Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-19 13:36:53

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
เล่ม 2
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คมู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยที่ 5 สิง่ มชี ีวิต 210 คําถามของนกั เรยี นที่ต้ังตามความอยากรูของตนเอง       สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

211 คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยท่ี 5 สง่ิ มีชีวิต แนวการประเมินการเรียนรู การประเมินการเรียนรขู องนกั เรยี นทําได ดังน้ี 1. ประเมนิ ความรูเดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน 2. ประเมนิ การเรยี นรจู ากคาํ ตอบของนกั เรียนระหวา งการจดั การเรยี นรแู ละจากแบบบันทึกกิจกรรม 3. ประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 จากการทาํ กจิ กรรมของนกั เรยี น การประเมนิ จากการทาํ กจิ กรรมที่ 1.1 ลักษณะทางพันธุกรรมของพชื มีอะไรบาง ระดับคะแนน 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ 3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช รหสั สิง่ ทปี่ ระเมิน ระดบั คะแนน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร S1 การสังเกต S8 การลงความเหน็ จากขอมลู S13 การตีความหมายขอ มูลและลงขอ สรุป ทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 C2 การคิดอยางมวี จิ ารณญาณ C4 การสอื่ สาร C5 ความรว มมอื รวมคะแนน  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยที่ 5 สง่ิ มชี ีวิต 212 ตาราง แสดงการวเิ คราะหทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรตามระดับความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใชเ กณฑก ารประเมิน ดังนี้ ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร พอใช (2) S1 การสงั เกต ก า ร บ ร ร ย า ย สามารถใชประสาท สา ม า ร ถใช ป ร ะส า ท สามารถใชประสาท ร า ย ล ะ เ อี ย ด สัมผัสเก็บรายละเอียด สัมผัสเก็บรายละเอียด สัมผัสเก็บรายละเอียด เก่ียวกับลักษณะ ขอมูลเกี่ยวกับลักษณะ ขอมูลเก่ียวกับลักษณะ ขอมูลเก่ียวกับลักษณะ ตาง ๆ ของพืช ตาง ๆ ของพืชไดดวย ตาง ๆ ของพืชได จาก ตาง ๆ ของพืชไดเพียง ต น เ อ ง โ ด ย ไ ม เ พ่ิ ม การช้ีแนะของครูหรือ บางสวน แมวาจะได ความคดิ เห็น ผูอื่น หรือมีการเพิ่มเติม รับคําชี้แนะจากครูหรือ ความคิดเห็น ผอู ืน่ S8 การลงความเห็น การลงความเห็น สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น จากขอ มลู จากขอมูลวาพืชมี จ า ก ข อ มู ล ไ ด อ ย า ง ขอมูลไดอยางถกู ตองโดย จากขอมูลไดวาพืชมี ก า ร ถ า ย ท อ ด ถูกตองดวยตนเองวา อาศัยการชี้แนะของครู ลกั ษณะตา ง ๆ ที่สังเกต ลั ก ษ ณ ะ ท า ง พื ช มี ก า ร ถ า ย ท อ ด หรือผูอ่ืนวาพืช มีการ ได แตไมสามารถลง พันธุกรรมจากรุน ลักษณะทางพันธุกรรม ถายทอดลักษณะทาง ความเหน็ ไดว า พืชมีการ พอแมไปสูรุนลูก จากรุนพอแมไปสูรุน พันธุกรรมจากรุนพอแม ถา ยทอดลักษณะตาง ๆ เชน ลักษณะลํา ลูกเชน ลักษณะลําตน ไปสูรุนลูก เชน ลักษณะ เหลาน้ันจากรุนพอแม ตน รูปรางของใบ รูปรางของใบ เสนใบ ลาํ ตน รูปรางของใบ เสน ไปสูรุนลูก แมวาจะได เสนใบและลาย และลายบนใบ รูปราง ใบและลายบนใบ รูปราง รับคําชี้แนะจากครูหรือ บ น ใ บ รู ป ร า ง ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ด อ ก ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ด อ ก ผอู นื่ ลักษณะของดอก ลักษณะของกลีบดอก ลักษณะของกลีบดอก สี ลักษณะของกลีบ สีดอก ดอก ดอก สีดอก S13 การตีความหมาย การตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย ขอมูลและลงขอ สรุป ข อ มู ล แ ล ะ ล ง ขอมูลและลงขอสรุป ขอมูลและลงขอสรุปจาก ขอมูลและลงขอสรุป ขอสรุปจากการ จากการสังเกตและการ ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ ก า ร จากการสังเกตและการ สังเกตและการ วเิ คราะหไ ดถูกตองดวย วิเคราะหไดถูกตองโดย วิเคราะหลักษณะทาง วิเ คร าะ หไ ดว า ตนเองวาลักษณะทาง อาศัยการการช้ีแนะของ พันธุกรรมของพืชได ลั ก ษ ณ ะ ท า ง พันธุกรรมของพืชเปน ครูหรือผูอ่ืนวาลักษณะ เพียงบางสวนวาพืชมี พันธุกรรมของพืช ลั ก ษ ณ ะ ท่ี มี ก า ร ทางพันธุกรรมของพืช การถายทอดลักษณะ เปนลักษณะท่ีมี ถายทอดจากรุนพอแม เ ป น ลั ก ษ ณ ะ ท่ี มี ก า ร ตา ง ๆ เหลา นน้ั จากรุน การถายทอดจาก ไ ป สู รุ น ลู ก เ ช น ถายทอดจากรุนพอแม พอแมไปสูรุนลูกแมวา สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

213 คมู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยท่ี 5 สิง่ มีชีวิต ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร พอใช (2) รุนพอแมไปสูรุน ลักษณะลําตน รูปราง ไปสูรุนลูก เชน ลักษณะ จะไดรับคําช้ีแนะจาก ลูก เชน ลักษณะ ของใบ เสนใบและลาย ลําตน รูปรา งของใบ เสน ครหู รอื ผูอื่น ลําตน รูปรางของ บนใบ รูปรางลักษณะ ใบและลายบนใบ รูปราง ใบ เสนใบและ ของดอก ลักษณะของ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ด อ ก ลายบนใบ รูปราง กลบี ดอก สดี อก ลักษณะของกลีบดอก สี ลักษณะของดอก ดอก ลักษณะของกลีบ ดอก สีดอก  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยที่ 5 สิ่งมชี ีวิต 214 ตาราง แสดงการวิเคราะหท ักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเ กณฑการประเมิน ดังนี้ ทักษะแหงศตวรรษที่ รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ 21 การบอกเหตุผล ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1) C2 การคดิ อยางมี และตัดสินใจจัด วจิ ารณาญาณ กลุมตนพืชรุนลูก สามารถบอกเหตุผล สามารถบอกเหตุผล สามารถจดั กลุมตนพืชรุนลูก กับตนพืชรุนพอ C4 การสอื่ สาร แม และตัดสินใจจัดกลุม และตัดสนิ ใจจัดกลุมตน กับตนพืชรุนพอแมได แตไม C5 ความรวมมือ ก า ร นํ า เ ส น อ ตน พืชรุน ลูกกับตนพืช พืชรุนลูกกับตนพืชรุน สามารถบอกเหตุผลในการ ข อ มู ล จ า ก ก า ร สังเกต และการ รุนพอแมไดถูกตอง พอแมไดถูกตองโดย จัดกลุมไดแมวาจะไดรับคํา วิเคราะหจับคูตน พื ช รุ น ลู ก กั บ ต น ดว ยตนเอง ตองอาศัยการช้ีแนะ ชี้แนะจากครูหรอื ผอู ่ืน พืชรุนพอแม ให ผูอ นื่ เขา ใจ จากครูหรือผูอน่ื ก า ร ทํ า ง า น รวมกับผูอ่ืน และ สามารถนําเสนอขอมูล สามารถนําเสนอขอมูล สามารถนําเสนอขอมูลจาก การแสดงความ คิดเห็น ในการ จากการสังเกต และ จากการสังเกต และการ ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ ก า ร สั ง เ ก ต ก า ร วิเคราะหจับคูตน การวิเคราะห จับคูตน วิเคราะห จับคูตนพืชรุน วิเคราะห จับคูตนพืชรุนลูก พื ช รุ น ลู ก กั บ ต น พื ช รุ น พ อ แ ม พืชรุนลูกกับตนพืชรุน ลูกกับตนพืชรุนพอแม กับตนพืชรุนพอแม ใหผูอ่ืน ร ว ม ท้ั ง ย อ ม รั บ ความคิดเห็นของ พอแม ใหผูอ่ืนเขาใจได ใหผูอื่นเขาใจไดถูกตอง เขา ใจไดเ พียงบางสวน แมวา ผูอ ืน่ ถกู ตองดว ยตนเอง จากการช้ีแนะของครู จะไดรับคําชี้แนะจากครูหรือ หรอื ผูอ่นื ผูอ่นื สามารถทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับผูอื่น ผูอื่น และแสดงความ ผูอื่น แล ะแส ดงคว าม ไดบา ง แตไ มค อ ยแสดงความ คิดเห็น ในการสังเกต คิดเห็น ในการสังเกต คิดเห็นเก่ียวกับการวิเคราะห การวิเคราะหจับคูตน การวิเคราะหจับคูตนพืช จับคูตนพืชรุนลูกกับตนพืช พืชรุนลูกกับตนพืชรุน รุนลูกกับตนพืชรุนพอแม รุนพอแม รวมทั้งไมแสดง พอแมรวมท้ังยอมรับ รว มท้ัง ยอมรั บคว า ม ความสนใจตอความคิดเห็น ความคิดเห็นของผูอ่ืน คิดเห็นของผูอื่นในบาง ของผูอ่ืน ทั้งน้ีตองอาศัยการ ตงั้ แตเ ร่ิมตนจนสาํ เรจ็ ชว งเวลาทีท่ ํากจิ กรรม กระตุนจากครหู รอื ผูอ่นื สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

