Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-19 13:36:53

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
เล่ม 2
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จักร 10 แนวคำตอบในแบบบนั ทึกกิจกรรม การสำรวจความรู้ก่อนเรียน นักเรยี นอาจตอบคำถามถูกหรือผิดก็ได้ขึน้ อยู่กบั ความรเู้ ดิมของนกั เรียน แตเ่ ม่ือเรียนจบบทเรียนแลว้ ให้นักเรยี นกลับมาตรวจสอบคำตอบอีกคร้ังและแก้ไขให้ถูกต้อง ดังตวั อยา่ ง มหาสมุทรและทะเล ความชืน้ ในดนิ ธารนำ้ แข็งและพืดนำ้ แข็ง ความชน้ื ในบรรยากาศ น้ำใต้ดิน บงึ แมน่ ้ำ ชัน้ ดินเยือกแขง็ คงตัวและนำ้ แขง็ ใต้ดนิ นำ้ ในส่งิ มชี ีวิต ทะเลสาบ ในการอาบนำ้ ควรปิดน้ำขณะถูสบู่ ในการแปรงฟัน ควรปิดนำ้ ในขณะแปรงฟัน นำน้ำที่เหลอื จากการซักผา้ ไปรดนำ้ ต้นไม้หรอื ลา้ งพ้ืน สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

11 คูม่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จกั ร        การควบแนน่ ของไอนำ้ การระเหยของนำ้ หยาดน้ำฟา้ น้ำไหลออกสู่ทะเล ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วัฏจักร 12 เรื่องท่ี 1 แหลง่ น้ำ ในเร่ืองนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับแหล่งน้ำ โดย ให้นักเรียนจำแนกประเภทของแหล่งน้ำและตระหนักถึง ความสำคญั ของนำ้ และการอนุรกั ษ์น้ำ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เปรียบเทียบสัดส่วนปริมาณน้ำบนโลกในแต่ละ แหล่ง โดยใช้แบบจำลอง 2. อภิปรายและระบุแหล่งน้ำท่ีจัดเป็นแหล่งน้ำ ผิวดินและแหล่งน้ำใต้ดนิ 3. สำรวจการใช้น้ำและวางแผนการใช้น้ำอย่าง ประหยัด 4. สำรวจแหล่งน้ำและนำเสนอแนวทางการ อนุรกั ษ์น้ำในแหลง่ น้ำทอ้ งถ่ิน เวลา 4 ชว่ั โมง วสั ดุ อุปกรณ์สำหรับทำกจิ กรรม สือ่ การเรียนรแู้ ละแหลง่ เรียนรู้ น้ำ ขวดพลาสติกขนาด 1,000 ลูกบาศก์ 1. หนงั สือเรยี น ป.5 เล่ม 2 หนา้ 5 - 16 เซนติเมตรหรือ1 ลิตร หลอดฉีดยาขนาด 10 ลูกบาศก์ เซนตเิ มตร บกี เกอร์ขนาด 500 ลกู บาศก์เซนติเมตร ชอ้ น 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.5 เล่ม 2 หน้า 4 – 14 ใบเสรจ็ ค่านำ้ 3. วีดิทัศน์ตัวอย่างการปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สำหรับครู เร่ือง น้ำบนโลกมีอยู่เท่าใด http://ipst.me/9915 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

13 คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จกั ร แนวการจัดการเรยี นรู้ (60 นาท)ี ข้ันตรวจสอบความรู้ (20 นาท)ี 1. ครูตรวจสอบความรู้เดมิ เกี่ยวกับแหลง่ น้ำ โดยครูนำรูปแหล่งน้ำต่าง ๆ ในการตรวจสอบความรู้ ครู เช่น มหาสมุทร ทะเล บึง แม่น้ำ น้ำในดิน น้ำบาดาล ธารน้ำแข็ง เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนและ มาใหน้ ักเรียนดู และนำอภปิ รายโดยใช้คำถาม ดงั น้ี ยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวน 1.1 จะจัดกลุ่มแหล่งน้ำน้ีได้ก่ีกลุ่ม อะไรบ้าง (นักเรียนอาจจัดได้ 2 ให้นักเรียนไปหาคำตอบด้วยตนเอง กลุ่ม คือน้ำจืดและน้ำเค็ม โดยน้ำเค็ม เช่น มหาสมุทร ทะเล จากการอ่านเน้อื เรอื่ ง และน้ำจืด เช่น บึง แม่น้ำ น้ำในดิน น้ำบาดาล ธารน้ำแข็ง หรือ 2 กลุ่ม คือน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน โดยน้ำผิวดิน เช่น มหาสมุทร ทะเล บึง แม่น้ำ ธารน้ำแข็ง และน้ำใต้ดิน เช่น น้ำในดิน นำ้ บาดาล) 1.2 แหล่งน้ำใดที่นำมาใช้ในการอุปโภคบริโภค (บึง แม่น้ำ และ น้ำบาดาล) 1.3 น้ำมีความสำคัญอย่างไรและแหล่งน้ำมีอยู่ท่ีใดบ้าง จากนั้นครูให้ นกั เรียนหาคำตอบจากการอ่านเร่อื งแหลง่ นำ้ (นักเรียนตอบตาม ความเข้าใจของตนเอง เช่น แหล่งน้ำมีความจำเป็นต่อการ ดำรงชีวิตของมนุษย์ใช้ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น อาบน้ำ แปรงฟนั ซกั ผา้ ล้างจาน) ขั้นฝึกทักษะจากการอ่าน (20 นาที) 2. นักเรียนอ่านชื่อเรื่อง และคำถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียน ถ้ า นั ก เรี ย น ไม่ ส า ม า ร ถ ต อ บ หน้า 5 แล้วร่วมกันอภิปรายในกลุ่มเพ่ือช่วยกันหาคำตอบตามความ คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว เข้าใจของกลุ่ม ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดานเพ่ือใช้ คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด เปรียบเทยี บคำตอบภายหลังการอ่านเนอ้ื เร่ือง อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน แ ล ะ รั บ ฟั งแ น ว ค ว าม คิ ด ข อ ง 3. นักเรียนอ่านคำสำคัญ ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน นักเรยี น อ่านไม่ได้ ครูควรสอนการอ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชักชวนให้ นกั เรยี นอธิบายความหมายของคำสำคญั จากเนื้อเร่ืองที่จะอา่ น 4. นักเรียนอ่านเนื้อเร่ืองในหนังสือเรียนหน้า 5 โดยครูฝึกทักษะการอ่าน ตามวิธีการอ่านท่ีเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน ครูใช้ คำถามเพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจจากการอา่ น โดยใชค้ ำถามดงั นี้ 4.1 แหล่งน้ำจำเป็นต่อมนุษย์อย่างไร (มนุษย์ใช้น้ำในการทำ กจิ กรรมตา่ ง ๆ เช่น อาบน้ำ แปรงฟัน ซกั ผ้า ลา้ งจาน) ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จกั ร 14 4.2 แหล่งน้ำคืออะไร (แหล่งน้ำ คือ บริเวณที่มีน้ำอยู่รวมกันเป็น จำนวนมาก) 4.3 แหล่งน้ำบนโลกมีอยู่ท่ีใดบ้าง (แหล่งน้ำบนโลกมีทั้งแหล่งท่ีอยู่ บนผวิ ดินและแหล่งท่อี ยู่ใต้ดนิ ) 4.4 ปัญหาของแหล่งน้ำมีอะไรบ้าง (แหล่งน้ำเสื่อมโทรม น้ำเน่าเสีย นำ้ แหง้ ขอด) 4.5 ทำไมเราจึงควรอนุรักษ์แหล่งน้ำ (เพ่ือให้เรามีน้ำสะอาดไว้ด่ืม ไว้ใช้ตลอดไป) ขนั้ สรุปจากการอ่าน (20 นาท)ี 5. ครูให้นักเรยี นร่วมกันอภิปรายเพ่ือใหไ้ ดข้ ้อสรุปว่าแหล่งน้ำบนโลกมีทั้ง การเตรยี มตัวล่วงหนา้ สำหรบั ครู น้ำจืดและน้ำเค็ม ซึ่งอยู่ในแหล่งน้ำต่าง ๆ ท้ังแหล่งน้ำผิวดินและ เพ่อื จัดการเรยี นรใู้ นครงั้ ถัดไป แหล่งน้ำใต้ดิน น้ำแต่ละแหล่งมีปริมาณน้ำแตกต่างกัน และจาก ปญั หาแหล่งน้ำเส่อื มโทรมในปัจจุบัน นักเรียนจึงควรอนุรักษ์แหล่งน้ำ ในครั้งถดั ไป นักเรยี นจะได้ทำ เพื่อให้มนี ำ้ สะอาดไว้ด่มื ไวใ้ ช้ตลอดไป กจิ กรรมท่ี 1.1 นำ้ แต่ละแหล่งบนโลกมี อย่เู ทา่ ใด ครูมอบหมายให้นักเรยี นในหอ้ ง 6. นักเรยี นตอบคำถามจากเรื่องท่ีอ่านในรู้หรือยัง ในแบบบันทกึ กิจกรรม ช่วยกันเตรียมขวดพลาสติกเปล่าขนาด หน้า 5 1,000 cm3 หรือ 1 ลติ ร จำนวน 22 ขวด มาล่วงหน้า 7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือเปรียบเทียบคำตอบของนักเรียน ในรหู้ รือยงั 8. ครูชักชวนนักเรียนตอบคำถามท้ายเร่ืองท่ีอ่าน คือ แหล่งน้ำบนโลกอยู่ ท่ีใดบ้าง น้ำแต่ละแหล่งมีปริมาณเท่าใด เราสามารถนำน้ำทั้งหมดมา ใชป้ ระโยชนไ์ ด้หรือไม่ อย่างไร เราสามารถอนุรกั ษแ์ หลง่ นำ้ ได้อยา่ งไร ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดาน โดยยังไม่เฉลยคำตอบ แตช่ กั ชวนให้นักเรียนหาคำตอบจากการทำกจิ กรรม สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

15 คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จกั ร แนวคำตอบในแบบบนั ทึกกิจกรรม นำ้ มคี วามจำเป็นต่อการดำรงชีวติ ของมนษุ ย์ สัตว์ และพืช เชน่ มนษุ ย์ใชน้ ้ำในการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ เช่น อาบนำ้ แปรงฟัน ซักผา้ ล้างจาน แหลง่ นำ้ คือ บรเิ วณทม่ี นี ำ้ อยูร่ วมกันเปน็ จำนวนมาก แหล่งนำ้ บนโลกมที ้ังแหล่งท่ีอย่บู นผิวดนิ และแหล่งที่อยใู่ ตผ้ ิวดิน ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 วัฏจักร 16 กิจกรรมท่ี 1.1 นำ้ แตล่ ะแหลง่ บนโลกมอี ยเู่ ท่าใด กจิ กรรมน้ีนักเรียนจะได้สรา้ งแบบจำลองเปรียบเทียบ สัดส่วนปริมาณน้ำของโลกในแหล่งต่าง ๆ ของโลกและ ระบุแหลง่ นำ้ ท่ีจัดเปน็ แหล่งนำ้ ผิวดินและแหลง่ นำ้ ใต้ดนิ เวลา 2 ชว่ั โมง จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เปรียบเทียบสัดส่วนปริมาณน้ำบนโลกในแต่ละแหล่ง โดยใชแ้ บบจำลอง 2. อภปิ รายและระบแุ หลง่ น้ำที่จัดเป็นแหลง่ น้ำผิวดินและ แหลง่ นำ้ ใตด้ นิ วสั ดุ อุปกรณส์ ำหรบั ทำกจิ กรรม สง่ิ ทีค่ รตู ้องเตรียม/หอ้ ง 1. บีกเกอรข์ นาด 500 cm3 1 ใบ 2. หลอดฉีดยาขนาด 10 cm3 1 หลอด 3. ชอ้ น 1 คัน สง่ิ ทน่ี ักเรยี นต้องเตรยี ม/ห้อง 1. นำ้ 20,000 cm3 หรอื 20 ลิตร 2. ขวดพลาสติกขนาด1,000 cm3 หรือ 1 ลิตร 22 ขวด ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ส่อื การเรยี นรแู้ ละแหล่งเรียนรู้ S2 การวัด 1. หนงั สือเรยี น ป.5 เลม่ 2 หน้า 6 – 10 2. แบบบันทกึ กิจกรรม ป.5 เล่ม 2 หนา้ 4 – 8 S4 การจำแนกประเภท 3. วีดิทศั น์ตวั อยา่ งการปฏิบัติการวิทยาศาสตรส์ ำหรบั ครู S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงขอ้ สรปุ เรื่องนำ้ บนโลกมีอยเู่ ท่าใด http://ipst.me/9915 ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C2 การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ C4 การสือ่ สาร C5 ความร่วมมอื สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

