Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก

อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก

Description: ธรรมะอุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก

Search

Read the Text Version

www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org | www.webkal.org www.kalyanamitra.org

2 คำ�นำ� อุปมาอุปไมย หมายถงึ สง่ิ หรอื ข้อความทย่ี กมาเปรียบเทยี บกบั ส่ิงอ่นื เพอ่ื ให้เขา้ ใจแจม่ แจง้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวกใช้อุปมาอุปไมยอธิบายขยายความพระธรรม เทศนา เพื่อทำ�เร่ืองยากให้กลับกลายเป็นเร่ืองเข้าใจได้ง่ายๆ โดยเฉพาะคร้ังใดที่ต้องทรมานพวก มิจฉาทิฏฐิ เช่น พระกุมารกัสสปะทรมานพระยาปายาสิในปายาสิราชัญสูตร หรือ พระนาคเสน ทรมานพระเจ้ามิลินท์ในหนงั สอื มลิ นิ ทปัญหา เป็นตน้ อุปมาอุปไมยเป็นเคร่ืองมือท่ีเข้าไปทำ�ลายความมืดบอดในดวงใจของมิจฉาทิฏฐิบุคคลได้ อยา่ งเฉียบพลัน คณะผู้จัดท�ำ เห็นความงดงาม และคุณค่าอันหาประมาณมิได้ของอุปมาอุปไมยท่ีมีบันทึกใน พระไตรปิฎก จึงได้รวบรวมมาจัดทำ�เป็นหนังสือ “อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก” โดยคัดเลือก อุปมาอุปไมยที่สามารถจัดเข้าในหลกั มงคลสตู ร ๓๘ ประการได้ เพอ่ื สะดวกและง่ายตอ่ การค้นควา้ คณะผู้จดั ทำ�หวังเป็นอยา่ งยง่ิ วา่ หนังสือเล่มน้ี จะเป็นประโยชนส์ �ำ หรับผรู้ ักการฝกึ ฝนอบรม ตนเอง และผู้ท่ีต้องทำ�หน้าท่ีเป็นแสงสว่างให้แก่ชาวโลก สามารถนำ�เอาอุปมาอุปไมยมาเป็น แนวทางในการพัฒนาการเผยแผธ่ รรมะไดง้ า่ ยข้ึน ความบกพร่อง และความผิดพลาดใดๆ ในหนังสือเล่มน้ี คณะผู้จัดทำ�ขอน้อมรับค�ำ แนะนำ� จากทุกท่าน ประดจุ ผตู้ อ้ งการทรพั ย์ได้พบขุมทรพั ย์อันประเสริฐ ขอขอบคณุ และอนุโมทนาบุญกบั ทกุ ทา่ น ทมี่ สี ว่ นในการสนับสนุน และจัดท�ำ หนังสอื เล่มน ้ี ขออานุภาพแห่งบุญกุศลที่เกิดจากประโยชน์ของหนังสือเล่มนี้ จงดลบันดาลให้ทุกท่านมีดวง ปัญญาสว่างไสว แทงตลอดในธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีปัญญาว่องไว โตต้ อบแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ยา่ งไมม่ ที ส่ี น้ิ สดุ ดจุ ฝง่ั แหง่ แผน่ ดนิ ทร่ี องรบั คลน่ื จากมหาสมทุ รอยา่ งไมร่ จู้ บสน้ิ คุณความดีท่ีเกิดขึ้นจากหนังสือเล่มนี้ ขอน้อมสักการบูชามหาปูชนียาจารย์ พระคุณบิดา มารดา บุพการี คุณครูอปุ ชั ฌาย์อาจารย์ทกุ ท่าน ทีเ่ ปน็ กลั ยาณมิตรประคับประคองใหไ้ ด้มาบ�ำ เพ็ญ คุณงามความดี และคุณประโยชนจ์ นถงึ ทุกวนั น้ี. พระครธู รรมธรไพบลู ย์ ธมฺมวปิ ุโล และคณะ วดั พระธรรมกาย จ.ปทุมธานี ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ www.kalyanamitra.org | www.webkal.org www.kalyanamitra.org

3 ค�ำ ชี้แจงการใช้อุปมาอุปไมย ๑. บทน�ำ อุปมาอุปไมยน้ี คัดลอกมาจากพระไตรปิฎกฉบับต่างๆ และหนังสือมิลินทปัญหาฉบับพร้อม อรรถกถา ฎกี า ช�ำ ระโดยพระธรรมมหาวีรานุวตั ร (ปยุ้ ฉายแสง) คณะผู้จัดทำ�ได้คัดลอกข้อความจากพระไตรปิฎก มีการตัดย่อข้อความที่ซ้ำ�บ้าง แต่ส่วน ใหญย่ ังรักษาส�ำ นวนภาษาจากพระไตรปิฎก เพื่อรกั ษาสาระสำ�คญั ของอุปมาอปุ ไมยเอาไว้ หนังสือเล่มนี้ นำ�อุปมาอุปไมยมาจัดหมวดหมู่ตามหลักมงคลสูตร ๓๘ ประการ เพ่ือให้ เหมาะสมกับการค้นคว้านำ�ไปใช้ได้โดยสะดวกรวดเร็ว เช่น ถ้าต้องอุปมาอุปไมยเร่ืองคนพาล ก็ สามารถเปดิ ไปทม่ี งคลท่ี ๑ ไมค่ บคนพาล ซงึ่ ไดร้ วบรวมอปุ มาอปุ ไมยเกยี่ วกับคนพาลในมติ ติ า่ งๆ ไวใ้ นท่ีเดยี ว สำ�หรับท่านท่ีมีความประสงค์จะนำ�อุปมาอุปไมยไปใช้อ้างอิงในการเขียนบทความ ควร ศึกษาถึงท่ีมาจากพระไตรปิฎก โดยคณะผู้จัดทำ�ได้อ้างอิงท่ีมาไว้ด้านท้ายของอุปมาอุปไมยในแต่ละ ข้อ ซึ่งสามารถศึกษาได้จากอักษรย่อช่ือคัมภีร์ และตารางเทียบเคียงพระไตรปิฎกฉบับต่างๆ หน้า ๓๔๕ เชน่ ข.ุ ชา. (โพธ)ิ มก. ๕๙/๒๑๑ หมายถงึ คัมภีร์ขทุ กนกิ าย ชาดก คำ�กล่าวของพระโพธสิ ัตว ์ จากหนังสอื พระไตรปฎิ กฉบับมหามกุฏราชวิทยาลยั เล่มท่ี ๕๙ หน้า ๒๑๑ ๒. อกั ษรยอ่ (พุทธ) หมายถึง พระด�ำ รัสของพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ (ปจั เจก) หมายถึง พระด�ำ รสั ของปัจเจกพุทธเจา้ (เถระ), (เถร)ี หมายถึง ค�ำ กลา่ วของพระเถระ, พระเถรี (อรรถ) หมายถงึ คำ�กล่าวของพระโบราณจารย์ (โพธิ) หมายถึง ค�ำ กลา่ วของพระโพธิสตั ว์ (ท่วั ไป) หมายถึง ค�ำ กลา่ วทีม่ ิใช่ของบคุ คลขา้ งต้น เช่น เทวดา, พระราชา, พราหมณ์ เปน็ ต้น www.kalyanamitra.org

4 มก. ๑๑/๓๘๙ หมายถงึ พระไตรปิฎก และอรรถกถาแปล ฉบับมหามกฏุ ราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๕ เล่มท่ี ๑๑ หนา้ ๓๘๙ มลิ นิ . ๔๕๘ หมายถึง มิลนิ ทปัญหา ฉบบั พรอ้ มอรรถกถา ฎีกา ช�ำ ระโดย พระธรรมมหาวรี านุวตั ร (ปุ้ย แสงฉาย) หนา้ ๔๕๘ www.kalyanamitra.org

5 ๒ ๓ สารบัญทั่วไป ๓ ๓ คำ�น�ำ ๕ คำ�ช้ีแจงการใช้อปุ มาอปุ ไมย ๖ บทนำ� ๓๔๕ อกั ษรยอ่ ๓๔๖ สารบญั ทว่ั ไป ๓๕๐ สารบัญมงคลสูตร ๓๖๔ บรรณานกุ รม ๓๖๘ วธิ ีฝึกสมาธิเบอื้ งต้น รายนามเจา้ ภาพผรู้ ว่ มจัดพิมพ์ ประวตั ิผู้เรยี บเรียง คณะผูจ้ ัดทำ� www.kalyanamitra.org

6 สารบัญมงคลสูตร มงคลท่ี ๑ ไมค่ บคนพาล ๒๘ ๒๙ ๑. ไม่คบคนพาล อุปมาดว้ ย ๓๐ งมู พี ษิ ทางท่คี วรละเวน้ แกว้ มณี เนื้อในปา่ ราหู และบ่อไมม่ นี �ำ้ ๓๑ ๒. ลกั ษณะของคนพาล อปุ มาดว้ ย ๓๒ ภาชนะดนิ ที่แตก กองแกลบ ฟา้ กบั ดิน ลูกศร คนตาบอด สุกร โค หม้อมนี �ำ้ ครึ่งหน่งึ และน้ำ�ผ้งึ ๓. โทษของความเป็นคนพาล อุปมาด้วย ทางไปของไฟปา่ ทัพพี ขุยแห่งไม้ไผ่ รองเทา้ มหาโจร ลอบทปี่ ากอา่ ว เตา่ ตาบอด พระจนั ทรถ์ ูกเมฆด�ำ ปิดไว้ และธุลี ๔. โทษของการคบคนพาล อุปมาด้วย ลูกศรแช่ยาพิษ ปลาเน่า ช้าง พระจันทร์ข้างแรม น�ำ้ ตกในทด่ี อน และปา่ ชา้ มงคลท่ี ๒ คบบณั ฑิต ๓๔ ๑. คบบณั ฑิต อปุ มาด้วย ๓๕ คนกระหายน้ำ� วานร คนตาบอด มหาสมุทร แกว้ มณี และปา่ ๒. อานสิ งสข์ องการเป็นบณั ฑิต อุปมาด้วย ๓๖ แสงเงนิ แสงทอง ภเู ขาหิมพานต์ เมฆฝน และกล่ินดอกไม้ ๓. อานสิ งส์ของการคบบัณฑิต อุปมาด้วย ๓๖ ลิน้ รรู้ สแกง ใบไมห้ อ่ ของหอม น�้ำ ในสระ ภเู ขาหิน และผบู้ อกขุมทรพั ย์ มงคลที่ ๓ บชู าบุคคลทคี่ วรบูชา ๓๘ ๑. คณุ ของพระรตั นตรยั อปุ มาดว้ ย ๓๙ นำ�้ ขุมทรพั ย์ จนั ทรเ์ พ็ญ ดวงอาทติ ย์ เมฆฝนใหญ่ สารถี ศลั ยแพทย์ จกั ษุแพทย์ แพทย์ผู้ฉลาด ผู้ช้ีทาง นายเรือ ผู้ชี้ขุมทรัพย์ มิตรดี บ่อเกิดแห่งทรัพย์ บิดาผู้ มอบมรดก ดอกบวั บาน และชา่ งท�ำ เครื่องประดับ www.kalyanamitra.org

7 ๒. คณุ ของพระสมั มาสัมพุทธเจา้ ๔๒ ๒.๑ คุณความดี อปุ มาดว้ ย ๔๒ ดอกบวั ถกู แสงอาทติ ย์ แก้วมณี เมล็ดผกั กาด ทรัพย์ พระจนั ทร์ และ ยาบ�ำ บดั โรค ๒.๒ คณุ ประโยชน์ อุปมาด้วย ๔๓ พระจันทร์ พระอาทติ ย์ เกาะกลางสมุทร พระอาทิตย์อัสดงคต ตน้ ไม้ใหญ่ นกละป่า พระเจา้ จักรพรรดิ ไฟกองใหญ่ และพืชทยี่ ังออ่ น ๒.๓ ความย่ิงใหญ่ อุปมาดว้ ย ๔๔ พระจันทร์ พระอาทติ ย์ พระเจ้าจกั รพรรดิ ทองห่อหุ้มด้วยผ้ากัมพลแดง เกสรแวดล้อมด้วยกลีบ ท้าวสหัสนัยน์เทวราช ฝนเม็ดใหญ่ เรือ แผ่นดินใหญ่ พระยาครฑุ ราชสีห์ มหาสมุทร ตัวเลข ภเู ขาสตบรรพต พระราชา คลน่ื แผ่นดนิ หญา้ คา หมู่หนอนสขี าว นก ๔ เหล่า ภูเขาคูถ ลกู ใหญ่ สะดอื ทะเล และเปลวไฟท่ีดับแลว้ ๒.๔ คณุ วเิ ศษ อุปมาดว้ ย ๔๙ พระจันทร์ ลกู ศรเหลก็ บรุ ุษยนื บนยอดเขา บรุ ษุ ผู้มกี ำ�ลังเหยยี ดแขนที่ค ู้ ออกไป คนจะไปต่างประเทศกอดญาติ มะขามป้อมท่ีวางไว้บนฝ่ามือ ปลา เต่า และชาวประมง ๒.๕ การกำ�จัดกิเลส อปุ มาด้วย ๕๐ ตาลยอดด้วน พระอาทิตย์ งูลอกคราบ ราชสหี ก์ ำ�จดั ธุลี นกั รบ ไฟสถิต ในน้ำ�ไมไ่ ด้ แผน่ ดนิ และดอกบัวไม่ติดน�้ำ ๒.๖ พทุ ธลักษณะ อุปมาดว้ ย ๕๑ พ้ืนรองเท้าทองคำ� สังข์คว่ำ� คุยหะแห่งโค และช้าง กายพรหม กาย ท่อนหน้าของราชสีห์ แผ่นกระดานทอง ต้นนิโครธ กลองทอง พระจันทร์วันขึ้น ๑๒ คำ่� แก้ววิเชียรที่ตั้งไว้บนแผ่นกระดานทอง ดาว ประกายพรกึ เสียงนกการเวก ดวงเนตร พระโคแดงออ่ น ดอกบวั บาน สะพรั่ง ช้าง แก้วมณีวางบนผ้ากาสิกพัสตร์ สีปีกแมลงทับทิมทอง ต้น ปาริฉตั ร ยอดภเู ขาทอง พระยาชา้ ง และดอกบวั www.kalyanamitra.org

8 ๒.๗ พระรศั มี อปุ มาด้วย ๕๖ ดวงอาทติ ยแ์ ละดวงจันทร ์ ๒.๘ การแสดงธรรม การฝกึ คน อุปมาดว้ ย ๕๗ หงายของทคี่ ว�่ำ เปิดของท่ปี ิด บอกทางแก่คนหลงทาง จับตน้ หวา้ ใหญส่ นั่ บุคคลอิ่มในรสอันเลิศ บุคคลยิงปลายขนทรายด้วยลูกศร คนเดินทางไกล ดื่มนำ้�ฝน คนฝึกม้า หมอรักษาบาดแผล แม่ไก่จิกกระเปาะฟองไข่ พระจันทร์ พระอาทิตย์ ภูเขาสิเนรุ ก้อนดินขว้างไปในท้องฟ้า ความตาย ของสัตวท์ ั้งหลาย หง่ิ หอ้ ย ดอกไม้ ผลไม้ในอทุ ยาน และคล่ืนในมหาสมุทร ๓. คณุ ของพระธรรม อุปมาด้วย ๕๙ ราชรถ ฟ้าและแผ่นดินไกลกัน พระเจ้าจักรพรรดิ ลำ�น้ำ�หนุนแผ่นดิน พระอาทิตย์อุทัย จารึกอักษรบนหลังแผ่นหิน หินของนักมวยปล้ำ� และ เหล่าเสนาตา่ งๆ ของพระราชา ๔. คณุ ของพระสงฆ์ อปุ มาด้วย ๖๑ ต้นหว้า มารดาและนางนม ผู้รักษาเรือนคลัง มหานาวาทอง ดวงดาว พระจันทร์พ้นจากหมอก การบันลือของสีหะ ดอกบัวมีกลิ่นดี ภูเขาสิเนรุ ต้นไม้ใหญ่ เกลือ น้ำ�ผึ้ง ไฟ ไกรสรสีหะ เมล็ดผักกาด บุรุษผู้มีบุญน้อยได้ ราชสมบัติ ดวงอาทิตย์ บิดายกย่องคุณของบุตร น้ำ�ขุ่นชำ�ระล้างโคลนได้ บตุ ร และบิดา ๕. คณุ ของพระโพธิสตั ว์ อุปมาดว้ ย ๖๔ พระธรรมกถกึ ลงจากธรรมาสน์ และโคจ่าฝงู มงคลท่ี ๔ อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม ๖๖ ๑. สถานที่เปน็ ท่ีสบาย อุปมาดว้ ย ๖๗ นกเคา้ พชื ทห่ี วา่ นในทบ่ี รสิ ทุ ธ์ิ ดวงจนั ทร์ วานร พายุ เนอ้ื ในปา่ คา้ งคาว และลา ๒. อาหารเปน็ ทสี่ บาย อุปมาด้วย ๖๘ ไก่ บุรุษทายารักษาแผล งูเหลือม สุกรใหญ่ จระเข้ เสอื เหลอื ง ราชสีห์ ชา่ งยอ้ ม ผ้า คนเลยี คมมดี โกน และราชเสวก (ขา้ ราชการ) ๓. บุคคลเป็นท่ีสบาย อุปมาด้วย ๗๐ พอ่ ค้า และนก www.kalyanamitra.org

9 มงคลที่ ๕ มบี ุญวาสนามาก่อน ๗๒ ๑. ผลของบุญ อปุ มาด้วย ๗๓ ญาติมิตร หยาดน้ำ� ช่างทอง แม่น้ำ� เงาติดตามตัว พระจันทร์วันเพ็ญ ดวงประทีป เรอื มหาเมฆ เนยใส และก้อนหนิ ใหญล่ งเรอื บรรทุก ๒. รูปสมบตั ิ อุปมาดว้ ย ๗๕ ดอกบัว ปุยนุ่น แม่นำ้�ใกล้ภูผา ทองคำ�ในปากเบ้า ดวงตาแห่งรูปมฤคหน่ึงขวบ ก�ำ หางนกยงู ผลต�ำ ลึงสุก ระเบยี งแหง่ เพชร พวงอบุ ลเขยี ว และดอกกรรณกิ า ๓. การอุทศิ สว่ นบุญ อุปมาด้วย ๗๖ น�้ำ ฝนตกลงบนที่ดอน และห้วงน�้ำ มงคลที่ ๖ ตัง้ ตนชอบ ๗๘ ๑. ศรัทธา อุปมาด้วย ๗๙ บอ่ ทไ่ี มม่ นี �ำ้ ตน้ ไทรใหญ่ พระจนั ทรข์ า้ งขน้ึ แกว้ มณี กาลกั น�ำ้ หมอ้ เนยใส และพชื ๒. ประโยชน์ชาตินี้ อปุ มาดว้ ย ๘๑ บคุ คลก่อไฟอันน้อยใหล้ ุกโพรง แมลงผึง้ สรา้ งรัง และคนชงั่ ตาช่ัง ๓. ประโยชนช์ าตหิ นา้ อปุ มาดว้ ย ๘๑ พวงดอกไม้ พระอาทิตย์ขึ้น หัวเนยใส บุคคลมืดและสว่าง บุคคลสองตา การกู้ หนี้ และผา้ เศรา้ หมอง ๔. ประโยชน์อยา่ งย่งิ อปุ มาดว้ ย ๘๓ เดอื ยขา้ วสาลี เรอื ลูกคล่ืน และฝ่ังแม่น�้ำ ๕. การเสือ่ มจากประโยชน์อย่างยงิ่ อุปมาดว้ ย ๘๔ ผลมะเด่ือ หางแหลมของเมล็ดข้าวสาลี นกกะเรียนแก่ ลูกศรท่ีตกจากแล่ง เรือ ดุน้ ฝืนเผาผี กวาง บรุ ษุ ผตู้ กหลุมคูถ คนถูกศัตรูรุมล้อม และคนเจบ็ ป่วย มงคลที่ ๗ พหสู ตู ๘๖ ๑. ปญั ญา อุปมาดว้ ย ๘๗ รสเกลอื คนเกี่ยวข้าว การจุดประทปี สอ่ งประทีปลม และงู ๒. ผูม้ ปี ญั ญา อปุ มาดว้ ย ๘๘ บุคคลล้างมือด้วยมือ เกาะ อาวุธ พระจันทร์ รอยจารึกที่ศิลา ภิกษุบิณฑบาต การเกี่ยวขา้ ว และความสวา่ ง www.kalyanamitra.org

10 ๓. การศึกษา อปุ มาด้วย ๘๙ งูพิษทจี่ ับไม่ดี และนายโคบาล ๘๙ ๔. ผมู้ ีปัญญา อปุ มาด้วย มหาสมทุ ร โคถกึ ดุ้นฟืนเผาศพ และฝูงโค มงคลที่ ๘ มศี ลิ ปะ ๙๒ ๑. มศี ิลปะ อปุ มาด้วย ๙๓ ดวงอาทิตย์ มนต์ บุตร ศสั ตราวุธ และศลี มงคลที่ ๙ มีวนิ ยั ๙๔ ๑. ความส�ำ คัญของศีล อุปมาด้วย ๙๕ แสงเงนิ แสงทอง พชื พวกนาค และนา ๒. การรักษาศลี อุปมาดว้ ย ๙๖ จามรรี กั ษาขน นกตอ้ ยตวี ดิ รกั ษาไข่ บุรุษศีรษะไมข่ าด กุมาร มหาสมุทร ดอกบวั อากาศ แผ่นดนิ ดวงจนั ทร์ บคุ คลถูกตดั ศรี ษะ บคุ คลหอ้ ยสาก บคุ คลหอ้ ยขเ้ี ถา้ และบุคคลนงุ่ ผ้าด�ำ สยายผม ๓. อานิสงส์ของการรกั ษาศลี อปุ มาด้วย ๙๘ พระราชาผไู้ ดม้ รุธาภิเษก ไฟส่องแสงบนยอดเขา กลิน่ ดอกไม้ และบุคคลล้างมอื ดว้ ยมือ ๔. โทษของการทศุ ีล อุปมาดว้ ย ๙๙ ถูกทิ่มด้วยปฏัก ใบไม้เหลือง ใบไม้ปกปิดลูก ดุ้นฟืนเผาศพ คนศีรษะขาด มหาสมุทร ผ้าขาดที่ชายโดยรอบ ผา้ ทเ่ี ปน็ ช่องทะลตุ รงกลาง แม่โคสดี ำ�ดา่ ง แม่ โคที่พราวเป็นดวง ตน้ ไมท้ ่มี กี ิ่งและใบวบิ ตั ิ บุรษุ ถกู ตัดศรี ษะ ใบไมเ้ หลืองหลุดจาก ข้ัว ศิลาหนาแตกสองเส่ียง ต้นตาลมียอดด้วน แม่โคมีสีจาง และแม่โคมีจุดลาย ๕. พระวนิ ยั อุปมาดว้ ย ๑๐๑ พระเจ้าจักรพรรดิ แพทย์ มหาสมุทร ดอกไม้ท่ีคุมไว้ด้วยด้ายเหนียว หมอ และเชอื กรอ้ ยพวงมาลยั มงคลที่ ๑๐ วาจาสุภาษิต ๑๐๔ ๑. วาจาสุภาษิต อุปมาดว้ ย ๑๐๕ ดอกไมง้ าม การบนั ลือของสีหะ และน้ำ�มูตรโคท่ีดองยา www.kalyanamitra.org

11 ๒. พดู จรงิ อุปมาด้วย ๑๐๖ รอยจารกึ บนแผ่นหิน ลม และกนิ ยาพิษ ๑๐๖ ๓. พดู ไพเราะ ไมห่ ยาบคาย อปุ มาดว้ ย ๑๐๖ กังสดาลถกู เลาะขอบ และหงสท์ อง ๑๐๗ ๔. พูดถกู กาล อุปมาด้วย ๑๐๗ ลูกนกดุเหว่า ๑๐๘ ๕. วาจาทภุ าษติ อปุ มาด้วย ย้อมผา้ ด้วยขม้ิน การต้มแกงถ่วั อสรพษิ และกบในป่า ๑๐๘ ๖. พูดโกหก อุปมาด้วย ชา้ งต้น และไฟถกู เถ้าปกปิดไว้ ๗. พูดหยาบคาย อปุ มาดว้ ย คนกลนื ไฟ คนเอามือลูบคมดาบ และคนเคย้ี วกินกอ้ นเหล็กด้วยฟนั ไม้ขรุขระครดู หู โกนผมด้วยมดี โกนไม่คม และกิ่งไมค่ ดมหี นาม ๘. การรักษาความลับ อปุ มาด้วย คนเปน็ ทาสอดทนคำ�ด่าว่าของนาย และรกั ษาขุมทรัพย์ มงคลท่ี ๑๑ วาจาสภุ าษติ ๑๑๐ ๑. พระคุณบิดามารดา อปุ มาด้วย ๑๑๑ บคุ คลแทงพาหนะด้วยปฏกั พรหม บุรพาจารย์ และอาหไุ นยบคุ คล ๒. ความกตัญญู กตเวที อุปมาดว้ ย ๑๑๑ การเปลอื้ งหนี้ ๓. ลูกอกตัญญู อปุ มาด้วย ๑๑๒ สุนัขลุมเห่าสุกร ม้าแก่ท่เี จ้าของปล่อยทิ้ง รากษส ไม้เท้า และคนถอ่ ย มงคลที่ ๑๒ เล้ยี งดูบตุ ร ๑๑๔ ๑. การอยใู่ นครรภ์ อุปมาดว้ ย ๑๑๕ มารดามองดูบุตร ๒. ความรกั ในบุตร อปุ มาด้วย ๑๑๕ หมอรีบพยาบาลคนที่ถกู งูกัด การก้หู น้ี แมม่ ดที่ผีสงิ ลกู โคออ่ นยนื คอยชะเงอ้ หา แม่ และมา้ อัสดร www.kalyanamitra.org

12 มงคลที่ ๑๓ สงเคราะหภ์ รรยา (สาม)ี ๑๑๘ ๑. ประเภทของภรรยา (สามี) อุปมาดว้ ย ๑๑๙ เพชฌฆาต โจร นาย แม่ พ่ีสาว นอ้ งสาว เพอ่ื น ทาสี ผี และเทวดา ๒. การสงเคราะห์ภรรยา (สาม)ี อุปมาด้วย ๑๑๙ ลม น้ำ� ธรรมะ ยา โภชนะ มาณพบ�ำ รุงอาจารย์ น้�ำ นมและสงั ข์ เปลอื ย สายธนู ขาด ธง และพระราชา ๓. การตดั ใจจากสามี (ภรรยา) อุปมาดว้ ย ๑๒๐ นกละทง้ิ ตน้ ไม้ และนำ้�ยอ้ มขมิ้น มงคลท่ี ๑๔ ทำ�งานไม่คัง่ คา้ ง ๑๒๒ ๑. อทิ ธบาท ๔ อปุ มาดว้ ย ๑๒๓ ราชสหี ์ กองไฟในยามราตรี แสงเงินแสงทอง ยาแกโ้ รค และพระจนั ทรข์ า้ งขึ้น ๒. โทษของความเกียจครา้ น อปุ มาด้วย ๑๒๔ ชา่ งศร นกกะเรียน ลกู ศร และคล่ืนในมหาสมทุ ร ๓. การทำ�งานโดยไมพ่ จิ ารณา อปุ มาดว้ ย ๑๒๔ พระจันทร์ข้างแรม บุคคลกินของร้อน ความวิบัติของยา และคนเหยียบใบตาล แห้ง ๔. โทษของการคบคนเกียจคร้าน อปุ มาดว้ ย ๑๒๕ บุคคลข้ึนแพไม้น้อยๆ ในมหาสมุทร เต่าตาบอด และคนเกาะไม้เล็กๆ จมลงใน หว้ ยนำ�้ ใหญ่ มงคลท่ี ๑๕ บ�ำ เพญ็ ทาน ๑๒๖ ๑. ผรู้ บั บรสิ ุทธ์ิ อุปมาด้วย ๑๒๗ ชาวนาเหน็ นาอนั เปน็ อูข่ า้ ว อ่นู �ำ้ มหาสมทุ ร อาหาร นา พืชทหี่ ว่านในนาดี พชื หวา่ นในนาดอน และดวงจันทร์ ๑๒๙ ๒. ผรู้ บั ไม่บริสุทธิ์ อุปมาดว้ ย ๑๒๙ พระจนั ทรใ์ นหมู่ดาว และชาวนาผู้ฉลาด ๓. ผใู้ ห้ อุปมาด้วย หม้อน�้ำ ทีเ่ ต็ม สระนำ้� ต้นนิโครธ และเมฆฝน www.kalyanamitra.org

13 ๔. ใหอ้ วยั วะเป็นทาน อุปมาด้วย ๑๓๐ พระยาหงส์ ยกดอกบัวออกจากน�้ำ กรีดเย่ือนำ้�อ้อยงบของตาล และคนควกั จาวตาล ๕. ความเคารพในทาน อุปมาด้วย ๑๓๑ พระอาทิตย์ และยัดเห้ียเข้าจอมปลวก ๖. ผู้ใหด้ ว้ ยศรทั ธา อปุ มาดว้ ย ๑๓๑ หวา่ นพืชลงในนา หอ้ งน้�ำ ทเ่ี ต็ม บอ่ น�ำ้ และการรบ ๗. ผู้ให้ไม่บรสิ ทุ ธ์ิ อปุ มาดว้ ย ๑๓๒ คนฆา่ โจร ๘. อานสิ งสข์ องการใหท้ าน ๑๓๒ ๘.๑ ต่อตนเอง อปุ มาด้วย ๑๓๒ ดวงจันทร์ เมฆ แมน่ ้�ำ ชาวนาไถนา เรอื นทถี่ กู ไฟไหม้ และนักมวยปล�้ำ ๘.๒ ตอ่ หม่ญู าติ อุปมาด้วย ๑๓๓ หว้ งนำ้�ใหญ่ น้ำ�ฝน นา ชาวนา และพชื ๙. ผู้ขอ อุปมาดว้ ย ๑๓๔ แก้วมณี การร้องไห้ และช้างสละสัปคับ ๑๐. ความตระหน่ี อุปมาดว้ ย ๑๓๔ น้�ำ ในถน่ิ อมนุษย์ มงคลท่ี ๑๖ ประพฤตธิ รรม ๑๓๖ ๑. สุจริต ทุจริต อุปมาด้วย ๑๓๗ ชา่ งท�ำ ล้อ ๑๓๗ ๒. สัจจะ อปุ มาด้วย ๑๓๘ รส ดาวประกายพรกึ และคนั ชงั่ ๑๓๘ ๓. อคติ อปุ มาดว้ ย ๑๔๐ ดวงจันทรข์ า้ งแรม ดวงจนั ทรข์ า้ งขนึ้ ตราชู และต้นไม้ใหเ้ งา ๑๔๐ ๔. พรหมวหิ าร ๔ อุปมาดว้ ย สระบัว เมฆ น�้ำ เตา่ สกุ ร พังพอน และแผ่นดิน ๕. ความสามคั คี อปุ มาดว้ ย นำ้�นมกบั น�ำ้ ๖. สัมมาทฏิ ฐิ อุปมาดว้ ย อ้อย ขา้ วสาลี องนุ่ และแสงเงินแสงทอง www.kalyanamitra.org

14 ๗. นรก/สวรรค/์ โลกหนา้ /โอปปาติกะ อุปมาดว้ ย ๑๔๐ หลุมถา่ นเพลงิ พระจนั ทร์ พระอาทติ ย์ โจร คนตกลงไปในหลมุ อจุ จาระ คนท่เี สีย จักษุแต่กำ�เนิด นางพราหมณีมีครรภ์แก่เอามีดผ่าท้องเพ่ือดูเพศของบุตร ฝันกลางวัน ช่งั ก้อนเหลก็ เผาไฟ คนเปา่ สงั ข์ ชฎิลบูชาไฟ ฝนุ่ ทป่ี ลายพระนขากับ ฝุ่นในมหาปฐพี ประทีป วิชาเลข ลูกนกยูง และลูกไกป่ า่ ๘. กฎแห่งกรรม อุปมาดว้ ย ๑๔๗ บุคคลหว่านพืช ลูกศรของนายพราน สุนัขล่าเน้ือ ก้อนกรวดโยนลงนำ้� นัก มวยปล�ำ้ โค ปากประตู ท่อนไมท้ ี่คนขวา้ ง ตน้ ไม้ กอไม้ เถาวัลย์ และความต่าง แห่งพืช มงคลที่ ๑๗ สงเคราะหญ์ าติ ๑๕๐ ๑. ประเภทของญาติ อุปมาด้วย ๑๕๑ ดุน้ ฟืนเผาศพ และยอดเนยใส ๒. ลักษณะของญาติ อปุ มาด้วย ๑๕๑ ความคนุ้ เคย ๓. ประโยชนข์ องการสงเคราะหญ์ าติ อปุ มาดว้ ย ๑๕๒ ตน้ ไทรกองเพลงิ พืชหว่านในนาดี และไม้เกิดในป่า ๔. สงเคราะหญ์ าติ อุปมาด้วย ๑๕๒ เพลารถ พระเจ้าจักรพรรดิ กา อาหาร ปา่ เมฆ วิธฝี งั ขุมทรพั ยข์ องนกแขกเต้า และความเป็นกษตั ริย์กับนำ้� ๕. ญาติท่ีไม่ควรสงเคราะห์ อุปมาด้วย ๑๕๔ พชื หว่านลงในไฟ และคนทีต่ ายไปแลว้ มงคลที่ ๑๘ ท�ำ งานไมม่ โี ทษ ๑๕๖ ๑. ท�ำ งานไมม่ โี ทษ อุปมาดว้ ย ๑๕๗ ผลมะง่วั หีบอ้อย โคทีฝ่ กึ ดีแลว้ โคตัวผู้ กระต่ายในดวงจนั ทร์ น้ำ�นมกา ดอกบวั หลวง และจนั ทัน ๒. ท�ำ งานมโี ทษ อปุ มาด้วย ๑๕๘ กินอาหารพร้อมด้วยหนาม กินอาหารพร้อมแมลงวัน งูลอกคราบ ฝูงโคข้ามฟาก ตน้ ไมใ้ หญ่ คนเดนิ ทางไมร่ าบเรยี บ น�้ำ เตา้ ขมผสมยาพษิ และนำ�้ หวานผสมยาพษิ www.kalyanamitra.org

15 มงคลท่ี ๑๙ งดเว้นบาป ๑๖๒ ๑. คนทำ�บาป อปุ มาด้วย ๑๖๓ กา ภาชนะดนิ ต้นไมใ้ นปา่ สัตวอ์ าศยั รู ถ่านปกปดิ ดว้ ยข้เี ถ้า และนกั เลงสุราดม่ื สรุ าเจอื ยาพษิ ๒. งดเว้นบาป อปุ มาดว้ ย ๑๖๔ โปรยแกลบลอยไปในลม ทำ�นบกั้นกระแสนำ้� พ่อค้าเกวียน ป่าไม้สาละ บุคคลมี ผ้าถูกไฟไหม ฝน โจรผู้ร้าย หนทางตั้งเข็มทิศ งู ชายเลี้ยงหมู นักเลงสกา งู ลอกคราบ มะลิเครือปล่อยดอก นำ้�ที่เหลือในภาชนะ ช้างต้น คนใช้คันฉ่องดูเงา หนา้ และยาพษิ ในฝ่ามือทีไ่ ม่มแี ผล ๓. ผลของบาป อุปมาดว้ ย ๑๖๗ นำ้�ผ้ึง ผ้านุ่งของพ่ีเลี้ยงเปื้อนน้ำ�ลาย ตัดต้นไม้ ก้อนหินต่อยหม้อแตก ถูกไฟไหม้ หม้อน�ำ้ ความวบิ ัติแห่งยาแก้โรค ชาวเมืองรงั เกยี จของสกปรก โยนกอ้ นหินลงน�ำ้ เงาตดิ ตามตัวไป ซดั ธุลีทวนลม และผ้ไู ม่รจู้ บั ก้อนเหล็กแดงอนั ร้อนแรง ๔. อานิสงสข์ องการงดเว้นบาป อปุ มาด้วย ๑๖๙ พระจันทร์พน้ จากหมอก ยาพิษในฝ่ามือทไี่ มม่ แี ผล และคนเป็นไข้ดม่ื ยา มงคลที่ ๒๐ ส�ำ รวมจากการด่ืมน้ำ�เมา ๑๗๐ ๑. โทษของนำ้�เมา อุปมาดว้ ย ๑๗๑ กอ้ นหินจมน�ำ้ ขดุ รากเหง้าของตนเอง พิษของพรหมจรรย์ เคร่ืองเศร้าหมองของ สมณพราหมณ์ และปลา มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม ๑๗๒ ๑. ความส�ำ คญั ของความไม่ประมาท อุปมาดว้ ย ๑๗๓ รอยเท้าช้างพระเจ้าจักรพรรดิ กลอนแห่งเรือนยอด แสงสว่างของพระจันทร์ ไม้กลัมพกั จันทรแ์ ดง มะลิ และทรพั ย์อันประเสรฐิ ๑๗๔ ๒. โทษของความประมาท อปุ มาด้วย คนตาบอด ตน้ ไม้ทีถ่ ูกทรายคลุมทับ คนเลี้ยงโค คนตายแล้ว และน�ำ้ ใหญ่พดั พา ชาวบ้านผู้หลบั ไป www.kalyanamitra.org

16 ๓. ผไู้ ม่ประมาท อปุ มาด้วย ๑๗๕ กรรมกร นายพราน นายท้ายเรือ หนู งู ไก่ นายมาลาการ (คนจัดดอกไม)้ โค ฟองน�ำ้ พยับแดง และชา้ ง ๔. อานสิ งส์ของความไมป่ ระมาท อปุ มาด้วย ๑๗๖ ดวงจันทรพ์ น้ จากหมอก และมา้ ฝเี ทา้ เรว็ ๕. ความแก่ ความเจ็บ ความตาย อปุ มาดว้ ย ๑๗๗ ผทู้ ี่ยืนบนยอดของศิลา นายโคมาล แมน่ ำ้� และเรอื ขา้ มทา่ ๖. ความแก่ อปุ มาดว้ ย ๑๗๗ ดอกบัวเหี่ยวแห้ง ใบไม้เหลือง พืชท่ีเฉาเห่ียวแห้ง ด้ายท่ีกำ�ลังทอ ทางไปของน้ำ� ลม ไฟ เกวยี นเก่า และดอกไม้ทีท่ ิง้ ตากแดดไว้ ๗. ความตาย อุปมาดว้ ย ๑๗๘ ผลไม้สุก ฟองน�ำ้ หยาดนำ้�คา้ งบนยอดหญ้า รอยไม้ทข่ี ดี ลงในนำ�้ หอ้ งนำ้�ใหญ่พัด ชาวบ้านท่ีนอนหลับ แม่น้ำ�ไหลลงจากภูเขา นำ้�ในแม่นำ้�น้อย ลูกจ้างรอค่าจ้าง ภาชนะดินแตก ไมอ้ ้อที่ถูกตัด ต้นไมท้ เี่ กิดใกล้ฝ่ัง กอ้ นเขฬะ ชนิ้ เนือ้ ในกระทะเหล็ก แม่โคที่จะถูกเชือด สายฟ้าแลบ ความฝัน ภูเขาใหญ่กล้ิงบดสัตว์ พลรบของ พระราชา คชสารทตี่ กมัน นายขมงั ธนู ยกั ษ์ ปศี าจ ราชสีห์ เสอื โคร่ง นักเล่นกล อสรพิษ แพทย์ วิชาธร ผลไม้สุก โคถกู นำ�ไปฆา่ สระ มหาปฐพี และภาชนะดนิ ๘. การตายกอ่ นเวลาอันควร อุปมาด้วย ๑๘๔ ผลไมต้ กจากต้นก่อนสุก ลูกธนูที่ติดสิ่งกีดขวาง หนอ่ ไม่ไผ่อ่อนทถ่ี กู กวน และน�้ำ ที่ เทลงพนื้ ๙. อายุ อุปมาด้วย ๑๘๔ ฝูงปลาในนำ้�น้อย นำ้�ในแม่นำ้�น้อย น้ำ�ไม่ไหลไปที่สูง กงจักรตามธูปรถ และ ตะเกยี งน�ำ้ มนั ๑๐. ร่างกาย อปุ มาดว้ ย ๑๘๕ พยับแดด คนฆ่าโค เรือแล่นไปด้วยกำ�ลังลม งูพิษเป้ือนคูถ ท่อนไม้ งูละท้ิง คราบ บคุ คลรักษาแผล สัตว์อาศัยแผ่นดนิ และฟองน้�ำ ๑๑. สติ ๑๘๗ ๑๑.๑ ประโยชน์ของสติ อุปมาดว้ ย ๑๘๗ เกลือสะตุ อำ�มาตย์ ขุนคลัง นายประตู พระเจ้าจักรพรรดิ ผาล และ ประตัก กิ่งและใบไม้ www.kalyanamitra.org

17 ๑๑.๒ การเจรญิ สติ อปุ มาด้วย ๑๘๙ ผูกลูกโคไว้ท่ีหลัก นายประตู หยาดน้ำ�ไม่ติดบนใบบัว บุรุษไม่ได้สวม รองเท้า บุคคลประคองภาชนะอนั เตม็ เปีย่ มไปดว้ ยน�้ำ มนั ชา้ ง พอ่ ค้าม้า และเสากระโดงเรอื มงคลท่ี ๒๒ มคี วามเคารพ ๑๙๒ ๑. ความเคารพในพระพทุ ธเจา้ อุปมาด้วย ๑๙๓ ดอกจัมปา ดอกอุบล จันทร์แดง นำ้�ในมหาคงคาเทใส่ในรูเข็ม สถานท่ีที่ปีกนก ปรบในอากาศ มหาปฐพี มหาสมุทร อากาศ บ่วงเข็มตักจากแม่นำ้�ใหญ่ ฝุ่นท่ี บรุ ุษจบั ข้ึนมาจากแผ่นดิน นิว้ ที่ช้ไี ปยังมหาสมทุ ร อากาศ และดวงจนั ทร์ ๒. ความเคารพในพระธรรม อปุ มาดว้ ย ๑๙๔ เสาเขอื่ น เสาเหล็ก ไม้ไผ่ และต้นหน ๓. ความเคารพในพระสงฆ์ อุปมาดว้ ย ๑๙๕ ฟ้ากับดิน ปลาในน้ำ� พืชในไร่ แล่งธนู พราหมณ์นอบน้อมบูชาเพลิง ม้าพิการ และบิดายกยอ่ งบุตร ๔. ความเคารพในการปฏสิ นั ถาร อุปมาดว้ ย ๑๙๖ ตน้ ไม้ให้เงา ๕. การจบั ผิด อปุ มาดว้ ย ๑๙๖ บุคคลโปรยแกลบ และพรานนก มงคลท่ี ๒๓ มคี วามถ่อมตน ๑๙๘ ๑. การพิจารณาตน อุปมาด้วย ๑๙๙ หนุม่ สาวดูเงาหนา้ ในคนั ฉ่อง และพระเจา้ จกั รพรรดเิ สด็จประพาสโลก ๒๐๐ ๒. ความถ่อมตน อุปมาด้วย สนุ ขั จง้ิ จอก ขา้ วสาลี ผา้ เชด็ เท้า กอ้ นหนิ เลก็ ๆ ก้อนเกลอื เลก็ ๆ ๒๐๑ และโคอุสภะเขาขาด ๒๐๑ ๓. การไม่โออ้ วด อุปมาด้วย บุรษุ ผู้ไดข้ ุมทรพั ย์ และหมอ้ น�้ำ ๔. การไม่ดูหม่นิ อุปมาด้วย โคอาชาไนย และมหาสมุทร www.kalyanamitra.org

18 มงคลที่ ๒๔ มคี วามสันโดษ ๒๐๒ ๑. ความสำ�คญั ของความสนั โดษ อปุ มาด้วย ๒๐๓ ท้าวสกั กะ โคอาชาไนย ทรัพย์ท่ยี มื เขามา นกจากพราก นกกระจอก และคา้ งคาว ๒. ความสนั โดษในปจั จัย ๔ อปุ มาด้วย ๒๐๔ หยาดน้�ำ ไม่ติดบนใบบัว ดวงจนั ทร์ นก หบี ใส่ผา้ ของคฤหบดี ราชสหี ์ สนุ ขั จ้ิงจอก เภสัชของคฤหบดี แผ่นดนิ นำ�้ ไฟ ลม ผ้าเช็ดธลุ ี เดก็ จัณฑาล และโคเขาหกั ๓. ความไม่สันโดษ อุปมาดว้ ย ๒๐๖ ขนมสุกในบาตรของตนกบั ของคนอน่ื มงคลท่ี ๒๕ ความกตญั ญู ๒๐๘ ๑. ความกตญั ญู อุปมาดว้ ย ๒๐๙ บคุ คลนงั่ หรือนอนท่รี ่มเงาตน้ ไม้ และพชื ที่หวา่ นลงในนาดี ๒. ความอกตญั ญู อปุ มาดว้ ย ๒๐๙ พืชที่หวา่ นลงในไฟ มงคลที่ ๒๖ ฟังธรรมตามกาล ๒๑๐ ๑. ประเภทผ้ฟู ังธรรม อปุ มาดว้ ย ๒๑๑ คนไข้ ๓ จ�ำ พวก หม้อคว�ำ่ หม้อหงาย ของบนตัก ชาวนาหว่านพืช มหาสมทุ ร ตะโพนแตก บรุ ษุ รุกเข้าไปหาสตรีที่ถอยหนี บุคคลทงิ้ นาของตน และชาวนาที่ ฉลาดเลือกหวา่ นพชื ในนาดีก่อน ๒. ความสำ�คัญของการฟังธรรม อุปมาด้วย ๒๑๔ มหาสมทุ รไมอ่ ิ่มดว้ ยน�้ำ และไฟไมอ่ ่มิ ด้วยเช้ือ ๓. ประโยชน์ของการฟงั ธรรม อปุ มาด้วย ๒๑๔ คนเดนิ ทางไกลดม่ื น�ำ้ ฝน คนบรโิ ภคอาหารทค่ี ดไวเ้ พอ่ื ผอู้ น่ื น�ำ้ นมระคนกบั น�ำ้ หว้ ง น�ำ้ ลึกใสแจ๋วไมข่ นุ่ มัว ประทมุ หวังแสงอาทิตย์ และคนหวิ เหน่ือยอ่อนไดข้ นมหวาน มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน ๒๑๖ ๑. ความอดทนต่อทกุ ขเวทนา อปุ มาดว้ ย ๒๑๗ ชา้ งท่อี ดทนต่อศาสตราวุธในยุทธสงคราม และโจรเอาเลอ่ื ยตดั อวยั วะ www.kalyanamitra.org

19 ๒. ความอดทนต่อความเจบ็ ใจ อุปมาด้วย ๒๑๗ การลา้ งทซี่ งึ่ เปอ้ื นด้วยของไม่สะอาด ชา้ งอดทนตอ่ ลูกศรในสงคราม แผ่นดนิ และ คนรถสวมเกราะหนังยืนอยู่บนรถ ๓. ความอดทนตอ่ อ�ำ นาจกิเลส อุปมาด้วย ๒๑๘ เล่อื ย ๔. ประโยชน์ของความอดทน อุปมาดว้ ย ๒๑๘ ศลิ ปะธนู ของไมส่ ะอาดลา้ งด้วยน�้ำ ใส ชนะสงครามทช่ี นะได้ยาก และนายสารถี ฝกึ มา้ ใหห้ มดพยศ มงคลท่ี ๒๘ เปน็ คนวา่ งา่ ย ๒๒๐ ๑. ความว่างา่ ย อุปมาด้วย ๒๒๑ คนไขน�ำ้ ช่างศร ช่างถาก โค และแผ่นดิน ๒. ผูช้ ขี้ ุมทรัพย์ อุปมาด้วย ๒๒๒ ช่างหม้อ และนายสารถี ๓. โทษของการวา่ ยาก อปุ มาดว้ ย ๒๒๒ การทม่ิ แทงกันด้วยหอก คอื ปาก มงคลที่ ๒๙ เหน็ สมณะ ๒๒๔ ๑. คุณสมบัตขิ องภกิ ษทุ ี่ดี อปุ มาด้วย ๒๒๕ ม้าอาชาไนย ช้างต้น เนื้อในป่า นางนกเงือก เมฆก้อนมหึมา มหาสมุทร บุคคล ประคองตาชั่ง เคร่อื งป้องกันปัจจนั ตนครของพระราชา ๗ ประการ นักรบอาชีพ เหมือง นำ้�ที่นิ่ง ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ สมุนไพรได้ปุ๋ย องค์ ๓ ของม้าต้นของ พระราชา และองค์ ๓ แหง่ พอ่ คา้ ๒. ภกิ ษกุ บั การศึกษาธรรม อปุ มาดว้ ย ๒๒๙ บรุ ุษผู้ฉลาดต่อเสียงกลอง นายสารถีฝึกม้าผู้ฉลาด และบรุ ุษผฉู้ ลาดต่อเสยี งสังข์ ๓. ภกิ ษกุ ับปัจจยั ๔ อุปมาด้วย ๒๓๐ กหาปณะเก๊ เถ้าถ่านไฟท่ีดับ ราชสีห์ ลูกศรพ้นจากธนู ช้างซับมันหลีกจากโขลง ก้มหนา้ ฉัน เงยหน้าฉัน มองดูทิศใหญฉ่ ัน และมองดูทิศน้อยฉนั www.kalyanamitra.org

20 ๔. ภกิ ษกุ ับสกุล อปุ มาดว้ ย ๒๓๑ แมลงภู่ พระจันทร์ นก การโบกพระหัตถ์ในอากาศ และลูกช้างลงสระ ๕. ลกั ษณะของภกิ ษไุ ม่ดี อุปมาดว้ ย ๒๓๒ ฝูงแมลงตกลงสปู่ ระทปี น�ำ้ มัน เครื่องมัวหมองแหง่ ดวงจนั ทร์ ดวงอาทิตย์ ๔ อยา่ ง เรืออัปปางเพราะต้นหน ผ้าเปลือกไม้ บุคคลท่ีมีแผลพุพองทั้งตัวเข้าไปในป่าหญ้า คา และมหาโจร ๖. สมณะผู้หลอกลวง อปุ มาดว้ ย ๒๓๓ หญ้าชนิดหนึ่งทำ�ลายต้นข้าว นกยางมีรูปเหมือนแกะ หญ้าคา หม้อน้ำ�ทำ�ด้วยดิน หุ้มด้วยทองคำ� เหรียญมาสกโลหะชุบทอง กระบอกตักนำ้� และลาติดตามฝูงโค มงคลท่ี ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล ๒๓๖ ๑. ผูแ้ สดงธรรม อปุ มาดว้ ย ๒๓๗ พระจนั ทร์ พระอาทติ ย์ ตะขาบ เมฆ พญาชา้ งถูกหอ้ มลอ้ มดว้ ยดาบ นาคถูกครฑุ ล้อมไว้ สีหมฤคราช บุรุษรุกสตรีที่กำ�ลังถอยหลังหนี บุคคลทิ้งนาของตน และ บุคคลตดั เครือ่ งจองจ�ำ เกา่ ไดแ้ ลว้ สร้างเคร่อื งจองจ�ำ ใหม่ ๒. การตอบค�ำ ถาม อปุ มาด้วย ๒๓๙ ตัดก้านบัวด้วยศัสตรา ปลาอยู่ในลอบไซ เอาแหนบมาถอนผมหงอกทีละเส้นๆ ลงิ ท่ตี ิดตงั ถา่ นเพลงิ ที่เผาไหม้ และพอ่ ครัวผ้ฉู ลาด มงคลท่ี ๓๑ บำ�เพญ็ ตบะ ๒๔๐ ๑. ธรรมชาตขิ องจิต อุปมาดว้ ย ๒๔๑ ลิงในปา่ และปลาอันพรานเบ็ดยกขึน้ จากน�ำ้ ๒. การฝกึ จิต อุปมาด้วย ๒๔๒ ไมจ้ ันทร์ นายหตั ถาจารย์ นายควาญชา้ ง นายสารถผี ฉู้ ลาด ชา่ งศรตดั ลกู ศร ฝน ยอ่ มรว่ั รดเรอื นทม่ี งุ่ ไมด่ ี พระจนั ทรว์ นั เพญ็ และชา้ งทล่ี ม้ ลงในเปอื กตมถอนตนขน้ึ ได้ ๓. ความส�ำ รวมอินทรยี ์ อปุ มาด้วย ๒๔๓ ภูเขาหิน ม้าท่ีนายสารถีฝึกดีแล้ว บุรุษเข้าไปสู่ป่าท่ีมีหนาม ช้าง บุรุษเจ้าของนา ถือจอบเดินสำ�รวจนา นายสารถีถือบังเหียน การตอกลิ่มด้วยล่ิม กา ไก่ นางนก เงือก เต่า ศาลาที่มีดินหนา มีเคร่ืองฉาบทาเปียก และบุรุษจับสัตว์ ๖ ชนิด ผูก เชอื กไวด้ ้วยกนั www.kalyanamitra.org

21 ๔. โทษของการไม่ส�ำ รวจอนิ ทรีย์ อปุ มาดว้ ย ๒๔๖ ทรพั ยท์ ไ่ี ดใ้ นฝนั ต้นไมท้ ่ไี มแ่ ขง็ แรง เรอื นไมอ้ อ้ เรือนหญา้ ทแี่ หง้ ปลากนิ เบด็ ยาง ของตน้ ไม้ กระจกเปือ้ นฝนุ่ แม่เนือ้ มีลูกเลก็ นายโคบาล ผ้ไู ม่ฉลาดไม่ปดิ แผล และ คนผกู สตั ว์ ๖ ชนิด ๕. ธดุ งคค์ ุณ อปุ มาดว้ ย ๒๔๗ นายขมังธนู การไม่งอกแห่งพืชท่ีไม่รดน้ำ� น้ำ� ไฟ ยาแก้พิษงู นา แก้วมณี เรือ ดอกปทมุ และของหอม มงคลที่ ๓๒ ประพฤตพิ รหมจรรย์ ๒๕๐ ๑. เหตุเกดิ ราคะ อปุ มาดว้ ย ๒๕๑ ยา่ นทราย ๒. โทษของกาม อุปมาด้วย ๒๕๑ ชิน้ เนื้อ คบหญา้ หลมุ ถ่านเพลงิ ของยมื ต้นไมม้ ีผลดก ดาบ มดี หอก หลาว หวั งู กองไฟ คบเพลิง ปลากลืนเบด็ แมลงมมุ ตกไปในใยขา่ ย บริโภคผลไม้มีพิษ ผลไมม้ ี พษิ ไมแ้ ชไ่ วใ้ นน้ำ� ทอ่ นไม้ตกลงไปในน�ำ้ วน ไฟ การกหู้ น้ี ภาชนะใสน่ ำ้� รา่ งกายท่ี อาบนำ้�สะอาดแล้ว ชา้ งจมอยใู่ นหล่ม สุนขั ถกู ล่ามโซ่ สตั วถ์ ูกแทง หยดนำ้�ท่ีคมมีด หัวฝี ฝนรว่ั รดเรือนทม่ี ุงไมด่ ี หญา้ และสนุ ัขแทะกระดกู เปื้อนเลือด ๓. โทษของการครองเรือน อปุ มาดว้ ย ๒๕๖ หน่อไม้ ไม้ไผ่กอใหญ่ เรือนจำ� เครื่องจองจ�ำ ช้างใหญ่ตัดเคร่ืองผูก บ่วงมัจจุราช ห้วงน้ำ�ใหญ่พัดพาเอาชาวบ้านท่ีหลับไป ธุลี กองหยากเย่ือ สังข์ที่ขัด กระท่อม รงั และเคร่ืองผกู ๔. โทษของหญงิ อุปมาด้วย ๒๕๘ ถุงอันเต็มไปด้วยคูถ มูตรคูถ ปีศาจ อสรพิษ เถาวัลย์พันไม้ เรือ แม่นำ้� หนทาง โรงน้ำ�ด่ืม ที่ประชุม บ่อน้ำ� แม่น้ำ� ไฟไหม้ จิตของวานร ล้อรถที่กำ�ลังหมุน พยับแดด ทางไปของปลา ช้างสาร งูเห่า เคร่ืองผูกรัด เปลวไฟ แม่นำ้�มีกระแส เชี่ยว พวกโจร ไฟ บว่ งมัจจรุ าช หนอนขยอกลงในนาขา้ ว เพลยี้ ลงในไร่ออ้ ย และ ทา่ น้ำ� www.kalyanamitra.org

22 ๕. การละกามราคะ อปุ มาดว้ ย ๒๖๐ การถอนหอกออกจากตน รีบดับไฟซึ่งไหม้บนศีรษะ ช่างทำ�รองเท้า ไม้แห้งสนิท นำ้�ไม่ติดใบบัว บุรุษผู้ปลดหนี้ บุคคลวิดน้ำ�ในเรือไปถึงฝั่ง ดอกบัว ลมพัดปุยนุ่น เอาเชอ้ื ไฟออกจากหลมุ ถา่ นไฟ แมลงวนั ปลาถกู โยนขนึ้ บก ปลงิ ทีอ่ ม่ิ แลว้ เอานำ้� ที่ปลายหญ้าคาสลัดลงในมหาสมุทร นำ้�บนใบบัว ไมส้ ดชุ่มยางแช่น�้ำ วางบนบก และไม้แหง้ สนทิ ๖. พิจารณาร่างกาย อปุ มาด้วย ๒๖๓ หนอนเกดิ ในปลาเน่า ถงุ หนังบรรจซุ ากศพ บรุ ษุ ปลดเปลอ้ื งซากศพทีผ่ กู ไว้ที่คอ งู เปอ้ื นคูถมพี ษิ มาก เจ้าของเรือ ทง้ิ เรอื เก่า คนถา่ ยอจุ จาระแล้วละทิง้ ไป คนฆา่ โค ท่อนไม้ ราชรถ โคเฒ่าจมอยูใ่ นตม ดอกไม้ท่ีทง้ิ ตากแดดไว้ มหาโจร ฝมี ีปากแผล ไม่แตก ๙ แห่ง และบุคคลรักษาแผล ๗. อานสิ งสข์ องการเจริญกายคตาสติ อปุ มาดว้ ย ๒๖๗ แมว สารถขี บั รถ และภาชนะ ๘. เหตุออกบวช อปุ มาด้วย ๒๖๘ บุรุษอยู่ในเรือนจำ� บุรุษจมหลุมคูถแล้วละท้ิงไม่อาลัย ช้างดุ เพชฌฆาตเง้ือม ดาบและอสรพิษ ๙. การออกบวช อปุ มาดว้ ย ๒๖๘ ต้นทองหลาง หญ้ามุงกระต่าย ราชสีห์มีเข้ียวเป็นกำ�ลัง โค และหญ้าคาท่ีบุคคล จบั ไม่แน่น ๑๐. อานิสงสข์ องการละกาม ออกบวช อปุ มาด้วย ๒๖๙ บุคคลตัดดอกปทุม งูลอกคราบเก่าที่คร่ำ�คร่า บุคคลวิดน้ำ�ในเรือไปถึงฝ่ัง ฝน ยอ่ มร่วั รด เรือนทีม่ ุงไมด่ ี นำ้�ไมต่ ดิ บนใบบัว เนื้อท่เี กิดในปา่ ดวงจันทร์ และภเู ขา แก้วมณโี ล้น ๑๑. การลาสกิ ขา อุปมาดว้ ย ๒๗๑ ยวดยาน คนโง่ มรณะ สระใหญม่ นี �ำ้ ใสสะอาด ภยั ๔ อยา่ ง และกอ้ นเขฬะทถ่ี ม่ ไป www.kalyanamitra.org

23 มงคลที่ ๓๓ เห็นอรยิ สัจ ๒๗๔ ๑. ภพ ๓ อปุ มาดว้ ย ๒๗๕ เรอื นถูกไฟไหม้ ข้าศึกเงือ้ ดาบ และหลุมถ่านเพลงิ ๒. วฏั สงสาร อปุ มาด้วย ๒๗๕ เรือนถกู ลมซดั ไปในมหาสมุทร แมน่ ้ำ�คงคาลมุ่ ลาดไปในมหาสมทุ ร หญา้ ไมก้ ่ิงไมใ้ น ชมพูทวปี มหาปฐพี นำ้�ตาทไ่ี หลออก น�้ำ นมมารดา ภูเขาหินใหญก่ ว้าง ยาว สูง หนงึ่ โยชน์ เมด็ ทรายในแม่นำ�้ คงคา โครงกระดูก ทอ่ นไมท้ ่ีโยนข้ึนไปในอากาศ โลหิตทไ่ี หลออก ปลาตดิ อย่ใู นไซ เหยีย่ วทโี่ ฉบชิ้นเนอ้ื นำ้�ทไี่ หลบ่าไป และกอง กระดกู ๓. ความทุกข์ อุปมาดว้ ย ๒๗๘ คูถนรก ตกลงไปในเหว ช้างที่ฉุดออกจากช่องลูกดาล ต้นไม้พิษ ฟองน้ำ� น้ำ�หุง ข้าวด้วยไฟอ่อนและไฟแรง บุรุษมีกำ�ลังเฉือนศีรษะด้วยมีดโกน น้ำ�ในมหาสมุทร ม้าอาชาไนย ก้อนหนิ เท่าเมล็ดพันธ์ผุ กั กาด และนำ�้ สองสามหยด ๔. เหตุแห่งทกุ ข์ อปุ มาด้วย ๒๘๒ รากไม้ วานร หญ้า ดา้ ยร้อยรัดไม้ ด้ายอันยุ่งเหยิง น้�ำ เจือยาพษิ สนุ ัขถูกเผาไวท้ ี่ เสาไม้ คนตาบอด ปลาติดอยู่ท่ปี ากลอบ หรอื ปากไซ และเถายา่ นทราย ๕. อริยสัจ ๔ อปุ มาด้วย ๒๘๔ คนตาดี เพชร และมีดโกนทาดว้ ยนำ้�ผ้ึง ๖. การละตัณหา อุปมาด้วย ๒๘๔ หยาดน้�ำ ตกไปจากใบบวั การขุดหญา้ และกอ้ นเหลา้ เจอื ยาพษิ ๗. อริยมรรคมีองค์ ๘ อปุ มาด้วย ๒๘๕ หม้อทค่ี ว�่ำ แสงเงินแสงทอง ลมแรงพดั มหาเมฆให้หายหมด เครื่องผูกเรอื เดิน สมุทร แมน่ �ำ้ คงคา เมฆกอ้ นใหญ่ แม่ไก่กกไข่ รอยนว้ิ มือทีด่ ้ามมีด มรรคาเก่า สามเกลอ และรอยเท้าชา้ ง www.kalyanamitra.org

24 มงคลท่ี ๓๔ ท�ำ พระนิพพานให้แจ้ง ๒๙๐ ๑. ความเพียรเพ่อื บรรลธุ รรมของพระโพธิสัตว์ อุปมาดว้ ย ๒๙๑ บุรุษมีกำ�ลังเอาเหล็กแหลมคมท่ิมศีรษะ บุรุษมีกำ�ลังรัดศีรษะด้วยเส้นเชือก เถาวัลย์ ดวงดาวในบอ่ น�ำ้ ลกึ และผลน้ำ�เตา้ ขม ๒๙๒ ๒. ความเพยี ร อปุ มาดว้ ย นกเปื้อนฝุ่นสลัดธุลี สายพิณ ม้าดีหลบแส้ พระจันทร์พ้นหมอกเมฆ ช้างถอนตน ขึ้นจากเปลือกตม คนเอาไม้กดงู ไม่เป็นหน้ีในหมู่ญาติ พญาราชสีห์ นายพราน นายขมังธนู ไก่ เต่า เครือนำ้�เต้า กองทัพพระราชา ไม้ค้ำ�เรือน การดับไฟที่ผ้า หรือศรี ษะ ช่างศรยกลกู ศร ท้าวสักกะ มรดก เสือเหลือง กิจเบอ้ื งตน้ ของชาวนา ๓ ประการ และทอ่ นไมท้ ่โี ยนขน้ึ ไปในอากาศ ๓. สมาธิ อปุ มาด้วย ๒๙๗ กระแต แมลงมุม ช้าง นายขมงั ธนู ชา่ งเจียระไน การก้ันสาหร่ายบนผวิ นำ�้ บุรุษ จับนกคุ้ม เคร่ืองผูกเรือ สุกร ประทีปนำ้�มันติดไฟ รัศมีของดวงอาทิตย์ ปลิง เกวียนเทียมด้วยโคโกง คนง่อยไกวชิงช้า แม่น้ำ�คงคา แมลงป่อง ดวงอาทิตย์ หม้อท่ีไม่มีเครอ่ื งรองรบั แมว และพระราชาเสดจ็ ออกสงคราม ๔. ทำ�พระนพิ พานให้แจง้ อปุ มาดว้ ย ๓๐๐ เสือเหลอื งซุ่มจบั เนอ้ื กนิ ลกู ไก่ ทหารในสงคราม ดอกบวั ท่ีแกแ่ ล้ว จอมทัพ ชา้ ง พระอาทิตย์ข้ึน ปลาทำ�ลายข่าย ต้นไม้ถูกตัดราก เดือยข้าวสาลี แม่น้ำ�คงคา โคว่ายตัดกระแสนำ้� กลอนเรือนยอด พายุ พืชหว่านลงในนาดี ดอกบัว พรานเบ็ด ไฟนายพราน ไม้ขานาง ควาญช้างพัง เสาตะลุงในล่าม คอกชา้ งป่า ลกู โคอ่อน ช้างหลวงตายลง และตน้ ปาริฉตั ร มงคลที่ ๓๕ จิตไม่หวน่ั ในโลกธรรม ๓๐๖ ๑. ความไม่หว่ันไหวในโลกธรรม อุปมาดว้ ย ๓๐๗ ภูเขาศิลาล้วน แผ่นดิน เสาเข่ือน ห้วงน้ำ�ปราศจากเปลือกตม แผ่นดิน ไฟ หมอ้ ท่ไี มม่ เี ครอ่ื งรองรบั และราชสหี ไ์ มส่ ะดงุ้ ๒. ไตรลกั ษณ์ อปุ มาด้วย ๓๐๘ เสยี งรถ ดจุ หยาดน�ำ้ คา้ ง ฟองน�ำ้ ดจุ รอยขดี ในน�ำ้ ดว้ ยไม้ อากาศ และชาวนาไถนา ๓. โทษของลาภสกั การะ อุปมาดว้ ย ๓๐๙ ผลกล้วย ขุยไผ่ ดอกอ้อ ลูกม้า สุนัข สุนัขจิ้งจอก แกะขนยาว แมลงวันกินขี้ และตัวหนอนติดอย่ใู นคูถ www.kalyanamitra.org

25 ๔. ไม่ตดิ ลาภสกั การะ อปุ มาดว้ ย ๓๑๑ ดอกบัวไมต่ ดิ ด้วยน�้ำ เต่า เครื่องเรอื และเรอื สูค้ ลื่น มงคลท่ี ๓๖ จิตไม่โศก ๓๑๒ ๑. ความโศก ความอาลัย ความคร�ำ่ ครวญ อปุ มาดว้ ย ๓๑๓ หญ้าคมบาง การล้นออกจากภาชนะของอาหารท่ีหุงต้ม การเค่ียวอาหาร เดก็ ร้องไห้อยากไดพ้ ระจันทร์ และดอกประทุม ๒. เหตุแหง่ ความโศก อปุ มาดว้ ย ๓๑๔ พระราชาเสดจ็ ไปยังพระราชอุทยาน และไมอ้ ้อถูกถอน ๓. โทษของความโศก อปุ มาดว้ ย ๓๑๔ ลูกศรอาบยาพิษ หม้อน้ำ�แตก น้ำ�ตา ช้างถูกไกรสรราชสีห์จับ และดวงจันทร์ เขา้ ไปในปากราหู ๔. การบรรเทา กำ�จัดความโศก อุปมาดว้ ย ๓๑๕ ลมพัดนุ่น เกาะ บุคคลเอานำ้�ดับไฟ พระยาหงส์บินไปในเปลือกตม พระอาทิตย์ พระจันทร์ ถอนดอกโกมุท คนเป็นไข้ด่ืมโอสถ เด็กร้องไห้ขอพระจันทร์ หม้อน�้ำ ที่ แตก นก และโคตาย ๕. ผไู้ ม่เศร้าโศก อุปมาดว้ ย ๓๑๖ ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ บคุ คลออกจากเรอื นที่ถกู ไฟไหม้ น�้ำ ไมต่ ิดใบบัว งาชา้ งอนั ตัดขาดแล้ว ฝูงนก ลูกจ้างมุง่ แตค่ ่าจา้ ง แผน่ ดนิ เมฆใหญ่ ชา้ ง อากาศ และพายุ มงคลท่ี ๓๗ จิตปราศจากธลุ ี ๓๒๐ ๑. จติ ปราศจากธุลี อปุ มาด้วย ๓๒๑ น้ำ�ไม่ขุ่นมัวใสบรสิ ทุ ธิ์ ราชสหี ์ และศิลาแทง่ ทบึ ๒. โทษของกิเลส อปุ มาด้วย ๓๒๑ ปลาตดิ เบ็ด นกถกู ดา้ ยยางผกู ติดขา สกุ รถกู คลอ้ งบ่วง น้ำ�ไหลเขา้ ไปในเรือทีแ่ ตก ปีศาจเข้าสิง ไฟ เต่า ขุยไผ่กำ�จัดไม้ไผ่ จระเข้ แมลงวัน ปลิงเกาะ รวงผ้ึง แวดลอ้ มดว้ ยตัวผ้งึ ดอกโกมทุ ในเปลือกตม และปลาอนั พรานเบด็ ยกขน้ึ จากน�ำ้ www.kalyanamitra.org

26 ๓. การกำ�จดั กเิ ลส อุปมาด้วย ๓๒๓ ดวงอาทิตย์ พระจันทร์ ภูเขาศิลา ป่า ห้วงนำ้�ปราศจากเปลือกตม พายุ เมฆ อากาศ ลมพัดไปไม้ร่วงหล่นไป ช่างผู้ทำ�เรือน ช่างตัดงาช้าง เคร่ืองขัดข้องแห่ง เรอื ราชสหี ์ ลม เนอ้ื ในปา่ เตา่ ตวั หนอน ยาดบั พษิ รม่ มะลิ ไฟ และหนมุ่ สาวสอ่ ง เงาหน้าในกระจก ๔. นิวรณ์ อุปมาดว้ ย ๓๒๖ สุนัขดุข่มเหงโคแก่ คนกู้หน้ี คนไข้อาการหนัก คนถูกคุมขังในเรือนจำ� คนที่ตก เปน็ ทาส และคนเดินทางไกลกนั ดาร ๕. ความโลภ อุปมาด้วย ๓๒๗ ลิง ๖. ความโกรธ ๓๒๘ ๖.๑ ประเภทของคนโกรธ อปุ มาด้วย ๓๒๘ อสรพิษ รอยขดี ในหิน ดิน และน�้ำ ๖.๒ โทษของความโกรธ อปุ มาดว้ ย ๓๒๘ ธง ควัน ภาชนะใส่นำ้�รอ้ นเดือดพล่าน ไฟไหม้หญา้ ดวงจันทร์ในวนั ขา้ งแรม ถา่ นไฟที่คโุ ชน นำ�ธุลีซัดทวนลม เกลือทีใ่ ส่ในเตาไฟ และแผล ๖.๓ การก�ำ จัดความโกรธ อุปมาด้วย ๓๒๙ สารถี บุคคลหยุดรถ หมอกำ�จัดพิษงู นำ้�น้อยในสระที่ถูกสาหร่ายและแหน คลุม ภิกษุผู้อาพาธมีทุกข์เป็นไข้หนักเดินทางไกล สระนำ้�ที่มีน้ำ�ใส ไฟ และ ชนะสงคราม ๗. ความฟุ้งซ่าน อุปมาด้วย ๓๓๑ ความเปน็ ทาส ความเป็นไท และภาชนะใส่น�้ำ อันลมพัด ๘. ความหดหู่ ซมึ เซา อุปมาดว้ ย ๓๓๑ เรือนจำ� ภาชนะใสน่ ำ้�อนั สาหร่าย และจอกแหนปกคลุม ๙. ความลังเลสงสัย อุปมาดว้ ย ๓๓๑ ภาชนะใสน่ ้ำ�ข่นุ มวั มงคลที่ ๓๘ จิตเกษม ๓๓๔ ๑. ภยั และความกลัว อปุ มาดว้ ย ๓๓๕ ปลาดิ้นรนอยใู่ นนำ้�นอ้ ย www.kalyanamitra.org

27 ๒. อภิญญา ๓๓๕ ๒.๑ อทิ ธวิ ิธี (แสดงฤทธ์)ิ อุปมาดว้ ย ๓๓๕ หงส์ ดวงจนั ทรว์ นั เพ็ญ บุรุษท่ีมีก�ำ ลังเหยยี ดแขนท่มี กี �ำ ลงั ออกไป น่นุ ทีถ่ ูกลม พัดไป ชา่ งหม้อ ชา่ งเงา ชา่ งทอง และปุยนนุ่ ๓๓๖ ๒.๒ ทพิ ยโสต (หทู พิ ย)์ อปุ มาดว้ ย บุรุษเดนิ ทางไกล ๓๓๗ ๒.๓ เจโตปริยญาณ (ก�ำ หนดใจคนอน่ื ได)้ อุปมาด้วย หญงิ สาวชายหนุม่ ท่ชี อบแต่งตวั ๓๓๗ ๒.๔ ปพุ เพนิวาสานุสสติ (ระลกึ ชาตไิ ด)้ อปุ มาด้วย บุรุษออกจากบ้านของตนไปสู่บ้านคนอ่นื และผลมะขามปอ้ มท่วี างไว้บน ฝา่ มือ ๓๓๗ ๒.๕ ทิพยจักษุ (ตาทพิ ย์) อุปมาด้วย บุรษุ ยนื อยบู่ นปราสาท และบุรุษยืนอยู่ทา่ มกลางเรอื น ๓๓๘ ๒.๖ อาสวกั ขยญาณ (ทำ�ใหอ้ าสวะสนิ้ ไป) อุปมาด้วย บรุ ุษยนื อยบู่ นขอบสระ หีบผ้าของพระราชา และงูลอกคราบ ๓๓๙ ๓. ผไู้ ม่สะดุง้ กลวั อปุ มาด้วย ราชสีห์ในถ้ำ�ภูเขา ลมไม่ติดตาข่าย น้ำ�ไม่ติดดอกบัว ภูเขาศิลา บุคคลไม่กลัวโรค และคนด่ืมยาพษิ ๓๔๐ ๔. จิตเกษม อุปมาดว้ ย ก้อนจุณ ห้วงน้ำ�ลึก ดอกบัว บุรุษน่ังคลุมตัวตลอดศีรษะด้วยผ้าขาว ความดับ แห่งดวงประทีป บุรุษเข็ญใจพบขุมทรัพย์ใหญ่ นกต้อยตีวิดรักษาไข่ แม่เนื้อจามรี รักษาขนหาง รองเท้าของฝูงนกในอากาศ หมองูกำ�จัดพิษงู และบุคคลดื่มยาพิษ แล้วบว้ นทงิ้ www.kalyanamitra.org

๑ม ง ค ล ที่ ไม่คบคนพาล การเสพคนพาล ยอ่ มเป็นเหมอื นบุคคลเอาใบไม้หอ่ ปลาเนา่ แมใ้ บไมก้ ็มกี ลิ่นเหมน็ ฟุ้งไป ฉะนัน้ www.kalyanamitra.org

29 ๑. ไม่คบคนพาล ๑.๑ บัณฑิตผู้หวังความเจริญ พึงเว้นอกัลยาณปุถุชนให้ห่างไกล เหมือนคนเว้นห่างงูมีพิษ รา้ ย ฉะนัน้ . ท.ี สี. (อรรถ) มก. ๑๑/๓๘๙ ๑.๒ บุรุษผู้ไม่ประเสริฐเป็นเหมือนงูอยู่ในพกพึงกัดเอา ผู้มีปัญญาไม่พึงทำ�ไมตรีกับบุรุษ เชน่ นั้น เพราะการคบบุรษุ ชั่วเป็นทกุ ข์โดยแท้. องั .ปญั จก. (โพธิ) มก. ๓๖/๓๑๒ ๑.๓ คนพาลท้ังหลายไม่ควรคบ ไมค่ วรเข้าใกลเ้ หมือนทางทค่ี วรละเว้น. ข.ุ ข.ุ (พุทธ) มก. ๓๙/๑๗๒ ๑.๔ ธรรมดาแก้วมณีย่อมไม่มีสิ่งใดเจือปนอยู่ข้างใน ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ ไมค่ วรปะปนอยูก่ ับเพ่อื นท่ีเป็นคนเลว ฉนั น้ัน. มิลนิ . ๔๕๘ ๑.๕ ธรรมดาเนือ้ ในป่า เม่ือเห็นมนุษยแ์ ลว้ ยอ่ มวิง่ หนีด้วยคดิ ว่า อย่าให้มนุษย์ไดเ้ หน็ เราเลย ฉนั ใด ภิกษผุ ้ปู รารภความเพียรเม่อื เห็นพวกทศุ ีล พวกเกียจคร้าน พวกยนิ ดใี นหมคู่ ณะกค็ วร หนไี ป ดว้ ยคดิ วา่ อยา่ ใหพ้ วกน้ไี ด้เห็นเรา และอยา่ ใหเ้ ราไดเ้ ห็นพวกน.้ี มลิ นิ . ๔๔๖ www.kalyanamitra.org

30 ๑.๖ ธรรมดาดวงอาทิตย์ย่อมกลัวภัย คือ ราหู ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียร เม่ือได้ เหน็ บคุ คลทั้งหลายที่เตม็ ไปดว้ ยความทจุ ริต อกี ทงั้ ถกู ครอบงำ�ด้วยความหลงผดิ คอื ทิฏฐิ ให้เดนิ ไป ผดิ ทางก็ควรทำ�ใจให้สลดด้วยความกลัว ความสังเวช. มิลนิ . ๔๔๑ ๑.๗ บุคคลไม่ควรคบหาคนที่ปราศจากศรัทธา เหมือนบ่อที่ไม่มีน้ํา ฉะน้ัน ถ้าแม้บุคคลจะ พึงขุดบอ่ น�้ำ นนั้ บ่อนน้ั ก็จะมีน้ําท่มี กี ลนิ่ โคลนตม. ข.ุ ชา. (โพธ)ิ มก. ๖๒/๗๘ ๒. ลักษณะของคนพาล ๒.๑ ถ้าแม้สัตบุรุษท้ังหลายวิวาทกัน ก็กลับเช่ือมกันได้สนิทโดยเร็ว ส่วนคนพาลทั้งหลาย ยอ่ มแตกกนั เหมอื นภาชนะดนิ เขายอ่ มไมถ่ ึงความสงบเวรกนั ไดเ้ ลย. ข.ุ ชา. (โพธ)ิ มก. ๕๘/๔๕๔ ๒.๒ เราได้เห็นดาบสโกงน้ัน เหมือนกองแกลบอันไม่มีข้าวสาร เหมือนไม้เป็นโพรงข้างใน เหมือนตน้ กล้วยอันหาแก่นมไิ ด้. ขุ.จรยิ า. (พทุ ธ) มก. ๗๔/๓๘๑ ๒.๓ ฟ้ากับดินไกลกัน ฝั่งสมุทรก็ว่าไกลกัน ที่ๆ ดวงอาทิตย์ข้ึนกับท่ีๆ ดวงอาทิตย์ตกก็ ไกลกนั ธรรมของสตั บรุ ุษกบั ธรรมของอสัตบุรษุ ปราชญก์ ล่าวว่า ไกลกนั ยง่ิ กว่านน้ั . อัง.จตุกก. (พทุ ธ) มก. ๓๕/๑๖๘ ๒.๔ สัตบุรุษย่อมปรากฏในที่ไกลดุจภูเขาหิมพานต์ อสัตบุรุษย่อมไม่ปรากฏในที่นี้ เหมือน ลูกศรทซ่ี ดั ไปในเวลากลางคืน ฉะนัน้ . ข.ุ อิต.ิ (พทุ ธ) มก. ๔๕/๒๘๐ ๒.๕ นระผ้บู อดแต่ก�ำ เนิดเป็นผูน้ �ำ ไมไ่ ด้ บางคราวไปถกู ทาง บางคราวกไ็ ปผิดทาง แมฉ้ ันใด คนพาลทอ่ งเทีย่ วอยใู่ นสงั สารวัฏ๑ เปน็ ผ้นู �ำ ไม่ได้ บางคราวทำ�บุญ บางคราวก็ทำ�บาป. ข.ุ ม. (อรรถ) มก. ๖๕/๕๓๙ ๒.๖ อสัตบุรุษเป็นเหมือนคนบอด สัตบุรุษเป็นเหมือนคนมีตาดี คนบอดย่อมมองไม่เห็น ทั้งคนไมบ่ อด ทง้ั คนบอด ฉันใด อสตั บุรษุ ยอ่ มไมร่ ูท้ งั้ สัตบุรุษทัง้ อสัตบรุ ุษ ฉนั น้ัน. องั .จตกุ ก. (อรรถ) มก. ๓๕/๔๖๐ ๒.๗ เขาไม่ยินดีกับคนอ่ืนที่เป็นคนดี เข้าไปหามิตรเลวเหล่าน้ันอย่างเดียว เหมือนสุกรท่ี เขาประดบั ดว้ ยของหอม และดอกไมแ้ ล้วใหน้ อนบนท่ีนอนอย่างด ี ก็ยงั เขา้ ไปสหู่ ลมุ คูถ ฉะนัน้ . ที.ปา. (อรรถ) มก. ๑๖/๑๐๔ ๑ สงั สารวัฏ การเวียนว่ายตายเกดิ www.kalyanamitra.org

31 ๒.๘ เม่ือใด คนพาลส�ำ คัญวา่ บคุ คลนน้ั อดกลน้ั ต่อเราเพราะความกลวั เม่อื นั้นคนพาล ผมู้ ี ปญั ญาทรามยิง่ ข่มขบ่ี คุ คลน้ัน เหมอื นโคย่งิ ขม่ ข่โี คตัวแพ้ทีห่ นไี ป ฉะนัน้ . สงั .ส. (ทวั่ ไป) มก. ๒๕/๔๗๐ ๒.๙ คนพาลเปรยี บด้วยหม้อน�้ำ ทีม่ ีน้าํ ครึง่ หนึง่ บณั ฑิตเปรยี บเหมือนหมอ้ น�้ำ ท่เี ต็ม. ข.ุ สุ. (พุทธ) มก. ๔๗/๖๓๐ ๒.๑๐ บุคคลใดโง่ ย่อมสำ�คัญความท่ีตนเป็นคนโง่ บุคคลน้ันจะเป็นบัณฑิตเพราะเหตุนั้นได้ บา้ ง สว่ นบุคคลใดเปน็ คนโง่ มคี วามส�ำ คัญว่าตนเปน็ บณั ฑติ บคุ คลนนั้ แล เราเรียกว่า คนโง.่ ขุ.ธ. (พุทธ) มก. ๔๑/๑๘๘ ๒.๑๑ คนพาลเมื่อกระทำ�กรรมอันลามกอยู่ ย่อมยินดีร่าเริงประดุจบุรุษเค้ียวกินรสของ หวาน ย่อมสำ�คัญบาปประดจุ นำ้�ผง้ึ ตราบเทา่ ทบ่ี าปยังไมใ่ หผ้ ล. ข.ุ ธ. (พทุ ธ) มก. ๔๓/๔๖๘ ๓. โทษของความเป็นคนพาล ๓.๑ ทางทีค่ นพาลไปแลว้ ยอ่ มเป็นเหมอื นทางไปของไฟปา่ ซ่งึ ลามไปเผาไหม้ตน้ ไม้ กอไม ้ คามนิคม ฉะนนั้ . อัง.ติก. (อรรถ) มก. ๓๔/๖ ๓.๒ ถา้ คนพาลเขา้ ไปนง่ั ใกลบ้ ณั ฑติ แมจ้ นตลอดชวี ติ เขายอ่ มไมร่ ธู้ รรม เหมอื นทพั พไี มร่ รู้ ส แกง ฉะนน้ั . ขุ.ธ. (อรรถ) มก. ๔๑/๑๕๐ ๓.๓ บุคคลใดมีปัญญาโฉด อาศัยทิฏฐิอันช่ัวช้า คัดค้านค�ำ สั่งสอนของพระอริยบุคคล ผู้มี ปกติเปน็ อยู่โดยธรรม บุคคลนน้ั ยอ่ มเกดิ มาเพ่อื ฆา่ ตน เหมือนขยุ แห่งไม้ไผ่. ข.ุ ธ. (อรรถ) มก. ๔๒/๑๘๗ ๓.๔ รองเท้าที่คนซ้ือมาเพ่ือประโยชน์จะให้สบายเท้า กลับนำ�ความทุกข์มาให้รองเท้า นั้น ถูกแดดเผาบ้าง ถูกพ้ืนเท้าครูดสีบ้าง ก็กลับกัดเท้าของผู้นั้น ฉันใด ผู้ใดเกิดในตระกูลต่ำ�ไม่ใช่ อารยชน เรียนวิชา และศิลปะมาจากอาจารย์แล้ว ผู้นั้นย่อมฆ่าตนเองด้วยศิลปะท่ีเรียนมาใน อาจารย์น้นั ฉันนั้น. ข.ุ ชา. (โพธ)ิ มก. ๕๗/๔๓๔ ๓.๕ มหาโจรเมื่อเกิดในราชสมบัติของพระราชา ย่อมเกิดขึ้นเพ่ือสิ่งมิใช่ประโยชน์ เพ่ือ ความทุกข์แก่มหาชน ฉันใด บัณฑิตพึงทราบว่า โจรในคำ�ส่ังสอนของพระชินเจ้า เกิดขึ้นแล้วเพ่ือ สิ่งมใิ ช่ประโยชน์ เพ่ือความทกุ ขแ์ ก่มหาชน ฉันน้นั . ม.ม.ู (พทุ ธ) มก. ๑๙/๑๙๓ www.kalyanamitra.org

32 ๓.๖ บุคคลพึงทิ้งลอบไว้ที่ปากอ่าว เพ่ือมิใช่ประโยชน์เก้ือกูล เพื่อความทุกข์ เพื่อความ เสื่อม เพื่อความพินาศแก่ปลาเป็นอันมาก แม้ฉันใด โมฆบุรุษช่ือว่ามักขลิ ก็ฉันน้ันเหมือนกันแล เป็นดังลอบสำ�หรับดักมนุษย์ เกิดขึ้นแล้วในโลก เพ่ือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล เพ่ือความทุกข์ เพื่อ ความเส่อื ม เพื่อความพินาศแก่สตั ว์เป็นอันมาก. อัง.เอกก. (พทุ ธ) มก. ๓๓/๑๙๒ ๓.๗ มีเต่าตาบอดอยู่ในมหาสมุทรนั้น ล่วงไปร้อยปีจึงจะผุดข้ึนครั้งหนึ่ง ดูก่อนภิกษุท้ัง หลาย พวกเธอจะสำ�คัญความข้อน้ันเป็นไฉน เต่าตาบอดตัวนั้นจะพึงเอาคอสวมเข้าท่ีทุ่นมีบ่วงตา เดยี วโนน้ ได้บ้างไหมหนอ ภิกษุเหล่าน้ันทูลว่า ข้อนั้นเป็นไปไม่ได้เลย... ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ถ้าจะเป็นไปได้บ้างใน บางคร้ังบางคราว ก็โดยลว่ งระยะกาลนานแน่นอน ดกู อ่ นภกิ ษุท้ังหลาย เต่าตาบอดตัวน้ันจะพงึ เอาคอสวมเข้าท่ีทุ่นมีบ่วงตาเดยี วโนน้ ได้ ยังจะ เร็วกว่า เรากล่าวความเปน็ มนุษยท์ ่ีเป็นคนพาล ผไู้ ปส่วู ินิบาตคราวหนง่ึ แลว้ จะพงึ ได้ ยังยากกวา่ น ี้ นน่ั เพราะเหตไุ ร ดกู อ่ นภกิ ษทุ ั้งหลาย เพราะในตัวคนพาลนี้ไม่มคี วามประพฤตธิ รรม ไมม่ คี วามประพฤตสิ งบ ไม่มีการท�ำ กุศล ไมม่ ีการท�ำ บญุ มแี ต่การกนิ กนั เอง การเบยี ดเบียนคนออ่ นแอ. ม.อุ. (พทุ ธ) มก. ๒๓/๑๕๕ ๓.๘ คนเขลาย่อมไม่ประสบพระนิพพาน... ย่อมเป็นเหมือนมณฑลพระจันทร์ที่ถูกเมฆดำ� ปิดไว้ เหมือนภาชนะทกี่ ะทะบงั ไว้. สงั .สฬา. (อรรถ) มก. ๒๘/๒๖๖ ๓.๙ ผู้ใดประทุษร้ายต่อคนผู้ไม่ประทุษร้าย ซ่ึงเป็นบุรุษอันหมดจด ไม่มีกิเลสเป็นเครื่อง ย่ัวยวน บาปย่อมกลับสนองผู้นั้นผู้เป็นพาลน่ันเอง เปรียบเหมือนธุลีอันละเอียดที่บุคคลซัดไปสู่ท่ี ทวนลม ฉะนั้น. สัง.ส. (พุทธ) มก. ๒๕/๒๐๘ ๔. โทษของการคบคนพาล ๔.๑ คนชัว่ ทีซ่ ่องเสพบคุ คลผบู้ รสิ ทุ ธิ์ ยอ่ มทำ�ให้บคุ คลผบู้ ริสทุ ธ์ติ ดิ เปอ้ื นความชัว่ เหมือนลกู ศรทแี่ ช่ยาพษิ ถูกยาพษิ ตดิ เปื้อนแลว้ ยอ่ มท�ำ แล่งลูกศรใหต้ ดิ เปอ้ื นดว้ ยยาพษิ ฉะนัน้ . ข.ุ อติ ิ. (พทุ ธ) มก. ๔๕/๔๖๘ www.kalyanamitra.org

33 ๔.๒ บุคคลเข้าไปคบหาคนเช่นใดเป็นมิตร แม้เขาก็ย่อมเป็นเหมือนคนเช่นน้ัน เหมือน ลูกศรอาบยาพษิ ย่อมเปอ้ื นแล่ง ฉะนนั้ . ข.ุ ชา. (ท่ัวไป) มก. ๖๔/๒๖๒ ๔.๓ นรชนใดผูกปลาเน่าด้วยปลายหญ้าคา แม้หญ้าคาของนรชนผู้น้ัน ก็มีกล่ินเน่าฟุ้งไป ดว้ ย การคบพาลกเ็ ปน็ อย่างนน้ั . ข.ุ ข.ุ (พุทธ) มก. ๓๙/๑๗๔ ๔.๔ การเสพคนพาลยอ่ มเป็นเหมอื นบุคคลเอาใบไมห้ อ่ ปลาเน่า แม้ใบไม้ก็มีกล่นิ เหม็นฟุ้งไป ฉะนนั้ . ขุ.ชา. (ทัว่ ไป) มก. ๖๔/๒๖๒ ๔.๕ ชา้ งเหลา่ ใดอย่ใู นสถานทอ่ี นั ไม่มีนาํ้ ช่อื ว่า มใิ ชป่ ระเทศ(ถนิ่ ที่เหมาะสม) ย่อมตกอยใู่ น อำ�นาจของปัจจามิตรโดยเร็วพลัน ฉันใด แม้การท่ีเราท้ังหลายอยู่ในท่ีใกล้ของมนุษย์ชั่ว เป็นคน พาลหาความรู้มิได้ ก็ชอื่ ว่า อย่ใู นสถานท่ีมิใช่ประเทศ ฉันน้ัน. ขุ.ชา. (ทว่ั ไป) มก. ๖๓/๓๑๕ ๔.๖ พระจันทร์ในวันข้างแรมย่อมเส่ือมลงทุกวันๆ ฉันใด การคบอสัตบุรุษย่อมเป็นเหมือน วันข้างแรม. ขุ.ชา. (อรรถ) มก. ๖๒/๖๓๗ ๔.๗ นำ้�ตกในท่ีดอนย่อมไม่คงที่ ไม่อยู่ได้นาน ฉันใด การคบอสัตบุรุษก็เหมือนกัน ไม่คงท่ี เหมือนน�ำ้ ในท่ดี อน ฉันนัน้ . ข.ุ ชา. (โพธิ) มก. ๖๒/๗๑๖ ๔.๘ โทษในปา่ ช้าเปรยี บเหมือนโทษในบคุ คล ๕ ประการ คอื โทษในปา่ ช้า โทษในบุคคล ๑. เป็นทไี่ ม่สะอาด ๑. ประพฤติทุจริตทางกาย วาจา ใจ ๒. มกี ลิ่นเหม็น ๒. กติ ติศัพทอ์ นั ชัว่ ย่อมกระฉ่อนไป ๓. มภี ยั เฉพาะหน้า ๓. ผมู้ ศี ลี อนั เปน็ ทร่ี ักยอ่ มเว้นหา่ งไกล ๔. เป็นทอี่ ยูข่ องพวกมนุษย์ร้าย ๔. ยอ่ มอยรู่ ว่ มกบั บคุ คลทป่ี ระพฤตทิ จุ รติ เหมอื นกนั ๕. เปน็ ท่ีรำ�พันทกุ ขข์ องชนหมู่มาก ๕. ผ้มู ศี ีลอันเปน็ ท่รี ักยอ่ มคร่ำ�ครวญเป็นทกุ ขท์ ีจ่ ำ� ตอ้ งอยรู่ ว่ มกับบคุ คลผปู้ ระพฤติทุจริต. องั .ปญั จก. (พทุ ธ) มก. ๓๖/๕๐๐ www.kalyanamitra.org

๒ม ง ค ล ที่ คบบัณฑิต บัณฑิตเสมือนของหอม มีกฤษณาและดอกไม้ เปน็ ตน้ คนผ้คู บบณั ฑิตกเ็ สมอื นใบไมท้ ่ีห่อของหอม www.kalyanamitra.org

35 ๑. คบบณั ฑิต ๑.๑ ข้าพระองค์ค้นหาพระชินเจ้า เปรียบเหมือนคนกระหายน�ำ้ ค้นหาน้ำ� คนหิวข้าวค้นหา ขา้ ว ปานดงั แม่โครักลูกคน้ หาลูก ฉะนน้ั . ขุ.เถร. (เถระ) มก. ๕๓/๑๑๕ ๑.๒ บคุ คลควรคบคนที่เลอื่ มใสเท่านัน้ ควรเว้นคนทไ่ี ม่เล่อื มใส ควรเข้าไปนง่ั ใกล้คนทเี่ ลอ่ื ม ใส เหมือนคนผู้ตอ้ งการนำ�้ เขา้ ไปหาหว้ งน�้ำ ฉะนั้น. ขุ.ชา. (โพธ)ิ มก. ๖๒/๗๘ ๑.๓ ธรรมดาวานร เมอ่ื จะหาทอี่ ยกู่ ไ็ ปหาทอี่ ยทู่ ป่ี อ้ งกนั ภยั ได้ คอื ตน้ ไมใ้ หญท่ มี่ กี ง่ิ ดกหนา และเงียบสงัด ฉนั ใด ภิกษุผปู้ รารภความเพียรก็ควรเป็นฉนั นนั้ คือ ควรหาท่อี ยใู่ กล้กลั ยาณมิตร ผู้ มศี ลี ธรรมดงี าม ผู้มคี วามรู้มาก ผรู้ ู้จกั สง่ั สอน. มิลนิ . ๔๒๘ ๑.๔ เราปรารถนาจะเฝา้ และเขา้ ไปใกล้พระผมู้ ีพระภาคเจ้านนั้ เหมือนคนตาบอดปรารถนา จักษุประสาท เหมือนคนหูหนวกปรารถนาโสตประสาท เหมือนคนใบ้ปรารถนาการกล่าวให้รู้เร่ือง เหมือนคนมีมือเท้าพิการปรารถนามือเท้า เหมือนคนขัดสนปรารถนาทรัพย์สมบัติ เหมือนคนเดิน ทางกันดารปรารถนาสถานท่ีอันปลอดภัย เหมือนคนถูกโรคครอบงำ�ปรารถนาความไม่มีโรค เหมือนคนถกู เรืออัปปางในมหาสมทุ รปรารถนาแพใหญ ่ ฉะนนั้ . ข.ุ อ.ุ (อรรถ) มก. ๔๔/๑๔๑ www.kalyanamitra.org

36 ๑.๕ ธรรมดามหาสมทุ รย่อมอยูร่ ว่ มกบั สตั ว์ใหญๆ่ ฉันใด ภิกษผุ ู้ปรารภความเพยี รก็ควรอยู่ ร่วมกับเพื่อนพรหมจรรย์ผู้มักน้อย ผู้สันโดษ ผู้สมบูรณ์ด้วยอาจารกิริยา ผู้มีศีลเป็นท่ีรัก ผู้เป็นท่ี เคารพเป็นท่นี ับถอื ผูต้ ักเตอื น ผูต้ เิ ตยี นความช่ัว ผสู้ ง่ั สอน ผูใ้ หร้ แู้ จ้ง ผูใ้ ห้เหน็ จริง ใหอ้ าจหาญ ให้ ร่าเริง ฉนั น้ัน. มิลนิ . ๔๓๔ ๑.๖ ธรรมดาแก้วมณีย่อมอยู่ร่วมกับแก้วท่ีเกิดเอง ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรก็ควร อยู่รว่ มกับแกว้ มณี คือ พระอริยเจา้ ฉนั นัน้ . มิลนิ . ๔๕๘ ๑.๗ ธรรมดาป่าย่อมเป็นที่อาศัยอยู่ของพระอริยเจ้าทั้งหลาย ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความ เพียรกค็ วรคบกบั อริยบคุ คล ฉนั น้ัน. มิลนิ . ๔๕๗ ๒. อานสิ งส์ของการเปน็ บณั ฑิต ๒.๑ เมอื่ พระอาทติ ยจ์ ะขึน้ ส่ิงที่ข้ึนกอ่ นส่ิงที่เป็นนิมติ มากอ่ น คือ แสงเงินแสงทอง สง่ิ ที่เปน็ เบ้ืองต้นเป็นนิมิตมาก่อน เพ่ือความบังเกิดแห่งอริยมรรค๑ อันประกอบด้วยองค์ ๘ ของภิกษุ คือ ความเปน็ ผู้มมี ิตรดี ฉนั น้นั เหมือนกนั . สัง.ม. (พทุ ธ) มก. ๓๐/๗๔ ๒.๒ สัตบุรุษท้ังหลายย่อมปรากฏในที่ไกลเหมือนภูเขาหิมพานต์ ส่วนอสัตบุรุษย่อมไม่ ปรากฏในทีน่ ้ี เหมอื นลกู ศรอนั เขายงิ ไปในราตรี ฉะนัน้ . ขุ.ธ. (อรรถ) มก. ๔๓/๑๔๔ ๒.๓ ทางที่บัณฑิตไปเหมือนทางท่ีเมฆฝนซ่ึงต้ังเค้าขึ้นทั้งสี่ทิศ แล้วตกลงมาเต็มหลุม และ บอ่ น�ำ ความงอกงามของรวงข้าวกลา้ ชนดิ ต่างๆ มาให้ ฉะน้ัน. องั .ติก. (อรรถ) มก. ๓๔/๖ ๒.๔ กลนิ่ ดอกไมไ้ มห่ อมทวนลม กลนิ่ จนั ทนก์ ฤษณา หรอื ดอกมะลกิ ไ็ มห่ อมทวนลม แต่กล่นิ ของสตั บรุ ษุ หอมทวนลมฟ้งุ ขจรไปทวั่ ทกุ ทิศ. ขุ.ชา. (โพธ)ิ มก. ๕๙/๑๔๕ ๓. อานิสงส์ของการคบบณั ฑิต ๓.๑ ถ้าวิญญูชนเข้าไปนั่งใกล้บัณฑิตแม้ครู่เดียว เขาย่อมรู้แจ้งธรรมได้ฉับพลันเหมือนล้ินรู้ รสแกง ฉะนัน้ . ข.ุ ธ. (ท่วั ไป) มก. ๔๑/๑๕๑ ๑ อรยิ มรรค ทางด�ำ เนินของพระอริยะ www.kalyanamitra.org

37 ๓.๒ การคบหาสมาคมกับนกั ปราชญ์ ย่อมเปน็ เหมอื นบคุ คลเอาใบไม้ห่อของหอม แมใ้ บไม้ กม็ ีกลนิ่ หอมฟงุ้ ไป ฉะน้นั . ขุ.ชา. (โพธิ) มก. ๖๔/๒๑๗ ๓.๓ บัณฑิตเสมือนของหอมมีกฤษณาและดอกไม้ เป็นต้น คนผู้คบบัณฑิตก็เสมือนห่อด้วย ใบไม้ท่ีห่อของหอม มีกฤษณาและดอกไม้ เปน็ ต้น. ขุ.ข.ุ (พุทธ) มก. ๓๙/๑๗๖ ๓.๔ น�้ำ ฝนตกลงในสระยอ่ มขังอยู่ได้นาน ฉนั ใด แม้การสมาคมกบั สตั บุรษุ ก็ยอ่ มตัง้ อยไู่ ด้ นานเหมือนนำ้�ในสระ ฉันนัน้ . ขุ.ชา. (ท่วั ไป) มก. ๖๒/๖๓๗ ๓.๕ ภูเขาหินมีอยู่ในป่าใหญ่ หมู่ไม้เหล่าน้ันอาศัยภูเขาน้ัน เจริญงอกงามเติบโตในป่า แม้ ฉันใด ชนทั้งหลายอาศัยกุลบุตรผู้มีศรัทธา สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมงอกงามในโลกนี้ ชนผู้มีปัญญา เหน็ แจง้ ศีล จาคะและสุจรติ ของกุลบตุ รผู้มีศรทั ธานน้ั แลว้ ยอ่ มทำ�ตามประพฤตธิ รรมซง่ึ เป็นทางน�ำ สัตว์ไปสูส่ คุ ติ เพลดิ เพลนิ ในโลกนี้ สมปรารถนา ย่อมบนั เทิงในเทวโลก ฉนั นนั้ . อัง. ปัญจก. (อรรถ) มก. ๓๖/๙๑ ๓.๘ บคุ คลเห็นทา่ นผู้มีปญั ญาชี้โทษ มีปกติกล่าวขม่ ขี่ เหมอื นผบู้ อกขุมทรัพยใ์ ห้. ข.ุ เถร. (เถระ) มก. ๕๓/๒๓๐ www.kalyanamitra.org

๓ม ง ค ล ที่ บูชาบุคคลที่ควรบูชา ธรรมดาพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าท้ังหลาย ย่อมเกิดขึ้นเพ่อื ประโยชนเ์ กอ้ื กลู แก่คนท้งั หลาย เหมือนพระจันทร์ พระอาทิตย์ ส่องแสงสวา่ งแกค่ นทั้งปวง www.kalyanamitra.org

39 ๑. คณุ ของพระรตั นตรัย ๑.๑ เมอ่ื ฝนเม็ดใหญต่ กลงบนภเู ขา น้ำ�น้ันไหลไปตามทล่ี มุ่ ยอ่ มยังซอกเขา ลำ�ธาร ล�ำ ห้วย ให้เตม็ ย่อมยงั หนอง บงึ แมน่ าํ้ นอ้ ย แมน่ า้ํ ใหญ่ให้เตม็ ย่อมยังมหาสมุทรสาครให้เต็ม ฉนั ใด ความ เลอ่ื มใสอนั ไมห่ วน่ั ไหวในพระพทุ ธเจา้ ในพระธรรม ในพระสงฆ์ และศลี อนั เปน็ ทร่ี กั ของ พระอรยิ เจา้ ธรรมเหล่าน้ี เม่ือไหลไปถึงฝัง่ ยอ่ มเป็นไปเพื่อความสิน้ อาสวะ ฉันน้ันเหมอื นกัน. สงั .ม. (พุทธ) มก. ๓๑/๓๖๖ ๑.๒ พระศาสนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นเสมือนขุมทรัพย์ อันเต็มไปด้วยรัตนะ มี แกว้ มณี และทองคำ� เป็นตน้ เพราะเพยี บพร้อมไปด้วยอรยิ ทรัพย์. ข.ุ เถร. (อรรถ) มก. ๕๓/๔๑๓ ๑.๓ บรษิ ัท ๔ นี้จักบชู าเราดว้ ยการบูชาน้ีเพียงใด ศาสนาของเรากจ็ ะรุ่งเรอื ง ดุจจันทร์เพ็ญ ลอยเด่นกลางทอ้ งฟา้ ฉะนัน้ . ที.ม. (พุทธ) มก. ๑๓/๔๒๒ ๑.๔ พระพุทธองค์ท้ังพระสาวกทรงแสดงพระรัศมี ทำ�พระศาสนาให้ไร้มลทิน แล้วดับขันธ ปรินิพพาน เหมือนดวงจนั ทร์เคลอื่ นจากท้องนภากาศ. ขุ.พุทธ. (พทุ ธ) มก. ๗๓/๕๔๔ www.kalyanamitra.org

40 ๑.๕ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปรียบเหมือนพระจันทร์เพ็ญ พระธรรมเปรียบเหมือนกลุ่มรัศมี ของพระจนั ทร์ พระสงฆเ์ ปรียบเหมอื นโลกท่เี อบิ อม่ิ ดว้ ยรัศมีของพระจนั ทรเ์ พญ็ . ขุ.ข.ุ (อรรถ) มก. ๓๙/๑๙ ๑.๖ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปรียบเหมือนดวงอาทิตย์ทอแสงอ่อนๆ พระธรรมเปรียบเหมือน รศั มขี องดวงอาทติ ย์ พระสงฆเ์ ปรียบเหมือนโลกท่ดี วงอาทิตยน์ นั้ ก�ำ จดั มดื แลว้ . ข.ุ ขุ. (อรรถ) มก. ๓๙/๑๙ ๑.๗ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปรียบเหมือนเมฆฝนใหญ่ พระธรรมเปรียบเหมือนนำ้�ฝน พระ สงฆ์ผูร้ ะงบั ละอองกิเลสแลว้ เปรียบเหมอื นชนบท ซึ่งถกู ระงับละอองฝุน่ เพราะฝนนั้น. ขุ.ข.ุ (อรรถ) มก. ๓๙/๑๙ ๑.๘ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปรียบเหมือนสารถีที่ผู้เลิศ พระธรรมเปรียบเหมือนอุบายฝึกม้า อาชาไนย พระสงฆ์เปรยี บเหมือนฝงู ม้าอาชาไนยท่ถี ูกฝึกมาดีแล้ว. ข.ุ ข.ุ (อรรถ) มก. ๓๙/๑๙ ๑.๙ พระสัมมาสมั พุทธเจ้าเปรียบเหมือนศลั ยแพทย์ (หมอผา่ ตัด) เพราะทรงถอนลูกศร คอื ทิฏฐิไดห้ มด พระธรรมเปรยี บเหมือนอบุ ายทชี่ ่วยถอนลกู ศร คอื ทฏิ ฐิออกได้ พระสงฆผ์ ู้ถอนลูกศร คือ ทิฏฐิออกแลว้ . ขุ.ข.ุ (อรรถ) มก. ๓๙/๑๙ ๑.๑๐ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปรียบเหมือนจักษุแพทย์ เพราะทรงลอกพ้ืนตา คือ โมหะ (ความหลง) ออกได้แล้ว พระธรรมเปรียบเหมือนอุบายเครื่องลอกพื้น (ตา) พระสงฆ์ผู้มีพื้นช้ันตา อันลอกแล้ว ผู้มีย่อมเป็นดวงตา คือ ญาณ (ความรู้แจ้ง) อันสดใส เปรียบเหมือนชนที่ลอกพ้ืนตา แล้วมีดวงตาสดใส. ขุ.ข.ุ (อรรถ) มก. ๓๙/๑๙ ๑.๑๑ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปรียบเหมือนแพทย์ผู้ฉลาด เพราะทรงสามารถกำ�จัดพยาธิ (โรค) คือ กิเลสพร้อมท้ังอนุสัย (กิเลสท่ีนอนเนื่องอยู่ในสันดาน) ออกได้ พระธรรมเปรียบเหมือน เภสชั ทีป่ รงุ ถูกต้องแลว้ พระสงฆ์ผู้มีพยาธิ คอื กิเลส และอนสุ ัยอันระงบั แล้ว เปรยี บเหมือนหมชู่ น ที่ไดร้ ับเภสัชอนั ถูกต้องจนพยาธิระงบั แล้ว. ขุ.ข.ุ (อรรถ) มก. ๓๙/๒๐ ๑.๑๒ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปรียบเหมือนผู้ชี้ทาง พระธรรมเปรียบเหมือนทางดีหรือพื้นที่ ปลอดภัย พระสงฆ์เปรยี บเหมือนผู้เดินทางถึงท่หี มายอยา่ งปลอดภยั . ขุ.ขุ. (อรรถ) มก. ๓๙/๒๐ www.kalyanamitra.org

41 ๑.๑๓ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปรียบเหมือนนายเรือท่ีดี พระธรรมเปรียบเหมือนเรือ พระ สงฆ์เปรยี บเหมอื นชนผ้อู าศยั เรอื เดนิ ทางถึงฝั่ง. ขุ.ข.ุ (อรรถ) มก. ๓๙/๒๐ ๑.๑๔ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปรียบเหมือนผู้ช้ีขุมทรัพย์ พระธรรมเปรียบเหมือนขุมทรัพย์ พระสงฆเ์ ปรียบเหมอื นชนผ้ไู ด้ขุมทรพั ย์. ขุ.ขุ. (อรรถ) มก. ๓๙/๒๐ ๑.๑๕ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปรียบเหมือนผู้ประทานความไม่มีภัย พระธรรมเปรียบเหมือน ความไม่มภี ัย พระสงฆ์ผู้ล่วงภัยทุกอยา่ งเปรยี บเหมือนชนผู้ถึงความไมม่ ภี ัย. ขุ.ขุ. (อรรถ) มก. ๓๙/๒๐ ๑.๑๖ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปรียบเหมือนผู้ปลอบ พระธรรมเปรียบเหมือนการปลอบ พระ สงฆเ์ ปรียบเหมือนชนผถู้ กู ปลอบ. ข.ุ ข.ุ (อรรถ) มก. ๓๙/๒๐ ๑.๑๗ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปรียบเหมือนมิตรดี พระธรรมเปรียบเหมือนคำ�สอนท่ีเป็น ประโยชน์เกื้อกลู พระสงฆ์เปรยี บเหมือนชนผูป้ ระสบประโยชน์ตน เพราะประกอบประโยชนเ์ กื้อกูล. ข.ุ ข.ุ (อรรถ) มก. ๓๙/๒๐ ๑.๑๘ พระสมั มาสัมพุทธเจ้าเปรยี บเหมอื นบอ่ เกิดแหง่ ทรพั ย์ พระธรรมเปรยี บเหมือนทรัพยท์ ่ี เป็นสาระ พระสงฆเ์ ปรยี บเหมอื นชนผใู้ ช้ทรพั ยท์ ีเ่ ป็นสาระนัน้ . ข.ุ ขุ. (อรรถ) มก. ๓๙/๒๐ ๑.๑๙ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปรียบเหมือนบิดาผู้มอบมรดกโดยธรรม พระธรรมเปรียบ เหมอื นมรดกอนั ลำ้�คา่ พระสงฆ์เปรยี บเหมือนพวกบตุ รผู้สืบมรดก คอื พระสทั ธรรมน้ัน. ขุ.ข.ุ (อรรถ) มก. ๓๙/๒๑ ๑.๒๐ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปรียบเหมือนดอกบัวที่บาน พระธรรมเปรียบเหมือนนำ้�ที่เกิด จากดอกบวั ทบี่ าน พระสงฆเ์ ปรียบเหมือนหมภู่ มรท่ีดดู กนิ น�้ำ จากดอกบวั นัน้ . ข.ุ ข.ุ (อรรถ) มก. ๓๙/๒๑ ๑.๒๑ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเปรียบเหมือนช่างผู้ท�ำ เครื่องประดับ พระธรรมเปรียบเหมือน เคร่อื งประดับ พระสงฆเ์ ปรียบเหมือนพระราชโอรสทท่ี รงประดบั แลว้ ด้วยพระสัทธรรมนน้ั . ขุ.ขุ. (อรรถ) มก. ๓๙/๒๑ www.kalyanamitra.org

42 ๒. คุณของพระสมั มาสัมพุทธเจา้ ๒.๑ คณุ ความดี ๒.๑.๑ พระมหาบรุ ุษทรงพ้นแลว้ จากเครอื่ งผูกมัดท้ังปวง มพี ระสันดานเบิกบาน ดุจดอกบัว ต้องแสงอาทิตย์ ฉะน้นั . ท.ี ม. (อรรถ) มก. ๑๓/๑๔๐ ๒.๑.๒ ใครๆ ไม่อาจทำ�ความมัวหมองใหเ้ กิดขึ้นแกพ่ ระสัมมาสมั พุทธเจา้ เช่นเดยี วกับไม่อาจ ทำ�ความเศรา้ หมองใหเ้ กิดแกแ่ กว้ มณี. ข.ุ ชา. (พทุ ธ) มก. ๕๘/๒๘๙ ๒.๑.๓ เมล็ดผักกาดเม่ือนำ�ไปเทียบกับเขาสิเนรุ รอยเท้าโคเม่ือนำ�ไปเทียบกับมหาสมุทร หยดน�้ำ ค้างเม่อื น�ำ ไปเทียบกับนำ้�ในสระใหญ่ ๗ สระ ก็เปน็ ของกะจิด๊ รดิ๊ คือ เลก็ น้อย ฉันใด คณุ ของพวกเรา เมื่อนำ�ไปเทียบกับพระคุณมีพระชาติสมบัติ เป็นต้น ของพระสมณโคดมเป็นของเล็ก นอ้ ย ฉันนนั้ . ที.ส.ี (อรรถ) มก. ๑๒/๒๕ ๒.๑.๔ ทรัพย์เครื่องปล้ืมใจอย่างใดอย่างหนึ่งในโลกน้ี หรือในโลกอ่ืน หรือรัตนะใดอัน ประณีตในสวรรค ์ ทรัพยเ์ ครื่องปลม้ื ใจ และรัตนะนั้นท่ีเสมอดว้ ยพระตถาคตไมม่ เี ลย. ขุ.ข.ุ (พทุ ธ) มก. ๓๙/๒๑๕ ๒.๑.๕ พระพุทธองค์ทรงพระมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ มีนักษัตรฤกษ์ดีเหมือน พระจนั ทร์ ทรงสมบูรณด์ ว้ ยอนพุ ยญั ชนะ บานเหมือนตน้ พระยารงั อนั ข่าย คอื พระรศั มีแวดวง มี พระรัศมรี งุ่ เรืองเหมอื นภูเขาทอง มีพระรัศมลี ้อมรอบดา้ นละวา มรี ศั มนี บั ด้วยรอ้ ยเหมอื นอาทิตย์ มีพระพกั ตร์เหมอื นทองคำ� เป็นพระพชิ ิตมาร เปน็ เหมอื นภูเขาอันให้เกดิ ความยนิ ดี มพี ระหฤทัยเต็ม ด้วยพระกรุณา มพี ระคุณปานดังสาคร มพี ระเกยี รติปรากฏแก่โลก เหมอื นเขาสิเนรุซึง่ เปน็ ภูเขา สูงสดุ มพี ระยศเป็นท่ีปล้ืมใจ เป็นผปู้ ระกอบด้วยปญั ญา เปน็ นกั ปราชญ์. ข.ุ อป. (เถระ) มก. ๗๒/๔๐๗ ๒.๑.๖ พระองค์เปน็ เสมอื นยาบ�ำ บัดโรค ทำ�ใหย้ าพษิ คือ กเิ ลสพนิ าศ ประดับด้วยกล่ิน คอื คณุ เหมอื นภูเขาคนั ธมาทน์. ข.ุ อป. (เถระ) ๗๒/๔๐๘ ๒.๑.๗ พระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงยังสัตว์ให้ยินดีเหมือนพระจันทร์ แผดแสงเหมือน พระอาทิตย์ ทำ�ให้เยือกเย็นเหมือนเมฆ เป็นบ่อเกิดแห่งคุณเหมือนสาคร มีศีลเหมือนแผ่นดิน มี สมาธิเหมือนขุนเขาหมิ วนั ต์ มีปัญญาเหมือนอากาศ ไม่ข้องเหมอื นกับลม ฉะนั้น. ข.ุ อป. (เถร) มก. ๗๒/๔๐๗ www.kalyanamitra.org

43 ๒.๒ คุณประโยชน์ ๒.๒.๑ ธรรมดาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าท้ังหลาย ย่อมเกิดข้ึนเพ่ือประโยชน์เก้ือกูลแก่คนทั้ง หลาย เหมือนพระจันทร์พระอาทิตย์ส่องแสงสว่างแกค่ นท้ังปวง. สัง.สฬา. (อรรถ) มก. ๒๘/๓๕ ๒.๒.๒ พระองคก์ ท็ รงเปน็ เหมือนเกาะของสัตว์ทงั้ หลาย ผจู้ มลงในสาคร คือ สังสารวฏั อนั เปน็ ทีพ่ ่ึงไม่ได้ เหมอื นเกาะกลางสมุทรเป็นทีพ่ ึ่งของสัตวท์ ้งั หลายที่เรอื อปั ปางในมหาสมุทร ฉะน้ัน. ข.ุ พทุ ธ. (อรรถ) มก. ๗๓/๑๑๗ ๒.๒.๓ พระอาทิตย์อัสดงคตแล้ว โลกก็ถึงความมืด ฉันใด เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังไม่ เสดจ็ อุบัติ สัตวโลกกถ็ ึงความมดื ฉนั นนั้ เม่ือพระอาทติ ยอ์ ุทัยยอ่ มขจดั ความมืดได้ทกุ เมื่อ ฉันใด พระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ผู้ประเสริฐสดุ กข็ จัดความมืดได้ทุกเม่อื ฉันนน้ั . ข.ุ อป. (เถระ) มก. ๗๑/๑๖๙ ๒.๒๓ ถามว่า พระผู้มพี ระภาคเจ้าอันเทวดาและมนุษย์ทงั้ หลายพงึ เข้าไปเฝา้ ดว้ ยเหตุไร? ตอบว่า ด้วยประสงค์จะบรรลุคุณวิเศษนานาประการ อุปมาเหมือนต้นไม้ใหญ่ท่ีผลิผลอยู่ เนืองนติ ย์ อันฝูงนกเขา้ ไปจบั ก็ดว้ ยประสงค์จะจิกกนิ ผลทีม่ รี สอร่อย ฉะนัน้ ม.ม.ู (อรรถ) มก. ๑๗/๒๗๕ ๒.๒.๕ นกละปา่ เลก็ แลว้ พงึ อาศยั ปา่ ใหญท่ ม่ี ผี ลไม้ ฉนั ใด ขา้ พระองคก์ ฉ็ นั นน้ั ละแลว้ ซง่ึ พวก พราหมณท์ ่ีมปี ญั ญานอ้ ย อาศัยแลว้ ซง่ึ พระองค์ เปน็ ดงั วา่ หงส์อาศยั สระใหญท่ มี่ ีน�ำ้ มาก ฉนั น้ัน. ข.ุ จ.ู (เถระ) มก. ๖๗/๔๕๕ ๒.๒.๖ นายหมู่ย่อมพาพวกให้ข้ามกันดาร คือ โจร ทุพภิกขภัย ที่ไม่มีน้ำ� ให้ถึงภูมิสถาน ปลอดภัย ฉันใด พระผู้มีพระภาคเจ้าย่อมนำ�สัตว์ท้ังหลายให้ข้ามกันดาร คือ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ ปรเิ ทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส และกันดาร คอื ราคะ โทสะ โมหะ มานะ๑ ทิฏฐิ กเิ ลส และทุจรติ และท่รี กชัฏ คือ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ กเิ ลส ทุจริต ใหถ้ ึงอมตนิพพาน อันเปน็ ภมู สิ ถานปลอดภยั ฉนั น้ันเหมอื นกนั . ขุ.จ.ู (อรรถ) มก. ๖๗/๔๘๗ ๒.๒.๗ เมอ่ื พระเจา้ จกั รพรรดบิ งั เกดิ ขน้ึ แกว้ มณกี บ็ งั เกดิ ขน้ึ แกว้ มณนี น้ั มอี ยแู่ ลว้ แตบ่ งั เกดิ ข้นึ เม่อื พระเจ้าจักรพรรดิบังเกิดข้นึ ฉันใด ทางอันเกษมเม่อื ผ้สู ่งั สอนไม่มี ทางน้นั ก็ลบเลือนหายไป พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรงเหน็ ทางนน้ั กท็ รงบอกใหแ้ กม่ นษุ ยแ์ ละเทวดาทง้ั หลาย ฉนั นน้ั . มลิ นิ . ๒๙๖ ๑ มานะ ความถอื ตวั www.kalyanamitra.org

44 ๒.๒.๘ พระเจ้ามิลินท์ตรัสถามพระนาคเสนว่า พวกเดียรถีย์๑ กล่าวว่า ถ้าพระพุทธเจ้ายัง ทรงยินดีต่อการบูชา ก็ยังไม่เชื่อว่า ปรินิพพาน ยังเก่ียวข้องกับโลก ถ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ปรินิพพานแล้ว ไม่เก่ียวข้องกับโลก หลุดพ้นไปจากภพทั้งปวงแล้ว การบูชาพระพุทธเจ้าก็ไม่เกิด ประโยชน์ พระนาคเสนทูลตอบวา่ พระสัมมาสมั พทุ ธเจ้าไมท่ รงยนิ ดีด้วยสกั การะ เหมอื นไฟกองใหญ่ไม่ ยินดีด้วยเชื้อ เหมือนแผ่นดินใหญ่ไม่ยินดีต่อพืชทั้งปวงท่ีอาศัยแผ่นดินเจริญงอกงาม พืชที่เจริญ งอกงามโดยอาศัยแผน่ ดนิ เหมอื นการบูชาพระสมั มาสมั พุทธเจา้ ผดู้ ับขนั ธปรินิพพานแลว้ ก็ยงั มีผล. มลิ นิ . ๑๕๖ ๒.๒.๙ ในภิกษุสงฆห์ มนู่ ี้ ภกิ ษทุ ัง้ หลายยงั เป็นผใู้ หม่ บวชไมน่ าน เพงิ่ มาสพู่ ระธรรมวนิ ยั นม้ี ี อยู่ เมอ่ื ภิกษุเหล่านั้นไม่ไดเ้ ฝ้าพระผูม้ พี ระภาคเจ้า จะพงึ มีความนอ้ ยใจ มคี วามแปรปรวนไป ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เปรียบเหมือนพืชที่ยังอ่อนไม่ได้นำ้� จะพึงเป็นอย่างอ่ืน จะพึงแปรไป ฉนั ใด ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ในภิกษุสงฆ์หมู่นี้ ภิกษุทั้งหลายท่ียังเป็นผู้ใหม่ บวชไม่นาน เพ่ิงมาสู่ พระธรรมวนิ ยั นี้มีอยู่ เม่อื ภกิ ษเุ หลา่ นน้ั ไมไ่ ดเ้ ฝา้ พระผมู้ ีพระภาคเจา้ กฉ็ ันน้นั . ม.ม. (พทุ ธ) มก. ๒๐/๓๗๙ ๒.๓ ความย่งิ ใหญ่ ๒.๓.๑ พระจันทร์ และพระอาทิตย์โคจรส่องทิศให้สว่างไสวมีประมาณเท่าใด โลกตั้งพันก็ เทา่ น้นั อ�ำ นาจของพระองค์ย่อมเปน็ ไปในพันโลกนนั้ . ท.ี ม. (อรรถ) มก. ๑๔/๕๓ ๒.๓.๒ นับตั้งแต่พระสมณโคดมอุบัติขึ้นมา พวกเรานักบวชเปลือย กลายสภาพเป็นเหมือน ฝงู หง่ิ หอ้ ยในยามดวงอาทิตย์อทุ ัย. ที.ปา. (อรรถ) มก. ๑๕/๔๒ ๒.๓.๓ พระเจ้าจักรพรรดิมีหมู่อำ�มาตย์ห้อมล้อม เสด็จเลียบแผ่นดินอันไพศาลน้ี มี มหาสมุทรเป็นอาณาเขตไปรอบๆ ได้ ฉันใด พระสาวกทั้งหลายผู้มีวิชชา ๓๒ ละมัจจุราชได้แล้ว พากนั เขา้ ไปหอ้ มลอ้ มพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ผ้ทู รงชนะสงครามแล้ว ฉนั นนั้ . ข.ุ เถร. (เถระ) มก. ๕๓/๔๘๘ ๑ เดยี รถยี ์ นกั บวชภายนอกพระพทุ ธศาสนา ๒ วิชชา ๓ ระลกึ ชาติได้ เหน็ การเวยี นว่ายตายเกดิ ของสัตว์ ท�ำ อาสวะใหส้ ิน้ www.kalyanamitra.org

45 ๒.๓.๔ พระผู้มีพระภาคอันภิกษุเหล่านั้นแวดล้อมแล้ว ไพโรจน์ประหน่ึงท่อนทองอันห่อหุ้ม ด้วยผา้ กัมพลแดง ประดจุ เรือทองอนั ลอยล�ำ อยูใ่ นท่ามกลางดงประทมุ แดง เสมือนปราสาททองอัน ล้อมรอบไปดว้ ยเวทีแกว้ ประพาฬ. ที.ปา. (อรรถ) มก. ๑๖/๒๖๗ ๒.๓.๕ ท่านผู้เป็นพุทธะ ผู้พหูสูตแวดล้อมแล้ว ประหน่ึงเกสรอันแวดล้อมไปด้วยกลีบ ประดุจกรรณกิ าอนั แวดลอ้ มไปด้วยเกสร เสมอื นพญาช้างฉัททันต์อนั แวดลอ้ มไปดว้ ยช้างบริวารทั้ง แปดพัน ปานว่าจอมหงส์ธตรัฐอันแวดล้อมไปด้วยหงส์บริวารเก้าแสน ดังว่าพระเจ้าจักรพรรดิอัน แวดลอ้ มไปด้วยเหล่าเสนางคนกิ ร ประดจุ ท้าวสกั กเทวราชอันแวดลอ้ มไปดว้ ยเหลา่ ทวยเทพ ปาน ว่าทา้ วมหาพรหมอนั แวดลอ้ มไปด้วยคณะพรหม. ที.ปา. (อรรถ) มก. ๑๖/๒๖๘ ๒.๓.๖ พระผู้มีพระภาคเจ้าอันภิกษุพันรูปแวดล้อมแล้วเสด็จเข้าไปยังกรุงราชคฤห์ เสมือน ท้าวสหสั นยั น์เทวราชอนั หมเู่ ทพหอ้ มล้อมแลว้ เสมือนท้าวมหาพรหมอันหม่พู รหมหอ้ มลอ้ มแล้ว. ขุ.พทุ ธ. (อรรถ) มก. ๗๓/๕๕๖ ๒.๓.๗ เราเปน็ ผูย้ อดเยยี่ มกวา่ ท้าวสักกะ กท็ ้าวสักกะนน่ั เป็นคลิ านุปัฏฐากของเราเช่นเดยี ว กบั สามเณรผูเ้ ปน็ กปั ปยิ การก๑. ขุ.ธ. (พุทธ) มก. ๔๑/๒๒๗ ๒.๓.๘ พระผ้มู พี ระภาคเจา้ จักเสด็จไปทางใดๆ พราหมณ์ คฤหบดี ชาวนคิ ม และชาวชนบท ก็จักหล่ังไหลไปทางนั้นๆ เหมือนเมอื่ ฝนเมด็ ใหญต่ กลงมา น้ำ�ก็ย่อมไหลไปตามท่ลี ุ่ม. อัง.ปญั จก. (ทว่ั ไป) มก. ๓๖/๕๗ ๒.๓.๙ พึงปฏิบัติในพระสรีระของพระตถาคต เหมือนท่ีเขาปฏิบัติในพระสรีระของพระเจ้า จกั รพรรดิ. ที.ม. (พุทธ) มก. ๑๓/๓๑๐ ๒.๓.๑๐ หม่ืนโลกธาตุนี้ ธารไว้ได้ซ่ึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพียงพระองค์เดียว ธารไว้ได้ซึ่ง พระคุณของพระตถาคตองคเ์ ดยี ว ถ้าองคท์ ีส่ องพงึ เสด็จอุบตั ิขนึ้ หมื่นโลกธาตุนี้กพ็ งึ ธารไว้ไม่ได้ พึง หวั่นไหว สน่ั คลอน นอ้ มไป โอนไป เอียงไป เร่ยี ราย กระจดั กระจาย พินาศไปไมพ่ งึ ตง้ั อยไู่ ด้เปรยี บ เสมือนเรือท่ีรับบุรุษไว้ได้คนเดียว เม่ือบุรุษคนหน่ึงข้ึนไป เรือพึงต้ังอยู่ได้พอ ถ้าบุรุษคนที่สองข้ึนสู่ เรอื ลำ�นนั้ เรือนน้ั จะพึงธารบุรษุ ท้ังสองนนั้ ไว้ได้หรือ. ที.ปา. (เถระ) มก. ๑๕/๒๕๓ ๑ กัปปยิ การก ลกู ศิษย์พระ www.kalyanamitra.org

46 ๒.๓.๑๑ ถ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ที่สองพึงอุบัติข้ึน หมื่นโลกธาตุน้ีก็ธารไว้ไม่ได้ ฯลฯ ไม่พึงต้ังอยู่ได้ เปรียบเสมือนบุรุษผู้มีความสุขพึงบริโภคโภชนะตามความต้องการ คือ เม่ือหิวก็ บริโภคเตม็ อ่ิม (แคค่ อ) ของบุรษุ นัน้ . ท.ี ปา. (เถระ) มก. ๑๕/๒๕๔ ๒.๓.๑๒ หมืน่ โลกธาตุน้ธี ารพระพุทธเจา้ ไวไ้ ดพ้ ระองค์เดยี ว ทั้งทรงคณุ ของพระตถาคตไว้ได้ พระองคเ์ ดียวเทา่ นนั้ พระนาคเสนถวายพระพรแก่พระยามิลินท์ ว่า มหาบพิตร ในโลกน้ีเกวียน ๒ เล่ม บรรจุ ด้วยรัตนะจนเต็มเสมอปาก คนท้ังหลายก็พากันขนเอารัตนะของเกวียนเล่มหนึ่งมาเกล่ียไว้ใน เกวียนอกี เลม่ หนึ่ง มหาบพติ ร เกวยี นเลม่ นัน้ จะพึงธารรตั นะของเกวียนทัง้ สองเลม่ นั้นไว้ได้หรือไม่ พระยามิลินท์ตรัสว่า ท่านผู้เจริญ เกวียนนั้นย่อมธารไว้ไม่ได้แน่ ดุมของเกวียนน้ันพึงไหว บ้าง ล�ำ ของเกวยี นนัน้ พงึ หกั ไปบ้าง เพลาของเกวียนนั้นพงึ หกั ไปบา้ ง พระนาคเสนทลู ถามวา่ เกวยี นยอ่ มหักไปดว้ ยการขนรัตนะทีม่ ากเกนิ ไปใชห่ รือไม่ พระยามิลินตรสั ตอบวา่ ใช่แล้ว ทา่ นผู้เจรญิ พระนาคเสนถวายพระพรว่า มหาบพิตร ข้อนี้ก็อุปไมยฉันนั้น แผ่นดินย่อมหว่ันไหวด้วย ธรรมะท่ีหนกั ย่งิ . ที.ปา. (เถระ) มก. ๑๕/๒๕๔ ๒.๓.๑๓ ถ้าพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ สองพระองคพ์ งึ เสดจ็ อบุ ตั ขิ ้ึนในขณะเดียวกัน การทะเลาะ วิวาทแม้ของบริษัทพึงบังเกิดข้ึน มนุษย์ทั้งหลายก็จะเป็นสองฝักสองฝ่าย โดยกล่าวว่า พระพุทธเจา้ ของพวกทา่ น พระพุทธเจ้าของพวกเรา มหาบพติ ร เปรยี บเสมือนบรษิ ทั ของอ�ำ มาตยผ์ มู้ ีก�ำ ลังสองคน พึงเกิดการววิ าทกนั คนเหลา่ น้นั ก็จะเปน็ สองฝกั สองฝา่ ย โดยกล่าววา่ อำ�มาตยข์ องพวกท่าน อำ�มาตย์ของพวกเรา. ที.ปา. (เถระ) มก. ๑๕/๒๕๕ ๒.๓.๑๔ แผ่นดนิ ใหญ่นั้นมีผนื เดียวเทา่ นัน้ สาครใหญ่มสี ายเดียวเท่านั้น ภูเขาสเิ นรุยอดแหง่ ภูเขาใหญ่ประเสริฐท่ีสุดก็มีลูกเดียวเท่านั้น อากาศใหญ่มีแห่งเดียวเท่านั้น ท้าวสักกะผู้ใหญ่มีองค์ เดียวเท่านั้น พระพรหมผู้ใหญ่มีองค์เดียวเท่าน้ัน พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ใหญ่ก็มี พระองคเ์ ดียวเทา่ นัน้ พระองค์เสดจ็ อบุ ัตขิ ้ึนในทใ่ี ด ในทนี่ นั้ ก็ไมม่ โี อกาสแกพ่ ระพุทธเจา้ ท้งั หลายองค์ อืน่ ฉะน้ัน พระตถาคตอรหันตสมั มาสัมพทุ ธเจ้าพระองค์เดยี วเทา่ นน้ั ยอ่ มอบุ ตั ิขึ้นในโลก. ที.ปา. (เถระ) มก. ๑๕/๒๕๖ www.kalyanamitra.org

47 ๒.๓.๑๕ พระผูม้ พี ระยศย่งิ ใหญ่ ผแู้ กล้วกล้าปราศจากภยั ประทับน่ังอยทู่ า่ มกลางกองก�ำ ลงั ของมาร เหมือนพระยาครุฑอย่ทู า่ มกลางฝงู วิหค เหมือนราชสหี ผ์ ยู้ ิ่งยงอยู่ท่ามกลางฝงู มฤค ฉะนนั้ . ขุ.พุทธ. (อรรถ) มก. ๗๓/๗๒๓ ๒.๓.๑๖ พระอาทิตย์ย่อมส่องแสงในเวลากลางวัน พระจันทร์ย่อมรุ่งเรืองในเวลากลางคืน กษัตริย์ทรงเคร่ืองรบแล้วย่อมรุ่งเรือง พราหมณ์ผู้มีความเพ่งย่อมรุ่งเรือง ส่วนพระสัมมาสัมพุทธ เจ้าย่อมรงุ่ เรอื งด้วยเดชตลอดกลางวัน และกลางคนื . ข.ุ ธ. (อรรถ) มก. ๔๓/๔๑๖ ๒.๓.๑๗ ราชสีห์ เขาเรียกว่าสีหะเพราะอดทน และเพราะล่าเหยื่อ แม้ฉันใด ตถาคตก็ฉัน นัน้ เขาเรยี กวา่ สหี ะ เพราะทรงอดทนโลกธรรมทงั้ หลาย และเพราะทรงกำ�จดั ลัทธิอ่นื การบันลือ ของสีหะทีท่ า่ นกล่าวอย่างน้ี เรียกว่า สีหนาท. อัง.จตุกก. (อรรถ) มก. ๓๕/๒๒ ๒.๓.๑๘ พระตถาคตทรงบรรลุพระสัพพัญญุตญาณก็เหมือนราชสีห์ เวลาที่เสด็จออกจาก พระคันธกุฎีก็เหมือนราชสีห์ออกจากถ�ำ้ ทองท่ีอยู่อาศัย เวลาเสด็จเข้าไปธรรมสภาก็เหมือนราชสีห์ สะบัดตัว การท่ีทรงเหลียวดูบริษัทก็เหมือนการเหลียวดูทิศ เวลาทรงแสดงธรรมก็เหมือนการแผด สหี นาท การเสด็จไปบำ�ราบลทั ธอิ นื่ ก็เหมือนการออกหาเหยอื่ . อัง.จตกุ ก. (อรรถ) มก. ๓๕/๑๒๖ ๒.๓.๑๙ แม้ไม่ได้เห็นมหาสมุทรก็รู้ว่ามหาสมุทรกว้างใหญ่ เพราะแม่นำ้�เป็นอันมากไหลไปสู่ มหาสมุทร แต่ไม่ไดท้ ำ�ใหม้ หาสมุทรพร่องหรอื ลน้ ฉันใด แมไ้ มเ่ คยเห็นพระสัมมาสัมพุทธเจา้ แต่ได้ เหน็ พระสาวกผมู้ ีอภญิ ญา๑ เปน็ พระอรหนั ต ์ ก็รวู้ ่าพระพทุ ธเจา้ เปน็ เย่ียมไม่มใี ครเทยี มทาน. มิลิน. ๑๐๙ ๒.๓.๒๐ ตัวเลขยังปรากฏอยู่ อาจารย์ผู้คิดเลขย่อมปรากฏด้วยช่ือเสียง ฉันใด ธรรมที่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ย่อมแสดงถงึ ความรู้อนั ย่ิงใหญท่ ่ีไม่มีใครเทียม. มิลิน. ๑๐๙ ๒.๓.๒๑ ภูเขาสตบรรพตใหญก่ วา่ ภเู ขาทงั้ หลายในปา่ หมิ พานต์ ดวงอาทติ ย์ประเสริฐกวา่ สิ่ง ทง้ั หลายในอากาศ มหาสมทุ รใหญก่ วา่ แมน่ ำ�้ ทง้ั หลาย ดวงจนั ทรด์ กี วา่ ดวงดาวทง้ั หลาย พระสมั มา- สมั พุทธเจ้าเลศิ กวา่ มนษุ ยท์ ง้ั หลาย. มิลิน. ๑๔๖ ๑ อภิญญา ความร้ยู ่งิ www.kalyanamitra.org

48 ๒.๓.๒๒ ในหมู่มนุษยผ์ ู้หนึ่งมชี าติตระกลู สงู มที รัพย์ มวี ิชา มศี ิลปะ แกล้วกล้าเฉยี บแหลม มีคุณต่างๆ กัน แต่พระราชาย่อมสูงกว่าบุรุษท้ังหลาย ฉันใด พระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ทรงเป็น ผลู้ �ำ้ เลิศประเสริฐกว่าสรรพสตั วท์ ั้งปวง ฉันนน้ั . มิลิน. ๒๗๒ ๒.๓.๒๓ คล่ืนตั้งขึ้นในน้ำ�ลึก ย่อมล่วงเลยฝ่ังไปไม่ได้ คลื่นเหล่านั้นกระทบทั่วฝั่ง ย่อมเป็น ระลอกเล็กนอ้ ยละลายหายไป ฉนั ใด ชนในโลกเปน็ สว่ นมากทเ่ี ปน็ เดยี รถยี ์ กฉ็ ันน้ัน มที ิฏฐติ ่างๆ กัน ตอ้ งการจะข้ามธรรมของพระองค์ แต่กไ็ ม่ลว่ งเลยพระองคผ์ ูเ้ ป็นมนุ ไี ปได.้ ข.ุ อป. (เถระ) มก. ๗๐/๔๑๙ ๒.๓.๒๔ ผู้ใดประทุษรา้ ยต่อผู้ไมป่ ระทุษรา้ ย ผู้ไมท่ ำ�บาปกรรม บาปยอ่ มถูกตอ้ งเฉพาะผนู้ ้นั ผู้ใดต้ังใจประทุษร้ายมหาสมุทรด้วยยาพิษเป็นหม้อๆ ผู้น้ันไม่ควรประทุษร้ายด้วยยาพิษน้ัน เพราะ มหาสมทุ รเปน็ สิ่งท่ีน่ากลัว ฉนั ใด ผูใ้ ดเบยี ดเบยี นตถาคตผู้เสด็จไปดแี ลว้ มพี ระทยั สงบดว้ ยกล่าวติ เตยี น การกล่าวติเตยี นในตถาคตน้ันฟังไมข่ ึ้น ฉนั น้นั เหมอื นกนั . วิ.จ.ุ (พุทธ) มก. ๙/๓๑๔ ๒.๓.๒๕ ในคนื ก่อนวันตรัสรู้ พระโพธิสตั วท์ รงพระสุบิน (ฝัน) ว่า ๑. แผน่ ดนิ เป็นทน่ี อนใหญ่ของตถาคต เปน็ นมิ ติ วา่ ตถาคตได้ตรสั รสู้ ัมมาสมั โพธิญาณท่ีไม่มี ธรรมอ่ืนยิ่งกวา่ ๒. หญ้าคาได้ข้ึนจากนาภี (สะดือ) ของตถาคตจรดท้องฟ้าต้ังอยู่ เป็นนิมิตว่า ตถาคตได้ ตรสั รูอ้ รยิ มรรคมีองค์ ๘ แลว้ ประกาศดว้ ยดี ตลอดมนุษย์และเทวดาทง้ั หลาย ๓. หมหู่ นอนมีสีขาว ศีรษะสีด�ำ ไตข่ นึ้ เทา้ ของตถาคต ปกปดิ ถึงชานมุ ณฑล (เขา่ ) เป็นนมิ ติ ว่า คฤหสั ถ์ผ้นู ุง่ ห่มผ้าขาวจำ�นวนมากได้ถึงตถาคตเปน็ สรณะตลอดชีวิต ๔. นก ๔ เหล่า มสี ีต่างๆ บนิ มาจากทิศทั้งส่ี ตกลงมาแทบเทา้ ของตถาคต แลว้ กลายเปน็ สี ขาวทุกตัว เป็นนิมติ ว่า วรรณะทงั้ สีอ่ อกบวชแลว้ ท�ำ ให้แจ้งวิมตุ ตอิ นั ยอดเยี่ยม ๕. ตถาคตทรงด�ำ เนินไปบนภเู ขาคูถลกู ใหญ่ แตไ่ มแ่ ปดเปื้อน เปน็ นิมติ ว่า ตถาคตได้ปัจจัย ๔ แลว้ ไม่ลุ่มหลง ไมพ่ ัวพนั มปี กติเหน็ โทษ มปี ญั ญาเปล้ืองตนออกบรโิ ภค เมื่อพระโพธิสัตว์ใคร่ครวญแล้ว จึงทรงกระทำ�สันนิษฐานว่า วันน้ีพระองค์จะได้ตรัสรู้เป็น พระสัมมาสมั พุทธเจา้ . องั .ปญั จก. (พทุ ธ) มก. ๓๖/๔๓๑ ๒.๓.๒๖ พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั ถามพระนาคเสนวา่ ไม่เคยเห็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแลว้ เชอื่ ได้ อย่างไรว่า มจี รงิ www.kalyanamitra.org

49 พระนาคเสนตอบโดยอปุ มาอปุ ไมยวา่ เหมอื นสะดอื ทะเล ไมไ่ ดเ้ หน็ แตร่ วู้ า่ มพี ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ก็เช่นกนั ไม่เคยเห็นแต่รูว้ า่ มี. มลิ ิน. ๑๐๘ ๒.๓.๒๗ พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั ถามพระนาคเสนว่า พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ปรินิพพานแล้ว ชี้ได้ ไหมวา่ อยทู่ ไ่ี หน พระนาคเสนทลู ตอบวา่ เปลวไฟทด่ี บั แลว้ ไมอ่ าจชไ้ี ดว้ า่ อยทู่ ไ่ี หน ฉนั ใด พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทป่ี รนิ พิ พานแลว้ กไ็ มอ่ าจชไ้ี ด้ ฉนั นน้ั อาจชไ้ี ดเ้ พยี งพระธรรมกายของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เทา่ นน้ั . มิลนิ . ๑๑๓ ๒.๔ คณุ วเิ ศษ ๒.๔.๑ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงปกปิดพุทธานุภาพน้ันทั้งหมดไว้ในกลีบจีวร ทรงถือบาตร และจีวรด้วยพระองค์เอง เสด็จไปโดยท่ีไม่มีใครรู้จัก เหมือนพระจันทร์ในวันเพ็ญท่ีถูกปิดบังไว้ใน กลบี เมฆ. ม.มู. (อรรถ) มก. ๑๙/๑๔ ๒.๔.๒ เม่อื พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ทรงระลกึ ถึงส่ิงใดสง่ิ หนงึ่ ย่อมไม่พลาด ย่อมไม่ขัดข้องต่อ เนื่องกนั ปุพเพนิวาสญาณ (การระลกึ ชาติ) ยอ่ มแล่นไปไม่ตดิ ขดั ดจุ ลูกศรเหล็กแล่นไปฉับพลนั ใน กองใบไมท้ ีผ่ .ุ ท.ี ม. (อรรถ) มก. ๑๓/๗๑ ๒.๔.๓ บุรุษผู้มีจักษุยืนอยู่บนยอดเขาหินล้วน พึงเห็นหมู่ชนโดยรอบ ฉันใด ข้าแต่พระผู้มี พระภาคเจา้ พระองคเ์ ป็นผู้มปี ญั ญาดี มจี ักษุโดยรอบดว้ ยพระสพั พัญญุตญาณ กฉ็ นั นนั้ เสด็จขน้ึ สู่ ปราสาทสำ�เร็จด้วยธรรม ทรงพิจารณา ทรงใคร่ครวญ ทรงตรวจตราหมู่ชนผู้เกลือกกลั้วไปด้วย ความโศก ถกู ชาติชราครอบงำ�. ท.ี ม. (อรรถ) มก. ๑๓/๑๕๐ ๒.๔.๔ บรุ ษุ ผูม้ จี ักษุยนื อยบู่ นยอดภเู ขานัน้ มองดพู ้ืนทด่ี ิน ไม่ปรากฏแนวพ้นื ที่เพาะปลูก ไม่ ปรากฏกระท่อม ไม่ปรากฏพวกมนุษย์ที่นอนในกระท่อมน้ัน แต่ปรากฏเพียงเปลวไฟในกระท่อมท้ัง หลายเทา่ นน้ั ฉันใด เม่อื พระตถาคตเสดจ็ ขึน้ สู่ธรรมปราสาททรงตรวจดูหมูส่ ตั ว ์ สตั ว์ท้งั หลายที่ไม่ ไดท้ ำ�ความดี แมน้ ่ัง ณ ขา้ งพระชานุ (เขา่ ) เบือ้ งขวาในทอ่ี ยู่แหง่ เดียวกนั กฉ็ ันนั้น ไมม่ าถงึ คลอง แหง่ พุทธจกั ษ.ุ ท.ี ม. (อรรถ) มก. ๑๓/๑๕๐ www.kalyanamitra.org