Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-19 13:36:53

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
เล่ม 2
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจักร 110 บทท่ี 2 วฏั จกั รการปรากฏของกลุ่มดาว จดุ ประสงคก์ ารเรียนร้ปู ระจำบท บทน้มี ีอะไร เม่อื เรียนจบบทนี้ นักเรยี นสามารถ เรือ่ งที่ 1 ดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ 1. เปรียบเทียบความแตกต่างของดาวเคราะห์และ กจิ กรรมที่ 1 มองเห็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ได้ ดาวฤกษจ์ ากแบบจำลอง อยา่ งไร 2. ใช้แผนที่ดาวระบุตำแหน่งและเส้นทางการขึ้นและ เร่ืองท่ี 2 กล่มุ ดาวบนท้องฟ้า ตกของกลุ่มดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟ้า กิจกรรมที่ 2.1 เหตุใดจึงเหน็ กลมุ่ ดาวเปน็ รูปร่างต่าง ๆ กิจกรรมที่ 2.2 วัฏจักรการปรากฏของกลุ่มดาวเป็น 3. อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของ กลมุ่ ดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟา้ ในรอบปี อย่างไร แนวคิดสำคญั ดาวที่มองเห็นบนท้องฟ้ามีทั้งดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ โดยดาวฤกษ์และดาวเคราะห์มีลักษณะที่แตกต่างกัน ดาวส่วนใหญ่บนท้องฟ้าเป็นดาวฤกษ์ มนุษย์ใช้จินตนาการ ทำให้มองเห็นกลุ่มของดาวฤกษ์เป็นรูปร่างต่าง ๆ กลุ่มดาว เหล่านั้นมีรูปร่างคงท่ีและเส้นทางทีป่ รากฏเป็นแบบรปู ซ้ำ ๆ กันเป็นวัฏจักร แผนที่ดาวเป็นเครื่องมือที่ใช้สังเกตตำแหน่ง และการขน้ึ และตกของกลุ่มดาว ส่อื การเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้ 1. หนังสือเรียน ป. 5 เลม่ 2 หน้า 47-73 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป. 5 เลม่ 2 หน้า 35-61 3. โปรแกรมประยุกต์ทางดาราศาสตร์ เช่น Solar walk Star chart และ Sky view สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

111 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วัฏจักร ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 รหัส ทกั ษะ กจิ กรรมท่ี 1 2.1 2.2 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์   S1 การสงั เกต S2 การวัด  S3 การใชจ้ ำนวน  S4 การจำแนกประเภท S5 การหาความสมั พันธ์ระหวา่ ง    สเปซกบั สเปซ   สเปซกบั เวลา  S6 การจัดกระทำและส่ือความหมายข้อมลู  S7 การพยากรณ์ S8 การลงความเห็นจากข้อมลู  S9 การตง้ั สมมตฐิ าน   S10 การกำหนดนิยามเชิงปฏบิ ตั ิการ  S11 การกำหนดและควบคุมตัวแปร S12 การทดลอง S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป S14 การสร้างแบบจำลอง ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C1 การสรา้ งสรรค์ C2 การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ C3 การแก้ปัญหา C4 การส่อื สาร C5 ความร่วมมอื C6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร * หมายเหต:ุ รหสั ทกั ษะทป่ี รากฏนใ้ี ชเ้ ฉพาะหนังสือคูม่ ือครเู ล่มน้ี ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จกั ร 112 แนวคิดคลาดเคลอ่ื น แนวคิดคลาดเคล่ือนท่ีอาจพบและแนวคดิ ที่ถูกต้องในบทท่ี 2 วัฏจักรการปรากฏของกลุม่ ดาว มีดงั ตอ่ ไปน้ี แนวคิดคลาดเคลือ่ น แนวคิดทถ่ี กู ต้อง ดาวทกุ ดวงที่มองเห็นได้บนท้องฟ้า ไดร้ บั แสงจากดวง อาทติ ย์ (Sacramento City College, n.d.) คนบนโลกมองเหน็ ดาวเคราะหไ์ ด้ เพราะ ดาวเคราะหไ์ ดร้ ับแสง จากดวงอาทิตยแ์ ล้วสะท้อนเข้าสู่ตาของเรา แต่ดาวฤกษ์ทุกดวง ดาวเคราะห์ไม่สามารถมองเห็นไดด้ ้วยตาเปล่า และดาว น้ันมีแสงสวา่ งในตวั เอง ซ่ึงเข้าสู่ตาเราโดยตรง (Sacramento เคราะห์จะปรากฏทีต่ ำแหนง่ เดมิ ทุกคนื (New York City College, n.d.) Science Teacher, n.d) ดาวเคราะหส์ ามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า และดาวเคราะหไ์ ม่ ปรากฏท่ตี ำแหน่งเดิมทุกคนื จึงเรยี ก ดาวเคราะห์วา่ ดาว พเนจร (Hester, 2002) กลุ่มดาวจะมรี ปู ร่างคล้ายคน สตั ว์ หรือวัตถุอื่น ๆ ชดั เจน กลุ่มดาว คือ ดาวฤกษ์ทมี่ ีตำแหนง่ ใกล้กันและเมื่อลากเส้น (Weiler, 1998) เชือ่ มโยงดาวฤกษด์ วงทส่ี ว่าง จะมองเห็นมรี ูปร่างต่าง ๆตาม จนิ ตนาการ (Hester, 2002) ดาวฤกษแ์ ละกลุ่มดาวจะปรากฏบนทอ้ งฟ้าท่ีตำแหนง่ วัน ดาวฤกษห์ รือกลุ่มดาวทปี่ รากฏบนท้องฟ้ามกี ารเปล่ยี นแปลง และเวลาเดิมทุกคนื (New York Science Teacher, n.d.; ตำแหน่งทกุ คนื และจะกลบั มาปรากฏที่ตำแหน่งเดมิ ในวันและ Weiler, 1998) เวลาเดมิ ทกุ ปี (Hester, 2002) ถา้ ครูพบว่ามแี นวคิดคลาดเคล่ือนใดทยี่ ังไม่ได้แกไ้ ขจากการทำกิจกรรมการเรียนรู้ ครูควรจัดการเรียนรเู้ พ่ิมเตมิ เพ่ือแก้ไข ตอ่ ไปได้ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

113 คูม่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จกั ร ครูรับฟังเหตุผลของ นักเรียนเป็นสำคัญ ครูยังไม่ บทน้เี ร่มิ ต้นอยา่ งไร (0.5 ชวั่ โมง) เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้ หาคำตอบที่ถูกตอ้ งจากกิจกรรม 1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยอาจให้นักเรียนวาดรูปดาวที่นักเรียนรู้จัก ตา่ ง ๆ ในบทเรยี นนี้ ลงในกระดาษหรือโปรแกรมประยุกต์อ่ืน ๆ จากนั้นถามนักเรียนว่า ดาวที่นักเรียนวาดเป็นดาวเคราะห์หรือดาวฤกษ์ และนักเรียนใช้ เ ก ณ ฑ ์ ใ ด ใ น ก า ร จ ำ แ น ก ด า ว ว ่ า เ ป ็ น ด า ว เ ค ร า ะ ห์ ห ร ื อ ด า ว ฤ ก ษ์ (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง) ครคู วรกำหนดเวลาในการ วาดรปู ประมาณ 3-5 นาที 2. ครูชักชวนนักเรียนศึกษาเรื่องวัฏจักรการปรากฏของดาว โดยอ่าน หนังสือเรียน บทที่ 2 ของหน่วยที่ 4 เริ่มจากการอ่านชื่อหน่วย ชื่อบท และจุดประสงค์การเรียนรู้ประจำบท ครูใช้คำถามในการ อภิปรายว่าเมื่อเรียนจบบทนี้ นักเรียนสามารถทำอะไรได้ (เปรียบเทียบความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จาก แบบจำลอง ใช้แผนที่ดาวระบุตำแหน่งและเส้นทางการขึ้นและตก ของกลุ่มดาวฤกษบ์ นท้องฟ้า และอธบิ ายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและ ตกของกล่มุ ดาวฤกษบ์ นท้องฟ้าในรอบปี) 3. นักเรียนอ่านชื่อบท และแนวคิดสำคัญ จากหนังสือเรียนหน้า 48 ครใู ชค้ ำถามในการอภปิ รายว่าในบทนี้จะไดเ้ รียนเร่อื งอะไรบ้าง (ดาว ฤกษ์ ดาวเคราะห์ กล่มุ ดาว และการใชแ้ ผนที่ดาว) 4. นักเรียนสังเกตรูปและอ่านเนื้อเรื่องในหนังสือเรียนหน้า 48 ครูอาจ ใช้วิธีฝึกการอ่านที่เหมาะสมกับนักเรียน จากนั้นถามคำถามเพ่ือ ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนโดยให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย ดงั นี้ 4.1 นักเรียนสังเกตเห็นอะไรในภาพบ้าง (นักเรียนตอบตามความ เข้าใจของตนเอง) 4.2 จากรูปนักเรียนบอกได้หรือไหมว่าดาวดวงใดเป็นดาวเคราะห์ และดาวดวงใดเป็นดาวฤกษ์ (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง) 4.3 ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จกั ร 114 4.4 ถา้ สงั เกตดาวบนท้องฟ้าจากบนโลก ดาวส่วนใหญท่ มี่ องเห็นบน การเตรยี มตัวลว่ งหนา้ สำหรบั ครู ท้องฟ้าเป็นดาวชนิดใด (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ เพื่อจดั การเรยี นรู้ในครงั้ ถดั ไป ตนเอง) ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้อ่าน 4.5 การปรากฏของดาวเป็นวัฏจักรหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบ เร่ืองท่ี 1 ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ ซึ่งมี ตามความเขา้ ใจของตนเอง) เนื้อเรื่องเกี่ยวกับตำแหน่งและการ เคลื่อนที่ของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ 5. นักเรียนทำสำรวจความรู้ก่อนเรียนในแบบบันทึกกิจกรรมหน้า 48 เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาที่เรียนได้ดี โดยอ่านชือ่ หน่วย ช่อื บท ยิ่งขึ้น ครูควรเตรียมแบบจำลองระบบ สุริยะ ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น รูป 6. ครูชักชวนนักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับวัฏจักรการปรากฏของดาว แบบจำลอง 3 มิติ หรือโปรแกรมประยุกต์ ในสำรวจความร้กู อ่ นเรยี น (Application) บนสมารท์ โฟน เชน่ Solar walk มาให้นักเรยี นศึกษา 7. นักเรียนทำสำรวจความรกู้ อ่ นเรยี น ในแบบบนั ทึกกจิ กรรม หน้า 36 โดยนักเรียนอ่านคำถามแต่ละข้อ ครูตรวจสอบความเข้าใจของ นักเรียน จนแนใ่ จว่านักเรยี นสามารถทำไดด้ ้วยตนเอง จึงให้นักเรียน ตอบคำถาม โดยคำตอบของแต่ละคนอาจแตกต่างกัน และคำตอบ อาจถูกหรือผดิ ก็ได้ แต่นกั เรียนสามารถหาคำตอบรว่ มกันได้จากการ เรียนเร่ืองถดั ๆ ไป สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

115 คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจักร แนวคำตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม การสำรวจความรูก้ ่อนเรียน นักเรยี นอาจตอบคำถามถูกหรือผิดก็ได้ขน้ึ อยกู่ ับความรเู้ ดมิ ของนักเรียน แตเ่ มอ่ื เรียนจบบทเรยี นแลว้ ให้นักเรียนกลับมาตรวจสอบคำตอบอกี คร้ังและแก้ไขให้ถูกต้อง ดงั ตัวอย่าง เหมอื นกนั คือ เปน็ ดาวที่มลี กั ษณะคล้ายทรงกลม แต่แตกตา่ งกนั คอื ดาวฤกษ์มแี สงในตวั เองเปน็ แหล่งกำเนดิ แสง ส่วนดาวเคราะห์ ไม่ใชแ่ หลง่ กำเนดิ แสง จงึ ไม่มแี สงในตัวเอง แต่เรามองเหน็ ได้เพราะมแี สงจาก ดวงอาทิตย์หรือดาวฤกษต์ กกระทบแล้วสะท้อนแสงเข้าสตู่ าเรา ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจักร 116 นกั เรยี นสามารถตอบไดต้ ามความคดิ ของนกั เรียน ไม่มถี กู หรือผิด ซ่งึ อาจตอบวา่ การมองเห็นกลุ่มดาวเป็นรูปรา่ งต่าง ๆ ขน้ึ อยกู่ บั จนิ ตนาการของผู้สงั เกต เพราะ การปรากฏของดาวเปน็ วฏั จักร โดยกลมุ่ ดาวทป่ี รากฏบนทอ้ งฟา้ จะมรี ปู รา่ ง เหมือนเดมิ และมีเสน้ ทางการขึ้นและตกเป็นแบบรปู ซ้ำเดมิ ในทกุ ๆ ปี สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