17 ค่มู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จกั ร แนวการจัดการเรยี นรู้ ในการตรวจสอบความรู้ ครู เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน 1. ครตู รวจสอบความรู้เดิมเกยี่ วกบั ปริมาณนำ้ ในแต่ละแหลง่ บนโลก จากนั้น เป็ น สำคั ญ แล ะยังไม่ เฉล ย ใหน้ กั เรียนรว่ มกนั อภิปรายโดยใชค้ ำถามดังตอ่ ไปน้ี คำตอบใด ๆ ให้กับนักเรียน แต่ 1.1 ปริมาณนำ้ บนโลกส่วนใหญ่เป็นนำ้ จืดหรอื น้ำเค็ม (นักเรียนตอบตาม ชักชวนนักเรียน ไปหาคำตอบท่ี ความเขา้ ใจของตนเอง เชน่ น้ำบนโลกส่วนใหญเ่ ปน็ นำ้ เค็ม) ถูกต้องจากกิจกรรมต่าง ๆ ใน 1.2 แหลง่ น้ำใดบ้างเป็นน้ำจืด (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง บทเรียนนี้ เช่น ธารน้ำแข็งและพืดน้ำแข็ง ชั้นดินเยือกแข็งคงตัวและน้ำแข็งใต้ ดิน ความช้ืนในดิน ความช้ืนในบรรยากาศ น้ำในสิ่งมีชีวิต น้ำใต้ดิน ความรู้เพม่ิ เติมสำหรบั ครู ทะเลสาบ บึง แมน่ ้ำ) 1.3 แหลง่ น้ำใดบ้างเปน็ น้ำเค็ม (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง 1,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร เชน่ มหาสมุทรและทะเล) เท่ากบั 1,000 มลิ ลลิ ติ ร 1.4 แหล่งน้ำใดมีน้ำมากที่สุด (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เทา่ กับ 1 ลิตร เชน่ มหาสมุทรและทะเล) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรม 1.1 โดยใช้คำถามว่า แหลง่ น้ำจืดมีหลายแหล่ง อยากรหู้ รือไม่ว่าน้ำจืดบนโลกท่ีมนุษย์สามารถ ใช้ไดม้ ปี รมิ าณเทา่ ใด 3. นักเรยี นอ่านชือ่ กิจกรรม และทำเป็นคดิ เป็น จากน้นั ร่วมกันอภิปรายเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเก่ียวกับจุดประสงค์ในการทำกิจกรรมโดยใช้ คำถาม ดงั น้ี 3.1 กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้เรียนเร่ืองอะไร (ปริมาณน้ำในแหล่งน้ำ ต่าง ๆ บนโลก) 3.2 นักเรียนจะได้เรยี นร้เู ร่ืองนดี้ ้วยวิธใี ด (สรา้ งแบบจำลอง และอภิปราย) 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (ระบุแหล่งน้ำผิวดินและน้ำใต้ ดนิ และอธิบายสดั ส่วนของปริมาณนำ้ ของโลกในแตล่ ะแหล่ง) 4. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 4 และอ่าน สิ่งท่ีต้องใช้ในการทำกิจกรรม ซ่ึงถ้านักเรียนไม่รู้จักวัสดุ อุปกรณ์ บางอย่าง ครูควรนำสิ่งนั้นมาแสดงให้ดู หรือถ้านักเรียนไม่รู้วิธีการใช้ อุปกรณ์ ครูควรแนะนำและสาธติ วิธกี ารใชอ้ ุปกรณ์ 5. นักเรียนอ่านทำอย่างไร โดยครูใช้วธิ ีฝกึ อ่านทเี่ หมาะสมกับความสามารถ ของนักเรียน จากน้ันครูตรวจสอบความเข้าใจว่าจะทำกิจกรรมอย่างไร จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำกิจกรรม โดยใช้คำถามต่อไปนี้ (ครูอาจ ชว่ ยเขยี นสรุปเปน็ ขน้ั ตอนสั้น ๆ บนกระดาน) ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จักร 18 5.1 นักเรียนเตรียมน้ำแทนปริมาณน้ำท้ังหมดบนโลกจำนวนกี่ลิตร แล้ว ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ นำมาใส่ขวดพลาสติกขนาด 1,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร หรือ 1 ลิตร ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ทน่ี ักเรียนจะ ได้กี่ขวด (เตรียมน้ำ 20 ลิตร แทนน้ำทั้งหมดบนโลก นำมาใส่ขวด พลาสติกขนาด 1,000 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร หรือ 1 ลติ ร ได้ 20 ขวด) ได้ฝกึ จากการทำกิจกรรม 5.2 แบ่งน้ำจากขวดใบท่ี 1 ออกมาใส่ขวดใบท่ี 21 ก่ีลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร S2 การแบง่ น้ำในขวดและช้อนตามวธิ ที ำ (500 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร) ในกิจกรรม S3 การคำนวณผลเปรียบเทยี บสดั สว่ น 5.3 แบ่งน้ำจากขวดใบท่ี 21 ออกมา 150 ลูกบาศก์เซนติเมตร ใส่ขวด ปรมิ าณนำ้ บนโลกในแต่ละแหล่ง ใบที่ 22 ด้วยวิธีใด (ตวงน้ำ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร หรือ 100 S4 การจำแนกประเภทของแหลง่ นำ้ ผิว มิลลิลิตรโดยใช้บีกเกอร์ขนาด 500 มิลลิลิตร 1 คร้ัง และตวงน้ำอีก ดนิ และแหลง่ นำ้ ใตด้ ินได้ 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร หรือ 50 มิลลิลิตรโดยใช้หลอดฉีดยาขนาด C2 การอา่ นใบความรู้แล้วมาอธิบาย 10 มลิ ลลิ ติ ร 5 ครง้ั ) เปรยี บเทยี บปรมิ าณนำ้ ทีแ่ บง่ ใส่ขวดและ ช้อนว่าแทนสดั สว่ นปรมิ าณนำ้ แหล่งใด 5.4 แบ่งน้ำจากขวดใบท่ี 22 ออกมา 2 ลกู บาศก์เซนติเมตร ใส่ช้อนด้วย ของโลก วิธีใด (ตวงน้ำ 2 ลูกบาศก์เซนติเมตร หรือ 2 มิลลิลิตรโดยใช้ C4 การอภปิ รายเกี่ยวกบั สัดส่วนปริมาณ หลอดฉีดยาขนาด 10 มลิ ลิลิตร) นำ้ ในแหล่งต่าง ๆ ของโลก C5 การร่วมสรา้ งแบบจำลองเปรยี บเทียบ 5.5 นักเรียนตอ้ งทำอะไรต่อไป (อ่านใบความรเู้ รื่องปริมาณน้ำบนโลก) สัดส่วนปรมิ าณน้ำของโลกในแหลง่ ต่าง ๆ ครูอาจแนะนำให้นักเรียนใช้แอปพลิเคชัน “AR วิทย์ ป.5” สำหรับ ของโลก การสังเกตภาพเสมือนจริง (AR) ตามหัวขอ้ ส่อื เสริมเพม่ิ ความรู้ เรือ่ ง ปริมาณนำ้ บนโลก ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 5.6 นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือนำไปสู่การสรุปผลตามประเด็นใดบ้าง คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน (ปริมาณน้ำในแต่ละขวดและในช้อนแทนสัดส่วนปริมาณน้ำใน คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง แหล่งน้ำของโลกใดบ้าง แหล่งน้ำของโลกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อดทน และรับฟังแนวความคิด อะไรบา้ ง) ของนกั เรียน 6. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไรแล้ว ครูแจกวัสดุ อปุ กรณ์ และให้นกั เรยี นลงมือปฏบิ ัติตามขั้นตอน 7. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรมโดยให้ นักเรยี นเปรียบเทียบตัวเลขกับปริมาณนำ้ ในภาชนะคู่นัน้ เพื่อให้เข้าใจถึง ปรมิ าณมากและน้อย และใชค้ ำถาม ดังตอ่ ไปนี้ 7.1 จากแบบจำลองน้ำทั้งหมดท่ีมีบนโลกมีก่ีลูกบาศก์เซนติเมตร (20,000 ลูกบาศก์เซนตเิ มตร) 7.2 การแบ่งน้ำจากขวดหนึง่ ใบมาใสใ่ นใบที่ 21 คิดเป็นปริมาณน้ำรอ้ ย ละเท่าใดเมื่อเทียบกบั ปริมาณน้ำท้ังหมดในแบบจำลอง และเทียบ ได้กับแหลง่ นำ้ ใด (ร้อยละ 2.5 เทยี บได้กับแหลง่ น้ำจืด) สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

19 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จักร 7.3 จากแบบจำลองน้ำในขวดใบท่ี 22 มีปริมาณเท่าใด คิดเป็น ปริมาณน้ำร้อยละเท่าใดเม่ือเทียบกับปริมาณน้ำท้ังหมด และ เทียบได้กับแหล่งน้ำใด (ปริมาณ 150 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร คิดเป็น ร้อยละ 0.75 เทยี บไดก้ บั แหล่งนำ้ จดื ทสี่ ามารถนำนำ้ มาใชไ้ ด)้ 7.4 จากแบบจำลองน้ำที่เหลอื ในขวดใบท่ี 21 มีปริมาณเท่าใด คิดเป็น ร้อยละเท่าใดเม่ือเทียบกับปริมาณน้ำทั้งหมด และเทียบได้กับ แหล่งน้ำใด (ปริมาณ 350 ลูกบาศก์เซนติเมตร คิดเป็นร้อยละ 1.75 เทยี บไดก้ บั แหล่งน้ำจืดท่ไี ม่สามารถนำน้ำมาใช้ได้) 7.5 จากแบบจำลองน้ำท่ีอยู่ในช้อนมีปริมาณเท่าใด คิดเป็นร้อยละ เท่าใดเมื่อเทียบกับปริมาณน้ำท้ังหมด และเทียบได้กับแหล่งน้ำใด (ปริมาณ 2 ลูกบาศก์เซนติเมตร คิดเป็นร้อยละ 0.01 เทียบได้กับ แหลง่ น้ำจืดทสี่ ามารถนำน้ำมาใชไ้ ดท้ นั ที) 7.6 จากแบบจำลองน้ำท่ีเหลอื ในขวดใบที่ 22 มปี ริมาณเท่าใด คิดเป็น ร้อยละเท่าใดเม่ือเทียบกับปริมาณน้ำทั้งหมด และเทียบได้กับ แหล่งน้ำใด (ปริมาณ 148 ลูกบาศก์เซนติเมตร คิดเป็นร้อยละ 0.74 เทียบได้กับแหลง่ จืดท่ไี ม่สามารถนำนำ้ มาใช้ได้) 7.7 โลกปกคลมุ ด้วยนำ้ รอ้ ยละเทา่ ใดของพื้นที่ทง้ั หมด (รอ้ ยละ 70) 7.8 ปริมาณนำ้ บนโลกสว่ นใหญ่เป็นน้ำจืดหรอื นำ้ เค็ม (น้ำเค็ม) 7.9 นักเรียนคิดว่าแหล่งน้ำเค็มพบได้ที่ไหนบ้าง (มหาสมุทร ทะเล และแหล่งนำ้ เคม็ อืน่ ๆ เช่น ทะเลสาบน้ำเค็ม) 7.10 ปริมาณนำ้ ทั้งหมดบนโลกเปน็ นำ้ เค็มและนำ้ จดื รอ้ ยละเทา่ ใด (ปริมาณนำ้ เค็ม คิดเป็นรอ้ ยละ 97.5 และปริมาณนำ้ จืดคิดเปน็ รอ้ ยละ 2.5) 7.11 ปริมาณแหล่งน้ำเค็มคิดเป็นกี่เท่าของปริมาณ แหล่งน้ำจืด (39 เท่า) 7.12 แหล่งน้ำจืดแบ่งออกเป็นอะไรบ้าง (แหล่งน้ำจืดท่ีไม่สามารถนำน้ำ มาใชไ้ ด้ และแหล่งน้ำจืดทส่ี ามารถนำนำ้ มาใชไ้ ด้) 7.13 แหล่งน้ำจืดที่ไม่สามารถนำน้ำมาใช้ได้คิดเป็นรอ้ ยละเท่าใดของน้ำ ท้ังหมด (รอ้ ยละ 1.75) 7.14 ยกตัวอยา่ งแหลง่ น้ำจืดท่ีไม่สามารถนำน้ำมาใช้ได้มอี ะไรบา้ ง (ธารน้ำแข็งและพืดน้ำแข็ง ช้นั ดินเยือกแขง็ คงตวั และน้ำแข็งใต้ดนิ ความชืน้ ในดิน ความชื้นในบรรยากาศ และนำ้ ในส่ิงมีชวี ติ ) ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จกั ร 20 7.15 แหล่งน้ำจืดท่ีสามารถนำน้ำมาใช้ได้คิดเป็นร้อยละเท่าใดของน้ำ การเตรียมตวั ลว่ งหน้าสำหรับครู ท้ังหมด (รอ้ ยละ 0.75) เพื่อจดั การเรียนร้ใู นครงั้ ถดั ไป 7.16 ย ก ตั ว อ ย่ า งแ ห ล่ งน้ ำ จื ด ที่ ส า ม า ร ถ น ำ น้ ำ ม า ใช้ ได้ มี อ ะ ไร บ้ า ง ในคร้งั ถดั ไป นักเรียนจะได้ทำ (นำ้ ใตด้ ิน ทะเลสาบ บงึ และแม่น้ำ) กจิ กรรมที่ 1.2 ทำอย่างไรจงึ จะใช้นำ้ อย่างประหยัดและอนรุ กั ษ์แหลง่ น้ำใน 7.17แหล่งน้ำจืดที่สามารถนำน้ำมาใช้ได้แบ่งออกได้เป็นอะไรบ้าง และ ทอ้ งถิน่ ได้ ครูให้นกั เรยี นเตรียม มีร้อยละเท่าใดของน้ำท้ังหมด (แหล่งน้ำจืดท่ีไม่สามารถนำน้ำมา ใบเสร็จคา่ น้ำ (ฉบบั ลา่ สดุ ) สำหรับทำ ใช้ได้ ทันที มีร้อยละ 0.74 และแหล่งน้ำจืดท่ีสามารถนำน้ำมา กจิ กรรมคนละ 1 ฉบับ ใชไ้ ด้ทนั ที มรี ้อยละ 0.01) 7.18แหลง่ น้ำจดื ทไ่ี มส่ ามารถนำนำ้ มาใชไ้ ด้ทันทมี อี ะไรบา้ ง (น้ำใตด้ นิ ) 7.19แหล่งนำ้ จืดท่สี ามารถนำน้ำมาใชไ้ ดท้ นั ทมี อี ะไรบา้ ง (ทะเลสาบ บึง และแม่นำ้ ) 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตอบหรือซักถามในสิ่งท่ีอยากรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกับ แหล่งน้ำต่าง ๆ จากน้ันร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า โลกมีพื้นน้ำ ปกคลุมอยู่เป็นส่วนมาก ปริมาณน้ำของโลกส่วนใหญ่เป็นน้ำเค็ม ส่วนน้อยเป็นน้ำจืด ซึ่งอยู่ตามแหล่งต่าง ๆ โดยเรียงลำดับแหล่งน้ำจาก มากไปน้อย ได้ดังนี้ ธารน้ำแข็งและพืดน้ำแข็ง น้ำใต้ดิน ชั้นดินเยือกแข็ง คงตัวและน้ำแข็งใต้ดิน ทะเลสาบ ความชื้นในดิน ความชื้นในบรรยากาศ บึง แม่น้ำ และน้ำในส่ิงมีชีวิต ซ่ึงน้ำจืดที่สามารถนำมาใช้ได้ทันทีมี ปริมาณน้อยมากเม่ือเปรียบเทียบกับปริมาณน้ำทั้งหมดที่มีในโลก แหล่ง น้ำในธรรมชาติ จำแนกออกเปน็ แหลง่ น้ำผวิ ดนิ และแหล่งน้ำใต้ดิน (S13) 9. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้ คำถามเพม่ิ เติมในการอภิปรายเพอ่ื ใหไ้ ด้แนวคำตอบท่ีถูกตอ้ ง 10. นักเรียนอ่าน สิ่งท่ีได้เรียนรู้ และเปรียบเทียบกับข้อสรุปที่ได้จากการ อภปิ ราย 11. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกต้ังคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าช้ันเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เกย่ี วกบั คำถามทนี่ ำเสนอ 12. ครูนำอภิปรายเพ่ือให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 อะไรบ้างในข้ันตอนใด แลว้ ให้บนั ทกึ ในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม หน้า 10 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