215 คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยที่ 5 ส่งิ มีชีวิต กิจกรรมที่ 1.2 ลกั ษณะทางพันธกุ รรมของสัตวมีอะไรบาง กิจกรรมน้ีนักเรียนจะไดสังเกตลักษณะตาง ๆ ของ สัตวในกลุมตาง ๆ รวมท้ังไดพยากรณลักษณะของลูกสัตว จากขอมูลลักษณะของพอและแม และอธิบายลักษณะทาง พันธุกรรมของสตั ว เวลา 2 ชวั่ โมง จุดประสงคก ารเรยี นรู สังเกต วเิ คราะห และอธบิ ายลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ของสัตวท ี่มีการถายทอดจากรนุ พอ แมส ูร ุนลูก วัสดุ อปุ กรณสําหรบั ทํากจิ กรรม 1 ชดุ 1 กลอ ง สิ่งท่ีครูตอ งเตรียม/กลุม 1. บัตรภาพครอบครัวของสตั ว 2. สไี ม ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร S1 การสงั เกต สอื่ การเรยี นรูแ ละแหลง เรียนรู หนา 83-85 S6 การจัดกระทาํ และสอื่ ความหมายขอมูล หนา 72-75 S7 การพยากรณ 1. หนงั สือเรียน ป.5 เลม 2 S8 การลงความเหน็ จากขอมูล S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอ สรปุ 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.5 เลม 2 ทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 C2 การคิดอยา งมวี ิจารณญาณ C4 การสื่อสาร C5 ความรว มมือ  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยที่ 5 สง่ิ มชี ีวติ 216 แนวการจดั การเรยี นรู 1. ครูตรวจสอบความรูเดิมของนักเรียน โดยใหนักเรียนแตละคนจับบัตรคําช่ือ ในการตรวจสอบความรู ครู สัตวที่ครูเตรียมไว ซ่ึงมีชื่อสัตวตาง ๆ ครบท้ัง 5 กลุม ไดแก กลุมปลา กลุม เพียงรับฟงเหตุผลของนักเรียนและ สัตวสะเทินนํ้าสะเทินบก กลุมสัตวเล้ือยคลาน กลุมนก และกลุมสัตวเล้ียง ยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวน ลูกดวยนํ้านม ใหนักเรียนแตละคนพิจารณาช่ือสัตวจากบัตรคําท่ีไดรับและ ใหนักเรียนไปหาคําตอบดวยตนเอง ไปรวมกลุมกับเพ่ือนท่ีไดชื่อสัตวในกลุมเดียวกัน จากน้ันใหแตละกลุมเลือก จากการอา นเน้ือเรือ่ ง สัตวในกลุม 1 ชนิด และบอกลักษณะของสัตวชนิดนั้น จากน้ันใชแนว คําถามในการอภปิ รายดังตอ ไปน้ี ขอ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ 1.1 ลักษณะตาง ๆ ของสัตวชนิดน้ีไดมาจากไหน (ลักษณะตาง ๆ ของสัตว ชนดิ ไดร ับการถายทอดมาจากพอ และแม) ครูสามารถดาวนโหลดบัตร 1.2 ลักษณะทางพันธุกรรมของสัตวชนิดนี้มีอะไรบาง (นักเรียนตอบตาม ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว ข อ ง สั ต ว ไ ด โ ด ย ความเขาใจ) สแกน QR code ในหนังสือเรียน หนา 83 นํามาพิมพสี และจัดเปน 2. ครูเชื่อมโยงความรูเดิมของนักเรียนไปสูกิจกรรมที่ 1.2 โดยชักชวนให ชุดบัตรภาพ เพ่ือใหนักเรียนแตละ นักเรียนคนหาคําตอบวาสัตวในกลุมตาง ๆ มีลักษณะใดบางที่เปนลักษณะ กลมุ ใชส าํ หรับทํากิจกรรม ทางพันธกุ รรม 3. นักเรียนอานช่ือกิจกรรม และ ทําเปนคิดเปน แลวรวมกันอภิปรายเพื่อ ตรวจสอบความเขาใจจุดประสงคในการทํากิจกรรม โดยใชคาํ ถามดังนี้ 3.1 กิจกรรมน้ีนักเรียนจะไดเรียนเร่ืองอะไร (ลักษณะทางพันธุกรรมของ สัตว) 3.2 นกั เรียนจะไดเรียนรเู ร่อื งนี้ดวยวิธีใด (สงั เกต และวเิ คราะห) 3.3 เมื่อเรียนแลวนักเรียนจะทําอะไรได (อธิบายลักษณะทางพันธุกรรม ของสัตวได) 4. นักเรียนบนั ทกึ จดุ ประสงคลงในแบบบนั ทึกกิจกรรม หนา 72 และ อานสิ่งที่ ตองใชในการทาํ กจิ กรรม 5. นักเรียนอานทําอยางไรทีละขอ ครูฝกทักษะการอานโดยใชวิธีฝกอานที่ เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความเขาใจ เก่ียวกับข้ันตอนการทํากิจกรรม จนนักเรียนเขาใจลําดับการทํากิจกรรม โดยใชค าํ ถามดังนี้ 5.1 นักเรียนตองทําสิ่งใดเปนอันดับแรก (สังเกต และเปรียบเทียบลักษณะ ของพอ แม กบั ลูกของปลา กบ งู และเปด ในบตั รภาพ) 5.2 นักเรียนเปรียบเทียบลักษณะของสัตวในแตละครอบครัวอยางไร (เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกตางของลกู กับพอ และแม) สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

217 คูมอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยท่ี 5 สงิ่ มชี ีวติ 5.3 นกั เรียนรวมกันอภิปรายเก่ียวกับเรื่องอะไร (อภิปรายเกี่ยวกับลักษณะ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ ทางพันธุกรรมของสตั ว) ทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 ที่นกั เรยี นจะได 5.4 นักเรียนจะตอ งสงั เกตสตั วชนดิ ใด (กระตาย) ฝก จากการทํากิจกรรม 5.5 นักเรียนตองสังเกตลักษณะใดของกระตาย (นักเรียนตอบตามความ S1 สังเกตลักษณะของสัตว เขา ใจของตนเอง) S4, S8 อภิปรายเกี่ยวกับลักษณะทาง 5.6 เม่ือนักเรียนสังเกตลักษณะตาง ๆ ของกระตายเพศผูและเพศเมียแลว พันธุกรรมของสัตว S6 วาดรปู ลกู กระตา ย ตองทําอะไรตอ (พยากรณลักษณะของลูกกระตายท่ีเกิดจากการผสมพันธุ S7 พยากรณลกั ษณะของลูกกระตาย ของกระตา ย 2 ตัวน้ี) C4, C5 เปรียบเทียบลักษณะของพอ 5.7 นักเรียนพยากรณลักษณะของลูกกระตายไดอยางไร เพราะเหตุใด แม ลูกสัตวแ ละนําเสนอรูปลูกกระตาย (พยากรณจ ากขอ มูลที่ไดจากการสังเกตลักษณะของกระตายเพศผูและ ทีว่ าด กระตา ยเพศเมีย เพราะลกั ษณะของพอและแมจะถา ยทอดไปสูล ูก) 5.8 นักเรียนบันทึกลักษณะของลูกกระตายท่ีไดจากการพยากรณอยางไร ถานักเรียนไมสามารถตอบ (บันทกึ โดยการวาดรูป) คําถามหรืออภิปรายไดตามแนว 5.9 นกั เรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับเรื่องอะไร (อภิปรายเกี่ยวกับลักษณะ คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียน ทางพันธุกรรมของกระตาย) คดิ อยางเหมาะสม รอคอยอยาง 6. เมื่อนักเรียนเขาใจวิธีการทํากิจกรรมในทําอยางไรแลว ใหครูแจกบัตรภาพ อดทน และรับฟงแนวความคิด ครอบครัวสตั วใ หก บั นักเรียนและใหนกั เรียนเริ่มปฏบิ ัติตามขนั้ ตอน ของนักเรียน 7. หลงั จากทาํ กจิ กรรมแลว ครนู ําอภิปรายผลการทาํ กิจกรรม โดยใชค าํ ถาม ดงั น้ี 7.1 จากบตั รภาพนกั เรยี นไดส ังเกตสัตวช นดิ ใดบาง (ปลา กบ งู เปด ) 7.2 นักเรียนสังเกตลักษณะใดของสัตว (นักเรียนตอบตามลักษณะที่สังเกต จริง เชน รูปราง ลักษณะของปาก หัว ลักษณะผิวหนัง เสนขน เกล็ด ปก ตนี ขา หาง) 7.3 ลูกสัตวแตละชนิดมีลักษณะเปนอยางไร เมื่อเปรียบเทียบกับลักษณะ ของพอแม ยกตัวอยาง (ลูกของสัตวจะมีบางลักษณะเหมือนพอ บาง ลักษณะเหมือนแม บางลักษณะเหมือนทั้งพอและแม บางลักษณะ แตกตางจากทั้งพอและแม เชน ปลา มีลักษณะลําตัวเหมือนทั้งพอและ แม แตมีสีเกล็ดของลําตัวเหมือนเฉพาะพอ ลวดลายของครีบและหาง แตกตางจากทง้ั พอและแม) 7.4 ลักษณะใดของสัตวท่ีเปนลักษณะทางพันธุกรรม เพราะเหตุใด (ลักษณะทางพันธุกรรมของสัตวมีหลายลักษณะ เชน สีตา สีขน เกล็ด ลักษณะผวิ หนัง รปู รางลักษณะของรา งกาย ใบหนา ใบหู ปาก หาง ตีน ปก ครบี )  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยที่ 5 ส่ิงมชี ีวติ 218 7.5 ลักษณะของลูกกระตายที่นักเรียนวาดไวเปนอยางไร (นักเรียนตอบ การเตรยี มตวั ลว งหนาสาํ หรับครู ตามขอ มูลลูกกระตายท่วี าดไว) เพอื่ จดั การเรยี นรูในครงั้ ถัดไป 7.6 ลักษณะของลูกกระตายเปนอยางไร เม่ือเปรียบเทียบกับลักษณะของ ในครั้งถัดไป นักเรียนจะไดทํา พอแม (นักเรียนตอบตามขอมูลลูกกระตายท่ีวาดไว และผลการ กิจกรรมที่ 1.3 ลักษณะทางพันธุกรรม เปรยี บเทียบกับลกั ษณะของพอ แม) ของคนในครอบครัวเปนอยางไร ครู เตรยี มการดงั นี้ 7.7 นักเรียนคิดวาลักษณะใดของกระตายที่เปนลักษณะทางพันธุกรรม เพราะเหตุใด (ลักษณะสีตา สีขน ใบหนา ใบหู ปาก หาง ตีน ลักษณะ 1. เตรียมภาพตัวอยางครอบครัวท่ี ขนและความยาวของขน เพราะลักษณะเหลานี้ของลูกเปนลักษณะ ส า ม า ร ถ สั ง เ ก ต ลั ก ษ ณ ะ ที่ มี ค ว า ม เหมือนกบั พอ แม หรือเหมอื นเฉพาะพอ เหมือนเฉพาะแม แสดงวาเปน ค ล า ย ค ลึ ง กั น ไ ด อ ย า ง ชั ด เ จ น ม า ใ ห ลักษณะทีไ่ ดรับการถา ยทอดมาจากพอและแม) นักเรียนสังเกตในการสํารวจความรูเดิม เชน ครอบครัวของบุคคลที่เปนท่ีรูจักของ 8. รว มกันอภิปรายและลงขอสรุปวาสัตวมีการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม คนทัว่ ไป จากสตั วร ุนพอ แมไปสรู นุ ลูก ลักษณะทางพนั ธุกรรมของสัตวมีหลายลักษณะ เชน สีตา สีขน สีผิว เกล็ด ลักษณะผิวหนัง รูปรางลักษณะของรางกาย 2. ครูอาจใหนักเรียนสํารวจลักษณะ ใบหนา ใบหู ปาก หาง ตีน ลักษณะและความยาวของขน ปก ครีบ ซ่ึง ตาง ๆ ของคนในครอบครัวมากอนถึง ลักษณะเหลานี้บางอยางอาจเหมือนพอ เหมือนแม เหมือนท้ังพอและแม เวลาเรยี น หรอื แตกตา งจากทงั้ พอและแม (S13) 9. นักเรียนรว มกนั อภิปรายเพ่ือตอบคําถามใน ฉันรูอะไร โดยครูอาจใชคําถาม เพมิ่ เติมในการอภิปรายเพ่ือใหไดแนวคาํ ตอบท่ีถูกตอง 10. นักเรียนอาน ส่ิงท่ีไดเรียนรู และเปรียบเทียบกับขอสรุปที่ไดจากการ อภิปราย 11. ครูกระตนุ ใหนักเรียนฝก ตั้งคําถามเกยี่ วกบั เรื่องที่สงสัยหรืออยากรูเพิ่มเติม ใน อยากรูอกี วา จากนั้นครูอาจสุมนักเรียน 2 -3 คน นําเสนอคําถามของ ตนเองหนาชั้นเรียน และใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเก่ียวกับคําถามท่ี นําเสนอ 12. ครูนําอภิปรายเพื่อใหนักเรียนทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 อะไรบางและในข้ันตอนใดบาง แลว บันทกึ ลงในแบบบันทึกกจิ กรรมหนา 75 สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