117 คูม่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจักร เรอ่ื งท่ี 1 ดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ ในเรื่องน้ีนักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความเหมือน และความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ โดยการ สร้างแบบจำลอง จุดประสงค์การเรียนรู้ เปรียบเทียบความแตกต่างของดาวเคราะห์และ ดาวฤกษ์จากแบบจำลอง เวลา 2.5 ชวั่ โมง วัสดุ อุปกรณส์ ำหรับทำกจิ กรรม ไฟฉายขนาดใหญ่ ไฟฉายขนาดเล็ก กลอ่ งกระดาษพร้อมฝาปิด วัตถทุ รงกลมขนาดเลก็ แว่นกันแดด ส่อื การเรยี นรแู้ ละแหล่งเรียนรู้ 1. หนังสือเรยี น ป.5 เล่ม 2 หน้า 50-51 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.5 เลม่ 2 หนา้ 38 ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จกั ร 118 แนวการจัดการเรยี นรู้ (30 นาที) ข้นั ตรวจสอบความรู้ (5 นาท)ี 1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานของนักเรียนเรื่องระบบสุริยะ โดยครูอาจใช้ ในการตรวจสอบความรู้ ครู แบบจำลองระบบสรุ ยิ ะ จากนั้นอภปิ รายโดยใช้คำถามตอ่ ไปนี้ เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนและ 1.1 ในระบบสุริยะ ดาวดวงใดเป็นดาวฤกษ์ และดวงใดเป็นดาวเคราะห์ ยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวน เพราะเหตุใด (ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ เพราะมีแสงในตัวเอง โดยเป็น ให้นักเรียนไปหาคำตอบด้วยตนเอง ศูนย์กลางของระบบสุริยะ ส่วนดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร จากการอ่านเน้ือเรอื่ ง ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนสั ดาวเนปจูนเปน็ ดาวเคราะห์ เพราะ ไม่มีแสงในตวั เองและโคจรรอบดวงอาทติ ย์) 1.2 ดาวฤกษ์ และดาวเคราะห์ในระบบสุริยะอยู่บริเวณใด ดาวเคราะห์ แต่ละดวงใช้เวลาในการเคลื่อนที่เท่ากันหรือไม่ (ดาวฤกษ์ดวงเดียวใน ระบบสุริยะหรือดวงอาทิตย์ อยู่บริเวณศูนย์กลางของระบบสุริยะ ส่วน ดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ โคจรรอบดวงอาทิตย์พร้อมกับหมุนรอบตัวเอง โดยใช้เวลาในการเคลือ่ นท่ีท่ีแตกต่างกนั ) 2. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ โดยใช้คำถามต่อไปนี้ ดังนี้ 2.1 ดาวฤกษ์ดวงอื่นที่ไม่ใช่ดวงอาทิตย์อยู่ในระบบสุริยะของเราหรือไม่ อยา่ งไร (นักเรียนตอบได้ตามความเข้าใจของตนเอง) 2.2 ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์แตกต่างกันอย่างไร (นักเรียนตอบตามความ เข้าใจของตนเอง) 2.3 เรามองเหน็ ดาวบนทอ้ งฟ้าได้อยา่ งไร (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจของ ตนเอง) ขน้ั ฝกึ ทกั ษะจากการอ่าน (20 นาท)ี นักเรียนอาจไม่สามารถตอบ คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 3. นักเรียนอ่านหนังสือเรียนหน้า 50 อ่านชื่อเรื่อง และคำถามคิดก่อนอ่าน คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด แล้ว นักเรียนตอบคำถามตามความเข้าใจของตนเอง ครูบันทึกคำตอบของ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน นกั เรยี นบนกระดานเพือ่ ใชเ้ ปรยี บเทียบกับคำตอบหลังการอ่านเรือ่ ง และรับฟังแนวความคิดของ นักเรยี น 4. นักเรียนอ่านคำในคำสำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หากนักเรียนอ่าน ไม่ได้ ครูควรสอนการอ่านและให้นักเรียนอธิบายความหมายตามความเข้าใจ ของตนเอง นอกจากนี้ครูแนะนำให้ไปหาความหมายของคำต่าง ๆ ที่พบใน เนอ้ื เร่ือง สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

119 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จกั ร 5. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่องตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของ นกั เรยี น จากน้ันร่วมกนั อภิปรายตามแนวคำถาม ดงั นี้ 5.1 ดาวชนิดใด คือดาวไม่ประจำท่ี (ดาวเคราะห์) 5.2 เหตุใดดาวเคราะห์จึงถูกเรียกว่าเป็นดาวไม่ประจำท่ีหรือดาวพเนจร (เพราะดาวเคราะห์ปรากฏบนท้องฟ้าในตำแหน่งที่ไม่ประจำที่หรือมี การเปล่ยี นแปลงตำแหนง่ ไปในรอบปี) 5.3 ดาวชนิดใด คือดาวประจำท่ี (ดาวฤกษ)์ 5.4 เหตุใดดาวฤกษ์จึงถูกเรียกว่าเป็นดาวประจำที่ (เพราะเมื่อมองจากโลก ดาวฤกษ์ดูเหมือนไม่เคลือ่ นท่ีเนือ่ งจากดาวฤกษ์อยู่ไกลจากโลกมากโดย อยนู่ อกระบบสรุ ิยะของเรา ทำให้ดูเหมอื นว่าดาวเหลา่ นไ้ี ม่เคลอื่ นที่) ขน้ั สรุปจากการอา่ น (5 นาท)ี การเตรียมตวั ล่วงหน้าสำหรบั ครู เพอื่ จดั การเรียนร้ใู นครง้ั ถดั ไป 6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปจากเรื่องที่อ่านว่า ดาวที่มองเห็ นบนท้องฟ้า มีทั้งดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ โดยดาวส่วนใหญ่เป็นดาวฤกษ์ ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำ ส่วนดาวเคราะห์ที่มองเห็นบนท้องฟ้า เป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะเป็น กิจกรรมที่ 1 มองเห็นดาวเคราะห์และ ดาวไม่ประจำที่หรือดาวพเนจร เนื่องจากดาวเคราะห์เหล่านี้ใช้เวลาในการ ดาวฤกษ์ได้อย่างไร ผ่านการสร้าง โคจรรอบดวงอาทิตย์แตกต่างกันและอยู่ใกล้โลกมาก ทำให้คนบนโลก แบบจำลองการมองเห็นดาวเคราะห์ มองเห็นดาวเคราะห์แต่ละดวงปรากฏบนท้องฟ้าในตำแหน่งที่แตกต่างกัน และดาวฤกษ์ และการสืบค้นข้อมูล ไมป่ ระจำที่ในรอบปี ส่วนดาวฤกษ์เปน็ ดาวประจำที่ เน่อื งจาก ดาวฤกษ์เหล่าน้ี เปรียบเทียบความเหมือนและความ อยู่ไกลจากโลกมาก ทำให้ดเู หมือนวา่ ดาวเหลา่ นไ้ี ม่เคล่อื นทเ่ี มื่อมองจากโลก แตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ ดังนั้นครูควรให้นักเรียนร่วมกันเตรียม 7. นักเรียนตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านในรู้หรือยัง ในแบบบันทึกกิจกรรม หาอุปกรณ์เพื่อสร้างแบบจำลองและ หน้า 51 สืบค้นขอ้ มลู ดงั กล่าว 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคำตอบของนักเรียนใน รูห้ รอื ยงั กับคำตอบทเ่ี คยตอบและบนั ทึกไวใ้ นคิดก่อนอา่ น 9. ครูชักชวนนักเรียนตอบคำถามท้ายเรื่องที่อ่าน ดังนี้ เรามองเห็นดาวฤกษ์ เพราะดาวฤกษ์เป็นดาวที่มีแสงในตัวเองแต่ดาวเคราะห์เปน็ ดาวท่ีไม่มีแสงใน ตัวเอง แล้วเรามองเหน็ ดาวเคราะหไ์ ด้อย่างไร ครูบันทึกคำตอบของนักเรยี น บนกระดานโดยยังไม่เฉลยคำตอบแต่ชักชวนให้นักเรียนหาคำตอบจากการ ทำกจิ กรรม ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจกั ร 120 แนวคำตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม เราเรียกดาวเคราะหว์ า่ ดาวพเนจรเพราะ ดาวเคราะห์ อยใู่ กลโ้ ลกและใชเ้ วลาในการ โคจรรอบดวงอาทติ ยแ์ ตกตา่ งกนั จงึ เปลย่ี นแปลงตำแหนง่ ไมอ่ ย่ปู ระจำทใี่ นรอบปี จงึ เป็นดาวพเนจร สว่ นดาวฤกษ์เราเรียกวา่ ดาวประจำที่เนือ่ งจากดาวฤกษ์เปน็ ดาวที่ อยู่ห่างจากโลกมาก เมื่อมองจากโลกจงึ มองเหน็ เหมือนดาวฤกษอ์ ยู่นิ่งไมเ่ คลอ่ื นที่ จงึ เปน็ ดาวประจำท่ี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

121 คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จกั ร กิจกรรมที่ 1 มองเห็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ไดอ้ ย่างไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้อธิบายการมองเห็นดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ และดวงจันทร์ผ่านกิจกรรมการสร้าง แบบจำลอง เวลา 2 ช่ัวโมง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. สร้างแบบจำลองและอธบิ ายการมองเห็น ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ 2. สืบคน้ ขอ้ มูลและเปรียบเทยี บความเหมอื นและ ความแตกตา่ งของดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ วัสดุ อุปกรณ์สำหรับทำกจิ กรรม ส่งิ ทค่ี รูตอ้ งเตรยี ม/ห้อง - 1 กระบอก สื่อการเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ หน้า 52-53 1 กระบอก สง่ิ ที่นกั เรียนต้องเตรียม/กลมุ่ 1 อัน 1. หนงั สือเรียน ป. 5 เล่ม 2 1 ลกู 1. ไฟฉายขนาดใหญ่ 1 อนั 2. ไฟฉายขนาดเล็ก 3. กลอ่ งกระดาษทบึ พรอ้ มฝาปิด 4. วัตถุทรงกลมขนาดเลก็ 5. แว่นกันแดด ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป. 5 เล่ม 2 หน้า 38-43 S1 การสงั เกต 3. วีดิทัศน์ตัวอย่างการปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สำหรับครู S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล เรื่อง มองเห็นดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ และดวงจันทร์ได้ S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงขอ้ สรุป อย่างไร http://ipst.me/8771 S14 การสร้างแบบจำลอง ทักษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 C1 การคิดอย่างสรา้ งสรรค์ C4 การสื่อสาร C5 ความร่วมมือ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จักร 122 แนวการจดั การเรยี นรู้ 1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการมองเหน็ ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ โดยใชค้ ำถามดงั น้ี 1.1 ในห้องเรียนมีสิ่งใดบ้างที่เป็นแหล่งกำเนิดแสง อะไรบ้างที่ไม่เป็น แหล่งกำเนิดแสง (คำตอบขึ้นอยู่กับสิ่งของในห้องเรียน สิ่งที่เป็น ครูรับฟังเหตุผลของ แหล่งกำเนิดแสง เช่น หลอดไฟ โคมไฟ ไฟฉายท่เี ปดิ ไฟ สิ่งท่ีไม่เป็น นักเรียนเป็นสำคัญ ครูยังไม่ แหล่งกำเนดิ แสง เชน่ โตะ๊ เรียน มา้ นั่ง สมดุ ดนิ สอ) เฉลยคำตอบใด ๆ แตช่ กั ชวนให้ 1.2 เรามองเห็นวัตถุที่เป็นแหล่งกำเนิดแสงได้อย่างไร (แสงจากวัตถุที่ หาคำตอบที่ถูกต้องจาก เป็นแหลง่ กำเนิดแสงเดนิ ทางเขา้ สตู่ าเรา) กจิ กรรมต่าง ๆ ในบทเรยี นนี้ 1.3 เรามองเห็นวัตถุที่ไม่เป็นแหล่งกำเนิดแสงได้อย่างไร (แสงจาก แหลง่ กำเนดิ แสงตกกระทบวัตถแุ ล้วสะทอ้ นเขา้ สู่ตาเรา) 2. ครูชักชวนนักเรียนให้คิดและเสนอวิธีหาคำตอบว่า เราจะอธิบายการ มองเห็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์โดยใช้แบบจำลองได้อย่างไร ครูยังไม่ เฉลยคำตอบ แต่ชักชวนนักเรียนใหห้ าคำตอบจากการทำกิจกรรม 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม มองเห็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ได้อย่างไรและ ทำเป็นคิดเป็น โดยร่วมกันอภิปรายทีละประเด็นเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ เกย่ี วกบั จุดประสงค์ ในการทำกิจกรรมโดยใช้คำถามดังน้ี 3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรยี นเรื่องอะไร (การมองเห็นดาวเคราะห์และ ดาวฤกษ)์ 3.2 นกั เรยี นจะได้เรยี นร้เู รอ่ื งน้ดี ้วยวิธีใด (เรียนรูโ้ ดยการสรา้ งแบบจำลอง) 3.3 เมอื่ เรยี นแลว้ นักเรยี นจะทำอะไรได้ (ใช้แบบจำลองอธิบายการมองเห็น ดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์) ครูให้นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 38 และ อ่านสิ่งที่ต้องใช้ในการทำกิจกรรม โดยครูยังไม่แจกวัสดุอุปกรณ์แก่ นักเรียน แต่นำวัสดุอุปกรณ์มาแสดงให้นักเรียนดูทีละอย่าง ทบทวนวิธีใช้ และขอ้ ควรระวงั ในการใช้ 4. นักเรียนอ่าน ทำอย่างไร ทีละข้อแล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปลำดับ ขั้นตอนตามความเข้าใจโดยครูอาจช่วยเขียนสรุปสั้น ๆ บนกระดาน ถ้า นักเรียนร่วมกันอภิปรายข้อ 1 ได้ไม่ชัดเจน ครูอาจให้นักเรียนร่วมกัน ครูรับฟังเหตุผลของ อภปิ รายเพิ่มเติมตามแนวคำถามดังต่อไปนี้ นักเรียนเป็นสำคัญ ครูยังไม่ 4.1 ดาวเคราะหม์ ีลักษณะอยา่ งไร (ดาวเคราะห์ไมม่ ีแสงในตัวเอง) เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชกั ชวนให้ หาคำตอบที่ถูกต้องจาก กิจกรรมต่าง ๆ ในบทเรยี นนี้ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

123 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จักร 4.2 เรามองเหน็ ดาวเคราะห์ได้อย่างไร (แสงของดวงอาทติ ยห์ รือ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ดาวฤกษต์ กกระทบดาวเคราะหแ์ ล้วสะทอ้ นเข้าสูต่ าเรา) และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่นกั เรยี น 4.3 ดาวฤกษม์ ีลกั ษณะอยา่ งไร (ดาวฤกษม์ ีแสงในตัวเอง) จะไดฝ้ ึกจากการทำกิจกรรม 4.4 เรามองเห็นดาวฤกษ์ได้อย่างไร (เรามองเห็นดาวฤกษ์ได้เพราะ S1 การสังเกตการมองเห็นแ ส ง ดาวฤกษ์มแี สงสวา่ งในตัวเอง และแสงจากดาวฤกษ์เดนิ ทางเข้าสู่ตา จากดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จาก เรา) แบบจำลอง 4.5 นักเรียนต้องออกแบบและสร้างแบบจำลองเพื่อใช้อธิบายสิ่งใด (อธบิ ายการมองเห็นดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์) S8 การลงความเห็นเกี่ยวกับการ 4.6 นักเรียนต้องทำอะไรต่อไป (สืบค้นข้อมูล อภิปรายเปรียบเทียบ มองเหน็ ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ ความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งดาวเคราะห์และดาวฤกษ์) เมื่อครูตรวจสอบจนแน่ใจแล้วว่า นักเรียนสามารถอธิบายการมองเห็น S13 การตีความหมายข้อมูลจากสิ่งท่ี ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ได้ถูกต้อง และเข้าใจวิธีทำกิจกรรมทุกข้อแล้ว ให้ สังเกตได้จากแบบจำลองการ นกั เรียนลงมอื เริม่ ทำกจิ กรรม มองเห็นดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ 5. ครูให้นักเรียนร่วมกันออกแบบวิธีสร้างแบบจำลองโดยใช้วัสดุอุปกรณ์ท่ี กำหนดให้เพื่ออธิบายการมองเห็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ บันทึกผลลง S14 การสร้างแบบจำลองการมองเห็น ในแบบบันทึกกิจกรรมหน้า 39 โดยให้นักเรียนเขียนแบบร่างแบบจำลอง ดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ การมองเห็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ พร้อมระบุเหตุผลในการเลือกใช้ อุปกรณ์และแนวคิดและเหตุผลในการสร้างแบบจำลองดังกล่าว ในแบบ C1 การออกแบบแบบจำลองการ บนั ทึกกจิ กรรมหน้า 40 มองเห็นดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ 6. นักเรียนเริ่มสร้างแบบจำลองการมองเห็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ตาม แบบรา่ ง C4 การนำเสนอข้อมูลจากการสร้าง 7. ครูสำรวจแบบจำลองของแต่ละกลุ่มแล้วเลือกแบบจำลองที่มีแนวคิด แบบจำลองและสืบค้นข้อมูล เพื่อ แตกตา่ งกัน 2 – 3 กล่มุ เพอ่ื ให้นำเสนอหน้าช้ันเรยี น โดยอาจบนั ทึกผลการ อธิบายและเปรียบเทียบดาว นำเสนอของนกั เรยี นในรปู แบบตาราง ดังนี้ เคราะหแ์ ละดาวฤกษใ์ ห้ผอู้ นื่ เข้าใจ C5 การทำงานร่วมกับผู้อื่นในการ ออกแบบและสร้างแบบจำลอง การทำกจิ กรรม ผลการสงั เกต อภิปรายผลการสังเกต 1. มองผ่านรูบนฝากลอ่ งโดยไม่ มองไมเ่ หน็ ทัง้ วัตถทุ รงกลมและไฟฉาย ไม่มีแสงจากไฟฉายซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดแสงมาเข้าตา เปดิ ไฟฉาย ทำให้มองไม่เห็นวัตถใุ นกลอ่ งเลย 2. มองผา่ นรบู นฝากล่องโดยเปดิ มองเห็นแสงจากไฟฉายทั้ง 2 กระบอก มีแสงจากไฟฉายซึ่งแทนดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์เข้าสู่ ไฟฉาย โดยกระบอกใหญ่สว่างมากกว่ากระบอก ตาของผู้สังเกตโดยตรง และแสงจากไฟฉายยังตก เล็ก และมองเหน็ วัตถทุ รงกลมดว้ ย กระทบลูกบอลแล้วสะท้อนเข้าสู่ตาเรา ทำให้ผู้สังเกต สามารถมองเหน็ ลกู บอลได้ ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จักร 124 8. ครูใช้แบบจำลองของนักเรียนมาอภิปรายร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับการ มองเหน็ ดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ โดยใช้แนวคำถาม ดงั นี้ 8.1 นักเรียนใช้อะไรในการสร้างแบบจำลองนี้ (วัตถุทรงกลมขนาดเล็ก กลอ่ งมีฝาปดิ ไฟฉายขนาดใหญ่ ไฟฉายขนาดเลก็ ) 8.2 วัตถุทรงกลมขนาดเล็ก กล่องมีฝาปิด ไฟฉายขนาดใหญ่ ไฟฉายขนาดเล็กจากแบบจำลองน้ีแทนส่ิงใด (นักเรียนตอบไดต้ ามการ ออกแบบของนักเรียนเอง เช่น วัตถุทรงกลมขนาดเล็กใช้แทน ดาวเคราะห์ กล่องมีฝาปิดใช้แทนอวกาศ ไฟฉายขนาดใหญ่แทน ดวงอาทิตย์ ไฟฉายขนาดเล็กใช้แทนดาวฤกษ์ที่ไม่ใช่ดวงอาทิตย์ซึ่งอยู่ไกล จากโลกมาก) แบบจำลองของนักเรียนอาจใช้อุปกรณ์แตกต่างจากนี้ ครคู วรพิจารณาเหตุผลของนกั เรยี นเป็นสำคัญ 8.3 จากแบบจำลอง นักเรียนมองเห็น ไฟฉายขนาดใหญ่ และ ไฟฉายขนาดเล็กได้อย่างไร (ไฟฉายขนาดใหญ่และไฟฉายขนาดเล็ก เป็นแหล่งกำเนิดแสง มีแสงในตัวเอง แสงจากไฟฉายเข้าสู่ตา เราจึง มองเห็นไฟฉาย) 8.4 จากแบบจำลอง นักเรียนมองเห็นวัตถุทรงกลมขนาดเล็กได้อย่างไร (วัตถุทรงกลมขนาดเล็กไม่ใช่แหล่งกำเนิดแสงจึงไม่มีแสงในตัวเอง แต่ เรามองเห็นได้ เพราะมีแสงจากไฟฉายตกกระทบวัตถุแล้วสะท้อนเข้าสู่ ตาเรา) 8.5 ถ้าปิดไฟฉายจะมองเห็นวัตถุทรงกลมขนาดเล็กหรือไม่ เพราะเหตุใด (ไม่เห็น เพราะ ไม่มีแสงจากแหล่งกำเนิดแสงมาตกกระทบวัตถุ ทรงกลมจงึ ไม่มีแสงสะท้อนเขา้ สู่ตาของเรา) 8.6 แบบจำลองนี้จะอธิบายการมองเห็นดาวฤกษ์ได้อย่างไร (ดาวฤกษ์เป็น แหล่งกำเนิดแสง มีแสงในตัวเอง แสงจากดาวฤกษ์เข้าสู่ตาเรา เราจึง มองเห็นดาวฤกษ์ได้โดยตรง) 8.7 แบบจำลองนี้จะอธิบายการมองเห็นดาวเคราะห์ได้อย่างไร (ดาวเคราะห์ไมใ่ ช่แหล่งกำเนิดแสงจึงไมม่ ีแสงในตวั เอง แต่เรามองเหน็ ได้เพราะมีแสงจากดวงอาทิตย์ตกกระทบดาวเคราะห์และดวงจันทร์ แลว้ สะทอ้ นเข้าตาเรา) 9. นักเรยี นสบื ค้นขอ้ มูล จากคำสำคญั ทนี่ ักเรยี นช่วยกันกำหนด โดยอาจใช้คำ สำคัญ ได้แก่ ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ ครูอาจเน้นย้ำให้นักเรียนสืบค้นจาก เว็บไซตท์ ่นี า่ เชื่อถือ เช่น http://www.lesa.biz/astronomy/cosmos/planet-definition สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

125 คูม่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจกั ร 10. นักเรียนนำข้อมูลที่ได้มาอภิปรายเปรียบเทียบความเหมือนและความ การเตรยี มตัวล่วงหน้าสำหรบั ครู แตกต่างของดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ จากนั้น บันทกึ ผลและนำเสนอ เพอ่ื จัดการเรยี นรู้ในครงั้ ถดั ไป 11. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตอบหรือซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ การมองเห็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ จากนั้น ร่วมกันอภิปรายและลง เรียนเรื่อง กลุ่มดาวบนท้องฟ้า ซึ่งมี ข้อสรุปร่วมกันว่า ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์เป็นดาวที่มลี ักษณะคล้ายทรง วีดิทัศน์ประกอบการเรียนการสอน กลม โดยดาวฤกษ์มีแสงในตัวเองจึงเปน็ แหล่งกำเนิดแสง เรามองเห็นดาว เรื่อง นิทานดาว ดังนั้นครูควรเตรียมหา ฤกษ์ได้เพราะมีแสงจากดาวฤกษ์เข้าสู่ตาเราโดยตรง ส่วนดาวเคราะห์ไม่มี อุปกรณเ์ พ่อื เปดิ วดี ทิ ัศน์ดงั กลา่ ว แสงในตัวเอง จงึ ไม่ใชแ่ หล่งกำเนิดแสง แตเ่ รามองเห็นได้ เพราะมีแสงจาก ดวงอาทิตย์ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดแสงตกกระทบดาวเคราะห์แล้วสะท้อนเขา้ สู่ตาเรา (S13) 12. นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายเพ่ือตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้ คำถามเพิม่ เติมในการอภปิ รายเพื่อให้ได้แนวคำตอบท่ถี ูกต้อง 13. นักเรียนร่วมกันสรปุ สิง่ ท่ีได้เรียนรู้ในกจิ กรรมน้ี จากนั้นนักเรียนอ่าน สิ่งท่ี ได้เรยี นรู้ และเปรยี บเทียบกับข้อสรุปของตนเอง 14. ครกู ระต้นุ ใหน้ กั เรียนฝึกตงั้ คำถามเกี่ยวกบั เรื่องท่ีสงสยั หรอื อยากรู้เพิ่มเติม ใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2 -3 คน นำเสนอคำถามของ ตนเองหน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคำถามที่ นำเสนอ 15. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างในขั้นตอนใด และ บันทึกลงในแบบบนั ทึกกจิ กรรมหนา้ 43 ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จักร 126 แนวคำตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม สร้างแบบจำลองเพอื่ อธบิ าย การมองเหน็ ดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ คำตอบขึน้ อยกู่ ับการอภิปรายของนกั เรยี น แตค่ รูควรแกไ้ ขคำตอบใหถ้ ูกต้อง โดยเรามองเห็นดาวเคราะห์บนท้องฟ้าได้ เพราะ แสงของดวงอาทติ ยห์ รือดาวฤกษ์ตกกระทบดาวเคราะห์แลว้ สะท้อนเข้าสู่ตาเรา สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

127 ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จักร คำตอบขึน้ อยู่กับการอภปิ รายของนักเรียน แต่ครคู วรแกไ้ ขคำตอบให้ถกู ต้อง โดยเรามองเห็นดาวฤกษ์บนทอ้ งฟ้าได้ เพราะ ดาวฤกษ์มีแสงสวา่ งในตวั เอง และแสงจากดาวฤกษเ์ ดนิ ทางเขา้ สตู่ าเรา คำตอบข้นึ อยู่กับการทำกจิ กรรมของนักเรยี น เช่น ดาวเคราะห์ อวกาศ ดวงอาทติ ย์ ดาวฤกษ์ ภาพรา่ งแบบจำลองข้นึ อยู่กับการออกแบบของนักเรียน นักเรยี นสามารถออกแบบ ได้ตามความคดิ ของกลุ่ม โดยแบบรา่ งอาจมรี ายละเอียด ดังตวั อย่าง เจาะรเู พื่อมอง ลกู บอลแทน ไฟฉายกระบอกใหญ่แทนดวงอาทติ ย์ ดาวเคราะห์ ไฟฉายกระบอกเล็กแทนดาวฤกษ์ มมุ มองด้านข้าง (Side view) เจาะรเู พือ่ สอดกระบอกไฟฉาย กลอ่ งกระดาษแทนอวกาศ มุมมองดา้ นบน (Top view) วางอปุ กรณ์ในกล่อง ดังรปู จากนน้ั ปดิ ฝา - ปดิ ไฟฉาย : สังเกตการมองเห็นดาว เคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ - เปดิ ไฟฉาย : สังเกตการมองเห็น ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจกั ร 128 คำตอบขึ้นอยู่กบั การทำกจิ กรรมของนกั เรยี น เช่น 1. เจาะรูดา้ นข้างของกล่อง 2 รู และฝากล่อง 1 รู จากน้นั นำวตั ถทุ รงกลมวางไวใ้ นกล่องแล้วปิดฝากลอ่ ง 2. สอดไฟฉายไวท้ ี่รทู ั้งสอง โดยยังไม่เปดิ ไฟฉาย จากน้นั สังเกตวตั ถทุ รงกลมและไฟฉายผ่านรทู ี่ฝากลอ่ ง 3. เปิดไฟฉาย สังเกตวัตถทุ รงกลม และสังเกตไฟฉายอีกครงั้ โดยสวมแวน่ กนั แดด และไม่ใช้เวลาในการ สงั เกตนาน เพราะจะทำให้สายตาเสยี ได้ คำตอบขนึ้ อยู่กบั การทำกจิ กรรมของนกั เรียน เช่น ใช้ไฟฉายแทนดาวฤกษ์เพราะ ดาวฤกษ์มีแสงในตวั เอง ใช้วัตถุทรงกลมแทนดาวเคราะห์ เพราะดาวเคราะห์คล้าย ทรงกลมและไม่มแี สงในตัวเอง ใชก้ ล่องแทนอวกาศ เพราะ ในกลอ่ งมืด สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

129 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จักร คำตอบขน้ึ อยู่กับการทำกจิ กรรมของนักเรียน เช่น เปน็ ดาวที่ไม่มแี สงในตัวเอง เปน็ ดาว เป็นดาวทมี่ แี สงในตวั เอง โคจรรอบดาวฤกษ์ คนบน มีลักษณะคลา้ ย เช่น ดวงอาทิตยซ์ ึ่งเปน็ โลกมองเห็นดาวเคราะห์ได้ ทรงกลม ศูนย์กลางของระบบสุริยะ เพราะเม่ือดาวเคราะหไ์ ด้รับ ส่วนดาวฤกษ์ดวงอืน่ อยู่ แสงจากดวงอาทติ ย์ แสง นอกระบบสุริยะ คนบนโลก จะสะท้อนเขา้ ตาของผูส้ ังเกต มองเหน็ ดาวฤกษ์ได้ เพราะดาวฤกษ์ส่องแสงเข้าตา ผู้สงั เกตโดยตรง หมายเหตุ ครอู าจแนะนำวิธกี ารเขียนแผนภาพวา่ บริเวณทว่ี งกลม 2 วง ซอ้ นกันให้นักเรียนเขียนส่ิงท่ดี าวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์เหมอื นกนั ใช้ไฟฉายแทนดาวฤกษ์ เพราะ ดาวฤกษเ์ ปน็ แหลง่ กำเนดิ แสง จงึ มแี สงในตวั เอง ใช้วตั ถทุ รงกลมแทนดาวเคราะห์ เพราะ ไม่ใช่แหลง่ กำเนดิ แสง จงึ ไม่มีแสงในตวั เอง ดาวเคราะหไ์ ม่ใช่แหลง่ กำเนิดแสง จึงไมม่ ีแสงในตวั เอง แต่เรามองเหน็ ได้เพราะมแี สงจาก ดวงอาทิตย์หรอื ดาวฤกษต์ กกระทบและสะทอ้ นเข้าสตู่ าเรา ดาวฤกษเ์ ป็นแหลง่ กำเนดิ แสง แสงจากดาวฤกษส์ ามารถเข้าสู่ตาเราได้โดยตรง เราจงึ มองเหน็ ดาวฤกษ์ ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจกั ร 130 ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ เป็นดาวที่มลี ักษณะคล้ายทรงกลมเหมือนกนั แต่มีข้อ แตกตา่ งกันที่ ตำแหน่งและการเคลือ่ นที่ของดาว โดยดาวฤกษเ์ ป็นศนู ย์กลางของ ระบบซ่ึงมีดาวเคราะห์โคจรโดยรอบ ดาวเคราะห์เป็นดาวที่ไม่มีแสงในตัวเอง แต่เรามองเห็นได้ เพราะดาวเคราะห์สะท้อนแสงท่ี ได้รับจากดวงทิตย์หรือดาวฤกษ์เข้าสู่ตาเรา ส่วนดวงอาทิตย์หรือดาวฤกษ์ เป็นแหล่งกำเนดิ แสงจึงมีแสงในตัวเอง แสงจากดวงอาทิตย์หรือดาวฤกษ์เข้าสู่ตาเรา เราจึงมองเห็น ดวงอาทติ ยแ์ ละดาวฤกษ์ได้โดยตรง เรามองเห็นดาวเคราะห์ซึ่งเป็นดาวที่ไม่มีแสงในตัวเอง ได้ เพราะดาวเคราะห์สะท้อนแสงท่ี ได้รับจากดวงทิตย์หรือดาวฤกษ์เข้าสูต่ าเรา ส่วนดวงอาทิตย์หรือดาวฤกษ์ เป็นดาวที่มีแสงใน ตวั เอง แสงจากดวงอาทติ ยห์ รอื ดาวฤกษ์เขา้ สู่ตาเรา เราจึงมองเหน็ ดวงอาทติ ยแ์ ละดาวฤกษ์ได้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

131 ค่มู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จักร คำถามของนกั เรียนทตี่ ัง้ ตามความอยากรูข้ องตนเอง       ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จักร 132 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรียนรขู้ องนกั เรียนทำได้ ดงั น้ี 1. ประเมนิ ความรเู้ ดิมจากการอภิปรายในช้นั เรียน 2. ประเมนิ การเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหวา่ งการจดั การเรยี นรแู้ ละจากแบบบนั ทึกกิจกรรม 3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จากการทำกจิ กรรมของนกั เรยี น การประเมินจากการทำกจิ กรรมท่ี 1 มองเหน็ ดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษไ์ ดอ้ ย่างไร ระดบั คะแนน 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง 3 คะแนน หมายถึง ดี รหัส สงิ่ ท่ีประเมิน คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงข้อสรุป S14 การสร้างแบบจำลอง ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C1 การคิดอย่างสรา้ งสรรค์ C4 การสอ่ื สาร C5 ความร่วมมือ รวมคะแนน สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

133 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จักร ตาราง แสดงการวิเคราะหท์ ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต์ ามระดับความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ ดังน้ี ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรับปรุง (1) ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2) S1 การสังเกต การวาดหรือบรรยายการ สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัสเก็บ มองเห็นแสงจากดาว เก็บรายละเอียดข้อมูล เก็บรายละเอียดข้อมูล รายละเอียดข้อมูลแต่บรรยาย เคราะหแ์ ละดาวฤกษ์จาก และบรรยายเกี่ยวกับการ และบรรยายเกี่ยวกับการ รายละเอียดเกี่ยวกับการ แบบจำลอง มองเห็นแสงจา กด าว มองเห็นแสงจากดาว มองเห็นแสงจากดาวเคราะห์ เคราะห์และดาวฤกษ์จาก เคราะห์และดาวฤกษ์ได้ และดาวฤกษ์จากแบบจำลอง แบบจำลองไดด้ ว้ ยตนเอง จากแบบจำลอง จากการ ได้ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ แม้ว่า ชี้แนะของครูหรือผู้อ่ืน จะได้รับคำชี้แนะจากครูหรือ หรือมีการเพิ่มเติมความ ผอู้ ืน่ คดิ เห็น S8 การลงความเห็น ลงความเห็นจากขอ้ มูลได้ สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก จากข้อมูล ว่า มองเห็นดาวเคราะห์ ข้อมูลได้ว่า มองเห็นดาว ข้อมูลได้ว่า การมองเห็น ข้อมูลได้ถูกต้องเป็นบางส่วน ได้ เพราะดาวเคราะห์ เคราะห์ได้ เพราะดาว ดาวเคราะห์ได้ เพราะดาว ว่า เรามองเห็นดาวเคราะห์ได้ ได้รับแสงจากดวงทิตย์ เคราะห์ได้รับแสงจากดวง เคราะห์ได้รับแสงจากดวง เพราะดาวเคราะห์ได้รับแสง แล้วสะท้อนเข้าสู่ตาเรา ทิตย์แล้วสะท้อนเข้าสู่ตา ทิตย์แล้วสะท้อนเข้าสู่ตา จากดวงทิตย์แล้วสะท้อนเข้าสู่ ส่วนดวงอาทิตย์หรือดาว เรา ส่วนดวงอาทิตย์หรือ เรา ส่วนดวงอาทิตย์หรือ ตาเรา ส่วนดวงอาทิตย์หรือ ฤกษ์ส่องแสงเข้าสู่ตาเรา ดาวฤกษ์ส่องแสงเข้าสู่ตา ดาวฤกษ์ส่องแสงเข้าสู่ตา ดาวฤกษ์ส่องแสงเข้าสู่ตาเรา โดยตรง เราโ ดยตรง ได้อย่าง เราโดยตรงไดอ้ ยา่ งถูกต้อง โดยตรง ถกู ตอ้ ง ไดด้ ้วยตนเอง จากการชี้แนะของครูหรือ ผู้อน่ื ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจกั ร 134 ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2) S13 การ ตีความหมายข้อมูลจาก สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมายข้อมูล ตีความหมาย แ บ บ จ ำ ล อ ง ไ ด ้ ว่ า ข้อมูลและลงข้อสรุปจาก ข้อมูลได้ว่ามองเห็นลูก และลงข้อสรุปจากแบบจำลอง ข้อมูลและลง มองเห็นลูกบอลหรือดาว แบบจำลองได้ด้วยตนเอง บอลได้เมื่อได้รับแสงจาก ได้เพียงบางส่วนแม้ว่าจะ ข้อสรุป เคราะห์ได้เมื่อได้รับแสง ว่ามองเห็นลูกบอลได้เมื่อ ไ ฟ ฉ า ย แ ต ่ ส า ม า ร ถ ไดร้ ับคำชแี้ นะจากครูหรือผู้อื่น จากไฟฉายหรือดาวฤกษ์ ได้รับแสงจากไฟฉาย แต่ มองเห็นแสงจากไฟฉายได้ ได้ว่ามองเห็นลูกบอลหรือ แต่สามารถมองเห็นแสง สามารถมองเห็นแสงจาก โดยตรง และลงข้อสรุป ดาวเคราะห์ได้เมื่อได้รับแสง จากไฟฉายหรือดาวฤกษ์ ไฟฉายได้โดยตรงและลง ได้ว่า ดาวเคราะห์ได้รับ จากไฟฉายหรือดาว ฤกษ์ ได้โดยตรงและลงข้อสรุป ข้อสรุปได้ว่า ดาวเคราะห์ แสงจากดวงทิตย์ แล้ว แต่สามารถมองเห็นแสงจาก ได้ว่า ดาวเคราะห์ได้รับ ได้รับแสงจากดวงทิตย์ สะท้อนเข้าสู่ตาเรา ส่วน ไฟฉายไดโ้ ดยตรง แสงจากดวงทิตย์แล้ว แล้วสะท้อนเข้าสู่ตาเรา ดวงอาทิตย์หรือดาวฤกษ์ สะท้อนเข้าสู่ตาเรา ส่วน ส่วนดวงอาทิตย์หรือดาว ส่องแสงเข้าสู่ตาเรา ดวงอาทิตย์หรือดาวฤกษ์ ฤกษ์ส่องแสงเข้าสู่ตาเรา โดยตรง จากการชี้แนะ ส่องแสงเข้าสู่ตาเรา โดยตรงไดด้ ้วยตนเอง จากครแู ละผู้อนื่ โดยตรง S13 การสร้าง อธิบายการมองเห็นแสง ส า ม า ร ถ อ ธ ิ บ า ย ก า ร สามารถใช้แบบจำลองที่ สามารถอธิบายการมองเห็น แบบจำลอง จากดาวเคราะห์และดาว มองเห็นแสงจา กด าว ส ร ้ า ง ขึ ้ น อธิ บา ย การ แสงจากดาวเคราะห์และ ฤกษ์ โดยใช้แบบจำลองท่ี เคราะห์และดาวฤกษ์ โดย มองเห็นแสงจากดาว ดาวฤกษ์ โดยใช้แบบจำลองท่ี สรา้ งข้นึ ใช้แบบจำลองที่สร้างข้ึน เคราะห์และดาวฤกษ์ โดย สร้างขึ้นได้ถูกต้องบางส่วน ได้ด้วยตนเองอยา่ งถกู ต้อง ใช้แบบจำลองที่สร้างข้ึน แม้ว่าจะได้รับการชี้แนะ ได้ โดยอาศัยการชี้แนะ จากครหู รือผ้อู ื่น จากครแู ละผอู้ น่ื สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

135 คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจกั ร ตาราง แสดงการวเิ คราะห์ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ตามระดบั ความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใช้เกณฑ์การประเมิน ดงั นี้ ทักษะแห่ง รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ ศตวรรษท่ี 21 C1 การคดิ อยา่ ง ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) สร้างสรรค์ อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ส ร ้ า ง สามารถออกแบบ และ สามารถออกแบบ และสร้าง ออกแบบและสร้างแบบจำลอง C4 การสอ่ื สาร แบบจำลองเพื่ออธิบายการ สร้างแบบจำลองแสดง แ บ บ จ ำ ล อ ง แ ส ด ง แ ส ด ง ก า ร ไ ด ้ ร ั บ แ ส ง ข อ ง C5 ความรว่ มมือ มองเห็นแสงจากดาวเคราะห์ ก า ร ไ ด ้ ร ั บ แ ส ง ข อ ง ก า ร ไ ด ้ ร ั บ แ ส ง ข อ ง ดาวเคราะห์และการส่องแสงของ และดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์และการส่องแสง ดาวเคราะห์และการส่องแสง ดาวฤกษ์ เพื่ออธิบายการมองเห็น ของดาวฤกษ์ เพอ่ื อธบิ าย ของดาวฤกษ์ เพื่ออธิบาย ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ได้แต่ไม่ การมองเห็นดาวเคราะห์ การมองเห็นดาวเคราะห์ สมบูรณ์ แม้ว่าจะได้รับคำแนะนำ และดาวฤกษ์ได้ด้วย และดาวฤกษ์ได้ โดยต้อง จากครหู รือผ้อู ่นื ตนเองอย่างถูกต้อง อาศัยการชี้แนะของครู หรอื ผอู้ ืน่ นำเสนอข้อมูลจากการ สามารถนำเสนอข้อมูล สามารถนำเสนอข้อมูล สามารถนำเสนอข้อมูลจากการ สร้างแบบจำลองและ จากการสร้างแบบจำลอง จากการสร้างแบบจำลอง สรา้ งแบบจำลองและสบื ค้นข้อมูล สืบค้นข้อมูล เพ่ืออธิบาย และสืบค้นข้อมูล เพื่อ และสืบค้นข้อมูล เพ่ือ เพื่ออธิบายและเปรียบเทียบ และเปรยี บเทยี บดาวเคราะห์ อธิบายและเปรียบเทียบ อธิบายและเปรียบเทียบ ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์เพื่อให้ และดาวฤกษ์เพ่ือให้ผู้อื่น ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ ผู้อื่นเข้าใจได้เพียงบางส่วน แม้ว่า เข้าใจ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้ด้วย เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้ โดย จะได้รบั คำชแ้ี นะจากครูหรอื ผู้อืน่ ตนเอง อาศัยการชี้แนะจากครู หรือผู้อ่นื ท ำ ง า น ร ่ ว ม ก ั บ ผ ู ้ อ่ื น สามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน สามารถทำงานร่วมกับ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในการ ในการสร้างแบบจำลอง ในการสร้างแบบจำลอง และ ผ ู ้ อ ื ่ น ใ น ก า ร ส ร ้ า ง สร้างแบบจำลองและสืบค้นข้อมูล และสืบค้นข้อมูล เพื่อ สืบค้นข้อมูล เพื่ออธิบาย แบบจำลองและสืบค้น เพื่ออธิบายการมองเห็นและ อธิบายการมองเห็นและ การมองเห็นและปรียบ ข้อมูล เพื่ออธิบายการ เปรียบเทียบดาวเคราะห์และดาว เปรียบเทียบดาวเคราะห์ เทียบดาวเคราะห์และ มองเห็นและปรียบเทียบ ฤกษ์ ไดบ้ างช่วงเวลา แตไ่ ม่แสดง และดาวฤกษ์ รวมท้ัง ดาวฤกษ์รวมทั้งยอมรับ ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ ความสนใจต่อความคิดเห็นของ ยอมรับความคิดเห็นของ ความคิดเห็นของผู้อื่น รว มทั้งยอมรับคว าม ผู้อื่น ท้ังนี้ต้องอาศัยการกระตุ้น ผู้อนื่ ต้งั แตเ่ รม่ิ ต้นจนสำเรจ็ คิดเห็นของผู้อื่น บาง จากครูหรือผู้อื่นตลอดช่วงเวลาที่ ชว่ งเวลาทท่ี ำกิจกรรม ทำกิจกรรม ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จักร 136 เร่ืองที่ 2 กลุ่มดาวบนท้องฟ้า ในเรื่องนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับกลุ่มดาว การ มองเห็นกลุ่มดาวมีรูปร่างต่าง ๆ ตามจินตนาการของผู้ สังเกต รวมถึงการใช้แผนที่ดาวเพื่อช่วยในการสังเกตกลุ่ม ดาว และระบตุ ำแหนง่ ของกลมุ่ ดาว จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สือ่ การเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้ 1. สังเกตและอธิบายเก่ียวกับกลุ่มดาวและ 1. หนังสือเรยี น ป. 5 เล่ม 2 หน้า 56-57 การมองเหน็ รปู ร่างของกลมุ่ ดาว 2. แบบบันทกึ กิจกรรม ป. 5 เล่ม 2 หนา้ 44 2. ใช้แผนที่ดาวช่วยในการสังเกตปรากฏการณ์ขึ้น และตกของกลุ่มดาว 3. สงั เกตและอธบิ ายวฏั จกั รการปรากฏของ กลุม่ ดาว เวลา 4 ช่ัวโมง วสั ดุ อปุ กรณ์สำหรบั ทำกจิ กรรม รูปกล่มุ ดาว แผนทด่ี าว เข็มทศิ นาฬิกา กระดาษแกว้ สแี ดง ไฟฉายขนาดเล็ก ยางรดั ของ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