21 คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จกั ร แนวคำตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม 1. เปรยี บเทียบสัดส่วนปริมาณนำ้ บนโลกในแต่ละแหลง่ โดยใชแ้ บบจำลอง 2. อภปิ รายและระบุแหล่งนำ้ ทีจ่ ัดเป็นแหลง่ น้ำผวิ ดนิ และแหล่งนำ้ ใตด้ ิน ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จักร 22 ทงั้ หมดบนโลก เคม็ จืด จดื ทไี่ มส่ ามารถนำนำ้ มาใชไ้ ด้ จืดทสี่ ามารถนำน้ำมาใชไ้ ด้ จดื ที่ไม่สามารถนำนำ้ มาใชไ้ ดท้ ันที จืดท่ีสามารถนำนำ้ มาใช้ได้ทันที สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

23 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จกั ร 2 นำ้ ผวิ ดิน มหาสมุทร ทะเล บึง แมน่ ำ้ นำ้ ใตด้ ิน นำ้ ในดนิ และนำ้ บาดาล ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จกั ร 24 1) แหล่งน้ำเค็ม 2) แหล่งนำ้ จดื ท่ีไมส่ ามารถนำน้ำมาใช้ได้ 3) แหล่งนำ้ จืดท่ไี ม่สามารถนำนำ้ มาใช้ได้ทนั ที 4) แหล่งน้ำจดื ที่สามารถนำนำ้ มาใชไ้ ดท้ นั ที น้ำใตด้ นิ ทะเลสาบ บงึ แมน่ ้ำ ร้อยละ 0.75 หรือ 0.75% นำ้ บนโลกมีทั้งนำ้ เค็มและนำ้ จดื เทยี บไดก้ บั นำ้ 20 ขวดหรอื 20,000 cm3 น้ำเค็มมีปริมาณมากท่สี ดุ เทียบไดก้ ับน้ำ 19,500 cm3 น้ำจืดมีปริมาณเทยี บ ได้กบั นำ้ 500 cm3 นำ้ จืดท่ีมนษุ ย์สามารถนำมาใช้ไดป้ ระโยชนไ์ ดเ้ ทยี บได้กบั นำ้ 150 cm3 และน้ำจืดทน่ี ำมาใชไ้ ด้ทันทีเทยี บได้กับนำ้ เพยี ง 2 cm3 ปริมาณนำ้ บนโลกท่ีเปน็ น้ำจืดสามารถใชไ้ ดจ้ ริง ๆ มีปรมิ าณนอ้ ยมาก เมอื่ เทยี บกับปรมิ าณนำ้ ทั้งหมดท่ีมีบนโลก สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

25 คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จกั ร คำถามของนกั เรียนที่ต้ังตามความอยากรู้ของตนเอง      ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จักร 26 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรยี นรขู้ องนกั เรียนทำได้ ดังน้ี 1. ประเมนิ ความรู้เดิมจากการอภปิ รายในชัน้ เรยี น 2. ประเมนิ การเรยี นรจู้ ากคำตอบของนกั เรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบนั ทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จากการทำกจิ กรรมของนกั เรยี น การประเมินจากการทำกจิ กรรมที่ 1.1 น้ำแตล่ ะแหล่งบนโลกมีอยูเ่ ทา่ ใด ระดับคะแนน 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรงุ 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ รหสั ส่ิงทป่ี ระเมนิ ระดบั คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S2 การวดั S3 การใช้จำนวน S4 การจำแนกประเภท S13 การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงข้อสรปุ S14 การสรา้ งแบบจำลอง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C2 การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ C4 การสือ่ สาร C5 ความรว่ มมอื รวมคะแนน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

27 คู่มือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 วัฏจักร ตาราง แสดงการวเิ คราะห์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต์ ามระดบั ความสามารถของนักเรียน โดยอาจใช้เกณฑ์การประเมิน ดงั น้ี ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรุง (1) ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2) S2 การวดั การใช้หลอดฉีดยา สามารถใช้หลอดฉีดยา และ สามารถใช้หลอดฉีดยา และ ใช้หลอดฉีดยา และบีกเกอร์ในการ และบีกเกอร์ในการ บีกเกอร์ในการตวงน้ำแบ่งใส่ บีกเกอร์ในการตวงน้ำแบ่งใส่ ตวงน้ำแบ่งใส่ภาชนะได้ถูกต้อง ได้ ตวงน้ำแบ่งใสภ่ าชนะ ภาชนะได้ถูกต้องได้ด้วย ภาชนะได้ถูกต้อง จากการ เพียงบางส่วน แม้ว่าจะได้รับคำ ตนเอง ชี้แนะของครูหรือผูอ้ ื่น ชี้แนะจากครูหรือผู้อนื่ S3 การใชจ้ ำนวน การเปรียบเทียบและ สามารถเปรียบเทียบและ สามารถเปรียบเที ยบและ สามารถเป รี ยบ เที ยบ และ คำนวณร้อยละของ คำนวณร้อยละของปริมาณ คำนวณร้อยละของปริมาณน้ำ คำนวณร้อยละของปรมิ าณน้ำใน ปริมาณน้ำในภาชนะ น้ำในภาชนะต่าง ๆ จาก ใน ภ า ช น ะ ต่ า ง ๆ จ า ก ภาชนะต่าง ๆ จากแบบจำลอง ต่าง ๆ จากแบบจำลอง แ บ บ จ ำล อ งได้ ถู ก ต้ อ ง แบบจำลองได้ถูกต้องทั้งหมด ได้ถูกต้องเพียงบางส่วน แม้ว่า ทั้งหมดดว้ ยตนเอง จากการช้แี นะของครูหรือผู้อน่ื จะได้รับคำช้ีแนะจากครูหรือ ผูอ้ ่นื S4 การจำแนก การจำแนกประเภท สามารถจำแนกประเภทของ สามารถจำแนกประเภทของ สามารถจำแนกประเภทของ ประเภท ของแหล่งน้ำบนโลก แหล่งน้ำบนโลกออกเป็น แหล่งน้ำบนโลกออกเป็นแหล่ง แหล่งน้ำบนโลกออกเป็น แหล่ง ออกเป็ น แห ล่ งน้ ำ แหลง่ น้ำผิวดิน และแหล่งน้ำ น้ำผิวดิน และแหล่งน้ำใต้ดิน น้ำผิวดิน และแหล่งน้ำใต้ดินได้ ผิวดิน และแหล่งน้ำ ใต้ดินได้อย่างถูกต้องได้ ด้วย ได้อย่างถูกต้อง จากการชี้แนะ ถูกต้องบางส่วน แม้ว่าจะได้ ใต้ดินได้ ตนเอง ของครูหรอื ผูอ้ ่ืน รบั คำชแี้ นะจากครูหรือผู้อนื่ S13 การ การตี ค วาม ห ม าย สามารถตีความหมายข้อมูล สามารถตีความหมายข้อมูล สามารถตีความหมายข้อมูลและ ตีความหมายข้อมูล และลงข้อสรปุ ข้อมูลและลงข้อสรุป และลงข้อสรุปจากการใช้ และลงข้อสรุปจากการใช้ ล ง ข้ อ ส รุ ป จ า ก ก า ร ใช้ จากการใช้แบบจำลอง แบบจำลองและจำแนก แบ บ จ ำล อ งแ ล ะจำแ น ก แบบจำลองและจำแนกประเภท และจำแนกประเภท ประเภทของแหล่งน้ำได้ ประเภทของแหล่งน้ำได้อย่าง ของแหล่งน้ำได้เพียงบางส่วนว่า ของแหล่งน้ ำได้ ว่า อย่างถูกต้องด้วยตนเองว่า ถูกต้อง โดยอาศัยการชี้แนะ ปริมาณน้ำบนโลกท่ีเป็นน้ำจืดที่ ปริมาณน้ำบนโลกท่ี ปริมาณน้ำบนโลกที่เป็นน้ำ ของครูหรือผู้อื่นว่าปริมาณน้ำ สามารถนำมาใช้ได้มีปริมาณ เป็นน้ำจืดท่ีสามารถ จืดท่ีสามารถนำมาใช้ได้มี บนโลกที่เป็นน้ำจืดที่สามารถ น้อยมากเมื่อเทียบกับปริมาณ น ำ ม า ใ ช้ ไ ด้ ปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบ ใช้ได้มีปริมาณน้อยมากเม่ือ น้ำทั้งหมดท่ีมีบนโลกแม้ว่าจะ มีปริมาณน้ อยมาก กับปริมาณน้ำท้ังหมดที่มี เทียบกับปริมาณน้ำทั้งหมดท่ี ไดร้ ับคำชีแ้ นะจากครูหรือผู้อ่ืน เม่ือเทียบกับปริมาณ บนโลก มีบนโลก นำ้ ทงั้ หมดทมี่ ีบนโลก ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จักร 28 ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรบั ปรุง (1) ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2) S14 การสร้าง อ ธิ บ า ย ก า ร ส า ม า ร ถ อ ธิ บ า ย ก า ร ส า ม า ร ถ อ ธิ บ า ย ก า ร ส า ม า ร ถ อ ธิ บ า ย ก า ร แบบจำลอง เปรียบเทียบปริมาณ เปรียบเทียบปริมาณน้ำใน เปรียบเทียบปริมาณน้ำใน เปรียบเทียบปริมาณ น้ำใน น้ำในแหล่งน้ำต่าง ๆ แหล่งน้ำต่าง ๆ บนโลก แหล่งน้ำต่าง ๆ บนโลก โดย แหล่งน้ำต่าง ๆ บนโลก โดยใช้ บ น โ ล ก โ ด ย ใ ช้ โดยใช้แบบจำลองท่ีสร้าง ใช้แบบจำลองที่สร้างข้ึนได้ แ บ บ จำล อ งที่ ส ร้างขึ้ น ได้ แบบจำลองที่สร้าง ขึ้นได้อย่างถูกต้องได้ ด้วย อย่างถูกต้อง จากการช้ีแนะ ถูกต้องบางส่วน แม้ว่าครูหรือ ขน้ึ ตวั เอง ของครูหรือผู้อนื่ ผอู้ ืน่ ชว่ ยแนะนำหรือช้ีแนะ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

29 ค่มู อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จักร ตาราง แสดงการวิเคราะห์ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใชเ้ กณฑก์ ารประเมิน ดังน้ี ทักษะแห่ง รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ศตวรรษที่ 21 C2 การคดิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) อย่างมี วจิ ารณญาณ ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ แ ล ะ สาม ารถ วิเค ราะห์ แล ะ ส า ม า ร ถ วิ เค ร า ะ ห์ แ ล ะ ส า ม า ร ถ วิ เค ร า ะ ห์ แ ล ะ C4 การส่อื สาร ป ร ะ เ มิ น จ า ก ประเมินจากแบบจำลอง ประเมินจากแบบจำลองเพ่ือ ประเมินจากแบบจำลองเพื่อ C5 ความ แ บ บ จ ำ ล อ ง เ พ่ื อ เพ่ืออภิปรายปริมาณน้ำ อภิปรายปริมาณน้ำบนโลกท่ี อภิปรายปริมาณน้ำบนโลกที่ ร่วมมอื อภิปรายปริมาณ น้ำ บนโลกที่มนุษย์สามารถ ม นุ ษ ย์ ส าม ารถน ำม าใช้ ม นุ ษ ย์ ส าม ารถน ำม าใช้ บ น โ ล ก ท่ี ม นุ ษ ย์ นำมาใช้ประโยชน์ได้คิด ประโยชน์ได้คิดเป็นร้อยละ ประโยชน์ได้คิดเป็นร้อยละ ส า ม า ร ถ น ำ ม า ใ ช้ เป็ น ร้อ ย ล ะเท่ าใด ข อ ง เท่าใดของปรมิ าณน้ำท้ังหมด เท่าใดของปรมิ าณนำ้ ทั้งหมด ประโยชน์ได้คิดเป็น ป ริม าณ น้ ำ ท้ั งห ม ด ได้ ได้ถูกต้องและสมเหตุสมผล ได้ถูกต้องและสมเหตุสมผล ร้ อ ย ล ะ เท่ า ใด ข อ ง ถูกต้องและสมเหตุสมผล โดยต้องอาศัยการชี้แนะจาก บ างส่ ว น แ ม้ ว่ าจ ะ ได้ รั บ ปริมาณน้ำทั้งหมด ดว้ ยตนเอง ครหู รอื ผอู้ ืน่ คำชแ้ี นะจากครูหรือผ้อู ่นื การนำเสนอข้อมูลจาก สามารถนำเสนอข้อมูลการ สามารถนำเสนอข้อมูลการ สามารถนำเสนอข้อมูลที่การ การสร้างแบบจำลอง สร้างแบบจำลอง เกี่ยวกับ สร้างแบบจำลอง เก่ียวกับ สร้างแบบจำลอง เก่ียวกับ เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร การเปรียบเทียบปริมาณ การเปรียบเทียบปริมาณน้ำ การเปรียบเทียบปริมาณน้ำ เปรียบเทียบปริมาณน้ำ น้ำของโลกในแหล่งต่าง ๆ ของโลกในแหล่งต่าง ๆ ของ ของโลกในแหล่งต่าง ๆ ของ ของโลกในแหล่งต่าง ๆ ของโลก ครอบคลุมเน้ือหา โลกครอบคลุมเน้ือหาเพื่อให้ โลก แต่ไม่ครอบคลุมเนื้อหา ของโลกเพ่ือให้ผู้อื่น เพื่อให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้ ด้วย ผู้อ่ืนเข้าใจ จากการช้ีแนะ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจ แม้ว่าจะ เขา้ ใจ ตนเอง ของครหู รอื ผอู้ ่ืน ได้รับคำแนะนำจากครูหรือ ผ้อู ื่น การทำงานร่วมมือกับ สามารถทำงานร่วมกับ สามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน สามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน ผู้ อื่ น ใ น ก า ร ส ร้ า ง ผู้ อื่ น ใ น ก า ร ส ร้ า ง ใน การสร้างแบ บ จำลอง ใน การสร้างแบ บ จำลอง แบบจำลอง บันทึกผล แ บ บ จ ำล อ งบั น ทึ ก ผ ล บั น ทึ ก ผ ล น ำ เส น อ ผ ล บันทึกผล นำเสนอผล แสดง นำเสนอผล แสดงความ นำเสนอผล แสดงความ แ ส ด งค ว าม คิ ด เห็ น แ ล ะ ความคิดเห็นและอภิปราย คิดเห็นและอภิปราย คิดเห็นและอภิปรายการ อภิปรายการเปรียบเทียบ การเปรียบเที ยบสัดส่วน ก า ร เป รี ย บ เที ย บ เป รี ย บ เที ย บ สั ด ส่ ว น สัดส่วนปริมาณนำ้ ของโลกใน ปริมาณน้ำของโลกในแหล่ง สัดส่วนปริมาณน้ำของ ป ริม าณ น้ ำข อ งโล ก ใน แหล่งต่าง ๆ ของโลกรวมท้ัง ต่ าง ๆ ขอ งโล ก รวม ท้ั ง โล ก ใน แ ห ล่ งต่ าง ๆ แ ห ล่ งต่ าง ๆ ข อ งโล ก ยอมรับความคิดเห็นของ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น ของโลกรวมท้ังยอมรับ ร ว ม ทั้ ง ย อ ม รั บ ค ว า ม ผู้ อ่ื น บ างช่ ว งเวล าที่ ท ำ ในบางช่วงเวลาท่ีทำกิจกรรม ความคดิ เห็นของผอู้ น่ื คิด เห็ น ของผู้ อ่ืน ต้ั งแต่ กิจกรรม แต่ ไม่ ค่ อยสนใจในความ เริม่ ตน้ จนสำเรจ็ คดิ เหน็ ของผอู้ ่นื ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจักร 30 กิจกรรมที่ 1.2 ทำอยา่ งไรจงึ จะใชน้ ำ้ อยา่ งประหยดั และอนุรกั ษแ์ หลง่ น้ำใน ท้องถิน่ ได้ กิจกรรม นี้ นั กเรียน จะได้ สำรวจการใช้ น้ ำแล ะ วางแผนการใช้นำ้ อยา่ งประหยัด ร่วมกบั สมาชิกในครอบครัว และสำรวจแหล่งน้ำในท้องถิ่นของตนเองเพ่ือหาแนวทางใน การแก้ไขและอนุรกั ษ์แหล่งนำ้ เวลา 1 ช่ัวโมง จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สำรวจการใชน้ ำ้ และวางแผนการใช้นำ้ อย่าง ประหยดั 2. สำรวจแหล่งนำ้ และนำเสนอแนวทางการอนรุ ักษ์ นำ้ ในแหลง่ น้ำท้องถนิ่ วสั ดุ อุปกรณ์สำหรับทำกจิ กรรม สิ่งที่นกั เรียนต้องเตรียม/คน 1. ใบเสรจ็ คา่ น้ำกอ่ นทำกิจกรรม 1 ฉบับ 2. ใบเสรจ็ คา่ น้ำหลังทำกิจกรรม 1 ฉบบั ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ สื่อการเรยี นรแู้ ละแหล่งเรียนรู้ S1 การสงั เกต 1. หนงั สือเรยี น ป.5 เลม่ 2 หน้า 11 - 15 S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรปุ 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.5 เลม่ 2 หน้า 9 - 14 ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 C2 การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ C4 การสือ่ สาร C5 ความร่วมมอื C6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

31 คูม่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจกั ร แนวการจัดการเรียนรู้ ในการตรวจสอบความรู้ ครู เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับการใช้น้ำอย่างประหยัดและการ เป็นสำคัญ และยังไม่เฉลยคำตอบ อนุรักษ์แหล่งน้ำในทอ้ งถิ่น จากน้ันใหน้ ักเรียนรว่ มกันอภิปรายโดยใช้ ใด ๆ ให้กับนักเรียน แต่ชักชวน คำถามดงั ต่อไปน้ี นักเรียน ไปหาคำตอบที่ถูกต้อง 1.1 ในชีวิตประจำวันนักเรียนใช้น้ำทำอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตาม จากกิจกรรมตา่ ง ๆ ในบทเรยี นนี้ ความเข้าใจ เช่น ใช้น้ำในการอุปโภคและบริโภค การใช้น้ำเพื่อ การเกษตร ใช้นำ้ เพื่อการคมนาคม) 1.2 นักเรียนคิดว่าเราควรประหยัดนำ้ และอนุรักษ์น้ำหรือไม่ อย่างไร (นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจ เช่น ควรประหยัดนำ้ และอนุรักษ์ น้ำ เพราะน้ำมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ พืช และ สตั ว์ เราไม่สามารถอยูไ่ ดห้ ากขาดนำ้ ) 1.3 การประหยัดน้ำและอนุรักษ์น้ำทำได้อย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบ ตามความเขา้ ใจ เชน่ การอาบน้ำปดิ น้ำในขณะถสู บ่แู ละในขณะ แปรงฟัน นำนำ้ ท่ีเหลือใชไ้ ปรดน้ำต้นไม้ ลา้ งพืน้ ) 2. ครูใช้คำถามเพ่ือเชื่อมโยงความรู้พ้ืนฐานของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 1.2 โดยใช้คำถามว่า จากท่ีเรียนมา นักเรียนพบว่าปริมาณน้ำที่ นำมาใช้ได้มีปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับปริมาณน้ำท่ีมีท้ังหมดของ โลก ดังน้ันนักเรียนจะช่วยกันประหยัดและการอนุรักษ์น้ำได้อย่างไร นักเรยี นจะหาคำตอบไดโ้ ดยไปทำกจิ กรรมนี้ 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากน้ันร่วมกัน อภิปรายเพื่อตรวจสอบความเข้าใจจุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใชค้ ำถามดังนี้ 3.1 กิจกรรมนน้ี กั เรยี นจะได้เรยี นเร่ืองอะไร (การใชน้ ้ำอย่างประหยัด และการอนุรักษ์นำ้ ) 3.2 นกั เรียนจะได้เรียนร้เู รอ่ื งน้ีด้วยวิธใี ด (รวบรวมขอ้ มูล) 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (สามารถวางแผนการใช้น้ำ อย่างประหยัดและเสนอแนวทางการอนรุ ักษน์ ้ำได้) 4. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 9 และ อา่ นส่ิงท่ีต้องใช้ในการทำกจิ กรรม 5. นักเรียนอ่านทำอย่างไร ตอนท่ี 1 โดยครูใช้วิธีฝึกอ่านที่เหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความเข้าใจว่าจะทำ ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วัฏจกั ร 32 กิจกรรมอย่างไร จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำกิจกรรม โดยใช้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ คำถามตอ่ ไปน้ี (ครอู าจชว่ ยเขยี นสรุปเป็นข้นั ตอนส้ัน ๆ บนกระดาน) ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ทนี่ ักเรยี นจะ 5.1 นักเรียนต้องทำอะไร (สำรวจปริมาณการใช้น้ำของบ้านตนเอง ได้ฝึกจากการทำกิจกรรม จากใบเสร็จค่าน้ำของเดือนที่ผ่านมา หรอื จากปริมาณน้ำท่ีใช้ใน แตล่ ะวนั ของครอบครวั ซ่งึ อาจมจี ำนวนเป็นถงั หรือโอ่ง) ตอนที่ 1 5.2 นักเรียนจะสำรวจพฤติกรรมการใช้น้ำของสมาชิกในครอบครัว S1 การสำรวจพฤตกิ รรมและปริมาณการ อย่างไรบ้าง (สอบถามสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับการใช้น้ำ ใชน้ ้ำของบ้านตนเอง เช่น ในขณะแปรงฟันเปิดน้ำทิ้งไว้หรือไม่ ในการอาบน้ำใช้ขัน C2 การเลือกวธิ กี ารใช้นำ้ อย่างประหยัด หรือฝักบัว) C4 การส่ือสารกับสมาชิกในครอบครัวให้ 5.3 นักเรียนต้องสืบค้นและอภิปรายเก่ียวกับอะไร (วิธีการใช้น้ำ ใช้น้ำอย่างประหยดั อย่างประหยดั ) C5 การรว่ มวางแผนการใชน้ ำ้ อยา่ ง 5.4 หลังจากนกั เรยี นสบื คน้ แล้วตอ้ งทำอะไรตอ่ ไป (นำข้อมูลจากการ ประหยดั กบั สมาชิกในครอบครัว สืบค้นวิธีการใช้น้ำอย่างประหยัดไปร่วมวางแผนกับสมาชิกใน C6 การสบื คน้ ข้อมูลเกย่ี วกบั วิธกี ารใชน้ ้ำ บ้าน) อย่างประหยดั และนำเสนอ 5.5 นักเรียนจะต้องให้สมาชิกในบ้านร่วมกันทำอะไร (ร่วมกันใช้น้ำ อยา่ งประหยัดเปน็ เวลา 1 เดือน) 5.6 หลังจาก 1 เดือนผ่านไปแล้ว นักเรียนต้องทำอะไร (นำใบเสร็จ ค่ า น้ ำ ข อ ง เดื อ น ห ลั ง ท ำ กิ จ ก ร ร ม จ า ก ใช้ น้ ำ อ ย่ า ง ป ร ะ ห ยั ด เปรียบเทียบปริมาณน้ำท่ีใช้กับใบเสร็จค่าน้ำ ของเดือนก่อนทำ กิจกรรมใช้น้ำอย่างประหยัด หรอื นำปริมาณน้ำท่ใี ช้ในแต่ละวัน ในเดือนที่ประหยัดน้ำเปรียบเทียบกับปริมาณน้ำท่ีใช้แต่เดิมใน เดอื นก่อนการประหยัด) 6. เม่อื นักเรยี นเขา้ ใจวิธกี ารทำกิจกรรมในทำอย่างไร ตอนที่ 1 แลว้ ครู ช้ีแจงนักเรียนว่าในชั่วโมงเรียนนี้นักเรียนจะได้ทำกิจกรรมตาม ขั้นตอนในทำอย่างไร ขอ้ 1-4 ส่วนข้อที่ 5 นักเรียนจะต้องทำรว่ มกับ ครอบครวั เป็นเวลา 1 เดือน และนักเรยี นจะไดท้ ำกิจกรรมน้ีต่อในข้อ 6-7 หลังจากท่ีนักเรียนและครอบครัวได้ร่วมกันใช้น้ำอย่างประหยัด แลว้ 1 เดอื น 7. ครูให้นักเรียนนำใบเสร็จค่าน้ำของบ้านตนเอง มาลงมือปฏิบัติตาม ขน้ั ตอน 8. หลังจากทำกิจกรรมข้อ 1-4 แล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้คำถามดงั นี้ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

33 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จกั ร 8.1 ปริมาณการใช้น้ำของบ้านตนเองเป็นอย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบ ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ ตามความเข้าใจของตนเอง) คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน 8.2 สมาชิกในครอบกินครัวของนักเรียนมีพฤติกรรมการใช้น้ำเป็น คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง อยา่ งไรบา้ ง (เปิดนำ้ ตอนแปรงฟัน ใชข้ นั อาบนำ้ ) อดทน และรับฟังแนวความคิด ของนักเรียน 8.3 วิธีการใช้น้ำอย่างประหยัดทำได้อย่างไรบ้าง (ปิดน้ำตอน แปรงฟัน ใชฝ้ กั บัวอาบนำ้ ใชน้ ำ้ ซกั ผ้าไปรดนำ้ ต้นไมห้ รือลา้ งพนื้ ) ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทน่ี ักเรียนจะ 9. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำกิจกรรมข้อ 5 ซึ่งต้องร่วมมือกันทำ ภายในครอบครัวเปน็ เวลา 1 เดือน และให้นำใบเสร็จของค่าน้ำเดอื น ได้ฝึกจากการทำกจิ กรรม ถัดไป มาร่วมกันอภิปรายผลการใช้น้ำอย่างประหยัด ตามแนวทาง การอภิปรายในข้อ 13 ซ่ึงครูกลับมานำอภิปรายทำอย่างไร ตอนที่ 1 ตอนท่ี 2 ข้อ 6-7 หลังจากกจิ กรรมที่ 4 วฏั จกั รน้ำเปน็ อย่างไร S1 การสงั เกต จากการสำรวจแหลง่ นำ้ ใน ท้องถน่ิ กลมุ่ ละ 1 แหล่ง 10.หลังจากครูนำอภิปรายถึงข้อ 8.3 แล้ว ให้นักเรียนอ่านทำอย่างไร C2 การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ จากการ ตอนที่ 2 โดยครูใช้วิธีฝึกอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของ วิเคราะหส์ าเหตขุ องปัญหาท่ีเกดิ กบั นักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความเข้าใจว่าจะทำกิจกรรมอย่างไร แหล่งนำ้ จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำกิจกรรม โดยใช้คำถามต่อไปน้ี (ครู C5 ความร่วมมือ จากการรว่ มกันหา อาจช่วยเขียนสรุปเป็นขน้ั ตอนสน้ั ๆ บนกระดาน) แนวทางการแกไ้ ขปัญหาหรอื อนุรกั ษ์ 10.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มต้องช่วยกันทำอะไร (เลือกสำรวจแหล่งน้ำ แหล่งนำ้ ในท้องถน่ิ กลุม่ ละ 1 แหล่ง) C6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ 10.2 นักเรียนจะรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับสภาพของแหล่งน้ำใน ส่อื สาร จากการสืบคน้ ข้อมลู สภาพของ ท้องถิ่นน้ันๆ โดยวิธีการใดบ้าง (การสำรวจ สืบค้นข้อมูล หรือ แหล่งน้ำในท้องถิน่ แนวทางการแก้ไข สมั ภาษณจ์ ากผู้รู้) ปัญหาหรอื อนรุ ักษ์แหล่งน้ำ และนำเสนอ 10.3 เม่ือรวบรวมข้อมูลแล้ว นักเรียนจะต้องทำอะไรต่อไป (ร่วมกัน อภิปรายและวเิ คราะห์สาเหตุท่ที ำให้เกดิ ปัญหากับแหลง่ นำ้ น้ัน) 10.4 หลังจากน้ัน นักเรียนทำอะไรต่อไป (ร่วมกันหาแนวทางการ แกไ้ ขปัญหาหรือการอนรุ กั ษแ์ หล่งน้ำ แล้วนำเสนอ) 11. เม่ือนกั เรียนเขา้ ใจวธิ ีการทำกิจกรรมในทำอยา่ งไร ตอนที่ 2 แล้ว ครใู ห้นักเรียนลงมือปฏิบัติตามข้นั ตอน 12. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถามดังตอ่ ไปน้ี 12.1 นักเรียนพบว่ามีปัญหาเก่ียวกับแหล่งน้ำในท้องถ่ินของนักเรียน หรือไม่ อย่างไร (มีปัญหาแหล่งน้ำในท้องถิ่น เช่น น้ำเน่าเสีย ส่งกล่นิ เหม็น มขี ยะมาก) ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจักร 34 12.2 ถ้าพบปัญหาเกี่ยวกับแหล่งน้ำควรทำอย่างไร (ควรแก้ไขปัญหา แหล่งน้ำ เช่น วิธีการช่วยกันเก็บขยะและไม่ทิ้งขยะลงใน แหลง่ น้ำ ไม่ปล่อยนำ้ ทใ่ี ช้แลว้ ลงสู่แหล่งนำ้ ) 12.3 นักเรียนจะมีแนวทางในการอนุรักษ์แหล่งน้ำได้อย่างไร (แนวทางในการอนุรักษ์แหล่งน้ำ เช่น ตดิ ป้ายรณรงค์ ไม่ท้ิงขยะ หรอื นำ้ ทใี่ ช้แล้วลงในแหลง่ นำ้ ) 13. หลังจากนักเรยี นได้ทำกิจกรรมการใช้นำ้ อย่างประหยัดแลว้ 1 เดือน ครูให้นักเรยี นทำกิจกรรมตามทำอย่างไร ข้อ 6-7 แล้วครูนำอภิปราย ผลการทำกจิ กรรม ดงั นี้ 13.1 หลังจากประหยัดน้ำ 1 เดือน ปริมาณน้ำที่ใช้ของแต่ละ ครอบครัวมีการเปล่ียนแปลงหรือไม่ อย่างไร (เปลี่ยนแปลง น้ำทีใ่ ช้มปี ริมาณลดลง เพราะการปรับพฤติกรรมการใช้น้ำทำให้ ประหยดั น้ำมากขน้ึ ) 13.2 ครอบครัวของตนเองมีวิธีการลดการใช้น้ำอย่างไรบ้าง เหมือน หรือแตกต่างจากวิธีในแผนท่ีร่วมกันวางไว้หรือไม่ (ปิดน้ำตอน แปรงฟัน ปิดน้ำระหว่างถูสบู่ ใช้เวลาอาบน้ำใหน้ ้อยลง ใช้ฝกั บัว อาบน้ำ ใชน้ ำ้ ซักผ้าไปรดน้ำต้นไมห้ รอื ลา้ งพนื้ ไม่เปิดน้ำไหลผา่ น ผักและผลไม้ ซึ่งอาจเหมือนหรือแตกต่างจากแผนท่ีนักเรียน รว่ มกนั วางไว้) 14. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตอบหรือซักถามในส่ิงท่ีอยากรู้เพิ่มเติม เกี่ยวกับการประหยัดน้ำและการอนุรักษ์น้ำ จากนั้นร่วมกันอภิปราย และลงข้อสรุปว่า การประหยัดน้ำสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การปิดน้ำในขณะแปรงฟันและถูสบู่ การอาบน้ำโดยใช้ฝักบัว การซักผ้าคร้ังละมาก ๆ ส่วนการแก้ไขปัญหาและอนุรักษ์แหล่งน้ำ ทำได้โดย การไม่ทิ้งขยะลงในแหล่งน้ำ การแก้ไขภาวะน้ำเสียและ พฒั นาแหล่งนำ้ การปลูกปา่ (S13) 15. นักเรียนร่วมกนั อภิปรายเพอ่ื ตอบคำถามใน ฉันร้อู ะไร โดยครูอาจใช้ คำถามเพมิ่ เตมิ ในการอภิปรายเพอื่ ใหไ้ ด้แนวคำตอบท่ีถูกตอ้ ง 16. นักเรียนอ่าน สิ่งที่ได้เรียนรู้ และเปรียบเทียบกับข้อสรุปท่ีได้จาก การอภปิ ราย 17. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเก่ียวกับเร่ืองท่ีสงสัยหรือ อยากรู้เพ่ิมเติมใน อยากรู้อีกว่า จากน้ันครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

35 คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วัฏจักร นำเสนอคำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนร่วมกัน การเตรยี มตัวลว่ งหนา้ สำหรบั ครู อภปิ รายเกี่ยวกบั คำถามทนี่ ำเสนอ เพือ่ จัดการเรยี นรู้ในครง้ั ถัดไป 18. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างในขนั้ ตอน ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะได้เรียน ใด แล้วใหบ้ ันทึกในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม หนา้ 14 เรื่องที่ 2 เมฆ หมอก น้ำค้าง และ 19. นักเรียนร่วมกันอ่าน รักษ์โลก แล้วครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น น้ำค้างแข็ง ครูเตรียมรูปเมฆ หมอก โดยอาจใช้คำถามดังตอ่ ไปนี้ น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง เพ่ือให้นักเรียน 19.1 เรื่องน้ีกล่าวไว้อย่างไร (กังหันน้ำชัยพัฒนาช่วยบำบัดน้ำเสีย สั ง เก ต แ ล ะ จั ด ก ลุ่ ม แ ห ล่ ง น้ ำ ในการตรวจสอบความรู้ของนักเรียน โดยใชก้ ารเติมออกซิเจนใหก้ บั น้ำ) 19.2 หลักการทำงานของเคร่ืองกลนี้เป็นอย่างไร (ใช้กังหันที่มีรู พรนุ ยกนำ้ ขึ้นให้สาดกระจาย แล้วรบั ออกซิเจนในอากาศ) 20. จากน้ันนักเรียนร่วมกันอ่าน รู้อะไรในเร่ืองน้ี ในหนังสือเรียน หน้า 16 เพื่อทบทวนความรู้และครูนำอภิปรายเพ่ือนำไปสู่ข้อสรุป เก่ียวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในเรื่องนี้ จากน้ันครูกระตุ้นให้นักเรียนตอบ คำถามในช่วงท้ายของเน้ือเรื่อง ซง่ึ เปน็ คำถามเพอื่ เชื่อมโยงไปสู่การ เรียนเนื้อหาในบทถัดไป ดังนี้ “เมฆ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง เป็ น ป ร าก ฏ ก ารณ์ ที่ เก่ี ย วข้ อ งกั บ ป ริม าณ น้ ำบ น โล ก อ ย่ างไร ” นักเรียนสามารถตอบตามความเข้าใจของตนเอง โดยจะหาคำตอบ ได้จากการเรียนในเร่อื งต่อไป ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วัฏจักร 36 แนวคำตอบในแบบบนั ทกึ กิจกรรม สำรวจการใชน้ ำ้ และวางแผนการใช้น้ำอยา่ งประหยดั มถิ ุนายน 2561 90 เปดิ นำ้ ตอนแปรงฟัน ใช้ขันอาบนำ้ ปดิ นำ้ ตอนแปรงฟนั ใช้ฝักบัวอาบนำ้ ใชน้ ้ำซักผ้าไปรดน้ำต้นไมห้ รือลา้ งพ้นื สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

37 คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จักร กรกฎาคม 2561 78 การปรบั พฤตกิ รรมการใช้นำ้ ทำใหป้ ระหยัดน้ำมากขึ้นได้ 90-78 = 12 หน่วย สำรวจแหลง่ น้ำและนำเสนอแนวทางการอนุรกั ษ์นำ้ ในแหลง่ น้ำในทอ้ งถ่นิ แมน่ ำ้ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จกั ร 38 ให้นกั เรยี นวาดภาพได้ น้ำขุน่ มฟี องอากาศอยูท่ ีผ่ ิวนำ้ มกี ลิ่นเหมน็ น้ำเน่าเสยี คนในชมุ ชนทิ้งขยะ เศษอาหาร และน้ำยาซักผา้ ต่าง ๆ ลงในแม่น้ำ รณรงคใ์ ห้คนในชมุ ชนร่วมมือกนั เก็บขยะต่าง ๆ ในแม่นำ้ หลงั จากนั้นกบ็ ำบัดนำ้ โดยใชก้ งั หนั นำ้ เพือ่ เพ่ิมออกซเิ จนให้กบั น้ำ และไม่ทงิ้ ขยะลงในแม่นำ้ อีก สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

39 คมู่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จักร ไมเ่ ท่ากนั เพราะคนในบ้านปรับพฤตกิ รรมการใช้น้ำ ทำใหป้ ระหยดั นำ้ มากขึน้ การวางแผนกอ่ นใชน้ ำ้ ชว่ ยทำให้ใช้นำ้ นอ้ ยลง ประหยดั นำ้ มากข้นึ ปญั หาทเ่ี กิดเกี่ยวกับแหลง่ น้ำในท้องถิ่น ได้แก่ นำ้ เนา่ เสยี ส่งกล่ินเหมน็ และมีขยะลอยอยู่มากมาย ช่วยกันเกบ็ ขยะ ไมท่ ้ิงขยะลงในแหลง่ น้ำ รณรงค์ให้มีการป้องกนั การ ทง้ิ ขยะลงในแหล่งน้ำอยา่ งต่อเนือ่ ง และบำบดั นำ้ เสียโดยใช้กังหนั นำ้ ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจักร 40 การดูแลรกั ษาแหลง่ นำ้ เป็นหน้าทข่ี องทุกคน ดงั นนั้ คนในชมุ ชนจงึ ควร รว่ มกนั ช่วยแก้ปัญหาแหล่งน้ำหรอื การอนุรักษ์แหล่งนำ้ ได้ การทคี่ นในครอบครัวแตล่ ะบา้ นช่วยกนั ประหยดั น้ำ และคนในชุมชนชว่ ยกัน แก้ปัญหาหรอื อนุรักษแ์ หล่งน้ำ ทำใหเ้ รามนี ำ้ ไว้อุปโภค บรโิ ภคต่อไปได้นาน ๆ คำถามของนักเรียนทตี่ ้ังตามความอยากรูข้ องตนเอง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

41 คูม่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จกั ร       ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจักร 42 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมนิ การเรียนรขู้ องนักเรียนทำได้ ดังน้ี 1. ประเมนิ ความร้เู ดิมจากการอภิปรายในชัน้ เรยี น 2. ประเมนิ การเรยี นรูจ้ ากคำตอบของนกั เรียนระหวา่ งการจดั การเรยี นรู้และจากแบบบนั ทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จากการทำกจิ กรรมของนกั เรียน การประเมินจากการทำกจิ กรรมที่ 1.2 ทำอย่างไรจงึ จะใชน้ ้ำอย่างประหยัดและ อนรุ ักษแ์ หล่งนำ้ ในท้องถนิ่ ได้ ระดบั คะแนน 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ รหสั ส่งิ ที่ประเมนิ ระดับคะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S13 การตีความหมายขอ้ มูลและลงข้อสรุป ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C2 การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ C4 การส่อื สาร C5 ความร่วมมือ C6 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร รวมคะแนน สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

43 คูม่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจกั ร ตาราง แสดงการวเิ คราะห์ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ตามระดับความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมิน ดงั น้ี ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรุง (1) ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2) S1 การสังเกต การใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัส สาม ารถ ใช้ ป ระสาท เก็บรายละเอียดของ เก็บรายละเอียดของส่ิงที่ เก็บรายละเอียดของสิ่งท่ี สัมผัสเก็บรายละเอียด ส่ิงที่เกิดขึ้นได้เก่ียวกับ เกิดขึ้นได้อย่างหลากหลาย เกิดขึ้นเกี่ยวกับการใช้น้ำ ของส่ิงท่ีเกิดข้ึนเก่ียวกับ ก า ร ใ ช้ น้ ำ อ ย่ า ง เกี่ยวกับการใช้น้ำอย่าง อย่างประหยัดและอนุรักษ์ การใช้น้ำอย่างประหยัด ประหยัดและอนุรักษ์ ประหยัดและอนุรักษ์แหล่ง แหล่งน้ำในท้องถ่ินได้ จาก และอนุรักษ์แหล่งน้ำใน แหลง่ น้ำในทอ้ งถนิ่ ได้ น้ ำใน ท้ อ งถ่ิ น ได้ ด้ ว ย การช้ีแนะของครูหรือผู้อื่น ท้องถน่ิ ไดเ้ พยี งบางสว่ น ตัวเองโดยไม่เพิ่ มความ ห รือมีการเพิ่ ม เติมความ แม้ว่าจะได้รับคำชี้แนะ คิดเหน็ คดิ เห็น จากครูหรือผอู้ น่ื S13 การ ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย ส าม ารถ ตี ค ว า ม ห ม าย สามารถตีความหมายข้อมูล สามารถตีความหมาย ตคี วามหมายข้อมลู ข้อมูลและลงข้อสรุป ข้อมูลและลงข้อสรุปจาก แ ล ะ ล งข้ อ ส รุป จ าก ก า ร ข้อมูลและลงข้อสรุป และลงข้อสรปุ จากการสำรวจแหล่ง ก า ร ส ำ ร ว จ แ ห ล่ ง น้ ำ สำรวจแหล่งน้ำ พฤติกรรม จากการสำรวจแหล่งน้ำ น้ำ พ ฤติกรรมและ พฤติกรรมและปริมาณการ และปริมาณการใช้น้ำของ พฤติกรรมและปริมาณ ปริมาณการใช้น้ำของ ใช้น้ำของบ้านตนเองได้ บ้านตนเองได้อย่างถูกต้อง ก า ร ใช้ น้ ำ ข อ ง บ้ า น บ้านตนเองได้ว่าการ อย่างถูกต้องด้วยตนเองว่า โดยอาศัยการชี้แนะของครู ตนเองได้เพียงบางส่วน ช่วยกันประหยัดน้ำ การช่วยกันประหยัดน้ำ ห รือ ผู้ อื่ น ว่าก ารช่ ว ย กั น ว่าการช่วยกันประหยัด และช่วยกันแก้ปัญหา และช่วยกันแก้ปัญหาหรือ ป ระห ยัดน้ ำและช่วยกัน น้ ำ แ ล ะ ช่ ว ย กั น หรืออนุรักษ์แหล่งน้ำ อนุรักษ์แหล่งน้ำ ทำให้เรา แก้ปัญหาหรืออนุรักษ์แหล่ง แก้ปัญหาหรืออนุรักษ์ ท ำ ใ ห้ เร า มี น้ ำ ไ ว้ มีน้ำไว้อุปโภคบริโภคต่อไป น้ำ ทำให้เรามีน้ำไว้อุปโภค แหล่งน้ำทำให้เรามีน้ำ อุปโภคบริโภคต่อไป ได้นาน ๆ บรโิ ภคตอ่ ไปไดน้ าน ๆ ไว้อุปโภคบริโภคต่อไป ไดน้ าน ๆ ได้นาน ๆ แม้ว่าจะได้ รับคำชี้แนะจากครูหรือ ผูอ้ ่ืน ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จกั ร 44 ตาราง แสดงการวเิ คราะห์ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ตามระดบั ความสามารถของนักเรียน โดยอาจใชเ้ กณฑก์ ารประเมิน ดงั นี้ ทักษะแห่ง รายการประเมนิ ระดับความสามารถ ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) C2 การคดิ อยา่ งมี การวิเคราะห์สาเหตุท่ี สามารถวิเคราะห์สาเหตุท่ี สามารถวิเคราะหส์ าเหตุท่ที ำ สามารถวิเคราะห์สาเหตุท่ีทำ วิจารณญาณ ทำให้เกิดปญั หาแหล่ง ทำให้เกิดปัญหาแหล่งน้ำ ให้เกิดปัญหาแหล่งน้ำจาก ให้เกิดปัญหาแหล่งน้ำจาก น้ ำจ าก ก ารสื บ ค้ น จากการสืบค้นข้อมูลเพ่ือ การสืบค้นข้อมูลเพ่ือหาแนว การสืบค้นข้อมูลเพื่อหาแนว ข้ อ มู ล เพื่ อ ห าแ น ว ห าแ น ว ท างก ารแ ก้ ไข ทางการแก้ไขปัญหาและการ ทางการแก้ไขปัญหาและการ ทางการแก้ไขปัญหา ปัญหาและการอนุรักษ์ อนุรักษ์แหล่งน้ำได้ ถูกต้อง อนุรักษ์แหล่งน้ำได้อย่าง และการอนุรักษแ์ หล่ง แหล่งน้ำได้ ถูกต้องและ และสมเหตุสมผลโดยต้อง ถูกต้องบางส่วน ถูกต้องและ น้ำได้ สมเหตุสมผลดว้ ยตนเอง อาศัยการช้ีแนะจากครูหรือ สมเหตุสมผลบางส่วนแม้ว่า ผอู้ นื่ จะได้รับคำชี้แนะจากครูหรือ ผูอ้ นื่ C4 การส่อื สาร การนำเสนอข้อมูลท่ี สามารถนำเสนอข้อมูลที่ สามารถนำเสนอข้อมูลท่ี สามารถนำเสนอข้อมูลที่ รวบรวมได้ เก่ียวกับ ร ว บ ร ว ม ได้ เกี่ ย ว กั บ รวบรวมได้ เก่ียวกับแนวทาง ร ว บ ร ว ม ไ ด้ เก่ี ย ว กั บ แน วท างการแก้ไข แนวทางการแก้ไขปัญหา การแก้ไขปัญหาแหล่งน้ำ แนวทางการแก้ไขปัญหา ปัญหาแหล่งน้ำและ แหล่งน้ำและการอนุรักษ์ และการอนุรักษ์แหล่งน้ำ แหล่งน้ำและการอนุรักษ์ การอนุรักษ์แหล่งน้ำ แ ห ล่ งน้ ำ ค ร อ บ ค ลุ ม ครอบคลุมเนื้อหาเพ่ือให้ผู้อ่ืน แหล่งน้ำ แต่ไม่ครอบคลุม เพ่ือให้ผอู้ ืน่ เข้าใจ เนื้อหา เพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจ เข้าใจ จากการช้ีแนะของครู เน้ือหาเพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจ ได้ ด้วยตนเอง หรอื ผู้อืน่ แ ม้ ว่ า จ ะ ได้ รั บ ค ำ แ น ะ น ำ จากครูหรอื ผูอ้ ืน่ C5 ความรว่ มมือ การทำงานร่วมมือกับ สามารถทำงานร่วมกับ สามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ผู้อื่นในการรวบรวม ผู้อ่ืนในการรวบรวมข้อมูล ใน ก า ร ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ในการรวบรวมข้อมูล บันทึก ข้ อ มู ล บั น ทึ ก ผ ล บันทึกผล นำเสนอผล บั น ทึ ก ผ ล น ำ เส น อ ผ ล ผล นำเสนอผล แสดงความ น ำเสน อผล แสด ง แสดงความคิดเห็นและ แ ส ด งค ว าม คิ ด เห็ น แ ล ะ คิดเห็นและอภิปรายเพ่ือ ค ว าม คิ ด เห็ น แ ล ะ อภิปรายเพ่ือบอกแนว อ ภิ ป ร า ย เพื่ อ บ อ ก แ น ว บ อ ก แ น วท างก ารแก้ ไข อ ภิ ป ราย เพ่ื อ บ อ ก ทางการแก้ไขปัญหาแหล่ง ทางการแก้ไขปัญหาแหล่งน้ำ ปั ญ หาแหล่งน้ ำและการ แน วท างการแก้ไข น้ำและการอนุรักษ์แหล่ง และการอนุรักษ์แหล่งน้ำ อนุรักษ์แหล่งน้ำ รวมท้ัง ปัญหาแหล่งน้ำและ น้ำ รวมทั้งยอมรับความ รวมทั้งยอมรับความคิดเห็น ยอมรับความคิดเห็นของ การอนุรักษ์แหล่งน้ำ คิดเห็นของผู้อ่ืนตั้งแต่ ของผู้อื่น บางช่วงเวลาท่ีทำ ผู้อื่น ในบางช่วงเวลาที่ทำ รวมท้ังยอมรับความ เร่ิมตน้ จนสำเร็จ กิจกรรม กิจกรรม แต่ไม่ค่อยสนใจใน คดิ เหน็ ของผูอ้ ่ืน ความคิดเห็นของผอู้ ่ืน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

45 คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จกั ร ทกั ษะแห่ง รายการประเมนิ ระดับความสามารถ ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) C6 การใช้ เทคโนโลยีและ การสืบค้นข้อมูลทาง สามารถสืบค้นข้อมูลทาง สามารถสืบค้นข้อมูลทาง สามารถสืบค้นข้อมูลทาง การสื่อสาร อินเตอร์เน็ตเก่ียวกับ อิ น เ ต อ ร์ เ น็ ต จ า ก อนิ เตอร์เน็ตจากแหล่งข้อมูล อิ น เ ต อ ร์ เ น็ ต จ า ก แนวท างการแก้ไข แหล่งข้อมูลที่น่าเช่ือถือ ท่นี า่ เชอ่ื ถือ เลือกใช้ข้อมูลได้ แหล่งข้อมูลท่ีไม่น่าเชื่อถือ ปัญหาแหล่งน้ำและ เลือกใช้ข้อมูลได้อย่าง อย่างเหมาะสม เก่ียวกับ เกี่ยวกับแนวทางการแก้ไข การอนุรกั ษแ์ หล่งน้ำ เหมาะสม และนำเสนอ แนวทางการแก้ไขปัญหา ปัญหาแหล่งน้ำและการ แนวทางการแก้ไขปัญหา แหล่งน้ำและการอนุรักษ์ อนุรักษ์แหล่งน้ำ แม้ว่าจะ แหล่งน้ำและการอนุรักษ์ แหล่งน้ำ จากการช้ีแนะของ ได้รับคำแนะนำจากครูหรือ แหลง่ น้ำ ดว้ ยตนเอง ครหู รือผูอ้ นื่ ผ้อู ื่น ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจักร 46 เร่ืองที่ 2 เมฆ หมอก นำ้ ค้าง และน้ำค้างแขง็ ในเรื่องนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับลักษณะ ความ เหมือนและแตกต่างกันของเมฆและหมอก น้ำค้างและ นำ้ ค้างแข็ง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ อธบิ ายการเกิด เมฆ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้างแขง็ โดยใช้แบบจำลอง เวลา 3 ช่ัวโมง วัสดุ อุปกรณส์ ำหรับทำกจิ กรรม น้ำแข็ง ไม้ขีดไฟ เกลือ กระป๋องทราย กระติกน้ำร้อน ขวดพลาสติกใสขนาด 1.5 ลิตร คัตเตอร์ ธูป แท่งแก้วคน แก้วพลาสตกิ ช้อนพลาสตกิ น้ำสผี สมอาหาร ส่อื การเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียน ป.5 เล่ม 2 หน้า 17 - 25 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.5 เลม่ 2 หนา้ 15 – 20 3. วดี ิทศั น์ตัวอย่างการปฏบิ ัตกิ ารวทิ ยาศาสตร์ สำหรบั ครู เร่ือง เมฆ หมอก น้ำคา้ ง เกดิ ขน้ึ ได้ อยา่ งไร http://ipst.me/9465 4. วีดิทศั น์ตวั อย่างการปฏบิ ตั กิ ารวิทยาศาสตร์ สำหรับครู เร่อื ง น้ำคา้ งแข็งเกิดขึน้ ได้อยา่ งไร http://ipst.me/9916 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

47 ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 วฏั จกั ร แนวการจดั การเรียนรู้ (60 นาท)ี ขนั้ ตรวจสอบความรู้ (10 นาที) 1. ตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับลักษณะและการเกิดเมฆ หมอก ในการตรวจสอบความรู้ ครู น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง โดยครูนำรูปเมฆ หมอก น้ำค้าง และ เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนและ น้ำค้างแข็ง มาให้นักเรียนสังเกต และนำอภิปรายโดยใช้คำถาม ยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวน ดงั น้ี ให้นักเรียนไปหาคำตอบด้วยตนเอง 1.1 เมฆและหมอกมีลักษณะอย่างไร (นักเรียนตอบตามความ จากการอ่านเนือ้ เร่อื ง เข้าใจซ่ึงคำตอบที่ครูควรรู้คือ เมฆเป็นละอองน้ำท่ีลอยอยู่ ในท้องฟ้า ส่วนหมอกเปน็ ละอองน้ำทล่ี อยอยูใ่ กลพ้ ืน้ โลก) 1.2 นำ้ ค้างและน้ำค้างแข็งมีลักษณะอย่างไร (นักเรียนตอบตาม ความเข้าใจซึ่งคำตอบที่ครูควรรู้คือ น้ำค้างเป็นละอองน้ำท่ี เกาะอยู่บนพ้ืนผิววัตถุใกล้พื้นโลก ส่วนน้ำค้างแข็งเป็น น้ำค้างท่ีแข็งตัวอยู่บนพ้ืนผิววัตถุใกล้พื้นโลก เมื่อพ้ืนโลกมี อุณหภมู ิต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส) จากนั้นครใู ห้นักเรยี นหา คำตอบจากการอ่านเร่ืองเมฆ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้าง แข็ง ขน้ั ฝกึ ทักษะจากการอา่ น (30 นาที) 2. ครใู ห้นกั เรยี นอ่านช่ือเร่อื งและคิดก่อนอ่าน ในหนงั สอื เรียนหน้า 17 แล้วร่วมกันอภิปรายในกลุ่มเพ่ือหาแนวคำตอบตามความ เข้าใจของกลุ่ม ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดานเพ่ือใช้ เปรยี บเทียบคำตอบหลังการอา่ นเรอ่ื ง 3. นักเรียนอ่านคำสำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หาก นักเรียนอ่านไม่ได้ ครคู วรสอนอ่านใหถ้ ูกต้อง) จากนนั้ ครูชกั ชวน ให้นักเรียนอธิบายความหมายของคำสำคัญจากเนื้อเรื่องท่ีจะ อ่าน 4. นักเรียนอ่านเน้ือเรื่องในหนังสือเรียนหน้า 17 - 19 โดยครูฝึก ทักษะการอ่านตามวิธีการอ่านท่ีเหมาะสมกับความสามารถของ นักเรียน ครูใช้คำถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดยใช้คำถามดงั นี้ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 วัฏจกั ร 48 4.1 ทะเลหมอกมีลักษณะเป็นอย่างไร (มวลหมอกจำนวนมากท่ี การเตรียมตัวล่วงหน้าสำหรบั ครู รวมตัวกันเป็นสีขาวลอยอยู่ใกล้พ้ืนโลก มองดูคล้ายทะเล เพอื่ จดั การเรยี นรใู้ นครงั้ ถัดไป มกั พบบนภูเขาสูง) ในครัง้ ถัดไป นักเรียนจะได้ทำ 4.2 เมฆมลี กั ษณะเปน็ อย่างไร (กลุ่มกอ้ นสขี าวลอยอยู่ในทอ้ งฟา้ ) กจิ กรรมที่ 2 เมฆ หมอก น้ำค้าง และ 4.3 เมฆและหมอกแตกต่างกันอย่างไร (แตกต่างกัน คือ เมฆเป็น น้ำค้างแข็งเกดิ ขึน้ ไดอ้ ย่างไร ครคู วร เตรยี มอปุ กรณส์ ำหรบั ต้มน้ำ ภาชนะ ละอองน้ำที่ลอยอยู่ในท้องฟ้า ส่วนหมอกเป็นละอองน้ำท่ี สำหรับเก็บอุณหภูมิเพื่อให้นำ้ แขง็ ไม่ ลอยอยูใ่ กลพ้ ืน้ โลก) หลอมเหลวจนหมดก่อนทีจ่ ะไดท้ ำ 4.4 เมฆและหมอกมีสถานะเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร (มีสถานะ กิจกรรม และบอกใหน้ กั เรยี นแต่ละกล่มุ เหมอื นกัน คือ มที ้งั สถานะของแขง็ และของเหลว) เตรยี มขวดพลาสติกใส 1.5-2 ลติ ร กลุ่ม 4.5 น้ำค้างมีลักษณะเป็นอย่างไร (น้ำค้างเป็นหยดน้ำเกาะอยู่บน ละ 1 ใบและธูป กลุม่ ละ 1 ดอก พื้นผวิ วตั ถใุ กล้พนื้ โลก) 4.6 น้ำค้างแข็งมีลักษณะเป็นอย่างไร (น้ำค้างแข็งเป็นน้ำค้างท่ี เปล่ยี นสถานะเปน็ ของแข็ง เกาะอยู่บนพ้นื ผิววตั ถุใกล้พ้นื โลก เมอ่ื มีอณุ หภูมิตำ่ กว่า 0 องศาเซลเซยี ส) ขนั้ สรุปจากการอา่ น (20 นาท)ี 5. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า เมฆและ หมอกเป็นละอองน้ำหรือผลึกน้ำแข็งเล็ก ๆ เหมือนกัน โดยถ้า เกาะกลุ่มรวมกันลอยอยู่ในท้องฟ้า เรียกว่า เมฆ แต่ถ้าเกาะกลุ่ม รวมกันอยู่ใกล้พ้ืนโลก เรียกว่า หมอก ส่วนน้ำค้างเป็นหยดน้ำ เกาะอยู่บนพื้นผิววัตถุใกล้พ้ืนโลก แต่ถ้าพื้นโลกมีอุณหภูมิ อากาศลดต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียสน้ำค้างจะเกิดการเปลี่ยน สถานะเป็นของแขง็ เรียกวา่ นำ้ คา้ งแขง็ 6. นักเรียนตอบคำถามจากเร่ืองท่ีอ่านในรู้หรือยัง ในแบบบันทึก กิจกรรม หน้า 15 7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือเปรียบเทียบคำตอบของ นักเรยี นในร้หู รือยงั 8. ครูชักชวนนักเรียนตอบคำถามท้ายเร่ืองที่อ่าน คือ การเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง เกิดขึ้นได้อย่างไร ครูบันทึก คำตอบของนักเรียนบนกระดานโดยยังไม่เฉลยค ำตอบ แต่ชกั ชวนให้นกั เรยี นหาคำตอบจากการทำกจิ กรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