บัตรภาพครอบค ัรวของสัตว 219 คูมือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยท่ี 5 ส่งิ มีชีวติ ครอบครัว พอ แ ม ูลก  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปลา กบ ูง เ ปด

คมู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยท่ี 5 สิ่งมชี ีวติ 220 แนวคําตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม สังเกต วิเคราะห และอธิบายลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของสัตวท ี่ มีการถา ยทอดจากรุนพอแมสูรุนลกู หางและ ไมม ี รูปรา งลักษณะของ ไมมี เกล็ดที่ รางกาย มเี กลด็ ลาํ ตวั มีสสี ม ครีบ หาง ไมมี ไมม ี รูปรางลักษณะของ ไมมี ไมมี ไมม ี รา งกาย ผวิ หนังลืน่ ชืน้ ผวิ หนังสเี ขยี ว สีขนทป่ี ก สขี นสวนใหญส ี และมเี สนสดี าํ ขา ง บางสว นสีเขียว น้ําตาลเหมอื น ลาํ ตวั ไปถึงจมกู เหมอื นพอ แม รปู รา งลกั ษณะของ สีของเกลด็ รา งกาย มีเกลด็ แตกตางจาก พอ และแม เลก็ นอ ย รูปรางลกั ษณะของ ไมม ี รางกาย มขี น ตนี มี พังผดื ปากแบน สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

221 คูมอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยที่ 5 สิง่ มีชีวิต สีตา สีขน สผี ิว เกล็ด ลักษณะผวิ หนัง รปู รา งลกั ษณะของรา งกาย ใบหนา ใบหู ปาก หาง ตนี ลักษณะขนและความยาวของขน ปก ครีบ ดาํ ส้ัน ดํา หตู ัง้ หางกลม หัวกลม หนา แหลม ขาว ส้ัน ปลายหูแหลม มหี นวด แดง หูต้งั ไมเห็นหาง หัวกลม หนา แหลม ปลายหแู หลม มีหนวด ลักษณะของลูกกระตายข้นึ อยูก บั การพยากรณของนกั เรียน  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยที่ 5 ส่ิงมชี ีวติ 222 ลักษณะ สีตา สีขน สผี ิว เกล็ด ลกั ษณะผิวหนงั รูปรา งลักษณะของรา งกาย ใบหนา ใบหู ปาก หาง ตนี ลักษณะขนและความยาวของขน ปก ครบี เพราะเปน ลักษณะท่ีมี การถา ยทอดจากพอแมไปสูรุนลกู สงั เกตไดจ ากลูกจะมลี ักษณะเหลานี้เหมือนพอ เหมอื นแม หรอื เหมือนท้ังพอและแม หรอื อาจมีลักษณะที่คลา ยคลงึ แตไ มเ หมือนพอ พยากรณจ ากขอมูลทไ่ี ดจ ากการสงั เกตลักษณะของกระตายเพศผูแ ละกระตา ยเพศเมีย เพราะลักษณะของลูกเปน ลกั ษณะทไ่ี ดร บั การถา ยทอดมาจากพอ แม นักเรียนตอบตามขอมูลของลกู กระตายที่นักเรยี นวาดไว และผลการเปรียบเทียบ ลักษณะของพอแม ซึง่ อาจมีบางลักษณะเหมือนพอ บางลักษณะเหมอื นแม บาง ลกั ษณะเหมอื นทั้งพอและแม บางลักษณะแตกตางจากทงั้ พอและแม เพราะลกั ษณะ ของลูกกระตายจะขนึ้ อยกู ับลกั ษณะของพอและแม สัตวในครอบครวั เดียวกนั ลูกจะมลี กั ษณะตาง ๆ คลา ยคลงึ พอ แม เชน สตี า สขี น สี ผวิ เกลด็ ลกั ษณะผิวหนัง รูปรางลักษณะของรางกาย ใบหนา ใบหู ปาก หาง ตนี ลักษณะขนและความยาวของขน ปก ครีบ เราสามารถพยากรณลักษณะของลูกได จากลักษณะของพอและแม ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของสัตวเ ปนลกั ษณะทมี่ กี ารถา ยทอดจากรุน พอแมไปสูรนุ ลูก ซึ่ง มหี ลายลักษณะ เชน สตี า สีขน สผี ิว เกลด็ ลกั ษณะผวิ หนัง รูปรา งลักษณะของรางกาย ใบหนา ใบหู ปาก หาง ตนี ลกั ษณะขนและความยาวของขน ปก ครีบ สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

223 คูมอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยที่ 5 สงิ่ มีชีวติ คําถามของนกั เรยี นทต่ี ั้งตามความอยากรูของตนเอง        สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยที่ 5 ส่งิ มชี ีวติ 224 แนวการประเมินการเรียนรู การประเมนิ การเรียนรขู องนกั เรียนทาํ ได ดงั น้ี 1. ประเมินความรูเ ดิมจากการอภปิ รายในชน้ั เรียน 2. ประเมนิ การเรียนรจู ากคาํ ตอบของนกั เรยี นระหวา งการจัดการเรียนรแู ละจากแบบบนั ทึกกิจกรรม 3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 จากการทํากิจกรรมของนักเรียน การประเมินจากการทาํ กิจกรรมท่ี 1.2 ลกั ษณะทางพันธุกรรมของสัตวมอี ะไรบา ง ระดับคะแนน 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช รหสั สิ่งท่ีประเมิน ระดับ คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร S1 การสงั เกต S6 การจดั กระทาํ และสื่อความหมายขอ มลู S7 การพยากรณ S8 การลงความเหน็ จากขอมลู S13 การตีความหมายขอ มลู และลงขอ สรปุ ทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 C4 การสือ่ สาร C5 ความรว มมอื รวมคะแนน สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