137 ค่มู ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จกั ร แนวการจดั การเรยี นรู้ (60 นาท)ี ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ ข้ันตรวจสอบความรู้ (10 นาที) ครอู าจนำขอ้ มลู เกี่ยวกบั กลมุ่ ดาวทีน่ ำเสนอ ในสื่ออื่น ๆ เช่น โปรแกรม stellarium และ 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับกลุ่มดาวที่นักเรียนรู้จัก Celestia โปรแกรมประยกุ ต์ (Application) บน โดยอาจใชค้ ำถาม ดงั น้ี โทรศัพท์เคลื่อนที่ เช่น Skyview Free, Star 1.1 นักเรียนรู้จักกลุ่มดาวอะไรบ้าง (นักเรียนตอบได้ตามความเข้าใจของ Chart และ Space Journey มากระตุ้นความ ตนเอง) สนใจของนกั เรียนในการนำเข้าสู่บทเรียนหรือใช้ 1.2 กลุ่มดาวคอื อะไร (นกั เรียนตอบได้ตามความเขา้ ใจของตนเอง) เป็นตวั อยา่ งแบบจำลองในการสรปุ บทเรยี น ครูเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของนักเรียนสู่การเรียนเรื่องกลุ่มดาวบน ท้องฟ้า โดยให้นักเรียนไปหาคำตอบร่วมกันจากการอ่านเรื่องกลุ่มดาว บนท้องฟ้า ข้ันฝกึ ทกั ษะจากการอา่ น (30 นาท)ี ในการตรวจสอบความรู้ ครู เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนและ 2. นักเรียนอ่านชื่อเรื่อง และคำถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียนหน้า ยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวน 56 แล้วร่วมกันอภิปรายในกลุ่มเพื่อหาคำตอบตามความเข้าใจของกลุ่ม ให้นักเรียนไปหาคำตอบด้วยตนเอง ครูบันทึกคำตอบของนกั เรยี นบนกระดานเพือ่ ใช้เปรียบเทยี บกบั คำตอบ จากการอา่ นเนอ้ื เร่อื ง ภายหลังการอา่ นเน้อื เร่อื ง นักเรียนอาจไม่สามารถตอบ 3. นักเรียนอ่านคำสำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว อ่านไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชักชวนให้นักเรียน คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด อธิบายความหมายของคำสำคญั จากเนอื้ เรื่องท่ีจะอา่ น อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน แ ล ะ รั บ ฟ ั ง แ น ว ค ว า ม ค ิ ด ข อ ง 4. ครูชวนนักเรียนอ่านเนื้อเรื่อง โดยครูฝึกการอ่านด้วยวิธีที่เหมาะสมกับ นกั เรียน ความสามารถของนักเรียน จากนั้นร่วมกันอภิปรายใจความสำคัญตาม แนวคำถามดงั นี้ 4.1 จากนิทานกล่าวถึงกลุ่มดาวใดบ้าง (กลุ่มดาวนายพราน กลุ่มดาว สนุ ขั ใหญ่ กลุ่มดาวแมงป่อง) 4.2 การเกิดกลุ่มดาวเป็นจริงตามเรื่องเล่าหรือไม่ เพราะเหตุใด (นกั เรยี นตอบไดต้ ามความเขา้ ใจของตนเอง) 4.3 นักเรียนคิดว่าท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร ยกตัวอย่างสิ่งที่มีลักษณะ คล้ายท้องฟ้า (ท้องฟ้ามีลักษณะคล้ายครึ่งทรงกลม ซึ่งคล้ายฝาชี โดมหรอื ฝาแกว้ กาแฟพลาสติก) ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 วัฏจกั ร 138 4.4 นักเรียนสามารถหาตำแหน่งของเส้นขอบฟ้าได้อย่างไร (นักเรียน ความรเู้ พม่ิ เตมิ สำหรบั ครู อาจตอบคำถามโดยใช้วิธีสาธิตวิธีการหาเส้นขอบฟ้า โดยเหยียด แขนออกไปตามแนวราบ แล้วมองไปตามแนวปลายแขนจนเห็น ขอบฟ้า จากนั้นหมุนตัวและมองไปตามแนวปลายแขนอย่าง ต่อเนื่องจะมองเห็นแนวเส้นขอบฟา้ ) 4.5 สถานที่ใดที่นักเรียนสามารถมองเห็นเส้นขอบฟ้าได้ชัดเจนที่สุด เพราะเหตใุ ด (นกั เรยี นตอบได้ตามความคิดของนักเรยี น เช่น ทะเล หรือบนตึกสูง เพราะไม่มีอาคารบ้านเรือนหรือต้นไม้มาบดบังแนว เสน้ ขอบฟ้า) 4.6 นักเรียนสามารถหาตำแหน่งของจุดเหนือศีรษะได้อย่างไร (นักเรียนอาจตอบคำถามโดยใช้วิธีสาธิตการหาตำแหน่งของจุด เหนือศีรษะ โดยชูมือขึ้นไปตรง ๆ เหนือศีรษะ แล้วแหงนหน้ามอง ทปี่ ลายมอื ซึ่งเป็นจุดสูงสดุ ของทอ้ งฟา้ ทต่ี รงกบั ศีรษะตนเอง) 4.7 นักเรียนสามารถเดินทางไปยังจุดเหนือศีรษะและเส้นขอบฟ้าได้ หรือไม่ เพราะเหตุใด (ไม่ได้ เพราะจุดเหนือศีรษะและเส้นขอบฟ้า เปน็ เพียงตำแหนง่ ทสี่ มมตขิ ึ้น ไม่ได้มีอยจู่ รงิ ) ข้นั สรปุ จากการอา่ น (20 นาท)ี 5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า กลุ่มดาว คือ ในการอธิบายลักษณะของท้องฟ้า ดาวฤกษ์ที่มองเห็นเรียงกันเป็นกลุ่มมีรูปร่างต่าง ๆ บนท้องฟ้า โดย ครูอาจใช้ แบบจำลองครึ่งทรงกลมฟ้าท่ี ท้องฟ้ามีลักษณะคล้ายครึ่งทรงกลมครอบตัวผู้สังเกต และมีตำแหน่ง โรงเรียนมีอยู่ หรือใช้อุปกรณ์อื่นที่มี สมมติเช่น จุดเหนือศีรษะเป็นตำแหน่งที่มองเห็นเหมือนสูงที่สุดบน ลักษณะคล้ายครึ่งทรงกลม เช่น ฝาชี ท้องฟ้า และเส้นขอบฟ้า เป็นแนวเส้นที่มองเห็นเหมือนท้องฟ้าและ ลูกบอลผ่าครึ่ง เพื่ออธิบายตำแหน่งของ พน้ื น้ำหรือพนื้ ดินมาบรรจบกัน เส้นขอบฟ้าและจุดเหนือศีรษะ โดย เส้นขอบฟ้า คือ บริเวณฐานของครึ่งทรง 6. นักเรียนตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านในรู้หรือยัง ในแบบบันทึกกิจกรรม กลม ส่วนจุดเหนือศีรษะคือตำแหน่ง หน้า 57 ศูนยก์ ลางของครึ่งทรงกลม 7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคำตอบของนักเรียนใน รูห้ รือยังกับคำตอบทเี่ คยตอบและบันทึกไว้ในคิดก่อนอ่าน 8. ครูชักชวนนักเรียนตอบคำถามท้ายเรื่องที่อ่าน ดังนี้ เส้นขอบฟ้าและ จุดเหนือศีรษะเกี่ยวข้องกับการระบุตำแหน่งของกลุ่มดาว อย่างไร ครู บันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดานโดยยังไม่เฉลยคำตอบ แต่ชักชวน ใหน้ ักเรยี นหาคำตอบจากการทำกิจกรรม สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

139 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จักร แนวคำตอบในแบบบันทึกกิจกรรม ดาวฤกษ์หลาย ๆ ดวงท่มี าเรียงกนั เป็นกลุ่มดาวมองเหน็ บนท้องฟา้ เส้นขอบฟา้ คอื เส้นสมมตริ อบตัวเรา ท่ีมองเห็นเหมือนท้องฟ้าและพนื้ น้ำหรือ พืน้ ดนิ มาบรรจบกนั ส่วนจดุ เหนือศีรษะ คอื จดุ สมมตทิ ี่อยู่เหนือศีรษะของ ผูส้ ังเกต และมองเห็นว่าบรเิ วณนน้ั เป็นจุดทส่ี งู ท่สี ุดบนท้องฟา้ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วัฏจักร 140 กจิ กรรมท่ี 2.1 เหตใุ ดจงึ เห็นกลุ่มดาวเปน็ รปู ร่างตา่ ง ๆ กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้สังเกตลักษณะการเรียงตัว สอื่ การเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้ ของดาวฤกษ์ เพื่ออธิบายสาเหตุการมองเห็นกลุ่มดาวเป็น รูปรา่ งต่าง ๆ 1. หนังสอื เรยี น ป. 5 เล่ม 2 หนา้ 58-59 เวลา 1 ชวั่ โมง 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม ป. 5 เลม่ 2 หนา้ 45-47 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สังเกตและอธิบายเกี่ยวกับกลุ่มดาวและการมองเห็น กลมุ่ ดาวเป็นรปู รา่ งตา่ ง ๆ วสั ดุ อุปกรณ์สำหรบั ทำกจิ กรรม สงิ่ ที่ครตู อ้ งเตรียม/กลุ่ม - รูปกล่มุ ดาวของนักดาราศาสตร์ สิ่งที่นกั เรียนต้องเตรยี ม/กล่มุ - ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S1 การสังเกต S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 C1 การคดิ อยา่ งสร้างสรรค์ C4 การสอื่ สาร สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

141 คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจกั ร แนวการจดั การเรยี นรู้ ครูรับฟังเหตุผลของ นักเรียนเป็นสำคัญ ครูยังไม่ 1. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับกลุ่มดาว โดยอาจใช้รูปท้องฟ้าใน เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้ เวลากลางคืนหรือรูปกลุ่มดาวบนท้องฟ้า จากนั้น ครูชักชวนนักเรียน หาคำตอบที่ถูกต้องจากกิจกรรม อภปิ ราย โดยใช้คำถามดงั นี้ ตา่ ง ๆ ในบทเรยี นี้ 1.1 จากรูป นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง (นักเรียนตอบได้ตามความคิดของ ตนเอง โดยครูอาจบันทึกคำตอบของนักเรียนไว้บนกระดาน เช่น เห็น กล่มุ ดาวตา่ ง ๆ) 1.2 กลุ่มดาวท่ีนักเรียนสังเกตมองเห็นเป็นรปู ร่างอะไร (นักเรียนตอบได้ตาม ความคดิ ของตนเอง เชน่ รูปนายพราน รปู มงั กร) 1.3 เหตุใดจึงมองเห็นกลุ่มดาวเป็นรูปร่างต่าง ๆ (นักเรียนตอบได้ตาม ความคิดของตนเอง) 2. ครูเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมที่ 2.1 ครูกระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามข้อ 1.1-1.3 โดยครูยังไม่เฉลยคำตอบ แต่ชักชวนให้นกั เรียนหาคำตอบจากการทำกิจกรรม ท่ี 2.1 เหตุใดจงึ มองเหน็ กลุ่มดาวเป็นรปู ร่างต่าง ๆ 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม เหตุใดจึงมองเห็นกลุ่มดาวเป็นรูปร่างต่าง ๆ และ ทำเป็นคิดเป็น โดยร่วมกันอภิปรายทีละประเด็นเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ เก่ยี วกบั จดุ ประสงค์ ในการทำกจิ กรรมโดยใช้คำถามดงั น้ี 3.1 กจิ กรรมนีน้ ักเรยี นจะได้เรียนเรื่องอะไร (การมองเหน็ กลุ่มดาวเป็นรูปร่าง ตา่ ง ๆ) 3.2 นักเรียนจะได้เรียนรเู้ รื่องน้ีโดยวธิ ใี ด (เรยี นโดยวธิ ีการสังเกต) 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (อธิบายการมองเห็นกลุ่มดาวเป็น รปู รา่ งตา่ ง ๆ) 4. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 45 แล้วอ่าน ส่งิ ทตี่ อ้ งใช้ในการทำกิจกรรม ไดแ้ ก่ รปู กลุ่มดาว ซ่ึงอยู่ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา้ 45 5. นักเรียนอ่าน ทำอย่างไร ทีละข้อแล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปลำดับขั้นตอน การทำกิจกรรมตามความเข้าใจโดยครูช่วยเขียนสรุปสั้น ๆ บนกระดาน จากน้ันอภปิ รายตามแนวคำถามดงั ต่อไปน้ี 5.1 นักเรียนต้องสังเกตสิ่งใดในรูปจากแบบบันทึกหน้า 45 (สังเกตลักษณะ การเรยี งตวั ของดาวฤกษ์) 5.2 นักเรียนต้องทำอะไรอีกบ้าง (จินตนาการว่า ดาวต่าง ๆ ที่เรียงตัวกันมี รูปร่างคล้ายสิ่งใด แล้วลากเส้นเชื่อมโยงดาวต่าง ๆ และวาดรูปตาม จินตนาการทบั ลงไปบนเสน้ ) ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จักร 142 5.3 คำว่า จินตนาการ มีความหมายว่าอย่างไร เมื่อนักเรียนจินตนาการ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ หมายความว่านักเรียนต้องทำอะไร (นักเรียนตอบไดต้ ามความเขา้ ใจของ และทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทนี่ กั เรยี น ตนเอง แต่ครูควรสรุปวา่ จนิ ตนาการคอื การสร้างภาพขึ้นในสมอง) จะไดฝ้ กึ จากการทำกิจกรรม 6. เมื่อนักเรียนเข้าใจขั้นตอนการทำกิจกรรม ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม และบนั ทกึ ผลในแบบฝึกหัด หน้า 45 จากนั้น ให้นกั เรียนผลัดกันนำเสนอภาพ S1 การสงั เกตการเรียงตัวของดาว กลุ่มดาวตามจินตนาการของตนเองต่อกลุ่ม แล้วร่วมกันอภิปรายโดยใช้ S8 อภิปรายรูปร่างของกลุ่มดาว คำถามดังนี้ 6.1 ภาพกลุ่มดาวของนักเรียนแต่ละคนเหมือนหรือแตกตา่ งกันอย่างไร (ส่วน เมื่อใช้จินตนาการแล้วลากเส้น ใหญ่แตกต่างกันหรืออาจเหมือนกัน ขึ้นอยู่กับการทำกิจกรรม เชื่อมโยง ในชน้ั เรยี น) C1 การจนิ ตนาการลากเสน้ เชื่อมโยง 6.2 นักเรยี นวาดรปู ออกมาแตกต่างกันเปน็ เพราะเหตุใด (แตกต่างกัน เพราะ ดาวฤกษ์เป็นรปู รา่ งตา่ ง ๆ นักเรยี นแตล่ ะคนมจี นิ ตนาการไม่เหมอื นกนั ) C4 การสื่อสาร โดยนำเสนอข้อมูล จากการสังเกตและจินตนาการ 7. ครูนำรูปที่นักดาราศาสตร์ได้จินตนาการไว้ และได้ตั้งชื่อกลุ่มดาวไว้แล้วให้ ลากเส้นเชื่อมโยงดาวฤกษ์เป็น นักเรียนดู เปรียบเทียบกับจินตนาการของนักเรียน จากนั้นร่วมอภิปรายตาม รูปร่างตา่ ง ๆ ประเด็นต่อไปนี้ 7.1 จินตนาการของใครเหมือนกับจินตนาการของนักดาราศาสตร์บ้าง และมี ความรเู้ พมิ่ เตมิ สำหรับครู ใครที่ไมเ่ หมอื น (คำตอบขน้ึ อยู่กับการทำกิจกรรมของนักเรยี น) 7.2 ถา้ จินตนาการของใครต่างจากนกั ดาราศาสตร์ แสดงว่าเป็นสงิ่ ท่ีไม่ถูกต้อง กลุ่มดาวคือ กลุ่มของดาวฤกษ์ที่มี ใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด (ไม่ใช่ เพราะจินตนาการขึ้นอยู่กับความคิดและ ตำแหน่งและปรากฏการณ์ขึ้นและตกที่คงที่ ประสบการณ์ของแต่ละคนซึ่งไม่จำเป็นต้องจินตนาการได้เหมือนกับ สามารถจินตนาการลากเส้นสมมติระหว่าง นกั ดาราศาสตร์) ดวงดาวให้เหน็ เปน็ รปู ร่างต่าง ๆ 7.3 จินตนาการของมนุษย์แตกต่างกันเพราะเหตุใด (เพราะมนุษย์แต่ละคนมี วัฒนธรรมและประสบการณ์ทีแ่ ตกตา่ งกัน) ดาวทุกดวงในกลุม่ ดาวเปน็ ดาวฤกษ์โดย ดาวแต่ละดวงมีขนาดและระยะห่างจากโลก 8. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายและลงข้อสรุปรว่ มกันวา่ กลุ่มดาวประกอบด้วย ไม่เท่ากัน แต่ที่คนบนโลกมองเห็นดาวต่าง ๆ ดาวฤกษ์หลายดวง ที่มองเห็นเรียงตัวอยู่ใกล้ ๆ กัน การมองเห็นกลุ่มดาวมี มีขนาดใกล้เคียงกัน เนื่องจากดาวต่าง ๆ รูปรา่ งต่าง ๆ เกดิ จากจินตนาการของมนุษย์ อยู่ไกลจากโลกมาก จึงทำให้คนบนโลก มองเห็นดาวเหล่านั้นมีขนาดใกล้เคียงกัน 9. นักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้คำถามเพิ่มเติมใน และดเู หมอื นอยู่หา่ งจากโลกเทา่ กนั ด้วย การอภิปรายเพ่ือให้ได้แนวคำตอบท่ีถูกต้อง 2003 – 2010 The LESA Project 10. ครใู หน้ กั เรยี นสรปุ ส่ิงท่ีได้เรยี นรู้ในกิจกรรมน้ี จากนั้นครูใหน้ ักเรียนอ่าน สิ่งที่ได้ เรียนรู้ และเปรียบเทียบกับข้อสรปุ ของตนเอง 11. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2 -3 คน นำเสนอคำถามของตนเอง หน้าชั้นเรยี น และใหน้ ักเรยี นร่วมกนั อภิปรายเก่ียวกับคำถามท่นี ำเสนอ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

143 ค่มู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจักร 12. ครูนำอภิปรายให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การเตรียมตัวล่วงหน้าสำหรบั ครู และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างและในขั้นตอนใด และให้บันทึกใน เพื่อจดั การเรียนรูใ้ นครง้ั ถดั ไป แบบบนั ทกึ กิจกรรม หน้า 47 ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำ ตัวอยา่ งรูปกลุ่มดาว กิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง วัฏจักรการ ปรากฏของกลมุ่ ดาวเป็นอย่างไร ดังน้ัน ภาพสำหรบั ทำกจิ กรรม ครูอาจเตรียมแผนที่ดาวให้เพียงพอ สำหรบั นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ภาพเฉลย ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จกั ร 144 แนวคำตอบในแบบบนั ทึกกิจกรรม สังเกตและอธบิ ายเกี่ยวกับกล่มุ ดาวและการมองเหน็ กลุ่มดาวเป็นรูปรา่ งต่าง ๆ นกั เรยี นวาดรปู ไดต้ ามจินตนาการของ ตนเอง นักเรยี นตอบตามจินตนาการของตนเอง นักเรียนตอบตามจนิ ตนาการของตนเอง สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

145 คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจกั ร กลุ่มของดาวฤกษเ์ หล่านีม้ องเหน็ เป็นรูปร่างตา่ ง ๆ เชน่ เตา่ นายพราน (โดยนกั เรียนตอบได้ตามความคดิ ของตนเอง) ไมเ่ หมอื นกัน เพราะ การจนิ ตนาการรูปท่ีเกดิ จากการลากเสน้ สมมตริ ะหวา่ ง ดาวแต่ละดวงเขา้ ดว้ ยกนั ของเราและเพอ่ื นแตกตา่ งกบั ของนกั ดาราศาสตร์ เมอื่ จินตนาการแลว้ ลากเส้นเช่อื มโยงดาวฤกษ์แต่ละดวงที่มีตำแหน่งใกลก้ ัน ทำใหเ้ รามองเห็นภาพกลุม่ ดาวเป็นรูปรา่ งต่าง ๆ เชน่ หนุ่ ยนต์ รถ ปลา หรือ อนื่ ๆ ซึ่งจินตนาการของเรา ของเพ่ือน และของนกั ดาราศาสตร์อาจแตกตา่ ง กัน ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วัฏจักร 146 การมองเหน็ กลุ่มดาว ซึ่งเปน็ กลมุ่ ของดาวฤกษ์ท่มี ตี ำแหน่งใกล้เคียงกนั มรี ปู รา่ งต่าง ๆ เกดิ จากจนิ ตนาการของมนุษย์ คำถามท่นี ักเรยี นต้งั ตามความอยากร้ขู องตนเอง    สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

147 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จักร แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมนิ การเรยี นรขู้ องนกั เรียนทำได้ ดงั นี้ 1. ประเมินความรเู้ ดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน 2. ประเมินการเรยี นรู้จากคำตอบของนกั เรยี นระหวา่ งการจดั การเรียนร้แู ละจากแบบบันทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จากการทำกจิ กรรมของนกั เรียน การประเมินจากการทำกิจกรรมท่ี 2.1 เหตใุ ดจึงเห็นกลมุ่ ดาวเปน็ รปู ร่างต่าง ๆ ระดับคะแนน 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง 3 คะแนน หมายถงึ ดี รหัส สงิ่ ทป่ี ระเมิน คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S8 การลงความเห็นจากข้อมูล ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C1 การสร้างสรรค์ C4 การสอื่ สาร รวมคะแนน ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จักร 148 ตาราง แสดงการวิเคราะหท์ ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ตามระดบั ความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใช้เกณฑ์การประเมิน ดังนี้ ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมิน ระดับความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) S1 การสงั เกต สังเกตลักษณะการเรียงตัว สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใชป้ ระสาทสมั ผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัส ของดาวฤกษ์ เก็บรายละเอียดของข้อมูล เก็บรายละเอียดของ เก็บรายละเอียดของข้อมูล เกี่ยวกับลักษณะการเรียง ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะ เกี่ยวกับลักษณะการเรียง ตัวของดาวฤกษ์ ได้ด้วย การเรียงตัวของดาวฤกษ์ ตัวของดาวฤกษ์ได้ยังไม่ ตนเอง ได้ จากการชี้แนะของครู ครบถ้วนสมบูรณ์ แม้ว่าจะ หรือผู้อื่น หรือมีการ ได้รับคำชี้แนะจากครูหรือ เพ่ิมเตมิ ความคดิ เหน็ ผอู้ ื่น S8 การลงความเห็น ลงความเห็นจากข้อมูลได้ สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น ไม่สามารถลงความเห็น จากข้อมูล เมื่อใช้จินตนาการแล้ว ข้อมูลได้เมื่อใช้จินตนาการ จากข้อมูลได้ เมื ่อ ใช้ จ า ก ข ้ อ ม ู ล ไ ด้ เ ม ื ่ อ ใ ช้ ลากเส้นเชื่อมโยงดาว แล้วลากเส้นเชื่อมโยงดาว จินตนาการแล้วลากเส้น จินตนาการแล้วลากเส้น แต่ละดวง กลุ่มดาวนั้นมี แต่ละดวง กลุ่มดาวนั้นมี เชื่อมโยงดาวแต่ละดวง เชื่อมโยงดาวแต่ละดวงว่า รูปร่างคล้ายสิ่งใด พร้อม รูปร่างคล้ายสิ่งใด พร้อม กลุ่มดาวนั้นมีรูปร่าง กลุ่มดาวนั้นมีรูปร่างคล้าย ตงั้ ชื่อกลมุ่ ดาวน้นั ตั้งชื่อกลุ่มดาวนั้น ได้ด้วย คล้ายสิ่งใด พร้อมตั้งช่ือ ส่งิ ใด และไม่สามารถตั้งชื่อ ตนเอง กลุ่มดาวนั้น จากการ กลุ่มดาวนั้น แม้ว่าจะได้ ช้แี นะของครหู รือผอู้ ่ืน รับคำชี้แนะจากครูหรือ ผู้อน่ื สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

149 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจกั ร ตาราง แสดงการวเิ คราะหท์ ักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ตามระดบั ความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใช้เกณฑ์การประเมนิ ดงั นี้ ทักษะแห่ง รายการประเมิน ระดับความสามารถ ศตวรรษที่ 21 C1 การ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรุง (1) สรา้ งสรรค์ การลากเส้นเชื่อมโยง สามารถลากเส้นเชื่อมโยง และ สามารถลากเส้นเชื่อมโยง สามารถลากเส้นเชื่อมโยง C4 การสื่อสาร และวาดรูปสิ่งของตาม วาดรูปสิ่งของตามจินตนาการ และวาดรูปสิ่งของตาม และวาดรูปสิ่งของตาม จินตนาการซึ่งสะท้อน ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงจินตนาการ จินตนาการซึ่งสะท้อนให้ จินตนาการ แต่ทำได้ไม่ ให้เห็นถึงจินตนาการ และแนวคิดใหม่ได้ดว้ ยตนเอง เห็นถึงจินตนาการ และ สมบูรณ์และไม่สามารถระบุ และแนวคดิ ใหม่ แนวคิดใหม่ได้ โดยต้อง ได้ว่าเป็นสิ่งใด แม้ว่าจะได้รบั อาศัยการชี้แนะจากครู คำชแ้ี นะจากครูหรอื ผู้อนื่ หรอื ผูอ้ ่นื นำเสนอข้อมูลจากการ สามารถนำเสนอข้อมูลจากการ สามารถนำเสนอข้อมูลจาก สามารถนำเสนอข้อมูลจาก สังเกตและจินตนาการ สังเกตและจินตนาการโดย การสังเกตและจินตนาการ การสังเกตและจินตนาการ โดยลากเส้นเชื่อมโยง ลากเส้นเชื่อมโยงดาวฤกษ์เป็น โดยลากเส้นเชื่อมโยงดาว โดยลากเส้นเชื่อมโยงดาว ดาวฤกษ์เป็นรูปร่าง รูปร่างต่าง ๆ เพื่อสื่อให้ผู้อ่ืน ฤกษ์เป็นรูปร่างต่าง ๆ เพื่อ ฤกษ์เป็นรูปร่างต่าง ๆ เพื่อ ต่าง ๆ เพื่อสื่อให้ผู้อ่ืน เข้าใจไดด้ ว้ ยตนเอง สื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้ โดย สื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้เพียง เขา้ ใจ อาศัยการชี้แนะจากครู เล็กน้อย แม้ว่าจะได้รับคำ หรือผอู้ ่นื ชี้แนะจากครหู รอื ผู้อ่ืน ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จักร 150 กิจกรรมที่ 2.2 วัฏจักรการปรากฏของกลุ่มดาวเป็นอย่างไร กจิ กรรมนี้นักเรยี นจะได้ฝึกการระบุตำแหน่งของกลุ่ม ดาวบนท้องฟ้า และใช้แผนที่ดาวในการสังเกต ปรากฏการณข์ ึน้ และตกของกลมุ่ ดาวหรือการเปล่ียนแปลง ตำแหน่งของกลุ่มดาวในแต่ละวัน และใน รอบปี เพ่ือ อธิบายวัฏจกั รการปรากฏของกลุ่มดาว เวลา 2 ชั่วโมง จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ใชแ้ ผนท่ีดาวชว่ ยในการสงั เกตปรากฏการณ์ขน้ึ และตกของกลมุ่ ดาว 2. สังเกตและอธิบายวัฏจักรการปรากฏของกลุ่มดาว วัสดุ อุปกรณ์สำหรับทำกจิ กรรม ส่งิ ท่ีครูตอ้ งเตรยี ม/กลมุ่ ทักษะการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 1. แผนทด่ี าว 5 ชดุ C2 การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ C4 การสื่อสาร 2. เข็มทิศ 1 อนั ส่อื การเรยี นรแู้ ละแหลง่ เรียนรู้ 3. นาฬกิ า 1 เรอื น 1. หนงั สอื เรยี น ป.5 เล่ม 2 หนา้ 60-67 4. กระดาษแก้วสีแดง 1 แผ่น 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป.5 เล่ม 2 หน้า 48-56 3. วีดิทัศน์ตัวอย่างการปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สำหรับครู 5. ไฟฉายขนาดเล็ก 1 กระบอก เร่อื ง กลุ่มดาวมีปรากฏการณ์การข้ึนและตกเปน็ อย่างไร 6. ยางรดั ของ 1 วง http://ipst.me/9466 สิ่งทน่ี ักเรียนตอ้ งเตรยี ม/กลุม่ - ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S1 การสังเกต S5 การหาความสมั พนั ธ์ระหว่าง • สเปซกบั สเปซ • สเปซกบั เวลา S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล S13 การตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรุป สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

151 คู่มือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จกั ร แนวการจดั การเรียนรู้ ครูรับฟังเหตุผลของ นักเรียนเป็นสำคัญ ครูยังไม่ 1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานของนักเรียนเกี่ยวกับปรากฏการณ์การ เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้ ขึ้นและตกของดวงอาทติ ยแ์ ละดวงจนั ทร์โดยใช้คำถามดงั น้ี หาคำตอบที่ถูกต้องจากกิจกรรม 1.1 ปรากฏการณ์การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ต่าง ๆ ในบทเรยี นน้ี เกิดจากสาเหตุใด (การหมุนรอบตัวเองของโลก) ครูอาจใช้ลูกโลกจำลอง เพื่อให้นักเรียนใช้ในการอธิบาย ปรากฏการณก์ ารขึ้นและตกของดวงอาทติ ยแ์ ละดวงจนั ทร์ 2. ครูตรวจสอบความรู้เดมิ ของนกั เรียน เรือ่ ง การขึน้ และตกของกลุ่ม ดาว โดยใหน้ ักเรยี นอภิปราย ตามแนวคำถามดงั น้ี 2.1 กลุ่มดาวมีปรากฏการณ์การขึ้นและตกหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบได้ตามความเข้าใจของตนเอง แต่เมื่อเรียนจบ แล้วนักเรียนควรตอบได้ว่า มีกลุ่มดาวปรากฏขึ้นทางด้านทิศ ตะวันออกและตกทางด้านทศิ ตะวันตก) 2.2 ถ้านักเรียนพบดาวดวงหนึ่งบนท้องฟ้า นักเรียนจะทราบได้ อย่างไรว่า ดาวดวงนี้ชื่ออะไร (นักเรียนตอบได้ตามความ เข้าใจของตนเอง) 2.3 ถ้านักเรียนต้องการให้เพื่อนมองเห็นดาวดวงนี้ด้วย นักเรียน จะทำอย่างไร (นกั เรยี นตอบไดต้ ามความเขา้ ใจของตนเอง) ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนเพื่อใช้เปรียบเทียบกับคำตอบหลัง เรียนจบบทเรยี น คำตอบของนักเรียนอาจเหมือนหรือแตกต่างกันก็ ได้ จากนั้นครูเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมโดยชักชวนนักเรียนให้มารว่ ม กันหาคำตอบที่ถกู ต้องจากการทำกิจกรรมตอ่ ไป 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรมวัฏจักรการปรากฏของกลุ่มดาวเป็น อย่างไรและ ทำเป็นคิดเป็น โดยร่วมกันอภิปรายทีละประเด็นเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ ในการทำกิจกรรมโดย ใชค้ ำถามดงั นี้ 3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (การใช้แผนที่ดาว และวฏั จักรการปรากฏของกลุ่มดาว) 3.2 นักเรียนจะได้เรยี นรู้เรื่องนี้ดว้ ยวธิ ีใด (เรียนรู้โดยใช้แผนที่ดาว ช่วยในการสังเกตปรากฏการณ์ขึ้นและตกของกลุ่มดาว และ สงั เกตวฏั จักรการปรากฏของกล่มุ ดาว) ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจักร 152 3.3 เมื่อเรียนแล้วนกั เรียนจะทำอะไรได้ (อธิบายวัฏจักรการปรากฏของ กลมุ่ ดาวได)้ ครูให้นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 48 และอ่านสิ่งที่ต้องใช้ในการทำกิจกรรม โดยครูยังไม่แจกวัสดุอุปกรณ์แก่ นกั เรียน แต่นำวัสดุอปุ กรณม์ าแสดงให้นกั เรียนดูทีละอย่าง 4. นักเรียนอ่าน ทำอย่างไร ข้อ 1-2 แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปลำดับ ขั้นตอนของกิจกรรมตามความเข้าใจโดยครูอาจนำอภิปรายตามแนว คำถามดงั ตอ่ ไปน้ี 4.1 ขั้นตอนแรกนักเรียนต้องอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับเรื่องอะไร (การ ระบุตำแหน่งของกลุ่มดาวบนท้องฟ้า นักเรียนสามารถตอบได้ตาม ความเขา้ ใจของตนเอง ซ่ึงอาจตอบผิดหรอื ถูกก็ได้) 4.2 หลังจากอ่านใบความรู้เรื่อง การระบุตำแหน่งของกลุ่มดาว นักเรียนต้องทำอย่างไร (อภิปรายและบันทึกสิ่งที่ได้จากการอ่าน ใบความรเู้ พ่ิมเตมิ และฝึกหาคา่ มมุ ทิศและมุมเงย) 5. เมื่อนักเรียนเข้าใจขั้นตอนการทำกิจกรรมแล้ว ให้นักเรียนเริ่มทำ กจิ กรรม จากน้ัน เมอื่ นักเรียนอา่ นใบความร้เู รยี บร้อยแลว้ ครูตรวจสอบ ความเข้าใจจากการอา่ น โดยอาจใชค้ ำถามดังนี้ 5.1 มุมทิศคืออะไร วัดได้อย่างไร (มุมที่ทำกับทิศเหนือโดยวัดจากทิศ เหนือไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกา วดั โดยการใชเ้ ข็มทิศ) 5.2 อักษร N ในเข็มทศิ หมายถึงอะไร (ทิศเหนือ) 5.3 นอกจากตวั อกั ษร N แลว้ ยังมีตวั อกั ษรใดอีกบา้ ง และตัวอักษรนั้น หมายความว่าอย่างไร (ตัวอักษร W S และ E ซึ่ง W คือทิศ ตะวันตก S คือทศิ ใต้ และ E คือทศิ ตะวนั ออก) 5.4 การใช้เข็มทิศมีขั้นตอนอย่างไร (วางเข็มทิศบนพื้นราบแล้วหมุน ตลับจนหวั ลกู ศรทับบนตัวอักษร N) 5.5 ในห้องเรียนของนักเรียนทิศเหนืออยู่ทางใด (นักเรียนตอบตาม สภาพจริงในหอ้ งเรียน) ครูอาจแนะนำเพิ่มเติมว่า นักเรียนสามารถหาทิศได้โดยการสังเกต ตำแหน่งการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ หรือใช้ Application เข็มทิศ (Compass) ในโทรศัพท์มือถือ เพื่อหาทิศเหนือ จากนั้นครูให้นักเรียน ทำตัวอักษร N W S E ไปติดที่ผนังห้องตามทิศที่หาได้ จากนั้นครู สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

153 คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จักร กำหนดค่ามุมทิศ เช่น 0 องศา, 100 องศา หรือ 320 องศา เพื่อให้ นักเรียนฝึกระบหุ รือช้ตี ำแหนง่ ที่มีมมุ ทิศตามท่ีครกู ำหนด 5.6 มุมเงยคืออะไร วัดได้อย่างไร (มุมเงย คือ มุมที่ทำกับเส้นขอบฟ้า ข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม ซึ่งวัดจากเส้นขอบฟ้าขึ้นไปในแนวดิ่ง การวัดมุมเงยทำได้โดย เหยียดแขนออกไปจนสุดแขนในแนวระดบั หลับตาข้างหนึ่ง ใช้ตา ในการฝึกใช้แผนที่ดาว ถ้าครูมีแผนที่ดาว อีกข้างหนึ่งเล็งไปที่ปลายนิ้วมือ ใช้มือวัดมุมเงยโดยเริ่มจาก แบบสำเร็จรูปไม่เพียงพอ ครูอาจเตรียมแผนที่ เส้นขอบฟา้ แลว้ ยกต่อข้ึนไปเร่ือย ๆ จนถงึ ตำแหน่งทตี่ อ้ งการทราบ ดาวเพิ่มเติมด้วยตนเองหรือให้นักเรียนช่วยกัน คา่ มุมเงย เตรยี มโดยพิมพค์ ำว่า “แผนท่ีดาวกระดาษ, ฟรี” บนโปรแกรมค้นหา เช่น Google แล้วกด ค้นหา จากนั้นครกู ำหนดคา่ มมุ เงย เพื่อให้นักเรียนฝกึ ใช้มอื ระบหุ รือชี้ตำแหน่ง จะพบเว็บไซต์มากมายซึ่งเผยแพร่แผนที่ดาวใน ที่มมี ุมเงยตามทคี่ รูกำหนด รูปแบบที่สามารถเข้าไป Download จากน้ัน 6. นักเรียนฝึกหามุมทิศและมุมเงยของสิ่งต่าง ๆ ซึ่งอยู่ไกลโดยอ้างอิงกับ พมิ พ์ ตดั และประกอบตามขั้นตอน ทิศทีก่ ำหนดไว้ใหใ้ นห้องเรียนจนนกั เรียนเกดิ ทกั ษะที่ถูกต้อง 7. นักเรียนอ่าน ทำอย่างไร ข้อ 3-4 แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปลำดับ ขั้นตอนตามความเข้าใจโดยครูอาจนำอภิปรายตามแนวคำถาม ดงั ตอ่ ไปนี้ 7.1 การสังเกตแผนที่ดาว นักเรียนต้องสังเกตอะไรบ้าง (สังเกต สว่ นประกอบของแผนทด่ี าวและวธิ ใี ชแ้ ผนทีด่ าว) 7.2 หลังจากอ่านใบความรู้เรื่อง การใช้แผนที่ดาวสำหรับประเทศไทย แล้ว นักเรยี นตอ้ งทำอยา่ งไรต่อไป (อภิปรายและบนั ทึกสิง่ ที่ได้จาก การอ่านใบความร้เู พมิ่ เติม) 8. ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับการใช้แผนที่ดาวโดยใช้ คำถามดังตอ่ ไปนี้ 8.1 แผนที่ดาวประกอบด้วยส่วนประกอบกี่ส่วนอะไรบ้าง (แผนที่ดาว ประกอบดว้ ยส่วนประกอบ 2 สว่ น คือ ซองดาวและแผน่ ดาว) 8.2 ตัวเลขที่เขียนไว้บนวงกลมที่ซองดาวและแผ่นดาวหมายถึงอะไร (ตัวเลขบนซองดาวเป็นเวลา ส่วนตัวเลขบนแผ่นดาวเป็นวันที่และ เดอื น) 8.3 ที่ซองดาว เส้นในแนวนอนที่ขนานกับเส้นขอบฟ้าบอกค่าอะไร (มมุ เงย) 8.4 ทีซ่ องดาวเสน้ ทีล่ ากจากจุดเหนือศีรษะลงมาต้ังฉากกับเส้นขอบฟ้า จะบอกคา่ อะไร (มมุ ทศิ ) ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จักร 154 8.5 ซองดาวมีกี่ด้าน แต่ละด้านแทนท้องฟ้าด้านทิศใด และมีลักษณะ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เหมือนคนแสดงอารมณ์ใด (ซองดาวจะแบ่งครึ่งทรงกลมท้องฟ้า และทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ทน่ี กั เรียน ออกเป็น 2 ส่วนคือ ฟ้าทิศเหนือ และฟ้าทิศใต้ ซองดาวด้านทิศ เหนือเส้นขอบฟา้ โคง้ ขนึ้ เหมือนคนยิ้ม ซองดาวดา้ นทิศใต้เส้นขอบ จะได้ฝกึ จากการทำกิจกรรม ฟา้ โคง้ ลงเหมือนคนหน้าบ้งึ ) S1 ก า ร ส ั ง เ ก ต ส ่ ว น ป ร ะก อบ ข อง 8.6 ที่ซองดาวมีสัญลักษณ์อะไรบ้าง (อันดับความสว่าง กาแล็กซี แผนที่ดาว ลักษณะการเรียงตัวของ เนบิวลา ทางช้างเผอื ก ตำแหนง่ ดวงอาทติ ย์ เส้นศูนย์สูตร) ดาวในกลุม่ ดาวและการเปล่ยี นแปลง ตำแหนง่ ของกล่มุ ดาว 8.7 อันดับความสว่างของดาวฤกษ์มีตั้งแต่ช่วงใดถึงช่วงใด และ หมายความว่าอย่างไร (อันดับความสว่างอยู่ในช่วง -1 ถึง 4 โดย S5 การหาความสัมพันธร์ ะหว่างลักษณะ -1 แทนความสวา่ งท่ีมากท่สี ดุ และ 4 แทนสวา่ งนอ้ ยท่สี ุด) และการเรียงตัวของดาวในกลุ่มดาว และการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของ 8.8 แผ่นดาวแผ่นที่ 1 แผ่นที่ 2 และแผ่นที่ 3 แตกต่างกันอย่างไร กลมุ่ ดาว (แผ่นที่ 1 มีจำนวนกลุ่มดาวน้อยกลุ่ม แผ่นที่ 2 มีจำนวนกลุ่มดาว มากกว่าและมีเส้นโยง ส่วนแผ่นที่ 3 มีจำนวนกลุ่มดาวมากและ S5 การหาความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่ง ไม่มีเสน้ โยง) ของกลุ่มดาว เมื่อเวลาผ่านไปในแต่ ละคืนและในรอบปี 9. นักเรยี นฝึกการใช้แผนที่ดาวโดยสอดแผ่นดาวแผ่นท่ี 2 ด้านซีกฟ้าเหนือ ในซองดาวด้านทิศเหนือพร้อมกับฝึกอ่านค่ามุมทิศและมุมเงยในแผนที่ S8 การลงความเห็นจากข้อมูลเกี่ยวกับ ดาว โดยอาจใชค้ ำถามดงั นี้ ปรากฏการณ์การขึ้นและตกของ 9.1 ถ้าต้องการดูดาวบนท้องฟ้าเวลา 20:00 น. ของคืนวันที่ 20 กลุ่มดาว พฤศจิกายน จะหมุนแผ่นดาวอย่างไร (หมุนแผ่นดาวให้วันที่ 20 พฤศจกิ ายน ตรงกับเวลา 20:00 น. บนซองดาว) S13 ก า ร ต ี ค ว า ม ห ม า ย ข ้ อ ม ู ล แ ล ะ 9.2 เมื่อเวลา 20:00 น. ของคืนวันที่ 20 พฤศจิกายน จะเห็นกลุ่มดาว การลงข้อสรุปจากการสังเกตกลุ่มดาว อะไรกำลังขึ้นทางทิศตะวันออก (กล่มุ ดาวนายพราน) ใน 1 วันและใน 1 ปี 9.3 ในคืนวันที่ 5 กรกฎาคม เวลาประมาณ 10:00 น. ดาวดวงใด ปรากฏที่ตำแหน่งมุมเงย 15 องศา ทางทิศตะวันออก (ดาวตา C2 การคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการ นกอนิ ทร)ี วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต และอภิปรายลักษณะการเรียงตัว 10.นักเรียนอ่าน ทำอย่างไร ข้อ 6-11 แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปลำดบั ของดาวในกลุ่มดาว ข้ันตอนตามความเขา้ ใจโดยครูอาจใชค้ ำถามดังนี้ 10.1 เมื่อนักเรียนใช้แผนที่ดาวจนชำนาญและสามารถหาค่ามุมทิศ C4 การสื่อสารจากการอธิบายเกี่ยวกับ และมุมเงยได้แล้ว นักเรียนจะวางแผนการดูดาวอย่างไร (กำหนด วัฏจักรการปรากฏของกลุ่มดาว วัน เดอื น ปี และเวลาทีจ่ ะดดู าว 3 เวลา คอื 19:00 น. 22:00 น. และ 05:00 น. ของวันถัดไป โดยสังเกตต่อเนอื่ งอกี 2 คืน) สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

155 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จักร 10.2 นักเรียนสังเกตกลุม่ ดาวกี่กลุ่ม และเป็นกลุ่มดาวที่อยูต่ ำแหนง่ ใด ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ (สังเกตกลุ่มดาวอย่างน้อย 1 กลุ่ม ซึ่งอยู่บริเวณใกล้ขอบฟ้า ทางดา้ นทศิ ตะวนั ออก) ในการสงั เกตท้องฟ้าจริง ถ้าครมู ีแผนท่ีดาว ไม่เพียงพอ ครูอาจแนะนำให้นักเรียนถ่ายรูป 10.3 ในการวางแผนการดูดาว นักเรียนต้องบันทึกข้อมูลลงในแบบ หรือถ่ายเอกสารการวางแผนการดูดาวจากแบบ บันทึกกิจกรรมหนา้ ใด (หนา้ 49) บันทึก หน้า 49-50 ดังตัวอย่าง เพื่อใช้ช่วยใน การสงั เกตดาวแทนแผนทจ่ี รงิ ดังรูปตัวอย่าง 10.4 เมื่อนักเรียนสังเกตกลุ่มดาว ในแผนที่ดาวแล้ว นักเรียนต้อง บันทึกข้อมูลอะไรลงในแบบบันทึกกจิ กรรมบา้ ง (บันทึกตำแหนง่ ของกลุ่มดาวที่พบ โดยครูอาจเพิ่มเติมให้นักเรียนบันทึกชื่อกลุ่ม ดาว และเวลาทพ่ี บกลมุ่ ดาวเหล่าน้ัน ตามตวั อยา่ ง ดงั รูป) 10.5 นักเรียนจะสังเกตตำแหน่งของกลุ่มดาวในปีถัดและถัดไปได้ อย่างไร (โดยการหมุนแผนที่ดาวไป 1 รอบและ 2 รอบ ให้วน กลับมาในวัน เดอื นและเวลาเดมิ ) 10.6 ข้อใดที่เป็นขั้นตอนการออกไปสังเกตดาวบนท้องฟ้าจริง (ข้อ 9- 11) 10.7 เราใช้กระดาษแก้วสีแดงหุ้มกระจกไฟฉายเมื่อใด และทำไมต้อง หุ้มด้วยกระดาษสีแดง (ใช้กระดาษแก้วสีแดงหุ้มกระจกไฟฉาย เมื่อออกไปสังเกตท้องฟ้าจริง เพื่อลดความสว่างและไม่ให้แสงสี ขาวจากไฟฉายรบกวนการมองเหน็ ดาว ขณะใชไ้ ฟฉายส่องแผนท่ี ดาว เพือ่ ดลู กั ษณะของดาวในแผน่ ดาว) เมื่อนักเรียนเข้าใจขั้นตอนการทำกิจกรรมแล้ว ให้นักเรียนทำ กิจกรรมข้อ 6-8 ร่วมกันในชั้นเรียน ส่วน ข้อ 9-11 ครูอาจมอบหมายให้ นักเรียนไปสงั เกตดาวบนท้องฟ้าจรงิ ในเวลากลางคนื ร่วมกบั ผู้ปกครอง 11. นักเรียนแต่ละกลุ่ม นำเสนอผลการสังเกตกลุ่มดาว โดยครูให้นักเรียน อภปิ รายรว่ มกนั ตามประเดน็ ตา่ ง ๆ ดังน้ี 11.1 กลุ่มดาวที่สังเกตคือกลุ่มดาวอะไร นักเรียนสังเกตดาวกลุ่ม น้ันเวลาใดบา้ ง (นกั เรียนตอบตามสิง่ ทส่ี งั เกตได)้ 11.2 นักเรียนมีวิธบี อกตำแหน่งกลุ่มดาวอย่างไร (บอกค่ามุมทิศและ มุมเงย) 11.3 นักเรียนใช้เครื่องมืออะไรหามุมทิศ และวัดค่ามุมเงยเพื่อหา ตำแหน่งของกล่มุ ดาว (ใชเ้ ขม็ ทศิ หามมุ ทศิ และใชม้ อื หามุมเงย) 11.4 เมื่อสังเกตดาวในเวลา 19:00 น., 22:00 น. และ 5:00 น. ใน วันถัดไป กลุ่มดาวนั้นอยู่ที่ตำแหน่งเดิมหรือไม่ อย่างไร (ในแต่ ละช่วงเวลาที่สังกต กลุ่มดาวไม่อยู่ตำแหน่งเดิม แต่เปลี่ยน ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จกั ร 156 ตำแหน่ง โดยเคลื่อนที่สูงขึ้นจากขอบฟ้าด้านตะวันออก แล้ว ข้อเสนอแนะ เคลื่อนที่สงู ขึ้นไปบนท้องฟ้า จากนั้นเคลื่อนท่ีตำ่ ลงทางขอบฟา้ ด้านตะวันตก) ในการสังเกตและวางแผนการดูดาว 11.5 ขณะที่สังเกตกลุ่มดาวในแต่ละเวลา นักเรียนเห็นกลุ่มดาว หรือการสังเกตทอ้ งฟ้าจริง ครูอาจแนะนำ เปลี่ยนแปลงรูปร่างหรือไม่ อย่างไร (กลุ่มดาวไม่เปลี่ยนรูปร่าง ให้นักเรียนเลือกกลุ่มดาวที่มีอันดับความ ยงั คงมรี ูปรา่ งเหมอื นเดมิ ) สว่างสูง หรือติดลบมาก ๆ เพื่อให้ง่ายต่อ 11.6 ถ้านักเรียนหมุนแผนที่ดาวให้ผ่านไป 1 วัน ดาวกลุ่มนั้นยังขึ้น การสังเกตในเบื้องต้น รวมถึงพิจารณา และตก เวลาเดิมหรือไม่ อย่างไร และกลุ่มดาวกลุ่มนั้น ปัจจัยอื่น ๆ ท่ีอาจรบกวนการสังเกต เช่น เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปหรือไม่ อย่างไร (เวลาการขึ้นและตก สภาพภมู อิ ากาศ และแสงจากดวงจนั ทร์ เปลี่ยนแปลงไปเล็กน้อย โดย กลมุ่ ดาวทีส่ นใจจะข้ึนและตกเร็ว ขึ้น แตร่ ปู ร่างไม่เปล่ียน) 11.7 ถ้านักเรียนหมุนแผนที่ดาวให้ผ่านไป 1 เดือน ดาวกลุ่มนั้นยัง ขึ้นและตก เวลาเดิมหรือไม่ อย่างไร และกลุ่มดาวกลุ่มน้ัน เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปหรือไม่ อย่างไร (เวลาการขึ้นและตก เปลี่ยนแปลงไป โดย กลุ่มดาวที่สนใจจะขึ้นและตกเร็วขึ้น ประมาณ 2 ชั่วโมง แต่รปู ร่างไม่เปล่ยี น) 11.8 ถ้าหมุนแผนที่ดาวไป 1 ปี แล้วนักเรียนดูดาวในวันที่ เดือน และเวลาเดิม จะมองเห็นกลุ่มดาวนั้นเป็นอย่างไร และถ้าทำ เช่นนี้ต่อไปอีกหลายๆปี ผลจะเป็นเช่นไร (จะมองเห็นกลุ่มดาว ขน้ึ ตกในเวลาเดิม เช่นเดยี วกบั ปกี อ่ น โดยไมม่ ีการเปลยี่ นแปลง รูปร่าง และในแต่ละปีการขึ้นและตกของกลุ่มดาวจะเป็น เชน่ นีซ้ ้ำ ๆ เปน็ แบบรปู ) 11.9 การปรากฏขึ้นตกของกลุ่มดาวเป็นวฏั จักรหรือไม่ เพราะเหตุใด (เป็นวัฏจักร เพราะ ปรากฏขึ้นและตกเป็นแบบรูปซ้ำ ๆ ไม่ สน้ิ สดุ ) 12. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า แผนที่ดาวเป็น เครื่องมือที่ช่วยในการสังเกตกลุ่มดาว ตำแหน่งของกลุ่มดาวสามารถ ระบุได้โดยใช้ มุมทิศและมุมเงย กลุ่มดาวท่ีปรากฏให้เห็นจะมีการ เปลี่ยนแปลงไปทุกเวลาและทุกวัน เมื่อครบรอบ 1 ปี เราจะเห็นกลุ่ม ดาวนั้นกลับมาอยู่ตำแหน่งเดิม และจะวนเวียนเช่นนี้ตลอดช่วงชีวิต ของเราเป็นวัฏจักรการปรากฏของกล่มุ ดาว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

157 คูม่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วัฏจักร 13. นักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้คำถาม เพิ่มเติมในการอภิปรายเพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง จากนั้น นักเรียน ตอบคำถามในแบบบนั ทกึ กจิ กรรมหนา้ 54-55 14. นักเรยี นสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกจิ กรรมน้ี จากนนั้ นักเรียนอา่ น ส่ิงท่ีได้ เรียนรู้ และเปรียบเทียบกับขอ้ สรปุ ของตนเอง 15. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิม่ เติมใน อยากร้อู ีกวา่ จากน้นั ครูอาจสมุ่ นกั เรยี น 2 -3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เก่ยี วกบั คำถามทีน่ ำเสนอ 16. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างและในขั้นตอน ใดบา้ ง แล้วบันทึกลงในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม หนา้ 56 17. นักเรียนรว่ มกนั อา่ นรอู้ ะไรในเรอ่ื งนี้ ในหนงั สอื เรียน หน้า 68 - 69 ครู นำอภปิ รายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งทีไ่ ดเ้ รียนรู้ในเร่ืองนี้ จากน้ัน ครูกระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเนื้อเรื่อง ซึ่งเป็น คำถามเพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนเนื้อหาในบทถัดไป ดังนี้ “บริเวณ ต่าง ๆ ของโลกเหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด อย่างไร” นักเรียนสามารถตอบตามความเข้าใจของตนเอง โดยครู แนะวา่ นกั เรยี นจะหาคำตอบไดจ้ ากการเรยี นในเร่ืองต่อไป ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จกั ร 158 แนวคำตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม ใช้แผนท่ีดาวชว่ ยในการสงั เกตปรากฏการณข์ ้นึ และตก ของกลมุ่ ดาว สงั เกตและอธิบายวฏั จักรการปรากฏของกลุ่มดาว นกั เรียนตอบตามความเข้าใจ นกั เรียนตอบตามความเข้าใจจากการอ่าน ของตนเอง เช่น ระบตุ ำแหน่งของกล่มุ ดาวโดยการใช้ ค่ามุมทิศและมุมเงย นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจจากการอา่ น ของตนเอง เชน่ แผนที่ดาวประกอบดว้ ย แผ่นดาว และ ซองดาว โดยมีขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เช่น วนั เดอื น นักเรียนตอบตามความเข้าใจ เวลา กลมุ่ ดาว และสญั ลกั ษณอ์ น่ื ๆ ของตนเอง นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจจากการอ่าน เชน่ เมอื่ ต้องการสังเกตท้องฟ้าซีกฟา้ ใด ให้ ใส่แผน่ ดาวซีกฟ้าน้นั ลงไปในซองดาวให้ ตรงกนั แลว้ หมนุ แผ่นดาว ให้วนั และเดือน ตรงกับเวลาบนซองดาว สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

159 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วัฏจกั ร 14-16 กมุ ภาพันธ์ 2561 กลุม่ ดาวสิงโต 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2561 05:00 น. 22:00 น. 19:00 น. ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี