Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 สาระการเรียนรู้

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 สาระการเรียนรู้

Published by Bunchana Lomsiriudom, 2020-07-17 04:56:11

Description: หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 สาระการเรียนรู้

Keywords: การศึกษาพื้นฐาน, กศน.,หลักสูตร 2551,กศน.เขตหนองแขม

Search

Read the Text Version

285 รายละเอียดคาอธบิ ายรายวิชา อช21003 พฒั นาอาชพี ให้มีความเข้มแข็ง จานวน 2 หน่วยกติ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ มีความรู้ ความเขา้ ใจในการพัฒนาอาชพี ใหม้ ผี ลิตภัณฑ์หรืองานบรกิ าร สร้างรายไดพ้ อเพยี งต่อการ ดารงชวี ิต และเหลอื เงนิ ออมตามศักยภาพ ท่ี หัวเรือ่ ง ตวั ชวี้ ัด เนอื้ หา จานวน (ชั่วโมง) 1 ศกั ยภาพธุรกจิ 1.อธบิ ายความหมาย ความสาคัญ 1.ความหมาย ความสาคัญ 20 และความจาเปน็ ของการพัฒนา และความจาเปน็ ในการ พฒั นาอาชพี อาชีพเพ่อื ความเข้มแขง็ 2.อธิบายความจาเป็น และคุณคา่ 2.ความจาเป็นของการ ของการวิเคราะห์ศักยภาพของ วเิ คราะห์ศกั ยภาพธุรกจิ ธุรกจิ 3.สามารถวเิ คราะห์ตาแหน่ง 3.การวิเคราะหต์ าแหน่งธรุ กจิ - ระยะเร่มิ ต้น ธุรกิจในระยะตา่ ง ๆ - ระยะสร้างตวั - ระยะทรงตวั - ระยะตกต่าหรือสูงขึ้น 4.สามารถวเิ คราะห์ธรุ กิจตาม 4.การวเิ คราะห์ธุรกจิ ตาม ศักยภาพ 5 ด้านไดแ้ ก่ ศกั ยภาพ 5 ด้านได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ศกั ยภาพของ ในแต่ละพน้ื ท่ี ศกั ยภาพของ ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นแต่ละ พ้นื ทตี่ ามลกั ษณะภูมอิ ากาศ พน้ื ท่ี ศกั ยภาพของพื้นทต่ี าม ศักยภาพของภมู ิประเทศและ ลักษณะภมู อิ ากาศ ศักยภาพ ของภูมปิ ระเทศและทาเลทต่ี ั้ง ทาเลท่ตี งั้ ของแต่ละพ้ืนที่ ศกั ยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ของแตล่ ะพน้ื ท่ี ศักยภาพ ประเพณีและวถิ ชี ีวติ ของแต่ละ ของศลิ ปะ วัฒนธรรม พื้นที่ ศกั ยภาพของทรัพยากร ประเพณีและวถิ ีชวี ติ ของแต่ มนุษย์ในแตล่ ะพื้นที่ บนเสน้ ทาง ละพน้ื ท่ี ศกั ยภาพของ ทรัพยากรมนษุ ย์ในแต่ละ ของเวลา พื้นที่ บนเสน้ ทางของเวลา หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) 292

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 293

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 294

คำ�อธบิ ายรายวิชา และ รายละเอยี ดคำ�อธบิ ายรายวชิ าบงั คับ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

289 คำอธิบำยรำยวชิ ำ อช31001 ชอ่ งทำงกำรขยำยอำชีพ จำนวน 2 หนว่ ยกิต ระดบั มัธยมศึกษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ดใี นงานอาชพี วิเคราะหล์ กั ษณะงาน ขอบขา่ ยงานอาชพี ใน ชมุ ชนสงั คม ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวปี ไดแ้ ก่ ทวีปเอเซีย ทวีปออสเตรเลยี ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และ ทวีปอฟั รกิ าทเี่ หมาะสมกับศักยภาพของตน และสอดคล้องกบั ชุมชนเพื่อการขยายอาชีพ ศึกษำและฝกึ ทกั ษะเกีย่ วกบั ชอ่ งทำงกำรขยำยอำชพี ดงั น้ี คือ ความหมาย ความสาคัญและความจาเป็นของการขยายอาชีพ วิเคราะห์ลักษณะขอบข่ายการงาน อาชีพ กระบวนการทางาน การบริหารจัดการของอาชีพต่างๆ ในชุมชน สังคม ประเทศ และโลก เพ่ือการ ขยายอาชพี จากการงานอาชพี ต่างๆ เชน่ อำชีพด้ำนเกษตรกรรม เป็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการปลูกพืช เล้ียงสัตว์ และการประมง ตาม กระบวนการผลิตและการจัดการผลผลิต มีการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเพิ่มผลผลิต ปลูกฝังความรับผิดชอบ การอนุรกั ษ์พลงั งานและสง่ิ แวดลอ้ มเพื่อนาไปส่กู ารสรา้ งงานอาชีพ อำชีพด้ำนอุตสำหกรรม เป็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการทางานตามกระบวนการของงานช่าง ซึ่ง ประกอบดว้ ยการบารงุ รกั ษา การตดิ ต้ัง การประกอบ การซอ่ มและการผลติ เพอื่ นาไปสกู่ ารสรา้ งอาชพี อำชีพด้ำนควำมคิดสร้ำงสรรค์ เป็นการวิเคราะห์เก่ียวกับการทางานด้านการประดิษฐ์ส่ิงของ เครื่องใช้ท่ีเน้นความคิดสร้างสรรค์ โดยเน้นความประณีต สวยงามตามกระบวนการงานประดิษฐ์และ เทคโนโลยี การอนรุ กั ษแ์ ละสืบสานศลิ ปวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ตามภูมิปญั ญาท้องถิ่นและ สากล เพ่อื นาไปสกู่ ารสรา้ งงานอาชีพ อำชีพด้ำนพำณิชยกรรม เป็นการวิเคราะห์งานหรือกิจกรรมที่เป็นการนาเอาทรัพยากรต่างๆ มาใช้ ร่วมกัน หรือเปล่ียนสภาพเพื่อที่จะก่อให้เกิดคุณค่าที่สูงกว่าเดิม โดยในงานหรือกิจกรรมด้านพาณิชยกรรม ครอบคลุมลักษณะงานการตลาด งานการผลิตหรอื บริการ งานการเงนิ และบญั ชี และงานทรัพยากรมนุษย์ อำชพี ด้ำนอำนวยกำรและอำชีพเฉพำะทำง เปน็ การวิเคราะห์เก่ียวกับงานการบริหารจัดการด้วยการ วางแผน ดาเนนิ การ เพ่ือให้การทางานประสบความสาเร็จบรรลุตามวัตถุประสงค์ และการประกอบอาชีพที่ ใชค้ วามรู้ ทักษะเฉพาะของแตล่ ะบคุ คล ความหมาย ความจาเป็นในการขยายอาชีพในชุมชน สังคม ท่ีเหมาะสมกับศักยภาพ 5 ด้านได้แก่ ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตล่ ะพืน้ ที่ ศักยภาพของพ้ืนที่ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิ ประเทศและทาเลท่ีต้ังของแต่ละพ้ืนท่ี ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต่ละพ้ืนท่ี ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ต่างๆ ได้แก่ การลงทุน การตลาด กระบวนการผลิต การขนส่ง การบรรจุหีบห่อ การแปรรูป และผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม ความรู้ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 296

290 ความสามารถของตนเองต่ออาชีพนั้นๆ การลาดับความสาคัญของอาชีพที่มีความเป็นไปได้ต่อการขยาย อาชีพ เพ่ือนาข้อมูลท่ีวิเคราะห์ไว้นาไปปรึกษาผู้รู้ การตัดสินใจขยายอาชีพท่ีเหมาะสมกับตนเองตาม ศักยภาพ 5 ด้านได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของพ้ืนที่ตามลักษณะ ภมู อิ ากาศ ศักยภาพของภมู ิประเทศและทาเลทต่ี ้งั ของแตล่ ะพ้นื ท่ี ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชวี ิตของแต่ละพน้ื ที่ ศักยภาพของทรพั ยากรมนุษย์ในแต่ละพน้ื ที่ กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ เปน็ การสารวจอาชีพในชุมชน ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวีป ได้แก่ ทวปี เอเซยี ทวปี ออสเตรเลยี ทวปี อเมรกิ า ทวีปยุโรป และทวีปอฟั ริกา แล้วนามาวเิ คราะห์ รวมทงั้ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ซึง่ กนั และกนั สรุป เปน็ องค์ความรู้เพอ่ื การขยายอาชีพ ของตน หรอื ชมุ ชน กำรวัดและประเมนิ ผล ประเมนิ จากสภาพจริง ผลงานปฏิบัติ สังเกตความสนใจ ความร่วมมือในกระบวนการเรียนรู้ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) 297

291 รำยละเอยี ดคำอธิบำยรำยวชิ ำ อช31001 ชอ่ งทำงกำรขยำยอำชพี จำนวน 2 หนว่ ยกิต ระดับมัธยมศกึ ษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ มคี วามรู้ ความเข้าใจ และเจตคติทดี่ ใี นงานอาชีพ วิเคราะห์ลักษณะงาน ขอบขา่ ยงานอาชพี ใน ชุมชนสงั คม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวปี ไดแ้ ก่ ทวปี เอเซีย ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวปี ยุโรป และ ทวีปอฟั รกิ า ท่เี หมาะสมกบั ศกั ยภาพของตน และสอดคล้องกบั ชมุ ชนเพื่อการขยายอาชีพ ท่ี หัวเรอ่ื ง ตวั ช้ีวดั เน้อื หำ จำนวน (ชัว่ โมง) 1 การงานอาชพี 1.อธิบายความสาคัญ และ 1.ความสาคัญ และความจาเป็น 50 ความจาเป็นในการขยายอาชีพ ในการขยายอาชีพ 2.อธบิ ายลกั ษณะขอบข่าย 2.การขยายอาชพี ในชมุ ชน กระบวนการผลติ งานอาชีพใน ประเทศ และภมู ิภาค 5 ทวปี ชมุ ชน สงั คม ประเทศ และ ไดแ้ ก่ ทวีปเอเซีย ทวีป ภูมภิ าค 5 ทวปี ได้แก่ ทวีป ออสเตรเลยี ทวีปอเมริกา เอเซยี ทวปี ออสเตรเลีย ทวปี ทวีปยโุ รป และทวปี อัฟรกิ า อเมรกิ า ทวปี ยโุ รป และ - งานอาชพี ดา้ นเกษตรกรรม ทวปี อฟั รกิ า เพื่อนามา - งานอาชพี ด้านอุตสาหกรรม วิเคราะหข์ ยายอาชพี - งานอาชพี ด้าน พาณชิ ยกรรม - งานอาชพี ดา้ นความคดิ สรา้ งสรรค์ - งานอาชพี ด้านอานวยการ และอาชีพเฉพาะ 3.อธิบายการจดั การในงาน 3.การขยายกระบวนการจัดการ อาชพี ในชมุ ชน สังคม ประเทศ งานอาชีพในชุมชน สังคม และภูมิภาค 5 ทวปี ไดแ้ ก่ ทวีป ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวีป เอเซีย ทวปี ออสเตรเลีย ทวปี ไดแ้ ก่ ทวปี เอเซีย อเมริกา ทวีปยโุ รป และ ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมรกิ า ทวีปอัฟริกา เพ่ือนามา ทวปี ยโุ รป และทวีปอฟั ริกา วเิ คราะห์ในการขยายอาชพี 3.1 การจดั การการผลติ - การวางแผน หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 298

268 ท่ี หวั เรื่อง ตัวช้ีวดั เนอ้ื หา จาํ นวน (ช่ัวโมง) - การจัดทําโครงการ - การใชว สั ดุอุปกรณ - การใชแรงงาน - การใชสถานที่ - การใชทุน ฯลฯ 3.2 การจดั การการตลาด - การกําหนดทิศทาง การตลาด - การหาความตองการของ ตลาด - การขนสง - การขาย - การกําหนดราคาขาย - การทําบัญชีประเภท ตางๆ ฯลฯ 4.อธิบายคุณธรรม จรยิ ธรรม 4.คณุ ธรรม จรยิ ธรรม - ความรับผิดชอบ ในการขยายอาชีพ - การประหยัด - การอดออม - ความสะอาด - ความประณีต - ความขยัน - ความซ่อื สตั ย ฯลฯ 5.อธิบายการอนุรักษพลังงาน 5.การอนุรกั ษพ ลงั งาน และ และสง่ิ แวดลอ มในการขยาย สิ่งแวดลอมในการขยายอาชีพ อาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ ในชุมชน สังคม ประเทศ และ และภมู ิภาค 5 ทวปี ไดแ ก ทวีป ภูมภิ าค 5 ทวีป ไดแ ก ทวปี หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 299

293 ที่ หัวเรือ่ ง ตัวชวี้ ดั เนื้อหำ จำนวน 2 ชอ่ งทางการขยาย (ชวั่ โมง) เอเซีย ทวีปออสเตรเลีย ทวปี เอเซยี ทวปี ออสเตรเลยี ทวีป อาชพี อเมริกา ทวีปยโุ รป และทวปี อเมริกา ทวปี ยุโรป และ 20 อฟั รกิ า ทวีปอฟั ริกา 3 การตัดสินใจเลอื ก 1.อธิบายความจาเป็นในการ 1.ความจาเป็นในการมองเห็น ขยายอาชีพ มองเห็นชอ่ งทางในการขยาย ชอ่ งทางการประกอบอาชพี อาชพี ไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั ตนเอง 2.ความเป็นไปไดใ้ นการขยาย 2.ศกึ ษาอาชีพในชมุ ชน สงั คม อาชีพ ประเทศ และภมู ิภาค 5 ทวปี - การลงทนุ ได้แก่ ทวปี เอเซยี ทวปี - การตลาด ออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีป - กระบวนการผลิต ยุโรป และทวีปอัฟรกิ า เพอื่ - การขนส่ง วิเคราะห์ความเป็นไปได้ใน การขยายอาชพี - การบรรจุหีบห่อ - การแปรรูป 3.กาหนดวธิ กี ารและขัน้ ตอน - ผลกระทบตอ่ ชุมชน และ การขยายอาชพี โดยพิจารณา ความเปน็ ไปได้ของการขยาย สภาพแวดลอ้ ม อาชพี พรอ้ มทั้งให้เหตุผลใน - ความรคู้ วาม สามารถ การขยายอาชีพท่ีเลือก ฯลฯ 1.ตดั สนิ ใจเลือกขยายอาชีพ 3.การกาหนดวธิ ีการและ ตามศักยภาพ 5 ดา้ นไดแ้ ก่ ศักยภาพของ ข้นั ตอนการขยายอาชีพพรอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาตใิ นแตล่ ะ ให้เหตผุ ล พ้นื ที่ ศกั ยภาพของพนื้ ทีต่ าม ลกั ษณะภมู อิ ากาศ ศักยภาพ 1.การตดั สนิ ใจเลอื กขยายอาชพี 10 ตามศักยภาพ 5 ดา้ นไดแ้ ก่ ศกั ยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาตใิ นแตล่ ะ พน้ื ท่ี ศักยภาพของพนื้ ทต่ี าม ลกั ษณะภูมอิ ากาศ ศกั ยภาพ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) 300

294 ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ชีว้ ัด เน้อื หำ จำนวน (ช่ัวโมง) ของภมู ปิ ระเทศและทาเลทตี่ ั้ง ของภมู ปิ ระเทศและทาเลที่ตั้ง ของแต่ละพื้นท่ี ศกั ยภาพของ ของแตล่ ะพื้นท่ี ศกั ยภาพของ ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณแี ละ และวิถีชีวิตของแต่ละพ้ืนที่ วถิ ีชีวิตของแตล่ ะพ้ืนที่ ศักยภาพของทรัพยากรมนษุ ย์ ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ ในแตล่ ะพ้ืนท่ีไดเ้ หมาะสมกับ ในแตล่ ะพืน้ ที่ ตนเอง หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) 301

295 คำอธิบำยรำยวิชำ อช31002 ทกั ษะกำรขยำยอำชีพ จำนวน 4 หนว่ ยกิต ระดับมธั ยมศึกษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจทักษะ ในการขยายอาชพี เพื่อสร้างความม่นั คงบนพืน้ ฐานความรู้ ใน กระบวนการผลิต กระบวนการตลาด ท่ีใช้นวตกรรม เทคโนโลยีท่เี หมาะสม มคี วามหลากหลาย ทางชวี ภาพ พัฒนาต่อยอดและประยกุ ตใ์ ชภ้ ูมิปัญญา 2. มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดทาแผนงาน และโครงการ เพอ่ื ขยายอาชพี เข้าสตู่ ลาดการ แขง่ ขัน ตามศกั ยภาพ 5 ด้านไดแ้ ก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตล่ ะพน้ื ที่ ศักยภาพ ของพน้ื ทตี่ ามลักษณะภูมอิ ากาศ ศกั ยภาพของภูมิประเทศและทาเลทต่ี ั้งของแตล่ ะพนื้ ที่ ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถชี วี ติ ของแตล่ ะพ้ืนท่ี ศกั ยภาพของทรัพยากร มนษุ ย์ในแตล่ ะพนื้ ท่ี และแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพือ่ สคู่ วามม่นั คง ศึกษำและฝึกทักษะเก่ยี วกับทกั ษะอำชีพท่ีตอ้ งกำรขยำยอำชีพ ดงั น้ีคอื ความจาเป็นในการฝึกทักษะอาชีพ เพ่ือการขยายอาชีพ กระบวนการผลิต กระบวนการตลาด ที่ใช้ นวัตกรรม เทคโนโลยี ความหมาย ความสาคัญของการจัดการอาชีพ เพื่อการขยายอาชีพ และระบบการ จดั การเพอ่ื การขยายอาชีพท่ตี ัดสินใจเลือก แหล่งเรยี นรใู้ นการฝึก การตัดสินใจเลอื กแหลง่ และวิธีการฝึก การ บันทกึ รายงาน การฝึกทกั ษะการขยายอาชีพโดยพัฒนาต่อยอด และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา และคานึงถึงความ หลากหลายทางชีวภาพ ควำมหมำย ความสาคญั ของการจดั ทาและหรือปรับปรงุ การจัดการอาชีพ กำรทำแผนธุรกิจ แผนธุรกิจเป็นแผนแม่บทในการประกอบการงานอาชีพของทุกคนในครอบครัว ชุมชน ซ่ึงเป็นกระบวนการในการระดมความคิดจากการวิเคราะห์ชุมชนที่กาหนดด้วยวิสัยทัศน์ พันธกิจ รายได้ ค่านิยมของชุมชน ตามศักยภาพ 5 ด้านได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของพนื้ ทีต่ ามลกั ษณะภูมอิ ากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลท่ีตั้งของแต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพ ของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณแี ละวิถีชวี ติ ของแตล่ ะพน้ื ท่ี ศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพ้ืนที่และ แนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพือ่ สู่ความมั่นคงเป็นผลสาเร็จ โดยกาหนดเป้าหมาย และกลยุทธ์ การ ดาเนินงานทจี่ ะดาเนินการไปตามแผนธรุ กจิ กำรจัดกำรควำมเส่ียง เป็นการวิเคราะห์ศักยภาพ 5 ด้านได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติใน แต่ละพ้ืนท่ี ศักยภาพของพ้ืนที่ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลท่ีต้ังของแต่ละ พนื้ ที่ ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวถิ ีชวี ติ ของแต่ละพ้นื ท่ี ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ใน แตล่ ะพื้นท่ีและจัดการเก่ียวกับผลการดาเนินการในอดีตท่ีผ่านมาในช่วงระยะเวลา 3-5 ปี จนถึงปัจจุบันเน้น ยอดขายของประเภทสินค้า ค่าใช้จ่ายต่างๆ ผลกาไร วิเคราะห์คู่แข่งขัน วิเคราะห์ส่วนครองตลาดสัมพันธ์ หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) 302

296 วิเคราะห์สมรรถนะของธุรกจิ วเิ คราะหส์ ภาวะแวดลอ้ มภายในด้าน จุดแข็ง จุดอ่อน วิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายนอกด้านโอกาสและอุปสรรค ว่าประเด็นใดจะทาให้เกิดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพต้องจัดการ แก้ปญั หาความเสย่ี งนน้ั เพอื่ ความม่ันคงของอาชพี กำรขับเคลื่อนแผนธุรกิจ เป็นการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการสู่ความสาเร็จ โดยการวิเคราะห์ความ เป็นไปได้ของแผนปฏิบัติการ การพัฒนาแผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้ขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการสู่ ความสาเรจ็ กำรจัดกำรกำรผลิต เป็นการจัดการเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพให้ได้มาตรฐานตามความต้องการ ของตลาด การใชน้ วตกรรม เทคโนโลยีในการผลติ การลดตน้ ทุนการผลติ หรือการบรกิ าร กำรจัดกำรกำรตลำด เป็นการนาผลผลิตเข้าสู่ตลาด ซึ่งดาเนินการโดยการโฆษณา การ ประชาสมั พนั ธ์ การวิจัยตลาด การส่งเสรมิ การขาย การจัดทาข้อมูลฐานลกู ค้า ความสามารถกระจายสินค้าให้ ถึงลกู คา้ บญั ชีธุรกจิ บัญชีธุรกิจจะเปน็ ตัวควบคุมการดาเนนิ การด้านธุรกิจให้มีประสิทธิภาพ บัญชีธุรกิจควร มีบัญชีเกี่ยวกับรายได้ – กาไร – รายจ่าย สภาพคล่องทางการเงิน หนี้สูญ ต้นทุนทางการเงิน สินทรัพย์ – หนสี้ นิ และการลงทุน ปฏบิ ัตกิ ำร จัดทาแผนและวางระบบพฒั นาธุรกิจให้มีความเขม้ แขง็ ยง่ั ยืน กำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ สารวจ วิเคราะห์ทักษะที่จาเป็นต่อการขยายอาชีพแหล่งฝึกและวิธีการฝึกกระบวนการผลิต กระบวนการตลาด นวัตกรรม เทคโนโลยี การถอดบทเรียนจากการฝึกทักษะเพ่ือการขยายอาชีพโดยการ พัฒนาตอ่ ยอด ประยุกตใ์ ชภ้ ูมปิ ญั ญาและคานงึ ความหลากหลายทางชวี ภาพ เป็นการศึกษาปฏิบัติจริงด้วยการทาแผนธุรกิจของชุมชน หรือของผู้เรียนตามแนวคิดปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง การจัดการความเส่ียง การขับเคล่ือนแผนธุรกิจ การจัดการผลิต การจัดการตลาด บัญชี ธรุ กจิ อาจสรา้ งสถานการณ์จาลองขึน้ มา หรือพาไปศกึ ษาของจริง เพ่ือฝึกปฏิบัติและนาแผนปฏิบัติการต่างๆ เข้าสู่วิถีชีวิต หรือดาเนินการจริงตามวิถีชีวิต เพ่ือผู้เรียนจะเกิดความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการ ธุรกจิ อย่างแท้จรงิ กำรวัดและประเมินผล ประเมนิ จากสภาพจริงจากผลงานการเรยี นรู้ และผลการเรียนรู้การจัดทาแผน และโครงการขยาย ธรุ กจิ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) 303

297 รำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวิชำ อช31002 ทักษะกำรขยำยอำชพี จำนวน 4 หนว่ ยกติ ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั 1. มีความรู้ ความเข้าใจทักษะ ในอาชพี เพื่อสร้างความมั่นคงบนพ้ืนฐานความรู้ ในกระบวนการ ผลิตกระบวนการตลาด ทใ่ี ช้นวตกรรม เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม มคี วามหลากหลายทางชวี ภาพ พฒั นาต่อยอด และประยุกตใ์ ช้ภูมปิ ัญญา 2. มคี วามรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดทาแผนงาน และโครงการ เพอ่ื ขยายอาชีพเขา้ สู่ตลาดการ แข่งขัน ตามศกั ยภาพ 5 ดา้ นได้แก่ ศักยภาพของทรพั ยากรธรรมชาตใิ นแตล่ ะพ้นื ที่ ศกั ยภาพของพื้นที่ตาม ลักษณะภมู อิ ากาศ ศกั ยภาพของภมู ิประเทศและทาเลท่ีต้ังของแต่ละพน้ื ที่ ศักยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณแี ละวิถีชวี ิตของแตล่ ะพืน้ ที่ ศกั ยภาพของทรัพยากรมนษุ ย์ในแตล่ ะพื้นท่ี และแนวคิดปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือสคู่ วามมัน่ คง ที่ หวั เร่ือง ตัวชี้วดั เนอื้ หำ จำนวน (ชว่ั โมง) 1 ทักษะในการขยาย 1. อธบิ ายความจาเปน็ ในการฝึก 1. ความจาเปน็ ในการฝึกทักษะ 80 อาชีพ ทกั ษะอาชีพ กระบวนการผลิต อาชีพ กระบวนการผลิต กระบวนการตลาดทใ่ี ช้ กระบวนการตลาดท่ีใช้ นวัตกรรม เทคโนโลยี เพอื่ การ นวตั กรรม เทคโนโลยี เพ่ือการ ขยายอาชีพ ขยายอาชพี 2.อธิบายความหมาย ความสาคัญ 2. ความหมาย ความสาคญั ของ ของการจัดการอาชีพ และระบบ การจัดการอาชพี และระบบ การจดั การ เพื่อการขยายอาชีพ การจดั การ โดยพัฒนาตอ่ ยอด ประยุกตใ์ ช้ ภมู ปิ ัญญา และคานงึ ถึงความ หลากหลายทางชีวภาพ 3. สารวจแหลง่ เรยี นรู้ และ 3. แหลง่ เรยี นรู้ และสถานที่ฝึก สถานท่ฝี กึ ทักษะในการขยาย อาชพี อาชีพ 4. วางแผนในการฝึกทกั ษะอาชพี 4. การวางแผนโดยกาหนดสิง่ โดยพัฒนาตอ่ ยอด ประยกุ ตใ์ ช้ ตา่ งๆดังน้ี ภมู ิปญั ญา และคานึงถึงความ - ความรู้และทกั ษะทีต่ อ้ งฝึก หลากหลายทางชีวภาพ - วธิ ีการฝกึ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 304

298 ท่ี หัวเรือ่ ง ตวั ชวี้ ัด เนอ้ื หำ จำนวน (ชั่วโมง) 2 การทาแผนธุรกิจ เพื่อการขยายอาชพี - แหล่งฝกึ - วนั เวลาในการฝึก ฯลฯ 5.ฝกึ ทกั ษะอาชีพตามแผนท่ี 5.การฝกึ ทกั ษะอาชพี กาหนดไว้ได้โดยมกี ารบนั ทึก - การจดบันทึก - ปัญหาและการแกป้ ัญหา ขนั้ ตอนการฝกึ ทกุ ข้ันตอน - ข้อเสนอแนะ ฯลฯ 1.วิเคราะหช์ มุ ชน 1.การวเิ คราะห์ชุมชน 5 โดยการระดมความคดิ เห็นของ - จดุ แข็ง - จุดออ่ น คนในชุมชน และกาหนด วิสยั ทัศน์ พันธกจิ รายได้ ค่านิยม - โอกาส ของชมุ ชน เป้าหมาย และกลยทุ ธ์ - อปุ สรรค ตามศกั ยภาพ 5 ด้านไดแ้ ก่ ตามศักยภาพ 5 ดา้ นได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ศักยภาพของ ในแต่ละพน้ื ท่ี ศกั ยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาตใิ นแต่ละ พ้ืนทีต่ ามลกั ษณะภมู ิอากาศ พนื้ ที่ ศกั ยภาพของพนื้ ที่ตาม ศกั ยภาพของภมู ิประเทศและ ลกั ษณะภูมิอากาศ ศกั ยภาพ ของภูมปิ ระเทศและทาเลท่ีตั้ง ทาเลที่ตัง้ ของแต่ละพื้นท่ี ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ของแต่ละพืน้ ท่ี ศกั ยภาพของ ประเพณแี ละวิถชี วี ติ ของแต่ละ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและ พ้ืนที่ ศักยภาพของทรพั ยากร วิถีชีวติ ของแต่ละพ้นื ที่ มนษุ ย์ในแตล่ ะพื้นที่ และแนวคดิ ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในแต่ละพน้ื ที่ 2.การกาหนดวสิ ัยทัศน์ พันธ กิจ เป้าหมาย กลยทุ ธ์ ในการ กาหนดแผนขยายธุรกจิ ของ ชุมชน 2.วางแผนปฏิบตั ิการ 3.การวางแผนปฏิบตั กิ าร หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) 305

299 ท่ี หวั เร่อื ง ตวั ช้วี ัด เนื้อหำ จำนวน (ช่วั โมง) 3 การจดั การความเสี่ยง 1. รู้และเขา้ ใจหลกั การและ การจัดการความเสีย่ ง (Risk 10 ขน้ั ตอนการจัดการ ความเสยี่ ง Management) 2.วเิ คราะหป์ ัจจยั ความเส่ยี งทาง 1.ความหมาย ธรุ กจิ 2.องคป์ ระกอบการจดั การ 3. วางแผนการบรหิ ารความเส่ียง ความเส่ยี ง (Risk Management Planning) 3.การ วเิ คราะห์ปัจจยั ความ เสย่ี งทางธุรกิจ 4. การประเมนิ ความเส่ียง 5.การกาหนดมาตรการแก้ไข และปอ้ งกนั ความเสย่ี ง 6. การ ประเมนิ ผลของ มาตรการแก้ไขและปอ้ งกัน 7. การวางแผนการบริหาร ความเส่ยี ง (Risk Management Planning 8. การตดิ ตามประเมินผลการ บรหิ ารความเส่ียง 4 การจัดการการผลติ 1.จดั การเกย่ี วกบั การควบคุม 1.การจัดการเกย่ี วกบั การ 5 หรอื การบริการ คุณภาพ ควบคุมคุณภาพ 2.อธิบายวิธกี ารใชน้ วตกรรม 2.การใช้นวตกรรมเทคโนโลยี เทคโนโลยีในการผลติ ในการผลติ 3.อธบิ ายขัน้ ตอนการลดต้นทุน 3.การลดต้นทุนการผลิตหรือ การบริการ การผลิตหรอื การบรกิ าร 4.จัดทาแผนการผลิตหรือการ 4.การจดั ทาแผนปฏิบัติการ บริการ 5 การจดั การการตลาด 1.จดั การการตลาดเพื่อนาผลผลิต 1.การจดั การการตลาด 5 เขา้ สูต่ ลาด - การโฆษณา - การประชาสมั พันธ์ - การวิจยั ตลาด - การส่งเสรมิ การขาย หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) 306

300 ท่ี หัวเรื่อง ตัวชวี้ ัด เนอ้ื หำ จำนวน (ช่วั โมง) - การทาขอ้ มลู ฐานลูกค้า - การกระจายสนิ คา้ 2.จดั ทาแผนการจดั การการตลาด 2.การจดั ทาแผนปฏิบัติการ 6 บญั ชธี ุรกจิ 1.อธบิ ายความสาคญั ในการทา 1.ความสาคญั ในการทาบัญชี 30 บัญชีธุรกจิ ธุรกจิ 2.บอกประเภทของบัญชปี ระเภท 2.ประเภทของบัญชธี รุ กิจ ตา่ งๆที่เกี่ยวขอ้ ง - ขัน้ ตอนการทาบัญชี ประเภทต่างๆ - บญั ชีรบั -จา่ ย - บญั ชีหนีส้ ิน - บญั ชีการเงิน - บญั ชีสนิ ทรพั ย์ ฯลฯ 7 การขบั เคล่ือนธุรกจิ 1.วิเคราะห์ความเปน็ ไปได้ของ 1.การวิเคราะหค์ วามเป็นไปได้ 15 เพือ่ ขยายอาชพี แผนปฏบิ ัตกิ ารในการขยายธรุ กจิ ของแผนปฏิบตั กิ ารในการ ขยายธรุ กิจ 2.พัฒนาแผนปฏิบัตกิ ารการขยาย 2.แผนปฏิบตั กิ ารขยายธุรกจิ ธุรกิจ 3.อธิบายขัน้ ตอนการขับเคลอื่ น 3.ขั้นตอนการขับเคลอ่ื น แผนปฏบิ ตั ิการเพ่ือการขยาย แผนปฏบิ ตั ิการเพื่อการขยาย ธรุ กิจ ธรุ กจิ 8 โครงการขยายอาชพี 1.อธบิ ายความสาคญั ของการทา 1.ความสาคญั ของโครงการ 10 โครงการขยายอาชพี 2.เขียนโครงการ 2.ขั้นตอนการเขียนโครงการ 3.เขยี นแผนปฏบิ ัติการ 3.การเขยี นแผนปฏิบัติการ 4.ตรวจสอบโครงการไดถ้ กู ต้อง 4.การตรวจสอบโครงการ และเหมาะสม หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) 307

301 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ อช31003 พฒั นำอำชพี ใหม้ คี วำมมั่นคง จำนวน 2 หน่วยกติ ระดับมธั ยมศึกษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั มีความรู้ ความเขา้ ใจในการพัฒนาอาชพี ใหม้ ผี ลิตภัณฑ์หรืองานบริการ สร้างรายได้พอเพียงต่อการ ดารงชีวติ มีเงินออมและมีทุนในการขยายอาชพี ศึกษำ และฝกึ ทกั ษะเกย่ี วกบั กำรพฒั นำอำชีพ เพ่ือให้มีควำมมน่ั คง ดังนี้ คอื ควำมหมำย ความสาคญั ความจาเปน็ ในการพัฒนาอาชพี ศักยภำพธุรกิจของตนเอง ชุมชน ความจาเป็นและคุณค่าของการวิเคราะห์ศักยภาพธุรกิจ การวิเคราะห์ตาแหน่งธุรกิจ (ระยะเริ่มต้น ระยะสร้างตัว ระยะทรงตัว ระยะตกต่าหรือสูงขึ้น) การวิเคราะห์ ธุรกิจตามศักยภาพ 5 ด้านได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นท่ี ศักยภาพของพื้นท่ีตาม ลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลที่ตั้งของแต่ละพ้ืนท่ี ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวติ ของแต่ละพนื้ ท่ี ศกั ยภาพของทรพั ยากรมนุษยใ์ นแตล่ ะพื้นทีบ่ นเส้นทางของเวลา กำรจัดทำแผนพัฒนำกำรตลำด การกาหนดทิศทางการตลาด การกาหนดเป้าหมายการตลาด การกาหนดกลยุทธ์สู่เป้าหมายบนพ้ืนฐานศักยภาพธุรกิจท่ีเป็นอยู่ การวิเคราะห์กลยุทธ์กาหนดกิจกรรม แผนการพัฒนาการตลาด กำรจัดทำแผนพัฒนำกำรผลิตหรือกำรบริกำร การกาหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการ การ วิเคราะห์ทุนปัจจัยการผลิตหรือการบริการ การกาหนดเป้าหมายการผลิตหรือการบริการ การกาหนดแผน กิจกรรม พฒั นาระบบการผลติ หรือการบรกิ าร กำรพัฒนำธุรกิจเชิงรุก ความจาเป็นและคุณค่าของธุรกิจเชิงรุก การแทรกความนิยมเข้าสู่ ความต้องการแท้จริงของผบู้ รโิ ภค รูปลกั ษณ์คณุ ภาพใหม่ เพ่ิมชอ่ งทางเขา้ ถงึ ลกู คา้ ปฏบิ ัตกิ ำร จัดทาแผน และโครงการพฒั นาอาชีพใหม้ คี วามมัน่ คง กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้ เป็นการศึกษาปฏิบตั ิจริงด้วยการวิเคราะห์ศักยภาพธุรกิจ การจัดทาแผนพัฒนาการตลาด การจัดทา แผนพัฒนาการผลติ การพฒั นาธุรกิจเชิงรุก การพัฒนาองคก์ รให้มปี ระสิทธิภาพ อาจสรา้ งสถานการณ์จาลอง ข้ึนมา หรือพาไปศึกษาของจริง เพื่อฝึกปฏิบัติและนาแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เข้าสู่วิถีชีวิต หรือดาเนินการจริง ตามวิถีชีวิต เพื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้สามารถพัฒนาอาชีพของตน หรือชุมชน ให้มีความม่ันคง (พออยู่ พอ กิน มรี ายได้ มกี ารออม และมที นุ ในการขยายอาชีพ) หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2554) 308

302 กำรวัดและประเมนิ ผล ประเมินจากสภาพจริงจากผลงานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ การจัดทาแผนและโครงการพัฒนา อาชพี ใหม้ คี วามม่นั คง หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 309

279 รายละเอยี ดคําอธบิ ายรายวิชา อช31003 พฒั นาอาชพี ใหมีความมั่นคง จาํ นวน 2 หนวยกิต ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรูระดบั มีความรู ความเขาใจในการพัฒนาอาชีพ ใหมีผลิตภัณฑหรืองานบริการ สรางรายไดพอเพียงตอการ ดํารงชีวิต มีเงินออมและมีทุนในการขยายอาชีพ ท่ี หวั เรือ่ ง ตัวช้วี ดั เนื้อหา จาํ นวน (ช่ัวโมง) 1 ศักยภาพธรุ กิจ 1.อธิบายความหมาย ความสําคัญ 1.ความหมาย ความสําคัญ และ 20 และความจําเปนของการพัฒนา ความจําเปนของการพัฒนา อาชพี เพ่ือใหม ีความมนั่ คง อาชีพ 2.อธิบายความจําเปน และคุณคา ของการวิเคราะหศักยภาพของ 2.ความจําเปนของการวิเคราะห ธุรกจิ ศักยภาพธุรกิจ 3.วเิ คราะหตําแหนงธุรกจิ ใน ระยะตาง ๆ 3.การวิเคราะหตําแหนงธุรกิจ - ระยะเริ่มตน - ระยะสรางตัว - ระยะทรงตัว - ระยะตกต่าํ หรอื สูงขึน้ 4.วเิ คราะหธุรกจิ ตามศกั ยภาพ 4.การวิเคราะหธรุ กิจตาม ศักยภาพ 5 ดานไดแก ศักยภาพ 5 ดานไดแ ก ศกั ยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติในแตละ ของทรัพยากรธรรมชาติในแต พื้นท่ี ศักยภาพของพืน้ ที่ตาม ละพน้ื ท่ี ศักยภาพของพืน้ ท่ี ลักษณะภูมอิ ากาศ ศักยภาพของ ตามลักษณะภูมิอากาศ ภมู ิประเทศและทาํ เลทต่ี ง้ั ของแต ศักยภาพของภูมิประเทศและ ละพืน้ ที่ ศักยภาพของศิลปะ ทาํ เลทตี่ ้ังของแตล ะพ้นื ท่ี วฒั นธรรม ประเพณแี ละวถิ ชี วี ติ ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ของแตละพ้นื ที่ ศักยภาพของ ประเพณีและวถิ ีชวี ติ ของแตละ ทรัพยากรมนุษยใ นแตล ะพื้นที่ พืน้ ที่ ศักยภาพของทรัพยากร มนษุ ยในแตละพืน้ ทบี่ น บนเสนทางของเวลา เสนทางของเวลา หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 310

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 311

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 312

สาระทักษะการด�ำ เนินชวี ติ

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 314

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 315

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 316

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 317

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 318

มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดับ และ ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 320

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 321

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 322

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 323

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 324

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 325

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 326

ค�ำ อธิบายรายวชิ า และ รายละเอยี ดค�ำ อธบิ ายรายวิชาบงั คบั ระดับประถมศึกษา

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 328

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 329

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 330

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 331

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 332

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 333

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 334

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 335

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 336

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 337

307 รายละเอยี ดคําอธิบายรายวชิ า ทช11003 ศลิ ปศกึ ษา จาํ นวน 2 หนว ยกิต ระดบั ประถมศึกษา มาตรฐานการเรยี นรูระดบั รู เขาใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ชื่นชม เห็นคุณคาความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ สิง่ แวดลอม ทาง ทัศนศิลป ดนตรี และนาฏศิลปพื้นบาน สามารถวิเคราะห วิพากษ วิจารณไดอยางเหมาะสม นําการผลิตเครื่อง ดนตรีพื้นบานไปเปนแนวทางการประกอบอาชีพได ท่ี หัวเร่ือง ตัวชี้วัด เน้ือหา จาํ นวน (ชว่ั โมง) 1 ทัศนศิลปพ น้ื บาน 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ 1. ความหมาย ความสําคญั ความ 30 ความเปนมาของทัศนศิลปพื้นบาน เปนมาของทัศนศิลปพื้นบาน 2. อธิบายรูปแบบในการนํา จุด 2. รูปแบบและวธิ กี ารนํา จุด เสน สี เสน สี แสง – เงา รปู รา ง และ แสง – เงา รูปรางและรูปทรงมา รูปทรงมาจินตนาการสรางสรรค จินตนาการสรางสรรคประกอบให ประกอบใหเปนงานทัศนศิลป เปนงานทัศนศิลปพื้นบาน พ้ืนบา น 3.อธิบายรูปแบบและวิวัฒนาการ 3.รูปแบบและวิวัฒนาการของงาน ในเรื่องของงานทัศนศิลปพื้นบาน ทัศนศลิ ปพื้นบานในดาน ตางๆ - จติ รกรรม - ประตมิ ากรรม - สถาปต ยกรรม - ภาพพิมพ 4. อธิบาย วเิ คราะห วิพากษ 4.รูปแบบและความงามของ วิจารณรูปแบบและความงามของ ทัศนศิลปพื้นบานกับความงามตาม งานทัศนศิลปพื้นบานที่เกิดจาก ธรรมชาติที่เกี่ยวกับรูปราง รูปทรง เสน สี แสง-เงาและจุดของตนไม ความงามตามธรรมชาติ ดอกไม กิ่งไม ใบไม เปลือกไม ตอ ไม ทะเล แมน าํ้ ลําธาร ภูเขา กรวด หนิ ดนิ หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) 338

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 339

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 340

310 ท่ี หวั เรื่อง ตวั ชีว้ ัด เนอื้ หา จาํ นวน (ชวั่ โมง) 4 อาชีพการผลติ คุณคาความสําคัญของนาฏศิลป พืน้ บา นของภาค ตา ง ๆ ที่ เคร่ืองดนตรี พืน้ บานของภาคตาง ๆ เกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณี 3 พื้นบาน ท่เี กย่ี วกับวฒั นธรรมประเพณี\\ 7.อธิบายแนวทางการอนุรักษ 7.การอนุรักษนาฏศิลปพ้นื บา น นาฏศลิ ปพ้ืนบาน วฒั นธรรม ของภูมิปญญาทองถิ่น ประเพณี และภมู ิปญ ญาทอ งถิน่ ศลิ ปวัฒนธรรม ประเพณี 1. อธบิ ายคุณลกั ษณะของเคร่ือง 1. ลกั ษณะอาชีพการผลติ เคร่ือง ดนตรีพ้ืนบาน ดนตรีพืน้ บานเชน ขลุย กลองยาว 2. บอกแนวทางการประกอบอาชีพ แคน กลองกบั ผลิตเครื่องดนตรพี น้ื บา น 2. แนวทางขน้ั ตอนและวธิ กี ารผลติ 3. ข้ันตอนและวธิ ีการผลิตเครอ่ื ง เคร่ืองดนตรพี ้ืนบา น ดนตรพี น้ื บาน 3. ชองทางการจําหนาย 4. สามารถบอกชองทางการ จาํ หนา ย หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 341