225 คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยท่ี 5 สง่ิ มชี ีวิต ตาราง แสดงการวิเคราะหท ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรต ามระดับความสามารถของนักเรียน โดยอาจใชเกณฑก ารประเมนิ ดงั น้ี ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรบั ปรุง (1) ทางวิทยาศาสตร พอใช (2) S1 การสงั เกต ก า ร บ ร ร ย า ย สามารถใชประสาท ส า ม า ร ถ ใ ช ป ร ะ ส า ท สามารถใชประสาทสัมผัส รายละเอียดเกี่ยวกับ สัมผัสเก็บรายละเอียด สัมผัสเก็บรายละเอียด เก็บรายละเอียดขอมูล ลักษณะตาง ๆ ของ ขอมูลเก่ียวกับลักษณะ ขอมูลเกี่ยวกับลักษณะ เกี่ยวกับลักษณะตาง ๆ สตั วในกลมุ ตาง ๆ ตาง ๆ ของสัตวในกลุม ตาง ๆ ของสัตวในกลุม ของสัตวในกลุมตาง ๆ ได ตาง ๆไดดวยตนเอง ตาง ๆ ได จากการ เพียงบางสวน แมวาจะได โดยไมเพิ่มเติมความ ช้ีแนะของครูหรือผูอื่น รับคําช้ีแนะจากครูหรือ คิดเหน็ หรือมีการเพ่ิมเติมความ ผูอ่นื คดิ เหน็ S6 การจัดกระทํา การนําขอมูลที่ไดจาก สามารถนําขอมูลที่ได สามารถนําขอมูลที่ได สามารถนําขอมูลท่ีไดจาก และสื่อความหมาย การพยากรณลักษณะ จ า ก ก า ร พ ย า ก ร ณ จ า ก ก า ร พ ย า ก ร ณ การพยากรณลักษณะของ ขอ มูล ของลูกกระตายมา ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ลู ก ลักษณะของลูกกระตาย ลูกกระตายมาวาดรูปได ก ร ะ ต า ย ม า ว า ด รู ป มาวาดรูปรวมทั้งส่ือให แตไมสามารถส่ือใหผูอื่น วาดรูปรวมทั้งส่ือให รวมทัง้ ส่อื ใหผูอื่นเขาใจ ผูอื่นเขาใจลักษณะของ เข า ใ จลั ก ษ ณ ะข อ ง ลู ก ผูอื่นเขาใจลักษณะ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ลู ก ลู ก ก ร ะ ต า ย ไ ด อ ย า ง กระตาย ไดอยางชัดเจน ของลกู กระตาย กระตายไดอยางชัดเจน ชัดเจน จากการช้ีแนะ แมวาจะไดร บั คําชี้แนะจาก ดวยตนเอง ของครหู รือผอู ื่น ครหู รือผอู ื่น S7 การพยากรณ ก า ร ค า ด ก า ร ณ ส าม าร ถคา ดก าร ณ ส า ม า ร ถ ค า ด ก า ร ณ ส า ม า ร ถ ค า ด ก า ร ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ลู ก ลักษณะของลูกกระตาย ลักษณะของลูกกระตาย ลักษณะของลูกกระตายได ก ร ะ ต า ย โ ด ย ลู ก ไดอยางสมเหตุสมผล ไดอยางสมเหตุสมผลโดย โ ด ย อ า ศั ย ข อ มู ล ที่ ไ ม กระตายจะมีลักษณะ ด วยตนเอง โดยลู ก อาศัยการช้ีแนะจากครู สมเหตุสมผล ไมไดใช บางอยางเหมือนพอ กระตายจะมีลักษณะ หรือผูอ่ืน โดยลูกกระตาย ข อ มู ล จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต เหมือนแม เหมือนท้ัง บางอยางเหมือนพอ จะมีลักษณะบางอยาง ลักษณะของครอบครวั สัตว พ อ แ ล ะ แ ม ห รื อ เหมือนแม เหมือนทั้ง เหมือนพอ เหมือนแม อ่นื ๆ แตกตางจากทั้งพอ พ อ แ ล ะ แ ม ห รื อ เหมื อนท้ั งพ อและแม และแม แตกตางจากทั้งพอและ หรือแตกตางจากทั้งพอ แม โดยอาศัยความรู และแม โดยอาศัยความรู จากการสังเกตลักษณะ จากการสังเกตลักษณะ ของครอบครัวสัตวอ ่นื ๆ ของครอบครัวสัตวอื่นๆ  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยท่ี 5 สิง่ มีชีวติ 226 ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร พอใช (2) S8 การลงความเห็น การลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก จากขอ มูล ขอมูลวาสัตวมีการ จ า ก ข อ มู ล ไ ด อ ย า ง ขอมูลไดอยางถูกตอง ขอมูลไดวาสัตวมีลักษณะ ถายทอดลักษณะทาง ถูกตองและชัดเจนดวย และชัดเจน โดยอาศัย ตาง ๆที่สังเกตได แตไม พันธุกรรมจากรุนพอ ตนเองวาสัตวมีการ การช้ีแนะของครูหรือ สามารถลงความเห็นไดวา แ ม ไ ป สู รุ น ลู ก เ ช น ถายทอดลักษณะทาง ผู อ่ื น ว า สั ต ว มี ก า ร สั ต ว มี ก า ร ถ า ย ท อ ด ลักษณะสีตา สีขน สี พันธุกรรม จากรุนพอ ถายทอดลักษณะทาง ลักษณะตาง ๆ เหลาน้ัน ผิว เกล็ด ลักษณะ แ ม ไ ป สู รุ น ลู ก เ ช น พันธุกรรม จากรุนพอแม จากรุนพอแมไปสูรุนลูก ผิ ว ห นั ง รู ป ร า ง ลกั ษณะสตี า สีขน สีผิว ไปสูรุนลูก เชน ลักษณะ แมวาจะไดร บั คําชีแ้ นะจาก ลักษณะของรางกาย เกล็ด ลักษณะผิวหนัง สีตา สีขน สีผิว เกล็ด ครหู รือผูอื่น ใบหนา ใบหู ปาก รูปรางลักษณะของ ลักษณะผิวหนัง รูปราง หาง ตีน ลกั ษณะและ รางกาย ใบหนา ใบหู ลักษณะของรางกาย ความยาวของขน ปก ปาก หาง ตีน ลักษณะ ใบหนา ใบหู ปาก หาง ครีบ และความยาวของขน ตีน ลักษณะและความ ปก ครีบ ยาวของขน ปก ครบี S13 ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย ส าม ารถ ตีคว ามห มา ย ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย ขอมูลและลงขอสรุป ขอมูลและลงขอสรุปได ขอมูลและลงขอสรุปได ขอมูลและลงขอสรุปจาก ขอมลู และลงขอสรุป จากการสังเกตและ ดวยตนเองจากการ โดยอาศัยการช้ีแนะของ การสังเกตและและการ การพยากรณไดวา สั ง เ ก ต แ ล ะ ก า ร ครูหรื อผูอ่ื น จา กกา ร พย า ก ร ณ ลัก ษ ณ ะ ท า ง ลั ก ษ ณ ะ ท า ง พ ย า ก ร ณ ไ ด ว า สังเกตและการพยากรณ พันธุกรรมของสัตวไดเพียง พันธุกรรมของสัตว ลักษณะทางพันธุกรรม ไ ด ว า ลั ก ษ ณ ะ ท า ง บางสวน และลงขอสรุป เปนลักษณะท่ีมีการ ของสัตวเปนลักษณะท่ี พันธุกรรมของสัตวเปน เร่ืองการถายทอดลักษณะ ถายทอดจากรุนพอ มีการถายทอดจากรุน ลักษณะท่ีมีการถายทอด ทางพันธุกรรมของสัตวได แมไปสูรุนลูก เชน พอแมไปสูรุนลูก เชน จากรุนพอแมไปสูรุนลูก ไมส มบูรณแมวาจะไ ด ลักษณะสีตา สีขน สี ลักษณะสตี า สีขน สีผิว เชน ลักษณะสีตา สีขน สี รับคําช้ีแนะจากครูหรือ ผิว เกล็ด ลักษณะ เกล็ด ลักษณะผิวหนัง ผิ ว เ ก ล็ ด ลั ก ษ ณ ะ ผอู ่ืน ผิ ว ห นั ง รู ป ร า ง รูปรางลักษณะของ ผิวหนัง รูปรางลักษณะ ลักษณะของรางกาย รางกาย ใบหนา ใบหู ของรางกาย ใบหนา ใบ ใบหนา ใบหู ปาก ปาก หาง ตีน ลักษณะ หู ปาก หาง ตนี ลักษณะ หาง ตนี ลักษณะและ และความยาวของขน และความยาวของขน ความยาวของขน ปก ปก ครบี ปก ครีบ ครีบ สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

227 คมู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยที่ 5 สิง่ มีชีวติ ตาราง แสดงการวเิ คราะหทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใชเ กณฑการประเมิน ดังน้ี ทกั ษะแหง รายการประเมิน ระดับความสามารถ ศตวรรษท่ี 21 C4 การสื่อสาร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1) C5 ความรวมมอื การนําเสนอขอมูล สามารถนําเสนอขอ มูลจาก สามารถนําเสนอขอมูลจาก สามารถนําเสนอขอมูล จากการสังเกต และ ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ การสังเกต และเปรียบเทียบ จา กก าร สัง เก ต แล ะ เปรียบเทียบลักษณะ เปรียบเทียบลักษณะของ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง สั ต ว ใ น เปรียบเทียบลักษณะของ ของสัตวในครอบครัว สัตวในครอบครัวเดียวกัน ครอบครัวเดียวกัน และผล สัตวในครอบครัวเดียวกัน เดียวกัน และผลการ แ ล ะ ผ ล ก า ร พ ย า ก ร ณ การพยากรณลักษณะของ และผลการพยากรณ พ ย า ก ร ณ ลั ก ษ ณ ะ ลักษณะของลูกกระตาย ลูกกระตาย ใหผูอ่ืนเขาใจได ลักษณะของลูกกระตาย ของลูกกระตาย ให ใหผู อื่น เขา ใจ ไดอ ยา ง อยางถูกตอง จากการชี้แนะ ใหผูอื่นเขาใจไดเพียง ผอู ืน่ เขาใจ ถูกตอ งดว ยตนเอง ของครหู รอื ผูอ่นื บางสวน แมวาจะได รับคําช้ีแนะจากครูหรือ ผอู น่ื การทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานรวมกับ ผูอื่น และการแสดง ผูอ่ื น แ ล ะ แ ส ด ง ค ว า ม และแสดงความคิดเห็น ใน ผูอื่น แล ะ แส ดงค ว า ม ความคิดเห็น ในการ คิดเห็น ในการสังเกต และ การสังเกต และเปรียบเทียบ คิดเห็นเปนบางชวงเวลา สั ง เ ก ต แ ล ะ เปรียบเทียบลักษณะของ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง สั ต ว ใ น ของการทํากิจกรรม แต เปรียบเทียบลักษณะ สัตวในครอบครัวเดียวกัน ครอบครัวเดียวกัน รวมทั้ง ไมแสดงความสนใจตอ ของสัตวในครอบครัว ท้ังยอมรับความคิดเห็น ยอมรับความคิดเห็นของ ความคิดเหน็ ของผอู ่ืน ท้ัง เ ดี ย ว กั น ร ว ม ทั้ ง ของผูอื่นต้ังแตเร่ิมตนจน ผูอ่ืนในบางชวงเวลาที่ทํา ต อ ง ต อ ง อ า ศั ย ก า ร ยอมรับความคิดเห็น สาํ เร็จ กจิ กรรม กระตุนจากครูหรือผูอืน่ ของผอู น่ื  สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยที่ 5 ส่ิงมีชีวติ 228 กิจกรรมที่ 1.3 ลกั ษณะทางพันธกุ รรมของคนในครอบครวั เปน อยางไร กิจกรรมน้ีนักเรียนจะไดสังเกตลักษณะตาง ๆ ของ สอ่ื การเรยี นรูและแหลง เรียนรู หนา 86-89 ตนเองและคนในครอบครัว และอธิบายลักษณะทาง หนา 76-79 พนั ธกุ รรมของมนษุ ย 1. หนังสือเรียน ป.5 เลม 2 เวลา 1 ชวั่ โมง 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.5 เลม 2 จดุ ประสงคการเรยี นรู สาํ รวจ และเปรยี บเทยี บลกั ษณะทางพันธกุ รรมของ คนในครอบครวั วสั ดุ อปุ กรณสําหรับทาํ กจิ กรรม - ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร S1 การสงั เกต S8 การลงความเหน็ จากขอมูล S13 การตคี วามหมายขอมูลและลงขอสรปุ ทกั ษะแหง ศตวรรษท่ี 21 C4 การสอื่ สาร สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

