คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จกั ร 60 คำถามของนักเรียนท่ตี ้ังตามความอยากรู้ของตนเอง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
61 คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จกั ร แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรยี นรขู้ องนักเรียนทำได้ ดังน้ี 1. ประเมินความรเู้ ดิมจากการอภิปรายในช้นั เรียน 2. ประเมินการเรยี นรจู้ ากคำตอบของนกั เรยี นระหว่างการจัดการเรียนร้แู ละจากแบบบันทึกกจิ กรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนกั เรียน การประเมินจากการทำกิจกรรมท่ี 2 เมฆ หมอก นำ้ ค้าง และน้ำค้างแข็งเกดิ ขึ้นได้อยา่ งไร ระดบั คะแนน 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง รหสั สิง่ ทีป่ ระเมนิ ระดบั คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S13 การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ S14 การสร้างแบบจำลอง ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 C2 การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ C5 ความรว่ มมอื C6 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร รวมคะแนน ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจกั ร 62 ตาราง แสดงการวิเคราะห์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ตามระดบั ความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมิน ดงั น้ี ทกั ษะ ระดบั ความสามารถ กระบวนการทาง รายการประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) วทิ ยาศาสตร์ S1 การสังเกต การใช้ประสาทสัมผัสเก็บ สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัสเก็บ สามารถใช้ประสาทสัมผัส รายละเอียดของสิ่งที่เกิดข้ึน เก็บรายละเอียดของส่ิงที่ รายละเอียดของส่ิงท่ีเกิดขึ้น เก็บรายละเอียดของสิ่งท่ี ได้เกี่ยวกับ การเกิดเม ฆ เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้ อ ย่ า ง เกี่ ย ว กั บ สิ่ ง ท่ี สั ง เก ต ไ ด้ เกิ ด ขึ้ น เก่ี ย ว กั บ สิ่ งที่ หมอก น้ำค้างและน้ำค้าง หลากหลายเก่ียวกับสิ่งที่ ประกอบด้วย การเกิดเมฆ สังเกตได้ประกอบด้วย แข็งได้ สังเกตได้ประกอบด้วย การ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง ก า ร เกิ ด เม ฆ ห ม อ ก เกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง โดยไม่เพ่ิมความคิดเห็น จาก น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง และน้ำค้างแข็ง ด้วยตัวเอง การช้ีแนะของครหู รอื ผอู้ น่ื โดยไม่เพ่ิมความคิดเห็น โดยไม่เพิ่มความคิดเห็น บางส่วน แม้ว่าครูหรือ ผู้อื่น ช่วยแน ะน ำห รือ ชีแ้ นะ S13 การ การตีความหมายข้อมูลและ สามารถตีความหมายข้อมูล สามารถตีความหมายข้อมูลและ สามารถตีความหมายข้อมูล ตคี วามหมาย ล ง ข้ อ ส รุ ป จ า ก ก า ร ใช้ และลงข้อสรุปจากการใช้ ลงข้อสรุปจากการใช้แบบจำลอง และลงข้อสรุปจากการใช้ ขอ้ มูลและลง แบบจำลองการเกิดเมฆ หมอก แบ บ จำลองการเกิด เม ฆ การเกิดเมฆ หมอก น้ำค้างและ แบบจำลองการเกิดเมฆ หมอก ข้อสรปุ น้ำค้างและน้ำค้างแข็งได้ว่า หมอก น้ำค้างและน้ำค้าง น้ำค้างแข็งได้อย่างถูกต้อง โดย นำ้ ค้างและน้ำคา้ งแข็งได้เพียง เมฆและหมอกเกิดจากไอน้ำใน แข็งได้ อย่างถูกต้ องด้วย อาศัยการช้ีแนะของครูหรือผู้อ่ืน บางส่วนว่าเมฆและหมอกเกิด อากาศควบแน่นเป็นละอองน้ำ ตนเองว่าเมฆและหมอกเกิด วา่ เมฆและหมอกเกิดจากไอน้ำใน จากไอน้ำในอากาศควบแน่น เม่ืออุณหภูมิของอากาศลดลง จากไอน้ำในอากาศควบแน่น อากาศควบแน่นเป็นละอองน้ำ เป็นละอองน้ำเม่ืออุณหภูมิ และลอยท่ีระดับความสูงต่าง ๆ เป็นละอองน้ำเม่ืออุณหภูมิ เม่ืออุณหภูมิของอากาศลดลง ของอากาศลดลงและลอยท่ี ถ้าลอยอยู่ในท้องฟ้าเป็นเมฆ ของอากาศลดลงและลอยที่ และลอยท่ีระดับความสูงต่าง ๆ ระดับความสูงต่าง ๆ ถ้าลอย แต่ถ้าลอยต่ำเหนือพื้นโลกเป็น ระดับความสูงต่าง ๆ ถ้าลอย ถ้าลอยอยู่ในท้องฟ้าเป็นเมฆ แต่ อยู่ในท้องฟ้าเป็นเมฆ แต่ถ้า หมอก ส่วนน้ำค้างเกิดจากไอ อยู่ในท้องฟ้าเป็นเมฆ แต่ถ้า ถ้าลอยต่ำเหนอื พ้ืนโลกเป็นหมอก ลอยต่ ำเหนื อพื้ นโลกเป็ น น้ำในอากาศควบแน่นเป็นหยด ลอยต่ำเหนือพื้นโลกเป็น ส่วน น้ำค้างเกิดจากไอน้ ำใน หมอก ส่วนน้ำค้างเกิดจากไอ น้ำและเกาะบนพ้ืนผิววัตถุใกล้ หมอก ส่วนนำ้ คา้ งเกดิ จากไอ อากาศควบแน่นเป็นหยดน้ำและ น้ำในอากาศควบแน่นเป็น พื้นโลก น้ำค้างเปลี่ยนเป็น น้ำในอากาศควบแน่นเป็น เกาะบนพ้ืนผิววัตถุใกล้พื้นโลก หยดน้ำและเกาะบนพื้นผิว น้ำค้างแข็งเม่ืออุณหภูมิของ หยดน้ำและเกาะบนพื้นผิว น้ำค้างเปลยี่ นเป็นน้ำค้างแข็งเมื่อ วัตถุ ใกล้ พื้ นโลก น้ ำค้ าง อากาศลดตำ่ ลงถงึ 0 oC วัต ถุใกล้ พื้ น โลก น้ ำค้าง อุณหภูมิของอากาศลดต่ำลงถึง เปล่ียนเป็นน้ำค้างแข็งเม่ือ เปล่ียนเป็นน้ำค้างแข็งเม่ือ 0 oC อุณหภูมิของอากาศลดต่ำลง อุณหภูมิของอากาศลดต่ำลง ถึง 0 oC แม้ว่าจะได้รับคำ ถงึ 0 oC ชีแ้ นะจากครูหรือผูอ้ น่ื สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
63 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จักร ทกั ษะ ระดับความสามารถ กระบวนการทาง รายการประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) วิทยาศาสตร์ S14 การสรา้ ง อธิบายการเกิดเมฆ หมอก สามารถอธิบายการเกิด สามารถอธิบายการเกิดเมฆ สามารถอธิบายการเกิด แบบจำลอง น้ำคา้ ง และน้ำค้างแข็ง โดย เมฆ หมอก น้ำค้าง และ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง เมฆ หมอก น้ำค้าง และ ใช้แบบจำลอง น้ ำ ค้ า ง แ ข็ ง โ ด ย ใ ช้ โดยใช้แบบจำลองได้อย่าง น้ ำ ค้ า ง แ ข็ ง โ ด ย ใช้ แบบจำลองได้อย่างถูกต้อง ถูกต้อง จากการชี้แนะของครู แบบจำลองได้ถูกต้อง ไดด้ ว้ ยตวั เอง หรอื ผู้อ่นื บางส่วน แม้ว่าครูหรือ ผู้อื่น ช่วยแน ะน ำห รือ ชี้แนะ ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คูม่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จักร 64 ตาราง แสดงการวเิ คราะหท์ ักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ตามระดบั ความสามารถของนักเรียน โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมนิ ดงั นี้ ทกั ษะแห่ง รายการประเมนิ ระดับความสามารถ ศตวรรษท่ี 21 ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) C2 การคดิ อย่างมี การวิเคราะห์และประเมิน สามารถวิเคราะห์และ สามารถวิเคราะห์และ สามารถวิเคราะห์และ วจิ ารณญาณ ลักษณะท่ีสำคัญของเมฆ ประเมินลักษณะท่ีสำคัญ ประเมินลักษณะที่สำคัญ ประเมินลักษณะที่สำคัญ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้าง ของเมฆ หมอก น้ำค้าง ของเมฆ หมอก น้ำค้าง ของเมฆ หมอก น้ำค้าง แขง็ ได้ แ ล ะ น้ ำ ค้ า ง แ ข็ ง ไ ด้ แ ล ะ น้ ำ ค้ า ง แ ข็ ง ไ ด้ แ ล ะ น้ ำ ค้ า ง แ ข็ ง ไ ด้ ถกู ต้องและสมเหตุสมผล ถูกต้องและสมเหตุสมผล ถูกต้องและสมเหตุสมผล โดยต้องอาศัยการชี้แนะ บางส่วนแม้ว่าจะได้รับคำ จากครหู รอื ผู้อื่น ชแ้ี นะจากครหู รอื ผู้อนื่ C5 ความรว่ มมือ การทำงานร่วมมือกับผู้อื่น สามารถทำงานร่วมกับ สามารถทำงานร่วมกับ สามารถทำงานร่วมกับ ในการสร้างแบบจำลอง ผู้ อ่ื น ใ น ก า ร ส ร้ า ง ผู้ อ่ื น ใ น ก า ร ส ร้ า ง ผู้ อ่ื น ใ น ก า ร ส ร้ า ง บั น ทึ กผล น ำเสน อผ ล แบบจำลอง บันทึกผล แบบจำลอง บันทึกผล แบบจำลอง บันทึกผล แสดงความคิดเห็นและ นำเสนอผล แสดงความ นำเสนอผล แสดงความ นำเสนอผล แสดงความ อ ภิ ป ร า ย ก าร เกิ ด เม ฆ คิดเห็นและอภิปรายการ คิดเห็นและอภิปรายการ คิดเห็นและอภิปรายการ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้าง เกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง เกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง เกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง แข็งรวมท้ังยอมรับความ และน้ำค้างแข็ง รวมท้ัง และน้ำค้างแข็ง รวมทั้ง และน้ำค้างแข็ง รวมท้ัง คดิ เหน็ ของผู้อืน่ ยอมรับความคิดเห็นของ ยอมรับความคิดเห็นของ ยอมรับความคิดเห็นของ ผู้ อื่ น ต้ั งแ ต่ เร่ิม ต้ น จ น ผู้อ่ืน บางช่วงเวลาที่ทำ ผู้อื่น ในบางช่วงเวลาท่ีทำ สำเร็จ กจิ กรรม กิจกรรม แต่ไม่ค่อยสนใจ ในความคิดเห็นของผู้อน่ื C6 การใช้ การนำเสนอข้อมูลจาก สามารถนำเสนอข้อมูล สามารถนำเสนอข้อมูล สามารถนำเสนอข้อมูล เทคโนโลยี สารสนเทศและ แบบจำลองเกี่ยวกับการ จากแบบจำลองเก่ียวกับ จากแบบจำลองเกี่ยวกับ จากแบบจำลองเก่ียวกับ การสอ่ื สาร เกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง ก า ร เกิ ด เม ฆ ห ม อ ก ก า ร เกิ ด เม ฆ ห ม อ ก ก า ร เกิ ด เม ฆ ห ม อ ก และน้ำค้างแข็ง ในรูปแบบ น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง แผ น ภ าพ ห รือ รูป แบ บ ในรูปแบบแผนภาพหรือ ในรูปแบบแผนภาพหรือ ในรูปแบบแผนภาพหรือ อนื่ ๆ ให้ผู้อนื่ เขา้ ใจ รูปแบบอื่น ๆ ครอบคลุม รูปแบบอ่ืน ๆ ครอบคลุม รู ป แ บ บ อื่ น ๆ ไ ม่ เน้ือหาเพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจ เน้ือหาเพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจ ครอบคลุมเนื้อหาเพื่อให้ ได้ ด้วยตนเอง จากการชี้แนะของครู ผอู้ ่ืนเข้าใจ แม้ว่าจะได้รับ ห รือ ผู้ อื่ น ห รือ มี ก าร คำแนะนำจากครูหรือ เพมิ่ เติมความคดิ เหน็ ผอู้ ่ืน สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
65 คมู่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจักร เรื่องที่ 3 หยาดนำ้ ฟา้ ในเรื่องน้ีนักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับหยาดน้ำฟ้า ได้แก่ ฝน หิมะ ลูกเห็บ รวมถึงลักษณะและการเกิด หยาดนำ้ ฟ้า จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สบื ค้นข้อมลู และอธิบายการเกิดฝน หิมะ และลูกเหบ็ เวลา 2 ชว่ั โมง วสั ดุ อปุ กรณ์สำหรบั ทำกจิ กรรม สีเมจิก เทปใส กระดาษปรูฟ๊ สื่อการเรยี นรแู้ ละแหลง่ เรียนรู้ 1. หนงั สือเรยี น ป.5 เล่ม 2 หนา้ 26 - 35 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม ป.5 เล่ม 2 หนา้ 21 - 24 ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จกั ร 66 แนวการจดั การเรียนรู้ (60 นาท)ี ขั้นตรวจสอบความรู้ (10 นาที) 1. ตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับการเกิดหยาดน้ำฟ้าแต่ละประเภท ในการตรวจสอบความรู้ ครู โดยครูนำรูปฝน หิมะ และลูกเห็บ มาให้นักเรียนสังเกต และนำ เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนและ อภปิ รายโดยใชค้ ำถาม ดังน้ี ยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวน 1.1 ฝน หิมะ ลูกเห็บ มีลักษณะเป็นอย่างไร (นักเรียนตอบตาม ให้นักเรียนไปหาคำตอบด้วยตนเอง ความเข้าใจซ่ึงคำตอบท่ีครูควรรู้คือ ฝนเป็นหยดน้ำที่ตกลง จากการอ่านเนื้อเร่ือง มาจากฟ้า มีสถานะเป็นของเหลว หิมะเป็นผลึกน้ำแข็ง มี สถานะเป็นของแข็ง ลักษณะฟูเป็นปุยตกลงมาจากฟ้า ส่วน ลูกเห็บเป็นก้อนน้ำแข็ง มีลักษณะเป็นของแข็ง ตกลงมา จากฟา้ ) 1.2 ฝน หิมะ ลูกเห็บ เหมือนกันอย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบตาม ความเข้าใจซ่ึงคำตอบท่ีครูควรรู้คือ ตกลงมาจากท้องฟ้าสู่ พน้ื โลกเหมอื นกนั ) 1.3 รู้จักหยาดน้ำฟ้าหรือไม่ หยาดน้ำฟ้าเป็นอย่างไร (นักเรียน ตอบตามความเข้าใจซึ่งคำตอบที่ครูควรรคู้ ือ น้ำทุกรูปแบบ หรอื ทกุ สถานะที่ตกจากท้องฟ้ามาถึงพืน้ โลก) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนสู่การเรียนเร่ืองหยาดน้ำฟ้า โดยใชค้ ำถามว่า หยาดนำ้ ฟา้ มลี กั ษณะเป็นอย่างไร ขน้ั ฝึกทักษะจากการอา่ น (30 นาท)ี 3. นกั เรียนอ่านช่ือเร่ืองและคำถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียน หน้า 26 แล้วร่วมกันอภิปรายในกลุ่มเพ่ือช่วยกันหาคำตอบตาม ความเข้าใจของกลุ่ม ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดาน เพอ่ื ใช้เปรียบเทียบคำตอบภายหลังการอ่านเร่ือง 4. นักเรียนอ่านคำสำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หาก นักเรียนอ่านไม่ได้ ครูควรสอนอา่ นให้ถูกตอ้ ง) จากน้ันครชู ักชวน ให้นักเรียนอธิบายความหมายของคำสำคัญจากเนื้อเรื่องท่ีจะ อ่าน 5. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่องในหนังสือเรียนหน้า 26 - 29 โดยครูฝึก ทักษะการอ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
67 คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จักร นักเรียน ครูใช้คำถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดยใช้คำถามดงั นี้ 5.1 ฝนคอื อะไร (ฝนคือนำ้ ท่ีตกลงมาจากฟา้ ) 5.2 ลูกเห็บคืออะไร มีลักษณะอย่างไร (ลูกเห็บเป็นก้อนน้ำแข็ง ท่ีตกลงมาจากฟ้า มีลักษณะเป็นชั้น ๆ ซ้อนกัน คล้ายหัว หอม มสี ถานะเปน็ ของแขง็ ) 5.3 เราสามารถพบลูกเห็บได้บริเวณใดบ้าง (บริเวณทั่วไปใน ประเทศที่เปน็ เขตรอ้ นและเขตหนาว) 5.4 หิมะคืออะไร มีลักษณะอย่างไร (เป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก ทรี่ วมตัวกนั เป็นเกล็ดหิมะสวยงามแล้วตกลงมาจากฟ้า) 5.5 เราสามารถพบหิมะได้บริเวณใดบ้าง (บริเวณทั่วไปใน ประเทศที่มีอุณหภูมิของอากาศลดลงต่ำกว่า 0 องศา เซลเซยี ส) 5.6 ฝน หิมะ ลูกเหบ็ เรยี กรวมกนั ว่าอะไร (หยาดนำ้ ฟ้า) 5.7 หยาดน้ำฟ้าคืออะไร (หยาดน้ำฟ้า คือ น้ำที่ตกจากท้องฟ้า มาถงึ พ้นื โลก) ข้นั สรุปจากการอ่าน (20 นาท)ี 6. ครูให้ นักเรียนร่วมกัน สรุป เรื่องที่อ่านซึ่งควรสรุปได้ว่า การเตรียมตัวลว่ งหนา้ สำหรบั ครู หยาดน้ำฟ้า คือ น้ำทุกรูปแบบหรือทุกสถานะท่ีตกจากฟ้ามายัง เพ่อื จดั การเรยี นร้ใู นครง้ั ถดั ไป พนื้ โลก เชน่ ฝน หิมะ และลูกเหบ็ ในครั้งถัดไป นกั เรียนจะได้ทำ 7. นกั เรียนตอบคำถามในรู้หรือยงั ในแบบบันทึกกจิ กรรม หน้า 21 กจิ กรรมที่ 3 ฝน หมิ ะ และลูกเห็บ 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคำตอบของ เกิดขึน้ ได้อยา่ งไร ครูเตรียมวีดิทัศน์ เร่ือง หยาดนำ้ ฟ้า มาใหน้ กั เรยี นสังเกตในการ นกั เรียนในรู้หรือยงั ทบทวนความรู้พนื้ ฐาน 9. ครูให้นกั เรียนตอบคำถามท้ายเร่ืองทีอ่ ่าน ดงั นี้ 9.1 หยาดน้ำฟา้ มีอะไรบา้ ง 9.2 หยาดนำ้ ฟา้ แตล่ ะชนิดเกิดขนึ้ ได้อย่างไร ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดานโดยยังไม่เฉลยคำตอบแต่ ชักชวนให้นกั เรยี นหาคำตอบจากการทำกิจกรรม ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจักร 68 แนวคำตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม หยาดน้ำฟา้ คอื น้ำทุกรูปแบบหรอื ทุกสถานะทตี่ กจากท้องฟา้ มาถงึ พนื้ โลก หยาดนำ้ ฟ้า ไดแ้ ก่ ฝน หมิ ะและลกู เห็บ โดยฝน มีสถานะเปน็ ของเหลว ส่วนหิมะและลกู เห็บ มสี ถานะเปน็ ของแข็ง สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
69 ค่มู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 วัฏจกั ร กิจกรรมที่ 3 ฝน หมิ ะ และลกู เห็บเกดิ ขึน้ ไดอ้ ยา่ งไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับลักษณะ สอ่ื การเรยี นรูแ้ ละแหล่งเรียนรู้ ของหยาดน้ำฟ้าแตล่ ะชนดิ ไดแ้ ก่ ฝน หิมะ และลูกเหบ็ 1. หนังสือเรียน ป.5 เล่ม 2 หนา้ 26 - 35 เวลา 1 ชวั่ โมง 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม ป.5 เล่ม 2 หนา้ 21 - 24 จุดประสงค์การเรยี นรู้ สืบค้นและอธิบายการเกิด ฝน หิมะ และลกู เห็บ วัสดุ อุปกรณส์ ำหรับทำกจิ กรรม ส่งิ ทค่ี รูตอ้ งเตรียม/กลุ่ม กระดาษปร๊ฟู 1 แผ่น สเี มจิก 1 กล่อง เทปใส 1 ม้วน สง่ิ ทน่ี ักเรยี นต้องเตรยี ม/กลุม่ - ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S6 การจดั กระทำและสือ่ ความหมายข้อมลู S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 C2 การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ C4 การส่อื สาร C5 ความรว่ มมือ C6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วัฏจักร 70 แนวการจดั การเรยี นรู้ ในการตรวจสอบความรู้ ครู เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน 1. ครูทบทวนความรู้พืน้ ฐานและตรวจสอบความรเู้ ดมิ เกย่ี วกับหยาดนำ้ ฟา้ เป็ น ส ำคั ญ แล ะยังไม่ เฉล ย โดยครูใหน้ ักเรยี นดูวดี ิทศั น์ เร่ือง หยาดนำ้ ฟ้า (ตวั อย่างวีดทิ ัศน์ คำตอบใด ๆ ให้กับนักเรียน แต่ https://bit.ly/18X9owP) จากนัน้ ใหน้ กั เรยี นร่วมกันอภิปรายโดย ชักชวนนักเรียน ไปหาคำตอบท่ี ใชค้ ำถามดังต่อไปนี้ ถูกต้องจากกิจกรรมต่าง ๆ ใน 1.1 นกั เรยี นเหน็ อะไรบ้างจากวีดิทัศน์ (ฝน หมิ ะ ลูกเหบ็ ) บทเรยี นนี้ 1.2 ฝน หิมะ ลูกเห็บเกดิ ข้ึนได้อย่างไร (นกั เรยี นตอบตามความ เข้าใจซึง่ คำตอบทีค่ รูควรรคู้ ือ ฝนเกดิ จากละอองน้ำในเมฆ รวมตัวกันและตกลงสู่พนื้ โลกในสถานะของเหลว หมิ ะเกดิ ข้ึน ในบริเวณท่ีมีอณุ หภูมิต่ำกว่า 0 องศาเซลเซยี สหรือต่ำกวา่ จุดเยือกแขง็ โดยเกิดจากไอน้ำระเหิดกลบั เปน็ ผลึกน้ำแข็งและ ตกลงมายงั พื้นโลก ลูกเหบ็ เกิดจากหยดนำ้ หรือผลึกน้ำแข็งใน เมฆที่ถูกพัดวนข้ึนลงภายในเมฆควิ มโู ลนิมบัสจนเกิดการพอก ตัวของน้ำแขง็ เป็นช้นั ๆ แลว้ ตกลงมายงั พืน้ โลกในลกั ษณะของ ก้อนนำ้ แข็ง) 2. ครูเช่ือมโยงเข้าสู่กิจกรรมท่ี 3 โดยกล่าวว่านักเรียนจะรู้คำตอบว่า ฝน หิมะ ลูกเหบ็ เกดิ ได้อยา่ งไร โดยไปรว่ มทำกจิ กรรมที่ 3 3. นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น และร่วมกันอภิปราย เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจจุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถาม ดังน้ี 3.1 กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (การเกิดฝน หิมะ และ ลกู เห็บ) 3.2 นกั เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องน้ดี ้วยวิธใี ด (การสืบค้นข้อมูล) 3.3 เม่ือเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (อธิบายการเกิดฝน หิมะ และลูกเหบ็ ) 4. นักเรยี นบนั ทกึ จดุ ประสงคล์ งในแบบบันทึกกจิ กรรม หน้า 22 5. นักเรียนอ่านสงิ่ ท่ีตอ้ งใช้ในการทำกิจกรรม ซ่ึงในกิจกรรมน้ีนักเรียน จะตอบวา่ ไม่ไดใ้ ช้วสั ดุ อุปกรณ์แตอ่ ยา่ งใด 6. นักเรียนอ่านทำอย่างไร โดยครูใช้วิธีฝึกอ่านที่เหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความเขา้ ใจวา่ จะทำ กิจกรรมอย่างไร จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถามต่อไปน้ี (ครูอาจช่วยเขียนสรุปเป็นขั้นตอนส้ัน ๆ บน กระดาน) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
71 คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จกั ร 6.1 นักเรียนสามารถสืบค้นขอ้ มูลของ ฝน หมิ ะ และลกู เห็บได้จากที่ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ ใด (จากใบความรู้ เรือ่ งหยาดนำ้ ฟา้ ) ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทนี่ ักเรียนจะ 6.2 นักเรียนต้องอภิปรายเกี่ยวกับอะไรบ้าง (ลักษณะและการเกิด ได้ฝกึ จากการทำกิจกรรม ของฝน หมิ ะ และลูกเหบ็ ) S6 การนำขอ้ มลู จากใบความร้เู รือ่ ง 6.3 นักเรียนจะนำเสนอข้อมูลเก่ียวกับอะไร และนำเสนออย่างไร หยาดนำ้ ฟา้ มาออกแบบการนำเสนอ (ลักษณะการเกิดของฝน หิมะ และลูกเห็บ และนำเสนอใน ข้อมลู รปู แบบทนี่ ่าสนใจ เช่น แผนผังความคดิ ) C2 การใช้ข้อมลู ในใบความรมู้ าอธบิ าย เกย่ี วกบั ลกั ษณะและกระบวนการเกิด 7. เมือ่ นกั เรยี นเข้าใจวิธกี ารทำกิจกรรมในทำอย่างไรแลว้ ใหน้ ักเรียน หยาดนำ้ ฟา้ ลงมือปฏบิ ัตติ ามขั้นตอน C4 การใช้คำพูดเพื่อใหผ้ ู้อ่ืนเข้าใจในการ นำเสนอขอ้ มลู จากใบความรู้ลกั ษณะและ 8. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้ กระบวนการเกดิ หยาดน้ำฟ้า คำถามดงั ต่อไปน้ี C5 การร่วมกันอภปิ รายและนำเสนอ 8.1 ฝนเกิดขึ้นได้อย่างไร (ฝนเกิดจากละอองน้ำในเมฆชนกันและ ข้อมลู เกยี่ วกบั ลักษณะและกระบวนการ รวมตัวกันมีขนาดใหญ่ ข้ึนจนมีน้ำหนักมากเกินกว่าที่ เกิดหยาดนำ้ ฟ้า บรรยากาศจะพยงุ ไว้ได้ ก็จะตกลงมายังพน้ื โลก) C6 การนำเสนอขอ้ มูลจากแบบจำลอง 8.2 หิมะเกิดข้ึนได้อย่างไร (หิมะเกิดจากไอน้ำในอากาศซึ่งมีสถานะ เก่ยี วกับลกั ษณะและกระบวนการเกิด เป็นแก๊สจะระเหิดกลับเปล่ียนสถานะเป็นผลึกน้ำแข็งและตก หยาดนำ้ ฟ้าในรูปแบบแผนภาพหรอื ลงมาบนพ้นื ผิวโลก) รปู แบบอืน่ ๆ ใหผ้ อู้ นื่ เข้าใจ 8.3 ลูกเห็บเกิดขึ้นได้อย่างไร (ลูกเห็บเกิดจากหยดน้ำภายในเมฆท่ี เกิ ด ก าร แ ข็ งตั ว เป็ น น้ ำ แ ข็ งใน เม ฆ ฝ น ฟ้ า ค ะ น อ งห รื อ เม ฆ ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ คิวมูโลนิมบัสจะถูกพัดขึ้นลงในเมฆ มีการรวมตัวกับหยดน้ำ คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว หรือผลึกนำ้ แข็งทำให้เกิดการพอกตัวมีขนาดใหญ่ข้ึนเป็นช้นั ๆ คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน คล้ายหัวหอม เมื่อถูกพัดขึ้นไปในระดับท่ีสูงและมีอุณหภูมิต่ำ คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง กว่า 0 องศาเซลเซียสหรือต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง และเม่ืออากาศ อดทน และรับฟังแนวความคิด ไม่สามารถพยุงรับน้ำหนักไว้ได้ก็จะตกลงสู่พื้นโลกในลักษณะ ของนักเรียน เป็นก้อนนำ้ แขง็ ) 9. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตอบหรือซักถามในสิ่งท่ีอยากรู้เพ่ิมเติม เกี่ยวกับการฝน หิมะ และลูกเห็บ จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลง ขอ้ สรุปวา่ ฝนเกดิ จากละอองนำ้ ในเมฆรวมตัวกนั และตกลงส่พู น้ื โลก ในสถานะของเหลว หิมะเกิดจากไอน้ำในอากาศเปล่ียนเป็นผลึก น้ำแข็ง และได้รวมตัวกันจนมีน้ำหนักมากขึ้นจนเกินกว่าอากาศจะ พยุงไว้จึงตกลงมา ลูกเห็บเกิดจากหยดน้ำหรือผลึกน้ำแข็งในเมฆ คิวมูโลนิมบัส ที่ถูกกระแสอากาศพัดข้ึนลงเกิดการพอกตัวของ น้ำแข็งเป็นชั้น ๆ คล้ายหัวหอม จนมีขนาดใหญ่แล้วตกลงสู่พื้นโลก ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คูม่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จกั ร 72 ทั้งฝน หิมะ และลูกเห็บ ล้วนเป็นหยาดน้ำฟ้า เพราะเป็นน้ำใน การเตรยี มตัวลว่ งหน้าสำหรบั ครู สถานะต่าง ๆ ทตี่ กจากฟ้ามายงั พ้นื โลก (S13) เพอื่ จัดการเรียนรู้ในครง้ั ถัดไป 10. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจ ใช้คำถามเพมิ่ เติมในการอภปิ รายเพือ่ ใหไ้ ดแ้ นวคำตอบทถ่ี ูกต้อง ในคร้งั ถัดไป นักเรยี นจะได้เรยี น 11. นักเรียนอ่าน ส่ิงที่ได้เรียนรู้ และเปรียบเทียบกับข้อสรุปที่ได้จาก เรื่องที่ 4 การหมุนเวียนของน้ำ ครเู ตรยี ม การอภปิ ราย น้ำท่อี ยใู่ นภาชนะตา่ ง ๆ เช่น น้ำในขวด 12. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเก่ียวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ น้ำดมื่ พลาสติก เพ่ือให้นักเรยี นสังเกต เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากน้ันครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน และอภปิ รายโดยใชค้ ำถามต่าง ๆ ในการ นำเสนอคำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนร่วมกัน ตรวจสอบความรูข้ องนักเรยี น อภปิ รายเกยี่ วกบั คำถามท่ีนำเสนอ 13. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างในข้ันตอน ใด แลว้ ใหบ้ นั ทกึ ในแบบบันทกึ กิจกรรม หนา้ 24 14. นักเรียนร่วมกนั อ่านรู้อะไรในเรอ่ื งน้ี ในหนงั สอื เรียน หนา้ 35 ครนู ำ อภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับส่ิงท่ีได้เรียนรู้ในเรื่องนี้ จากน้ัน ครูกระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเนื้อเรื่อง ซึ่งเป็น คำถามเพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนเน้ือหาในบทถัดไป ดังนี้ “ลองคิด ดูสวิ ่า การเกิดหยาดน้ำฟา้ เป็นการหมุนเวียนของน้ำหรือไม่ และการ หมุนเวียนของน้ำคืออะไร มีลักษณะอย่างไร เราจะมาเรียนรู้กัน ต่อไป” นักเรียนสามารถตอบตามความเข้าใจของตนเอง ซ่ึงจะหา คำตอบได้จากการเรยี นในบทต่อไป สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
73 คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจักร แนวคำตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม สบื ค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดฝน หมิ ะ และลกู เห็บ หยาดนำ้ ฟ้า แบง่ เป็น ฝน หมิ ะ ลกู เห็บ มีลกั ษณะเปน็ มลี ักษณะเป็น มลี ักษณะเปน็ หยดนำ้ ผลึกน้ำแข็ง ก้อนนำ้ แข็งเปน็ ชั้น ๆ คล้าย มสี ถานะเป็นของเหลว มสี ถานะเปน็ ของแขง็ หัวหอม มสี ถานะเปน็ ของแข็ง เกดิ จาก เกดิ จาก เกดิ จาก ละอองน้ำในเมฆชนกนั และ ไอนำ้ ในอากาศซ่งึ มสี ถานะ หยดนำ้ หรอื ผลกึ น้ำแข็งใน รวมตวั กันมีขนาดใหญข่ น้ึ เปน็ แก๊สระเหดิ กลบั เมฆควิ มโู ลนิมบัส จนมีนำ้ หนักมากเกนิ กว่าท่ี บรรยากาศจะพยุงไวไ้ ด้ เปลีย่ นสถานะเป็นของแข็ง ท่ถี ูกกระแสอากาศพดั ขึน้ ลง จบั ตวั กนั เป็นผลึกนำ้ แขง็ เกดิ การพอกตวั ของน้ำแขง็ แล้วตกลงมาส่พู น้ื โลก แล้วตกลงมาสพู่ ้ืนโลก เปน็ ชนั้ ๆ จนมขี นาดใหญ่ ข้ึนแล้วตกลงมาส่พู ืน้ โลก หมายเหตุ ผลการบันทกึ ขนึ้ อยกู่ บั ผลการทำกิจกรรมของนกั เรยี นแต่ละคนซ่งึ อาจแตกตา่ งไปจากตัวอยา่ ง ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จักร 74 ฝน หมิ ะ และลกู เห็บ เกิดจากละอองน้ำในเมฆรวมตัวกันและตกจากทอ้ งฟ้า ลงสู่พืน้ โลกเหมือนกัน แตฝ่ นจะเกิดจากละอองนำ้ ในเมฆรวมตัวกันและตก ลงสู่พนื้ โลกในสถานะของเหลว ลูกเห็บเกิดจากหยดนำ้ ทเ่ี ปล่ียนสถานะเปน็ น้ำแข็งแล้วถกู พายุพดั วนซำ้ ไปซ้ำมาในเมฆควิ มูโลนมิ บัสจนเปน็ กอ้ นนำ้ แข็ง ขนาดใหญ่ แลว้ ตกลงมาสู่พื้นโลก หิมะเกิดจากไอน้ำในอากาศระเหดิ กลับ แลว้ จบั ตวั กนั เปน็ ผลึกนำ้ แขง็ แล้วตกลงมาสู่พน้ื โลก ในประเทศไทยลกู เหบ็ มกั เกิดมากในภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ในช่วงฤดูร้อนระหวา่ งเดือนกมุ ภาพนั ธจ์ นถงึ เดอื นพฤษภาคม ฝนเกิดจากละอองน้ำในเมฆชนกันและรวมตัวกันและตกลงสพู่ ื้นโลกในสถานะ ของเหลว ลูกเห็บเกดิ จากหยดน้ำหรือผลกึ นำ้ แขง็ ในเมฆคิวมโู ลนมิ บสั ทถ่ี ูกกระแส อากาศพดั ขน้ึ ลงเกิดการพอกตัวของน้ำแขง็ แล้วตกลงสพู่ ื้นโลก หิมะเกดิ จาก ไอนำ้ ในอากาศระเหิดกลบั แล้วจบั ตัวกนั เปน็ ผลกึ น้ำแขง็ แลว้ ตกลงสู่พ้นื โลก ฝน หมิ ะ และลูกเห็บ เปน็ หยาดนำ้ ฟา้ เพราะเปน็ น้ำในสถานะตา่ ง ๆ ทต่ี กจาก ทอ้ งฟ้ามายังพนื้ โลก แต่ฝน หิมะ ลกู เหบ็ มกี ระบวนการเกดิ ทแี่ ตกต่างกนั สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
75 คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จักร คำถามของนักเรยี นที่ต้ังตามความอยากร้ขู องตนเอง ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จกั ร 76 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมนิ การเรียนร้ขู องนกั เรยี นทำได้ ดงั นี้ 1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภิปรายในชน้ั เรียน 2. ประเมินการเรียนรูจ้ ากคำตอบของนกั เรียนระหว่างการจดั การเรยี นร้แู ละจากแบบบันทึกกิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกจิ กรรมของนกั เรียน การประเมินจากการทำกจิ กรรมท่ี 3 ฝน หมิ ะ ลูกเหบ็ เกดิ ไดอ้ ย่างไร ระดับคะแนน 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ รหสั สิ่งทปี่ ระเมนิ ระดับคะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S6 การจดั กระทำและส่อื ความหมายขอ้ มลู S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรุป ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C2 การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ C4 การส่ือสาร C5 ความร่วมมอื C6 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร รวมคะแนน สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
77 คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วัฏจกั ร ตาราง แสดงการวิเคราะหท์ ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรต์ ามระดับความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ ดงั นี้ ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2) S6 การจดั กระทำ การนำข้อมูลจาก สามารถนำข้อมูลจากการ สามารถนำข้อมูลจากการ สามารถนำข้อมูลจากการ และส่อื ความหมาย การสืบค้นข้อมูล สืบค้นข้อมูลและอ่านใบ สืบ ค้น ข้อมูลและอ่าน ใบ สืบค้นข้อมูลและอ่านใบ ขอ้ มลู และอ่านใบความรู้ ความรู้เร่ือง หยาดน้ำฟ้า ความรู้เร่ือง หยาดน้ำฟ้า ความรู้เร่ือง หยาดน้ำฟ้า เรื่อง หยาดน้ำฟ้า มาออกแบบการนำเสนอ มาออกแบบการนำเสนอ มาออกแบบการนำเสนอ มาออกแบบ การ ข้อมูลได้อย่างถูกต้องและ ข้อมูลได้อย่างถูกต้องและ ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง แต่ นำเสนอขอ้ มลู ครบถว้ น ด้วยตนเอง ครบถ้วน จากการชี้แนะของ ไม่ครบถ้วน แม้ว่าครูหรือ ครูหรือผ้อู ื่น ผู้อ่ื น ช่ วยแ น ะน ำห รือ ชี้แนะ S13 การ การตีความหมาย ส าม ารถ ตี ค ว าม ห ม าย สามารถตีความหมายข้อมูล สามารถตีความหมาย ตีความหมายข้อมูล และลงข้อสรุป ข้ อ มู ล แ ล ะ ล ง ข้อมูลและลงข้อสรุปจาก และลงข้อสรุปจากการสืบค้น ข้อมูลและลงข้อสรุปจาก ข้ อ ส รุป จ าก ก าร การสืบค้นข้อมูลและอ่าน ข้อมูลและอ่านใบความรู้ได้ การสืบค้นข้อมูลและอ่าน สืบค้นข้อมูลและ ใบความรู้ได้อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง โดยอาศัยการ ใบความรไู้ ด้เพียงบางสว่ น อ่านใบความรู้ได้ว่า ด้วยตน เองว่าฝน หิม ะ ชี้แนะของครูหรือผู้อ่ืนว่าฝน ว่าฝน หิมะ และลูกเห็บ ฝ น หิ ม ะ แ ล ะ และลูกเห็บ เป็นหยาดน้ำ หิมะ และลูกเห็บ เป็นหยาด เป็นหยาดน้ำฟ้าเพราะ ลูกเห็บ เป็นหยาด ฟ้าเพราะเป็นน้ำในสถานะ นำ้ ฟ้าเพราะเป็นนำ้ ในสถานะ เป็นนำ้ ในสถานะต่าง ๆ ที่ น้ำฟ้าเพราะเป็นน้ำ ต่าง ๆ ที่ตกจากท้องฟ้า ต่าง ๆ ท่ีตกจากท้องฟ้ามายัง ตกจากท้องฟ้ามายังพื้น ในสถานะต่าง ๆ ที่ มายังพื้นโลก แต่ฝน หิมะ พื้นโลก แต่ฝน หิมะ ลูกเห็บ โลก แต่ฝน หิมะ ลูกเห็บ ต ก จ า ก ท้ อ ง ฟ้ า ลกู เห็บมีกระบวนการเกิดที่ มีกระบวนการเกิดท่ีแตกต่าง มี ก ระ บ ว น ก ารเกิ ด ที่ มายังพื้นโลก แต่ แตกตา่ งกนั กัน แ ต ก ต่ า ง กั น แ ม้ ว่ า จ ะ ได้ ฝน หิมะ ลูกเห็บมี รับคำชี้แนะจากครูหรือ กระบวนการเกิดท่ี ผอู้ น่ื แตกต่างกัน ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจกั ร 78 ตาราง แสดงการวเิ คราะห์ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ตามระดบั ความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใชเ้ กณฑก์ ารประเมิน ดังนี้ ทกั ษะแห่ง รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรุง (1) C2 การคิดอย่างมี ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ สามารถวิเคราะห์และ ส าม า ร ถ วิ เค ร า ะ ห์ แ ล ะ สามารถวิเคราะห์และอภิปราย วจิ ารณญาณ อภิปรายการเกิดฝน หิมะ อภิปรายการเกิดฝน อภิปรายการเกิดฝน หิมะ การเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บได้ และลกู เห็บได้ หิมะ และลูกเห็บ ได้ และลูกเห็ บ ได้ จากการ อย่างถูกต้องบางส่วน แม้ว่าครู ดว้ ยตนเอง ชี้แนะของครูหรือผู้อ่ืน หรือ หรอื ผู้อนื่ ช่วยแนะนำหรือช้ีแนะ มีการเพม่ิ เติมความคิดเหน็ C4 การสอ่ื สาร การนำเสนอข้อมูลจาก สามารถนำเสนอจาก สามารถนำเสนอจากการ สามารถนำเสนอจากการสืบค้น การสืบค้นข้อมูลและอ่าน การสืบค้นข้อมูลและ สื บ ค้ น ข้ อ มู ล แ ล ะ อ่ าน ข้ อ มู ล แ ล ะ อ่ า น ใบความรู้เก่ียวกับการ อ่านใบความรู้เกี่ยวกับ ใบความรู้เกี่ยวกับการเกิดฝน ใบความรู้เก่ียวกับการเกิด ฝน เกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ การเกิดฝน หิมะ และ หิมะ และลูกเห็บ ครอบคลุม หิ ม ะ แ ล ะ ลู ก เห็ บ ไม่ โดยใช้คำพูดเพ่ือให้ผู้อ่ืน ลู ก เห็ บ ค รอ บ ค ลุ ม เน้ือหาเพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้ ครอบคลุมเน้ือหาเพ่ือให้ผู้อ่ืน เขา้ ใจ เนื้ อ ห า เพื่ อ ให้ ผู้ อ่ื น จากการชี้แนะของครูหรือผู้อื่น เข้าใจได้ แม้ว่าจะได้รับคำช้ีแนะ เขา้ ใจได้ ด้วยตนเอง หรอื มีการเพิม่ เตมิ ความคิดเหน็ จากครหู รอื ผู้อ่นื C5 ความรว่ มมือ การทำงานร่วมกับผู้อ่ืน สามารถทำงานร่วมกับ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืนใน ในการรวบรวมข้อมูล ผู้อ่ืนในการรวบรวมข้อมูล ใน ก า ร ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล การรวบรวมข้อมูล บันทึกผล บันทึกผล นำเสนอผล บันทึกผล นำเสนอผล บนั ทึกผล นำเสนอผล แสดง นำเสนอผล แสดงความคิดเห็น แสดงความคิดเห็นและ แสดงความคิดเห็นและ ความคิดเห็นและอภิปราย และอภิปรายการเกิดฝน หิมะ อภิปรายการเกิดฝน หิมะ อภิปรายการเกิดฝน หิมะ การเกิดฝน หิมะ ลูกเห็บ ลูกเห็บ รวมท้ังยอมรับความ ลูกเห็บ รวมทั้งยอมรับ ลูกเห็บ รวมทั้งยอมรับ รวมท้ังยอมรับความคิดเห็น คิดเห็นของผู้อ่ืน ในบางช่วงเวลา ความคดิ เห็นของผ้อู ่ืน ความคิดเห็นของผู้อื่น ของผู้อ่ืน บางช่วงเวลาท่ีทำ ท่ีทำกิจกรรม แต่ไม่ค่อยสนใจใน ตง้ั แตเ่ ริม่ ต้นจนสำเรจ็ กจิ กรรม ความคดิ เหน็ ของผอู้ ่นื C6 การใช้ การนำเสนอข้อมูลจาก สามารถนำเสนอข้อมูล สามารถนำเสนอข้อมูลจาก สามารถนำเสนอข้ อมู ลจาก เทคโนโลยี สารสนเทศและ แบบจำลองเกี่ยวกับการ จากแบบจำลองเกี่ยวกับ แบบจำลองเก่ียวกับการเกิด แบบจำลองเกี่ยวกับการการเกิด การสือ่ สาร เกิดฝน หิมะ ลูกเห็บ ใน การเกิดฝน หิมะ ลูกเห็บ ฝน หิมะ ลูกเห็บ ในรูปแบบ ฝน หิมะ ลูกเห็บ ในรูปแบบ รูปแบบแผนภาพหรือ ในรูปแบบแผนภาพหรือ แผนภาพหรือรูปแบบอื่น ๆ แผนภาพหรือรูปแบบอื่น ๆ ไม่ รูปแบบอ่ืน ๆ ให้ ผู้อื่น รูปแบบอน่ื ๆ ครอบคลุม ครอบคลุมเน้ือหาเพ่ือให้ผู้อื่น ครอบคลุมเนื้อหาเพ่ือให้ผู้อ่ืน เขา้ ใจ เนื้อหาเพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจ เข้าใจ จากการชี้แนะของครู เข้าใจ แม้ว่าจะได้รับคำแนะนำ ได้ ด้วยตนเอง หรือผอู้ ่นื จากครูหรอื ผอู้ นื่ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
79 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 วัฏจกั ร เรอื่ งท่ี 4 การหมนุ เวยี นของน้ำ ในเร่ืองนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับการหมุนเวียน ของน้ำระหว่างน้ำผิวดิน น้ำใต้ดิน น้ำในบรรยากาศ และ น้ำจากกิจกรรมต่าง ๆ ของสิ่งมชี ีวิต จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ อธบิ ายลกั ษณะและการเกดิ วัฏจักรน้ำ โดยใช้แบบจำลอง เวลา 3 ช่วั โมง วัสดุ อุปกรณ์สำหรบั ทำกจิ กรรม กระดาษปรูฟ๊ สีเมจกิ ลกู เต๋าวัฏจักรน้ำ อปุ กรณ์ท่ใี หส้ ัญญาณ เชน่ นกหวดี สอ่ื การเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี น ป.5 เล่ม 2 หน้า 36 - 41 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.5 เลม่ 2 หน้า 25 - 29 ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจกั ร 80 แนวการจดั การเรียนรู้ (60 นาที) ข้ันตรวจสอบความรู้ (20 นาที) 1. ตรวจสอบความรูเ้ ดิมเกี่ยวกับการหมุนเวยี นของน้ำ โดยครูนำน้ำ ในการตรวจสอบความรู้ ครู ที่อยู่ในภาชนะต่าง ๆ เช่น แก้ว ขวด มาให้นักเรียนสังเกต และ เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนและ ยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวน นำอภปิ รายโดยใช้คำถาม ดังนี้ ให้นักเรียนไปหาคำตอบด้วยตนเอง 1.1 นักเรียนคิดว่าน้ำที่นักเรียนเห็นมาจากแหล่งน้ำใดได้บ้าง จากการอ่านเนื้อเรอื่ ง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจซึ่งคำตอบท่ีครูควรรู้คือ แหล่งน้ำท่ีเป็นไปได้ เช่น น้ำบาดาล น้ำประปา น้ำบ่อ น้ำ คลอง) 1.2 น้ำสามารถเปลี่ยนไปอยู่ท่ีอ่ืนได้หรือไม่ อย่างไร (นักเรียน ตอบตามความเขา้ ใจ) 2. ครูเช่ือมโยงความรู้เดิมของนักรียนสู่กิจกรรมท่ี 4 โดยใช้คำถาม ว่า อนุภาคนำ้ มีการหมนุ เวยี นหรอื ไม่ อยา่ งไร ขั้นฝกึ ทักษะจากการอา่ น (20 นาท)ี 3. ครใู ห้นักเรยี นอ่านชื่อเรื่องและคำถามในคิดก่อนอา่ น ในหนังสือ ถ้ า นั ก เรี ย น ไม่ ส า ม า ร ถ ต อ บ เรียนหน้า 36 แล้วรว่ มกนั อภิปรายในกลุ่มเพื่อช่วยกันหาคำตอบ คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว ตามความเข้าใจของกลุ่ม ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบน คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด กระดานเพ่ือใช้เปรียบเทียบคำตอบภายหลงั การอ่านเร่ือง อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน แ ล ะ รั บ ฟั งแ น ว ค ว าม คิ ด ข อ ง 4. นักเรียนอ่านคำสำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หาก นักเรียน นกั เรยี นอ่านไม่ได้ ครคู วรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชกั ชวน นักเรยี นอธบิ ายความหมายของคำสำคัญจากเนือ้ เร่ืองท่ีจะอา่ น 5. นักเรียนอ่านเน้ือเรื่องในหนังสือเรียนหน้า 36 โดยครูฝึกทักษะ การอ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของ นักเรียน ครูใช้คำถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดยใช้คำถามดงั นี้ 5.1 น้ำด่ืมในขวดมาจากไหน (มาจากแหล่งน้ำต่าง ๆ เช่น มหาสมทุ ร แม่นำ้ ) 5.2 เม่ือน้ำได้รับความร้อนจะเป็นอย่างไร (ระเหยเป็นไอน้ำลอย ขึน้ ไปบนท้องฟ้า) 5.3 เม่ืออุณหภูมิของอากาศลดลงจะส่งผลต่อไอน้ำท่ีอยู่ใน อากาศอย่างไร (เม่ืออุณหภูมิของอากาศลดลง ไอน้ำใน สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
81 คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จกั ร อากาศควบแน่นเป็นละอองน้ำและรวมตัวกันตกลงมาเป็น การเตรยี มตัวล่วงหนา้ สำหรับครู ฝนและไหลไปตามทีต่ า่ ง ๆ) เพอื่ จัดการเรยี นร้ใู นครง้ั ถดั ไป 5.4 ทำอย่างไรเราจะสามารถนำน้ำจากแหล่งต่าง ๆ มาด่ืมได้ อย่างปลอดภัย (สามารถนำน้ำจากแหล่งต่าง ๆ มาผ่าน ในครง้ั ถดั ไป นกั เรยี นจะได้ทำ กระบวนการทท่ี ำให้น้ำสะอาดข้ึน) กจิ กรรมท่ี 4 วฏั จักรนำ้ เปน็ อยา่ งไร ข้นั สรุปจากการอ่าน (20 นาท)ี ครคู วรเตรยี มตัวล่วงหน้า ดงั นี้ 1. พิมพล์ กู เตา๋ วฏั จักรนำ้ เปน็ ภาพสี 6. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องท่ีอ่านซ่ึงควรสรุปได้ว่า น้ำที่เรา ดม่ื มกี ารหมนุ เวยี นจากแหล่งนำ้ ต่าง ๆ ได้ พร้อมทง้ั ตดั และประกอบเปน็ ลูกเต๋า 7. นักเรยี นตอบคำถามในรู้หรอื ยัง ในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม หนา้ 25 2. ครคู วรสาํ รวจบริเวณทโ่ี ลง่ เพ่ือ 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคำตอบของ จดั ทาํ ฐานที่อยู่ของนำ้ 9 ฐาน (ตาม ลกู เตา๋ วัฏจักรนำ้ ) โดยติดช่อื ที่อยู่ นกั เรียนในรหู้ รอื ยัง ของน้ำทฐี่ านนั้น ๆ และนำลกู เต๋า 9. ครชู กั ชวนนกั เรยี นลองตอบคำถามท้ายเรอ่ื งทอี่ ่าน โดยใช้คำถาม วัฏจักรน้ำทตี่ รงกับชอ่ื ฐานไปวางไว้ ที่ฐาน ถ้าไม่มีสถานท่ีครูอาจจัดโต๊ะ ว่าน้ำบนโลกมีการหมุนเวียนไปยังท่ีต่าง ๆ เป็นวัฏจักร น้ำจะ ในห้องเรยี นให้เหมาะสมท่จี ะมพี นื้ ที่ กลบั มาที่เดมิ ไดห้ รอื ไม่ อย่างไร ทํากจิ กรรม ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดานโดยยังไม่เฉลยคำตอบแต่ 3. ครูอาจเตรียมลูกเต๋าไวท้ ฐ่ี านที่อยู่ ชักชวนใหน้ ักเรยี นหาคำตอบจากการทำกิจกรรม ของน้ำมากกวา่ 1 อนั ขึ้นอยู่กบั จำนวนนกั เรียนท่ีอาจไปอยู่ท่ีฐาน น้นั ๆ ในแตล่ ะรอบการเลน่ เกม เพือ่ ประหยัดเวลาในการทำ กิจกรรม (ซึ่งฐานทจ่ี ะมีนกั เรียน มากกวา่ ฐานอื่น ๆ ไดแ้ ก่ มหาสมุทร และ เมฆ) ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจกั ร 82 แนวคำตอบในแบบบนั ทกึ กิจกรรม นำ้ มีการหมนุ เวียนจากแหลง่ น้ำตา่ ง ๆ โดยนำ้ จะระเหยกลายเปน็ ไอแลว้ รวมตวั ควบแน่นเป็นละอองน้ำเป็นนำ้ ฝนตกลงมาและไหลไปตามที่ต่าง ๆ บางสว่ นสะสม บนแหลง่ น้ำผิวดิน แต่บางส่วนอาจสะสมในแหล่งนำ้ ใตด้ ิน สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
83 คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วัฏจกั ร กจิ กรรมท่ี 4 วฏั จกั รนำ้ เป็นอยา่ งไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้ใช้แบบจำลอง โดยการเล่น เกมวฏั จกั รน้ำ เพ่ืออธิบายลักษณะและการเกดิ วัฏจกั รนำ้ เวลา 2 ชวั่ โมง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ อธบิ ายลักษณะและการเกิดวัฏจกั รนำ้ โดยใชแ้ บบจำลอง วัสดุ อปุ กรณส์ ำหรบั ทำกจิ กรรม สิง่ ที่ครตู ้องเตรียม/กลุม่ 1. กระดาษปรู๊ฟ 1 แผน่ 2. สีเมจกิ 1 กล่อง 3. เทปใส 1 ม้วน ส่ิงท่ีครตู ้องเตรยี ม/ห้อง 1. ลกู เต๋าวัฏจกั รนำ้ 9 ลูก 2. อปุ กรณใ์ หส้ ญั ญาณ เช่น นกหวีด 1 ตวั สง่ิ ท่นี กั เรยี นตอ้ งเตรยี ม/กล่มุ - ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ส่ือการเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ S6 การจดั กระทำและสอื่ ความหมายข้อมลู 1. หนังสอื เรยี น ป.5 เลม่ 2 หน้า 37-40 S13 การตีความหมายข้อมลู และลงขอ้ สรุป 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.5 เล่ม 2 หนา้ 26-29 ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C4 การสอื่ สาร C5 ความร่วมมือ ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจกั ร 84 แนวการจัดการเรยี นรู้ ในการตรวจสอบความรู้ ครู เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับการหมุนเวียนของน้ำ โดยครูนำรูป เป็ น ส ำคั ญ แล ะยังไม่ เฉล ย นำ้ ตกมาให้นักเรยี นดู จากนน้ั ใหน้ ักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้คำถาม คำตอบใด ๆ ให้กับนักเรียน แต่ ดงั ตอ่ ไปนี้ ชักชวนนักเรียน ไปหาคำตอบที่ 1.1 การเปลี่ยนแปลงที่อยู่ของน้ำจากแหล่งหน่ึงไปยังอีกแหล่งหนึ่ง ถูกต้องจากกิจกรรมต่าง ๆ ใน เกิดข้ึนได้อย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจซ่ึงคำตอบที่ บทเรียนน้ี ครูควรรู้คือ น้ำจากแหล่งต่าง ๆ อาจมีการเปลี่ยนที่อยู่ โดยไหล จากท่ีหน่ึงไปยังอีกที่หนึ่งหรือน้ำอาจเปลี่ยนสถานะไปอยู่ตามที่ ต่าง ๆ) 1.2 การหมุนเวียนของนำ้ เป็นวัฏจักรได้หรือไม่ เพราะเหตุใด (นักเรยี น ตอบตามความเข้าใจ) 2. ครูเช่ือมโยงเข้าสู่กิจกรรมที่ 4 โดยกล่าวว่า การหมุนเวียนของ วัฏจกั รน้ำเปน็ อยา่ งไร นกั เรียนจะทราบได้โดยไปทำกจิ กรรมกัน 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น และร่วมกันอภิปราย เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจเก่ียวกบั จุดประสงค์ในการทำกจิ กรรม โดย ใชค้ ำถาม ดงั นี้ 3.1 กิจกรรมนน้ี ักเรยี นจะได้เรียนเร่อื งอะไร (วฏั จกั รนำ้ ) 3.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เร่ืองน้ีด้วยวิธีใด (สร้างแบบจำลองการเกิด วฏั จกั รน้ำ) 3.3 เม่ือเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (อธิบายลักษณะและการ เกิดวฏั จกั รน้ำ) 4. นักเรยี นบนั ทึกจุดประสงคล์ งในแบบบนั ทึกกิจกรรม หนา้ 26 และอ่าน ส่ิงท่ีต้องใช้ในการทำกิจกรรม ซึ่งถ้านักเรียนไม่รู้จักวัสดุ อุปกรณ์ บางอย่าง ครูควรนำสิ่งนั้นมาแสดงให้ดู หรือถ้านักเรียนไม่รู้วิธีการใช้ อุปกรณ์ ครคู วรแนะนำและสาธติ วธิ ีการใชอ้ ุปกรณ์ 5. นักเรียนอ่านทำอย่างไร โดยครูใช้วิธีฝึกอ่านท่ีเหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียน จากน้ันครูตรวจสอบความเข้าใจว่าจะทำ กิจกรรมอย่างไร จนนกั เรียนเข้าใจลำดบั การทำกจิ กรรม โดยใช้คำถาม ตอ่ ไปน้ี (ครอู าจช่วยเขยี นสรุปเปน็ ข้ันตอนสั้น ๆ บนกระดาน) 5.1 นักเรียนแต่ละคนสมมติว่าเป็นอะไร และจะต้องเข้าไปรวมกลุ่ม กันท่ีใดบ้าง (สมมติว่าเป็นอนุภาคน้ำ และจะต้องเข้าไปรวมกลุ่ม สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
85 คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จกั ร กันตามแหล่งน้ำต่าง ๆ ได้แก่ สัตว์ เมฆ ธารน้ำแข็ง น้ำใต้ดิน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ ทะเลสาบ มหาสมทุ ร พชื แม่น้ำ และดนิ ) ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทนี่ ักเรยี นจะ 5.2 จำนวนนักเรียนกลุ่มใดบ้างท่ีต้องมีเท่ากัน และกลุ่มใดบ้างท่ีไม่ เท่ากัน (จำนวนกลุ่มสัตว์ เมฆ ธารน้ำแข็ง น้ำใต้ดิน ทะเลสาบ ได้ฝึกจากการทำกิจกรรม พืช แม่น้ำ และดินต้องต้องแบ่งจำนวนนักเรียนกลุ่มละเท่า ๆ กนั ส่วนกลุ่มท่ไี มเ่ ทา่ กนั คือมหาสมุทร) S6 การนำข้อมลู การเล่นเกมวัฏจักรน้ำมา 5.3 นกั เรยี นจะเลน่ เกมอยา่ งไร ทำเปน็ เสน้ ทางการเดินทางของอนภุ าค (1. บันทึกช่ือแหล่งน้ำที่อยู่ เม่ือได้ยินสัญญาณนกหวีดก็เร่ิมเล่น น้ำได้ รอบท่ี 1 โดยทอดลกู เต๋า C4 การเลน่ เกมวฏั จกั รนำ้ โดยใช้ 2. อ่านคำสั่งในหน้าลูกเต๋าท่ีหงายข้ึน บันทึกช่ือแหล่งน้ำท่ีต้อง แบบจำลองตามวิธีทำในกจิ กรรม แลว้ ไปและเหตผุ ลท่ตี ้องเปลีย่ นท่ีอยู่ เขียนเส้นทางการเดินทางของอนภุ าคนำ้ 3. เมื่อได้ยินสัญญาณนกหวีดส้นั ๆ 2 ครง้ั ให้ปฏิบัติตามคำสงั่ ซึ่ง C5 การรว่ มกนั อภปิ รายเปรยี บเทยี บ บางคนอาจอย่ทู เี่ ดมิ เสน้ ทางการเดินของอนภุ าคนำ้ และ 4. บนั ทึกชื่อแหล่งน้ำท่ีอยูข่ องตนเองขณะน้นั เม่อื ได้ยนิ สัญญาณ วิเคราะห์กระบวนการเปลยี่ นทอี่ ยขู่ อง นกหวีด เร่ิมเล่นรอบที่ 2 โดยปฏิบัติเช่นข้อ 1.3 จากน้ีเล่นเกม อนภุ าคนำ้ ต่อไปจนครบ 9 รอบ) 5.4 เม่ือนักเรียนเล่นเกมครบ 9 รอบแล้ว ต้องทำอะไรต่อไป (แต่ละ ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ กลุ่มเขียนเส้นทางการเดินทางของอนุภาคน้ำแต่ละอนุภาคไป คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว ตามแหลง่ ตา่ ง ๆ ลงในกระดาษปรฟู๊ แผ่นเดียวกัน) คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน 5.5 หลังจากเขียนเส้นทางการเดินทางของอนุภาคน้ำแล้ว นักเรียน คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง ต้องทำอะไรต่อไป (ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบเส้นทางการ อดทน และรับฟังแนวความคิด เดินทางของอนุภาคน้ำ และวิเคราะห์กระบวนการเปล่ียนแปลง ของนกั เรยี น และแบบรูปการเปลี่ยนแปลงท่อี ยขู่ องอนภุ าคนำ้ ) 6. เมอ่ื นักเรียนเข้าใจวิธกี ารทำกิจกรรมในทำอย่างไรแลว้ ครูแจกวัสดุ อปุ กรณ์ และให้นักเรยี นลงมือปฏิบัติตามข้ันตอน 7. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถามดังตอ่ ไปนี้ 7.1 เม่ือเร่มิ เล่นเกมน้ีอนุภาคน้ำส่วนใหญ่อยู่ที่ใดสอดคล้องตามความ เป็นจริงในธรรมชาติหรือไม่ อย่างไร (อนุภาคน้ำส่วนใหญ่อยู่ท่ี มหาสมุทรซงึ่ สอดคล้องกบั ในธรรมชาต)ิ 7.2 ในแต่ละรอบอนุภาคน้ำแต่ละอนุภาคเปล่ียนแปลงท่ีอยู่ไปแหล่ง เดียวกันหรือไม่ อย่างไร (อนุภาคน้ำอาจไปยังแหล่งเดียวกันหรือ คนละแหล่งก็ได้ เชน่ อนุภาคน้ำจากแม่น้ำอาจไปยังเมฆเหมือนกัน หรืออาจไปทมี่ หาสมุทร หรอื สัตว์ หรือนำ้ ใตด้ นิ หรอื อื่น ๆ) ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คูม่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจักร 86 7.3 ในการเปลี่ยนแปลงที่อยู่ของอนุภาคน้ำแต่ละคร้ังต้องเปลี่ยน สถานะด้วยหรือไม่ (อาจเปลีย่ นสถานะหรือไมเ่ ปลีย่ นสถานะก็ได้ เช่น การเปล่ียนแหล่งท่ีอยู่จากแม่น้ำไปทะเลสาบ ไม่มี การเปลี่ยนแปลงสถานะ แต่การเปลี่ยนแหล่งที่อยู่จากเมฆไป ธารนำ้ แข็งมกี ารเปลย่ี นสถานะจากของเหลวไปเปน็ ของแขง็ ) 7.4 การเปล่ียนแปลงท่ีอยู่ของอนุภาคน้ำไปท่ีใดบ้างที่ต้องเปลี่ยน สถานะ ซึ่งควรได้คำตอบเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงที่อยู่ของน้ำ ซึง่ ตอ้ งเปล่ยี นแปลงสถานะ เชน่ - น้ำจากสัตว์ซ่ึงเป็นของเหลวต้องระเหยเป็นไอแล้วควบแน่น เป็นละอองน้ำซึ่งเป็นของเหลวอีกครั้งหนึ่งแล้วจึงไปจับตัวกัน เปน็ เมฆ - ละอองน้ำในเมฆรวมตัวกันตกลงมาเป็นฝน แล้วเปล่ียน สถานะ เป็นน้ำแข็งตามบริเวณพื้นดินที่หนาวจัดเกิดเป็น ธารน้ำแข็ง - ธารน้ำแข็ง มีการหลอมเหลวเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น น้ำท่ี หลอมเหลวออกมาไหลลงสแู่ ม่น้ำ - ธารน้ำแข็ง มีการหลอมเหลวเม่ืออุณหภูมิสูงขึ้น น้ำที่ ห ล อ ม เห ล ว อ อ ก ม า เกิ ด ก า ร ร ะ เห ย เป็ น ไอ น้ ำ แ ล ะ ไอ น้ ำ ควบแน่นเกิดเปน็ เมฆ - ธารน้ำแข็ง มีการหลอมเหลวเมื่ออุณหภูมิสูงข้ึน น้ำท่ี หลอมเหลวออกมาซึมลงสดู่ ิน - นำ้ ในมหาสมทุ รระเหยเป็นไอน้ำและไอน้ำควบแนน่ เกิดเปน็ เมฆ - พืชคายนำ้ แลว้ ระเหยเปน็ ไอนำ้ และไอน้ำควบแน่นเกิดเป็นเมฆ - นำ้ ในดินระเหยเป็นไอน้ำและไอน้ำควบแนน่ เกดิ เป็นเมฆ 7.5 การเปล่ียนแปลงที่อยู่ของอนุภาคน้ำไปท่ีใดบ้างที่ไม่เปลี่ยน สถานะ คำตอบจากการอภิปรายอาจมไี ด้หลายอยา่ ง เช่น - สตั วข์ ับน้ำออกจากรา่ งกายลงสู่ดนิ - ละอองน้ ำใน เมฆ เกิดการรวมตัวกัน แล้วตกเป็ น ฝน ลงสดู่ นิ - ละอองนำ้ ในเมฆเกิดการรวมตวั กนั แลว้ ตกลงสู่มหาสมุทร - ละอองน้ำในเมฆเกิดการรวมตัวกันเป็นหยดน้ำแล้วตกลงสู่ ทะเลสาบ - น้ำใต้ดนิ จะไหลลงในทะเลสาบ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
87 คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 วัฏจกั ร ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม - น้ำใตด้ นิ จะไหลลงในแม่นำ้ อ ย่ า ลื ม ใ ห้ นั ก เรี ย น ร่ ว ม กั น - สัตว์ดืม่ นำ้ ในทะเลสาบ อภปิ รายผลการทำกจิ กรรมที่ 1.2 - น้ำในทะเลสาบไหลลงส่แู ม่น้ำ ท ำอ ย่ างไรจึ งจ ะใช้ น้ ำอย่ าง - น้ำในทะเลสาบซมึ ลงส่ดู นิ ประหยัดและอนุรักษ์แหล่งน้ำใน - นำ้ ในแมน่ ้ำไหลลงสทู่ ะเลสาบ ท้องถิ่นได้ ตอนท่ี 1 ผลการใช้น้ำ - นำ้ ในแมน่ ้ำไหลลงสดู่ นิ อย่างประหยัดหลังจากท่ีร่วมกัน - น้ำในแมน่ ้ำไหลลงสู่มหาสมทุ ร ใช้น้ำอย่างประหยัดและปฏิบัติ - สตั วด์ ื่มนำ้ ในแม่น้ำ สมำ่ เสมอเปน็ เวลา 1 เดือน 7.6 เมื่อเล่นเกมครบ 9 รอบอนุภาคน้ำส่วนมากอยู่ท่ีแหล่งใด สอดคล้องตามท่ีเป็นจริงในธรรมชาติหรือไม่ (อนุภาคน้ำ สว่ นมากอยู่ทม่ี หาสมทุ ร สอดคล้องกบั ธรรมชาต)ิ 7.7 การเปลี่ยนแปลงท่ีอยู่ของน้ำจากแหล่งหน่ึงไปยังอีกแหล่งหนึ่งมี แบบรูปการเปลี่ยนแปลงท่ีคงที่หรือไม่ ให้ยกตัวอย่าง (การ เปล่ียนแปลงท่ีอยู่ของน้ำจากแหล่งหนึ่งไปยังอีกแหล่งหนึ่งจะมี แบบรูปการเปล่ียนแปลงคงท่ี เช่น การเปลี่ยนแปลงท่ีอยู่ของน้ำ จากเมฆไปยังมหาสมุทร จะเกิดขึ้นได้โดยละอองน้ำในเมฆจะ รวมตัวกันเป็นหยดน้ำ เมื่อมีขนาดใหญ่ข้ึนก็จะตกลงมาเป็นฝน ลงสู่มหาสมุทร ซึ่งแบบรูปนี้จะคงที่เสมอถ้าน้ำเปล่ียนแปลงท่ีอยู่ จากเมฆไปยังมหาสมุทร หรือถ้าน้ำเปล่ียนแปลงท่ีอยู่จาก ทะเลสาบไปเป็นเมฆ แบบรูปการเปล่ียนแปลงคือน้ำใน ทะเลสาบระเหยกลายเป็นไอ แล้วไอน้ำควบแน่นเป็นละอองน้ำ แล้วจบั ตัวกันเป็นเมฆ ซ่ึงแบบรปู การเปลีย่ นแปลงน้ีจะคงที่เสมอ ถ้าน้ำจากทะเลสาบจะเปลี่ยนที่อย่ไู ปเป็นเมฆ) 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นตอบหรือซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ การหมุ นเวียนของอนุ ภาค น้ ำ จากนั้ นร่วมกันอภิ ปรายและ ลงข้อสรุปว่า การหมุนเวียนของอนุภาคน้ำระหว่างแหล่งต่าง ๆ เป็น วัฏจักร มีการเปลี่ยนที่อยู่ของแหล่งน้ำจากแหล่งน้ำหนึ่งไปยังอีกแหล่ง หนึ่ง ซ่ึงอาจมีการเปล่ียนสถานะหรือไม่เปลี่ยนสถานะก็ได้ การเปล่ียนท่ี อยู่ของอนุภาคน้ำจากแหล่งน้ำเดิมไปยังแหล่งน้ำใหม่ไม่ว่าจะเกิดขึ้นท่ี บรเิ วณใดในโลกจะมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เป็นแบบรปู คงที่ (S13) 9. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้ คำถามเพิม่ เติมในการอภิปรายเพอื่ ให้ได้แนวคำตอบที่ถูกตอ้ ง ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจกั ร 88 10. นักเรียนอ่าน ส่ิงท่ีได้เรียนรู้ และเปรียบเทียบกับข้อสรุปท่ีได้จากการ อภิปราย 11. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเร่ืองท่ีสงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าช้ันเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เก่ียวกบั คำถามทน่ี ำเสนอ 12. ครูนำอภิปรายเพ่ือให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างในขนั้ ตอนใด แล้ว ใหบ้ นั ทกึ ในแบบบนั ทึกกจิ กรรม หนา้ 29 13. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเรื่องน้ี ในหนังสือเรียน หน้า 41 ครูอาจ แนะนำให้นักเรียนใช้แอปพลิเคชัน “AR วิทย์ ป.5” สำหรับการสังเกต ภาพเสมือนจริง (AR) ส่ือเสริมเพ่ิมความรู้ เรื่องการหมุนเวียนของน้ำ แล้วครูนำอภิปรายเพ่ือนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับส่ิงท่ีได้เรียนรู้ในเร่ืองนี้ จากน้ันครูกระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเนื้อเรื่อง ซ่ึง เป็นคำถามเพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรยี นเนื้อหาในบทถัดไป ดังนี้ “อยาก รู้หรือไม่ว่า นอกจากวัฏจักรน้ำแล้ว ยังมีวัฏจักรใดอีกบ้าง เราจะมา เรียนรกู้ ันต่อไป” นักเรียนสามารถตอบตามความเข้าใจของตนเอง ซึ่ง จะหาคำตอบได้จากการเรยี นในบทตอ่ ไป สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
89 คมู่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจกั ร แนวคำตอบในแบบบันทกึ กิจกรรม อธบิ ายลักษณะและการเกิดวัฏจักรนำ้ โดยใชแ้ บบจำลอง แมน่ ้ำ เมฆ อนภุ าคน้ำในแม่น้ำระเหยเป็นไอแลว้ ควบแน่น เมฆ ธารน้ำแขง็ เป็นละอองน้ำจบั ตวั กนั เปน็ เมฆ ธารน้ำแขง็ ธารน้ำแขง็ จไอนนม้ำีนใ้ำนหอนากักามศาเกปขลน้ึ ่ยี กนจ็ เะปต็นกผลลงกึ มนาำ้เปแ็นข็งหมิจะาสกะนสัน้ มเมต่อืัวเรปว็นมธตาวั รกนนั ำ้ แขง็ ธารนำ้ แข็ง นำ้ ใต้ดิน ธารนำ้ แขง็ แข็งตวั อยู่กบั ที่ นำ้ ใต้ดนิ ธารน้ำแขง็ หลอมเหลวแล้วไหลซึมลงสนู่ ้ำใต้ดนิ แม่นำ้ แมน่ ำ้ น้ำใต้ดนิ ไหลซมึ ลงสู่แม่นำ้ สตั ว์ สัตว์ สตั ว์ดม่ื นำ้ จากแม่น้ำ เมฆ เมฆ สตั ว์หายใจออกทำใหล้ ะอองนำ้ ระเหยออกจากร่างกายไปยงั เมฆ มหาสมุทร ละอองนำ้ ในเมฆควบแนน่ เป็นฝนตกลงสู่มหาสมทุ ร มหาสมุทร มหาสมุทร อนุภาคน้ำในมหาสมทุ รยังคงอยู่ในมหาสมุทร หมายเหตุ ผลการบนั ทึกขน้ึ อยกู่ บั ผลการทำกิจกรรมของนกั เรยี นแตล่ ะคนซ่งึ อาจแตกตา่ งไปจากตัวอยา่ ง ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จกั ร 90 อนุภาคนำ้ แต่ละอนุภาคอาจหมนุ เวียนไปแหลง่ เดียวกนั หรอื ไม่หมุนเวยี นไปแหลง่ เดียว กันก็ได้ เชน่ อนุภาคน้ำแตล่ ะอนภุ าคจากแมน่ ้ำอาจหมนุ เวยี นไปยังเมฆเหมอื นกัน หรืออาจหมนุ เวยี นไปยังมหาสมทุ ร หรอื สัตว์ หรอื น้ำใตด้ ิน หรอื อน่ื ๆ การหมนุ เวยี นของน้ำอาจมีหรอื ไมม่ ีการเปลย่ี นสถานะก็ได้ เชน่ นำ้ ในแมน่ ้ำไหลซมึ ลงใตด้ นิ หรอื ไหลลง มหาสมุทรจะไมม่ กี ารเปลีย่ นสถานะ แต่น้ำในแม่นำ้ ไปทีเ่ มฆจะมีการระเหยเปน็ ไอน้ำและไอน้ำควบแนน่ กลายเป็นเมฆซ่งึ มีการเปลีย่ นสถานะจากของเหลวเป็นแกส๊ และจากแก๊สเปล่ียนกลบั เป็นของเหลว อนภุ าคนำ้ บางอนภุ าคอาจกลับมาทีจ่ ุดเร่มิ ต้นไดห้ รอื อาจไมก่ ลับมายังจดุ เร่มิ ต้นกไ็ ด้ เชน่ น้ำในแม่น้ำ อาจหมนุ เวียนไปยังเมฆ ธารนำ้ แข็ง และกลบั มายงั แมน่ ำ้ ได้ หรอื นำ้ จากแมน่ ้ำอาจหมุนเวยี นไปยังเมฆ และไปสะสมอย่ใู นมหาสมทุ ร โดยไมก่ ลับมาทจ่ี ุดเรม่ิ ตน้ อนภุ าคน้ำมโี อกาสกลับมายังจดุ เร่มิ ตน้ ได้หากเล่นเกมวัฏจกั รนำ้ ตอ่ ไปเรอ่ื ย ๆ เพราะ การเปลีย่ นแปลงท่ีอยู่ของน้ำเปน็ วฏั จักร แตเ่ วลาในการเปลี่ยนแปลงทอี่ ยูข่ องนำ้ ไม่แน่นอน น้ำอาจกลบั มาตำแหน่งเดิมบนพนื้ โลกได้ เพราะน้ำมกี ารหมนุ เวยี นไปตามแหล่งต่าง ๆ แตม่ โี อกาสทีจ่ ะกลบั มาตำแหนง่ เดิมอยตู่ ลอด เพียงแตเ่ วลาท่ีใชใ้ นการกลบั มาของนำ้ ไปยงั ตำแหนง่ เดมิ บนพนื้ โลกอาจยาวนานแตกต่างกนั ในแต่ละคร้งั สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
91 คูม่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 วัฏจักร นำ้ ของโลกส่วนใหญ่อยใู่ นมหาสมุทร และการเลน่ เกมนสี้ อดคล้องกับขอ้ เท็จจริง เพราะในการเล่นเกมพบวา่ นำ้ สว่ นใหญอ่ ย่ใู นมหาสมุทร แบบรูปการเปลยี่ นแปลงทอี่ ยขู่ องน้ำมีทัง้ การเปล่ียนแปลงทีอ่ ย่โู ดยไม่มีการเปลี่ยน สถานะและมกี ารเปลย่ี นสถานะ มแี บบรูปการเปล่ยี นแปลงคงท่ี เช่น การเปลย่ี นแปลงท่ีอยู่ของนำ้ จากเมฆไปยังมหาสมทุ ร จะเกิดขน้ึ ได้ โดยละอองนำ้ ในเมฆจะรวมตวั กนั เป็นหยดนำ้ เม่ือมีขนาดใหญ่ขนึ้ ก็จะตกลงมาเปน็ ฝนลงสมู่ หาสมทุ ร แบบจำลองนี้เหมือนวัฏจกั รน้ำทเ่ี กิดข้นึ ในธรรมชาติคือ อนภุ าคนำ้ เปลี่ยนแปลงทอ่ี ยไู่ ปตาม แหล่งต่าง ๆ เหมอื นกนั และแตกต่างกนั คอื ในวฏั จกั รน้ำในธรรมชาติ มีการเปลี่ยนแปลงที่ อยู่ของนำ้ ไปตามแหล่งต่าง ๆ ใชเ้ วลานานกว่าเวลาทใ่ี ช้ในการเลน่ เกม อนภุ าคนำ้ มกี ารเปลย่ี นแปลงทอ่ี ยูจ่ ากแหล่งหนึง่ ไปยังอกี แหล่งหนง่ึ บางอนุภาคสามารถกลบั มายงั แหลง่ เดมิ ได้ บางอนภุ าคไมไ่ ด้กลับมายงั แหล่งเดมิ และเมอ่ื เลน่ บทบาทสมมตคิ รบ 9 รอบ แหลง่ น้ำท่ีมอี นภุ าคน้ำมากทส่ี ุดคือมหาสมุทร วัฏจักรน้ำ เกดิ จากการหมุนเวียนทอี่ ยขู่ องน้ำอยา่ งตอ่ เนอ่ื งระหว่างนำ้ จากแหล่งต่าง ๆ ท้ังนำ้ ผวิ ดิน น้ำใต้ดนิ และนำ้ ในอากาศ โดยการหมนุ เวียนเปล่ียนแปลงที่อยู่ของนำ้ จะมแี บบรูปคงท่ี คอื ถา้ อนุภาคนำ้ จากแหลง่ หนงึ่ ไป ยงั อกี แหลง่ น้ำหนึ่ง ไมว่ ่าจะเกดิ ท่ีบริเวณใดหรือเกดิ ขนึ้ เมอื่ ใด จะมีกระบวนการเปล่ยี นแปลงทีเ่ ป็นแบบรปู คงที่ ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจกั ร 92 คำถามของนกั เรยี นท่ตี ้ังตามความอยากรขู้ องตนเอง สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
93 คูม่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จกั ร ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
94 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จกั ร
95 คูม่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จกั ร ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจักร 96 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
97 คูม่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จกั ร ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจักร 98 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
99 คูม่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จกั ร ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจกั ร 100 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
101 คมู่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จกั ร ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจกั ร 102 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรียนรู้ของนักเรยี นทำได้ ดังน้ี 1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภิปรายในชน้ั เรยี น 2. ประเมนิ การเรียนรู้จากคำตอบของนกั เรยี นระหวา่ งการจดั การเรียนรแู้ ละจากแบบบันทึกกิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จากการทำกจิ กรรมของนักเรยี น การประเมนิ จากการทำกจิ กรรมท่ี 4 วัฏจกั รน้ำเป็นอย่างไร ระดบั คะแนน 3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรงุ รหสั สิง่ ทปี่ ระเมนิ ระดับคะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S6 การจัดกระทำและส่อื ความหมายข้อมูล S13 การตคี วามหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรุป ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C4 การสื่อสาร C5 ความร่วมมือ รวมคะแนน สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
103 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จักร ตาราง แสดงการวิเคราะห์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ตามระดบั ความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมิน ดงั น้ี ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2) S13 การ ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย ส าม ารถ ตี ค ว าม ห ม าย สามารถตีความหมายข้อมูล ส าม ารถ ตี ค ว าม ห ม าย ตีความหมายข้อมูล ข้อมูลและลงข้อสรุป ข้อมูลและลงข้อสรุปจาก และลงข้อสรุปจากการเล่น ข้อมูลและลงข้อสรุปจาก และลงข้อสรปุ จากการเล่นเกมวัฏ การเล่นเกมวัฏจักรน้ำได้ เกมวัฏจักรน้ำได้อย่างถูกต้อง การเล่นเกมวัฏจักรน้ำได้ จักรน้ำได้ว่าวัฏจกั รน้ำ อย่างถูกต้องด้วยตนเอง โดยอาศัยการช้ีแนะของครู เพียงบางส่วนว่าวัฏจักรน้ำ เกิดจากการหมุนเวียน ว่าวัฏจักรน้ำ เกิดจากการ หรือผู้อ่ืนว่าวัฏจักรน้ำ เกิด เกดิ จากการหมนุ เวียนที่อยู่ ที่ อ ยู่ ข อ ง น้ ำ อ ย่ า ง หมุนเวียนที่อยขู่ องนำ้ อยา่ ง จากการหมุนเวียนที่อยู่ของ ข อ งน้ ำ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ต่อเนื่องระหว่างน้ำ ต่อเนื่องระหว่างน้ำจาก น้ำอย่างต่อเนื่องระหว่างน้ำ ระหว่างน้ำจากแหล่งต่าง จากแหล่งต่าง ๆ ทั้ง แหล่งต่าง ๆ ทั้งน้ำผิวดิน จากแหล่งต่าง ๆ ท้ังน้ำผิวดิน ๆ ทั้งน้ำผิวดิน น้ำใต้ดิน น้ ำผิวดิน น้ ำใต้ดิ น น้ำใต้ดิน และน้ำในอากาศ น้ำใต้ดิน และน้ำในอากาศ และน้ำในอากาศ โดยการ และน้ำในอากาศ โดย โ ด ย ก า ร ห มุ น เ วี ย น โ ด ย ก า ร ห มุ น เ วี ย น หมุนเวียนเปลี่ยนแปลงท่ี ก า ร ห มุ น เ วี ย น เปลี่ยนแปลงท่ีอยู่ของน้ำ เปลี่ยนแปลงที่อยู่ของน้ำจะมี อยู่ของน้ำจะมีแบบรูปคงที่ เปล่ียนแปลงท่ีอยู่ของ จะมีแบบรูปคงท่ี คือ ถ้า แบบรูปคงที่ คือ ถ้าอนุภาค คื อ ถ้ าอ นุ ภ าค น้ ำจ าก น้ำจะมีแบบรูปคงท่ี อนุภาคน้ำจากแหล่งหน่ึง น้ำจากแหล่งหน่ึงไปยังอีก แหล่งหนึ่งไปยังอีกแหล่ง คือ ถ้าอนุภาคน้ำจาก ไปยังอีกแหล่งน้ำหนึ่ง ไม่ แหล่งน้ำหน่ึง ไม่ว่าจะเกิดท่ี น้ำห นึ่ ง ไม่ว่าจะเกิดที่ แห ล่งหนึ่งไป ยังอีก ว่าจะเกิดที่บริเวณใดหรือ บริเวณใดหรือเกิดข้ึนเม่ือใด บ ริเว ณ ใด ห รือ เกิ ด ขึ้ น แหล่งน้ำหนึ่ง ไม่ว่าจะ เกิ ด ข้ึ น เม่ื อ ใ ด จ ะ มี จ ะ มี ก ร ะ บ ว น ก า ร เมื่อใด จะมีกระบวนการ เกิดท่ีบริเวณใดหรือ กระบวนการเปล่ียนแปลง เปล่ียนแปลงท่ีเป็นแบบรูป เปล่ียนแปลงที่เป็นแบบรูป เกิดขึ้นเม่ือใด จะมี ทีเ่ ป็นแบบรูปคงที่ คงท่ี ค งท่ี แ ม้ ว่าจ ะ ได้ รับ ค ำ กระบ วน ก าร ชีแ้ นะจากครหู รือผู้อน่ื เป ล่ี ย น แ ป ล ง ท่ี เป็ น แบบรูปคงท่ี ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จกั ร 104 ตาราง แสดงการวิเคราะหท์ ักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนักเรียน โดยอาจใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ ดงั นี้ ทักษะแห่ง รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ ศตวรรษที่ 21 C4 การสอ่ื สาร ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) ก า ร น ำ เส น อ ข้ อ มู ล ท่ี สามารถนำเสนอข้อมูลที่ สามารถนำเสนอข้อมูลที่ สามารถนำเสน อข้อมูลที่ รวบรวมได้ เก่ียวกับการ รวบรวมได้ เก่ียวกับการ รวบรวมได้ เกี่ยวกับการ รวบ รวม ได้ เก่ี ยวกั บ การ หมุนเวยี นของอนุภาคน้ำ หมุนเวียนของอนุภาคน้ำ หมุนเวียนของอนุภาคน้ำ หมุนเวียนของอนุภาคน้ำ ไม่ ครอบคลุมเน้ือหาเพ่ือให้ ครอบคลุมเนื้อหาเพ่ือให้ ค ร อ บ ค ลุ ม เนื้ อ ห า แ ต่ ผู้อ่ืนเข้าใจ ด้วยตวั เอง ผู้ อ่ื น เข้ าใจ จ า ก ก า ร ครบถ้วน แม้ว่าจะได้รับคำ ชีแ้ นะของครหู รือผอู้ ื่น ช้แี นะจากครูหรอื ผ้อู ่ืน C5 ความร่วมมือ การทำงานร่วมมือกับผู้อ่ืน สามารถทำงานร่วมกับ สามารถทำงานร่วมกับ สามารถทำงานร่วมกับผูอ้ ื่นใน ใน ก าร รว บ รว ม ข้ อ มู ล ผู้อ่ืนในการรวบรวมข้อมูล ผู้ อ่ื น ใน ก าร ร ว บ ร ว ม การรวบรวมข้อมูล บันทึกผล บั น ทึ ก ผ ล น ำเส น อ ผ ล บั น ทึ กผล น ำเสน อผล ข้ อ มู ล บั น ทึ ก ผ ล น ำเส น อ ผ ล แ ส ด งค ว าม แสดงความคิดเห็นและ แสดงความคิดเห็นและ นำเสนอผล แสดงความ คิดเห็ นและอภิ ป ราย การ อภิปรายการหมนุ เวยี นของ อภิปรายการหมุนเวียน คิดเห็นและอภิปรายการ หมุนเวียนของอนุภาคน้ำ อนุภาคน้ำ รวมทั้งยอมรับ ของอนุภาคน้ำ รวมท้ัง หมุนเวียนของอนุภาคน้ำ รวมทั้งยอมรับความคิดเห็น ความคดิ เห็นของผอู้ ่นื ยอมรับความคิดเห็นของ รว ม ท้ั งย อ ม รับ ค ว าม ของผู้อื่น ในบางช่วงเวลาท่ี ผู้อื่นต้งั แต่เริม่ ตน้ จนสำเร็จ คิดเห็ นของผู้อ่ืน บ าง ทำกิจกรรม แต่ไม่ค่อยสนใจ ช่วงเวลาทท่ี ำกิจกรรม ในความคดิ เห็นของผู้อน่ื สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
105 คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จักร กจิ กรรมทา้ ยบทท่ี 1 วฏั จักรน้ำ (1 ชั่วโมง) 1. ครูให้นักเรยี นวาดรูปหรอื เขียนสรุปสิ่งท่ีได้เรียนร้จู ากบทนี้ ในแบบบนั ทึก กิจกรรม หนา้ 30 2. นักเรียนตรวจสอบการสรุปสิ่งท่ีได้เรียนรู้ของตนเองโดยเปรียบเทียบกับ ผังมโนทศั น์ในหัวข้อ รอู้ ะไรในบทน้ี ในหนังสือเรยี น หนา้ 42 3. นักเรียนกลับไปตรวจสอบคำตอบของตนเองในสำรวจความรู้ก่อนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 2 - 3 อีกคร้ัง ถ้าคำตอบของนักเรียนไม่ ถูกต้องให้ขีดเสน้ ทับข้อความเหล่าน้ัน แลว้ แก้ไขให้ถูกต้อง หรืออาจแกไ้ ข คำตอบด้วยปากกาท่ีมีสีต่างจากเดิม นอกจากน้ีครูอาจนำคำถามในรูป นำบทในหนังสือเรียน หน้า 2 มาร่วมกันอภิปรายคำตอบอีกคร้ัง ดังนี้ “ในรูปนำบทเชื่อหรือไม่ว่าน้ำตกแห่งนี้ เป็นน้ำที่ไดโนเสาร์เคยด่ืมมา ก่อน” ครูและนักเรยี นร่วมกัน อภปิ รายแนวทางการตอบคำถาม เชน่ ใน รูปมีน้ำตกที่ครั้งหน่ึงไดโนเสาร์อาจเคยด่ืมมาก่อน แล้วขับถ่ายออกมาใน รูปปัสสาวะ ซึ่งระเหยขึ้นไปเป็นไอน้ำในอากาศ แล้วอาจมีการเปลี่ยนไป เป็ น เม ฆ แ ล ะต ก ล งม า เป็ น ฝ น คื น ก ลั บ เป็ น แ ห ล่ งน้ ำ ท่ี มี แ บ บ รู ป ก า ร หมุนเวยี นเป็นวัฏจักร 4. นักเรียนทำ แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 วัฏจักรน้ำ นำเสนอคำตอบหน้าชั้น เรียน ถ้าคำตอบยังไม่ถูกต้องครูควรนำอภิปรายหรือให้สถานการณ์ เพ่มิ เตมิ เพื่อแกไ้ ขแนวคดิ คลาดเคลือ่ นใหถ้ ูกต้อง 5. นักเรียนรว่ มกนั ทำกิจกรรม รว่ มคิดร่วมทำ ดงั นี้ 5.1 ถ้าเราตดิ อยู่บนเกาะกลางทะเล ไม่สามารถหาแหล่งน้ำจืดได้ จะมีวิธี อย่างไรบ้าง จึงจะมีน้ำจืดเพียงพอในการดื่มและใช้ ให้ออกแบบ เครือ่ งมอื ในการทำนำ้ เคม็ ใหเ้ ป็นน้ำจดื และนำเสนอ 5.2 เกษตรกรในหมู่บ้านแห่งหนึ่งประสบปัญหาภัยแล้งทุกปี เราจะนำ ความรู้เร่ืองวัฏจักรน้ำมาแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร ให้ออกแบบวิธีการ จัดการน้ำในหมู่บ้านเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง แล้วนำเสนอในรูปแบบท่ี น่าสนใจ 6. นักเรียนอ่านและอภิปรายเนื้อเร่ืองในหัวข้อวิทย์กับอาชีพ ในหนังสือ เรียน หน้า 45 โดยครูกระตุ้นให้นักเรียนเห็นความสำคัญของความรู้จาก ส่ิงท่ีได้เรียนรใู้ นหนว่ ยน้ี ว่าสามารถนำไปใช้ในอาชีพได้อย่างไรบ้าง ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คูม่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วัฏจกั ร 106 สรปุ ผลการเรยี นรขู้ องตนเอง รปู หรือข้อความสรปุ ส่ิงทไ่ี ดเ้ รยี นรู้จากบทนี้ตามความเข้าใจของนักเรียน สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
107 คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วัฏจักร แนวคำตอบในแบบฝึกหดั ทา้ ยบท 1 เกณฑป์ ระเภทของแหลง่ น้ำ แบ่งเปน็ แหล่งน้ำเคม็ และแหลง่ นำ้ จดื โดยแหลง่ น้ำเคม็ เช่น มหาสมทุ ร ทะเล ส่วนแหล่งน้ำจืด เชน่ น้ำบาดาล ทะเลสาบ บึง แมน่ ำ้ ธารนำ้ แขง็ นำ้ แข็งใตด้ ิน ความชน้ื ในดิน 2 เกณฑต์ ำแหนง่ ทอี่ ยู่ของแหล่งน้ำ แบง่ เปน็ แหล่งน้ำผิวดินและแหลง่ น้ำใตด้ ิน โดยแหล่งน้ำผิวดิน เช่น มหาสมทุ ร ทะเล บงึ แมน่ ้ำ ส่วนแหล่งน้ำใตด้ ิน เชน่ น้ำบาดาล 3 เกณฑก์ ารใชป้ ระโยชน์จากแหลง่ น้ำ แบง่ เปน็ แหล่งน้ำทไี ม่สามารถนำมาใช้ได้และแหล่งน้ำท่ีสามารถ นำมาใช้ได้ โดยแหลง่ นำ้ ทไี มส่ ามารถนำมาใช้ได้ เช่น ธารนำ้ แขง็ น้ำแข็งใตด้ นิ ความชื้นในดิน สว่ นแหล่งน้ำทีไม่สามารถนำมาใช้ได้ เช่น ทะเลสาบ บงึ แมน่ ำ้ นำ้ บาดาล ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จักร 108 หยดน้ำหรอื ผลกึ น้ำแข็งในเมฆฝนฟ้าคะนอง จะถูกพดั วนซ้ำไปซำ้ มาใน เมฆน้นั จนกลายเป็นกอ้ นน้ำแข็งขนาดใหญ่ คล้ายหัวหอม แลว้ ตกลงมา ส่พู ้นื โลก เป็นลกู เห็บ และลูกเหบ็ สามารถเกดิ ไดม้ ากบรเิ วณภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เพราะว่าหิมะเกิดจากการระเหิดกลบั ของไอนำ้ ในอากาศ แลว้ เปลี่ยน สถานะเปน็ ผลกึ น้ำแขง็ จะเกิดไดบ้ ริเวณท่ีมีอุณหภมู ติ ำ่ กว่าจุดเยือกแขง็ ซึง่ ต้องเป็นพืน้ ที่เขตหนาว หรือยอดเขาสูง ๆ เทา่ นัน้ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
109 คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 วัฏจักร การเปลยี่ นแปลงอนุภาคนำ้ จากธารนำ้ แข็งไปเปน็ เมฆมรี ูปแบบการ เปลย่ี นแปลงคงที่ คอื ธารนำ้ แขง็ จะมีการหลอมเหลวเมื่ออณุ หภูมิสูงขึ้น นำ้ ท่ี หลอมเหลวกจ็ ะระเหยกลายเปน็ ไอน้ำ แลว้ ควบแน่นเกิดเปน็ เมฆ ซ่ึงไม่ว่า ธารน้ำแขง็ จะเปลย่ี นไปเป็นเมฆก่คี ร้งั กจ็ ะเกิดการเปล่ยี นแปลงเชน่ นเ้ี สมอ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381