Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก

อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก

Description: ธรรมะอุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก

Search

Read the Text Version

300 ข้อนี้สมกับคำ�ของพระวังคีสเถรเจ้าว่า เมื่อดวงอาทิตย์ต้ังขึ้น ย่อมทำ�ให้เห็นสิ่งต่างๆท้ัง สะอาด ไมส่ ะอาด ดี เลว ฉนั ใด พระภิกษุผู้ทรงธรรมก็ท�ำ ให้หม่ชู นอันถูกอวชิ ชาปกปดิ ไวใ้ หไ้ ดเ้ ห็น ธรรมตา่ งๆ เหมือนกบั ดวงอาทิตย์ทตี่ ั้งขึ้นมา ฉันน้ัน. มลิ ิน. ๔๔๒ ๓.๒๑ เหมอื นหมอ้ ที่ไม่มเี คร่อื งรองรบั ย่อมกลิง้ ไปได้ง่าย ทมี่ เี ครอื่ งรองรับย่อมกลงิ้ ไปได้ยาก ฉันใด จิตก็ฉันน้ันเหมือนกัน ไม่มีเคร่ืองรองรับย่อมกลิ้งไปได้ง่าย ท่ีมีเคร่ืองรองรับย่อมกล้ิงไปได้ ยาก. สงั .ม. (พุทธ) มก. ๓๐/๕๕ ๓.๒๒ ธรรมดาแมวย่อมแสวงหาอาหารในท่ีใกล้ๆ ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ควร พิจารณาซ่ึงความต้ังขึ้น และความเสื่อมไปในอุปาทานขันธ์ท้ัง ๕ นี้ว่า ความต้ังอยู่ และเส่ือมไป แห่งรปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ เป็นอยา่ งนี้ ข้อน้ีสมกับพระพุทธพจน์ว่า ไม่ควรพูดถึงที่ไกลภวัคคพรหมจักทำ�อะไรได้ ควรเบื่อหน่าย เฉพาะในกายของตนอันมีอยใู่ นปจั จุบนั น้แี หละ. มลิ ิน. ๔๔๔ ๓.๒๓ พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสถามพระนาคเสนวา่ สมาธมิ ีลกั ษณะอยา่ งไร พระนาคเสนทูลตอบว่า สมาธิมีการเป็นหัวหน้าเป็นลักษณะ คือกุศลกรรมท้ังสิ้น มีสมาธิ เป็นหัวหน้า เหมือนเวลาพระราชาเสด็จออกสงคราม จตุรงคเสนาทหารท้ังสิ้น มีพระราชาเป็น หวั หนา้ . มิลนิ . ๕๕ ๔. ทำ�พระนพิ พานให้แจ้ง ๔.๑ ภกิ ษุผ้เู ป็นพุทธบุตรบำ�เพ็ญวิปสั สนา ประกอบความเพยี รนี้เข้าไปสู่ป่า แล้วบรรลอุ รหตั ผล เหมอื นเสอื เหลืองซุ่มจบั เนื้อกนิ ฉะนัน้ . ม.มู. (อรรถ) มก. ๑๗/๖๗๙ ๔.๒ ภิกษุน้ันทำ�ลายเปลือกไข่ คือ อวิชชาแล้ว บรรลุพระอรหันต์ในเวลาจบพระคาถา จำ�เดิมแต่น้ันลูกไก่เหล่านั้น ยังคามเขตให้งามเที่ยวไปในคามเขตนั้น ฉันใด ภิกษุแม้น้ีเป็นพระมหา ขณี าสพบรรลผุ ลสมบัติ อันมนี ิพพานเป็นอารมณแ์ ลว้ ยงั สังฆารามใหง้ ามอยู่เท่ียวไป ฉันน้ัน. ม.มู. (อรรถ) มก. ๑๘/๑๘๕ www.kalyanamitra.org

301 ๔.๓ ทหารในสงครามถืออาวธุ ๕ ประการ ก�ำ จดั กองทพั ฝา่ ยอน่ื ได้ชัยชนะ ฉนั ใด แม้ภกิ ษุ ผู้ปรารภความเพียรท้ังหลาย ก็ฉันนั้น ถืออาวุธ คือ วิปัสสนา ถือเอาชัย คือ พระอรหันต์ไว้ได้ เพราะเหตนุ ัน้ . ม.อุ. (พทุ ธ) มก. ๒๒/๓๓๑ ๔.๔ ในเวลาจบเทศนา ภกิ ษุนักวปิ ัสสนาจ�ำ นวน ๕๐๐ รูปเหล่านั้น เป็นบคุ คลช้นั อุคฆตติ ัญญู (ผู้อาจรู้ได้ฉับพลัน) แทงตลอดสัจจะ ดำ�รงอยู่ในพระอรหัตผล เหมือนดอกบัวท่ีถึงความแก่แล้ว พอตอ้ งแสงอาทิตย์กบ็ าน ฉะน้ัน. สัง.น.ิ (ทวั่ ไป) มก. ๒๖/๑๘ ๔.๕ บุคคลใดชนะกิเลสภายในของตนได้แม้เพียงคร้ังเดียว บุคคลน้ี จัดเป็นจอมทัพ ผเู้ กรียงไกรได้. ขุ.ชา. (โพธิ) มก. ๕๖/๑๗๑ ๔.๖ ธรรมดาช้างเม่ือเที่ยวไป ย่อมเอาเท้ากระชุ่นดิน ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียร ผพู้ ิจารณากาย กค็ วรท�ำ ลายกเิ ลสทง้ั ปวง ฉันนั้น. มิลิน. ๔๔๘ ๔.๗ พระอาทิตย์ข้ึนไปแล้ว ส่องอากาศให้สว่างด้วยรัศมีของตน ชื่อว่า กำ�จัดความมืด ฉันใด พราหมณ์แม้น้ัน เมื่อตรัสรู้สัจจะท้ังหลายด้วยธรรมเหล่าน้ัน ช่ือว่า กำ�จัดเสนามารเสียได้ ข้อนีก้ ็ฉันน้ัน. ว.ิ ม. (พทุ ธ) มก.๖/๑๔ ๔.๘ เม่ือใดแล ธรรมท้ังหลายปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีเพียรเพ่งอยู่ เมื่อนั้นพราหมณ์ย่อม ก�ำ จัดมาร และเสนาเสียได้ ดจุ พระอาทิตยอ์ ทุ ัยท�ำ อากาศใหส้ วา่ ง ฉะนัน้ . วิ.ม. (พุทธ) มก.๖/๑๔ ๔.๙ ชนเหล่าใดเข้าถึงฌาน ไม่ประมาทละกิเลสได้ ชนเหล่านั้นจักถึงฝ่ัง คือ นิพพาน ประดุจปลาทำ�ลายขา่ ยได้แล้ว ฉะน้ัน. สัง.ส. (พุทธ) มก. ๒๔/๓๔๖ ๔.๑๐ ตน้ ไม้นอ้ มไปสู่ทิศปราจนี (ตะวันออก) โน้มไปสู่ทิศปราจนี โอนไปสูท่ ศิ ปราจีน ต้นไม้ นั้นเมื่อถูกตัดรากเสียแล้ว จักล้มลงทางทิศที่มันน้อมโน้มโอนไป แม้ฉันใด ภิกษุเจริญอริยมรรคอัน ประกอบด้วยองค์ ๘ กระท�ำ ให้มากซงึ่ อริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ ย่อมเปน็ ผนู้ ้อมไปสูน่ ิพพาน โนม้ ไปสู่นพิ พาน โอนไปสูน่ พิ พาน ฉันนนั้ เหมอื นกนั . สงั .ม. (พุทธ) มก. ๓/๑๔๘ www.kalyanamitra.org

302 ๔.๑๑ เดือยข้าวสาลีหรอื เดอื ยข้าวยวะต้งั ไว้เหมาะ มอื หรือเท้าย่ำ�เหยยี บแล้ว จกั ทำ�ลายมือ หรือเท้าให้ห้อเลือด ข้อน้ีเป็นฐานะที่มีได้ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเดือยตั้งไว้เหมาะ แม้ฉันใด ภิกษกุ ็ฉันนั้นเหมือนกนั จกั ทำ�ลายอวชิ ชา จักยงั วชิ ชาใหเ้ กดิ จกั กระท�ำ ให้แจ้งซง่ึ นิพพานเพราะทิฏฐิ ท่ีตงั้ ไว้ชอบ เพราะมรรคภาวนาต้ังไวช้ อบ ข้อนเี้ ป็นฐานะทีม่ ีได้. สงั .ม. (พทุ ธ) มก. ๓๐/๑๕๐ ๔.๑๒ แม่นำ้�คงคาไหลไปสู่ทิศปราจีน ไหลไปสู่ทิศปราจีน บ่าไปสู่ทิศปราจีน ฉันใด ภิกษุ ผู้เจริญโพชฌงค์ ๗ กระทำ�ให้มากซ่ึงโพชฌงค์ ๗ ก็ย่อมเป็นผู้น้อมไปสู่นิพพาน โน้มไปสู่นิพพาน โอนไปสู่นิพพาน ฉันนน้ั เหมอื นกนั . สัง.ม. (พทุ ธ) มก. ๓๐/๓๓๙ ๔.๑๓ นำ้�จากแม่นำ้�คงคากับน้ำ�จากแม่น้ำ�ยมุนา ย่อมกลมกลืนกันเข้ากันได้อย่างเรียบร้อย แม้ฉันใด พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์น้ันก็ทรงบัญญัติข้อปฏิบัติสำ�หรับไปถึงพระนิพพานแก่ พระสาวกทงั้ หลาย ทั้งพระนิพพาน ทงั้ ข้อปฏบิ ตั ิก็กลมกลืนกนั เปน็ อย่างด ี ฉันน้นั . ท.ี ม. (ท่วั ไป) มก. ๑๔/๔ ๔.๑๔ โคที่ใช้การได้ และที่พอจะฝึกใช้ได้ ว่ายตัดตรงกระแสแม่นำ้�คงคาถึงฝ่ังโดยสวัสดี แม้ฉันใด ภิกษุเหล่าใด ซึ่งเกิดผุดข้ึน และปรินิพพานในช้ันสุทธาวาสน้ัน ไม่จำ�ต้องวกกลับมาจาก โลกนัน้ เพราะส้นิ สังโยชน์เบื้องต�่ำ ๕ แม้ภกิ ษเุ หล่านนั้ จักตดั ตรงกระแสมารแลว้ ถงึ ฝงั่ โดยสวัสดี. ม.ม.ู (พทุ ธ) มก. ๑๙/๗๐ ๔.๑๕ กลอนเรือนยอดท้งั หมดน้อมไปสู่ยอด โน้มไปสู่ยอด โอนไปสู่ยอด แมฉ้ นั ใด ภิกษุเจริญ โพชฌงค์ ๗ กระทำ�ให้มากซ่ึงโพชฌงค์ ๗ ย่อมเป็นผู้น้อมไปสู่นิพพาน โน้มไปสู่นิพพาน โอนไปสู่ นิพพาน ฉันนัน้ เหมือนกัน. สงั .ม. (พุทธ) มก. ๓๐/๒๑๔ ๔.๑๖ ธรรมดาพายยุ ่อมเทย่ี วไปในอากาศ ฉันใด ภกิ ษผุ ูป้ รารภความเพียรกค็ วรใหใ้ จเท่ียวไป ในโลกตุ รธรรม ฉันนนั้ . มลิ ิน. ๔๓๘ ๔.๑๗ ธรรมดาพืชถึงมีเพียงเล็กน้อย เม่ือเขาปลูกหว่านลงในที่ดินดี เวลาฝนตกลงมาดี ก็ย่อมให้ผลมาก ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ควรปฏิบัติชอบ เพื่อศีลนั้นจะทำ�ให้ถึงซ่ึง โลกตุ รธรรม ฉนั นั้น. มลิ ิน. ๔๓๐ www.kalyanamitra.org

303 ๔.๑๘ ธรรมดาดอกบัวย่อมลอยขึ้นพ้นนำ้� ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ควรยกตนขึ้น พ้นโลก แล้วอยู่ในโลกุตรธรรม ฉนั น้นั . มลิ ิน. ๔๒๙ ๔.๑๙ ธรรมดาพรานเบด็ ยอ่ มดึงปลาขึน้ มาด้วยเหย่อื ฉนั ใด ภิกษุผปู้ รารภความเพียรกค็ วร ดงึ ผลแห่งสมณะอนั ยิ่งใหญด่ ว้ ยญาณ ฉนั นั้น. มลิ นิ . ๔๕๙ ๔.๒๐ ธรรมดาไฟย่อมก�ำ จัดความมดื ท�ำ ให้เกิดความสว่าง ฉันใด ภิกษุผ้ปู รารภความเพยี ร กค็ วรกำ�จดั ความมืด คือ อวิชชา ท�ำ ให้เกดิ ความสว่าง คือ ญาณ ฉนั น้นั ข้อน้ีสมกับพระพุทธโอวาทที่ทรงสอนพระราหุลว่า ดูก่อนราหุล เธอจงอบรมจิตใจให้เสมอ กับไฟ เพราะเม่ือเธออบรมจิตใจให้เสมอกับไฟได้แล้ว สิ่งที่ถูกต้องซ่ึงเป็นที่พอใจ และไม่พอใจย่อม ไมค่ รอบงำ�จิต. มลิ ิน. ๔๓๗ ๔.๒๑ ธรรมดานายพรานพอแลเหน็ เนอ้ื กเ็ กดิ ความรา่ เรงิ วา่ เราจกั ไดเ้ นอ้ื ตวั น้ี ภกิ ษผุ ปู้ รารภ ความเพยี รพอไดค้ วามยนิ ดใี นอารมณ์ กค็ วรเกดิ ความรา่ เรงิ ใจวา่ เราจกั ไดค้ ณุ วเิ ศษยง่ิ ขน้ึ ไป. มลิ นิ . ๔๕๙ ๔.๒๒ ธรรมดาเสือเหลืองย่อมไปแอบซุ่มอยตู่ ามกอหญ้า พุ่มไม้ ซอกเขา ในปา่ แล้วกจ็ ับเนือ้ กิน ฉนั ใด ภิกษผุ ู้ปรารภความเพยี รก็ฉันนัน้ ย่อมไปหาทีส่ งัดอยู่อนั ได้แก่ปา่ โคนไม้ ภเู ขา ซอกเขา ถ�ำ้ ปา่ ช้า ปา่ ใหญ่ ท่ีแจ้ง ลอมฟาง เม่ือได้ทสี่ งดั อย่างน้ันกจ็ ะส�ำ เร็จอภญิ ญา ๖ ในไม่ช้า ข้อสมกับคำ�ของพระธรรมสังคาหกมหาเถระเจ้าท้ังหลายว่า เสือเหลืองแอบซุ่มจับกินเน้ือ ฉันใด ภิกษุผปู้ รารภความเพยี ร ผู้เจรญิ วปิ ัสสนาก็เขา้ ไปอยู่ปา่ มุ่งประโยชน์สงู สดุ ฉันนั้น. มลิ ิน. ๔๒๕ ๔.๒๓ ธรรมดาไม้ขานางย่อมเจริญอยู่ใต้ดินแล้วสูงข้ึนถึง ๑๐๐ ศอก ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภ ความเพียรก็ควรแสวงหาสมณะธรรม คือ สามัญผล ๔ ปฏิสัมมาภิทา ๔ อภิญญา ๖ ในที่สงัด ฉันน้นั ข้อนี้สมกับคำ�ของพระราหุลว่า ไม้ขานางมีรากหยั่งลงไปใต้ดินตั้ง ๑๐๐ ศอก เวลาถึงกาล แก่แล้วก็งอกข้ึนในวันเดียวตั้ง ๑๐๐ ศอก ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรผู้อยู่ในที่สงัดก็เจริญข้ึน ด้วยธรรม ฉนั นน้ั . มลิ นิ . ๔๓๐ www.kalyanamitra.org