229 คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยท่ี 5 สิ่งมชี ีวิต แนวการจัดการเรียนรู ในการตรวจสอบความรู ครู เพียงรับฟงเหตุผลของนักเรียน 1. ครูตรวจสอบความรูเดิมเก่ียวกับลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย โดยให เปนสําคัญ และยังไมเฉลย นักเรียนสังเกต และจับคูพอกับลูก หรือแมกับลูก ของตัวอยางครอบครัว คําตอบใด ๆ ใหกับนักเรียน แต ประมาณ 2-3 ครอบครัว โดยใชตัวอยางครอบครัวที่สามารถสังเกตลักษณะ ชักชวนนักเรียน ไปหาคําตอบท่ี ท่ีมีความคลายคลึงกันไดอยางชัดเจน อาจใชครอบครัวของบุคคลที่เปนท่ี ถูกตองจากกิจกรรมตาง ๆ ใน รูจ กั ของคนทั่วไป ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการจับคูโดยใชแนว บทเรยี นน้ี คําถามดงั ตอ ไปนี้ 1.1 นักเรียนจับคูพอกับลูก หรือแมกับลูกไดอยางไร (สังเกตจากลักษณะที่ ถานักเรียนไมสามารถตอบ เหมือนหรือคลายคลึงกัน) คาํ ถามหรืออภิปรายไดตามแนว 1.2 นักเรียนสังเกตลักษณะใดบาง (นักเรียนตอบตามส่ิงที่สังเกตจริง เชน คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียน รปู หนา ดวงตา จมูก ลกั ษณะเสนผม สผี ิว) คดิ อยางเหมาะสม รอคอยอยาง 1.3 ลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษยมีอะไรบาง (นักเรียนตอบตามความ อดทน และรับฟงแนวความคิด เขา ใจ) ของนักเรียน 2. ครูเชื่อมโยงความรูเดิมของนักเรียนไปสูกิจกรรมท่ี 1.3 โดยชักชวนให นกั เรยี นคน หาคาํ ตอบวา นักเรียนมีลักษณะใดเหมือนกับคนในครอบครัวบาง และลักษณะทางพนั ธกุ รรมของมนุษยม ีอะไรบา ง 3. นักเรียนอานชื่อกิจกรรม และ ทําเปนคิดเปน แลวรวมกันอภิปรายเพ่ือ ตรวจสอบความเขา ใจจดุ ประสงคในการทํากิจกรรม โดยใชคาํ ถามดังนี้ 3.1 กจิ กรรมนนี้ ักเรยี นจะไดเรียนเรอื่ งอะไร (ลักษณะทางพันธุกรรมของคน ในครอบครวั ) 3.2 นักเรียนจะไดเ รียนรูเรื่องน้ดี ว ยวธิ ีใด (สังเกต และเปรยี บเทยี บ) 3.3 เม่ือเรียนแลวนักเรียนจะทําอะไรได (อธิบายลักษณะทางพันธุกรรม ของคนในครอบครวั ได) 4. นกั เรียนบนั ทกึ จดุ ประสงคล งในแบบบนั ทึกกจิ กรรม หนา 76 5. นกั เรียนอา น ทําอยา งไร แลวรว มกนั อภิปรายเพอื่ สรปุ ลําดับขน้ั ตอนการทาํ กจิ กรรมตามความเขา ใจ โดยครใู ชค ําถาม ดังน้ี 5.1 นักเรียนตองสังเกตใครบาง (สังเกตลักษณะของตนเอง พอ แม ปู ยา ตา และยาย) 5.2 นักเรียนตองสังเกตลักษณะอะไรบาง (ลักษณะต่ิงหู ช้ันของหนังตา ลักยิ้ม การเวียนของขวัญ การหอล้ิน เชิงผมท่ีหนาผาก และลักษณะ อืน่ ๆ ที่สนใจ)  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูม อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยท่ี 5 สง่ิ มชี ีวติ 230 5.3 ลักษณะอ่ืน ๆ ท่ีนักเรียนสนใจจะสังเกตเพิ่มเติมมีอีกหรือไม อะไรบาง ขอเสนอแนะเพม่ิ เตมิ (นักเรยี นตอบตามความสนใจ) 1. ครูควรมอบหมายใหนักเรียน 5.4 เมื่อนักเรียนสังเกตลักษณะตาง ๆ ของคนในครอบครัวแลวนักเรียน สังเกตลักษณะทางพันธุกรรมของ ตองนําผลการสังเกตมาทําอยางไรตอไป (เปรียบเทียบลักษณะน้ัน ๆ ตนเองและคนในครอบครัวโดย ของตนเองกับคนในครอบครวั ) บันทึกลงในตารางในแบบบันทึก กิจกรรม หนา 76-77 มาลวงหนา 5.5 เมื่อนําลักษณะของตนเองกับคนในครอบครัวมาเปรียบเทียบแลว กอ นถงึ ช่ัวโมงเรียน นกั เรียนตอ งทําอะไรตอ ไป (นําเสนอผลการเปรยี บเทยี บ) 2. ในกรณีท่ีนักเรียนไมสามารถ 5.6 นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับเร่ืองอะไร (อภิปรายเกี่ยวกับลักษณะ สํ า ร ว จ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ค น ใ น ทางพันธกุ รรมของมนุษย) ครอบครัวไดครบ ใหนักเรียน สังเกตลักษณ ะของบุคคลใ น 6. ครูใหนักเรียนสังเกตลักษณะตาง ๆ ท่ีปรากฏของมนุษยจากภาพในหนังสือ ครอบครัวเทาท่ีทําได แลวใช เรียน หนา 86-87 กอนไปสังเกตลักษณะของคนในครอบครัวเพ่ือให ขอ มูลทไ่ี ดในการเปรียบเทียบ นักเรียนสามารถสังเกต และระบุลักษณะตาง ๆ ของคนในครอบครัวได อยา งถกู ตอง 3. หลงั จากทส่ี มุ นกั เรียนนําเสนอแลว ถามีกรณีที่ขอมูลของนักเรียนใน 7. เม่ือนักเรียนเขาใจวิธีการทํากิจกรรมในทําอยางไรแลว ครูใหนักเรียนเร่ิม หองเรียนไมครบ ใหครูใชขอมูล ปฏบิ ตั ิตามขัน้ ตอน และภาพลักษณะท่ีปรากฏของคน ใ น ค ร อ บ ค รั ว ข อ ง ตั ว อ ย า ง 8. หลังจากทํากิจกรรมแลว นักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํากิจกรรม ครู ครอบครวั มาใชในการอภิปราย อาจสุมนกั เรียนนําเสนอ โดยครูจดบนั ทึกจาํ นวนคนในครอบครัวที่มีลักษณะ เหมอื นกันลงในตารางทีค่ รูเขียนบนกระดาน และใชคาํ ถามดงั นี้ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละ 8.1 ถาเปรียบเทียบลักษณะของตนเองกับพอและแม มีลักษณะใดบางที่ ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ทีน่ กั เรยี นจะได เหมอื นเฉพาะพอ เหมือนเฉพาะแม เหมือนทั้งพอและแม และแตกตาง จากท้งั พอ และแม (นักเรียนตอบจากขอมลู ท่ีบนั ทกึ ไวในตาราง) ฝกจากการทาํ กจิ กรรม 8.2 ลักษณะใดของตนเองที่ไมเหมือนทั้งพอและแม แตเหมือนบุคคลอื่นใน S1 สงั เกตลักษณะของตนเองและคนใน ครอบครวั คอื เหมือนใคร (นักเรียนตอบจากขอมูลท่ีบนั ทึกไวในตาราง) 8.3 ลักษณะของตนเองท่ีไมเหมือนท้ังพอและแม จัดเปนลักษณะทาง ครอบครวั พันธุกรรมหรือไม อยางไร (จัดเปนลักษณะทางพันธุกรรม เพราะเมื่อ S8, C4 อภิปรายเกี่ยวกับลักษณะทาง สังเกตยอนข้ึนไปในรุนปู ยา ตา ยาย จะมีลักษณะนั้นปรากฏอยู ลักษณะน้ันของลูกที่ไมเหมือนทั้งพอและแม อาจจะเหมือนปู ยา ตา พนั ธุกรรมของมนุษย หรอื ยายกไ็ ด จงึ จดั เปน ลกั ษณะทางพันธกุ รรม) C4 นําเสนอเปรียบเทยี บคาํ ตอบ 8.4 ลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษยมีลักษณะใดบาง (ลักษณะทาง พันธุกรรมของมนุษย เชน ลักษณะต่ิงหู ชั้นของหนังตา ลักยิ้ม การ เวียนของขวัญ การหอล้ิน เชิงผมท่ีหนาผาก และลักษณะอ่ืน ๆ ท่ี นักเรยี นสังเกตเพ่ิมเติม) สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

231 คูมอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยท่ี 5 สิง่ มชี ีวิต 9. ครอู ธิบายเพ่ิมเติมเรื่องลักษณะท่ีปรากฏของลูกซ่ึงแตกตางจากทั้งพอและ ถานักเรียนไมสามารถตอบ แมวาลักษณะของลูกท่ีแตกตางจากพอและแมน้ัน เปนลักษณะท่ีรุนปูยา คาํ ถามหรืออภิปรายไดตามแนว หรอื ตายาย ถายทอดมาสูพอหรือแม แตแฝงไวไมปรากฏในรุนพอแม เม่ือ คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียน รุน พอ แมมีลูกจะถา ยทอดลักษณะนน้ั ใหป รากฏในรุนลกู ได คิดอยางเหมาะสม รอคอยอยาง อดทน และรับฟงแนวความคิด 10. รวมกันอภิปรายและลงขอสรุปวามนุษยมีการถายทอดลักษณะทาง ของนักเรยี น พันธุกรรมจากรุนพอแมไปสูรุนลูก ลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษยมี หลายลักษณะ เชน ลักษณะติ่งหู ชน้ั ของหนังตา ลักย้ิม การเวียนของขวัญ การเตรียมตัวลว งหนาสําหรบั ครู การหอลิ้น เชิงผมท่ีหนาผาก และลักษณะอ่ืน ๆ ท่ีนักเรียนสังเกตเพ่ิมเติม เพ่ือจดั การเรยี นรูใ นครงั้ ถดั ไป ซ่ึงลักษณะเหลาน้ีบางอยางอาจเหมือนพอ เหมือนแม เหมือนท้ังพอและ แม หรือแตกตา งจากท้งั พอและแม แตเ หมอื นปู ยา ตา หรอื ยาย (S13) ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะได เรียนบทท่ี 2 ส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดลอม 11. นักเรียนรวมกันอภิปรายเพ่ือตอบคําถามใน ฉันรูอะไร โดยครูอาจใช ครเู ตรียมสื่อการสอนดงั น้ี คําถามเพม่ิ เตมิ เพ่ือใหไดแนวคําตอบท่ถี ูกตอ ง 1. รูปหรือวีดิทัศนเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต 12. นักเรียนอาน สิ่งท่ีไดเรียนรู และเปรียบเทียบกับขอสรุปที่ไดจากการ ในแหลงท่ีอยู 1 แหลง เชน รูป อภปิ ราย หรือวีดิทัศนใตทองทะเล ท่ีมีปลา ขนาดตาง ๆ ปะการัง หรือสัตวน้ํา 13. ครูกระตุนใหนักเรียนฝกต้ังคําถามเกี่ยวกับเรื่องท่ีสงสัยหรืออยากรู อ่ืน ๆ เพื่อใชในการนําเขาสู เพิ่มเติมใน อยากรูอีกวา ครูอาจสุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอคําถามของ บทเรยี น ตนเองหนาชั้นเรียน จากนั้นรวมกันอภิปรายเก่ียวกับคําถามท่ีเพ่ือน 2. วีดิทศั นเ รอื่ งหมอขา วหมอแกงลิงที่ นําเสนอ แสดงการดักจับแมลง เพื่อให นัก เ รี ย น ดูป ร ะ ก อ บก า ร อ า น 14. ครูนําอภิปรายเพื่อใหนักเรียนทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการทาง ตวั อยางวีดิทศั น เชน วทิ ยาศาสตรและทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 อะไรบางและในขัน้ ตอนใด https://youtu.be/fi2 Wwhyc1 แลวบนั ทึกลงในแบบบันทกึ กิจกรรมหนา 79 NA https://youtu.be/lz22QkYEl-8 15. นักเรียนรวมกันอานรูอะไรในเรื่องน้ี ในหนังสือเรียน หนา 90 ครูนํา https://youtu.be/pkwxXeSC6 อภิปรายเพ่ือนําไปสูขอสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ไดเรียนรูในเร่ืองนี้ จากนั้นครู L กระตุนใหนักเรียนตอบคําถามในชวงทายของเน้ือเรื่อง ซ่ึงเปนคําถามเพ่ือ เช่ือมโยงไปสูการเรียนเนื้อหาในบทถัดไป ดังนี้ “รูหรือไมวาลักษณะของ ส่ิงมีชีวิตที่ไดรับการถายทอดจากบรรพบุรุษมาจนถึงรุนปจจุบันมีความ เหมาะสมกับการดํารงชีวิตในแหลงที่อยูหรือไม อยางไร” นักเรียน สามารถตอบตามความเขาใจของตนเอง ซึ่งนักเรียนจะหาคําตอบไดจาก การเรียนในบทตอไป  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยท่ี 5 สงิ่ มีชีวติ 232 ลักษณะที่ปรากฏของบคุ คลในครอบครัว บคุ คลในครอบครวั จากซายไปขวา ไดแก ยาย แม ลูก พอ ยา ปู สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

