การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ตามแนวทางของ Backward Designหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง ประวตั ิศาสตร์ กาลเวลา และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์รหัส-ช่ือรายวชิ า ส 21102 กล่มุ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม: ประวตั ศิ าสตร์ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 9 ช่ัวโมงผ้สู อน นายกฤษณะ จกั รอินตะ๊ โรงเรียน หนั คาราษฎร์รังสฤษด์ิ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลา และยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อยา่ ง เป็ นระบบ ตัวชี้วดั มฐ.ส 4.1 ม. 1/1 วเิ คราะห์ความสาคญั ของเวลาในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ มฐ.ส 4.1 ม. 1/2 เทียบศกั ราชตามระบบตา่ งๆ ท่ีใชศ้ ึกษาประวตั ิศาสตร์ มฐ.ส 4.1 ม. 1/3 นาวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์มาใชศ้ ึกษาเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์สาระสาคญั ประวตั ิศาสตร์กาลเวลาและวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ เป็ นการศึกษาประวตั ิศาสตร์ โดยมีวธิ ีการ มีหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ มีการแบ่งเวลาทางประวตั ิศาสตร์ โดยการเทียบปี ศกั ราชสาระการเรียนรู้1. ความรู้ 1.1 การศึกษาประวตั ิศาสตร์และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 1.2 การแบ่งเวลาทางประวตั ิศาสตร์และการนบั ศกั ราชในประวตั ิศาสตร์ไทย2. ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด การจาแนก การสงั เคราะห์ การจดั ระบบความคิดเป็นแผนภาพ การสรุปความรู้3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ซ่ือสตั ยส์ ุจริต มีวนิ ยั ใฝ่ เรียนรู้ รักความเป็ นไทย
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) 1. ใบงานที่ 1 การนบั ศกั ราช 2. ใบงานที่ 2 ประวตั ิศาสตร์ กาลเวลา และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์การประเมนิ ผลใบงานท่ี 1 การนบั ศกั ราช เกณฑ์ 4 ระดับคะแนน 1 การประเมิน (10 คะแนน) (5-6 คะแนน) 32เขียนปี เกิดของ (9 คะแนน) (7-8 คะแนน)บุคคล โดยการเทียบปี ศกั ราช เขียนปี เกิดของ เขียนปี เกิดของ เขียนปี เกิดของ เขียนปี เกิดของระหวา่ งปี พุทธ- บุคคล โดยการ บุคคล โดยการ บุคคล โดยการ บุคคล โดยการศกั ราชกบั ปี เทียบปี ศกั ราช เทียบปี ศกั ราช เทียบปี ศกั ราช เทียบปี ศกั ราชศกั ราชอื่นท่ี ระหวา่ งปี พุทธ- ระหวา่ งปี พทุ ธ- ระหวา่ งปี พทุ ธ- ระหวา่ งปี พุทธ-กาหนดให้ ศกั ราชกบั ปี ศกั ราชกบั ปี ศกั ราชกบั ปี ศกั ราชกบั ปี ศกั ราชอ่ืนท่ี ศกั ราชอ่ืนที่ ศกั ราชอ่ืนที่ ศกั ราชอื่นที่ กาหนดให้ ได้ กาหนดให้ ได้ กาหนดให้ ได้ กาหนดให้ ได้ สมั พนั ธ์กนั สมั พนั ธ์ถูกตอ้ ง สมั พนั ธ์ถูกตอ้ ง สัมพนั ธ์ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ งครบ 4 ขอ้ 3 ขอ้ 1-2 ขอ้ ทุกขอ้
ใบงานที่ 2 ประวตั ิศาสตร์ กาลเวลา และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ เกณฑ์ ระดับคะแนนการประเมิน 4 32 1 (10 คะแนน) (5-6 คะแนน) (9 คะแนน) (7-8 คะแนน)เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือสรุปการแบ่ง สรุปการแบง่ สรุปการแบ่งยคุ สมยั การนบั สรุปการแบ่ง สรุปการแบง่ ยคุ สมยั การนบั ยคุ สมยั การนบัศกั ราช การแบง่ ศกั ราช การแบ่ง ศกั ราช การแบง่สมยั ประวตั ิศาสตร์ ยคุ สมยั การนบั ยคุ สมยั การนบั สมยั ประวตั ิศาสตร์ สมยั ประวตั ิศาสตร์สากลและวธิ ีการ สากลและวธิ ีการ สากลและวธิ ีการข้นั ตอนทาง ศกั ราช การแบ่ง ศกั ราช การแบ่ง ข้นั ตอนทาง ข้นั ตอนทางประวตั ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ ได้ ประวตั ิศาสตร์ ได้ สมยั ประวตั ิศาสตร์ สมยั ประวตั ิศาสตร์ สอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูล แตย่ งั ไมส่ อดคลอ้ ง มีการเขียนอธิบาย กบั ขอ้ มูล และยงั สากลและวธิ ีการ สากลและวธิ ีการ โดยมีการยก ไมส่ มเหตุสมผล ตวั อยา่ งประกอบ ตามขอ้ มูลท่ีเป็น ข้นั ตอนทาง ข้นั ตอนทาง ทาใหอ้ ่านเขา้ ใจง่าย จริง ประวตั ิศาสตร์ ได้ ประวตั ิศาสตร์ไดม้ ี สมั พนั ธ์เชื่อมโยง การจาแนกขอ้ มูล กนั อยา่ งชดั เจนและ แสดงความ มีการอา้ งอิง สัมพนั ธ์กนั ทาง หลกั ฐานและ ประวตั ิศาสตร์อยา่ ง แหล่งขอ้ มูล เป็นเหตุเป็ นผล ประกอบการอธิบาย
การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเก่ียวกับประวตั ิศาสตร์พร้อมให้ความหมายทางประวตั ิศาสตร์ 2. ครูแบ่งนกั เรียนศึกษาและอภิปรายการแบง่ เวลาทางประวตั ิศาสตร์ ดงั น้ี 2.1 สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ โดยให้นกั เรียนจาแนกการแบ่งตามลกั ษณะของเครื่องมือเครื่องใชแ้ ละเทคนิควิธีการ เช่น สมยั ยคุ หิน ยคุ โลหะ และการแบ่งตามวิธีการดารงชีวิตของมนุษย์เช่น ยคุ ชุมชนล่าสตั วเ์ ร่ร่อน ยคุ หมูบ่ า้ นเกษตรกรรม และยคุ สังคมเมือง เป็นตน้ 2.2 สมัยประวัติศาสตร์ โดยให้นักเรี ยนศึกษาและจาแนกคือ การแบ่งสมัยประวตั ิศาสตร์แบบสากล เช่น สมยั โบราณ สมยั กลาง สมยั ใหม่ และประวตั ิศาสตร์ร่วมสมยั และให้นกั เรียนศึกษาการแบง่ ประวตั ิศาสตร์ของไทย 3. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั ศึกษาการนบั ศกั ราช ดงั น้ี 3.1 การนบั ศกั ราชแบบไทย เช่น พุทธศกั ราช มหาศกั ราช จุลศกั ราช และรัตนโกสินทร์ศก โดยใหน้ กั เรียนคานวณเทียบปี ศกั ราชตา่ งๆ เพอ่ื เปรียบเทียบในแต่ละช่วงปี ศกั ราช 3.2 การนับศกั ราชแบบสากล เช่น คริสต์ศกั ราช และฮิจเราะห์ศักราช จากน้ันให้นกั เรียนเทียบปี พุทธศกั ราชกบั คริสตศ์ กั ราช และฮิจเราะห์ศกั ราช 4. ให้นักเรียนศึกษาประวตั ิศาสตร์ และวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ โดยแบ่งกลุ่มเพื่ออภิปรายนาเสนอขอ้ มูล ดงั น้ี 4.1 ความหมายของประวตั ิศาสตร์และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 4.2 หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 5. ใหน้ กั เรียนทาใบงานที่ 1 การนบั ศกั ราช และใบงานที่ 2 ประวตั ิศาสตร์ กาลเวลา และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 6. ใหน้ กั เรียนทากิจกรรมแบบฝึกหดั ทา้ ยบทเรียน หรือตามท่ีครูกาหนดส่ือการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียนวชิ าประวตั ิศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 2. Power Point นาเสนอ 3. ภาพหรือเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ในทอ้ งถิ่น
แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre – Test)ชื่อ นามสกลุ เลขท่ี ช้ัน ไดค้ ะแนนให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย × ทบั ตวั อกั ษรหน้าคาตอบทถ่ี ูกต้อง 6 _________ คะแนนเตม็ 10 คะแนน1. ปัจจุบนั ยงั มีการใชจ้ ุลศกั ราชในเอกสาร ชนิดใดก. พระราชหตั ถเลขาข. ตาราโหราศาสตร์ค. เอกสารใบลานง. จดหมายพระราชกิจรายวนั2. ขอ้ ใดต่อไปน้ีจบั คู่ไม่ถูกตอ้ งก. สมยั กลาง กบั การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมข. สมยั โบราณ กบั อารยธรรมอียปิ ต์ค. สมยั ปัจจุบนั กบั โลกาภิวตั น์ง. สมยั ใหม่ กบั สงครามโลกคร้ังท่ี 1 และ 23. ขอ้ ใดไม่ใช่ประโยชน์ของการเขา้ ใจเกณฑก์ ารแบง่ ยคุ สมยั ในประวตั ิศาสตร์และวธิ ีการนบัศกั ราชก. ทาใหผ้ ศู้ ึกษาสามารถเช่ือมโยงเหตุการณ์ต่างๆ ได้ข. ทาใหผ้ ศู้ ึกษาสามารถวเิ คราะห์และผลกระทบจากเหตุการณ์ได้ค. ทาใหผ้ ศู้ ึกษาสามารถศึกษาเหตุการณ์ต่างๆ ได้ โดยปราศจากอคติง. ทาใหผ้ ศู้ ึกษาสามารถลาดบั ความสัมพนั ธ์ของเหตุการณ์ต่างๆ ได้4. ขอ้ ใดต่อไปน้ีกล่าวถึงมนุษยย์ คุ หินเก่าไดถ้ ูกตอ้ งก. มนุษยใ์ นยคุ น้ีฝึกหดั สัตวไ์ วใ้ ชง้ านข. มนุษยใ์ นยคุ น้ีประดิษฐเ์ ครื่องมือเคร่ืองใชจ้ ากดินเผาค. มนุษยใ์ นยคุ น้ีประดิษฐอ์ าวธุ หินขดั ที่มีขนาดเล็กและประณีตง. มนุษยใ์ นยคุ น้ีดารงชีวติ แบบเร่ร่อน ไม่รู้จกั สร้างท่ีอยแู่ บบถาวร5. ถา้ นา ฮ.ศ. 1438 มาเทียบเป็นพุทธศกั ราชจะตรงกบั ขอ้ ใดก. พ.ศ. 2545 ข. พ.ศ. 2550ค. พ.ศ. 2555 ง. พ.ศ. 2560
6. นกั เรียนสนใจศึกษาประวตั ิศาสตร์สุโขทยั แตศ่ ิลาจารึกซ่ึงเป็นท่ีไดร้ ับการยอมรับมากที่สุด มีจานวนจากดั นกั เรียนควรทาอยา่ งไร ก. ประดิษฐห์ ลกั ฐานข้ึนมาเองตามจินตนาการ ข. ศึกษาหลกั ฐานช้นั รองเพียงประเภทเดียวเทา่ น้นั ค. ตอ้ งศึกษาขอ้ มูลจากหลกั ฐานร่วมสมยั อ่ืนๆ ประกอบ ง. ศึกษาประวตั ิศาสตร์อยธุ ยาแทนเพราะมีหลกั ฐานช้นั ตน้ มากกวา่7. บุคคลในขอ้ ใดกาลงั ใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ในข้นั ตอนการวเิ คราะห์หลกั ฐาน ก. คุณศกั ราช กาลงั ตอบคาถามที่กาหนดให้ ข. คุณสากล กาลงั อธิบายเร่ืองที่ศึกษาอยา่ งมีเหตุผล ค. คุณประวตั ิ กาลงั ตรวจสอบความน่าเช่ือถือของหลกั ฐาน ง. คุณโบราณ กาลงั หาขอ้ มูลจากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์8. ถา้ นักประวตั ิศาสตร์พบงานประติมากรรมสมยั ศรีวิชยั นักประวตั ิศาสตร์ตอ้ งอาศยั การ ตีความจากผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นใดจึงจะเหมาะสมที่สุด ก. ดา้ นภูมิศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ ข. ดา้ นมานุษยวทิ ยาและภาษาศาสตร์ ค. ดา้ นโบราณคดีและศิลปะ ง. ดา้ นศาสนาและโหราศาสตร์9. หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ขอ้ ใดเป็นเอกสารส่วนบุคคล ก. รายงานการวจิ ยั ข. ประกาศ ค. บนั ทึกคาบอกเล่า ง. บนั ทึกประจาวนั10. ขอ้ ใดไม่ใช่ความหมายของคาวา่ ประวตั ิศาสตร์ ก. ประวตั ิศาสตร์ คือ ขอ้ เทจ็ จริงเก่ียวกบั อดีตของมนุษยท์ ี่ตรวจสอบได้ ข. ประวตั ิศาสตร์ คือ เหตุการณ์หรือเรื่องราวท่ีมนุษยใ์ นอดีตแตง่ ข้ึน ค. ประวตั ิศาสตร์ คือ เหตุการณ์ในอดีตที่มีหลกั ฐานยนื ยนั และตรวจสอบได้ ง. ประวตั ิศาสตร์ คือ ความจริงในอดีตท่ีนักประวตั ิศาสตร์เรียงร้อยข้ึนมาโดยอาศัย หลกั ฐานวเิ คราะห์
แบบทดสอบหลงั เรียน (Post – Test)ชื่อ นามสกุล เลขท่ี ช้ัน ไดค้ ะแนนให้นักเรียนเขยี นเครื่องหมาย × ทบั ตัวอกั ษรหน้าคาตอบทถ่ี ูกต้อง 6 _________ คะแนนเตม็ 10 คะแนน1. ขอ้ ใดไม่ใช่ประโยชนข์ องการเขา้ ใจเกณฑก์ ารแบง่ ยคุ สมยั ในประวตั ิศาสตร์และวธิ ีการนบัศกั ราชก. ทาใหผ้ ศู้ ึกษาสามารถลาดบั ความสมั พนั ธ์ของเหตุการณ์ต่างๆ ได้ข. ทาใหผ้ ศู้ ึกษาสามารถวเิ คราะห์และผลกระทบจากเหตุการณ์ได้ค. ทาใหผ้ ศู้ ึกษาสามารถศึกษาเหตุการณ์ต่างๆ ได้ โดยปราศจากอคติง. ทาใหผ้ ศู้ ึกษาสามารถเชื่อมโยงเหตุการณ์ต่างๆ ได้2. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ีกล่าวถึงมนุษยย์ คุ หินเก่าไดถ้ ูกตอ้ งก. มนุษยใ์ นยคุ น้ีดารงชีวติ แบบเร่ร่อน ไม่รู้จกั สร้างท่ีอยแู่ บบถาวรข. มนุษยใ์ นยคุ น้ีประดิษฐอ์ าวธุ หินขดั ท่ีมีขนาดเล็กและประณีตค. มนุษยใ์ นยคุ น้ีประดิษฐเ์ ครื่องมือเครื่องใชจ้ ากดินเผาง. มนุษยใ์ นยคุ น้ีฝึกหดั สตั วไ์ วใ้ ชง้ าน3. ถา้ นา ฮ.ศ. 1438 มาเทียบเป็นพทุ ธศกั ราชจะตรงกบั ขอ้ ใดก. พ.ศ. 2545 ข. พ.ศ. 2550ค. พ.ศ. 2555 ง. พ.ศ. 25604. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ีจบั คู่ไม่ถูกตอ้ งก. สมยั กลาง กบั การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมข. สมยั โบราณ กบั อารยธรรมอียปิ ต์ค. สมยั ปัจจุบนั กบั โลกาภิวตั น์ง. สมยั ใหม่ กบั สงครามโลกคร้ังท่ี 1 และ 25. ปัจจุบนั ยงั มีการใชจ้ ุลศกั ราชในเอกสาร ชนิดใดก. พระราชหตั ถเลขาข. ตาราโหราศาสตร์ค. เอกสารใบลานง. จดหมายพระราชกิจรายวนั
6. ถ้านักประวตั ิศาสตร์พบงานประติมากรรมสมยั ศรีวิชัย นักประวตั ิศาสตร์ตอ้ งอาศยั การ ตีความจากผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นใดจึงจะเหมาะสมท่ีสุด ก. ดา้ นภูมิศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ ข. ดา้ นมานุษยวทิ ยาและภาษาศาสตร์ ค. ดา้ นโบราณคดีและศิลปะ ง. ดา้ นศาสนาและโหราศาสตร์7. หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ขอ้ ใดเป็นเอกสารส่วนบุคคล ก. รายงานการวจิ ยั ข. ประกาศ ค. บนั ทึกคาบอกเล่า ง. บนั ทึกประจาวนั8. ขอ้ ใดไม่ใช่ความหมายของคาวา่ ประวตั ิศาสตร์ ก. ประวตั ิศาสตร์ คือ เหตุการณ์หรือเร่ืองราวท่ีมนุษยใ์ นอดีตแตง่ ข้ึน ข. ประวตั ิศาสตร์ คือ ความจริงในอดีตท่ีนักประวตั ิศาสตร์เรียงร้อยข้ึนมาโดยอาศัย หลกั ฐานวเิ คราะห์ ค. ประวตั ิศาสตร์ คือ เหตุการณ์ในอดีตท่ีมีหลกั ฐานยนื ยนั และตรวจสอบได้ ง. ประวตั ิศาสตร์ คือ ขอ้ เทจ็ จริงเก่ียวกบั อดีตของมนุษยท์ ่ีตรวจสอบได้9. บุคคลในขอ้ ใดกาลงั ใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ในข้นั ตอนการวเิ คราะห์หลกั ฐาน ก. คุณโบราณ กาลงั หาขอ้ มูลจากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ข. คุณศกั ราช กาลงั ตอบคาถามที่กาหนดให้ ค. คุณประวตั ิ กาลงั ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของหลกั ฐาน ง. คุณสากล กาลงั อธิบายเร่ืองที่ศึกษาอยา่ งมีเหตุผล10. นกั เรียนสนใจศึกษาประวตั ิศาสตร์สุโขทยั แตศ่ ิลาจารึกซ่ึงเป็นที่ไดร้ ับการยอมรับมากที่สุด มีจานวนจากดั นกั เรียนควรทาอยา่ งไร ก. ศึกษาประวตั ิศาสตร์อยธุ ยาแทนเพราะมีหลกั ฐานช้นั ตน้ มากกวา่ ข. ตอ้ งศึกษาขอ้ มูลจากหลกั ฐานร่วมสมยั อื่นๆ ประกอบ ค. ศึกษาหลกั ฐานช้นั รองเพียงประเภทเดียวเท่าน้นั ง. ประดิษฐห์ ลกั ฐานข้ึนมาเองตามจินตนาการ
เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) 5. ข 10. ข 1 . ข 2. ง 3. ค 4. ง 6. ค 7. ค 8. ค 9. งเฉลย แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test) 5. ข 10. ข 1 . ค 2. ก 3. ข 4. ง 6. ค 7. ง 8. ก 9. ค
แบบบนั ทกึ สรุปผลการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนช่ือ-นามสกลุ _____________________________________________ เลขที่ ___________ ช้นั ___________วนั ที่________เดือน_________________________พ.ศ.___________คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนบนั ทึกสรุปผลการเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรูน้ ้ีนักเรียนยงั ไม่เข้าใจเร่ืองใดอีกบ้างที่ นกั เรียนมีความรู้สึกอยา่ งไร หลงั จาก นกั เรียนไดร้ ับความรู้เร่ืองใดบา้ งจากเก่ียวกบั หน่วยการเรียนรู้น้ี ที่เรียนหน่วยการเรียนรู้น้ีแลว้ หน่วยการเรียนรู้น้ีซ่ึงตอ้ งการใหค้ รูอธิบายเพมิ่ เติม ______________________ ____________________________________________ ______________________ ____________________________________________ ______________________ ____________________________________________ ______________________ ____________________________________________ ______________________ ____________________________________________ ______________________ ____________________________________ หน่วยการเรียนรู้ท่ี_____ _________________นักเรียนจะสามารถนาความรู้ ความ ผลงานที่นกั เรียนชอบ และตอ้ งการ นักเรียนได้ทากิจกรรมอะไรบา้ งในเข้าใจจากหน่ วยการเรี ยนรู้น้ี ไปใช้ คดั เลือกเป็ นผลงานดีเด่นจากหน่วย หน่วยการเรียนรู้น้ีประโยชน์ในชีวิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งไร การเรียนรู้น้ีคือ ผลงานใดบา้ งบา้ ง เพราะอะไร ______________________ ____________________________________________ ______________________ ____________________________________________ ______________________ ____________________________________________ ______________________ ____________________________________________ ______________________ ____________________________________________ ______________________
1 ประวตั ศิ าสตร์ กาลเวลา และวธิ ีการทางประวัติศาสตร์ และวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ เวลาเรียน 9 ชั่วโมงแผนผงั การเรียนรู้แบบบูรณาการ ภาษาไทย การสนทนา แสดงความคิดเห็น การอภิปรายนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน ประวตั ิศาสตร์ กาลเวลา และวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร์ การทากิจกรรมกลุ่ม การวเิ คราะห์ขอ้ มูลทาง ประวตั ิศาสตร์ตัวชี้วดั1. วเิ คราะห์ความสาคญั ของเวลาในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ ( มฐ. ส 4.1 ม.1/1)2. เทียบศกั ราชตามระบบตา่ งๆ ท่ีใชศ้ ึกษาประวตั ิศาสตร์ (มฐ. ส 4.1 ม.1/2)3. นาวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์มาใชศ้ ึกษาเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ (มฐ. ส 4.1 ม.1/3)
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1รหสั ส 21102 วชิ า ประวตั ิศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 1หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ประวตั ิศาสตร์ กาลเวลา และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1เร่ือง การแบง่ เวลาทางประวตั ิศาสตร์ เวลา 2 ชั่วโมงมาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งเป็นระบบ ตัวชี้วดั มฐ.ส 4.1 ม.1/1 วเิ คราะห์ความสาคญั ของเวลาในการศึกษาประวตั ิศาสตร์จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั 1. อธิบายความหมายและวเิ คราะห์ความสาคญั ของการแบ่งเวลาทางประวตั ิศาสตร์ (K) 2. มีความรู้ความเขา้ ใจการจาแนกสาระสาคญั ของการแบง่ เวลาทางประวตั ิศาสตร์ (P) 3. เห็นคุณคา่ และความสาคญั ของการแบ่งเวลาทางประวตั ิศาสตร์ เพื่อประโยชน์ทางการเรียนรู้ การลาดบั เหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ (A)สาระสาคญั การศึกษาเร่ืองการนบั เวลา และการแบ่งช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์ ท้งั แบบไทย และสากลเพ่ือให้ผเู้ รียนมีทกั ษะพ้นื ฐานสาหรับการศึกษาหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ สามารถเขา้ ใจเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ท่ีสัมพนั ธ์กบั อดีต ปัจจุบนั และอนาคต ตระหนกั ถึงความสาคญั ในความต่อเน่ืองของเวลา อิทธิพลและความสาคญั ของเวลาท่ีมีตอ่ วถิ ีการดาเนินชีวติ ของมนุษย์
สาระการเรียนรู้ 1. ความรู้ การแบง่ เวลาทางประวตั ิศาสตร์ 1. สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ 2. สมยั ประวตั ิศาสตร์ 2. ทกั ษะ / กระบวนการ / กระบวนการคิด การจาแนก การใหเ้ หตุผล การจดั ระบบความคิดเป็นแผนภาพ การสรุปความรู้ 3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มีวนิ ยั ใฝ่ เรียนรู้ความเข้าใจทคี่ งทน (Enduring Understanding) นกั เรียนสามารถสรุปได้ว่า ประวตั ิศาสตร์น้นั มีการพฒั นาในตวั เองมาอย่างต่อเน่ืองและเป็ นเวลายาวนาน มีเหตุการณ์สาคญั เกิดข้ึนมากมาย ดงั น้นั จึงมีการแบ่งช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์เพอ่ื ความสะดวกในการศึกษาชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) แผนภาพการแบง่ เวลาทางประวตั ิศาสตร์ การจดบนั ทึกหรือการสรุปจาก Power Point นาเสนอคาถามท้าทาย เพราะเหตุใดจึงมีความจาเป็นท่ีจะตอ้ งแบ่งช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูนาหนงั สือสารานุกรมประวตั ิศาสตร์โลกและประวตั ิศาสตร์ไทยประกอบการเรียนการสอน ใหน้ กั เรียนร่วมกนั ศึกษาและใหร้ ่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั ความสาคญั ของการแบ่งช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์ โดยครูใชค้ าถามกระตุน้ นกั เรียนก่อนนาเขา้ สู่บทเรียน ดงั น้ี นกั เรียนมีวธิ ีการแบง่ ช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์หรือไม่ นกั เรียนทราบหรือไม่วา่ การแบง่ ช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์มีความสาคญั อยา่ งไร
2. ครูสร้างฐานความรู้เกี่ยวกบั การแบ่งช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์ ให้นักเรียนร่วมกนัสนทนา ดงั น้ี นกั เรียนมีวิธีในการแบ่งเวลาในชีวิตประจาวนั อยา่ งไรบา้ งท้งั เวลาเรียนและเวลาส่วนตวั 3. ครูให้นักเรียนร่วมกนั ศึกษาหาความหมายและความสาคญั ของการแบ่งช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์ โดยครูใชค้ าถามใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น ดงั น้ี การแบง่ ช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์คืออะไร มีวธิ ีการในการแบง่ ช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์อยา่ งไรบา้ ง ประวตั ิศาสตร์สากลกบั ประวตั ิศาสตร์ไทยมีความแตกตา่ งกนั อยา่ งไร ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็ น 3 กลุ่ม เพ่ือร่วมกันศึกษาในหัวข้อท่ีครูให้ไวศ้ ึกษาร่วมกนั เรื่องท่ี 1 การแบง่ เวลาทางประวตั ิศาสตร์ เร่ืองท่ี 2 การแบง่ ประวตั ิศาสตร์สากล เรื่องท่ี 3 การแบง่ ประวตั ิศาสตร์ไทย ครูใหน้ กั เรียนนาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน 4. ใหน้ กั เรียนวเิ คราะห์ความสาคญั และความจาเป็นของการแบ่งช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์ โดยครูใชค้ าถามใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเห็น ดงั น้ี มีความจาเป็นอยา่ งไรถึงตอ้ งแบง่ ช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์ วธิ ีการแบ่งช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์ประกอบดว้ ยกี่สมยั อะไรบา้ ง
ครูสรุปคาตอบออกมาเป็นแผนภาพ ดงั น้ี ยคุ หินเก่า 500,000 – 10,000 ปี มาแลว้ ยคุ หินกลาง 10,000-6,000 ปี ยคุ สงั คมเมือง ประมาณ 2,500 ปี มาแลว้ ยคุ หมบู่ า้ นเกษตรกรรม ยคุ หินใหม่ 6,000-4,000 ปี ประมาณ 6,000 – 2,500 ปี ยคุ ชุมชนล่าสตั วเ์ ร่ร่อนยคุ หิน ประมาณก่อน 6,000 ปี มาแลว้ แบ่งตามลกั ษณะของ แบ่งตามวถิ ีการดารงชีวติ เคร่ืองมือเครื่องใช้ ของมนุษย์ยคุ โลหะ สมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ ยคุ สาริด 4,000-2,500 ปียคุ เหลก็ 2,000-1,500 ปี การแบ่งเวลาทางประวตั ศิ าสตร์สมยั โบราณประมาณ พ.ศ. 1019 แบ่งตามสมยั อาณาจกั ร แบ่งตามราชวงศ์สมยั กลาง สมยั ประวตั ศิ าสตร์ประมาณตน้ พทุ ธ การแบ่งตามสมยัศตวรรษที่ 11- การแบ่งตามสมยั ประวตั ิศาสตร์ของไทยปลายพทุ ธ ประวตั ิศาสตร์สากลศตวรรษที่ 20สมยั ใหม่ สมยั ปัจจบุ นั หรือ แบ่งตามระบบ(พ.ศ. 1996-2488) ประวตั ิศาสตร์ร่วม การปกครอง สมยั (พ.ศ.2488 ถึง ปัจจุบนั ) แบ่งตามเหตกุ ารณ์ใน ประวตั ิศาสตร์สากล แบ่งตามรัชกาล 5. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี ประวตั ิศาสตร์น้ันมีการพัฒนาในตัวเองมาอย่างต่อเน่ืองและเป็ นเวลายาวนานมีเหตุการณ์สาคญั เกิดข้ึนมากมาย ดงั น้นั จึงมีการแบ่งช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์เพ่ือความสะดวกในการศึกษา 6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นโดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี เพราะเหตุใดจึงมีความจาเป็นที่จะตอ้ งแบ่งช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์
การจดั บรรยากาศเชิงบวก การบนั ทึกหรือนาเสนอความรู้เก่ียวกบั การแบ่งเวลาทางประวตั ิศาสตร์ สื่อการเรียนรู้ หนงั สือสารานุกรมประวตั ิศาสตร์สากลและประวตั ิศาสตร์ไทย Power Point นาเสนอ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1. วธิ ีการวดั และประเมินผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม 1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม 2. เครื่องมือ 2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม 2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่านผา่ น 1 รายการถือวา่ ไม่ผ่าน 3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก คะแนน 7-8 ระดบั ดี คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้ คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง กจิ กรรมเสนอแนะ ใหน้ กั เรียนจบั กลุ่มกนั กลุ่มละ 5 คน เพ่อื ทารายงานเร่ืองการแบง่ ยคุ สมยั ประวตั ิศาสตร์ไทยและประวตั ิศาสตร์สากล แลว้ ส่งผแู้ ทนกลุ่มออกนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน
ข้อเสนอแนะของผ้บู ริหารสถานศึกษา______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงชื่อ__________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา) (__________________) _____/_____/_____
บนั ทกึ หลงั การสอนผลการจัดการเรียนการสอน____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ปัญหา / อปุ สรรค____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________แนวทางแก้ไข____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงช่ือ__________________ (ผบู้ นั ทึก) (__________________) _____/_____/_____
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2รหสั ส 21102 วชิ า ประวตั ิศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวตั ิศาสตร์ กาลเวลา และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2เรื่อง การแบ่งสมยั ประวตั ิศาสตร์ไทย เวลา 1 ช่ัวโมงมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อยา่ งเป็นระบบ ตัวชี้วดั มฐ.ส 4.1 ม.1/1 วเิ คราะห์ความสาคญั ของเวลาในการศึกษาประวตั ิศาสตร์จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั 1. อธิบายการแบง่ ยคุ สมยั ประวตั ิศาสตร์ของไทย (K) 2. จาแนกยคุ สมยั ประวตั ิศาสตร์ของไทย (P) 3. เห็นความสาคญั และมีความสนใจศึกษาเรียนรู้ประวตั ิศาสตร์ของไทย (A)สาระสาคญั ประวตั ิศาสตร์ของไทยแบ่งตามสมยั ของอาณาจกั ร แบ่งตามราชวงศ์ แบ่งตามรัชกาล แบ่งตามการปกครอง และแบ่งตามเหตุการณ์ที่เกี่ยวเนื่องกบั ประวตั ิศาสตร์สากล
สาระการเรียนรู้ 1. ความรู้ การแบง่ สมยั ประวตั ิศาสตร์ของไทย 2. ทกั ษะ / กระบวนการ / กระบวนการคดิ การจาแนก การใหเ้ หตุผล การสงั เคราะห์ การจดั ระบบความคดิ เป็นแผนภาพ การสรุปความรู้ 3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ รักความเป็นไทยความเข้าใจทค่ี งทน (Enduring Understanding) นกั เรียนสามารถสรุปไดว้ า่ ประวตั ิศาสตร์ของไทยแบง่ ตามสมยั ของอาณาจกั ร แบง่ ตามราชวงศ์แบง่ ตามรัชกาล แบ่งตามการปกครอง และแบง่ ตามเหตุการณ์ที่เก่ียวเน่ืองกบั ประวตั ิศาสตร์สากลชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) แผนภาพ การแบ่งประวตั ิศาสตร์ของไทยคาถามท้าทาย ชาติไทยสามารถคงความเป็ นไทย และเอกลกั ษณ์ของความเป็ นไทยจากอดีตมาถึงปัจจุบนั ไดเ้ พราะสาเหตุใดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูใหน้ กั เรียนร่วมกนั ศึกษา การแบ่งสมยั ประวตั ิศาสตร์ของไทย โดยครูกาหนดหวั ขอ้ตามสมยั ของประวตั ิศาสตร์ของไทย เขียนบนกระดาน ดงั น้ี การแบง่ ตามสมยั ของอาณาจกั ร การแบ่งตามราชวงศ์ การแบง่ ตามรัชกาล การแบง่ ตามระบอบการปกครอง การแบง่ ตามเหตุการณ์ท่ีเก่ียวเนื่องกบั ประวตั ิศาสตร์
จากน้นั ใหน้ กั เรียนจบั กลุ่ม 5 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั แลว้ จบั สลากหวั ขอ้ ตามหมายเลขและร่วมกนั ศึกษาคน้ ควา้ และสรุปความรู้ที่ไดอ้ อกมาอธิบายหนา้ ช้นั เรียน 2. ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปความรู้เก่ียวกบั การแบ่งสมยั ประวตั ิศาสตร์ของไทยเป็ นโครงสร้างแผนภาพบนกระดาน ดงั ตวั อยา่ ง ตวั อย่างแผนภาพ การแบ่งสมยั ประวตั ศิ าสตร์ของไทย รัฐโบราณก่อนชนชาติไทย การแบ่ง อาณาจกั รทวารวดี ศรีวชิ ยั แบ่งตาม สมยั สุโขทยัตามสมยั ของ ลพบุรี หริภญุ ชยั ราชวงศ์ อาณาจกั ร อาณาจกั รของชนชาติไทย ราชวงศพ์ ระร่วง สมยั อยธุ ยา สุโขทยั ราชวงศอ์ ทู่ อง ราชวงศส์ ุโขทยั อยธุ ยา สมยั รัตนโกสินทร์ ราชวงศป์ ราสาททอง ธนบุรี ราชวงศบ์ า้ นพลหู ลวง รัตนโกสินทร์ ราชวงศจ์ กั รี การแบ่ง สมยั ประวตั ศิ าสตร์ของไทย การแบ่งตามรัชกาล แบ่งโดยยดึ ช่วงการปกครองของพระมหากษตั ริย์ เช่น สมยั พอ่ ขนุ รามคาแหง สมยั พระเจา้ อทู่ อง สมยั สมเด็จพระเจา้ ตากสิน สมยั สมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช การแบ่งตามระบอบ ระบอบปิ ตาธิปไตย ในสมยั สุโขทยั การปกครอง ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในสมยั อยธุ ยาและรัตนโกสินทร์ตอนตน้ การแบ่งตามเหตกุ ารณ์ และสมยั ปรับปรุงประเทศ ที่ไทยเขา้ ไปเกี่ยวเน่ือง กบั ชาติตะวนั ตก ระบอบประชาธิปไตย ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๔๗๕ เป็นตน้ มา สมยั โบราณ ก่อนพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๕ สมยั ใหม่ หลงั จากการทาสนธิสญั ญาเบาวร์ ิง พ.ศ. ๒๓๙๘ สมยั ปัจจุบนั หรือหลงั สงครามโลกคร้ังที่ ๒ หลงั พ.ศ. ๒๔๘๘ 3. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี ประวตั ิศาสตร์ของไทยแบ่งตามสมยั ของอาณาจกั ร แบ่งตามราชวงศ์ แบ่งตามรัชกาลแบ่งตามการปกครอง และแบง่ ตามเหตุการณ์ที่เกี่ยวเนื่องกบั ประวตั ิศาสตร์สากล
4. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นโดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี ชาติไทยสามารถคงความเป็ นไทย และเอกลกั ษณ์ของความเป็นไทยจากอดีตมาถึงปัจจุบนั ไดเ้ พราะสาเหตุใด การจัดบรรยากาศเชิงบวก การกาหนดหวั ขอ้ คาถาม ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่มสรุปความรู้อธิบายหนา้ ช้นั เรียนและร่วมกนั สรุปเป็นโครงสร้างแผนภาพ สื่อการเรียนรู้ ภาพโครงสร้างการแบ่งประวตั ิศาสตร์ของไทยบนกระดาน การจดบนั ทึกหรือการสรุปจาก Power Point นาเสนอ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1. วธิ ีการวดั และประเมินผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม 1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม 2. เคร่ืองมือ 2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม 2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่านผา่ น 1 รายการถือวา่ ไม่ผ่าน 3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก คะแนน 7-8 ระดบั ดี คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้ คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง
ข้อเสนอแนะของผ้บู ริหารสถานศึกษา______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงช่ือ__________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา) (__________________) _____/_____/_____
บนั ทกึ หลงั การสอนผลการจัดการเรียนการสอน____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ปัญหา / อปุ สรรค____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________แนวทางแก้ไข____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงชื่อ__________________ (ผบู้ นั ทึก) (__________________) _____/_____/_____
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3รหสั ส 21102 วชิ า ประวตั ิศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ประวตั ิศาสตร์ กาลเวลา และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3เรื่อง การนบั ศกั ราช เวลา 2 ชั่วโมงมาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์สามารถใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งเป็นระบบ ตวั ชี้วดั มฐ.ส 4.1 ม.1/2 เทียบศกั ราชตามระบบต่างๆ ท่ีใชศ้ ึกษาประวตั ิศาสตร์จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั 1. อธิบายความหมายและวเิ คราะห์ความสาคญั ของการนบั ศกั ราช (K) 2. จาแนกสาระสาคญั ของการนบั ศกั ราช (P) 3. เห็นคุณค่าและความสาคญั ของศกั ราชท่ีใชล้ าดบั ในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ (A)สาระสาคญั ศักราชมีความสาคัญในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ ปกติศักราชท่ีใช้กันอยู่ในปัจจุบันส่วนใหญ่คนนิยมเก่ียวขอ้ งกบั ศาสนา ศกั ราชในประวตั ิศาสตร์สากล คือ คริสต์ศาสนา จะเร่ิมนบัเม่ือพระเยซูประสูติ ส่วนศกั ราชในประวตั ิศาสตร์ไทย คือ พุทธศกั ราช
สาระการเรียนรู้ 1. ความรู้ 1.1 การนบั ศกั ราชแบบไทย 1.2 การนบั ศกั ราชแบบสากล 2. ทกั ษะ / กระบวนการ / กระบวนการคิด การจาแนก การใหเ้ หตุผล การจดั ระบบความคิดเป็นแผนภาพ การสรุปความรู้ 3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มีวนิ ยั ใฝ่ เรียนรู้ความเข้าใจทค่ี งทน (Enduring Understanding) นกั เรียนสามารถสรุปไดว้ า่ การนบั ศกั ราชที่ถูกตอ้ งน้นั ยอ่ มมีความสาคญั ต่อการศึกษาวชิ าประวตั ิศาสตร์ และในแต่ละชาติก็มีวิธีในการนับศกั ราชที่แตกต่างกนั แต่ส่วนใหญ่จะยึดตามเหตุการณ์สาคญั ทางศาสนาเป็ นหลกั โดยประเทศไทยใช้พุทธศกั ราชเป็ นหลกั ส่วนในระบบสากลจะใชค้ ริสตศ์ กั ราชเป็นหลกัชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) แผนภาพการเทียบศกั ราชคาถามท้าทาย ถา้ หากวา่ เราเทียบการนบั ศกั ราชผิดไป นกั เรียนคิดวา่ จะเกิดอะไรข้ึนกบั ห้วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูนาหนงั สือสารานุกรมประวตั ิศาสตร์โลกและประวตั ิศาสตร์ไทยประกอบการเรียนการสอนใหน้ กั เรียนร่วมกนั ศึกษาและให้ร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั ความสาคญั ของการแบ่งช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์ โดยครูใชค้ าถามกระตุน้ นกั เรียนก่อนนาเขา้ สู่บทเรียน ดงั น้ี นกั เรียนคิดวา่ ประเทศไทยรับวธิ ีการนบั แบบพุทธศกั ราชมาจากไหน นักเรียนทราบหรือไม่ว่าการนับศกั ราชท่ีถูกต้องน้ันมีความสาคัญอย่างไรต่อการเรียนวชิ าประวตั ิศาสตร์
2. ครูสร้างฐานความรู้เกี่ยวกบั การนบั ศกั ราชโดยครูใชค้ าถาม ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนาดงั น้ี นักเรียนคิดว่าถา้ หากเราไม่มีปฏิทิน วนั เดือน ปี คิดว่าจะเกิดอะไรข้ึนกบั ตวั เราและสงั คมอยา่ งไรบา้ ง ครูใชค้ าถามใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น ดงั น้ี นกั เรียนนบั ศกั ราชเป็นหรือไม่ มีวธิ ีการนบั อยา่ งไร การนบั ศกั ราชแบบไทยกบั การนบั ศกั ราชแบบสากลมีวธิ ีการนบั อยา่ งไร 3. ให้นักเรียนร่วมกันศึกษาหาความหมายโดยครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกันออกเป็ น6 กลุ่ม เพอ่ื ร่วมกนั ศึกษาในงานที่มอบหมาย ท้งั 6 หวั ขอ้ ดงั น้ี กลุ่มท่ี 1 เรื่อง การนบั แบบพทุ ธศกั ราช (พ.ศ.) กลุ่มที่ 2 เร่ือง มหาศกั ราช (ม.ศ.) กลุ่มท่ี 3 เรื่อง จุลศกั ราช (จ.ศ.) กลุ่มท่ี 4 เรื่อง รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) กลุ่มท่ี 5 เรื่อง คริสตศ์ กั ราช (ค.ศ.) กลุ่มที่ 6 เรื่อง ศกั ราชอิสลาม (หรือฮิจเราะห์ศกั ราช) จากน้นั ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาหนา้ ช้นั เรียน โดยครูคอยตรวจสอบความถูกตอ้ ง และใหค้ าแนะนาเพ่ิมเติม 4. ใหน้ กั เรียนวเิ คราะห์ความสาคญั และความจาเป็ นของการนับศกั ราช โดยครูใชค้ าถามใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเห็น ดงั น้ี การนบั ศกั ราชมีความสาคญั อยา่ งไร และมีความแตกตา่ งกนั อยา่ งไรบา้ ง
ครูสรุปคาตอบนกั เรียนออกมาเป็นแผนภาพ ดงั น้ีมหาศักราช เกิดหลงั พทุ ธศกั ราช จลุ ศักราช เร่ิมในพมา่ หลงั พ.ศ.621 ปี สนั นิษฐานวา่ มาจาก 1181 ปี ไทยเร่ิมใชต้ ้งั แต่สมยัพราหมณ์จากอินเดียเป็ นผนู้ าเขา้ สุโขทยั ปัจจุบนั ยงั ใชอ้ ยใู่ นตารามาพร้อมกบั ตาราโหราศาสตร์ โหราศาสตร์พุทธศักราช แพร่หลายใน รัตนโกสินทร์ศก พระบาทสมเดจ็ประเทศท่ีนบั ถือพทุ ธศาสนา พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ประกาศเริ่มนบั ต้งั แตพ่ ระพทุ ธเจา้ ใชใ้ น พ.ศ. 2432 โดยเร่ิมนบัปรินิพพาน เป็น พ.ศ. 1 พ.ศ. 2325 ซ่ึงเป็ นปี ที่พระบาท สมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราชสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เป็ นราชธานี เป็นรัตนโกสินทร์ศกท่ี 1 การนับศักราชแบบไทย การนับศักราช การนับศักราชแบบสากลคริสต์ศักราช เริ่มศกั ราชที่ 1 เม่ือ พ.ศ. 543 ศักราชอสิ ลาม เร่ิมนบั ศกั ราชที่ 1 เม่ือ พ.ศ.ซ่ึงเป็ นปี ที่พระเยซูประสูติ คริสตศ์ กั ราชเป็ น 1165 (ค.ศ.622)โดยยดึ ตามเหตกุ ารณ์สาคญัศกั ราชท่ีใชก้ นั แพร่หลายทวั่ โลก เนื่องจาก คือเมื่อศาสดามฮุ มั หมดั หลบหนีการต่อตา้ นประเทศมหาอานาจทางตะวนั ตก เช่น จากผหู้ วาดระแวงในตวั ท่านจากเมืองมกั กะองั กฤษและฝรั่งเศสใชค้ ริสตศ์ กั ราช ไปยงั เมืองมะดินะ เม่ือวนั ท่ี 27 ก.ย. พ.ศ. 1165 เรียกวา่ ฮิจเราะห์ ชาวมุสลิมจึง เรียกศกั ราชอิสลามตามชื่อเหตุการณ์วา่ “ฮิจเราะห์ศกั ราช”
5. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี การนบั ศกั ราชท่ีถูกตอ้ งน้นั ยอ่ มมีความสาคญั ต่อการศึกษาวิชาประวตั ิศาสตร์ และในแต่ละชาติก็มีวธิ ีในการนบั ศกั ราชท่ีแตกต่างกนั แต่ส่วนใหญ่จะยดึ ตามเหตุการณ์สาคญั ทางศาสนาเป็นหลกั โดยประเทศไทยใชพ้ ทุ ธศกั ราชเป็นหลกั ส่วนในระบบสากลจะใชค้ ริสตศ์ กั ราชเป็นหลกั 6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นโดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี ถา้ หากว่าเราเทียบการนบั ศกั ราชผิดไป นกั เรียนคิดวา่ จะเกิดอะไรข้ึนกบั ห้วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์ การจดั บรรยากาศเชิงบวก การบันทึกหรือนาเสนอความรู้เกี่ยวกับการแบ่งเวลาทางประวตั ิศาสตร์ อภิปรายนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน ส่ือการเรียนรู้ หนงั สือประวตั ิศาสตร์ไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 Power Point นาเสนอ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1. วธิ ีการวดั และประเมินผล 1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม 1.2 สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม 2. เครื่องมือ 2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม 2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม 3. เกณฑ์การประเมนิ 3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่านผา่ น 1 รายการถือวา่ ไม่ผ่าน 3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก คะแนน 7-8 ระดบั ดี คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้ คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง
ข้อเสนอแนะของผ้บู ริหารสถานศึกษา______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงช่ือ__________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา) (__________________) _____/_____/_____
บันทกึ หลงั การสอนผลการจัดการเรียนการสอน____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ปัญหา / อปุ สรรค____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________แนวทางแก้ไข____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงชื่อ__________________ (ผบู้ นั ทึก) (__________________) _____/_____/_____
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4รหัส ส 21102 วชิ า ประวตั ิศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ประวตั ิศาสตร์ กาลเวลา และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4เร่ือง วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ เวลา 1 ช่ัวโมงมาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์สามารถใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งเป็นระบบ ตวั ชี้วดั มฐ.ส 4.1 ม.1/3 นาวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์มาใชศ้ ึกษาเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั 1. อธิบายความหมายและวเิ คราะห์ความสาคญั ของความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ประวตั ิศาสตร์และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ (K) 2. จาแนกสาระสาคญั ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ประวตั ิศาสตร์และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ (P) 3. เห็นคุณคา่ และความสาคญั ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ประวตั ิศาสตร์และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ ในการศึกษาเรียนรู้ประวตั ิศาสตร์ (A)สาระสาคญั การสืบคน้ เรื่องราวทางประวตั ิศาสตร์เพื่อจะใหไ้ ดพ้ บความจริงท่ีถูกตอ้ ง ยุติธรรม และเป็นกลางน้ัน นักประวตั ิศาสตร์ควรจะมีหลักเกณฑ์ ซ่ึงเรียกว่า “วิธีการทางประวตั ิศาสตร์” ได้แก่การรวบรวมหลกั ฐาน การคดั เลือกหลกั ฐานตารางวิเคราะห์/ตีความ/ประเมินหลกั ฐานการเช่ือมโยงความสัมพนั ธ์ของหลกั ฐาน และการนาเสนอขอ้ เท็จจริงซ่ึงจะทาให้การศึกษาประวตั ิศาสตร์มีความน่าเช่ือถือมากข้ึน
สาระการเรียนรู้ 1. ความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ประวตั ิศาสตร์ และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 2. ทกั ษะ / กระบวนการ / กระบวนการคดิ การจาแนก การให้เหตุผล การจดั ระบบความคิดเป็นแผนภาพ การสรุปความรู้ 3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มีวนิ ยั ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมนั่ ในการทางานความเข้าใจทคี่ งทน (Enduring Understanding) นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า ข้ันตอนของวิธีการทางประวตั ิศาสตร์และแหล่งที่มาของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ควรมีความน่าเชื่อถือ โดยต้งั อยใู่ นความเป็นกลาง ยตุ ิธรรม และเร่ืองราวที่ถูกตอ้ ง มีวธิ ีการต้งั หวั ขอ้ เร่ืองท่ีศึกษา การรวบรวมหลกั ฐาน การวิเคราะห์และการประเมินคุณค่าของหลกั ฐาน การเช่ือมโยงความสมั พนั ธ์ทางหลกั ฐาน และการนาเสนอขอ้ เทจ็ จริงชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) แผนภาพข้นั ตอนวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ การบนั ทึกหรือสรุปจาก Power Point นาเสนอคาถามท้าทาย คาวา่ ประวตั ิศาสตร์และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์มีความแตกต่างกนั อยา่ งไร
การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูนาภาพหรือเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ในท้องถ่ินมาให้นักเรียนต้งั คาถามทางประวตั ิศาสตร์ แลว้ ร่วมกนั ศึกษาและสนทนาเก่ียวกบั ความสาคญั ของวิธีการทางประวตั ิศาสตร์โดยครูใชค้ าถามกระตุน้ นกั เรียนก่อนนาเขา้ สู่บทเรียน ดงั น้ี นกั เรียนรู้ความหมายของคาวา่ ประวตั ิศาสตร์หรือไม่ เพราะเหตุใด นกั เรียนทราบหรือไมว่ า่ ข้นั ตอนวธิ ีการศึกษาประวตั ิศาสตร์มีความสาคญั อยา่ งไร 2. ครูสร้างฐานความรู้เก่ียวกบั การศึกษาประวตั ิศาสตร์และวิธีการทางประวตั ิศาสตร์โดยครูใชค้ าถามใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี การศึกษาประวตั ิศาสตร์ก่อใหเ้ กิดประโยชน์อะไรกบั ตวั เราและสงั คมบา้ ง ครูสรุปคาตอบนกั เรียนออกมาเป็นแผนภาพตัวเรา ครอบครัว สังคมระดับ หมู่บ้าน สังคมระดบั ตาบล สังคมระดบั อาเภอ สังคมระดับ จังหวดั สังคมระดับ ภูมิภาค สังคม ระดบั ประเทศ
จากน้นั ครูใชค้ าถามใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น ดงั น้ี นกั เรียนสงั เกตบา้ งหรือไมว่ า่ บริเวณโรงเรียนของเราน้นั มีสิ่งใดบา้ งท่ีเป็นหลกั ฐาน ทางประวตั ิศาสตร์ 3. ครูให้นักเรียนร่วมกันศึกษาหาความหมายของข้นั ตอนวิธีการทางประวตั ิศาสตร์โดยครูใชค้ าถามใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น ดงั น้ี ข้นั ตอนวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์คืออะไร มีความสาคญั อยา่ งไรและมีข้นั ตอน อยา่ งไรบา้ ง ครูสรุปคาตอบนกั เรียนออกมาเป็นแผนภาพ ข้นั ตอนของวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ การรวบรวมหลกั ฐาน เช่น ขอ้ มูลจากศิลาจารึก วรรณกรรมและบนั ทึกร่วมสมยั การคัดเลือกหลกั ฐาน ผศู้ ึกษาตอ้ งวิเคราะห์และคดั เลือกหลกั ฐาน โดยเฉพาะจุดมุ่งหมายและความเป็นกลาง เพ่ือเป็ นหลกั ฐานอา้ งอิง การวเิ คราะห์/ตคี วาม/ประเมินหลกั ฐาน เพ่ือเป็นการ ตรวจสอบความถูกตอ้ งของหลกั ฐาน การเชื่อมโยงความสัมพนั ธ์ของหลกั ฐาน หลกั ฐานบางชิ้น มีลกั ษณะเป็นเอกเทศจึงตอ้ งอาศยั การเชื่อมโยงจากหลกั ฐานอื่น การนาเสนอข้อเทจ็ จริง ผศู้ ึกษาตอ้ งบอกแหล่งที่มาของหลกั ฐานหรือ แหล่งขอ้ มูลอยา่ งเปิ ดเผย เพ่ือใหส้ ามารถตรวจสอบได้
4. ครูอธิบายสรุปเพิ่มเติมวา่ ข้ันตอนวิธีการศึกษาทางประวัติศาสตร์เบื้องต้น ควรรู้จักการต้ังคาถามทางประวตั ิศาสตร์ เพื่อจะหาคาตอบทางประวัติศาสตร์ ซึ่งจะเกดิ กระบวนการเรียนรู้ข้นั ตอนวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ ดงั ปรากฏเป็ นแผนภาพ 5. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี ข้นั ตอนของวิธีการทางประวตั ิศาสตร์และแหล่งที่มาของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ควรมีความน่าเชื่อถือ โดยต้งั อยใู่ นความเป็นกลาง ยตุ ิธรรม และเร่ืองราวที่ถูกตอ้ ง มีวธิ ีการต้งั หวั ขอ้เรื่องที่ศึกษา การรวบรวมหลกั ฐาน การวเิ คราะห์และการประเมินคุณค่าของหลกั ฐาน การเชื่อมโยงความสัมพนั ธ์ทางหลกั ฐาน และการนาเสนอขอ้ เทจ็ จริง 6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี คาวา่ ประวตั ิศาสตร์และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์มีความแตกต่างกนั อยา่ งไร การจัดบรรยากาศเชิงบวก การบนั ทึกหรือนาเสนอความรู้เก่ียวกบั การแบ่งเวลาทางประวตั ิศาสตร์เป็ นแผนภาพ ส่ือการเรียนรู้ หนงั สือประวตั ิศาสตร์ไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 Power Point นาเสนอ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1. วธิ ีการวดั และประเมินผล สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม 2. เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม 3. เกณฑ์การประเมนิ การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่านผา่ น 1 รายการถือวา่ ไม่ผ่าน กจิ กรรมเสนอแนะ ให้นักเรียนเขียนรายงานทางประวตั ิศาสตร์มาคนละ 1 เรื่องพร้อมกบั บอกแหล่งที่มาและวธิ ีวเิ คราะห์ถึงความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มา
ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงช่ือ__________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา) (__________________) _____/_____/_____
บนั ทกึ หลงั การสอนผลการจัดการเรียนการสอน____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ปัญหา / อปุ สรรค____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________แนวทางแก้ไข____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงช่ือ__________________ (ผบู้ นั ทึก) (__________________) _____/_____/_____
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5รหสั ส 21102 วชิ า ประวตั ิศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 1หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ประวตั ิศาสตร์ กาลเวลา และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5เรื่อง หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ เวลา 1 ช่ัวโมงมาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์สามารถใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อยา่ งเป็นระบบ ตัวชี้วดั มฐ.ส 4.1 ม.1/3 นาวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์มาใชศ้ ึกษาเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั 1. อธิบายความหมายและวเิ คราะห์ความสาคญั ของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ (K) 2. จาแนกสาระสาคญั ความเขา้ ใจเก่ียวกบั หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ (P) 3. มีความสนใจในการศึกษาและเห็นความสาคญั ของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ (A)สาระสาคญั การศึกษาประวตั ิศาสตร์เพื่อให้ได้เรียนรู้อดีตให้มากท่ีสุด และมีความเข้าใจในอดีตถึงความคิด ความเป็ นอยูข่ องคนสมยั ก่อน แต่การศึกษาน้นั จะตอ้ งใช้การศึกษาคน้ ควา้ อย่างเป็ นกระบวนการ เพราะเรื่องราวในอดีตน้นั เกิดข้ึนมานานแลว้ แต่ยงั มีร่องรอยบางอยา่ งหลงเหลืออยูใ่ ห้เราไดค้ น้ ควา้ ในรูปแบบการบนั ทึกเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรหรือร่องรอยทางวตั ถุ ที่เรียกวา่ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์
สาระการเรียนรู้ 1. ความรู้ 1.1 หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 1.2 ประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 2. ทกั ษะ / กระบวนการ / กระบวนการคิด การจาแนก การใหเ้ หตุผล การจดั ระบบความคิดเป็นแผนภาพ การสรุปความรู้ 3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มีวนิ ยั ใฝ่ เรียนรู้ มุง่ มน่ั ในการทางานความเข้าใจทค่ี งทน (Enduring Understanding) นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์น้ัน คือร่องรอยการกระทาของมนุษยใ์ นอดีตท่ียงั หลงเหลืออยูใ่ นปัจจุบนั หรืออาจเรียกวา่ “ร่องรอยอดีต” เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษยส์ มยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ หรือในสมยั ประวตั ิศาสตร์ ได้แก่ หลกั ฐานที่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรและหลกั ฐานประเภทโบราณคดีและศิลปกรรม หรื อหลักฐานท่ีนักประวตั ิศาสตร์แบ่งไว้2 ประเภท คือ หลกั ฐานข้นั ปฐมภูมิ คือหลกั ฐานช้นั ตน้ และหลกั ฐานข้นั ทุติยภูมิที่นกั ประวตั ิศาสตร์รวบรวมข้ึนมาภายหลงัชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) แผนภาพหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ การบนั ทึกหรือสรุปจาก Power Point นาเสนอคาถามท้าทาย นกั เรียนตอ้ งการเป็นนกั ประวตั ิศาสตร์หรือไม่ เพราะเหตุใดการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูนาภาพเกี่ยวกบั หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ประเภทลายลกั ษณ์อกั ษรและประเภทไม่ใช่ลายลักษณ์อกั ษรให้นักเรียนร่วมกันศึกษาและให้ร่วมกันสนทนาเก่ียวกับหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ โดยครูใชค้ าถามกระตุน้ นกั เรียนก่อนนาเขา้ สู่บทเรียน ดงั น้ี
นกั เรียนรู้จกั หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์หรือไม่ มีลกั ษณะอยา่ งไร นกั เรียนทราบหรือไมว่ า่ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์มีความสาคญั อยา่ งไร 2. ครูสร้างฐานความรู้เกี่ยวกบั หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ โดยครูใชค้ าถามให้นกั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี ในทอ้ งถิ่นของนกั เรียนมีตานานบา้ งหรือไม่ เช่น ตานานเกี่ยวกบั ใครหรือเกี่ยวกบัอะไร เช่น บุคคล สถานที่ ปูชนียสถาน ปูชนียวตั ถุ เป็นตน้ จากน้นั ครูใชค้ าถามใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น ดงั น้ี ตานานตามแตล่ ะสถานท่ีต่างๆ น้นั ส่งผลดีหรือผลเสียอยา่ งไรต่อสังคมน้นั ๆ นักเรียนทราบประวตั ิศาสตร์การสร้างโรงเรียนของเราหรือไม่ แล้วมีหลกั ฐาน อะไรแสดงถึงประวตั ิการสร้างโรงเรียน 3. ให้นักเรี ยนร่ วมกันศึกษาหาความหมายและความสาคัญ ของหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ โดยครูใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนาแสดงความคิดเห็น ดงั น้ี หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์คืออะไร มีความสาคญั อยา่ งไร นกั เรียนคิดวา่ สิ่งใดบา้ งท่ีเป็นหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 4. ใหน้ กั เรียนวิเคราะห์ความสาคญั และความจาเป็ นของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ โดยครูใชค้ าถามใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเห็น ดงั น้ี นักเรียนคิดว่าหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์แบ่งออกได้ก่ีประเภทและมีลกั ษณะแตกต่างกนั อยา่ งไร
ครูสรุปคาตอบนกั เรียนเป็นแผนภาพ ดงั น้ีหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ การแบ่งประเภทหลกั ฐานทาง ประเภทลายลกั ษณ์อกั ษร ประวตั ิศาสตร์ของนักประวตั ิศาสตร์เอกสารตวั เขียน ไดแ้ ก่ บนั ทึกทาง หลกั ฐานข้นั ปฐมภูมิ หมายถึง หลกั ฐานข้นั ทุตยิ ภูมิประวตั ิศาสตร์ เอกสาร ใบลาน ศิลาจารึก ขอ้ มูลเอกสารช้นั ตน้ ที่ เป็ นขอ้ มลู ท่ีนกั ประวตั ิศาสตร์ เกี่ยวขอ้ งกบั เหตกุ ารณ์ในอดีต รวบรวมข้ึนภายหลงั เช่นเอกสารส่วนบุคคล เช่น จดหมายส่วน ส่วนใหญเ่ ป็ นเอกสารท่ีบนั ทึก ตารา งานวจิ ยั รายงานบุคคล จดหมายโตต้ อบ บนั ทึกประจาวนั หรือเล่าเร่ืองราวท่ีเกิดข้ึนร่วม บทความทางประวตั ศิ าสตร์ สมยั กบั ผบู้ นั ทึก ไดแ้ ก่ จารึก นอกจากน้ียงั มีขอ้ มูลอ่นื อีกสิ่งพมิ พต์ ่างๆ ที่เผยแพร่ต่อสาธารณะ เช่น ต่างๆ พระราชพงศาวดาร เช่น หนงั สืองานศพหนงั สือพิมพ์ นิตยสาร รายงานการวจิ ยั กฎหมายตราสามดวง ปูมโหร สารานุกรม นิตยสาร ขา่ วจาก บนั ทึกของชาวตา่ งประเทศ หนงั สือพิมพ์ขอ้ มลู ประเภทบอกเล่า การสมั ภาษณ์ เอกสารจดหมาย ราชกิจจา-บุคคลสาคญั ท่ีมีส่วนร่วมในเหตกุ ารณ์ นุเบกษาประวตั ิศาสตร์เอกสารอ่ืนๆ เช่น ทะเบียนสมรส สูติบตั รรายงานชนั สูตรศพ เอกสารร้านคา้ หลกั ฐานประเภทโบราณคดีและศิลปกรรมไดแ้ ก่ หลกั ฐานทางสถาปัตยกรรมที่คน้ พบในแหล่งโบราณคดี 5. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ดงั น้ี หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์น้ัน คือร่องรอยการกระทาของมนุษย์ในอดีตท่ียงั หลงเหลืออยู่ในปัจจุบนั หรือ อาจเรียกว่า “ร่องรอยอดีต” เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษย์สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ หรือในสมยั ประวตั ิศาสตร์ ได้แก่ หลกั ฐานที่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรและหลกั ฐานประเภทโบราณคดีและศิลปกรรม หรือหลกั ฐานท่ีนกั ประวตั ิศาสตร์แบ่งไว้ 2 ประเภท คือหลกั ฐานข้นั ปฐมภูมิ คือหลกั ฐานช้นั ตน้ และหลกั ฐานข้นั ทุติยภูมิท่ีนกั ประวตั ิศาสตร์รวบรวมข้ึนมาภายหลงั 6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นโดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี นกั เรียนตอ้ งการเป็นนกั ประวตั ิศาสตร์หรือไม่ เพราะเหตุใด
การจัดบรรยากาศเชิงบวก การบนั ทึกหรือนาเสนอความรู้เกี่ยวกบั หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ สรุปเป็นโครงสร้างแผนภาพ ส่ือการเรียนรู้ ภาพเก่ียวกบั หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ประเภทลายลกั ษณ์อกั ษรและไม่ใช่ลายลกั ษณ์อกั ษร หนงั สือประวตั ิศาสตร์ไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 Power Point นาเสนอ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1. วธิ ีการวดั และประเมินผล 1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม 2. เคร่ืองมือ แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม 3. เกณฑ์การประเมิน การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่านผา่ น 1 รายการถือวา่ ไม่ผ่าน กจิ กรรมเสนอแนะ ใหน้ กั เรียนเขียนรายงานประวตั ิศาสตร์มา 1 เรื่อง และใหเ้ ขียนขอ้ มูลท่ีมาของแหล่งสืบคน้ทางประวตั ิศาสตร์
ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงชื่อ__________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา) (__________________) _____/_____/_____
บันทกึ หลงั การสอนผลการจัดการเรียนการสอน____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ปัญหา / อปุ สรรค____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________แนวทางแก้ไข____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงชื่อ__________________ (ผบู้ นั ทึก) (__________________) _____/_____/_____
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6รหสั ส 21102 วชิ า ประวตั ิศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ประวตั ิศาสตร์ กาลเวลา และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6เรื่อง เส้นแบง่ เวลา (Time Line) ทางประวตั ิศาสตร์ เวลา 1 ช่ัวโมงมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณ์ตา่ งๆ อยา่ งเป็นระบบ ตัวชี้วดั มฐ.ส 4.1 ม.1/1 วเิ คราะห์ความสาคญั ของเวลาในการศึกษาประวตั ิศาสตร์จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั 1. อธิบายเรียงลาดบั เวลาทางประวตั ิศาสตร์สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ - สมยั ปัจจุบนั (K) 2. จาแนกเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ของแตล่ ะสมยั (P) 3. เห็นความสาคญั ในการศึกษาเรียนรู้เหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ (A)สาระสาคญั สมยั หรือเวลาทางประวตั ิศาสตร์มีการเปล่ียนแปลงตามพฒั นาการของมนุษย์สาระการเรียนรู้ 1. ความรู้ เส้นเวลาทางประวตั ิศาสตร์จากอดีตถึงปัจจุบนั 2. ทกั ษะ / กระบวนการ / กระบวนการคดิ การจาแนก การใหเ้ หตุผล การจดั ระบบความคิดเป็นแผนภาพ การสรุปความรู้ 3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มีวนิ ยั ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมนั่ ในการทางาน
ความเข้าใจทคี่ งทน (Enduring Understanding) นกั เรียนสามารถสรุปไดว้ ่า สมยั หรือเวลาทางประวตั ิศาสตร์มีการเปลี่ยนแปลงตามพฒั นาการของมนุษย์ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) แผนภาพ Time Line ทางประวตั ิศาสตร์คาถามท้าทาย นกั เรียนไดอ้ ะไรจากการศึกษาประวตั ิศาสตร์การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูให้นักเรี ยนทบทวนความรู้เกี่ยวกับการแบ่งเวลาทางประวตั ิศาสตร์ โดยครูเรียงลาดบั เวลาเป็ นโครงสร้างแผนภาพทางซ้ายมือบนกระดาน แลว้ เวน้ ช่องว่างให้นักเรียนสรุปเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ทางดา้ นขวามือ ดงั น้ี
เส้นเวลา Time Line สมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ ถงึ สมยั ประวตั ศิ าสตร์ สมยั ปัจจุบัน “คอมพิวเตอร์” เครื่องมือสื่อสาร ค.ศ. 1945 - ปัจจบุ นั ของมนุษยใ์ นยคุ ไร้พรมแดน สมยั ใหม่ “สงครามโลกคร้ังท่ี 2” ความขดั แยง้ ของ ประมาณคริสต์ศตวรรษ มนุษยชาติในยคุ สมยั ใหม่ ท่ี 16 – ค.ศ.1945 “การสารวจทางทะเลของชาวยโุ รป” จุดเริ่มตน้ การลา่ อาณานิคมสมยั กลาง ประมาณคริสต์- ศตวรรษที่ 6-15 กาเนิดแหล่งอารยธรรมโบราณของโลก “เมโสโปเตเมีย อินเดีย อียปิ ต์ จีน กรีกและโรมนั ” สมยั โบราณประมาณ 4,000 ปี ก่อนคริสต์- มนุษยร์ ูจ้ กั นาแร่เหลก็ ท่ีมีความทนทานศักราช – คริสต์ศตวรรษที่ 5 มาประดิษฐเ์ ป็นอาวธุ ยคุ เหลก็ 5,000 – 4,000 ปี มาแล้ว ยคุ สาริด มนุษยร์ ู้จกั นาแร่ทองแดงและดีบกุ6,000 – 5,000 ปี มาแล้ว มาหลอมเป็นสาริดแลว้ ประดิษฐ”์ เครื่องมือเคร่ืองใช”้ ยคุ หินใหม่ มนุษยร์ ู้จกั การทา “เคร่ืองป้ันดินเผา”8,000 – 6,000 ปี มาแล้ว และยตุ ิการดารงชีวติ แบบเร่ร่อน ยุคหินกลาง มนุษยร์ ูจ้ กั ฝึ กหดั สตั ว์10,000 – 8,000 ปี มาแล้ว เช่น “แพะและสุนขั ” ไวใ้ ชง้ าน ยคุ หนิ เก่า มนุษยอ์ าศยั อยใู่ น “ถ้า”500,000 – 10,000 ปี มาแล้ว และดารงชีวติ แบบเร่ร่อน2. จบการสรุปของนกั เรียน ครูอธิบายสรุปเพ่ิมเติม3. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี สมยั หรือเวลาทางประวตั ิศาสตร์มีการเปลี่ยนแปลงตามพฒั นาการของมนุษย์4. ใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี นกั เรียนไดอ้ ะไรจากการศึกษาประวตั ิศาสตร์
การจัดบรรยากาศเชิงบวก ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สรุป Time Line ทางประวตั ิศาสตร์ลาดบั เป็นโครงสร้างแผนภาพ ส่ือการเรียนรู้ เส้นเวลา Time Line ทางประวตั ิศาสตร์ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1. วธิ ีการวดั และประเมินผล สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม 2. เคร่ืองมือ แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม 3. เกณฑ์การประเมนิ การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่านผา่ น 1 รายการถือวา่ ไม่ผ่าน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307