304 ๔.๒๔ ควาญชา้ งฝังเสาตะลุงใหญล่ งในแผ่นดิน ลา่ มคอกชา้ งป่าไว้มนั่ คง เพื่อแกไ้ ขปกตขิ อง สัตว์ป่า แก้ไขความดำ�ริพล่านของสัตว์ป่า แก้ไขความกระวนกระวาย ความลำ�บากใจ และความ เร่าร้อนใจของสัตว์ป่า เพื่อให้ช้างป่าเชือกน้ันอภิรมย์ในแดนบ้าน ให้บันเทิงในปกติที่มนุษย์ต้องการ ฉนั ใด ดูก่อนอัคคิเวสสนะ ฉันน้ันเหมือนกันแล สติปัฏฐาน ๔ น้ี ชื่อว่า เป็นหลักผูกใจของ อริยสาวก เพื่อแก้ไขปกติท่ียังผูกพันอยู่กับเรือน แก้ไขความดำ�ริพล่านผูกพันอยู่กับเรือน แก้ไข ความกระวนกระวาย ความล�ำ บากใจ และความเรา่ ร้อนใจทย่ี งั ผูกพันอย่กู ับเรือน... เพ่อื ท�ำ นพิ พาน ใหแ้ จง้ . ม.อุ. (พุทธ) มก. ๒๓/๙๒ ๔.๒๕ ภิกษุท้ังหลาย ลูกโคอ่อนที่เกิดในวันนั้น ว่ายไปตามเสียงร้องของแม่ ได้ว่ายตัดตรง กระแสแม่นำ้�คงคา ถึงฝั่งโดยสวัสดี แม้ฉันใด ภิกษุเหล่าใด ซึ่งหน่วงธรรม และศรัทธาเป็นหลัก แม้ภิกษุเหลา่ นัน้ กจ็ ักตดั ตรงกระแสมารถงึ ฝง่ั โดยสวสั ดี ฉันน้นั . ม.ม.ู (พทุ ธ) มก. ๑๙/๗๐ ๔.๒๖ ดูก่อนอัคคิเวสสนะ ถ้าช้างหลวงแก่ที่ไม่ได้ฝึก ไม่ได้หัดล้มลง ก็ถึงความนับว่า ชา้ งหลวงแกล่ ้มตายไปอยา่ งมิได้ฝกึ ถา้ ชา้ งหลวงปนู ปานกลางทไี่ ม่ไดฝ้ ึก ไมไ่ ดห้ ดั ลม้ ลง ก็ถึงความ นบั วา่ ช้างหลวงปนู ปานกลางล้มตายไปอยา่ งมไิ ด้ฝกึ ถา้ ช้างหลวงปนู หนุ่มที่ไมไ่ ดฝ้ ึก ไมไ่ ด้หัดลม้ ลง ก็ถงึ ความนบั ว่า ช้างหลวงหนมุ่ ลม้ ตายไปอย่างมไิ ด้ฝกึ ฉันใด ดูก่อนอัคคิเวสสนะ ฉันนั้นเหมือนกันแล ถ้าภิกษุมหาเถระยังไม่สิ้นอาสวะทำ�กาละลง ก็ถึง ความนบั วา่ ภกิ ษุมหาเถระท�ำ กาละตายไปอย่างไมไ่ ดฝ้ กึ ถา้ ภิกษุเถระไมส่ น้ิ อาสวะท�ำ กาละลง กถ็ ึง ความนับวา่ ภิกษุเถระทำ�กาละตายไปอยา่ งไมไ่ ดฝ้ กึ ถา้ ภกิ ษุมัชฌิมะยงั ไมส่ ้นิ อาสวะท�ำ กาลละ ก็ถึง ความนับว่า ภิกษุมัชฌิมะทำ�กาละตายไปอย่างไม่ได้ฝึก ถ้าภิกษุนวกะยังไม่ส้ินอาสวะทำ�กาละลง ก็ถึงความนบั ว่า ภิกษุนวกะท�ำ กาละ ตายไปอย่างไมไ่ ดฝ้ ึก ดูกอ่ นอัคคเิ วสสนะ ถ้าชา้ งหลวงแกท่ ี่ฝกึ ดีหดั ดีแลว้ ล้มลง กถ็ งึ ความนบั ว่า ชา้ งหลวงแกล่ ้ม ตายไปอย่างฝึกแลว้ ถ้าชา้ งหลวงปนู ปานกลางท่ีฝกึ ดีหัดดีแล้วลม้ ลง กถ็ งึ ความนับวา่ ชา้ งหลวงปูน ปานกลางล้มตายไปอย่างฝกึ แลว้ ถา้ ชา้ งหลวงปนู หน่มุ ทีฝ่ ึกดีหัดดแี ล้วลม้ ลง กถ็ งึ ความนบั วา่ ช้าง หลวงปูนหนุ่มลม้ ตายไปอยา่ งฝกึ แลว้ ฉนั ใด ดูก่อนอัคคิเวสสนะ ฉันนั้นเหมือนกันแล ถ้าภิกษุมหาเถระสิ้นอาสวะแล้วทำ� กาละลง ถ้า ภกิ ษเุ ถระ... ถา้ ภกิ ษมุ ัชฌมิ ะ... ถ้าภิกษนุ วกะส้นิ อาสวะแลว้ ท�ำ กาละลง กถ็ ึงความนบั ว่า ภกิ ษนุ วกะ www.kalyanamitra.org

305 ทำ�กาละ ตายอยา่ งฝึกแล้ว ถา้ ภกิ ษุนวกะส้นิ อาสวะแล้วท�ำ กาละลง กถ็ งึ ความนบั วา่ ภิกษุนวกะท�ำ กาละ ตายอย่างฝึกแล้ว. ม.อ.ุ (พุทธ) มก. ๒๓/๙๔ ๔.๒๗ พระบรมศาสดาทรงเปรยี บเทยี บอริยสาวกกับตน้ ปารฉิ ตั รดังน ี้ คอื เม่ือพระอรยิ สาวกคิดออกบวช เปรยี บเหมอื นต้นปารฉิ ตั รมีใบเหลอื ง เมือ่ ปลงผม และนงุ่ หม่ ผ้ากาสาวพัสตร์ เปรยี บเหมือนผลัดใบใหม่ เมื่อสงดั จากกาม สงัดจากอกุศล บรรลปุ ฐมฌาน เปรยี บเหมอื นมีปมุ่ ดอก ปมุ่ ใบ เมอ่ื บรรลทุ ุตยิ ฌาน เปรยี บเหมือนเปน็ ดอกเปน็ ใบ เม่ือบรรลุตตยิ ฌาน เปรียบเหมือนเปน็ ดอกตูม เมื่อบรรลุจตตุ ถฌาน เปรยี บเหมอื นดอกแยม้ เมื่อทำ�เจโตวิมตุ ติ และปัญญาวมิ ุตติท�ำ อาสวะใหส้ ้ิน เปรียบเหมอื นดอกท่ีบานเต็มที่. องั .สัตตก. (พทุ ธ) มก. ๓๗/๒๔๓ www.kalyanamitra.org

๓๕ม ง ค ล ที่ จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม ธรรมดาดอกบัวยอ่ มเกิดในนำ้� โตในน�ำ้ แต่น�้ำ ไม่ตดิ ค้างบนดอกบวั ฉันใด ภิกษุผปู้ รารภความเพยี รก็ไมค่ วรติดอย่ใู นครอบครัว หม่คู ณะ ลาภ ยศ สรรเสรญิ และปัจจัย ๔ รวมทงั้ กิเลสทง้ั ปวง ฉนั นั้น www.kalyanamitra.org

307 ๑. ความไมห่ ว่นั ไหวในโลกธรรม ๑.๑ ภูเขาศลิ าล้วนเปน็ แทง่ เดยี ว คอื ไมม่ โี พรง ยอ่ มไมส่ ะเทือน คือ ไม่เอนเอียง ไมห่ วน่ั ไหว ด้วยลม ฉันใด เม่ือโลกธรรม ๘ ครอบงำ�อยู่ บัณฑิตทั้งหลายย่อมไม่เอนเอียง คือ ไม่หวั่นไหว ไม่สะเทอื นดว้ ยอำ�นาจความยินดีรา้ ยหรือยนิ ดี ฉนั น้นั . ขุ.ธ. (พทุ ธ) มก. ๔๑/๓๔๒ ๑.๒ ถ้ารูปท่ีพึงเห็นแจ้งด้วยจักษุมาสู่คลองจักษุของภิกษุผู้มีจิตหลุดพ้นแล้ว รูปนั้นไม่ ครอบงำ�จิตของท่านได้ จิตของท่านย่อมไม่เจือด้วยกิเลส เป็นจิตต้ังมั่นถึงความไม่หว่ันไหว ทา่ นย่อมพจิ ารณาเหน็ ความเกิดขึ้น และความเส่อื มไปแห่งจติ นน้ั ข้าแตพ่ ระองคผ์ ู้เจรญิ ถ้าเสียงทีพ่ ึงรู้แจง้ ด้วยห.ู .. ฯลฯ กลน่ิ ที่พึงรู้แจ้งดว้ ยจมูก... ฯลฯ รสที่ พึงรูแ้ จง้ ด้วยล้นิ ... ฯลฯ โผฏฐัพพะทพ่ี ึงรูแ้ จง้ ดว้ ยกาย... ฯลฯ ธรรมารมณท์ ่พี ึงรแู้ จ้งด้วยใจ... ฯลฯ มาสู่คลองจักษุแห่งภิกษุผู้มีจิตหลุดพ้นแล้ว ธรรมารมณ์นั้นย่อมไม่ครอบงำ�จิตของท่านได้ จิตของ ท่านย่อมไม่เจือด้วยกิเลสเป็นจิตต้ังมั่น ถึงความไม่หว่ันไหว และท่านพิจารณาเห็นความเกิดข้ึน ความเสอ่ื มไปแห่งจิตนั้น เปรียบเหมือนภูเขาศิลาท่ีไม่มีช่อง ไม่มีโพรงเป็นแท่งทึบ ถ้าแม้ลมฝนอันแรงกล้าพึงพัดมา จากทิศบูรพาไซร้ ก็ไม่พึงยังภูเขาศิลาน้ันให้หว่ันไหวให้สะเทือนสะท้านได้ พึงพัดมาจากทิศ www.kalyanamitra.org

308 ประจิม ฯลฯ พงึ พดั มากทิศอุดร ฯลฯ พงึ พัดมาจากทศิ ทักษิณไซร้ กไ็ มพ่ งึ ยังภูเขาศลิ านั้นให้หวัน่ ไหว ใหส้ ะเทอื นสะท้านได้ ฉะนนั้ . อัง.ฉกั ก. (เถระ) มก. ๓๖/๗๑๐ ๑.๓ แผ่นดินย่อมทนสิ่งของที่เขาท้ิงลงมา สะอาดบ้าง ไม่สะอาดบ้าง ไม่ทำ�ความยินดี ยินร้าย ฉันใด แม้ตัวท่านก็ต้องอดทนการยกย่อง และการดูหม่ินของชนทั้งปวง ฉันนั้นเหมือนกัน ถึงฝ่ังแห่งขนั ตบิ ารมีแล้ว ก็จักบรรลุพระสัมโพธญิ าณได้. ข.ุ พุทธ. (โพธิ) มก. ๗๓/๒๓๘ ๑.๔ ภิกษุใดเสมอด้วยแผ่นดิน เปรียบด้วยเสาเข่ือน คงท่ี มีวัตรดี มีกิเลสดังเปลือกตมไป ปราศแล้ว เหมือนห้วงนำ้�ปราศจากเปลือกตม ย่อมไม่ยินดี ยินร้าย สงสารทั้งหลายย่อมไม่มีแก่ ภิกษนุ ัน้ ผคู้ งท.่ี ขุ.ธ. (พุทธ) มก. ๔๑/๓๘๗ ๑.๕ ธรรมดาแผ่นดินย่อมปราศจากความยินดี ยินร้าย ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ ควรปราศจากความยนิ ดียนิ ร้าย มใี จหนักแนน่ เสมอกบั แผ่นดิน ฉันน้นั . มิลิน. ๔๓๖ ๑.๖ ธรรมดาไฟยอ่ มไม่มีความยินดี ยนิ ร้าย มแี ต่ท�ำ ให้เกดิ ความร้อน ฉนั ใด ภกิ ษผุ ปู้ รารภ ความเพียรก็ควรมีใจเหมอื นด่ังไฟ คือ ไม่ยินดยี นิ รา้ ย ฉนั นัน้ . มลิ ิน. ๔๓๗ ๑.๗ เปรยี บเหมอื นหมอ้ ที่ไมม่ ีเครือ่ งรองรับ ยอ่ มกล้งิ ไปได้ง่าย ทีม่ เี คร่ืองรองรับย่อมกลงิ้ ไป ไดย้ าก ฉันใด จติ ก็ฉนั น้นั เหมอื นกัน ไมม่ เี ครื่องรองรับ ยอ่ มกลง้ิ ไปไดย้ าก ฉนั นน้ั . สัง.ม. (พุทธ) มก. ๓๐/๕๕ ๑.๘ บุคคลไม่สะดุ้งในธรรมมีความไม่เที่ยง เหมือนราชสีห์ไม่สะดุ้งในเสียง ไม่ข้องอยู่ใน ธรรมมีขันธ์ และอายตนะ เหมือนลมไม่ข้องอยู่ในข่าย ไม่ติดอยู่ด้วยความยินดี และความโลภ เหมอื นดอกปทุมไม่ตดิ อยูด่ ว้ ยน�ำ้ พึงเที่ยวไปผ้เู ดยี วเหมือนนอแรด ฉะน้นั . ข.ุ สุ. (ทว่ั ไป) มก. ๔๖/๑๐๒ ๒. ไตรลกั ษณ์ ๒.๑ เสียงรถย่อมมีได้เพราะการประชุมองค์ประกอบของรถ ฉันใด เม่ือขันธ์ทั้งหลายยังมี อยู่ การสมมตุ กิ ันว่าสัตว์ก็ย่อมมี ฉันน้นั . ขุ.จ.ู (อรรถ) มก. ๖๗/๖๔๒ www.kalyanamitra.org

309 ๒.๒ สังขารท้ังหลายมิใช่เป็นของใหม่อยู่เป็นนิตย์แต่เพียงอย่างเดียว ยังปรากฏไม่มีสาระ หาสาระมไิ ด้ ดุจหยาดน�ำ้ ค้างในเวลาพระอาทติ ยข์ ้ึน ดุจฟองน�ำ้ ดุจรอยขีดในน้ำ�ดว้ ยไม้ ดจุ เมลด็ ผัก กาดบนปลายเหล็กแหลม ดุจสายฟ้าแลบ และดุจภาพลวง พยับแดด ความฝัน และฟองน้ำ� เป็นต้น อนั ต้ังอยู่ชวั่ เวลาเลก็ นอ้ ย. ข.ุ จ.ู (ทว่ั ไป) มก. ๖๗/๖๔๗ ๒.๓ ธรรมดาอากาศยอ่ มเป็นทที่ อ่ งไปของฤาษี ดาบส ภูต สัตว์มีปีก ฉนั ใด ภิกษผุ ู้ปรารภ ความเพียรกค็ วรปลอ่ ยใจไปในสงั ขารทงั้ หลายทง้ั ปวงวา่ เปน็ อนิจจงั ทุกขัง อนัตตา ฉนั นน้ั . มิลนิ . ๔๓๙ ๒.๔ อนิจจสัญญาท่ีบุคคลเจริญให้มากแล้ว ย่อมครอบงำ�กามราคะ รูปราคะ ภวราคะ และอวิชชาทั้งปวงได้ ถอนอัสมิมานะทั้งปวงได้ อุปมาเหมือนชาวนาเมื่อไถนาด้วยคันไถใหญ่ ย่อม ไถท�ำ ลายรากหญ้าท่ีเกีย่ วเนอื่ งทกุ ชนิด. สงั .ข. (พุทธ) มก. ๒๗/๓๕๖ ๓. โทษของลาภสกั การะ ๓.๑ ผลกล้วยฆ่าต้นกล้วย ขุยไผ่ฆ่าไม้ไผ่ ดอกอ้อฆ่าไม้อ้อ ลูกม้าฆ่าแม่ม้าอัสดร ฉันใด สักการะกฆ็ ่าคนช่วั ฉนั นั้น. สัง.นิ. (พทุ ธ) มก. ๒๖/๖๗๗ ๓.๒ ไม้ไผ่ย่อมตกขุยเพื่อฆ่าตน ย่อมตกขุยเพ่ือความวอดวาย แม้ฉันใด ลาภสักการะและ ความสรรเสรญิ กเ็ กดิ ข้นึ แก่เทวทัตเพ่ือฆ่าตน เพื่อความวอดวาย ฉนั นนั้ เหมือนกัน. ว.ิ จ.ุ (พทุ ธ) มก. ๙/๒๘๑ ๓.๓ แม่ม้าอัสดรย่อมตั้งครรภ์เพื่อฆ่าตน ย่อมตั้งครรภ์เพื่อความวอดวาย แม้ฉันใด ลาภ สกั การะ แลความสรรเสรญิ กเ็ กดิ ขน้ึ แกเ่ ทวทัตเพ่ือฆา่ ตน เพอื่ ความวอดวาย ฉันนั้นเหมอื นกัน. วิ.จุ. (พุทธ) มก. ๙/๒๘๑ ๓.๔ ต้นกล้วยผลิตผลเพ่ือฆ่าตน ย่อมผลิตผลเพื่อความวอดวาย ฉันใด ลาภสักการะและ ความสรรเสริญกเ็ กดิ ข้ึนแกเ่ ทวทัตเพ่ือฆ่าตน เพอ่ื ความวอดวาย ฉันนั้นเหมือนกนั . ว.ิ จุ. (พทุ ธ) มก. ๙/๒๘๑ ๓.๕ เปรยี บเหมือนสุนัขท่เี ขาขยีด้ ีหมี ดีปลาใสใ่ นจมกู เม่ือเปน็ เช่นน ี้ มนั ก็ย่งิ ดุร้ายกว่าเดมิ หลายเท่าโดยแท้ ฉันใด พระเจ้าอชาตศัตรูราชกุมารจักเสด็จไปบำ�รุงพระเทวทัตทั้งเวลาเย็น เวลา เช้า ด้วยรถประมาณ ๕๐๐ ถาด เพียงใด เทวทตั กพ็ ึงหวงั ความเสือ่ มในกศุ ลธรรมทงั้ หลาย ไมพ่ ึง หวังความเจริญเพียงน้ัน ฉันน้นั เหมือนกัน. สัง.นิ. (พทุ ธ) มก. ๒๖/๖๗๙ www.kalyanamitra.org

310 ๓.๖ สุนัขจิ้งจอกแก่ตัวน้ันเป็นโรคเรื้อน อยู่บนบกก็ไม่สบาย อยู่โคนไม้ก็ไม่สบาย อยู่ในที่ แจ้งก็ไมส่ บาย เดิน ยนื นั่ง นอนในทใ่ี ดๆ กไ็ ม่สบาย เปน็ ทุกข์ในทีน่ น้ั ๆ ภิกษุบางรูปในธรรมวินัยนี้ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ลาภสักการะ และความสรรเสริญครอบงำ� ยำ่�ยีจิตแล้ว อยู่ในเรือนว่างก็ไม่สบาย อยู่ที่โคนไม้ก็ไม่สบาย อยู่ในท่ีแจ้งก็ไม่สบาย เดิน ยืน น่ัง นอนในท่ีใดๆ ก็ไมส่ บาย เปน็ ทกุ ข์ในท่ีนัน้ ๆ. สงั .นิ. (พุทธ) มก. ๒๖/๖๔๙ ๓.๗ แกะขนยาวเข้าไปสู่ชัฏหนาม พึงข้องอยู่ อันหนามเก่ียวไว้ติดอยู่ในท่ีนั้นๆ ได้รับทุกข์ ถึงความพนิ าศในท่นี น้ั ๆ ฉนั ใด ภิกษุบางรูปในธรรมวินัยนอ้ี ันลาภสกั การะ และความสรรเสริญครอบงำ� ยำ่�ยจี ิตแลว้ ก็ฉนั นั้น เวลาเชา้ นุง่ แลว้ ถือบาตรและจวี ร เข้าไปบณิ ฑบาตยงั บ้านหรอื นคิ ม เธอข้องอยอู่ ันปจั จยั เกี่ยว ไว้ ผูกไวใ้ นท่นี ั้นๆ ยอ่ มไดร้ บั ทกุ ข ์ ถึงความพินาศในท่นี ั้น. สัง.นิ. (พุทธ) มก. ๒๖/๖๔๔ ๓.๘ แมลงวันกินขี้เต็มท้องแล้ว ข้างหน้ายังมีกองขี้ใหญ่ มันพึงดูหมิ่นแมลงวันเหล่าอ่ืนว่า เรากนิ ขเ้ี ตม็ ทอ้ งแลว้ และเรายังมีกองขใ้ี หญอ่ ยูข่ ้างหน้าอกี ฉันใด ภิกษุบางรูปในธรรมวินัยนี้อันลาภสักการะ และความสรรเสริญครอบงำ�ย่ำ�ยีจิตแล้ว กฉ็ ันนั้น เวลาเช้า นงุ่ แล้วถอื บาตรและจวี รเข้าไปบิณฑบาตยงั บา้ นหรือนคิ ม ฉันอยู่ ณ ทีน่ ั้นพอแก่ ความต้องการแล้ว และทายกนิมนต์เพ่ือให้ฉันในวันรุ่งข้ึน แม้บิณฑบาตของเธอจะเต็มแล้ว เธอไป อารามแล้วอวดอ้างที่ท่ามกลางหมู่ภิกษุว่า ผมฉันพอแก่ความต้องการแล้ว ทายกยังนิมนต์เพ่ือให้ ฉันในวันรุ่งข้ึน บิณฑบาตของผมก็เต็ม และยังจะได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัย เภสชั บริขารอีก ส่วนภิกษเุ หลา่ อ่ืนนีม้ ีบุญน้อย มีศักด์ิน้อย จึงไมไ่ ด้จวี ร บิณฑบาต เสนาสนะ และ คิลานปจั จยั เภสชั บรขิ าร ลาภสักการะ และความสรรเสริญครอบง�ำ ย่ำ�ยจี ิตของเธอแล้ว ยอ่ มดหู มิ่นภกิ ษุเหลา่ อน่ื ผู้มี ศีลเป็นที่รัก โมฆบุรุษนั้น ย่อมเป็นไปเพื่อสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ เพื่อทุกข์สิ้นกาลนาน ลาภสักการะ และความสรรเสรญิ ทารณุ อยา่ งน้ีแล เธอทงั้ หลายพึงศกึ ษาอย่างน้แี หละ. สงั .นิ. (พุทธ) มก. ๒๖/๖๔๕ ๓.๙ พระโปฐลิ ะหมกมนุ่ อยูใ่ นสังขาร ตดิ อยู่ในลาภ และสกั การะ ดงั ตวั หนอนทตี่ ิดอยู่ในคถู จึงเป็นผไู้ มม่ แี ก่นสาร. ขุ.เถร. (เถระ) มก. ๕๓/๔๓๖ www.kalyanamitra.org

311 ๔. ไม่ตดิ ลาภสักการะ ๔.๑ พระมหาสัตว์ผู้เจริญโดยสัญชาติในโลกเป็นผู้อบรมดี ไม่ติดในโลกธรรมท้ังหลาย เหมือนดอกบัวไมต่ ิดดว้ ยน�้ำ ฉนั น้นั . ขุ.จริยา. (อรรถ) มก. ๗๔/๕๔ ๔.๒ ธรรมดาดอกบัวย่อมเกิดในน้ำ� โตในนำ้� แต่นำ้�ไม่ติดค้างบนดอกบัว ฉันใด ภิกษุ ผู้ปรารภความเพียรกไ็ ม่ควรตดิ อยู่ในครอบครวั หมคู่ ณะ ลาภ ยศ สรรเสรญิ และปจั จัย ๔ รวมทัง้ กิเลสท้งั ปวง ฉันน้นั . มลิ ิน. ๔๒๙ ๔.๓ ธรรมดาเต่าย่อมขุดดินลงไปอยู่ในที่เงียบ ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียร ก็ฉันน้ัน ควรทง้ิ ลาภสักการะ สรรเสริญ แลว้ เขา้ ป่าหาความสงัดอยู่. มลิ นิ . ๔๒๗ ๔.๔ ธรรมดาของเครอื่ งเรือท่ขี ัดขอ้ ง ย่อมกักเรือไว้ในน�ำ้ อันลึกต้งั ๑๐๐ ศอก ฉันใด ภกิ ษุ ผู้ปรารภความเพียรก็ไม่ควรข้องอยู่ในเครื่องยึดเหน่ียว คือ ลาภ ยศ สักการะ การกราบไหว้บูชา ควรพจิ ารณาแตป่ ัจจัยท่ีพอช่วยประทงั ร่างกายใหค้ งอยู่เท่าน้ัน ข้อน้ีสมกับคำ�ของพระสารีบุตรว่า เครื่องขัดข้องในเรือมหาสมุทรย่อมไม่ลอยอยู่ มีแต่จม อย่ขู า้ งล่าง ฉนั ใด ท่านทัง้ หลายอย่าข้องอยูใ่ นลาภสักการะ อย่าจมอย่ใู นลาภสักการะ ฉนั นัน้ . มลิ ิน. ๔๓๑ ๔.๕ ธรรมดาเรือย่อมสู้ลูกคลื่น สู้ลมแรงได้ ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ควรสู้คล่ืน คือ กิเลสต่างๆ เป็นอันมาก เช่น ลาภ สักการะ ยศ สรรเสริญ การบูชากราบไหว้ การนินทา สรรเสริญ ความสขุ ความทกุ ข์ การนบั ถอื การดูหมิ่นอย่างย่งิ ฉันน้นั . มิลนิ . ๔๓๑ www.kalyanamitra.org

๓๖ม ง ค ล ที่ จิตไม่โศก บคุ คลผู้บรรลธุ รรมอนั สงู สุดแล้ว ไมม่ คี วามตอ้ งการอะไรในโลกท้ังปวง ยอ่ มไม่เศร้าโศกในเวลาตาย ดจุ บุคคลออกจากเรือนทถ่ี กู ไฟใหม้ ฉะนั้น www.kalyanamitra.org

313 ๑. ความโศก ความอาลัย ความคร่�ำ ครวญ ๑.๑ ความโศก พึงเป็นเหมอื นการหุงต้มภายในภาชนะดว้ ยไฟออ่ นๆ. ขุ.ม. (อรรถ) มก. ๖๕/๑๕๘ ๑.๒ ตัณหาที่เลวทรามซ่านไปในโลก ย่อมครอบงำ�บุคคลใดไว้ได้ ความโศกย่อมเจริญแก่ บุคคลนนั้ เหมอื นหญา้ คมบางทถี่ ูกฝนตกรดแลว้ เจริญงอกงามขนึ้ ฉะนัน้ . ข.ุ เถร. (เถระ) มก.๕๒/๑๗๕ ๑.๓ ความคร�ำ่ ครวญพงึ เห็นเหมอื นการล้นออกนอกภาชนะของอาหารทีห่ งุ ตม้ ด้วยไฟแรง. ข.ุ ม. (อรรถ) มก. ๖๕/๑๕๘ ๑.๔ ความคับแค้นใจพึงเห็นเหมือนการเค่ียวอาหารท่ีเหลือจากล้นออกภายนอก ล้นออก ไมไ่ ดอ้ กี เค่ยี วภายในภาชนะนนั่ จนกวา่ จะหมด. ข.ุ ม. (อรรถ) มก. ๖๕/๑๕๘ ๑.๕ เราปรารถนาผู้ตายไปยังปรโลกแลว้ เหมือนเดก็ ร้องไหอ้ ยากไดพ้ ระจนั ทร์ ฉะนั้น. ขุ.ชา. (ท่วั ไป) มก. ๕๙/๙๑๑ ๑.๖ พระพกั ตรข์ องสมเด็จพระบดิ าเป็นเหมอื นดอกปทุมทถี่ กู ขย�ำ ดว้ ยมอื . ข.ุ ชา. (ทัว่ ไป) มก. ๖๔/๒๙๖ www.kalyanamitra.org

314 ๒. เหตแุ ห่งความโศก ๒.๑ พระราชาเสด็จเข้าไปยังพระราชอุทยานท่ีสมบูรณ์ด้วยต้นไม้อันเต็มไปด้วยดอก และ ผล เป็นต้น ทต่ี กแต่งไว้เปน็ อยา่ งดี ทรงยนิ ดดี ว้ ยสมบตั ินน้ั ๆ ย่อมทรงบนั เทงิ รนื่ เรงิ เบกิ บานไมเ่ บอื่ แมเ้ ย็นแล้วกไ็ มป่ รารถนาจะออกไป ฉันใด สตั ว์ทง้ั หลายย่อมยนิ ดีด้วยกาม และอาลัย คือ ตณั หา เหลา่ นีก้ ฉ็ นั น้นั ยอ่ มเบิกบานไม่เบอ่ื อย่ใู นสงั สารวฏั . ม.ม.ู (อรรถ) มก. ๑๘/๔๔๕ ๒.๒ คนพาลท้ังหลายย่อมเหย่ี วแห้งเพราะเหตุ ๒ อยา่ ง คือ เพราะปรารถนาอารมณท์ ยี่ งั ไม่มาถึง และความเศร้าโศกถึงอารมณ์ท่ีล่วงไปแล้ว ดุจไม้อ้อท่ียังเขียวสด ถูกถอนทิ้งไว้ท่ีแดด ฉะน้นั . ข.ุ ชา. (โพธิ) มก. ๖๓/๑๓ ๓. โทษของความโศก ๓.๑ ความโศกยอ่ มแทงหทยั ของสตั ว์ทั้งหลาย ดุจลกู ศรอาบยาพิษ ย่อมเผาสตั วเ์ หมือนกรง เหลก็ ท่ีไฟติดแดงเผาแกลบ ฉะนั้น ความโศกยอ่ มน�ำ มาซง่ึ ความทำ�ลาย กลา่ วคือ พยาธิ ชรา และ มรณะ น�ำ มาซงึ่ ทกุ ข์มีประการตา่ งๆ ฉะนั้น ท่านจึงเรียกว่า ทุกข.์ ข.ุ ม. (อรรถ) มก. ๖๕/๑๕๖ ๓.๒ ความโศกย่อมทิ่มแทงหัวใจของสัตว์ท้ังหลาย ดุจถูกลูกศรอาบยาพิษ และย่อมแผด เผาอย่างแรงกล้าดุจหลาวเหลก็ ถูกไฟเผาสงั หารอย.ู่ ขุ.ป. (อรรถ) มก. ๖๘/๔๒๔ ๓.๓ หม้อนำ้�ท่ีแตกแล้วจะประสานให้ติดอีกไม่ได้ ฉันใด ผู้ใดเศร้าโศกถึงผู้ล่วงลับไปแล้ว ผนู้ ้ันกเ็ ปรยี บเหมือนฉันนัน้ . ข.ุ เปต. (ทั่วไป) มก. ๔๙/๑๓๐ ๓.๔ นำ�้ ตาของคนทร่ี ้องไหด้ ว้ ยราคะ โทสะ โมหะ เป็นน�้ำ ตาร้อน ส่วนน�้ำ ตาของผ้ฟู ังธรรม แลว้ ร้องไหด้ ว้ ยปีติโสมนสั เป็นน�้ำ ตาเย็น. มลิ ิน. ๑๒๑ ๓.๕ พระองคท์ รงหวน่ั ไหวด้วยความเศร้าโศก ดจุ ช้างพลายตกมันถูกไกรสรราชสหี ์จบั และ ดจุ ดวงจันทร์เขา้ ไปในปากแห่งราห.ู ข.ุ ชา. (อรรถ )มก. ๖๔/๗๒๙ www.kalyanamitra.org

315 ๔. การบรรเทา กำ�จัดความโศก ๔.๑ พึงกำ�จัดความรำ�พันเสีย บุคคลพึงดับไฟที่ไหม้ลุกลามไปด้วยนำ้� ฉันใด นรชนผู้เป็น นกั ปราชญ์มปี ัญญาเฉลียวฉลาด พึงก�ำ จดั ความเศร้าโศกท่ีเกิดขนึ้ เสยี โดยฉับพลัน เหมือนลมพดั นนุ่ ปลวิ ไป ฉนั น้นั . ขุ.สุ. (อรรถ) มก. ๔๗/๕๕๙ ๔.๒ คนฉลาดพึงดับไฟที่ไหม้เรือนด้วยนำ้� ฉันใด คนผู้เป็นนักปราชญ์ได้รับการศึกษามาดี มีปญั ญาเฉลยี วฉลาด พงึ รบี ก�ำ จดั ความโศกที่เกิดขึน้ โดยฉบั พลัน เหมือนลมพดั ปุยนุน่ ฉนั นน้ั . ข.ุ ชา. (โพธ)ิ มก. ๖๐/๗๓ ๔.๓ การท่ีพวกบณั ฑติ เป็นผู้บรรเทาความเศร้าโศกผอู้ น่ื ได้ นแ่ี หละเป็นทพ่ี ง่ึ อย่างยอดเย่ียม ของนรชน เหมือนอย่างเกาะเป็นที่พ�ำ นกั ของคนที่ตอ้ งเรอื แตกในมหาสมุทร ฉะน้นั . ขุ.ชา. (โพธ)ิ มก. ๖๒/๖๗๐ ๔.๔ เจ้าดับความกระวนกระวายทั้งปวงของเรา ผู้เร่าร้อนอยู่ให้หาย เหมือนบุคคลเอานำ้� ดบั ไฟอนั ลาดดว้ ยน�้ำ มัน ฉันนัน้ ได้ถอนข้ึนแลว้ ซง่ึ ลูกศร คอื ความโศกอนั เสยี บแลว้ ท่หี ทัย. ข.ุ เปต. (ท่ัวไป) มก. ๔๙/๗๖ ๔.๕ ความขอ้ งในปจั จัยกด็ ี ตระกลู ก็ดี วิหารก็ดี บรเิ วณกด็ ี ย่อมไมม่ ีแกบ่ ุตรของเรา บุตร ของเราไมข่ อ้ งในอะไรๆ เลย เหมอื นพระยาหงส์ร่อนลงในเปลอื กตม เทยี่ วไปในเปลือกตมนั้นแล้วก็ บนิ ไป ฉะน้นั . ข.ุ ธ. (พุทธ) มก. ๔๑/๓๗๒ ๔.๖ แมก้ ารไปมาของพระจนั ทร์ พระอาทติ ยก์ ย็ งั เหน็ กนั อยู่ รศั มขี องพระจนั ทร์ พระอาทติ ย์ กย็ ังเหน็ กันอย่ใู นวถิ ที ้ังสอง คนท่ตี ายลว่ งลบั ไปแล้ว ใครก็ไม่เหน็ เราสองคนทร่ี อ้ งไหค้ รำ่�ครวญอยู่ ในทน่ี ี้ ใครโง่กวา่ กนั . ขุ.ว.ิ (ทวั่ ไป) มก. ๔๘/๖๒๘ ๔.๗ จงถอนความเสน่หาของตนขึ้นเสียเถิด เหมือนกับถอนดอกโกมุทท่ีบานในฤดูสารท กาลดว้ ยมือของตน ฉะน้ัน. สงั .ข. (พุทธ) มก. ๔๓/๑๓๐ ๔.๘ บุคคลใดในโลกน้ี รู้สึกตัว ละของรักได้ เสพอริยธรรมแม้ด้วยความฝืนใจ เหมือนคน เป็นไข้ด่ืมโอสถ ฉะนั้น. ข.ุ ชา. (โพธิ) มก. ๖๒/๗๐๒ www.kalyanamitra.org

316 ๔.๙ เดก็ รอ้ งไหข้ อพระจันทร์ อันโคจรอยู่ในอากาศ ฉันใด การทบี่ คุ คลเศรา้ โศกถงึ ผลู้ ะโลก ไป ก็ฉันน้นั ... หม้อน้ำ�ที่แตกแล้ว เช่ือมให้สนิทอีกไม่ได้ ฉันใด การท่ีบุคคลเศร้าโศกถึงผู้ที่ละโลกไปสู่ ปรโลกแลว้ น้ี กฉ็ ันน้นั ... ขุ.ชา. (ทั่วไป) มก. ๕๘/๗๓๐ ๔.๑๐ นกรวู้ ่าตน้ ไมม้ ีผลหมดแล้ว ยอ่ มบนิ ไปสู่ตน้ อ่ืนที่เตม็ ไปดว้ ยผล ฉันใด คนก็ฉนั นั้น รู้วา่ เขาหมดความอาลยั แล้ว ก็ควรจะเลือกหาคนอ่นื ท่ีเขาสมคั รรักใคร่ เพราะว่าโลกกว้างใหญ่พอ. ขุ.ชา. (โพธ)ิ มก. ๕๘/๕๙๙ ๔.๑๑ บิดาของคฤหบดีคนหน่งึ ตายไป เขาเดนิ ไปยังเชงิ ตะกอนด้วยความเศร้าโศก บุตรของ เขาชอื่ สชุ าตะ (พระโพธิสัตว)์ ยงั เปน็ เด็ก แต่สมบรู ณด์ ้วยปญั ญา คดิ หาอุบายเครือ่ งก�ำ จัดโศก วนั หนึ่ง เห็นโคตาย จงึ นำ�หญา้ และน้ำ�ไปวางไว้ทหี่ น้าโค สหายของบดิ ามาพบ กว็ า่ เด็กน้ัน เป็นบา้ หรอื ความทราบถึงกุฎุมพี เขาคลายโศกระลกึ ถงึ บุตรว่า เป็นบ้าไปแลว้ จึงรบี มาตักเตือน สุชาตกุมารก็ตอบว่า โคตัวน้ีอวัยวะยังอยู่ครบ ข้าพเจ้าคิดว่า จะลุกขึ้นมากินหญ้าสักวัน ส่วนอวัยวะของคุณปู่ไม่ปรากฏ แต่คุณพ่อมาร้องไห้ถึงกระดูกที่บรรจุไว้ในสถูปดิน จะไม่เป็นคนโง่ ไปหรอื บิดาได้ฟงั จงึ คลายความโศก. ขุ.เปต. (โพธิ) มก. ๔๙/๗๖ ๕. ผไู้ มเ่ ศรา้ โศก ๕.๑ โภคสมบตั ทิ ง้ั หลายยอ่ มละทง้ิ สตั วไ์ ปกอ่ นบา้ ง สตั วย์ อ่ มละทง้ิ โภคสมบตั เิ หลา่ นน้ั ไปกอ่ น บา้ ง ดกู อ่ นโจรผใู้ ครใ่ นกาม พวกชนเปน็ ผมู้ โี ภคสมบตั อิ นั ไมเ่ ทย่ี ง เพราะฉะนน้ั เราจงึ ไมเ่ ศรา้ โศก ดวงจันทร์เต็มดวงย่อมเสื่อมสิ้นไป ดวงอาทิตย์อัสดงคตแล้วย่อมจากไป ดูก่อน โลกธรรม ท้งั หลาย เรารแู้ ลว้ เพราะฉะนั้นเราจึงไมเ่ ศรา้ โศก. ขุ.ม. (อรรถ) มก. ๖๕/๖๑๑ ๕.๒ บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกท้ังปวง ย่อมไม่เศร้า โศกในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนท่ีถกู ไฟไหม้ ฉะนัน้ . ข.ุ เถร. (เถระ) มก. ๕๓/๒ ๕.๓ ความคร�ำ่ ครวญ และความหวงแหนมไิ ดต้ ิดในมนุ ีนั้น เหมือนน�้ำ ไม่ติดในใบบวั ฉะน้ัน. ข.ุ ม. (อรรถ) มก. ๖๕/๖๒๗ www.kalyanamitra.org

317 ๕.๔ หม่อมฉันปราศจากความรักในพระองคแ์ ลว้ ความรักน้ันประสานกันอีกไม่ได้ ดจุ งาช้าง อนั ตดั ขาดแล้วด้วยเล่ือย ฉะน้ัน. ขุ.ชา. (ทว่ั ไป) มก. ๕๗/๔๔๖ ๕.๕ ฝูงนกถือเอาเหยอ่ื ของตนในเปอื กตมอนั บรบิ รู ณ์แลว้ ไป ไม่ทำ�ความหว่ งในทน่ี ้นั วา่ น้ำ� ของเรา ดอกปทุมของเรา ดอกอบุ ลของเรา ดอกบุณฑริกของเรา หญา้ ของเรา หาความเสยี ดาย มไิ ด้เทยี ว ละประเทศนัน้ บินเลน่ ไปในอากาศ ฉันใด พระขีณาสพทัง้ หลายทง้ั หลาย ก็ฉนั นัน้ แมอ้ ยู่ในทีใ่ ดทีห่ นง่ึ ไม่ข้องในสกลุ แม้ในคราวไปก็ ละที่นั้นไป หาความห่วงหาความเสียดายว่า วิหารของเรา บริเวณของเรา อุปัฏฐากของเรามิได้ ฉันนน้ั . ขุ.ธ. (พทุ ธ) มก. ๔๑/๓๗๓ ๕.๖ เราตถาคตไมค่ �ำ นึงถงึ ความตาย ไมค่ �ำ นงึ ถงึ ชวี ิต มงุ่ แต่กาลกริ ิยา (ดับขันธปรินพิ พาน) อยา่ งเดยี ว เหมอื นลกู จา้ งม่งุ แตค่ ่าจ้างเทา่ นั้น. ข.ุ อิติ. (พุทธ) มก. ๔๕/๔๗๗ ๕.๗ แผน่ ดนิ ย่อมเปน็ ที่อาศยั ของสตั ว์ทงั้ หลาย แตแ่ ผ่นดนิ ไมไ่ ดม้ ีความเย่ือใยว่า สตั ว์เหล่า นี้เป็นของเรา ฉันใด พระตถาคตเจ้าก็เป็นท่ีพึ่งอาศัยของสัตว์ท้ังปวง แต่ไม่ทรงห่วงใยว่า สัตว์ ท้งั หลายเปน็ ของเรา ฉนั นน้ั . มิลนิ . ๒๓๒ ๕.๘ เมฆใหญท่ ่ตี กลงมา ย่อมใหค้ วามเจริญแกห่ ญา้ ตน้ ไม้ สัตวเ์ ล้ียง และมนุษย์ทงั้ หลาย ยอ่ มเล้ียงรักษาสตั ว์ท้ังปวงไว้ สตั ว์ทงั้ ปวงก็มีชีวติ อยู่ได้เพราะน�ำ้ ฝน แต่วา่ นำ�้ ฝนไม่ไดถ้ ือว่า สัตว์ ทัง้ ปวงเปน็ ของเรา ฉนั ใด พระตถาคตเจ้าก็ทรงทำ�ให้เกิดกุศลธรรมแก่สัตว์ทั้งปวง ทรงรักษาสัตว์ทั้งปวงไว้ด้วยศีล สัตว์ท้ังปวงท่ีเล่ือมใสก็ได้อาศัยพระพุทธเจ้า แต่พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงห่วงใยว่า สัตว์ทั้งปวงเป็น ของเรา ฉนั น้ัน. มิลนิ . ๒๓๒ ๕.๙ ธรรมดาชา้ งย่อมไม่นอนประจ�ำ อยใู่ นท่ีแห่งเดียว เที่ยวหากนิ ในท่ใี ด ไมพ่ ักนอนในทน่ี น้ั ฉนั ใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ไม่ควรนอนประจ�ำ คือ ไม่ควรห่วงใยในทีเ่ ท่ยี วบณิ ฑบาต ถ้าได้เห็น ท่ีชอบใจ คอื ปะร�ำ โคนตน้ ไม้ ถำ้� เงอื้ มเขา ก็ควรเข้าพกั อยู่ในที่นนั้ แลว้ ไม่ควรห่วงใยในทนี่ ั้น. มิลนิ . ๔๔๘ www.kalyanamitra.org

318 ๕.๑๐ ธรรมดาอากาศย่อมไม่ติด ไม่ข้อง ไม่ต้ัง ไม่พัวพันอยู่ในส่ิงใด ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภ ความเพียรก็ไม่ควรข้อง ไม่ควรยึดติด ไม่ควรต้ังอยู่ ไม่ควรผูกพันอยู่ในตระกูล หมู่คณะ ลาภ อาวาส เครื่องกังวล ปจั จยั และกิเลสทัง้ ปวง ฉนั นั้น ข้อน้ีสมกับที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสอนพระราหุลไว้ว่า ดูก่อนราหุล อากาศย่อมไม่ต้ัง อย่ใู นทีใ่ ดได้ ฉันใด เธอจงอบรมจิตใจให้เสมอกบั อากาศ ฉันนนั้ เพราะเมอื่ เธออบรมจิตใจให้เสมอ กับอากาศได้แลว้ ผสั สะอันเป็นทพ่ี อใจ และไม่พอใจ ยอ่ มไม่ครอบง�ำ จติ ใจได้. มิลนิ . ๔๔๐ ๕.๑๑ ธรรมดาพายุย่อมพดั เรื่อยไป ไมห่ ว่ งใยเสียดายสง่ิ ใด ฉนั ใด ภิกษุผปู้ รารภความเพยี ร ก็ไม่ควรห่วงใยตอ่ ส่งิ ทั้งปวง ฉันน้นั . มิลนิ . ๔๓๘ www.kalyanamitra.org

319 www.kalyanamitra.org

๓๗ม ง ค ล ที่ จิตปราศจากธุลี เมือ่ น�ำ้ ไม่ขนุ่ มัว ใสบรสิ ุทธ์ิ บุคคลยอ่ มแลเหน็ หอยกาบ หอยโข่ง กรวด ทราย และฝูงปลา ฉันใด เมื่อจิตไมข่ นุ่ มัว บุคคลก็ย่อมเห็นประโยชน์ตน และประโยชนผ์ ู้อ่ืน ฉนั นั้น www.kalyanamitra.org

321 ๑. จิตปราศจากธลุ ี ๑.๑ เมอ่ื น�้ำ ขนุ่ มวั ไมใ่ ส บคุ คลย่อมไม่แลเหน็ หอยกาบ หอยโขง่ กรวด ทราย และฝงู ปลา ฉนั ใด เมื่อจิตขุน่ มวั บุคคลกย็ ่อมไมเ่ ห็นประโยชนผ์ อู้ น่ื ฉันนนั้ เม่ือน�้ำ ไมข่ นุ่ มัวใสบริสุทธ์ิ บคุ คลยอ่ มแลเหน็ หอยกาบ หอยโข่ง กรวด ทราย และฝงู ปลา ฉนั ใด เมือ่ จติ ไมข่ ุน่ มัว บคุ คลก็ยอ่ มเห็นประโยชน์ตน และประโยชน์ผูอ้ ืน่ ฉนั น้ัน. ข.ุ ชา. (พุทธ) มก. ๕๗/๑๙๖ ๑.๒ ธรรมดาราชสีหย์ อ่ มมกี ายขาวบรสิ ทุ ธ์ิ ฉนั ใด ภกิ ษผุ ้ปู รารภความเพียรก็ควรใหจ้ ติ ขาว บริสทุ ธิ์ ปราศจากความร�ำ คาญ ฉันนนั้ . มิลิน. ๔๔๙ ๑.๓ ธรรมดาพระขีณาสพทั้งหลายย่อมไม่โกรธ ไม่ประทุษร้าย ไม่สะเทือน ไม่หว่ันไหว เปน็ เชน่ ศลิ าแท่งทบึ ท่ีไม่สะเทือนดว้ ยแรงลม. ข.ุ ธ. (พุทธ) มก. ๔๑/๓๔๑ ๒. โทษของกเิ ลส ๒.๑ สังโยชน์เหล่าน้ันผู้ใดยังละไม่ได้ แม้ผู้นั้นจะบังเกิดขึ้นในภวัคคพรหมก็จริง ถึงกระน้ัน www.kalyanamitra.org

322 เขาก็ย่อมบังเกิดในกามาวจรอีกเพราะส้ินอายุ บุคคลน้ีมีอุปมาเสมอด้วยปลาติดเบ็ด อุปมาเหมือน นกถกู ด้ายยางผกู ตดิ ไวท้ ่ีขา ฉะน้ัน. ม.ม.ู (อรรถ) มก. ๑๗/๔๒๙ ๒.๒ เน้ือหรอื สกุ รท่ีถูกคล้องบว่ งไวไ้ ม่รู้อบุ ายจะแก้บว่ ง ดนิ้ ไปๆ มาๆ กระตุกบว่ งน้นั ยอ่ ม ทำ�ตรงที่ผกู รัดให้แน่นเข้า ฉนั ใด เรากฉ็ ันนัน้ เมอ่ื กอ่ นถูกบว่ งกิเลสสวมไว้ ไม่รอู้ ุบายท่ีจะแก้ ดนิ้ รน ไปด้วยอำ�นาจทางกายแก้บ่วง คือ กิเลสน้ันไม่ได้ กระทำ�มันให้แน่นเข้า ย่อมถึงกิเลสตัวอ่ืนอีก เพราะทกุ ข์มคี วามโศก เป็นต้น. ขุ.เถร. (อรรถ) มก. ๕๓/๔๕ ๒.๓ เหล่ากิเลสย่อมย่ำ�ยีนรชนนั้น ทุกข์ย่อมติดตามนรชนน้ันไป เหมือนน้ำ�ไหลเข้าสู่เรือท่ี แตกแล้ว ฉะน้ัน. ขุ.ม. (อรรถ) มก. ๔๖/๒๒๑ ๒.๔ กิเลสเหล่านน้ั เจรญิ งอกงามขนึ้ ยอ่ มครอบงำ�คนเปน็ อันมากไว้ในอ�ำ นาจ ดงั จะเลน่ กับ พวกคนพาล เหมอื นปิศาจเข้าสิงท�ำ คนใหเ้ ป็นบ้าเพ้อคล่งั อยู่ ฉะนัน้ . ข.ุ เถร. (เถระ) มก. ๕๓/๑๘๑ ๒.๕ ไฟเสมอด้วยราคะย่อมไม่มี โทษเสมอด้วยโทสะย่อมไม่มี ทุกข์ทั้งหลายเสมอด้วยขันธ์ ย่อมไม่มี สขุ อ่ืนจากความสงบย่อมไม่มี. ขุ.ธ. (พุทธ) มก. ๔๒/๓๗๒ ๒.๖ กิเลสเกิดขึ้นแม้คราวเดียวด้วยอำ�นาจตัณหา และโลภะ ย่อมแก้หลุดได้ยาก เหมือน เตา่ หลุดจากที่ผูกไดย้ าก. ขุ.ชา. (อรรถ) มก. ๕๗/๒๗๙ ๒.๗ โลภะ โทสะ และโมหะ เกิดขน้ึ ในตน ย่อมก�ำ จัดบรุ ษุ ผมู้ จี ติ ลามก เหมือนขยุ ไผก่ ำ�จัด ไม้ไผ่ ฉะนัน้ . ข.ุ ม. (พุทธ) มก. ๖๖/๓๑๑ ๒.๘ บุคคลเห็นแก่โลกามิส ชอบประพฤติตามอำ�นาจของจิต เขาย่อมเดือดร้อนอยู่ใน ทา่ มกลางหมู่ญาติ และสหาย ดุจจระเขผ้ ้ตู ดิ ตามปลาไปถกู แทง ฉะนนั้ . ข.ุ ชา. (พุทธ) มก. ๕๗/๔๔๐ ๒.๙ แมลงวนั คอื มิจฉาวติ ก ย่อมจะกัดกินผู้ทล่ี ะความสงบสงัดเทย่ี วไป. ข.ุ ชา. (ทว่ั ไป) มก. ๕๕/๑๖ www.kalyanamitra.org

323 ๒.๑๐ ความติดใจยอ่ มจบั อารมณไ์ มอ่ ยากจะปล่อย เหมือนปลงิ เกาะ. ท.ี ส.ี (อรรถ) มก. ๑๑/๒๖๒ ๒.๑๑ ผู้แวดล้อมเกล่ือนกล่นด้วยอกุศลวิตก เหมือนต้นไม้ถูกล้อมด้วยเชิงเถาวัลย์ และ เหมือนรวงผ้งึ แวดล้อมด้วยตวั ผึง้ ฉะน้ัน. ขุ.อุ. (เถระ) มก. ๔๔/๓๘๔ ๒.๑๒ สตั ว์เปน็ อนั มากเกิดแลว้ ในโลก ยอ่ มงอกงามไมอ่ ม่ิ ดว้ ยราคะ และโทสะ เหมือนดอก โกมุทในเปอื กตม ฉะนนั้ . ข.ุ เถร. (เถระ) มก. ๕๓/๒๖๒ ๒.๑๓ จติ นีย้ ่อมดนิ้ รนเหมอื นปลา อนั พรานเบด็ ยกขึน้ จากน้ำ�. องั .เอกก. (พุทธ) มก. ๓๒/๔๕๒ ๓. การกำ�จัดกเิ ลส ๓.๑ ธรรมดาดวงอาทิตย์ย่อมทำ�ให้พืชทั้งปวงเหี่ยวแห้ง ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ ควรทำ�กเิ ลสทงั้ ปวงใหแ้ ห้งลง ฉันนนั้ . มลิ นิ . ๔๔๑ ๓.๒ ธรรมดาดวงอาทิตย์ย่อมกำ�จัดความมืด ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็พึงกำ�จัด ความมืดทงั้ ปวง คือ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ กเิ ลส ทจุ ริต ฉนั นั้น. มลิ นิ . ๔๔๑ ๓.๓ ชนเหล่าใดปราศจากความกำ�หนัด มีอินทรีย์ต้ังมั่นดีแล้ว พ้นจากการจับแห่งกิเลส เปล่งปลัง่ อยู่ เหมือนพระจนั ทร์พ้นแลว้ จากราหูจบั สว่างไสวอยู่ ฉะนนั้ . ขุ.ส.ุ (พทุ ธ) มก. ๔๗/๔๕๗ ๓.๔ ธรรมดาไฟย่อมไม่มีความปราณีต่อส่ิงใด ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ไม่ควร ปราณีต่อกิเลสทั้งปวง ฉันนน้ั . มลิ ิน. ๔๓๗ ๓.๕ ธรรมดาภูเขาศิลาย่อมไม่มีพืชพันธุ์งอกข้ึนได้ ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ไม่ ปล่อยให้กิเลสงอกข้นึ ในใจของตนได้ ฉันนน้ั . มิลนิ . ๔๓๙ ๓.๖ ธรรมดาภูเขาย่อมเป็นของแข็ง ไม่เจือปนกับส่ิงใด ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียร ควรมใี จเขม้ แข็งในสง่ิ ท้ังปวง ไมค่ ลกุ คลกี บั กเิ ลสใดๆ ฉนั นน้ั . มิลิน. ๔๓๘ www.kalyanamitra.org

324 ๓.๗ ภิกษุผู้ดุจภูเขา ย่อมไม่หว่ันไหวเพราะความส้ินโมหะ เหมือนภูเขาหินไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่ด้วยดี ฉะนน้ั . ข.ุ อุ. (พุทธ) มก. ๔๔/๓๒๓ ๓.๘ ธรรมดาป่าย่อมเป็นสถานท่ีอันบริสุทธิ์ ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ควรเป็น ผู้บริสุทธ์ิ ฉันนัน้ . มิลิน. ๔๕๖ ๓.๙ ธรรมดาป่าย่อมเป็นท่ีว่างเปล่าจากผู้คน ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ควรเป็น ผูว้ า่ งจากกิเลส ฉันนน้ั . มิลิน. ๔๕๖ ๓.๑๐ ภกิ ษใุ ดเสมอดว้ ยแผ่นดนิ เปรียบดว้ ยเสาเขอ่ื น คงท่ี มีวตั รดี มีกิเลสดงั เปอื กตมไป ปราศแล้ว เหมอื นหว้ งนำ้�ปราศจากเปอื กตม ยอ่ มไม่ยินดี ยนิ ร้าย สงสารทัง้ หลายยอ่ มไมม่ แี ก่ภิกษุ ผ้คู งท่ีนัน้ . ข.ุ ธ. (พุทธ) มก. ๔๑/๓๘๗ ๓.๑๑ ธรรมดาพายุย่อมพัดหมู่ไม้ให้พินาศ ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ควรพิจารณา สังขารในปา่ ขยก้ี เิ ลสท้งั หลายให้แหลกราน ฉันน้ัน. มลิ นิ . ๔๓๘ ๓.๑๒ ธรรมดาเมฆย่อมระงับละอองเหง่ือไคลซง่ึ เกดิ แล้ว ฉนั ใด ภกิ ษผุ ู้ปรารภความเพียรก็ ควรระงบั เหง่ือไคล คอื กเิ ลส ฉันน้นั . มิลนิ . ๔๕๗ ๓.๑๓ ธรรมดาอากาศย่อมไมม่ ีใครจับตอ้ งได้ ฉันใด ภิกษผุ ปู้ รารภความเพียรกไ็ ม่ควรปล่อย ใหก้ ิเลสยดึ จบั ฉันนัน้ . มิลิน. ๔๓๙ ๓.๑๔ บุคคลผู้สงบ งดเว้นจากการท�ำ ความชั่ว พูดด้วยปัญญา ไม่ฟุ้งซ่าน ย่อมก�ำ จัดบาป ธรรมทงั้ หลาย เหมือนลมพดั ใบไมร้ ่วงหล่นไป ฉะนัน้ . ขุ.เถร. (เถระ) มก. ๕๐/๕๔ ๓.๑๕ เราแสวงหาช่างผู้ทำ�เรือน เม่ือไม่ประสบจึงได้ท่องเท่ียวไปสู่สงสาร มีชาติเป็นอเนก ความเกิดบ่อยๆเป็นทุกข์ แน่ะนายช่างผู้ทำ�เรือน เราพบท่านแล้ว ท่านจะทำ�เรือนอีกไม่ได้ ซี่โครง ทุกซี่ของท่านเราหักเสียแล้ว ยอดเรือนเราก็ร้ือเสียแล้ว จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุง แตง่ แลว้ เพราะเราบรรลธุ รรมเปน็ ท่สี ้ินตัณหาแลว้ . ขุ.ธ. (พทุ ธ) มก. ๔๒/๑๔๒ www.kalyanamitra.org

325 ๓.๑๖ จงตัดความสงสัยลังเลใจให้ขาดไปในวันน้ี เหมือนช่างทำ�งาช้างตัดงาช้างให้ขาดไป ดว้ ยเลอื่ ยอนั คม ฉะนน้ั . ขุ.ชา. (ทว่ั ไป) มก. ๖๔/๓๖๑ ๓.๑๗ ธรรมดาเครอื่ งขดั ข้องแหง่ เรือ ย่อมขัดข้องเรอื ไวใ้ นมหาสมุทรอนั กวา้ งใหญ่ อันเต็ม ไปด้วยคล่ืนระลอก ไม่ให้ไปสู่ทิศไหนได้ ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็มีจิตไม่กระทบในลูกคล่ืน คือ ราคะ โทสะ โมหะอนั เป็นวติ กใหญ่ทจี่ ะท�ำ ให้ไม่อาจออกสูท่ ิศทางใดได้ ฉนั นั้น. มิลนิ . ๔๓๑ ๓.๑๘ บุคคลไม่สะดุ้งในธรรมมีความไม่เที่ยง เหมือนราชสีห์ไม่สะดุ้งในเสียง เหมือนลมไม่ ข้องอยู่ในขา่ ย ไมต่ ิดอยดู่ ว้ ยความยินดี และความโลภ เหมือนดอกปทุมไมต่ ิดอยดู่ ้วยน�ำ้ ฉะน้ัน. ข.ุ ส.ุ (พทุ ธ) มก. ๔๖/๑๐๒ ๓.๑๙ ธรรมดาเน้ือในป่าย่อมรู้จักหลบหลีกลูกศร ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภควาเพียรก็ควรรู้จัก หลบหลีกกิเลส ฉนั นนั้ . มิลนิ . ๔๔๖ ๓.๒๐ ธรรมดาเต่าเม่ือโผล่ข้ึนจากน้ำ� ย่อมชูศีรษะมองดูสิ่งหนึ่งส่ิงใดแล้วจึงจมลงไปให้ลึก ด้วยคิดว่า อย่าใหม้ ีผู้อน่ื เหน็ เรา ฉนั ใด ภิกษุผ้ปู รารภความเพยี รก็ฉนั นั้น คอื เมอ่ื เกิดกเิ ลสขึ้นแล้ว กพ็ งึ ด�ำ ลงไปในสระนำ�้ คอื วางใจให้กลับลกึ เข้าขา้ งใน ด้วยคิดวา่ อยา่ ให้กิเลสเหน็ เราอกี เลย. มิลิน. ๔๒๖ ๓.๒๑ ตัวหนอนท้ังหลายย่อมไม่อยู่ในยาดับพิษ ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ไม่ควรให้ กเิ ลสอยู่ในใจ ฉันนนั้ . มิลนิ . ๔๖๓ ๓.๒๒ ธรรมดายาดับพิษย่อมกำ�จัดพิษท้ังปวงอันเกิดจากการถูกกัด สัมผัส หรือพบเห็น กิน ด่ืม เคี้ยว ลิ้มลอง ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ควรกำ�จัดพิษ คือ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทฏิ ฐิ ฉันน้นั . มิลิน. ๔๖๓ ๓.๒๓ ธรรมดาร่มย่อมอยู่เหนือศีรษะ ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ควรอยู่เหนือกิเลส ฉนั น้นั . มิลนิ . ๔๖๑ ๓.๒๔ ธรรมดาร่มย่อมกันลม แดด เมฆ ฝน ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ควรก�ำ จัด ลัทธิของสมณพราหมณ์ และควรก�ำ จัดเคร่ืองรอ้ น คือ ไฟ ๓ กอง ก�ำ จดั ฝน คือ กเิ ลส ฉันนั้น www.kalyanamitra.org

326 ข้อนี้สมกับคำ�ของพระสารีบุตรเถรเจ้าว่า ร่มใหญ่อันไม่ขาด ไม่ทะลุ แน่นหนา แข็งแรง ยอ่ มกนั ลม กันแดดฝนห่าใหญ่ได้ ฉันใด พระพุทธเจ้าผกู้ ั้นรม่ คอื ศลี ผ้บู ริสุทธ์กิ ็กันฝน คือ กเิ ลส กันไฟ ๓ กอง อันทำ�ให้เรา่ ร้อนได้ ฉันนนั้ . มลิ นิ . ๔๖๒ ๓.๒๕ ภิกษุท้ังหลาย พวกเธอจงปลดเปล้ืองราคะ และโทสะเสีย เหมือนมะลิเครือปล่อย ดอกทัง้ หลายที่เห่ยี วเสยี ฉะน้ัน. ขุ.ธ. (พทุ ธ) มก. ๔๓/๓๓๙ ๓.๒๖ ธรรมดาไฟย่อมเผาหญา้ ไม้ กิง่ ไม้ ใบไม้ ฉันใด ภิกษุผปู้ รารภความเพยี รก็ควรเผา กเิ ลสท้ังภายนอก ภายใน ดว้ ยไฟ คือ ญาณ ฉันนั้น. มิลิน. ๔๓๗ ๓.๒๗ พระบรมศาสดาตรัสแก่ภิกษุว่า หากไม่เป็นผู้ฉลาดในวาระจิตของผู้อื่นไซร้ ก็ควร เป็นผู้ฉลาดในวาระจิตของตนเอง เปรียบเหมือนสตรีหรือบุรุษท่ีเป็นหนุ่มสาว มีปกติชอบแต่งตัว ย่อมส่องเงาหน้าของตนในกระจกคันฉ่องอันบริสุทธ์ิ หรือในภาชนะน้ำ�อันใส ถ้าเห็นธุลีหรือจุดดำ� ก็พงึ ขจัดออกเสีย ภิกษผุ ู้ฉลาด ย่อมก�ำ จัดสงิ่ ท่ที ำ�ให้ใจขนุ่ มวั เศร้าหมอง รุม่ ร้อนออกจากตวั เหมอื นบุคคลผู้มี ผา้ อนั ไฟไหมห้ รือมีศรี ษะอันไฟไหม้ พงึ ท�ำ ความพยายามความอุตสาหะ ความขะมักเขมน้ ในการดับ ไฟน้ัน ฉันใด ภิกษุก็ควรท�ำ ความพยายามความอุตสาหะในการละอกุศลธรรม และตัง้ อยู่ในธรรมท่ี เป็นกุศล ฉันนัน้ . อัง.ทสก. (พุทธ) มก. ๓๘/๑๖๘ ๔. นวิ รณ์ ๕ ๔.๑ ภกิ ษุพิจารณาเห็นนวิ รณ์ ๕ ประการเหล่านี้ ท่ียังละไม่ได้ในตนเหมอื นหนี้ เหมอื นโรค เหมือนเรือนจำ� เหมือนความเป็นทาส เหมือนทางไกลกันดาร และเธอพิจารณาเห็นนิวรณ์ ๕ ประการทีล่ ะได้แลว้ ในตน เหมือนความไม่เปน็ หนี้ เหมือนความไมม่ ีโรค เหมือนการพ้นจากเรอื นจ�ำ เหมอื นความเปน็ ไทแกต่ น เหมือนสถานทปี่ ลอดภยั ฉันนน้ั . ที.สี. (เถระ) มก. ๑๒/๒๑๑ ๔.๒ นิวรณ์ ๕ ย่อมครอบงำ�ยึดเอาผู้ท่ีเกียจคร้าน กินจุ เหมือนสุนัขดุข่มเหงโคแก่ตัวเขา ขาด ฉะนน้ั . สัง.สฬา. (อรรถ) มก. ๒๘/๔๑๙ www.kalyanamitra.org

327 ๔.๒ เปรียบเหมือนคนกู้หนี้มาลงทุนจนประสบผลสำ�เร็จ ใช้หน้ีเก่าท่ีเป็นต้นทุนจนหมด เก็บกำ�ไรท่ีเหลือไว้เป็นค่าเลี้ยงดูบุตรภรรยา เขาคิดว่า เม่ือก่อนเรากู้หน้ีมาลงทุน การงานสำ�เร็จ ผลดี ได้ใช้หนี้เก่าท่ียืมมาลงทุนหมดแล้ว กำ�ไรก็ยังมีเหลือไว้เป็นค่าเล้ียงดูบุตรและภรรยา เพราะ ความไม่มหี น้สี ินเปน็ เหตุ เขาจึงไดร้ ับความเบิกบานใจ และความสขุ ใจ เปรียบเหมือนคนไข้อาการหนัก บริโภคอาหารไม่ได้ ไม่มีกำ�ลัง ต่อมาหายป่วย บริโภค อาหารได้ กลบั มีก�ำ ลงั เขาคดิ ว่า เมอื่ ก่อนเราปว่ ยอาการหนกั บรโิ ภคอาหารไมไ่ ด้ ไมม่ ีก�ำ ลัง เวลาน้ี หายป่วย บริโภคอาหารได้ มีกำ�ลังเป็นปกติ เพราะการหายจากโรคเป็นเหตุ เขาจึงได้รับความ เบกิ บานใจ และความสขุ ใจ เปรียบเหมือนคนต้องโทษถูกคุมขังในเรือนจำ� ต่อมา พ้นโทษออกจากเรือนจำ�โดยสวัสดิ ภาพ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ เขาคิดว่า เม่ือก่อนเราต้องโทษถูกคุมขังในเรือนจำ� เวลาน้ีพ้นโทษ ออกจากเรือนจำ�โดยสวัสดิภาพ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ เพราะการพ้นจากเรือนจำ�เป็นเหตุ เขาจงึ ไดร้ บั ความเบิกบานใจ และความสขุ เปรียบเหมือนคนท่ีตกเป็นทาส พึ่งตัวเองไม่ได้ ต้องพึ่งผู้อื่น จะไปไหนตามใจชอบไม่ได้ ต่อมา พ้นจากความเป็นทาส พึ่งตัวเองได้ ไม่ต้องพึ่งผู้อ่ืน เป็นไทแก่ตัวเอง จะไปไหนก็ได้ตามใจ ชอบ เขาคิดว่า เม่ือก่อนเราเป็นทาส พึ่งตัวเองไม่ได้ ต้องพ่ึงผู้อื่น จะไปไหนตามใจชอบก็ไม่ได้ เวลาน้ีพ้นจากความเป็นทาส พ่ึงตัวเองได้ ไม่ต้องพ่ึงผู้อื่น เป็นไทแก่ตัวเอง จะไปไหนก็ได้ตามใจ ชอบ เพราะความเปน็ ไทแก่ตัวเองเป็นเหตุ เขาจึงไดร้ ับความเบกิ บานใจ และความสขุ ใจ เปรียบเหมือนคนมีทรัพย์สมบัติ เดินทางไกลกันดาร หาอาหารได้ยาก มีภัยเฉพาะหน้า ตอ่ มา ข้ามพ้นทางกันดาร ถึงหมูบ่ า้ นอนั สงบร่มเยน็ ปลอดภยั โดยสวสั ดภิ าพ เขาคิดว่า เมอ่ื กอ่ น เรามีสมบัติ เดนิ ทางไกลกนั ดาร หาอาหารโดยยาก มีภยั เฉพาะหน้า เวลานี้ขา้ มพ้นทางกันดารถึง หมบู่ า้ นอนั สงบร่มเยน็ ปลอดภัยโดยสวัสดภิ าพ เพราะการพบภูมสิ ถานอันรม่ เย็นเปน็ เหตุ เขาจึงได้ รบั ความเบกิ บานใจ และความสขุ ใจ. ท.ี ปา. (พุทธ) มก. ๑๖/๒๐๐ ๕. ความโลภ ๕.๑ ข้าแต่พระราชา พวกเราก็ดี ชนเหล่าอื่นท่ีโลภจัดก็ดี จะต้องละท้ิงของมากเพราะ ของน้อย เหมอื นลงิ เส่อื มจากถว่ั ท้งั หมด เพราะถั่วเมล็ดเดียวแท้ๆ. ขุ.ชา. (โพธ)ิ มก. ๕๗/๑๔๙ www.kalyanamitra.org