233 คมู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยท่ี 5 ส่งิ มีชีวติ ปู ยา ตา ยาย  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยท่ี 5 ส่งิ มีชีวติ 234 ลูก พอ แม สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

235 คูมือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยที่ 5 ส่งิ มีชีวติ ปู ยา ตา ยาย  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ภาพ ัลกษณะของคนในครอบครัว แ ม ูลก คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยท่ี 5 สง่ิ มีชีวิต 236 ตาราง ภาพ ัลกษณะทาง ัพนธุกรรมของ พอ แ ม ูลก ัสงเกต พอ สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี  ัลกษณะ ่ีท ิ่ตงหู หนังตา ลักย้ิม

ภาพ ัลกษณะของคนในครอบครัว237 คูมือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยท่ี 5 ส่งิ มีชีวติัสงเกต พอ แ ม ูลก  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ัลกษณะ ี่ท การเวียน การหอล้ิน ของขวัญ เชิงผม ่ีท หนาผาก

ตาราง ัลกษณะทาง ัพนธุกรรมของคนในครอบครัว ูป ยา ภาพ ัลกษณะของคนในครอบครัว คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยท่ี 5 สง่ิ มีชีวิต 238 ยา สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี  พอ ัลกษณะ ี่ท ัสงเกต หนังตา ติ่งหู ลักยิ้ม

ภาพ ัลกษณะของคนในครอบครัว239 คูมือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยท่ี 5 ส่งิ มีชีวติ พอ ยา  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ัลกษณะ ี่ท ัสงเกต การหอล้ิน การเวียนของขวัญ เชิงผม ี่ทหนาผาก

ตาราง ัลกษณะทาง ัพนธุกรรมของคนในครอบครัว ตา ยาย ภาพ ัลกษณะของคนในครอบครัว คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยท่ี 5 สง่ิ มีชีวิต 240 ยา สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี  พอ ัลกษณะ ี่ท ัสงเกต หนังตา ิต่งหู ลักยิ้ม

ภาพ ัลกษณะของคนในครอบครัว241 คูมือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยท่ี 5 ส่งิ มีชีวติ พอ ยา  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ัลกษณะ ี่ท ัสงเกต การหอล้ิน การเวียนของขวัญ เชิงผม ี่ทหนาผาก

คูม อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยท่ี 5 ส่งิ มีชีวิต 242 แนวคาํ ตอบในแบบบันทกึ กิจกรรม สํารวจ และเปรียบเทียบลักษณะทางพนั ธุกรรมของคนในครอบครัว ผลการบนั ทกึ ข้ึนอยกู บั ลกั ษณะทาง พนั ธกุ รรมของนกั เรียนและคนใน ครอบครัว เชน    พอ ปู ยา   ยาย สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

243 คูมือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยท่ี 5 ส่งิ มีชีวติ  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูม ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยที่ 5 ส่ิงมีชีวติ 244 คําตอบขึ้นอยูกบั ลักษณะทางพนั ธกุ รรมของนักเรยี นและพอ แม เชน มีติง่ หูเหมือนพอ มี เชงิ ผมท่ีหนาผากเหมือนแม การเวยี นของขวัญเหมือนทั้งพอและแม เพราะไดร ับการ ถายทอดลกั ษณะเหลาน้มี าจากพอ และแม คาํ ตอบขนึ้ อยูกับลกั ษณะทางพันธุกรรมของนักเรยี นและพอ แม เชน นกั เรียนมลี กั ย้ิม เหมอื นกับปู แตพ อและแมไมมีลักย้ิม ลักษณะทางพนั ธกุ รรมของมนษุ ยม ีหลายลักษณะ เชน ลักษณะต่ิงหู ชน้ั ของหนังตา ลกั ยม้ิ การเวยี นของขวัญ การหอลนิ้ เชงิ ผมท่ีหนาผาก รูไดว า เปน ลักษณะทาง พันธุกรรมเพราะคนในครอบครวั เดยี วกนั มีการถา ยทอดลักษณะเหลานจ้ี ากรุน สรู นุ จากการสงั เกตลกั ษณะตา ง ๆ ของคนในครอบครวั เมอื่ เปรยี บเทียบกบั ตนเอง พบวา ตนเองมีลกั ษณะบางอยา งเหมอื นพอ บางอยา งเหมือนแม บางอยา งเหมือนท้ังพอและ แม บางอยางไมเ หมือนทั้งพอและแม แตเหมือนปู ยา ตา หรอื ยาย ลกั ษณะทางพันธุกรรมมนุษยเ ปน ลักษณะทมี่ ีการถายทอดจากรุนพอ แมไ ปสูรนุ ลกู ซ่ึงมี หลายลักษณะ เชน ลกั ษณะติง่ หู ชนั้ ของหนงั ตา ลักยิม้ การเวียนของขวัญ การหอล้ิน เชิงผมท่หี นา ผาก สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

245 คมู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยท่ี 5 สิง่ มีชีวิต คาํ ถามของนักเรยี นท่ีตั้งตามความอยากรูของตนเอง     สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูม อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยท่ี 5 ส่ิงมีชีวติ 246 แนวการประเมินการเรียนรู การประเมินการเรียนรูของนกั เรียนทําได ดงั นี้ 1. ประเมินความรูเดิมจากการอภปิ รายในช้ันเรียน 2. ประเมินการเรียนรจู ากคําตอบของนักเรยี นระหวา งการจดั การเรยี นรแู ละจากแบบบันทึกกิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 จากการทํากจิ กรรมของนักเรยี น การประเมนิ จากการทาํ กจิ กรรมที่ 1.3 ลักษณะทางพันธุกรรมของคนในครอบครัว เปน อยา งไร ระดับคะแนน 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง 3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช รหสั ส่ิงที่ประเมนิ ระดับคะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสงั เกต S8 การลงความเหน็ จากขอมูล S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอ สรุป ทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 C4 การส่ือสาร รวมคะแนน สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

247 คูมือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยที่ 5 สง่ิ มีชีวติ ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรต ามระดับความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใชเ กณฑก ารประเมิน ดังน้ี ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดับความสามารถ ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรบั ปรงุ (1) S1 การสังเกต ก า ร บ ร ร ย า ย สามารถใชประสาทสัมผัส สามารถใชประสาท สามารถใชประสาท ร า ย ล ะ เ อี ย ด เก็บรายละเอียดขอมูล สัมผัสเก็บรายละเอียด สัมผัสเก็บรายละเอียด เก่ียวกับลักษณะ เกี่ยวกับลักษณะตาง ๆ ขอมูลเกี่ยวกับลักษณะ ขอมูลเก่ียวกับลักษณะ ตาง ๆ ของคนใน ของคนในครอบครัว ได ต า ง ๆ ข อ ง ค น ใ น ต า ง ๆ ข อ ง ค น ใ น ครอบครวั ดวยตนเอง โดยไมเพิ่มเติม ครอบครัวไดจากการ ค ร อ บ ค รั ว ไ ด เ พี ย ง ความคิดเหน็ ชี้แนะของครูหรือผูอ่ืน บางสวน แมวาจะได หรือมีการเพิ่มความ รับคําชี้แนะจากครูหรือ คิดเหน็ ผูอ ืน่ S8 การลงความเห็น การลงความเห็น สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็น จากขอมูล จากขอมูลวามนุษย ขอมูลไดอยางถูกตองและ จ า ก ข อ มู ล ไ ด อ ย า ง จากขอมูลไดวามนุษยมี มี ก า ร ถ า ย ท อ ด ชดั เจนดว ยตนเองวา มนุษย ถูกตองและชัดเจน โดย ลักษณะตา ง ๆ ท่ีสังเกต ลั ก ษ ณ ะ ท า ง มกี ารถา ยทอดลักษณะทาง อาศัยการช้ีแนะของครู ได แตไมสามารถลง พันธุกรรมจากรุน พันธุกรรมจากรุนพอแม หรือผูอ่ืนไดวามนุษยมี ความเห็นไดวามนุษยมี พอแมไปสูรุนลูก ไปสรู นุ ลกู เชน ลักษณะต่ิง การถายทอดลักษณะ การถายทอดลักษณะ เชน ลักษณะต่ิงหู หู ชั้นของหนังตา ลักย้ิม ทางพันธุกรรมจากรุน ตาง ๆ เหลานัน้ จากรุน ชั้นของหนังตา ลัก การเวียนของขวัญ การหอ พอแมไปสูรุนลูก เชน พอแมไปสูรุนลูก แมวา ย้ิ ม ก า ร เ วี ย น ลิ้น เชงิ ผมท่หี นา ผาก ลักษณะติ่งหู ช้ันของ จะไดรับคําชี้แนะจาก ของขวัญ การหอ หนังตา ลักย้ิม การ ครหู รือผอู ่ืน ล้ิ น เ ชิ ง ผ ม ท่ี เวียนของขวัญ การหอ หนาผาก ลิ้น เชงิ ผมทห่ี นา ผาก S13 การตีความหมาย การตีความหมาย ส าม ารถ ตีคว ามห มา ย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย ขอมลู และลงขอ สรปุ ข อ มู ล แ ล ะ ล ง ขอมูลและลงขอสรุปจาก ขอมูลจากการสังเกต ขอมูลและลงขอสรุป ข อ ส รุ ป จ า ก ก า ร ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ และเปรียบเทียบไดโดย จากการสังเกตและและ สั ง เ ก ต แ ล ะ เปรียบเทียบไดดวยตนเอง อาศัยการชี้แนะของครู เปรียบเทียบลักษณะ เปรียบเทียบไดวา วา ลักษณะทางพันธุกรรม หรือผูอื่นไดวาลักษณะ ท า ง พั น ธุ ก ร ร ม ข อ ง ลั ก ษ ณ ะ ท า ง ของมนุษยเปนลักษณะที่มี ท า ง พั น ธุ ก ร ร ม ข อ ง มนุษยไดเพียงบางสวน พั น ธุ ก ร ร ม ข อ ง การถายทอดจากรุนพอแม มนุษยเปนลักษณะท่ีมี และลงขอสรุปเรื่องการ มนุษยเปนลักษณะ ไปสูรุน ลูก เชน ลักษณะต่ิง การถายทอดจากรุนพอ ถายทอดลักษณะทาง  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยที่ 5 ส่ิงมีชีวติ 248 ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ระดับความสามารถ ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1) ท่ีมีการถายทอด หู ชั้นของหนังตา ลักยิ้ม แ ม ไ ป สู รุ น ลู ก เ ช น พันธุกรรมของมนุษยได จากรุนพอแมไปสู การเวียนของขวัญ การหอ ลักษณะติ่งหู ช้ันของ ไมสมบูรณแมวาจะได รนุ ลูก เชน ลักษณะ ล้ิน เชงิ ผมทีห่ นาผาก หนังตา ลักยิ้ม การ รับคําชี้แนะจากครูหรือ ตง่ิ หู ช้นั ของหนังตา สีผม เวียนของขวัญ การหอ ผูอ่ืน ลักย้ิม การเวียน ลน้ิ เชิงผมทหี่ นาผาก ของขวัญ การหอ ล้ิ น เ ชิ ง ผ ม ท่ี หนาผาก ตาราง แสดงการวเิ คราะหทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 ตามระดบั ความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเ กณฑก ารประเมนิ ดังนี้ ทกั ษะแหง รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ศตวรรษท่ี 21 การนําเสนอขอ มูล ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรงุ (1) C4 การส่ือสาร จากการสังเกต และ เปรียบเทียบ สามารถนําเสนอขอมูล สามารถนําเสนอขอมูลจาก สามารถนําเสนอขอมูล ลกั ษณะของตนเอง กับคนในครอบครัว จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ การสังเกต และเปรียบเทียบ จา กก าร สัง เก ต แล ะ ใหผ อู นื่ เขา ใจ เปรียบเทียบลักษณะของ ลักษณะของตนเองกับคนใน เปรียบเทียบลักษณะของ ตนเองกับคนในครอบครัว ครอบครัว ใหผูอื่นเขาใจได ต น เ อ ง กั บ ค น ใ น ใหผูอื่นเขาใจไดถูกตอง ถูกตอง จากการชี้แนะของครู ครอบครัว ใหผูอ่ืนเขาใจ ดวยตนเอง หรือผอู ื่น ไดเพียงบางสวน แมวา จะไดรับคําช้ีแนะจากครู หรอื ผูอ นื่ สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

