ค่มู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 อากาศและชีวิตของสัตว์ 260 ทักษะแห่ง รายการประเมิน ระดับความสามารถ ศตวรรษที่ 21 ผเี สื้อไหม เพ่ือให้ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) C5 ความ ผอู้ ่นื เข้าใจ ร่วมมือ การทำงานรว่ มกบั ผูอ้ น่ื เข้าใจไดถ้ ูกต้องด้วย การช้แี นะของครหู รือ แมว้ ่าจะไดร้ บั คำช้ีแนะ ผอู้ ื่นในการอภปิ ราย C6 การใช้ และนำเสนอ ตนเอง ผอู้ ื่น จากครหู รือผู้อ่ืน เทคโนโลยี เก่ยี วกบั วฏั จักรชวี ติ สารสนเทศ ของสตั ว์ รวมถงึ การ สามารถทำงานร่วมกับ สามารถทำงานร่วมกบั สามารถทำงานรว่ มกบั และการ อภปิ รายเกีย่ วกบั สือ่ สาร สถานการณ์ทสี่ ่งผล ผู้อืน่ ในการอภิปรายและ ผอู้ ่ืนในการอภิปรายและ ผู้อน่ื ในการอภปิ รายและ กระทบตอ่ วัฏจักรชวี ติ ของสัตว์ นำเสนอเกีย่ วกบั วฏั จักร นำเสนอเกี่ยวกบั วฏั จกั ร นำเสนอเกยี่ วกับวัฏจกั ร รวมท้งั ยอมรบั ความ คิดเหน็ ของผอู้ ่นื ชวี ิตของสตั ว์ รวมถงึ การ ชวี ติ ของสัตว์ รวมถงึ การ ชวี ติ ของสัตว์ รวมถึงการ การใช้เทคโนโลยใี น อภปิ รายเก่ียวกับ อภปิ รายเกย่ี วกบั อภิปรายเกีย่ วกบั การสืบค้นข้อมลู เกยี่ วกับวัฏจกั รชวี ติ สถานการณ์ทส่ี ง่ ผล สถานการณ์ท่ีสง่ ผลต่อ สถานการณ์ทส่ี ง่ ผล ของกบและปลาทู กระทบต่อวฏั จกั รชีวติ กระทบวัฏจักรชีวิตของ กระทบตอ่ วัฏจักรชวี ติ ของสตั ว์ รวมท้ังยอมรบั สตั ว์ รวมทงั้ ยอมรบั ของสัตว์ รวมทัง้ ยอมรับ ความคิดเหน็ ของผู้อืน่ ความคดิ เห็นของผู้อ่ืนใน ความคดิ เหน็ ของผู้อ่ืนใน ตั้งแตเ่ รมิ่ ตน้ จนสำเร็จ บางชว่ งเวลาทีท่ ำ บางชว่ งเวลาของการทำ กจิ กรรม กิจกรรม ทัง้ นี้ต้องอาศยั การกระตุ้นจากครหู รือ ผู้อืน่ สามารถใช้เทคโนโลยีใน สามารถใช้เทคโนโลยีใน สามารถใช้เทคโนโลยีใน การสบื คน้ ข้อมลู การสืบค้นข้อมูล การสบื คน้ ข้อมูล เก่ียวกบั วัฏจักรชวี ติ ของ เกี่ยวกบั วัฏจักรชวี ติ ของ เกีย่ วกับวฏั จกั รชวี ติ ของ กบและปลาทไู ด้ครบถว้ น กบและปลาทไู ด้ครบถว้ น กบและปลาทไู ดเ้ พยี ง ด้วยตนเอง จากการช้ีแนะของครู บางสว่ น แมว้ า่ จะได้ หรอื ผู้อื่น รบั คำชแ้ี นะจากครูหรอื ผอู้ ื่น สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
261 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 อากาศและชวี ิตของสตั ว์ กิจกรรมทา้ ยบทที่ 2 การดำรงชีวิตของสัตว์ (1 ชวั่ โมง) 1. ครูให้นักเรียนวาดรูปหรือเขียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากบทน้ี ตาม ความเขา้ ใจของตนเอง ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 94 2. นักเรียนตรวจสอบการสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ของตนเองโดยเปรียบเทียบกับ แผนภาพในหวั ขอ้ ร้อู ะไรในบทนี้ ในหนงั สือเรียน หน้า 101 3. นกั เรยี นกลับไปตรวจสอบคำตอบของตนเองใน สำรวจความรู้ก่อนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 72-76 อีกครั้ง ถ้าคำตอบของนักเรียนไม่ ถูกต้องให้ขีดเส้นทับข้อความเหล่านั้น แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง นอกจากนี้ ครูอาจนำคำถามในรูปนำบทในหนงั สือเรียนหนา้ 76 มาร่วมกันอภิปราย คำตอบอีกครง้ั ดังน้ี 3.1 จากรูป นักประดาน้ำสามารถอยู่ใต้น้ำเปน็ เวลานานได้เพราะเหตุใด (นักประดาน้ำใช้ถงั ออกซิเจนเพ่อื ช่วยใหห้ ายใจในน้ำได้) 3.2 นักเรียนจะสามารถอยู่ใต้น้ำเป็นเวลานานได้เช่นเดียวกับ นักประดาน้ำหรือไม่ อย่างไร (ถ้าไม่ใช้ถังออกซิเจน จะไม่สามารถ อยู่ใต้น้ำเป็นเวลานานได้ แต่ถ้าใช้ถังออกซิเจนจะสามารถอยู่ใต้น้ำ เป็นเวลานานไดเ้ ช่นเดียวกับนกั ประดานำ้ ) 3.3 เพราะเหตุใดปลาที่อยู่ในตู้จึงเจริญเติบโตและดำรงชวี ิตอยูไ่ ด้ (ปลา ไดร้ ับอาหารจากการท่ีนักประดานำ้ ดำลงไปให้อาหาร และในตู้มีน้ำ ซ่งึ ในนำ้ มีแกส๊ ออกซิเจน ทำให้ปลาได้รบั น้ำและแก๊สออกซิเจนอย่าง เพียงพอ) 3.4 ปลามีวัฏจักรชีวิตอย่างไร (ปลาตัวเต็มวัยจะสืบพันธุ์แล้ววางไข่ จากนั้นลูกปลาจะฟักออกมาจากไข่ แล้วเจริญเติบโตต่อไปจนเป็น ปลาตวั เตม็ วยั ทสี่ ามารถสืบพนั ธ์ุและมลี ูกต่อไปได้) 3.5 วัฏจักรชีวิตของปลาเหมือนและแตกต่างกับวัฏจักรชีวิตของสัตว์ ชนิดอื่นอย่างไร (วัฏจักรชีวิตของปลาแตกต่างกับสัตว์ชนิดอื่น คือ รูปร่างลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งที่อยู่ในแต่ละระยะของ วัฏจักรชีวิตของปลาจะแตกต่างกับสัตว์ชนิดอื่น ซึ่งสัตว์แต่ละชนิด จะมีวัฏจักรชีวิตที่มีลักษณะเฉพาะและแตกต่างกัน ส่วนสิ่งท่ี เหมือนกับสัตว์บางชนิด เช่น ไก่ คือ ในขณะเจริญเติบโตตั้งแต่ออก จากไข่จนเป็นตัวเต็มวัย ปลาและสัตว์บางชนิดจะไม่มีการ เปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ การกินอาหาร และแหล่งที่อยู่ในขณะ เจรญิ เตบิ โต) ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 อากาศและชวี ติ ของสตั ว์ 262 ครูสามารถให้ความรู้แก่นักเรียนเพิ่มเติมได้ว่า ปลาบางชนิด เช่น ปลาหางนกยูง ปลาสอด ปลาเข็ม ออกลูกเป็นตัว คือ ปลา ตัวเต็มวัยจะไม่วางไข่ แต่จะออกลูกมาเป็นลูกปลาขนาดเล็กที่มี รูปร่างลักษณะเหมือนกับปลาตัวเตม็ วัย 4. นักเรียนทำ แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 การดำรงชีวิตของสัตว์ ใน แบบบันทึกกิจกรรมหน้า 102 จากนั้นนำเสนอคำตอบหน้าชั้นเรียน ถ้าคำตอบยังไม่ถูกต้องครูควรนำอภิปรายหรือให้สถานการณ์เพิ่มเติมเพ่ือ แกไ้ ขแนวคิดคลาดเคลอ่ื นใหถ้ ูกต้อง 5. นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม ร่วมคิด ร่วมทำ โดยร่วมกันสืบค้นข้อมูล วัฏจักรชีวิตของยุงลาย และใช้ความรู้เกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตของยุงลายมา จดั ทำแผนภาพเพ่อื บอกแนวทางการปอ้ งกันโรคไข้เลอื ดออก 6. นักเรียนอา่ นและอภปิ รายเนื้อเร่ืองในหัวข้อ วทิ ยใ์ กล้ตัว ในหนังสือเรียน หน้า 104 โดยครูกระตุ้นให้นักเรียนเห็นความสำคัญของความรู้จากสิ่งที่ ได้เรียนรูใ้ นหน่วยนี้ ว่าสามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้อยา่ งไรบา้ ง 7. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามสำคัญของหน่วยในหนังสือเรียนหน้า 44 อีกครงั้ ดงั นี้ - สิ่งมีชีวิตใช้สิ่งใดบ้างในการดำรงชีวิต และใช้อย่างไร (สิ่งมีชีวิตใช้ อาหาร น้ำ และอากาศในการดำรงชีวิต โดยรับประทานอาหารที่มี ประโยชน์อย่างครบถ้วน หลากหลาย และเหมาะสมกับความ ต้องการของร่างกาย ดื่มน้ำสะอาดอย่างเพียงพอ และอยู่ในที่ที่มี อากาศสะอาดและถา่ ยเทสะดวก) ถา้ คำตอบยังไม่ถูกต้อง ใหน้ กั เรียนอภิปรายรว่ มกันเพ่อื ให้ได้คำตอบ ทถี่ กู ตอ้ ง สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
263 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 อากาศและชวี ติ ของสัตว์ สรปุ ผลการเรียนรู้ของตนเอง รูปหรือข้อความสรุปส่ิงทไ่ี ดเ้ รยี นรจู้ ากบทน้ตี ามความเขา้ ใจของนกั เรียน ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 อากาศและชวี ติ ของสัตว์ 264 แนวคำตอบในแบบฝึกหัดท้ายบท เพราะยังมนี ำ้ อาหารเหลืออยู่ และการท่ีอโุ มงค์มีโพรงเช่ือมต่อกนั ยาว จึงทำให้ในอุโมงค์มีอากาศเพียงพอที่จะทำให้คนงานดำรงชวี ิตอยู่ได้ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
265 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 อากาศและชวี ติ ของสตั ว์ การดแู ลสตั ว์ใหเ้ จรญิ เตบิ โต ต้องให้อาหารท่ีเหมาะสมกับชนดิ และขนาด ของสัตว์ ในปริมาณที่เพียงพอ ให้น้ำสะอาดอยา่ งเพยี งพอ และให้สตั วเ์ ล้ียง อยูใ่ นบรเิ วณท่ีมอี ากาศสะอาดและถ่ายเทสะดวก รปู ร่างลกั ษณะของด้วงในแต่ละระยะของวฏั จักรชีวิต จะแตกต่างกับสุนัข และในขณะเจริญเติบโตตั้งแต่ออกจากไข่จนเป็นตัวเต็มวัย ด้วงจะมีการ เปลย่ี นแปลงรปู ร่างลักษณะ แตส่ ุนขั ไม่มีการเปลย่ี นแปลงรูปร่างลักษณะ ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบท้ายเล่ม 266 แนวคำตอบในแบบทดสอบทา้ ยเล่ม
267 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบทา้ ยเล่ม
ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบท้ายเลม่ 268
269 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบทา้ ยเล่ม
ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบท้ายเลม่ 270
271 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบทา้ ยเล่ม
ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบท้ายเลม่ 272
273 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบทา้ ยเล่ม
ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบท้ายเลม่ 274
275 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบทา้ ยเล่ม
ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบท้ายเลม่ 276
277 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบทา้ ยเล่ม
ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบท้ายเลม่ 278
279 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบทา้ ยเล่ม
ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบท้ายเลม่ 280
281 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบทา้ ยเล่ม
ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบท้ายเลม่ 282
283 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | แบบทดสอบทา้ ยเล่ม
ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรสู้ ง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว 284 บรรณานุกรม ภรทพิ ย์ สุภทั รชยั วงศ์ ชาตรี ฝา่ ยคำตา และ พจนารถ สุวรรณรุจิ. (2557). ความเข้าใจธรรมชาตขิ องแบบจำลองทาง วิทยาศาสตรข์ องนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปตั ตานี, 25, 39-51. รชตะ ปวิ าวฒั นพานิช. (2562). ยนี มผี ลแคไ่ หนต่อความสูง. นิตยสารเนชนั่ แนล จีโอ กราฟฟิก ฉบบั ภาษาไทย. สืบคน้ เม่อื 21 กุมภาพันธ์ 2563, จาก https://ngthai.com/science/18436/genes-relation-height/ ลฎาภา ลดาชาตแิ ละ และ ลือชา ลดาชาติ. (2560). มุมมองและความเข้าใจเกี่ยวกบั แบบจำลองทางวิทยาศาสตรข์ องครู วทิ ยาศาสตร.์ วารสารการวิจัยเพ่ือพฒั นาชมุ ชน (มนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร)์ , 10(3), 149-162. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2561). หนังสอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 เลม่ 1. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร: องค์การคา้ ของ สกสค. อนริ ทุ ธิ์ หมีดเสน็ . (2560). Metamorphosis. สืบคน้ เมอ่ื 2 มกราคม 2563, จาก https://www.scimath.org/ lesson- biology/item/7018-metamorphosis Bogin, B. (2007). The evolution of human brain and body growth patterns. Evolution of nervous systems. The university of Michigan-Dwarborn, USA. Generationgenius. Life cycle lesson for kids. Retrieved January 2, 2020, จาก https://www. generationgenius.com/plant-and-animal-life-cycle-lesson-for-kids/ Krajcik, J. & Merritt, J. (2012). Engaging students in scientific practices: What does constructing and revising models look like in the science classroom? Understanding a Framework for K−12 Science Education. Science and Children, 49(3), 10-13. National Research Council. (2000). Inquiry and the national science education standards: A guide for teaching and learning. Washington, DC: National Academy Press. Noureddine, Z. & Zouhaire, L. (2017). Study of middle school student’s conceptions regarding the living concept. International Journal of Environmental & Science Education. 12(3). 475-484. Pine, K., Messer, D., & John, K. St. (2001). Children’s misconceptions in primary science: A survey of teachers’ views. Research in Science & Technological Education. 19(1). Phillips, C., Ryan, J. (2017). Animal growth and changes. Scholastic education. Scholastic Canada Ltd. Turtle embryo. (2553). วิวัฒนาการในมุมมองของนักวิทยาเอ็มบริโอ. สืบค้นเม่ือ 2 มกราคม 2563, จาก http://siamensis.org/article/279 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
285 คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | คณะทำงาน คู่มอื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ เลม่ ๑ ผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี คณะท่ปี รึกษา ผู้ช่วยผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ศาสตราจารย์ ดร.ชูกจิ ลิมปิจำนงค์ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.วนิดา ธนประโยชนศ์ ักดิ์ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะผจู้ ัดทำคมู่ ือครู สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางชตุ ิมา เตมียสถติ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางกง่ิ แก้ว คอู มรพฒั นะ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวดวงกมล เหมะรตั สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาววราภรณ์ ถริ สิริ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.อรนิษฐ์ โชคชัย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.ศานิกานต์ เสนวี งศ์ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.พจนา ดอกตาลยงค์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.เบ็ญจวรรณ หาญพพิ ฒั น์ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.วนั ชยั น้อยวงค์ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.ณัฐธิดา พรหมยอด สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.เสาวลักษณ์ บัวอนิ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวสณุ ิสา สมสมัย นางสาวลักษมี เปรมชัยพร นางสาวจีรนันท์ เพชรแกว้ นางสาวกมลลักษณ์ ถนัดกิจ ดร.วลิ านี สชุ วี บรพิ นธ์
คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | คณะทำงาน 286 คณะผู้พจิ ารณาคมู่ ือครู โรงเรียนอนบุ าลแม่ฮ่องสอน โรงเรียนอนบุ าลมหาสารคาม นางรอยพิมพ์ กาพย์ไชย โรงเรยี นบคี อนเฮาส์แย้มสอาด ลาดพร้าว นางรัตนา อาจชมภู โรงเรยี นเทศบาล 2 \"อิสาณธีรวิทยาคาร\" นางสาวจิรารตั น์ จอมป้อ โรงเรยี นจริ ะศาสตร์ นายสราวุธ พฒั นมาศ สำนกั เขตพื้นทกี่ ารศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 นางสาวอัมพิไล สทุ ธการ นายสราวุธ ชยั ยอง สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะทำงานฝ่ายเสรมิ วชิ าการ มหาวิทยาลัยพะเยา ฝ่ายนวัตกรรมเพ่ือการเรยี นรู้ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ นางสาวภทั ราพร ชื่นร่งุ ข้าราชการบำนาญ ขา้ ราชการบำนาญ คณะบรรณาธิการ ข้าราชการบำนาญ ผศ.ดร.ลือชา ลดาชาติ ดร.เทพกัญญา พรหมขตั ิแก้ว ผ้ชู ่วยศาสตราจารยร์ ชั ดา สุตรา นางณัฐสรวง ทพิ านุกะ หมอ่ มหลวงพิณทอง ทองแถม
287 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | คณะทำงาน สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST) www.ipst.ac.th
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328