328 ๖. ความโกรธ ๖.๑ ประเภทของคนโกรธ ๖.๑.๑ บุคคลเปรียบด้วยอสรพิษ (สัตว์มีพิษที่เข้ียว) ๔ จำ�พวกนี้ มีปรากฏอยู่ในโลก ๔ จ�ำ พวกเปน็ ไฉน คือ บุคคลดจุ อสรพิษ มีพิษแล่น พิษไมร่ ้าย คอื คนที่โกรธเนืองๆ แต่ความโกรธอยู่ ไมน่ าน ๑ มพี ษิ ร้าย พษิ ไมแ่ ล่น คือ คนที่ไม่โกรธเนืองๆ แตค่ วามโกรธอยนู่ าน ๑ มพี ิษแลน่ พษิ ร้าย คือ คนท่ีโกรธเนืองๆ และความโกรธอยู่นาน ๑ มีพิษไม่แล่น พิษไม่ร้าย คือ คนท่ีไม่โกรธเนืองๆ และความโกรธอย่ไู ม่นาน ๑. องั .จตุกก. (พทุ ธ) มก. ๓๕/๒๙๖ ๖.๑.๒ คนโกรธ ๓ จำ�พวก เหมอื นรอยขีดในหิน รอยขดี ในดนิ รอยขดี ในนำ้�. อัง.ตกิ . (พุทธ) มก. ๓๔/๕๖๘ ๖.๒ โทษของความโกรธ ความพยาบาท ๖.๒.๑ ความโกรธเป็นเคร่ืองปรากฏของคน ดุจธงเป็นเครื่องปรากฏของรถ ดุจควันเป็น เครอ่ื งปรากฏของไฟ. ขุ.ส.ุ (อรรถ) มก. ๔๖/๓๑๙ ๖.๒.๒ ภาชนะใส่นำ้�ซึ่งร้อนเพราะไฟเดือดพล่าน มีไอพลุ่งข้ึน บุรุษผู้มีจักษุ เมื่อมองดูเงา หน้าของตนในน้ำ�นน้ั ไม่พงึ รู้ ไม่พึงเห็นตามความเปน็ จริง ฉันใด ฉนั น้ันเหมือนกัน สมยั ใด บคุ คลมี ใจฟุ้งซ่านด้วยพยาบาท อันพยาบาทเหนี่ยวรั้งไป และย่อมไม่รู้ ไม่เห็นอุบายเป็นเครื่องสลัดออก ซึง่ พยาบาททบี่ ังเกดิ ขึน้ แลว้ ตามความเป็นจรงิ . สัง.ม. (พุทธ) มก. ๓๐/๓๒๒ ๖.๒.๓ คนโกรธย่อมไม่รู้อรรถไม่เห็นธรรม ความโกรธย่อมครอบงำ�นรชนในขณะใด ความ มดื ตื้อยอ่ มมใี นขณะนั้น คนผู้โกรธย่อมก่อกรรมทท่ี ำ�ได้ยากเหมือนท�ำ ได้งา่ ย. อัง.สตั ตก. (พทุ ธ) มก. ๓๗/๒๐๖ ๖.๒.๔ ความโกรธย่อมเจริญแก่ผู้ใด เหมือนไฟท่ีไหม้หญ้าและไม้ ยศของผู้นั้นย่อมเส่ือม เหมอื นดวงจันทร์ในวนั ข้างแรม ฉะน้ัน. ขุ.จรยิ า. (โพธ)ิ มก. ๗๔/๒๘๗ ๖.๒.๕ การโกรธผอู้ ื่น เป็นเช่นเดยี วกบั ผู้ปรารถนาจะจบั ถา่ นไฟทค่ี ุโชน หรอื ซเี่ หลก็ อนั รอ้ น จัด หรอื อจุ จาระประหารผูอ้ น่ื ฉะนน้ั ความโกรธน้นั จักตกลงบนกระหมอ่ มของเขานั่นเอง เหมอื น ประหารผ้ไู ม่ประหารตอบ เหมือนนำ�ธุลีซัดไปในทท่ี วนลม. ท.ี ม. (พทุ ธ) มก. ๑๔/๓๒๐ www.kalyanamitra.org

329 ๖.๒.๖ ภิกษุรูปโน้นเป็นคนโกรธง่าย มากไปด้วยความคับแค้นใจ เท่ียวทำ�เสียงเอะอะ เหมอื นเกลอื ที่เขาใสใ่ นเตาไฟ. ขุ.ชา. (อรรถ) มก. ๕๘/๑๓ ๖.๒.๗ บุคคลบางคนในโลกน้ี เป็นคนข้ีโกรธ มีความแค้นมาก ถูกเขาว่าหน่อยก็ขัดเคือง ขึง้ เครยี ด เง้างอด ท�ำ ความก�ำ เรบิ ความร้าย และความเดอื ดดาลใหป้ รากฏ เหมือนอยา่ งแผลร้าย ถูกไม้หรอื กระเบอื้ งเขา้ ก็ยงิ่ มหี นองไหล ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ เปน็ คนข้ีโกรธ มคี วามแค้น มาก ถกู เขาวา่ หน่อยก็ขัดเคอื ง ขึง้ เครียด เง้างอด ท�ำ ความก�ำ เรบิ ความรา้ ย และความเดอื ดดาล ใหป้ รากฏ ฉันนั้น น่เี ราเรยี กว่า บุคคลผูม้ ีจิตเหมอื นแผล. องั .ตกิ . (พุทธ) มก. ๓๔/๘๑ ๖.๒.๘ บุคคลผูม้ ีจิตเหมอื นแผล คอื คนมักโกรธ ถกู เขาวา่ เพียงเลก็ นอ้ ยก็โกรธ. องั .ติก. ปคุ คลวรรค มก. ๓๔/๘๑ ๖.๓ การก�ำ จดั ความโกรธ ๖.๓.๑ บุคคลใดข่มความโกรธท่ีเกิดขึ้นแล้วได้ เหมือนกับสารถีหยุดรถซึ่งกำ�ลังแล่นอยู่ได้ เราตถาคตเรยี กบุคคลนนั้ ว่า เป็นสารถี ชนนอกจากนีเ้ ป็นแตค่ นถือบังเหียน. ว.ิ มหา. (พุทธ) มก. ๔/๒๗๑ ๖.๓.๒ ผใู้ ดพงึ ยบั ยงั้ ความโกรธทบ่ี ังเกดิ ข้ึนไว้ได้ ผนู้ น้ั ก็ดจุ บุคคลหยดุ รถท่ีไปอย่างรวดเร็วไว้ ได้ ฉะนน้ั . ขุ.สุ. (พุทธ) มก. ๔๖/๑๑ ๖.๓.๓ ภกิ ษใุ ดกำ�จดั ความโกรธทีเ่ กดิ ขึ้น เหมอื นหมอก�ำ จดั พิษงทู ่ีแลน่ ซ่านไปแลว้ ดว้ ยโอสถ ทง้ั หลาย ฉะนัน้ . วิ.มหา. (พุทธ) มก. ๔/๒๗๑ ๖.๓.๔ น้ำ�เลก็ น้อยมอี ยใู่ นสระน�้ำ ทถ่ี ูกสาหรา่ ย และแหนคลุมไว้ บรุ ุษผเู้ ดนิ ทางรอ้ นอบอา้ ว เหนื่อยอ่อน กระหายน�ำ้ เขาลงสู่สระน�้ำ นั้น เแหวกสาหร่าย และแหนด้วยมือท้ังสองแล้วกอบน�้ำ ขึ้นด่ืมแล้วพึงไป แม้ฉันใด บุคคลใดเป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธ์ิ แต่เป็นผู้มีความ ประพฤติทางกายบริสุทธิ์ ความประพฤติทางวาจาไม่บรสิ ุทธสิ์ ว่ นใดของเขา ภิกษุไมพ่ ึงใส่ใจในสว่ น นั้นใน ส่วนความประพฤติทางกายบริสุทธ์ิส่วนใดของเขา ภิกษุพึงใส่ใจในส่วนน้ัน ฉันนั้น ภิกษุพึง ระงับความอาฆาตในบุคคลนัน้ อย่างน้ัน. อัง.ปัญจก. (พุทธ) มก. ๓๖/๓๔๐ www.kalyanamitra.org

330 ๖.๓.๕ ภิกษุผู้อาพาธมีทุกข์เป็นไข้หนักเดินทางไกล แม้ข้างหน้าเขาก็มีบ้านอยู่ไกล แม้ ข้างหลังเขาก็มีบ้านอยู่ไกล เขาไม่พึงได้อาหารที่สบายถูกโรค เภสัชที่สบาย ผู้พยาบาลที่สมควร และผ้นู ำ�ทางไปสู่บ้าน บุรษุ บางคนผ้เู ดินทางไกล พึงเห็นเขา บรุ ุษนน้ั พึงเขา้ ไปต้งั ความกรุณาความ เอ็นดู ความอนเุ คราะห์ในเขาวา่ โอ คนๆ น้ีพงึ ได้อาหารทีส่ บาย เภสัชทีส่ บาย ผพู้ ยาบาลทส่ี มควร และผู้นำ�ทางไปสู่บ้าน ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเหตุว่า คนๆ นี้อย่าถึงความพินาศฉิบหาย ณ ท่ีน้ีเลย แมฉ้ ันใด บุคคลใดเป็นผู้มีความประพฤติทางกายไม่บริสุทธ์ิ เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาไม่ บริสุทธิ์ และย่อมไม่ได้ทางสงบใจ ไม่ได้ความเล่ือมใสโดยกาลอันสมควร ภิกษุพึงเข้าไปตั้งความ กรุณา ความเอ็นดู ความอนุเคราะห์ในบุคคลแม้เห็นปานน้ีว่า โอ ท่านผู้น้ีพึงละกายทุจริตแล้ว อบรมกายสุจริต พึงละวจีทุจริตแล้วอบรมวจีสุจริต พึงละมโนทุจริตแล้วอบรมมโนสุจริต ข้อนั้น เพราะเหตไุ ร เพราะเหตวุ า่ ทา่ นผนู้ ้เี มอ่ื ตายไปแลว้ ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วนิ ิบาต นรก ฉนั นัน้ ภิกษพุ งึ ระงับความอาฆาตในบุคคลนั้นอย่างนี้. อัง.ปัญจก. (พุทธ) มก. ๓๖/๓๔๑ ๖.๓.๖ สระนำ้�ท่ีมีนำ้�ใส มีน้ำ�อร่อยดี มีนำ้�เย็น มีนำ้�ขาว มีท่านำ้�ราบเรียบ น่าร่ืนรมย์ ดารดาษไปด้วยต้นไม้พันธ์ุต่างๆ บุคคลผู้เดินทางร้อนอบอ้าว เหน่ือยอ่อนกระหายน้ำ� เขาพึงลง สระน�ำ้ นัน้ อาบบ้าง ดื่มบ้าง แล้วขนึ้ มานั่งบา้ ง นอนบา้ งทร่ี ม่ ไมใ้ กลส้ ระน�้ำ นั้น แมฉ้ นั ใด บุคคลใดเป็นผู้มีความประพฤติทางกายบริสุทธิ์ เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาบริสุทธ์ิ ย่อมได้ทางสงบใจ และย่อมได้ความเล่ือมใสโดยการอันสมควร แม้ความประพฤติทางกายบริสุทธ์ิ ส่วนใดของเขา ภิกษุพึงใส่ใจส่วนนั้น แม้การได้ทางสงบใจ ได้ความเล่ือมใสโดยการอันสมควร ส่วนใดของเขา ภิกษพุ ึงใสใ่ จส่วนนน้ั ฉนั น้ัน ภิกษุพงึ ระงับความอาฆาตในบุคคลนัน้ อย่างนี.้ องั .ปัญจก. (พุทธ) มก. ๓๖/๓๔๒ ๖.๓.๗ ความประมาทย่อมสงบได้ด้วยการไม่ผูกโกรธ ดุจไฟไม่มีเช้ือเกิดข้ึนแล้วดับไป ฉะน้นั . ข.ุ ธ. (เถระ) มก. ๔๐/๖๗ ๖.๓.๘ บคุ คลฆ่าความโกรธเสยี ได้ยอ่ มอยเู่ ปน็ สุข ฆา่ ความโกรธได้แลว้ ย่อมไมเ่ ศร้าโศก ดกู อ่ นพราหมณ์ พระอริยเจ้าท้ังหลายสรรเสรญิ การฆา่ ความโกรธ อนั มรี ากเปน็ พษิ มยี อด หวาน เพราะว่า บุคคลฆา่ ความโกรธไดแ้ ลว้ ยอ่ มไมเ่ ศร้าโศก. ข.ุ ม. (พทุ ธ) มก. ๖๖/๗๖ www.kalyanamitra.org

331 ๖.๓.๙ เจา้ อยา่ เหน็ แก่ยาว เจ้าอย่าเห็นแก่สน้ั เวรทัง้ หลายย่อมไม่ระงบั เพราะเวรเลย แต่ ระงับไดเ้ พราะไม่จองเวร. ข.ุ ชา. (ทัว่ ไป) มก. ๕๘/๘๔๘ ๖.๓.๑๐ คนพาลกล่าวคำ�หยาบ คิดว่าตนชนะ แต่ความอดกล้ันได้ เป็นชัยชนะของบัณฑิต ผู้ใดโกรธตอบ ผู้นั้นลามกกว่า ผู้ใดไม่โกรธตอบย่อมชื่อว่า ชนะสงคราม ผู้ใดรู้ว่าผู้อ่ืนโกรธ มีสติ สงบได้ ช่ือวา่ ทำ�ประโยชนแ์ กค่ นทงั้ สองฝ่าย. สงั .ส. (พทุ ธ) มก. ๒๕/๒๐๖ ๗. ความฟุ้งซา่ น ๗.๑ ความฟุง้ ซ่านเหมอื นความเปน็ ทาส. ท.ี ส.ี (พทุ ธ) มก. ๑๑/๔๕๙ ๗.๒ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าจงึ ตรัสการละความฟงุ้ ซา่ นวา่ เหมอื นความเป็นไท. ท.ี สี. (พทุ ธ) มก. ๑๑/๔๖๑ ๗.๓ ภาชนะใส่น้ำ�อันลมพัดแล้วหวน่ั ไหว กระเพอื่ ม เกิดเปน็ คล่ืน บุรษุ ผ้มู ีจักษุ เม่อื มองดู เงาหนา้ ของคนในน้ำ�นั้น ไม่พงึ รู้ ไม่พงึ เหน็ ตามความเปน็ จริง ฉนั ใด ฉันนน้ั เหมือนกัน สมัยใดบุคคลมีใจฟุ้งซ่านด้วยอุทธัจจกุกกุจจะ... ย่อมไม่รู้ ไม่เห็นอุบายเป็นเคร่ืองสลัดออก ซึง่ อทุ ธัจจกกุ กุจจะทีบ่ งั เกิดข้ึนแล้วตามความเป็นจริง. สัง.ม. (พทุ ธ) มก. ๓๐/๓๒๓ ๘. ความหดหู่ ซมึ เซา ๘.๑ เพราะความหดหู่ ซึมเซา งว่ ง ท�ำ ให้ฟงั ธรรมไม่รเู้ รื่อง พงึ เห็นถนี มิทธะเหมอื นเรือนจำ�. ที.ส.ี (พทุ ธ) มก. ๑๑/๔๕๘ ๘.๒ ภาชนะใส่นำ้�อันสาหร่าย และจอกแหนปกคลมุ ไว้ บรุ ษุ ผูม้ จี ักษุ เมื่อมองดเู งาหนา้ ของ ตนในน้ำ�ไมพ่ ึงรู้ ไม่พึงเห็นตามความเป็นจริงฉนั ใด ฉันน้นั เหมอื นกัน สมยั ใด บคุ คลมใี จฟุ้งซ่านดว้ ยถีนมิทธะ… ย่อมไม่รู้ ไม่เหน็ อบุ ายเปน็ เครอื่ งสลดั ออกซ่ึงถีน มิทธะ ทีบ่ ังเกดิ ขนึ้ แลว้ ตามความเป็นจริง. สัง.ม. (พุทธ) มก. ๓๐/๓๒๒ ๙. ความลังเล สงสยั ๙.๑ การละความลังเลสงสยั ไดเ้ หมอื นภมู ิอนั เปน็ แดนเกษม. ที.ส.ี (พุทธ) มก. ๑๑/๔๖๒ www.kalyanamitra.org

332 ๙.๒ ภาชนะใส่นำ้�ข่นุ มวั เปน็ เปือกตมอันบคุ คลวางไวใ้ นท่มี ดื บรุ ุษผู้มจี ักษุ เมื่อมองดูเงาหนา้ ของตนในนำ้�นั้น ไมพ่ งึ รู้ ไม่พงึ เห็นตามความเป็นจรงิ ฉนั ใด ฉนั นนั้ เหมือนกัน สมัยใด บุคคลมีใจฟุ้งซ่านด้วยวิจิกิจฉา… ย่อมไม่รู้ ไม่เห็นอุบายเป็นเครื่องสลัดออกซึ่ง วิจกิ ิจฉา ท่ีบังเกดิ ขนึ้ แลว้ ตามความเป็นจริง. สัง.ม. (พทุ ธ) มก. ๓๐/๓๒๓ www.kalyanamitra.org

333 www.kalyanamitra.org

๓๘ม ง ค ล ที่ จิตเกษม ในกอบวั ขาบ ในกอบวั หลวง หรือในกอบวั ขาว ดอกบวั ขาบ ดอกบวั หลวง หรือดอกบวั ขาวบางเหล่า ซ่งึ เกิดในน้ำ� เจริญในน้ำ� ยงั ไม่พ้นนำ�้ จมอยู่ในน�ำ้ น�ำ้ หลอ่ เลีย้ งไว้ ดอกบวั เหล่าน้ัน ชมุ่ ชื่น เอบิ อาบซาบซึมดว้ ยน้ำ�เย็น ตลอดยอดตลอดเงา่ ไมม่ ีสว่ นใดๆ แหง่ ดอกบัวขาบ หรือดอกบวั หลวง หรอื ดอกบวั ขาวท่ัวทกุ สว่ นท่ีน้ำ�เย็นจะไมพ่ ึงถูกต้อง ฉนั ใด ภิกษุกฉ็ นั นนั้ แล ยอ่ มทำ�กายนี้ และให้ชมุ่ ชื่นเอิบอิม่ ซาบซา่ นด้วยสขุ ไมม่ สี ่วนใดๆ แห่งกายของเธอทั่วทั้งตวั ท่สี ุข อันปราศจากปตี จิ ะไม่ถูกตอ้ ง www.kalyanamitra.org

335 ๑. ภยั และความกลัว ๑.๑ ภัยเขา้ มาถงึ ตัวแล้ว หมสู่ ตั วด์ น้ิ รนอยู่ เหมอื นปลาทง้ั หลายด้ินรนอยู่ในทีม่ ีน�้ำ นอ้ ย. ขุ.ม. (พุทธ) มก. ๖๖/๔๔๙ ๒. อภญิ ญา ๒.๑ อทิ ธิวิธี (แสดงฤทธิ)์ ๒.๑.๑ หงส์ทั้งหลาย ย่อมไปในทางแห่งดวงอาทิตย์ ท่านมีผู้มีฤทธิ์ท้ังหลายย่อมไปใน อากาศดว้ ยฤทธ์ิ ธีรชนชนะมารพร้อมท้ังพาหนะแลว้ ยอ่ มออกไปจากโลกได.้ ขุ.ธ. (อรรถ) มก. ๔๒/๒๒๘ ๒.๑.๒ ทา่ นผมู้ ปี ญั ญาดงั แผน่ ดนิ เหาะไปในในเวหาส ไปไดต้ ลอด เหมอื นดวงจนั ทรว์ นั เพญ็ . ม.ม. ( อรรถ ) มก. ๒๐/๑๖๗ ๒.๑.๓ ท่านพระมหาโมคคัลลานะไดห้ ายไปในประสาทของมิคารมารดา ในวหิ ารบพุ พาราม ปรากฏในหมเู่ ทวดาช้ันดาวดงึ ส์ ประการหนึ่ง บรุ ุษที่มีก�ำ ลงั เหยียดแขนที่งอออกไป หรืองอแขนท่ี เหยียดเข้ามา ฉะนนั้ . ม.ม.ู (อรรถ) มก. ๑๙/๑๔๘ www.kalyanamitra.org

336 ๒.๑.๔ กายของเราเปน็ กายเบาหนอ อนั ปตี ิ และสขุ อยา่ งไพบลู ยถ์ กู ตอั งแลว้ ยอ่ มเลอ่ื นลอย ไดเ้ หมอื นนนุ่ ทถี่ กู ลมพัดไป ฉะนั้น. ข.ุ เถร. (เถระ) มก. ๕๐/๔๗๔ ๒.๑.๕ เปรยี บเหมือนชา่ งหมอ้ หรือลูกมือของชา่ งหม้อผูฉ้ ลาด เม่อื นวดดินดีแลว้ ตอ้ งการ ภาชนะชนดิ ใดๆ พงึ ท�ำ ภาชนะชนดิ นนั้ ๆ ให้ส�ำ เรจ็ ได้ เปรียบเหมือนช่างงา หรือลูกมือของช่างงาผู้ฉลาด เมื่อแต่งงาดีแล้ว ต้องการเครื่องงา ชนดิ ใดๆ พงึ ทำ�เครื่องงาชนดิ นน้ั ๆ ใหส้ �ำ เรจ็ ได้ เปรียบเหมือนชา่ งทอง หรอื ลูกมือของชา่ งทองผู้ฉลาด เม่ือหลอมทองดีแล้ว ตอ้ งการทอง รูปพรรณชนิดใดๆ พึงท�ำ ทองชนิดน้ันๆ ให้สำ�เร็จๆ ได้ ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เม่ือจิตเป็นสมาธ ิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างน้ี ย่อมโน้มจิตใจไปเพ่ือแสดงฤทธิ์ เธอบรรลุอิทธิวิธีหลายประการ คือ คนเดียวเป็นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็นคนเดียวก็ได้ ทำ�ให้ปรากฏก็ได้ ทำ�ให้หายไปก็ได้ ทะลุฝากำ�แพงภูเขาไปได้ไม่ติดขัด เหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้น ดำ�ลงในแผ่นดินเหมือนในนำ้�ก็ได้ เดินบนนำ้�ไม่แตดเหมือนเดินบน แผ่นดินก็ได้ เหาะไปในอากาศเหมือนนกก็ได้ ลูบคลำ�พระจันทร์พระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพ มากด้วยฝา่ มือกไ็ ด ้ ใช้อ�ำ นาจทางกายไปตลอดพรหมโลกก็ได้. ที.สี. (พทุ ธ) มก. ๑๑/๓๒๘ ๒.๑.๖ ปยุ น่นุ หรอื ปยุ ฝ้าย ซง่ึ เป็นเชื้อธาตทุ เี่ บา ย่อมลอยจากแผ่นดนิ ข้นึ ส่อู ากาศได้โดยไม่ ยากเลย ฉันใด สมัยใด ตถาคตตง้ั กายลงไว้ในจิต หรอื ต้ังจิตลงไวท้ ก่ี าย กา้ วลงสสู่ ขุ สัญญา และ ลหสุ ญั ญาอยู่ สมยั นน้ั กายของตถาคตย่อมลอยจากแผน่ ดินขึ้นสู่อากาศได้ โดยไมย่ ากเลย ฉันน้ัน เหมือนกัน. สัง.ม. (พทุ ธ) มก. ๓๑/๑๗๒ ๒.๒ ทพิ ยโสต (หูทพิ ย)์ ๒.๒.๑ เปรียบเหมือนบุรุษเดินทางไกล เขาจะพึงได้ยินเสียงกลอง เสียงตะโพน เสียงสังข์ เขาจะพึงเข้าใจว่า เสียงกลอง เสียงตะโพน เสียงสังข์ ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เม่ือจิตเป็นสมาธิ บริสทุ ธ์ิ ผ่องแผ้ว ไมม่ ีกเิ ลส ปราศจากอปุ กิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตัง้ มนั่ ไมห่ วัน่ ไหว อย่างน้ี ย่อมโน้มจิตไปเพื่อทิพยโสต เธอย่อมได้ยินเสียง ๒ ชนิด คือ เสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ท้ังที่อยู่ ไกล และอยูใ่ กล้ ดว้ ยทพิ ยโสตอนั บรสิ ุทธ์ิ ล่วงโสตของมนษุ ย์. ที.สี. (พทุ ธ) มก. ๑๑/๓๒๙ www.kalyanamitra.org

337 ๒.๓. เจโตปรยิ ญาณ (ก�ำ หนดใจคนอ่ืนได้) ๒.๓.๑ เปรียบเหมือนหญิงสาวชายหนุ่มที่ชอบการแต่งตัว เมื่อส่องดูเงาหน้าของตนใน กระจกอันบริสุทธิ์สะอาด หรือในภาชนะนำ้�อันใส หน้ามีไฝ ก็จะพึงรู้ว่าหน้ามีไฝ หรือหน้าไม่มีไฝ กจ็ ะพงึ รู้วา่ หน้าไมม่ ไี ฝ ฉนั ใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เม่ือจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้วไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควรแก่การงาน ตั้งม่ัน ไม่หว่ันไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มจิตไปเพื่อเจโตปริยญาณ เธอย่อมกำ�หนดรู้ใจ ของสัตว์อื่น ของบุคคลอื่นด้วยใจ คือ จิตมีราคะก็รู้ว่าจิตมีราคะ หรือจิตปราศจากราคะก็รู้ว่าจิต ปราศจากราคะ จิตมีโทสะก็รู้ว่าจิตมีโทสะ หรือจิตปราศจากโทสะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากโทสะ จิตมี โมหะก็รู้ว่าจิตมีโมหะ หรือจิตปราศจากโมหะก็รู้ว่าจิตปราศจากโมหะ จิตหดหู่ก็รู้ว่าจิตหดหู่ หรือจิตฟุ้งซ่านก็รู้ว่าจิตฟุ้งซ่าน จิตมีจิตอ่ืนย่ิงกว่าก็รู้ว่าจิตมีจิตอื่นย่ิงกว่า หรือจิตไม่มีจิตอ่ืนย่ิงกว่า จิตเป็นสมาธิก็รู้ว่าจิตเป็นสมาธิ หรือจิตไม่เป็นสมาธิก็รู้ว่าจิตไม่เป็นสมาธิ จิตหลุดพ้นก็รู้ว่าจิต หลดุ พ้น หรือจิตไมห่ ลดุ พน้ กร็ ู้วา่ จิตไมห่ ลุดพน้ . ท.ี สี. (พทุ ธ) มก. ๑๑/๓๓๐ ๒.๔ ปพุ เพนวิ าสานสุ สติ (ระลึกชาติได)้ ๒.๔.๑ เปรียบเหมอื นบุรษุ ออกจากบ้านของตนไปส่บู ้านคนอ่ืน ออกจากบา้ นแม้นั้นไปสู่บ้าน อ่นื ออกจากบ้านแม้น้นั แลว้ กลับมาส่บู ้านของตนตามเดมิ เขาจะพึงระลึกไดว้ ่า เราออกจากบา้ น ของตนไปสู่บา้ นโนน้ ในบา้ นน้ัน เราไดย้ นิ อยา่ งนัน้ ไดน้ ่งั อยา่ งน้ัน ได้พูดอย่างน้นั ได้น่งิ อยา่ งน้นั ออกจากบา้ นแม้นน้ั ไปสบู่ า้ นโน้น แมใ้ นบ้านนนั้ เรากไ็ ด้ยินอยา่ งนั้น ไดน้ ั่งอย่างนัน้ ไดพ้ ดู อย่างน้ัน ไดน้ ิง่ อย่างนนั้ ออกจากบา้ นแมน้ ้ันแล้ว กลับมาส่บู ้านของตนตามเดิม ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล ย่อมระลึกชาติท่ีเคยอาศัยในกาลก่อนเป็นอันมาก คือ ระลึกได้หน่ึงชาติ บ้าง สองชาตบิ า้ ง ฯลฯ ระลึกชาตทิ ี่เคยอยู่อาศัยในกาลก่อนเปน็ อนั มาก พร้อมท้ังอาการ พร้อมทงั้ อทุ เทศ ดว้ ยประการฉะน.้ี ม.มู. (พุทธ) มก. ๑๙/๒๑๔ ๒.๔.๒ ภิกษใุ ดมอี ภิญญามาก ย่อมรูก้ รรม และผลแหง่ กรรม โดยประจกั ษเ์ ฉพาะหนา้ ดุจรู้ ผลมะขามปอ้ มท่วี างไว้บนฝ่ามอื ฉะนัน้ . ขุ.เถร. (อรรถ) มก. ๕๓/๔๖๕ ๒.๕ ทพิ ยจักษุ (ตาทิพย)์ ๒.๕.๑ ปราสาทต้ังอยู่ท่ามกลางทางสี่แพร่ง บุรุษผู้มีจักษุยืนอยู่บนปราสาทนั้น ก็จะเห็น www.kalyanamitra.org

338 ผู้คนทั้งหลายกำ�ลังเข้าไปสู่เรือนบ้าง ออกไปอยู่บ้างกำ�ลังเดินไปมาอยู่ตามถนนบ้าง นั่งอยู่ ท่ามกลางทางส่แี พรง่ บา้ ง เขากร็ ู้วา่ คนเหลา่ นนั้ เขา้ ไปสู่เรือน คนเหลา่ น้ีออกจากเรือน คนเหล่านี้ เดินไปตามถนน คนเหลา่ นนี้ ่งั ท่ามกลางทางส่ีแพรง่ ฉันใด ดูก่อนมาณพ ภิกษุก็ฉันน้ันแล ฯลฯ เมื่อจิตต้ังม่ันแล้ว ฯลฯ เธอย่อมน้อมโน้มจิตไป เพื่อ หยัง่ รกู้ ารจตุ ิ และการเกิดของสตั วท์ ั้งหลาย เหน็ สตั วท์ ้งั หลายท่กี �ำ ลงั จุติ กำ�ลังอุบตั ิ เลว ประณตี ผิวพรรณดี ผวิ พรรณทราม ไดด้ ี ตกยาก ดว้ ยทพิ ยจกั ษอุ นั บรสิ ุทธิ์ เกินจกั ษุของมนษุ ยย์ อ่ มรู้ชัด ถึงหมู่สตั วผ์ ู้เป็นไปตามกรรม. ท.ี ส.ี (เถระ) มก. ๑๒/๒๒๐ ๒.๕.๒ เรือนสองหลังมีประตูร่วมกันบุรุษผู้มีจักษุยืนอยู่ท่ามกลางเรือน พึงเห็นหมู่มนุษย์ ก�ำ ลงั เขา้ ส่เู รือนบา้ ง กำ�ลังออกจากเรอื นบ้าง ก�ำ ลงั เดนิ ไปบา้ ง กำ�ลงั เทีย่ วไปบ้าง ฉนั ใด ภิกษุยอ่ ม เหน็ หมสู่ ัตว์ท่กี ำ�ลังจุติ ก�ำ ลงั อุบตั ิ เลว ประณตี มีผิวพรรณดี มผี วิ พรรณทราม ไดด้ ี ตกยาก ดว้ ย ทิพยจักษุ อันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ฯลฯ ย่อมรู้ชัดถึงหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม ฉันน้ัน เหมอื นกันแล. ม.มู. (พุทธ) มก. ๑๙/๒๑๕ ๒.๕.๒ บุรษุ ผมู้ จี กั ษยุ นื อย่ทู ต่ี รงกลางเรือนนน้ั จะพึงเห็นหมชู่ นทก่ี �ำ ลงั เขา้ ไปบ้าง ก�ำ ลงั เดิน วนเวียนอย่ทู ่เี รือนบ้าง ฉันใด สาวกของเราท้งั หลายก็ฉันน้นั แล ปฏิบัติตามปฏิปทาท่เี ราบอกแล้ว ย่อมเห็นหม่สู ัตว์กำ�ลังจุติ กำ�ลังอุบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธ์ิ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมร้ชู ัดซ่งึ หม่สู ัตว์ผ้เู ป็นไปตามกรรม ด้วยประการ ฉะน.้ี ม.ม.ู (พุทธ) มก. ๒๐/๕๗๖ ๒.๖ อาสวักขยญาณ (ท�ำ ใหอ้ าสวะสนิ้ ไป) ๒.๖.๑ เปรยี บเหมือนสระน�ำ้ บนยอดเขา ใสสะอาดไมข่ ่นุ มวั บุรุษผูม้ จี ักษุยืนอยู่บนขอบสระ น้ัน จะพึงเห็นหอยโข่ง และหอยกาบต่างๆ บ้าง ก้อนกรวด และก้อนหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง กำ�ลัง ว่ายอยู่บ้าง หยุดอยู่บ้าง ในสระนำ้�นั้น เขาจะพึงคิดเห็นอย่างน้ีว่า สระน้ำ�น้ีใสสะอาดไม่ขุ่นมัว หอยโข่ง และหอยกาบต่างๆ บ้าง ก้อนหนิ บ้าง ฝูงปลาบา้ ง เหลา่ นี้ กำ�ลงั ว่ายอยบู่ า้ ง หยุดอยู่บา้ ง ในสระดังนี้ ฉนั ใด สาวกของเราท้ังหลายก็ฉันน้ันแล ปฏิบัติตามปฏิปทาท่ีเราบอกแล้ว ย่อทำ�ให้แจ้งซ่ึงเจโต วิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะไม่ได้เพราะอาสวะสิ้นไปด้วยปัญญาอันย่ิงของตนเองในปัจจุบัน เขา้ ถงึ อยู่. ที.สี. (พุทธ) มก. ๑๑/๓๓๔ www.kalyanamitra.org

339 ๒.๖.๒ หีบผ้าของพระราชา หรือราชอำ�มาตย์ ซ่ึงเต็มไปด้วยผ้าที่ย้อมแล้วเป็นสีต่างๆ พระราชาหรือราชอำ�มาตย์นั้น หวังจะห่มคู่ผ้าชนิดใดในเวลาเช้า ก็ห่มคู่ผ้าชนิดน้ันในเวลาเช้า หวังจะหม่ คู่ผ้าชนิดใดในเวลาเทยี่ ง กห็ ่มคู่ผา้ ชนิดน้ันในเวลาเที่ยง หวังจะห่มคู่ผ้าชนดิ ในเวลาเย็นก็ ห่มคู่ผ้าชนดิ น้นั ในเวลาเย็น ฉันใด ภิกษุยังจิตให้เป็นไปในอำ�นาจ และไม่เป็นไปตามอำ�นาจของจิต เธอหวังจะอยู่ด้วย วิหารสมาบัติใดในเวลาเช้าก็อยู่ด้วยวิหารสมาบัติน้ันได้ในเวลาเช้า หวังจะอยู่ด้วยวิหารสมาบัติใด ในเวลาเทยี่ ง กอ็ ยู่ดว้ ยวิหารสมาบตั นิ ั้นไดใ้ นเวลาเทยี่ ง หวงั จะอยดู่ ว้ ยวหิ ารสมาบัติใดในเวลาเยน็ ก็ อยดู่ ว้ ยวหิ ารสมาบัตนิ น้ั ไดใ้ นเวลาเย็น ฉันนนั้ เหมือนกนั . ม.ม.ู (เถร) มก. ๑๙/๒๘ ๒.๖.๓ ภิกษุแม้นี้ ทำ�ความแผ่ไปแห่งญาณให้บังเกิดขึ้น ดุจงูแผ่พังพานไปฉะนั้น ก็ย่อม ละฝ่ังไปดุจงูลอกคราบ ฉะนั้น ก็คร้ันสละฝั่งใน และฝั่งนอกได้แล้ว เป็นผู้มีคราบอันลอกแล้วดุจงู ลอกคราบแล้ว ฉะนน้ั . ขุ.ส.ุ (อรรถ) มก. ๔๖/๓๑ ๒.๖.๔ สง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึ ทม่ี อี ยใู่ นโลกนก้ี ด็ ี ภพทส่ี ตั วไ์ ดอ้ ยใู่ นโลกนก้ี ด็ ี พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ผแู้ สวงหา คณุ อนั ใหญไ่ ดต้ รสั ไวว้ า่ สง่ิ ทง้ั หมดนไ้ี มเ่ ปน็ อสิ ระ ผใู้ ดรแู้ จง้ ธรรมขอ้ นน้ั เหมอื นดงั ทพ่ี ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรงแสดงไว้ ผนู้ น้ั ยอ่ มไมย่ ดึ ถอื ภพใดๆ ดงั บคุ คลผไู้ มจ่ บั กอ้ นเหลก็ แดงอนั รอ้ นโชน ฉะนน้ั . ข.ุ เถร. (เถระ) มก. ๕๓/๒ ๓. ผไู้ ม่สะดุง้ กลวั ๓.๑ ธรี ชนผมู้ ปี ญั ญา ชนะมารพร้อมทงั้ พาหนะแลว้ ชอื่ ว่า ผชู้ นะสงครามยอ่ มบันลอื สีหนาท ดงั ราชสหี ์ในถ้ำ�ภูเขา ฉะนัน้ . ข.ุ เถร. (เถระ) มก. ๕๑/๑๔๐ ๓.๒ พระปัจเจกพุทธเจ้า ไม่สะดุ้งในเพราะเสียงเหมือนสีหะ ไม่ข้องเหมือนลมไม่ติดท่ี ตาข่ายไม่ตดิ อย่เู หมอื นดอกบวั อนั น�ำ้ ไมต่ ดิ พงึ เทีย่ วไปผู้เดียวเหมือนนอแรด ฉะนนั้ . ข.ุ จุ. (ปัจเจก) มก. ๖๗/๖๒๑ ๓.๓. พระองค์ทรงก้าวล่วงอุปธิทำ�ลายอาสวะได้แล้ว พระองค์เป็นดังสีหะ ไม่มีอุปทาน ทรงละความกลวั และความขลาดได้แลว้ ไม่ทรงติดอยู่ในบญุ และบาปท้ังสองอย่าง เปรยี บเหมอื น ดอกบวั ขาบที่งามไมต่ ิดอยใู่ นน้ำ� ฉะน้ัน. ขุ.สุ. (ท่วั ไป) มก. ๔๘๓-๔ www.kalyanamitra.org

340 ๓.๔ พระสัญชีวเถระออกจากสมาบัติแล้ว เหยียบยำ่�เดินไปบนถ่านเพลิงปราศจากเปลวไฟ เช่นดอกทองกวาว แมส้ กั ว่าเปลวไฟก็ไม่ไหม้จวี รแม้สกั ว่าอาการแห่งไออุน่ กไ็ ม่ม.ี สงั .สฬา. (อรรถ) มก. ๒๙/๑๕๗ ๓.๕ ภูเขาศิลาล้วนไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่คงที่ แม้ฉันใด ภิกษุก็ฉันน้ัน ย่อมไม่หว่ันไหวดุจ บรรพตเพราะสน้ิ โมหะ. ข.ุ เถร. (เถระ) มก. ๕๒/๔๖๕ ๓.๖ เราไมม่ ีความกลัวตาย เหมือนบคุ คลไมก่ ลัวโรคเพราะโรคสิน้ ไปแล้ว ฉะน้นั . ข.ุ เถร. (เถระ) มก. ๕๓/๒ ๓.๗ เราย่อมไม่กลัวความตาย เหมอื นคนดืม่ ยาพิษดว้ ยความพลัง้ เผลอแล้วบว้ นทงิ้ ไป. ข.ุ เถร. (เถระ) มก. ๕๓/๑๑ ๔. จติ เกษม ๔.๑ เหมอื นเจ้าหนา้ ทส่ี รงสนาน หรือลูกน้องของเจ้าหนา้ ท่สี รงสนานผู้ฉลาด จะพึงโรยผงท่ี ใช้ในการสรงสนานใสล่ งไปในภาชนะสำ�ริด แล้วเอาน�ำ้ พรมหมกั ไว้ ตกเวลาเยน็ กอ้ นจุรณทีใ่ ชใ้ นการ สรงสนานมีตัวยางจะซึมไปจับติดกันทั่วท้ังหมด ย่อมไม่ไหลออกไป ฉันใด ดูก่อนมาณพ ภิกษุก็ฉัน น้นั แล ท�ำ กายน้ีแหละให้สดชื่นเอิบอ่ิมซาบซา่ นดว้ ยปตี ิ และสุขอนั เกดิ แต่วเิ วก ไม่มสี ่วนไหนๆ แหง่ รา่ งกายของเธอทั่งท้ังตวั ทีป่ ตี ิ และสุขอันเกิดแตว่ เิ วกจะไมถ่ กู ตอ้ ง. ท.ี ส.ี (เถระ) มก. ๑๒/๒๑๒ ๔.๒ ภิกษุเขา้ ทตุ ยิ ฌาน มีความผอ่ งใสแหง่ จิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขน้ึ เพราะวิตก และวิจารสงบไป ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีปีติ และสุขอันเกิดแต่สมาธิอยู่ เธอทำ�กายน้ีแลให้ชุ่มชื่น อิ่มเอบิ วาบวา่ น ด้วยปีต ิ และสุขอันเกิดแตส่ มาธ ิ ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอทงั่ ทง้ั ตัวที่ ปีติ และสขุ อนั เกดิ แตส่ มาธิจะไม่ถกู ตอ้ ง เปรียบเหมือนห้วงน้ำ�ลึก มีนำ้�ขังอยู่ ไม่มีทางที่น้ำ�จะไหลมาได้ ทั้งในด้านตะวันออก ด้าน ตะวันตก ด้านเหนือ ด้านใต้ ท้ังฝนก็ไม่ตกเพิ่มตามฤดูกาล แต่สายน้ำ�เย็นพุขึ้นจากห้วงนำ้�น้ันแล้ว จะพึงทำ�ให้ห้วงนำ้�น้ันแลให้ชุ่มชื่น เอิบอาบ ซาบซึมด้วยน้ำ�เย็น ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งห้วงนำ้�นั้น ทงั้ หมดทนี่ ำ้�เย็นจะไม่ถกู ต้อง ฉะนนั้ . ม.ม.ู (พุทธ) มก. ๑๙/๒๑๓ ๔.๓ ในกอบัวขาบ ในกอบัวหลวง หรือในกอบัวขาว ดอกบัวขาบ ดอกบัวหลวง หรือ ดอกบัวขาวบางเหล่าซึ่งเกิดในนำ้� เจริญในนำ้� ยังไม่พ้นนำ้� จมอยู่ในนำ้� นำ้�หล่อเลี้ยงไว้ ดอกบัว www.kalyanamitra.org

341 เหล่าน้ัน ชุ่มชื่น เอิบอาบซาบซึมด้วยนำ้�เย็นตลอดยอดตลอดเง่า ไม่มีส่วนใดๆ แห่งดอกบัวขาบ ดอกบวั หลวง หรือดอกบวั ขาว ทว่ั ทกุ ส่วนทนี่ ำ�้ เยน็ จะไมพ่ ึงถูกต้อง ฉนั ใด ภิกษุกฉ็ ันน้ันแล ย่อมท�ำ กายนแ้ี ละใหช้ มุ่ ชื่นเอิบอิ่มซาบซ่านด้วยสขุ อันปราศจากปตี ิ ไมม่ ีสว่ นใดๆ แหง่ กายของเธอท่ัวทัง้ ตัว ทีส่ ขุ อนั ปราศจากปตี ิจะไม่ถูกต้อง. ๔.๔ บรุ ุษจะพงึ นัง่ คลุมตวั ตลอดศีรษะดว้ ยผ้าขาว ไมม้ ีสว่ นใดๆ แห่งกายทุกๆ ส่วนของเขา ทผี่ ้าขาว จะไมถ่ กู ตอ้ ง ฉันใด ภิกษกุ ฉ็ นั นั้นแล เธอนง่ั แผไ่ ปท่วั ท้งั กายน้ีแหละด้วยใจอนั บริสทุ ธผ์ิ ่อง แผ้วไม่มีสว่ นใดๆ แห่งกายของเธอทั่วทงั้ ตัว ที่ใจอนั บริสทุ ธิ์ผอ่ งแผ้วจะไมถ่ กู ตอ้ ง. ท.ี สี. (พทุ ธ) มก. ๑๑/๓๒๕ ๔.๕ นำ้�มันไม่อาจขังเคร่ืองตวงได้ไหลล้นไป เขาเรียกว่า ล้นเหลือ และนำ้�ที่ไม่อาจขัง เหมืองนำ้�ได้ไหลล้นไปน้ัน เขาเรียกว่า น้ำ�หลาก ฉันใด คำ�ท่ีเกิดแต่ปีติก็ฉันนั้นเหมือนกัน ขังหทัย ไม่ได้ คอื เก็บไว้ข้างในไม่อยู่ กล็ ้นออกข้างนอกนนั้ ทา่ นเรียกว่า อุทาน. องั .ทกุ . (เถระ) มก. ๓๓/๓๙๐ ๔.๖ จติ ดวงสุดทา้ ยของพระขณี าสพ ผ้ปู ระกอบดว้ ยพละเหลา่ นยี้ อ่ มหลดุ พน้ จากวตั ถุ และ อารมณ์ เหมือนความดบั ไปแห่งดวงประทปี ฉะนน้ั คอื ยอ่ มไมป่ รากฏสถานทไี่ ป. อัง.สตั ตก. (พุทธ) มก. ๓๗/๖ ๔.๗ เกิดความปีติปราโมทย์ เหมอื นบรุ ุษเขญ็ ใจพบขุมทรัพย์ใหญ่. องั .สตั ตก. (ท่ัวไป) มก. ๓๗/๓๗๗ ๔.๘ กุลบุตรใดรู้ว่า ศีลบริสุทธ์ิได้เพราะอาศัยญาน เหมือนผ้าสกปรกย่อมสะอาดได้เพราะ อาศัยนำ้�สะอาด กระจกเงาผ่องใสได้เพราะอาศัยขี้เถ้า ทองบริสุทธ์ิได้เพราะหลอมในเบ้า ฉะนั้น ลา้ งอยดู่ ้วยน้ำ� คอื ญาณ ชอื่ ว่า ยังศีลให้บรสิ ุทธ์ิ และเป็นผไู้ มป่ ระมาทเลย ยอ่ มรกั ษาศลี ขันธข์ อง ตน เหมือนนกต้อยตวี ดิ รกั ษาไข่ แม่เน้อื จามรีรักษาขนหาง นางนารีผู้มีบุตรน้อยคนเดยี วรกั ษาบตุ ร น้อยคนเดยี วท่ีรกั และบรุ ุษมนี ยั นต์ าข้างเดียว รักษานัยน์ตาขา้ งเดียวน้ัน ฉะนั้น. ข.ุ ส.ุ (อรรถ) มก. ๔๖/๓๗๑ ๔.๙ สายฟ้าแลบส่องแสงลอดเข้าไปตามช่องแห่งภูเขาเวภาระ และภูเขาปัณฑวะ ฉันใด ภิกษุผู้เป็นบุตรแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้คงที่ ไม่มีผู้เปรียบปาน อยู่ในช่องแห่งภูเขา เจริญฌาน อยู่ กฉ็ นั น้ัน. ข.ุ เถร. (เถระ) มก. ๕๐/๒๓๔ ๔.๑๐ ผใู้ ดมีอาสวะสนิ้ แล้ว ไมต่ ดิ อยู่ในอาหาร มสี ญุ ญตวิโมกข๑์ และอนิมติ ตวโิ มกข์๒ เปน็ โคจร รอยเทา้ ของผนู้ ั้นรูไ้ ดย้ าก เหมอื นรอยเท้าของฝูงนกในอากาศ ฉะนนั้ . ขุ.เถร. (เถระ) มก. ๕๐/๔๓๓ ๑ สุญญตวโิ มกข์ ความหลดุ พ้นโดยวา่ งจาก ราคะ โทสะ โมหะ ๒ อนิมติ ตวโิ มกข์ หลดุ พน้ ด้วยไม่ถอื นมิ ติ คือ หลุดพน้ ดว้ ยพิจารณาเหน็ นาม รปู เป็นอนจิ จะ แล้วถอนนิมติ ได้ www.kalyanamitra.org

342 ๔.๑๑ บุคคลผู้ถึงฝั่งแห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำ�กิจสำ�เร็จแล้ว หมดอาสวะย่อมยินดี เพราะเหตุความสนิ้ อายุ เหมอื นบคุ คลพ้นแล้วจากการถูกประหาร ฉะนั้น. ข.ุ เถร. (เถระ) มก. ๕๓/๒ ๔.๑๒ ภกิ ษใุ ดก�ำ จัดความโกรธท่ีเกิดขนึ้ แล้วเสียได ้ ดจุ หมองูทีก่ �ำ จัดพษิ งทู ี่ซา่ นไปด้วยโอสถ ฉะนัน้ ภิกษุน้นั ยอ่ มละฝ่ังใน และฝ่งั นอกเสยี ได้ ดจุ งูทล่ี ะคราบเก่าคร�ำ่ ครา่ เสยี ฉะนนั้ . ขุ.ส.ุ (อรรถ) มก. ๔๖/๓๑ ๔.๑๓ พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แมม้ รรคเรากอ็ บรมดแี ล้ว ภพทง้ั หลายอนั ไม่นา่ ยินดี เราได้เห็นแลว้ เหมือนบุคคลดมื่ ยาพิษแล้วบว้ นท้ิง ฉะน้ัน บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกท้ังปวงย่อมไม่เศร้าโศก ใน เวลาตาย ดุจบุคคลทอ่ี อกจากเรอื นทถ่ี ูกไฟไหม้ ฉะนั้น. ขุ.เถร. (เถระ) มก. ๕๓/๒ www.kalyanamitra.org

343 www.kalyanamitra.org

344 www.kalyanamitra.org

345 บรรณานกุ รม มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั . ๒๕๒๕ พระวินยั และอรรถกถาแปล. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพม์ หามกุ ฏราชวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย. ๒๕๒๕ พระสตู รและอรรถกถาแปล. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หามกุ ฏราชวิทยาลัย พระเทพเวที (ประยทุ ธ์ ปยตุ โฺ ต). ๒๕๓๕ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพม์ หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั พระเทพเวที (ประยทุ ธ์ ปยตุ โฺ ต). ๒๕๓๓ พจนานกุ รมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศพั ท์. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระครธู รรมธรไพบลู ย์ ธมมฺ วปิ โุ ลและคณะ. ๒๕๕๒ ดรรชนธี รรม ฉบบั มงคลสตู ร (รวมเลม่ ). กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั รุ่งศิลปก์ ารพมิ พ์ (1977) จำ�กัด ปุ้ย แสงฉาย. ๒๕๓๐ มลิ นิ ทปัญหา ฉบบั พรอ้ มดว้ ยอรรถกถา ฎกี า. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ ลกู ส. ธรรมภักดี ราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๒๕ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั อกั ษรเจริญทัศ จำ�กัด www.kalyanamitra.org

346 วธิ ฝี กึ สมาธิเบือ้ งตน้ www.kalyanamitra.org

347 www.kalyanamitra.org

348 www.kalyanamitra.org

349 www.kalyanamitra.org