49 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วัฏจกั ร แนวคำตอบในแบบบันทึกกิจกรรม เมฆและหมอกเหมือนกนั คือ เมฆและหมอกเป็นละอองนำ้ หรือผลกึ น้ำแข็งเล็ก ๆ ซง่ึ มีสถานะเป็นของเหลวหรือของแข็งก็ได้ เมฆและหมอกแตกตา่ งกนั คอื เมฆเป็นละอองนำ้ หรือผลึกนำ้ แขง็ เล็ก ๆ ท่ีลอยอยู่ ในท้องฟ้า ส่วนหมอกเปน็ ละอองน้ำหรือผลกึ น้ำแข็งเลก็ ๆ ท่ีลอยอยู่ใกล้พ้นื โลก นำ้ คา้ งและนำ้ ค้างแข็งเหมือนกัน คือ น้ำคา้ งและนำ้ ค้างแขง็ จะเกาะอยู่บนพืน้ ผวิ วัตถุใกลพ้ น้ื โลก นำ้ ค้างและนำ้ คา้ งแขง็ แตกต่างกัน คือ น้ำค้างมสี ถานะเป็นของเหลว ส่วนน้ำค้างแข็งมสี ถานะ เป็นของแขง็ นำ้ คา้ งพบได้ทว่ั ไป น้ำคา้ งแข็งพบไดบ้ างบรเิ วณ เช่น ในประเทศไทยอาจพบ นำ้ ค้างแขง็ บนดอยสงู ท่บี างครงั้ มีอุณหภมู ติ ำ่ กวา่ 0 องศาเซลเซียส แต่ในประเทศเขตอบอุ่นถึง เขตหนาว อาจพบน้ำคา้ งแขง็ ได้ในบริเวณพ้ืนที่ราบต่ำซงึ่ มอี ณุ หภูมติ ำ่ กวา่ 0 องศาเซลเซียสได้ ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จกั ร 50 กจิ กรรมท่ี 2 เมฆ หมอก นำ้ ค้าง และนำ้ คา้ งแขง็ เกดิ ขน้ึ ได้อย่างไร กิ จ ก ร ร ม นี้ นั ก เรี ย น จ ะ ไ ด้ ส ร้ า ง แ บ บ จ ำ ล อ ง อ ธิ บ า ย การเกดิ เมฆ หมอก นำ้ ค้าง และนำ้ ค้างแขง็ เวลา 2 ช่วั โมง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ อธบิ ายการเกดิ เมฆ หมอก นำ้ ค้าง และน้ำคา้ งแข็ง โดยใชแ้ บบจำลอง วสั ดุ อปุ กรณ์สำหรับทำกจิ กรรม ส่งิ ที่ครูต้องเตรียม/กลมุ่ 1. คัตเตอร์ 1 อัน 2. กระป๋องทราย 1 ชดุ 3. แทง่ แก้วคน 1 อัน 4. แกว้ พลาสตกิ 1 ใบ 5. ช้อนพลาสตกิ 1 อัน 6. นำ้ สผี สมอาหาร ½ แกว้ สงิ่ ทีค่ รตู อ้ งเตรยี ม/ห้อง 1. กระตกิ น้ำร้อน 1 ใบ 2. น้ำแขง็ 1 กโิ ลกรมั 3. เกลอื แกง 1 ถงุ ส่อื การเรียนรูแ้ ละแหลง่ เรียนรู้ 4. ไม้ขดี ไฟ 1 กลกั 1. หนงั สอื เรียน ป.5 เลม่ 2 หนา้ 20 - 25 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.5 เลม่ 2 หนา้ 16 – 20 ส่ิงทนี่ กั เรยี นต้องเตรียม/กล่มุ 3. วีดิทัศน์ตวั อยา่ งการปฏิบตั กิ ารวทิ ยาศาสตร์ 1. ขวดพลาสติกใส 1.5-2 ลิตร 1 ใบ สำหรบั ครู เรอื่ ง เมฆ หมอก นำ้ คา้ ง เกิดขึน้ ได้ อยา่ งไร http://ipst.me/9465 2. ธูป 1 ดอก 4. วดี ิทศั นต์ ัวอย่างการปฏบิ ัตกิ ารวทิ ยาศาสตร์ สำหรบั ครู เรอ่ื ง นำ้ ค้างแข็งเกิดขนึ้ ได้อย่างไร ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ http://ipst.me/9916 S1 การสงั เกต S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรุป S14 การสรา้ งแบบจำลอง ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C2 การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ C5 ความรว่ มมือ C6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

51 คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจกั ร ในการตรวจสอบความรู้ ครู เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน แนวการจดั การเรียนรู้ เป็ น ส ำคั ญ แล ะยังไม่ เฉล ย คำตอบใด ๆ ให้กับนักเรียน แต่ 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้าง ชักชวนนักเรียน ไปหาคำตอบท่ี แขง็ โดยใช้คำถามดงั ต่อไปน้ี ถูกต้องจากกิจกรรมต่าง ๆ ใน 1.1 เมฆและหมอกเกิดข้ึนได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจซึ่ง บทเรยี นนี้ คำตอบที่ครูควรรู้คือ เมฆและหมอกเกิดจากไอน้ำในอากาศ ควบแน่นเป็นละอองน้ำ โดยมีละอองลอยซึ่งเป็นฝุ่นละออง ควัน หรืออนุภาคอื่น ๆ เป็นแกนกลาง ถ้าละอองน้ำน้ีลอยอยู่ระดับใกล้ พื้นโลกจะเรียกว่า หมอก แต่ถ้ารวมตัวกันในระดับสูงอยู่ในท้องฟ้า เรียกว่า เมฆ) 1.2 น้ำค้างและน้ำค้างแข็งเกิดข้ึนได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามความ เข้าใจซึ่งคำตอบทคี่ รคู วรรู้คือ น้ำค้างเกิดข้ึนเม่ืออุณหภูมิของอากาศ ลดลงในตอนเช้าหรือตอนกลางคืนทำให้ไอน้ำในอากาศควบแน่น เป็นละอองน้ำรวมตัวกันกลายเป็นหยดน้ำและเกาะบนพ้ืนผิววัตถุ ใกล้พ้ืนโลก แต่ถ้าอุณหภูมิของอากาศลดลงต่ำกว่า 0 องศา เซลเซียส น้ำค้างจะเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็งจะ เรยี กวา่ นำ้ ค้างแขง็ ) 2. นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น และร่วมกันอภิปรายเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจจดุ ประสงคใ์ นการทำกจิ กรรม โดยใชค้ ำถาม ดงั น้ี 2.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (การเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง และนำ้ คา้ งแข็ง) 2.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เร่ืองนี้ด้วยวิธีใด (สร้างแบบจำลองการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้างแขง็ ) 2.3 เม่ือเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (สามารถอธิบายการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง และนำ้ คา้ งแขง็ ได)้ 3. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 16 และอ่าน สิ่งที่ต้องใช้ในการทำกิจกรรม ซ่ึงถ้านักเรียนไม่รู้จักวัสดุ อุปกรณ์ บางอย่าง ครูควรนำส่ิงนั้นมาแสดงให้ดู หรือถ้านักเรียนไม่รู้วิธีการใช้ อุปกรณ์ ครคู วรแนะนำและสาธติ วิธกี ารใช้อปุ กรณ์ 4. นกั เรยี นอา่ นทำอย่างไร ตอนที่ 1 โดยครูใช้วิธีฝึกอา่ นที่เหมาะสมกบั ความสามารถของนักเรยี น จากนั้นครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี น วา่ จะทำกจิ กรรมอยา่ งไรจนนักเรียนลำดบั การทำกิจกรรมได้ โดยใช้ คำถามต่อไปน้ี (ครูอาจชว่ ยเขียนสรุปเป็นขั้นตอนสน้ั ๆ บนกระดาน) ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 วฏั จักร 52 4.1 นักเรียนต้องตัดขวดอย่างไร (ตัดให้ส่วนท่ีมีฝาปิดมีความยาวเป็น 1 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ ใน 3 ของความสูงขวด) ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทน่ี ักเรียนจะ 4.2 ขวดท่ีตัดแลว้ ส่วนใดกำหนดให้เป็นส่วนท่ี 1 และส่วนใดกำหนดให้เป็น ได้ฝึกจากการทำกิจกรรม ส่วนท่ี 2 (สว่ นที่มีฝาปิดเปน็ สว่ นที่ 1 ส่วนท่ีเป็นกน้ ขวดเป็นส่วนที่ 2) S1 การสังเกตลกั ษณะการเกดิ เมฆและ 4.3 ใส่น้ำแข็งและน้ำอุ่นในขวดส่วนใด (ใส่น้ำแข็งในขวดส่วนท่ี 1 และใส่ หมอกจากแบบจำลอง น้ำอนุ่ ในขวดสว่ นที่ 2) S14 การสรา้ งแบบจำลองการเกิดเมฆ และหมอก 4.4 ห ลั งจ า ก ใส่ น้ ำ แ ข็ งแ ล ะ น้ ำ อุ่ น แ ล้ ว ต้ อ งท ำอ ย่ า งไร ต่ อ ไป C2 การใช้แบบจำลองในการอธบิ ายและ (รบี นำขวดส่วนที่ 1 มาวางลงบนขวดส่วนที่ 2 ทันที จากน้ันสังเกตสิ่ง เช่อื มโยงสิง่ ทีส่ งั เกตเหน็ จากการทำ ท่ีเกิดขึ้นบริเวณท่ีว่างเหนือผิวน้ำขึ้นไปภายในขวดส่วนท่ี 2 อย่าง กจิ กรรมกบั ปรากฏการณใ์ นธรรมชาติ ต่อเนื่องเปน็ เวลา 3 นาที และบันทึกผล) เกีย่ วกับการเกดิ เมฆและหมอก C5 การร่วมกันอภปิ รายการเกดิ เมฆและ 4.5 บันทกึ ผลเสรจ็ แลว้ ตอ้ งทำอย่างไรต่อไป (เทน้ำออกแล้วเชด็ ขวดส่วนที่ หมอกจากแบบจำลอง 2 ให้แห้ง เติมน้ำอุ่นให้สูงประมาณ 2 – 3 เซนติเมตร แล้วจุดธูปให้ C6 การนำเสนอขอ้ มูลจากแบบจำลอง เกดิ ควนั เกยี่ วกบั การเกดิ เมฆและหมอก ใน รูปแบบแผนภาพหรือรปู แบบอื่น ๆ ให้ 4.6 ทำอย่างไรต่อไป (จุดธูปให้เกิดควันแล้วจ่อลงไปในภาชนะส่วนท่ี 2 ผอู้ น่ื เขา้ ใจ ประมาณ 3 วินาที แล้วนำภาชนะส่วนที่ 1 วางบนภาชนะส่วนท่ี 2 ทันที แล้วสังเกตสิ่งที่เกิดขึน้ ) ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 4.7 นักเรียนต้องสังเกตบริเวณใด (บริเวณที่ว่างเหนือผิวน้ำข้ึนไปใน คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน ภาชนะส่วนที่ 2) คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง อดทน และรับฟังแนวความคิด 4.8 นักเรียนจะบันทึกผลเมื่อใดและบันทึกที่ใด (บันทึกผลหลังจากการ ของนักเรยี น สังเกตทุกคร้ัง และบนั ทึกลงในแบบบนั ทึกกจิ กรรม) 4.9 เม่ือบันทึกแล้วต้องทำอะไรต่อไป (ร่วมกันอภิปรายการเกิดเมฆและ หมอก จากแบบจำลองที่สร้างขึน้ และนำเสนอ) 5. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร ตอนที่ 1 แล้ว ครู แจกวสั ดอุ ุปกรณ์ และใหน้ ักเรยี นลงมือปฏบิ ตั ติ ามขั้นตอน 6. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถามดังตอ่ ไปนี้ 6.1 เมื่อวางขวดส่วนท่ี 1 ซึ่งใส่น้ำแข็งลงบนขวดส่วนท่ี 2 ซึ่งใส่น้ำอุ่น ทันที สังเกตพบอะไรบ้าง (เกิดฝา้ ขาวภายในขวดสว่ นที่ 2) 6.2 ฝ้าขาวภายในขวดส่วนท่ี 2 เกิดข้ึนได้อย่างไร (น้ำอุ่นระเหย กลายเป็นไอน้ำอยู่ในอากาศภายในภาชนะ แล้วเม่ืออากาศลอย สูงขึ้นไปกระทบกับอากาศท่ีอยู่ใกล้น้ำแข็งซึ่งเย็นกว่าหรืออุณหภูมิ ต่ำกว่าจะเกิดการควบแน่นเป็นละอองน้ำเล็ก ๆ จับตัวกันทำให้ มองเหน็ เปน็ ฝ้าขาวจาง ๆ เหนอื น้ำอุน่ ในขวดส่วนที่ 2) สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

53 คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจกั ร 6.3 เม่ือจุดธูปแล้วจอ่ ลงในขวด นักเรยี นสังเกตเห็นอะไร (เกดิ ละอองน้ำ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ จบั ตวั กนั มากขึน้ ลอยสงู ขึ้นจากเหนอื นำ้ ในขวดสว่ นท่ี 2) ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทน่ี ักเรียนจะ 6.4 เพราะเหตุใดเมื่อจ่อธูปลงในขวดส่วนท่ี 2 จึงทำให้เกิดละอองน้ำได้ ได้ฝึกจากการทำกจิ กรรม มากข้ึน (เพราะการเผาไหม้ของธูปทำให้มีฝุ่นละอองในอากาศ เพ่ิมข้ึน ซึ่งฝุ่นละอองนี้จะเป็นแกนกลางให้ละอองน้ำที่เกิดจากการ S1 การสังเกตลักษณะการเกดิ นำ้ คา้ ง ควบแน่นเกาะมากขน้ึ ทำให้มองเหน็ ละอองน้ำไดม้ ากขึ้น) และน้ำคา้ งแขง็ จากแบบจำลอง S14 การสร้างแบบจำลองการเกดิ น้ำค้าง 7. นักเรียนอ่านทำอย่างไร ตอนท่ี 2 โดยครูใช้วิธีฝึกอ่านที่เหมาะสมกับ และนำ้ ค้างแขง็ ความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความเข้าใจนักเรียนว่า C2 การใชแ้ บบจำลองในการอธิบายและ จะทำกิจกรรมอย่างไรจนนักเรียนลำดับการทำกิจกรรม โดยใช้คำถาม เช่อื มโยงสงิ่ ทสี่ งั เกตเหน็ จากการทำ ต่อไปนี้ (ครูอาจช่วยเขียนสรุปเป็นขนั้ ตอนส้ัน ๆ บนกระดาน) กจิ กรรมกับปรากฏการณใ์ นธรรมชาติ 7.1 เม่ือนักเรียนใส่น้ำแข็งลงไปในแก้วพลาสติกจนเกือบเต็มแล้ว เก่ยี วกับการเกดิ น้ำค้างและนำ้ คา้ งแข็ง นกั เรียนต้องทำอย่างไรต่อไป (รนิ น้ำสีใส่ลงในแก้วประมาณคร่ึงหน่ึง C5 การร่วมกันทำกิจกรรมและอภปิ ราย ของแกว้ ) การเกิดน้ำคา้ งและน้ำคา้ งแขง็ จาก 7.2 หลังจากนั้นนักเรียนต้องทำอะไร (สังเกตสิ่งท่ีเกิดขึ้นที่ผิวด้านนอก แบบจำลอง ของแกว้ และบันทึกผล) C6 การนำเสนอขอ้ มลู จากแบบจำลอง 7.3 เม่ือเติมเกลือลงไปในแก้วพลาสติกตั้งท้ิงไว้ ประมาณ 5-10 นาที เก่ยี วกับการเกดิ นำ้ ค้างละนำ้ คา้ งแข็ง ใน แล้วนักเรียนต้องสังเกตอะไร (สังเกตผิวด้านนอกของแก้วพลาสติก รูปแบบแผนภาพหรอื รปู แบบอื่น ๆ ให้ และบนั ทึกผล) ผู้อืน่ เขา้ ใจ 7.4 นักเรียนจะบันทึกผลเมื่อใดและบันทึกที่ใด (บันทึกผลหลังจากการ สังเกตทุกครงั้ และบันทึกลงในแบบบนั ทกึ กิจกรรม) ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ 7.5 เม่ือบันทึกผลแล้วจะต้องทำอย่างไรต่อไป (ร่วมกันอภิปรายการเกิด คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว น้ำคา้ งและนำ้ คา้ งแข็ง จากแบบจำลองทสี่ รา้ งขึ้นและนำเสนอ) คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง 8. เม่ือนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร ตอนท่ี 2 แล้ว ครู อดทน และรับฟังแนวความคิด แจกวสั ดุอปุ กรณ์ และให้นกั เรียนลงมอื ปฏบิ ตั ติ ามข้นั ตอน ของนกั เรียน 9. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถามดังตอ่ ไปนี้ 9.1 เมื่อใส่นำ้ ลงในแก้วพลาสติกท่ีมีนำ้ แข็ง นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง ท่ีผิวด้านนอกของแก้วพลาสติก (หยดน้ำเล็ก ๆ เกาะอยู่บนผิวด้าน นอกของแก้วพลาสตกิ ) 9.2 หยดน้ำท่ีผิวด้านนอกของแก้วพลาสติกมาจากไหน รู้ได้อย่างไร (มา จากไอน้ำในอากาศ เน่ืองจากสีของหยดน้ำด้านนอกแก้วพลาสติก ไมม่ ีสีเดยี วกับนำ้ ในแก้วพลาสติก) ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จักร 54 9.3 หยดน้ำที่ผิวด้านนอกของแก้วพลาสติกเกิดขึ้นได้อย่างไร (ไอน้ำใน อ าก า ศ สั ม ผั ส กั บ ผิ ว ด้ า น น อ ก ข อ งแ ก้ ว พ ล าส ติ ก ท่ี เย็ น ก ว่ า ห รื อ อุณหภูมิต่ำกว่าจึงเกิดการควบแน่นเป็นหยดน้ำเกาะอยู่ท่ีผิวด้าน นอกของแกว้ พลาสติก) 9.4 เม่ือเติมเกลือลงไปในแก้วพลาสติกตั้งทิ้งไว้ ประมาณ 5-10 นาที สังเกตเห็นอะไรบ้างท่ีผิวด้านนอกของแก้วพลาสติก (เกล็ดน้ำแข็ง เกาะอย่ทู างดา้ นนอกของแก้วพลาสตกิ ) 9.5 เกล็ดน้ำแขง็ ท่ีเกาะอยู่ภายนอกแก้วพลาสติกเกดิ ข้ึนได้อย่างไร (เมื่อ เติมเกลือในน้ำแข็ง เกลือละลายโดยใช้ความร้อนจากการถ่ายโอน ของน้ำแข็ง ทำให้น้ำแข็งเย็นลงต่ำกว่า 0 ๐C น้ำท่ีเกาะอยู่ด้านนอก แก้วพลาสติกที่มีอุณหภูมิสูงกว่าจะถ่ายโอนความร้อนให้น้ำในแก้ว ทำให้หยดน้ำมีอุณหภูมิลดลงต่ำกว่า 0 ๐C และเปลี่ยนเป็นผลึก น้ำแข็ง) 10. ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นตอบหรอื ซกั ถามในสิ่งท่ีอยากรู้เพม่ิ เตมิ เกย่ี วกับ การเมฆ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง จากนั้นรว่ มกันอภิปรายและลง ข้อสรปุ วา่ เมื่อน้ำจากแหล่งต่างๆ ระเหยกลายเป็นไอน้ำแลว้ กระทบกับ อากาศท่ีเย็นกว่าหรืออุณหภูมิต่ำกว่าจะเกิดการควบแน่นกลายเป็น ละอองน้ำเลก็ ๆ โดยมีฝุ่นละออง ควนั หรืออนภุ าคอ่นื ๆ เปน็ แกนกลาง ถ้าเกิดในระดับใกล้พื้นโลก เรียกว่าหมอก แต่ถ้าเกิดในระดับสูงอยู่ใน ท้องฟ้า เรียกว่าเมฆ ส่วนน้ำค้างเกิดจากไอน้ำในอากาศท่ีมีอุณหภูมิลด ต่ำลงในเวลากลางคืนเกิดการควบแน่นเป็นละอองน้ำเกาะอยบู่ นพ้ืนผิว วตั ถุใกลพ้ ้นื โลก แตถ่ า้ อุณหภูมบิ รเิ วณนั้นตำ่ กวา่ 0 องศาเซลเซียส หรือ ต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง น้ำค้างจะเปล่ียนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง เรียกว่าน้ำค้างแขง็ (S13) 11. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้ คำถามเพ่ิมเตมิ ในการอภปิ รายเพอ่ื ใหไ้ ด้แนวคำตอบทีถ่ ูกต้อง 12. นักเรียนอ่าน ส่ิงที่ได้เรียนรู้ และเปรียบเทียบกับข้อสรุปท่ีได้จากการ อภิปราย 13. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเร่ืองที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าช้ันเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เกยี่ วกบั คำถามที่นำเสนอ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

55 คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จกั ร 14. ครูนำอภิปรายเพ่ือให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการ การเตรยี มตัวล่วงหน้าสำหรับครู ทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 อะไรบ้างในขั้นตอน เพื่อจัดการเรียนรใู้ นครง้ั ถัดไป ใด แลว้ ให้บันทกึ ในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม หนา้ 20 ในครง้ั ถดั ไป นักเรยี นจะได้เรียน 15. นกั เรยี นรว่ มกันอ่านรอู้ ะไรในเรอื่ งนี้ ในหนงั สือเรียน หน้า 25 ครนู ำ เร่อื งท่ี 3 หยาดนำ้ ฟา้ ครเู ตรยี มรูปฝน อภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับส่ิงท่ีได้เรียนรู้ในเร่ืองนี้ จากนั้น หมิ ะ และลูกเหบ็ เพื่อให้นักเรยี นสังเกต ครูกระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเนื้อเร่ือง ซึ่งเป็น และอภปิ รายโดยใชค้ ำถาม ในการ คำถามเพ่ือเชื่อมโยงไปสู่การเรียนเนื้อหาในบทถัดไป ดังนี้ “ลองคิด ตรวจสอบความรขู้ องนกั เรยี น ดูสิว่า เมฆ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง เป็นหยาดน้ำฟ้าหรือไม่ อย่างไร เราจะได้เรยี นรูก้ ันต่อไป” นักเรียนสามารถตอบตามความ เขา้ ใจของตนเอง ซง่ึ จะหาคำตอบได้จากการเรียนในบทต่อไป ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจกั ร 56 แนวคำตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม อธิบายการเกดิ เมฆ และหมอก โดยใช้แบบจำลอง ใหน้ ักเรยี นวาดภาพได้ มีละอองน้ำลอยอยเู่ ต็มพื้นที่ว่าง ในภาชนะส่วนท่ี 2 ใหน้ ักเรียนวาดภาพได้ มีละอองนำ้ หนาแน่นจนมองเห็นลอยข้ึน จากผวิ นำ้ เปน็ ฝ้าสีขาวอย่างชดั เจนใน ภาชนะส่วนที่ 2 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

57 คู่มือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วัฏจักร อธิบายการเกิดนำ้ ค้าง และนำ้ คา้ งแขง็ โดยใช้แบบจำลอง ใหน้ ักเรยี นวาดภาพได้ มีหยดนำ้ เล็ก ๆ เกาะอยูบ่ นผิวด้าน นอกของแกว้ พลาสตกิ ใหน้ ักเรยี นวาดภาพได้ หยดน้ำเลก็ ๆ ทเี่ กาะอยู่บนผิวด้าน นอกของแกว้ พลาสติกจะคอ่ ย ๆ เปล่ยี นสถานะ เหน็ เป็นป้นื น้ำแข็ง สีขาว ซึ่งมีสถานะเป็นของแขง็ ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จกั ร 58 แหทรือนอทุณ้องหฟภา้ มู หติ รำ่ อื บริเวณอืน่ ที่มอี ากาศเยน็ แทนแหล่งน้ำต่าง ๆ ซ่ึงเกิดการระเหยกลายเปน็ ไอนำ้ แทนพ้ืนที่ท่ีมีอากาศเหนอื พืน้ ผวิ โลก เขมา่ จากควันธูปแทนฝ่นุ ละอองทอี่ ยใู่ นอากาศ แตกต่างกัน คือ กอ่ นจุดธูปจะมองเห็นละอองนำ้ ไดน้ ้อยหรือเปน็ ฝ้าขาวจาง ๆ แตห่ ลงั จากจดุ ธปู จะมองเหน็ ละอองน้ำหนาแน่นเปน็ ฝ้าขาวชดั เจนมากขน้ึ และ ลอยสูงขนึ้ จากผิวหน้าของน้ำ สิง่ ทเ่ี กดิ ขึน้ ในข้อท่ี 2 หลังจากจดุ ธูปสามารถนำไปอภิปรายการเกิดเมฆและหมอก โดย ในธรรมชาตเิ มฆและหมอกเกิดจากไอนำ้ ในอากาศควบแน่นเป็นละอองนำ้ เลก็ ๆ ลอย อยู่ในอากาศ โดยมลี ะอองลอยเปน็ อนภุ าคแกนกลางในการรวมตัวกันของละอองนำ้ แบบจำลองนี้เหมือนกบั ในธรรมชาติคือการเกดิ เมฆและหมอกเกดิ จากละอองน้ำ เหมือนกัน แต่ในธรรมชาตเิ มฆจะลอยอยูใ่ นท้องฟา้ และหมอกจะลอยอยู่ดา้ นลา่ ง ใกลพ้ น้ื โลก แตใ่ นแบบจำลองไมส่ ามารถเห็นความแตกตา่ งของตำแหนง่ ละอองนำ้ ที่ เกิดขึ้นภายในภาชนะได้อย่างชดั เจนจงึ ไมส่ ามารถแยกได้ว่าเป็นเมฆหรือหมอก สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

59 คมู่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจกั ร เมฆและหมอกเกิดจากไอนำ้ ในอากาศควบแนน่ เปน็ ละอองนำ้ โดยมี ฝ่นุ ละอองจากควันเปน็ แกนกลางใหล้ ะอองนำ้ ยดึ เกาะ สิ่งท่ีเกดิ ขึ้นคอื หยดนำ้ เลก็ ๆ ทเ่ี กดิ จากไอน้ำในอากาศควบแนน่ เปน็ หยดนำ้ เม่ือสัมผัสกบั ผิวแกว้ ทเี่ ยน็ แล้วเกาะที่ผิวด้านนอกของแก้วพลาสตกิ เหมือนกบั การเกดิ นำ้ คา้ งในธรรมชาติ ส่ิงทเ่ี กดิ ข้ึนคอื หยดนำ้ เลก็ ๆ เปลี่ยนเป็นนำ้ แขง็ ปนื้ สขี าว เช่นเดียวกบั การเกดิ น้ำคา้ งแข็ง เพราะเมอื่ อุณหภูมิตำ่ กว่าจดุ เยอื กแข็ง ทำใหน้ ้ำค้างเปลย่ี นสถานะจากของเหลวเปน็ ของแขง็ เหมอื นกันคอื เปน็ หยดนำ้ ท่ีเกาะอยบู่ นผิววตั ถุท่ีเกิดจากการรวมตวั กนั ของละอองนำ้ ทเ่ี กิดมาจากการควบแนน่ ของไอน้ำในอากาศ และเปลยี่ นสถานะเป็นของแขง็ เมอ่ื อณุ หภูมิตำ่ กวา่ 0 oC เช่นเดยี วกบั น้ำค้างเปลย่ี นเป็น นำ้ คา้ งแขง็ เมือ่ อณุ หภูมขิ องอากาศลดต่ำลงกว่า 0 oC แต่แตกตา่ งกนั คอื ในธรรมชาตนิ ำ้ ค้างจะพบช่วงหัวคำ่ หรอื เช้ามืดและครอบคลมุ พนื้ ท่ีมากกวา่ พน้ื ท่ใี นแบบจำลอง และนำ้ คา้ งแข็งจะพบบริเวณดอยสงู นำ้ คา้ งเกดิ จากไอน้ำในอากาศเกดิ การควบแน่นเป็นละอองนำ้ รวมตวั กนั กลายเป็นหยดน้ำ เกาะบนพ้ืนผิววัตถุ ถ้าอุณหภมู ลิ ดต่ำลงมากน้ำค้างซึง่ มีสถานะเป็นของเหลวจะเปลย่ี นเปน็ นำ้ ค้างแข็งซึ่งมสี ถานะเปน็ ของแข็ง เมฆและหมอกเกดิ จากไอน้ำในอากาศควบแนน่ เปน็ ละอองน้ำเม่อื อุณหภูมขิ องอากาศลดลง และลอยทร่ี ะดับความสงู ต่าง ๆ ถ้าลอยอย่ใู นทอ้ งฟ้าเป็นเมฆ แต่ถ้าลอยต่ำเหนอื พ้ืนโลกเป็น หมอก สว่ นน้ำค้างเกดิ จากไอน้ำในอากาศควบแนน่ เป็นละอองน้ำรวมตัวกนั กลายเปน็ หยดน้ำ และเกาะบนพนื้ ผวิ วัตถุใกล้พ้ืนโลก นำ้ คา้ งเปลีย่ นเปน็ น้ำคา้ งแขง็ เมอ่ื อุณหภูมขิ องอากาศลด ตำ่ ลงถงึ 0 oC ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี