ย์ ไก่ และ ไก่ และผเี สื้อไหม เพื่อ ผ้อู ่ืน ไหม เพื่อบรรยาย ผเี สื้อไหม เพื่อ บรรยายวัฏจกั รชวี ติ ของ วัฏจักรชวี ิตของสัตว์ บรรยายวฏั จักรชีวิต สตั ว์ได้ถกู ต้องจากการ ของสัตว์ได้ถูกต้องดว้ ย ชี้แนะของครหู รือผู้อน่ื ตนเอง ตาราง แสดงการวเิ คราะหท์ ักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ตามระดบั ความสามารถของนักเรียน ทักษะแห่ง รายการประเมิน ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ศตวรรษที่ 21 พอใช้ (2) C2 การคดิ การวิเคราะห์และ สามารถวเิ คราะหแ์ ละ สามารถวิเคราะห์และ สามารถวเิ คราะห์และ อย่างมี เปรียบเทียบวัฏจกั ร เปรยี บเทยี บวัฏจกั รชีวิต เปรียบเทียบวัฏจกั รชีวิต เปรียบเทยี บวฏั จกั รชีวติ วิจารณญาณ ชวี ติ ของสตั ว์ชนิด ของสัตวช์ นิดตา่ ง ๆ และ ของสัตวช์ นิดตา่ ง ๆ และ ของสตั วช์ นดิ ต่าง ๆ และ ตา่ ง ๆ และการ วิเคราะหส์ ถานการณท์ ี่ วเิ คราะหส์ ถานการณท์ ี่ วิเคราะห์สถานการณ์ที่ วิเคราะห์ สง่ ผลกระทบต่อวัฏจักร สง่ ผลกระทบต่อวฏั จกั ร ส่งผลกระทบต่อวัฏจักร สถานการณ์ทส่ี ่งผล ชวี ิตของสตั ว์ ไดถ้ ูกต้อง ชีวิตของสัตว์ ไดถ้ ูกต้อง ชีวติ ของสตั ว์ ไดถ้ ูกต้อง กระทบตอ่ วัฏจักร ด้วยตนเอง จากการชีแ้ นะของครู เพยี งบางส่วน แมว้ า่ จะ ชวี ิตของสตั ว์ หรือผอู้ ื่น ไดร้ บั คำชี้แนะจากครู หรอื ผอู้ ื่น C4 การสื่อสาร การเขยี นแผนภาพ สามารถเขยี นแผนภาพ สามารถเขยี นแผนภาพ สามารถเขียนแผนภาพ และนำเสนอ และนำเสนอแผนภาพ และนำเสนอแผนภาพ และนำเสนอแผนภาพ แผนภาพวัฏจกั รชวี ติ วัฏจักรชีวติ ของมนษุ ย์ วัฏจักรชีวติ ของมนษุ ย์ วัฏจกั รชวี ติ ของมนษุ ย์ ของมนษุ ย์ ไก่ และ ไก่ และผเี สื้อไหม เพ่ือให้ ไก่ และผเี สื้อไหม เพ่ือให้ ไก่ และผีเส้ือไหมได้ ผู้อ่นื เขา้ ใจไดถ้ ูกต้องจาก ถูกต้องเพยี งบางส่วน ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328