249 คูมอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยที่ 5 สง่ิ มีชีวิต กจิ กรรมทายบทที่ 1 ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของสิ่งมีชีวติ (1 ช่ัวโมง) เปลีย่ นรูปเปนหนาหนงั สือเรียน ป. 2 1. ครูใหนักเรียนวาดรูปหรือเขียนสรุปสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทนี้ ในแบบบันทึก กจิ กรรม หนา 80 2. นักเรียนตรวจสอบการสรุปสิ่งท่ีไดเรียนรูของตนเองโดยเปรียบเทียบกับ แผนภาพในหวั ขอ รอู ะไรในบทน้ี ในหนงั สอื เรยี น หนา 91 3. นักเรยี นกลบั ไปตรวจสอบคําตอบของตนเองในสํารวจความรูกอนเรียน ใน แบบบันทึกกิจกรรม หนา 64-65 อีกครั้ง ถาคําตอบของนักเรียนไมถูกตอง ใหขีดเสนทับขอความเหลาน้ัน แลวแกไขใหถูกตอง หรืออาจแกไขคําตอบ ดวยปากกาท่ีมีสีตางจากเดิม นอกจากน้ีครูอาจนําคําถามในรูปนําบทใน หนงั สอื เรยี น หนา 76 มารว มกันอภิปรายเพอ่ื ตอบคาํ ถามอีกคร้งั ดงั นี้ “รูหรือไมวา เพราะเหตุใดลูกจึงมีลักษณะบางอยางเหมือนพอและแม และ ลกู จะมีลักษณะทแ่ี ตกตา งจากพอและแมไดหรือไม” ครูและนักเรียนรวมกัน อภิปรายแนวทางการตอบคําถาม เชน ลูกมีลักษณะบางอยางเหมือนพอ และแม เพราะไดรับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมมาจากพอและแม ผา นการสบื พันธุ และลูกอาจมีลักษณะท่ีแตกตางจากพอและแมได โดยอาจ มีลักษณะท่ีเกิดจากการผสมกันระหวางลักษณะของท้ังพอและแม หรือเปน ลกั ษณะทไี่ มป รากฏในรุน พอ แม แตปรากฏในรนุ ปู ยา ตา หรือยาย 4. นักเรียนทํา แบบฝกหัดทายบทที่ 1 ลักษณะทางพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิต จากน้ันนําเสนอคําตอบหนาชั้นเรียน ถาคําตอบยังไมถูกตองครูควรนํา อภิปรายหรือใหสถานการณเพิ่มเติมเพื่อแกไขแนวคิดที่คลาดเคลื่อนให ถูกตอง 5. นักเรียนรวมกันทํากิจกรรม รวมคิด รวมทํา โดยรวมกันคิดแบบสีของดอก แพงพวยที่ตองการ สืบคนวิธีการผสมพันธุแพงพวย และวางแผนการผลิต ตน แพงพวยท่ีมีสีดอกตามตอ งการจากตนแพงพวยทม่ี ีอยู  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยท่ี 5 สงิ่ มีชีวิต 250 สรปุ ผลการเรียนรขู องตนเอง รูปหรือขอความสรุปส่ิงทไี่ ดเรียนรูจ ากบทนตี้ ามความเขาใจของนักเรยี น สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

251 คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยท่ี 5 สิ่งมีชวี ิต แนวคาํ ตอบในแบบฝกหัดทายบท คําตอบของนักเรียนข้นึ อยูกับการวิเคราะหและใหเหตุผลของนักเรียน เชน แมของ ลูกมาตัวนี้ นาจะมีขนสีแดงเขม สีดํา หรือสีแดงเทา เพราะวาลูกมามีขนสีแดง ผสมเทาออน ๆ ซ่ึงแตกตางจากพอมา แสดงวาลักษณะสีขนของลูกมาตองเหมือน แม หรือเปน ลักษณะท่ีผสมของทั้งพอ และแม ตนเทียนทมี่ ีลกั ษณะดอกดงั รูป นา จะเกดิ จากตนพอแมท ่ีมีลักษณะ ดอกดังรูปทัง้ คู หรือ เกิดจากตน พอ ตนแม ตน ใดตน หนงึ่ มดี อกสีขาว อีกตน มีดอกสแี ดง เพราะตนเทยี น ในรูปมีกลบี ดอกท้ังสีขาวและสแี ดง  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูม อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนว ยที่ 5 สิ่งมีชีวิต 252 ตนลูกของตน เทียนท่ีมีดอกสีขาวสลบั แดง กับดอกสีขาว นา จะมที ้งั ตน ท่ีมดี อกสีขาว และดอกสขี าวสลับแดง เพราะตน ลูกจะไดรับการถายทอดลกั ษณะจากพอและแม ทําใหตน ลกู มีลักษณะทเี่ หมือนพอ เหมือนแม เหมอื นทง้ั พอและแม หรือแตกตางจาก ท้ังพอและแมได เปนไปไดท คี่ รอบครัวนพ้ี อจะไมม ีลักย้มิ เพราะมลี ูกทไี่ มมีลักยิม้ ซงึ่ จะเปนลักษณะท่ี เหมอื นพอ สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

253 คมู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 | หนวยท่ี 5 ส่งิ มีชวี ติ  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 สงิ่ มชี ีวิต 254 บทที่ 2 สิง่ มีชวี ติ กับสิ่งแวดล้อม จดุ ประสงค์การเรยี นรปู้ ระจำบท บทนีม้ อี ะไร โครงสรา้ งและลกั ษณะของส่ิงมชี ีวติ ใน แหล่งท่ีอยู่ เม่อื เรยี นจบบทนี้ นักเรียนสามารถ เรือ่ งท่ี 1 โครงสรา้ งและลกั ษณะของสิ่งมีชีวติ 1. บรรยายโครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชีวิตท่ี กิจกรรมที่ 1 เหมาะสมกับแหลง่ ท่ีอยู่อย่างไร เหมาะสมกับการดำรงชีวติ ในแหล่งท่อี ยู่ตา่ ง ๆ เร่ืองที่ 2 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสงิ่ มีชวี ิตกบั 2. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต กจิ กรรมที่ 2 สิ่งมชี วี ิต ในแหลง่ ที่อยู่ เรอื่ งที่ 3 ส่งิ มีชีวติ มีความสัมพันธ์กับสิง่ มีชีวิต 3. อธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมชี วี ิตกับส่ิงไม่มชี วี ิต กจิ กรรมท่ี 3 อย่างไร ในแหล่งท่อี ยู่ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสิง่ มีชีวติ กบั 4. เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาทหน้าท่ีของสิ่งมีชีวิต สิ่งไม่มีชีวติ ในโซ่อาหาร สิ่งมชี วี ติ มีความสัมพนั ธก์ บั สิ่งไม่มชี ีวติ ใน 5. บอกแนวทางและรว่ มกันดูแลรักษาสงิ่ แวดลอ้ ม แหล่งทอ่ี ยู่อยา่ งไร เวลา 10 ชั่วโมง แนวคิดสำคญั สงิ่ มีชีวติ แต่ละชนิดจะอาศัยอยตู่ ามที่ต่าง ๆ ซึ่งอาจ มีส่ิงแวดล้อมแตกต่างกัน ดังน้ันสิ่งมีชีวิตจึงต้องปรับตัวด้าน โครงสร้างและลักษณะของร่างกายให้เหมาะสมกับการ ดำรงชีวติ ในแตล่ ะแหล่งทอ่ี ยู่ ส่ิงแวดล้อมในแต่ละแหล่งที่อยู่ ประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตหลายชนิดที่ อาศัยอยู่ร่วมกันในแหล่งท่ีอยู่หนึ่ง ๆ นอกจากจะมีความสัมพันธ์ กับสิ่งมีชีวิตด้วยกันในด้านต่าง ๆ แล้ว ยงั มีความสัมพันธ์กับ ส่ิงไม่มีชีวิตด้วย เราจึงควรตระหนักและช่วยกันดูแลรักษา ส่ิ งแ ว ด ล้ อ ม ให้ มี ส ภ าพ ที่ เห ม าะ ส ม กั บ ก ารด ำรงชี วิ ต ข อ ง ส่ิงมชี ีวิตตลอดไป สื่อการเรียนรแู้ ละแหลง่ เรียนรู้ หน้า 95-125 หนา้ 85-109 1. หนงั สือเรยี น ป.5 เล่ม 2 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.5 เล่ม 2 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

255 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 ส่ิงมีชีวติ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 รหสั ทกั ษะ กจิ กรรมท่ี 123 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  S1 การสงั เกต S2 การวัด  S3 การใชจ้ ำนวน  S4 การจำแนกประเภท S5 การหาความสัมพนั ธ์ระหว่าง   สเปซกบั สเปซ   สเปซกบั เวลา  S6 การจดั กระทำและสอื่ ความหมายขอ้ มูล  S7 การพยากรณ์  S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล S9 การตั้งสมมติฐาน S10 การกำหนดนยิ ามเชิงปฏบิ ัตกิ าร S11 การกำหนดและควบคุมตวั แปร S12 การทดลอง S13 การตีความหมายข้อมลู และลงข้อสรุป S14 การสร้างแบบจำลอง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C1 การสร้างสรรค์ C2 การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ C3 การแกป้ ัญหา C4 การสอ่ื สาร C5 ความรว่ มมอื C6 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอื่ สาร หมายเหตุ: รหสั ทกั ษะทป่ี รากฏน้ี ใช้เฉพาะหนังสือคู่มือครูเล่มนี้ ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 ส่งิ มชี ีวิต 256 แนวคิดคลาดเคล่ือน แนวคิดคลาดเคลื่อนท่ีอาจพบและแนวคดิ ที่ถกู ต้องในบทท่ี 2 ส่ิงมชี วี ิตกบั ส่งิ แวดลอ้ ม มีดังต่อไปน้ี แนวคดิ คลาดเคล่ือน แนวคดิ ทถี่ กู ต้อง โหนกของอูฐใชส้ ำหรบั กักเกบ็ นำ้ (Kubiatko and Prokop, โหนกของอูฐใชส้ ำหรบั กกั เกบ็ ไขมนั เม่ือขาดแคลนอาหารอูฐจะ 2007) ดงึ ไขมันทเี่ ก็บสะสมไว้มาใช้ (Kubiatko and Prokop, 2007) ถา้ ครพู บวา่ มีแนวคดิ คลาดเคลื่อนใดท่ยี งั ไม่ได้แกไ้ ขจากการทำกจิ กรรมการเรยี นรู้ ครูควรจัดการเรียนรู้เพิ่มเติมเพอื่ แก้ไข ต่อไปได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

257 คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 ส่ิงมีชีวิต บทนีเ้ รม่ิ ตน้ อย่างไร (1 ชั่วโมง) ในการตรวจสอบความรู้ ครู เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนและ 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม โดยให้นักเรียน ยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวน สังเกตรปู หรือดูวีดิทัศน์เกี่ยวกับส่ิงมชี ีวิตทีอ่ าศัยอยู่ในแหล่งทอ่ี ยู่ 1 แหล่ง ให้นักเรียนไปหาคำตอบด้วยตนเอง ซ่ึงมีความยาวประมาณ 2-3 นาที เช่น ในทะเลที่มีปลาขนาดเล็กและ จากการอ่านเนอ้ื เรือ่ ง ขนาดใหญ่ กุง้ ปะการัง ฯลฯ แล้วใช้คำถาม ดงั นี้ 1.1 สถานที่ในรูปน้ีคือที่ใด (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง เช่น ในทะเล) 1.2 รูปนมี้ ีสิ่งมีชีวิตอะไรบา้ ง (นกั เรียนตอบตามท่ีสังเกตได้ เช่น ปลา กุ้ง ปะการัง ฯลฯ) 1.3 รูปนี้มีสิ่งไม่มีชีวิตอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามท่ีสังเกตได้ เช่น น้ำ ก้อนหิน ฯลฯ) 1.4 สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในน้ำมีโครงสร้างและลักษณะอย่างไรบ้าง (นักเรียน ตอบตามความเข้าใจของตนเอง เชน่ ปลามคี รบี กงุ้ มีขา) 1.5 โครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชีวิตเหมาะสมกับแหล่งท่ีอยู่น้ี อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ครีบปลา ช่วยให้ปลาวา่ ยนำ้ ได้) 1.6 นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในแหล่งที่อยู่น้ีจะมีความสัมพันธ์กัน หรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น มี ความสัมพันธ์กันในด้านการกินกันเป็นอาหาร ปลาใหญ่อาจจะกิน ปลาเล็กเปน็ อาหาร) 1.7 สิ่งมีชีวิตเหล่าน้ีมีความสัมพันธ์กับส่ิงไม่มีชีวิตในแหล่งท่ีอยู่หรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น มีความสัมพันธ์กัน ปลามคี วามสัมพันธ์กับนำ้ โดยใช้นำ้ เป็นท่อี ยู่อาศัย) 1.8 ถ้าแหล่งท่ีอยู่เกิดการเปลี่ยนแปลงจะส่งผลต่อการดำรงชีวิตของ ส่งิ มีชีวติ เหล่านั้นหรอื ไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง เช่น ถ้าแหล่งท่ีอยู่เกิดการเปลี่ยนแปลงจะส่งผลต่อการ ดำรงชีวิตของส่ิงมีชีวิต โดยถ้าแหล่งน้ำมีขยะหรือสารปนเป้ือน สง่ิ มีชวี ิตในแหล่งท่ีอยู่นั้นอาจจะกินขยะหรือได้รบั สารปนเปื้อนเข้าสู่ ร่างกาย ทำใหส้ งิ่ มีชีวิตตายได)้ 2. ครูให้นักเรียนอ่านช่ือบท และจุดประสงค์การเรียนรู้ประจำบท ใน หนงั สือเรียนหนา้ 95 จากนั้นครูใชค้ ำถามเพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจดังนี้ 2.1 บทนี้จะไดเ้ รยี นเรือ่ งอะไร (สิ่งมชี วี ติ กับสิ่งแวดล้อม) ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 5 สิง่ มชี ีวิต 258 2.2 จากจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เม่ือจบบทเรยี นนกั เรียนสามารถทำอะไร ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติมสำหรับครู ได้บา้ ง (- บรรยายโครงสรา้ งและลักษณะของสิ่งมีชีวิตในแหล่งทอ่ี ยู่ตา่ ง ๆ ค รู อ าจ น ำวี ดิ ทั ศ น์ เกี่ ย ว กั บ - อธิบายความสัมพันธ์ระหวา่ งส่งิ มีชีวติ กับสิ่งมีชีวิตและส่ิงมีชีวิตกับ หม้อข้าวหม้อแกงลิงและมีแมลงตกลงไป ส่ิงไมม่ ีชวี ิตในแหลง่ ทอ่ี ยู่ ในกระเปาะ มาให้นักเรียนดูเป็นสื่อ - เขียนโซอ่ าหารและระบุบทบาทหน้าท่ขี องส่ิงมชี วี ติ ในโซ่อาหาร ประกอบการอ่านเนอ้ื เรื่อง เช่น วดี ิทศั น์ - บอกแนวทางในการดูแลรักษาส่งิ แวดล้อม) สารคดีหม้อข้าวหม้อแกงลิง (tropical pitcher plant) 3. นักเรียนอ่านชื่อบทและแนวคิดสำคัญ ในหนังสือเรียนหน้า 96 จากน้ัน ครูใช้คำถามว่า จากการอ่านแนวคิดสำคัญ นักเรียนคิดว่าจะได้เรียน หากนักเรียนไม่สามารถตอบ เกีย่ วกับเร่อื งอะไรบา้ ง คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว (- โครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชีวิตท่ีเหมาะสมกับการดำรงชีวิต คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน ในแหลง่ ทอี่ ยู่ ซง่ึ เป็นผลจากการปรับตวั คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง - ความสัมพนั ธ์ระหว่างสิ่งมีชวี ิตกับส่งิ มีชวี ิต อดทน และรับฟังแนวความคิด - ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชวี ติ กับสง่ิ ไมม่ ีชวี ติ ของนกั เรยี น - การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมให้มีสภาพเหมาะสมกับการดำรงชีวิตของ ส่ิงมชี วี ิต) 4. ครูชักชวนให้นักเรียนสังเกตรูปและอ่านเน้ือเร่ืองในหนังสือเรียนหน้า 96 โดยครูฝึกทักษะการอ่านตามวิธกี ารอ่านทีเ่ หมาะสมกับความสามารถของ นกั เรยี น จากนั้นครูใช้คำถามเพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจจากการอา่ น ดังนี้ 4.1 ส่งิ มีชีวิตทีน่ ักเรยี นเหน็ ในรูปมอี ะไรบ้าง (หม้อข้าวหม้อแกงลิง หญ้า) 4.2 แหล่งที่อยู่ของพืชชนิดนี้เป็นอย่างไร (แหล่งที่อยู่ของพืชชนิดนี้เป็น ดนิ ซ่งึ ขาดธาตุอาหารบางชนิด) 4.3 พชื ชนิดน้ีมีโครงสร้างและลักษณะเป็นอย่างไร (ใบบางใบมีลักษณะเป็น รูปทรงกระบอก ภายในมกี ารสร้างนำ้ ย่อยเพื่อยอ่ ยแมลงท่ตี กลงไป) 4.4 โครงสรา้ งและลักษณะของพืชชนดิ น้เี หมาะสมกับแหล่งท่ีอยู่อย่างไร (หม้อข้าวหม้อแกงลิงมีใบบางใบเป็นรูปทรงกระบอกคอยดักจับ แมลงและภายในมีการสร้างน้ำย่อยเพ่ือย่อยแมลงท่ีตกลงไป ทำให้ ได้ธาตุอาหารเพิ่มข้ึน เหมาะสมกับแหล่งท่ีอยู่ซึ่งเป็นดินที่ขาด ธาตุอาหารบางชนดิ ) 5. ครชู ักชวนนักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อมในสำรวจ ความร้กู อ่ นเรยี น 6. นักเรียนทำสำรวจความรู้ก่อนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 86-88 โดยให้นักเรียนอ่านคำถามแต่ละข้อ ครูตรวจสอบความเข้าใจของ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

259 คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 สิ่งมีชวี ิต นักเรียน จนแนใ่ จวา่ นกั เรยี นสามารถทำได้ด้วยตนเอง จึงให้นกั เรียนตอบ การเตรียมตวั ลว่ งหนา้ สำหรบั ครู คำถาม โดยคำตอบของแต่ละคนอาจแตกต่างกัน และคำตอบอาจถูกหรือ เพอื่ จัดการเรียนรใู้ นครงั้ ถัดไป ผดิ ก็ได้ 7. ครูสังเกตการตอบคำถามของนักเรียนเพ่ือตรวจสอบว่านักเรียนมีแนวคิด ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้เรียน เก่ียวกับสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมอย่างไรบ้าง หรืออาจสุ่มให้นักเรียน 2-3 เร่ืองท่ี 1 โครงสร้างและลักษณะของ คน นำเสนอคำตอบของตนเอง ครูยังไม่ต้องเฉลยคำตอบ แต่จะให้ สิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ โดยครูเตรียมส่ือ นักเรียนย้อนกลับมาตรวจสอบอีกคร้ังหลังเรียนจบบทน้ีแล้ว ท้ังน้ีครูอาจ การสอน ดงั น้ี บันทึกแนวคิดคลาดเคล่ือนหรือแนวคิดท่ีน่าสนใจของนักเรียน แล้วนำมา ออกแบบการจัดการเรียนการสอนเพ่ือแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนให้ 1. รูปส่ิงมีชีวิตหน่ึงชนิดในแหล่งท่ีอยู่ ถูกตอ้ ง และตอ่ ยอดแนวคดิ ท่นี ่าสนใจของนกั เรียน ที่ แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ ลักษณะของร่างกายสิ่งมีชีวิต เพื่อ นำนักเรียนเข้าสบู่ ทเรยี นเรอื่ งที่ 1 2. วีดิ ทั ศ น์ เรื่อ ง ม ารู้จั ก สั ต ว์ใน ป่าชายเลน https://youtu.be/BAjQi-DJQn4 เพ่ือเสริมสร้างความรู้และความ เข้ า ใ จ เกี่ ย ว กั บ โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ ลกั ษณะของสง่ิ มชี ีวติ ในป่าชายเลน ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี