Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 สาระการเรียนรู้

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 สาระการเรียนรู้

Published by Bunchana Lomsiriudom, 2020-07-17 04:56:11

Description: หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 สาระการเรียนรู้

Keywords: การศึกษาพื้นฐาน, กศน.,หลักสูตร 2551,กศน.เขตหนองแขม

Search

Read the Text Version

4 หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ ISBN 978-974-232-591-6 เอกสารลาดบั ที่ 46 /2555 พิมพ์คร้ังท่ี 1 / 2555 จานวน 5,000 เล่ม จัดทาตน้ ฉบับและเผยแพร่ กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ถนนราชดาเนินกลาง แขวงดสุ ิต เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 โทรศพั ท์ 02-2822853 โทรสาร 02-2813732 พมิ พท์ ่ี สานกั งานกจิ การโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก 2/9 ซอยกรุงเทพฯ-นนทบุรี 31 เขตบางซอ่ื กรุงเทพ 10800 โทร 0 2910 7001 โทรสาร. 0 2585 6466 หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554)

5 คํานํา กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 เมื่อวันท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอก โรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซึง่ เปนหลักสูตรทีพ่ ัฒนาขึน้ ตามหลักปรัชญา และความเชือ่ พืน้ ฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนทีม่ ีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูแ ละสั่งสม ความรูและประสบการณอยางตอเนื่อง อีกทัง้ ยังสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ พระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลือ่ น นโยบายทางการศึกษาเพื่อเพิม่ ศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพที่ สามารถสรางรายไดที่ มั่งคั่งและมั่นคง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปย มไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และ มจี ิตสํานกึ รับผิดชอบตอ ตนเองและผอู น่ื สํานักงาน กศน.จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรูทีค่ าดหวัง และเนื้อหาสาระมาตรฐาน ท้ัง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวง ศึกษาธิการ และปรับปรุงเอกสารประกอบการใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จาํ นวน 6 เรอ่ื ง คอื 1. เอกสารสาระทักษะการเรียนรู 2. เอกสารสาระความรูพื้นฐาน 3. เอกสารสาระการประกอบอาชีพ 4. เอกสารสาระทักษะการดําเนินชีวิต 5. เอกสารสาระการพัฒนาสังคม 6. แนวทางการจัดการศึกษาเพือ่ การมีงานทําตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ในการปรับปรุงเอกสารสาระการเรียนรูเ พิม่ เติมทัง้ 5 สาระ และจัดทําแนวทางการจัด การศึกษาเพือ่ การมีงานทําตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมืออยางดียิง่ จากผูท รงคุณวุฒิ ผูบ ริหาร ขาราชการบํานาญ ศึกษานิเทศก นักวิชาการ และครู จากสถานศึกษา รวมท้ังภาคเี ครอื ขา ยทเี่ กยี่ วของ ซ่ึงเปนผมู ีความรแู ละประสบการณใ นแตล ะสาระการเรียนรู ไดใหขอ คิดเหน็ ขอ เสนอแนะตางๆ ที่เปนประโยชน ทําใหเอกสารฉบับนีม้ ีความถูกตอง สมบูรณมากยิง่ ขึน้ สํานักงาน กศน. ขอขอบคุณในความรวมมือของทุกทานมา ณ โอกาสน้ี (นายประเสริฐ บญุ เรือง) เลขาธิการ กศน. หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554)



7 หนา้ สารบัญ 1 4 คานา 4 สารบัญ 5 สาระทักษะการเรียนรู้ 6 7 ผงั มโนทัศน์ 18 - ระดบั ประถมศกึ ษา 19 - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น 19 - ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 33 43 มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดบั และผลการเรียนรูท้ ีค่ าดหวัง 53 รายวชิ าบังคบั 55 คาอธิบายรายวชิ าและรายละเอียดคาอธิบายรายวิชาบังคับ 57 58 - ระดับประถมศกึ ษา 58 - ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น 59 - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 60 สาระความรูพ้ น้ื ฐาน 61 ผังมโนทศั น์ 69 วิชาภาษาไทย 71 ผังมโนทศั น์ 72 - ระดบั ประถมศึกษา 81 - ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 91 - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดับและผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวงั รายวิชาบงั คับ คาอธิบายรายวชิ าและรายละเอียดคาอธบิ ายรายวิชาบงั คับ - ระดบั ประถมศึกษา - ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2554)

8 101 สารบัญ (ต่อ) 102 102 วิชาภาษาต่างประเทศ 103 ผงั มโนทัศน์ 104 105 - ระดับประถมศึกษา 107 - ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ 109 - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 109 มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับและผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั 123 รายวิชาบังคบั คาอธบิ ายรายวชิ าและรายละเอียดคาอธิบายรายวิชาบังคบั 137 - ระดบั ประถมศึกษา 165 - ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 166 วชิ าคณิตศาสตร์ 166 ผงั มโนทัศน์ - ระดับประถมศึกษา 167 - ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 168 - ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 169 มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดบั และผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั 172 รายวชิ าบังคับ 173 คาอธิบายรายวิชาและรายละเอียดคาอธบิ ายรายวิชาบังคบั 173 - ระดบั ประถมศึกษา 181 - ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 189 - ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 195 วชิ าวิทยาศาสตร์ ผังมโนทัศน์ 196 - ระดับประถมศกึ ษา 196 - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 197 - ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 198 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554)

9 สารบัญ (ตอ่ ) 199 205 มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดบั และผลการเรยี นร้ทู ค่ี าดหวัง 207 รายวิชาบังคบั 208 คาอธบิ ายรายวชิ าและรายละเอียดคาอธิบายรายวชิ าบงั คับ 219 233 - ระดบั ประถมศึกษา 245 - ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 248 สาระการประกอบอาชพี 248 ผงั มโนทัศน์ 249 - ระดบั ประถมศกึ ษา 250 - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น 251 - ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 259 มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั และผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง รายวชิ าบงั คบั 261 คาอธบิ ายรายวิชาและรายละเอียดคาอธิบายรายวิชาบังคับ 261 - ระดบั ประถมศกึ ษา 277 - ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น 295 - ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 313 สาระทกั ษะการดาเนินชีวติ ผังมโนทัศน์ 316 - ระดบั ประถมศกึ ษา 316 - ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ 317 - ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 318 มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับและผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวงั 319 รายวิชาบังคับ 326 คาอธบิ ายรายวิชาและรายละเอียดคาอธิบายรายวิชาบังคับ 327 - ระดบั ประถมศกึ ษา 327 - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ - ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 343 359 หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554)



สาระทักษะการเรียนรู้

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 2

3 ทกั ษะการเรียนรู้ สาระทักษะการเรียนรู้ เป็นสาระเก่ียวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้าน การเรียนรู้ ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ การจัดการความรู้ การคิดเป็น และการวิจัยอย่างง่าย โดยมีวัตถุประสงค์ เพอื่ ให้ผูเ้ รยี นสามารถกาหนดเป้าหมาย วางแผนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เข้าถึงและเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ จัดการ ความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล ที่สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการช้ีนาตนเองใน การเรยี นรู้ และการประกอบอาชีพให้สอดคล้องกับหลักการพ้ืนฐาน และการพัฒนา 5 ศักยภาพของพ้ืนท่ีใน 5 กลุ่มอาชีพ คือ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การอานวยการ (การบริหาร จดั ก ารและบริการ) ตามยทุ ธศาสตร์ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้อยา่ งต่อเน่ืองตลอดชวี ิต หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2554) 3

4 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) ผังมโนทศั น 4 ระดับประถมศกึ ษา ความหมาย ความสําคัญของการวิจัยอยางงาย มาตรฐานท่ี 1.5 มาตรฐานท่ี 1.1 ความหมาย ความสาํ คัญของการเรียนรูดวยตนเอง กระบวนการ ข้ันตอนการดําเนินงาน การวิจยั อยางงา ย การเรียนรดู วยตนเอง ฝก ทกั ษะพ้ืนฐานทางการศกึ ษาหาความรู ทกั ษะการแกป ญหาและเทคนิคในการเรยี นรู ศกึ ษาทาํ ความเขา ใจกับความเช่ือพื้นฐานทางการศกึ ษาผใู หญ มาตรฐานท่ี 1.4 ทกั ษะการเรยี นรู เจตคต/ิ ปจจยั ท่ีทาํ ใหการเรยี นรูดว ยตนเองประสบความสาํ เรจ็ การศึกษานอกระบบการเชือ่ มโยงไปสกู ารเรยี นรูเรือ่ งความหมาย การคิดเปน เพือ่ พฒั นาศกั ยภาพ 5 กลุมอาชพี ใหม การเปด รบั โอกาสการเรยี นรู การคิดริเริม่ สรา งสรรค ความสาํ คญั ของการคดิ เปน และศกั ยภาพการประกอบอาชพี ในดา น การสรางแรงจงู ใจ การสรางวนิ ัยในตนเอง - ศกั ยภาพของทรพั ยากรมนุษยใ นแตละพนื้ ที่ การคดิ เชงิ บวก การใฝร ใู ฝเ รียน ความรับผดิ ชอบ - ศักยภาพของพ้ืนทต่ี ามสภาพภมู ิอากาศ มาตรฐานท่ี 1.3 มาตรฐานท่ี 1.2 ความหมาย ความสําคัญของแหลง เรียนรู - ศกั ยภาพของภมู ปิ ระเทศและทาํ เลทต่ี ั้งของแตล ะพน้ื ท่ี การจัดการความรู การใชแ หลงเรียนรู การเขาถึงและการใชแหลงเรียนรู หอ งสมุด สถานศกึ ษา ศนู ยก ารเรยี น ความหมาย ความสําคัญ หลักการ กฎ กติกา เงอ่ื นไขในการใชบ รกิ ารและศกั ยภาพ กระบวนการจัดการเรียนรู การรวมกลุม การประกอบอาชีพโดยเนน การพัฒนาความรู และการจดั ทําสารสนเทศ - ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาตใิ นแตล ะพ้นื ที่ ฝก ทกั ษะกระบวนการจดั การความรู - ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และ การรวมกลุมปฏบิ ัตกิ าร การพฒั นาความรู วถิ ีชวี ิตของแตละพ้ืนท่ี สรุปองคค วามรู และจดั ทําสารสนเทศองคค วามรู

5 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) ผงั มโนทัศน ทบทวนความหมาย ความสาํ คญั กระบวนการเรยี นรู 5 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน ความหมาย ความสาํ คัญการวิจัยอยา งงาย มาตรฐานท่ี 1.5 มาตรฐานท่ี 1.1 ฝก ทกั ษะพ้ืนฐานทางการศึกษา แกปญหา กระบวนการ และข้ันตอนของการดาํ เนินงาน การวิจยั อยางงา ย การเรียนรูดวยตนเอง เทคนิคในการเรียนรูดวยตนเอง ทักษะการวางแผน ศกึ ษา ฝกทักษะสถิตอิ ยางงา ยเพื่อการวิจยั การประเมินผลการเรียนรู การวิเคราะหวิจารณ เคร่ืองมอื การวิจัย และการเขยี นโครงการวจิ ัย ทกั ษะการเรียนรู มาตรฐานท่ี 1.2 เจตคติ/ปจจยั ทีทําใหก ารเรียนรูประสบความสาํ เรจ็ เพื่อพฒั นาศักยภาพ 5 กลุมอาชพี ใหม การใชแ หลงเรียนรู การเปดรับโอกาสการเรยี นรู การคดิ รเิ ริ่มสรา งสรรค ทบทวนความเขา ใจความเชอ่ื พ้ืนฐานทางการศกึ ษาผใู หญ การคิดเชิงบวก การสรางวินยั ตนเอง การใฝรใู ฝเ รียน การศกึ ษานอกระบบ การเชื่อมโยงไปสกู ารเรียนรู มาตรฐานท่ี 1.4 และความรบั ผดิ ชอบ ความหมาย ความสาํ คัญของการคิดเปน ความหมายความสาํ คัญของการใชแหลง เรียนประเภทตา ง ๆ การฝกทักษะในการพิจาณาขอมูล และการนําไปใช ศกึ ษา เรียนรูการใชอินเทอรเ นต็ การเขาถึงขอ มูลสารสนเทศ การฝกปฏิบตั ิการคิด การตดั สินใจอยางเปน ระบบในการแกป ญหา และศกั ยภาพการประกอบอาชพี โดยเนน - ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นท่ี - ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ิต ของแตล ะพื้นที่ การคดิ เปน มาตรฐานท่ี 1.3 ความหมาย ความสาํ คญั หลักการของการจดั การความรู ศึกษาทําความเขาใจกบั ความเช่อื พ้ืนฐานทางการศกึ ษา การจดั การความรู กระบวนการจดั การความรู การรวมกลุม ผูใ หญ การศกึ ษานอกระบบการเช่ือมโยงไปสกู ารเรียนรู การพัฒนาขอบขา ยความรู การจัดทําสารสนเทศเผยแพรค วามรู เร่อื งความหมายความสาํ คญั ของการคิดเปน และ ฝก ทักษะกระบวนการจดั การความรู การแสวงหา ศกั ยภาพการประกอบอาชพี ในดา น การประยุกตใ ชค วามรู การแลกเปล่ียนเรยี นรู - ศักยภาพของทรพั ยากรมนุษยในแตล ะพื้นท่ี และการพัฒนาขอบขา ยความรู - ศักยภาพของพน้ื ท่ีตามสภาพภมู ิอากาศ สรปุ องคค วามรู การจัดทําสารสนเทศองคความรู - ศกั ยภาพของภูมิประเทศและทาํ เลทตี่ ง้ั ของแตละพ้นื ท่ี

6 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) ทบทวนความหมาย ความสาํ คัญการวจิ ยั อยา งงาย มาตรฐานท่ี 1.5 ผงั มโนทัศน ทบทวนความหมาย ความสาํ คญั 6 กระบวนการ ขน้ั ตอนการดําเนินงาน สถิติอยางงายเพ่ือ การวิจัยอยางงาย ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานท่ี 1.1 กระบวนการเรียนรูด ว ยตนเอง การวจิ ยั เคร่ืองมือการวิจัย การเขียนโครงวิจัยอยางงาย ทบทวนการวางแผน การประเมนิ ผลการเรยี นรู ศกึ ษา ฝกทักษะการวิจยั ในบา น การเขยี นรายงานการวิจยั การเรียนรดู วยตนเอง ทกั ษะพ้ืนฐาน เทคนิคในการเรียนรดู ว ยตนเอง การนาํ เสนอและเผยแพรงานวจิ ัย และการวิเคราะหวิจารณ ทบทวนความรู ความเขา ใจ ความหมายของความเชอ่ื เจตคต/ิ ปจ จยั ท่ีทาํ ใหการเรยี นรูประสบความสาํ เร็จ พนื้ ฐานทางการศกึ ษา การเชื่อมโยงสกู ระบวนการคิด การเปดรับโอกาสการเรียนรู การคิดริเริ่มสรา งสรรค การคิดเชิงบวก การสรา งแรงจงู ใจ การใฝร ใู ฝเรียน การสรางวินยั ในตนเอง และความรับผิดชอบ ทบทวนความหมาย ความสาํ คญั ประเภทแหลง เรยี นรู ทบทวนความหมาย ความสําคัญของการคิดเปน ทกั ษะการเรียนรู มาตรฐานท่ี 1.2 ทบทวนการใชห อ งสมุด การเขา ถึงสารสนเทศ กระบวนการคดิ เปน เพ่ือแกป ญหาอยา งเปน ระบบ เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพ 5 กลมุ อาชพี ใหม การใชแ หลงเรียนรู ศึกษา สํารวจแหลง เรียนภายในชมุ ชน จดั กลุม การเปรยี บเทยี บลกั ษณะขอมูลทางดานวชิ าการ ตนเอง ประเภท และความสําคัญ และสังคม สงิ่ แวดลอ มที่แตกตางกัน ฝกปฏิบัตกิ ารเก็บ มาตรฐานท่ี 1.4 ศึกษาเรียนรูกับภูมปิ ญญา ปราชญ ผรู ใู นทอ งถินและ ขอ มลู วิเคราะห สงั เคราะหข อ มูล เพื่อประกอบการคดิ การคดิ เปน ศักยภาพการประกอบอาชีพโดยเนน ฝกปฏบิ ัติการคิดแกป ญ หาอยา งเปนระบบจากกรณีตวั อยาง สรปุ กระบวนการแกป ญ หาดว ยกระบวนการคดิ เปน จาก - ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตล ะพ้นื ที่ ขอมูลทีเ่ ก็บ และวเิ คราะหจ ากชมุ ชน - ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และ วิถีชวี ิตของแตละพ้ืนที่ ศกึ ษาทาํ ความเขาใจกับความเชอื่ พนื้ ฐานทางการศกึ ษาผูใหญ การศกึ ษานอกระบบการเชื่อมโยงไปสูก ารเรียนรเู รือ่ ง มาตรฐานท่ี 1.3 ทบทวนความหมาย ความสําคัญ หลักการของการจดั การเรยี นรู ความหมายความสาํ คัญของการคิดเปน และศักยภาพการ กระบวนการจัดการความรู การรวมกลุม การพัฒนาขอบขาย ประกอบอาชพี ในดา น การจดั การความรู ความรู การจดั ทาํ สารสนเทศเผยแพรค วามรู ฝกทักษะกระบวนการจัดการความรู การแสวงหาความรู การประยกุ ตใ ช แลกเปลี่ยนเรียนรู - ศกั ยภาพของทรพั ยากรมนษุ ยในแตล ะพ้ืนที่ สรุปองคความรู จดั ทาํ สารสนเทศ องคความรูใหม - ศักยภาพของพ้นื ท่ีตามสภาพภมู ิอากาศ และการนําไปใชใ นการพัฒนาตนเอง ครอบครัว - ศักยภาพของภมู ิประเทศและทําเลทตี่ ้งั ของแตล ะพนื้ ท่ี

มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดับ และ ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง

8 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) มาตรฐานท่ี 1.1 มีความร้คู วามเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติที่ดีต่อการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง 8 ระดับประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นร้ทู ่คี าดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวงั ความสามารถในการ 1. อธิบายความหมาย สามารถวิเคราะห์ 1. สามารถวิเคราะห์ สามารถประมวลความรู้ 1. ประมวลความรู้ และ ของการเรียนรดู้ ว้ ย เหน็ ความสาคัญ และ ความรูจ้ าก การอา่ น ทางานบนฐานข้อมูล สรปุ เปน็ สารสนเทศ แสวงหาความรู้ ปฏบิ ตั กิ ารแสวงหา การฟงั การสังเกต และ และมีความชานาญใน 2. ทางานบนฐานข้อมลู ดว้ ยตนเอง ตนเองและวิธีการ แสวงหาความรู้ด้วย ความรู้จากการอา่ น ฟัง และสรปุ ได้ถกู ต้อง การอ่าน ฟัง จดบันทึก ด้วยการแสวงหาความรู้ ตนเอง และสรุปได้ถกู ต้องตาม 2. สามารถจดั ระบบการ เปน็ สารสนเทศอยา่ ง จนเปน็ ลกั ษณะนิสัย แสวงหาความรู้ให้กับ คลอ่ งแคลว่ รวดเรว็ 3. มีความชานาญใน 2. ปฏบิ ัตติ นตาม หลักวิชาการ ทกั ษะการอ่าน ทกั ษะ ขั้นตอนการแสวงหา ตนเอง การฟงั และทกั ษะการจด ความรู้ด้วยตนเอง 3. ปฏบิ ตั ิตามขั้นตอนใน 3. เห็นคณุ ค่าของ การแสวงหาความรู้ บนั ทกึ อย่างคลอ่ งแคลว่ กจิ กรรมการแสวงหา เก่ยี วกับทกั ษะการอ่าน รวดเรว็ ความรู้ ทักษะการฟัง และทักษะ 4. สามารถนาความรู้ ความเขา้ ใจในเร่ือง 4. สามารถบอกหรือ การจดบนั ทกึ ยกตัวอย่างอาชพี ในกล่มุ 5 ศักยภาพของพืน้ ที่ อาชีพด้านการ 4. สามารถนาความรู้ และหลกั การพืน้ ฐาน ความเข้าใจในเร่ือง 5 เกษตรกรรมอุตสาหกรรม ศกั ยภาพของพ้นื ที่ และ ตามยทุ ธศาสตรต์ าม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พาณิชยกรรม ความคดิ หลักการพื้นฐานตาม 2555 ไปเพ่มิ ขดี สรา้ งสรรค์ การบริหาร ยุทธศาสตร์ 2555

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 9 9 ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นร้ทู ่ีคาดหวัง จดั การและการบริการ ที่ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไป ความสามารถการ สอดคล้องกบั ศักยภาพ เพิม่ ขีดความสามารถ ประกอบอาชพี โดยเนน้ ของพนื้ ท่ที ่ีตนเองอาศัยอยู่ การประกอบอาชีพโดย ท่ีกลุ่มอาชีพใหม่ ให้ ได้ เน้นทีก่ ลุ่มอาชพี ใหม่ ให้ แข่งขนั ได้ในตลาดสากล แขง่ ขนั ไดใ้ นระดบั ทอ้ งถ่ิน

10 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) มาตรฐานท่ี 1.2 มคี วามร้คู วามเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีตอ่ การใช้แหล่งเรยี นรู้ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 10 ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั รจู้ ัก เห็นคณุ คา่ และใช้ 1. บอกประเภท สามารถจาแนก จดั ลาดับ 1. จาแนกความแตกตา่ ง สามารถวางแผนและใช้ 1. วางแผนการใชแ้ หล่ง แหล่งเรยี นรู้ถกู ตอ้ ง คุณลักษณะของ ความสาคญั และเลอื กใช้ ของแหล่งเรยี นรู้ และ แหลง่ เรยี นรูไ้ ด้อย่าง เรยี นรูต้ ามความต้องการ แหลง่ เรยี นรูใ้ นชุมชน แหล่งเรียนรู้ ตัดสนิ ใจเลือกใช้แหล่ง คลอ่ งแคลว่ จนเป็น จาเปน็ ของ แต่ละบุคคล และเลอื กใช้แหลง่ เรียนรู้ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เรยี นรู้ ลกั ษณะนสิ ัย 2. ใช้แหลง่ เรียนรู้จาก ได้ตามความเหมาะสม 2. เรียงลาดับความสาคญั เทคโนโลยแี ละ 2. ใช้แหล่งเรียนรู้ ของแหลง่ เรียนรู้ และ นวตั กรรมตามความ อยา่ งเห็นคุณคา่ จัดทาระบบในการใช้ ต้องการจาเปน็ 3. ทาตามกฎ กติกา และ เรียนร้ขู องตนเอง 3. ใชแ้ หลง่ เรยี นรู้อยา่ ง ขั้นตอนการใช้ 3. สามารถปฏิบตั ิการใช้ แคลว่ คล่องจนเปน็ แหล่งเรยี นรู้ แหลง่ เรยี นร้ตู ามข้ันตอน ลกั ษณะนสิ ยั 4. สามารถบอกหรือ ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง 4. สามารถวางแผนและ ยกตวั อยา่ งแหลง่ เรียนรู้ เลือกใชแ้ หล่งเรียนรู้เพอ่ื เก่ียวกบั เกษตรกรรม 4. สามารถเลือกใช้ พฒั นาอาชีพของตนเอง แหล่งเรียนรดู้ า้ น อตุ สาหกรรม เกษตรกรรม และทอ้ งถิ่นได้อย่าง พาณชิ ยกรรม รวดเรว็ เหมาะสมกับ ความคดิ สรา้ งสรรค์ อตุ สาหกรรม ความสามารถ เช่น การ พาณิชยกรรม การบรหิ ารจัดการและ ความคิดสร้างสรรค์ หาตาแหน่งงานว่างจาก

11 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 11 มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรูท้ ีค่ าดหวงั การบริการของพ้นื ท่ีท่ี การบรหิ ารจัดการและ อนิ เทอร์เน็ต ฯลฯ ตนเองอาศยั อยู่ได้ การบรกิ ารเก่ียวกับอาชพี ของพืน้ ที่ทต่ี นเองอาศัย อยไู่ ดต้ ามความต้องการ

12 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) มาตรฐานที่ 1.3 มีความรคู้ วามเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติทีด่ ีตอ่ การจัดการความรู้ 12 ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวัง เข้าใจความหมาย 1. อธิบายความหมาย สามารถจาแนกผลท่ี 1. วิเคราะหผ์ ลที่เกิดขึน้ สามารถสรปุ องค์ 1. ออกแบบผลติ ภัณฑ์ เกดิ ขึ้นจากขอบเขต ของขอบเขตความรู้ ความรู้ใหม่ นาไป กระบวนการชุมชน กระบวนการชุมชน สรา้ งสตู ร สรุปองค์ ความรู้ ตัดสินคณุ ค่า ตดั สนิ คุณค่ากาหนด สรา้ งสรรคส์ ังคมอุดม ความรใู้ หมข่ องขอบเขต ปฏิบตั กิ ารและทาตาม ปฏิบัตกิ าร กาหนด กระบวนการจัดการ ขอบเขตความรู้จาก กาหนดแนวทางพัฒนา แนวทางพัฒนา ปัญญา ความรู้ ความรู้ชุมชน ความสามารถหลกั ของ 2. เห็นความสมั พนั ธ์ของ 2. ประพฤตติ นเปน็ ชุมชน และวิธกี าร กระบวนการจัดการ บุคคลแห่งการเรียนรู้ ยกระดับขอบเขตความรู้ ความรู้ กับการนาไปใช้ 3. สามารถจดั ทาแผนท่ี ให้สูงขึ้น ในการพัฒนาชมุ ชน ความคิดเกย่ี วกบั อาชีพ ในดา้ นต่าง ๆ ของชมุ ชน 2. รว่ มกนั แลกเปลีย่ น 3. ปฏบิ ัตติ าม เชน่ เกษตรกรรม เรยี นรู้ และสรปุ ผลการ กระบวนการการจดั การ อุตสาหกรรม เรยี นรทู้ ่ีบง่ ช้ีถงึ คณุ คา่ ความรไู้ ด้อย่างเป็น ระบบ พาณิชยกรรม ความคดิ ของกระบวนการจดั การ สรา้ งสรรค์ การบรหิ าร ความรู้ 4. สามารถนา จดั การ ได้อย่างถกู ต้อง กระบวนการจัดการ 3. สามารถสงั เกต และ ความร้ขู องชุมชนจาแนก 4. สร้างสรรค์สังคมอุดม ทาตามกระบวนการการ อาชีพในดา้ นต่าง ๆ ของ ปัญญา จัดการความร้ชู ุมชน ชุมชน คือ เกษตรกรรม

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 13 13 ระดับประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรทู้ ค่ี าดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวงั 4. สามารถนา อุตสาหกรรม กระบวนการจัดการ พิณชยกรรม ความรู้ของชมุ ชนไป ความคดิ สรา้ งสรรค์ เลือกประกอบอาชพี ที่ การบรหิ ารจัดการ เหมาะสมกบั ตนเองได้ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 14

15 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) มาตรฐานท่ี 1.4 มคี วามรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีตอการคิดเปน (ตอ ) 15 ระดับประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรู ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู ผลการเรยี นรูที่คาดหวัง 3. เขาใจลักษณะของ ส่ิงแวดลอมที่จดั เก็บ นําคุณธรรม จรยิ ธรรม ที่ เกี่ยวขอ งมาสง เสรมิ ขอมูลดานวิชาการ และทักษะในการ กระบวนการคดิ เปน ให มากขึ้น ตนเอง และสังคม วเิ คราะห สงั เคราะห 3. อภปิ ราย ถกแถลงถงึ ปญ หาและอุปสรรค สง่ิ แวดลอ ม และ ขอ มูลท้ังสามดา น ในการใชก ระบวนการ คิดเปน ประกอบการ สามารถเปรียบเทียบ เพอ่ื ประกอบการ แกป ญ หา 4. เชื่อมโยงปรัชญา ความแตกตางของขอ มูล ตดั สนิ ใจแกป ญหา คดิ เปน กระบวนการ เรียนรู การศึกษานอก ทั้งสามดาน 3. ปฏิบัติตามเทคนิค ระบบ 5. บอกลักษณะของ 4. เขาใจและบอกไดวา กระบวนการคิดเปน คนคดิ เปน ไดอ ยา งนอย 8 ประการ หลกั การ”คดิ เปน” และ ประกอบการตดั สนิ ใจ ความเช่อื พ้นื ฐานทาง ไดอยางเปนระบบ การศกึ ษาผูใ หญเปนเร่อื ง 4. สามารถนําความรู ทส่ี อดคลอ งกับ 5 ความเขาใจในเรอ่ื ง 5 ศกั ยภาพของพื้นที่ และ ศักยภาพของพน้ื ทต่ี าม หลักการพน้ื ฐานตาม ยทุ ธศาสตร ของ ยทุ ธศาสตรต าม กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2555 ในการนาํ ไปเพิ่ม 2555 ไปเพม่ิ ขดี ขีดความสามารถการ

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 16 16 ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรู ผลการเรียนรทู คี่ าดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู ผลการเรยี นรูทีค่ าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู ผลการเรยี นรูท ่ีคาดหวัง ประกอบอาชีพโดยเนน 5 ความสามารถการ 6. สามารถนําความรู กลมุ อาชีพใหมในระดับ ประกอบอาชพี โดยเนนที่ ความเขา ใจในเรอ่ื ง 5 ทอ งถ่นิ กลุม อาชีพใหม ให ศกั ยภาพ ของพ้ืนที่และ แขง ขันไดใ นระดบั ชาติ หลกั การพื้นฐานตาม ยทุ ธศาสตรต าม กระทรวงศึกษาธิการ 2555 ไปเพ่ิมขีด ความสามารถการ ประกอบอาชีพโดยเนนท่ี กลุมอาชพี ใหม ให แขง ขันไดใ นตลาดสากล

17 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) มาตรฐานท่ี 1.5 มคี วามรูความเขาใจ ทกั ษะ และเจตคติท่ีดีตอการวิจยั อยางงา ย 17 ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรู ผลการเรยี นรูท คี่ าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู ผลการเรยี นรูท ่ีคาดหวงั เขาใจความหมาย เห็น 1. อธิบายความหมาย สามารถวิเคราะหปญหา 1. ระบุปญหา ความจําเปน สามารถวางแผน 1. ออกแบบการวจิ ัย เพื่อ ความสําคัญ และ ความสําคัญ และข้ันตอน ความจําเปนเห็น วตั ถุประสงค และ การวิจยั ดําเนินการตาม คนหาความรู ความจริงที่ ปฏบิ ตั กิ ารรวบรวม ในการทําวิจัยอยางงาย ความสัมพันธของ ประโยชน ที่คาดวาจะ แบบแผนอยางถูกตอง ตองการคําตอบ ขอมลู วิเคราะหขอ มูล คนหาความรูความจริง กระบวนการวิจยั ไดรบั จากการวิจยั และ 2. ดาํ เนนิ การตามแบบ และสรุปผลการหา 2. เห็นความสําคัญของ กับการนําไปใชในชีวิต สืบคนขอมูลเพื่อทําความ แผนการวิจยั และ ความรู ความจริง การคนหาความรู ความ และดาํ เนนิ การวจิ ยั กระจางในปญหาการวิจัย วเิ คราะหข อมูล สรปุ จรงิ ทดลองตามขั้นตอน รวมทง้ั กําหนดวธิ กี ารหา สารสนเทศความรู ความ 3. ปฏบิ ตั กิ ารเก็บ ความรูความจริง จริงที่ตองการคําตอบ รวบรวมขอมูล วิเคราะห 2. เหน็ ความสมั พนั ธ 3. ใชก ระบวนการวจิ ยั อยา งงายเพอื่ เพ่ิม ขอมลู และสรุปผลการ ของกระบวนการวิจัยกับ ศกั ยภาพและขีด หาความรูความจริง การนําไปใชในชีวิต ความสามารถในการ 3. ปฏิบัติการศึกษาทดลอง ประกอบอาชีพสราง รวบรวม วิเคราะหขอมูล รายไดท ีม่ ง่ั คง่ั และม่ันคง และสรุปความรูความจริง ตามขั้นตอนไดอยาง ถกู ตอ ง ชัดเจน เชน การ วิเคราะหอาชีพ

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 18

ค�ำ อธบิ ายรายวิชา และ รายละเอยี ดค�ำ อธบิ ายรายวิชาบงั คบั ระดบั ประถมศกึ ษา

20 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทร11001 ทักษะกำรเรียนรู้ จำนวน 5 หน่วยกิต ระดับประถมศึกษำ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั สาระทักษะการเรียนรู้ เป็นสาระเก่ียวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านการเรียนรู้ ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ การจัดการความรู้ การคิดเป็น และการวิจัยอย่างง่าย โดยมีวัตถุประสงค์ เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนสามารถกาหนดเป้าหมาย วางแผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เข้าถึงและเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ จัดการ ความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล ท่ีสามารถใช้เป็นเคร่ืองมือในการช้ีนาตนเองใน การเรียนรู้ และการประกอบอาชีพให้สอดคล้องกับหลักการพื้นฐาน และการพัฒนา 5 ศักยภาพหลักของ พื้นท่ีใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ กลุ่มอาชีพด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจัดการเป็นการบริการ ตามยุทธศาสตร์ 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต ดงั นน้ั สาระทกั ษะการเรียนรรู้ ะดบั ประถมศกึ ษาจึงมีมาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดบั ดังนี้ 1. ความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 2. ร้จู ัก เห็นคณุ คา่ และใชแ้ หลง่ เรียนร้ถู กู ต้อง 3. เข้าใจ ความหมาย กระบวนการชุมชน และศักยภาพของชุมชนในการปฏิบัติการและทาตาม กระบวนการจัดการความรู้ชุมชน ดา้ นอาชีพ เพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันท่ีสามารถ สร้างรายได้ทีม่ ่งั ค่งั และมัน่ คง 4. ความสามารถในการอธบิ ายกระบวนการคิดเป็น และทักษะในการใช้กระบวนการคิดเป็นในการ แก้ปญั หา การเรยี นรแู้ ละการประกอบอาชีพได้อย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ 5. เข้าใจความหมาย เห็นความสาคญั และปฏิบตั กิ ารรวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะห์ขอ้ มูล และสรุปผลการ หาความรู้ ความจริง ในการเรียนรแู้ ละการประกอบอาชพี 6. เข้าใจความหมาย และเห็นความสาคัญของศักยภาพของพ้ืนที่ใน การเพิ่มขีดความสามารถของ การประกอบอาชีพ 5 กล่มุ อาชพี ใหม่ ศกึ ษำและฝกึ ทักษะเกย่ี วกบั เร่ืองดงั ต่อไปน้ี 1. กำรเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง ความหมาย ความสาคญั ของการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง ฝึกทกั ษะพ้ืนฐานทางการศกึ ษาหาความรู้ ทักษะการแกป้ ัญหาและเทคนิคในการเรียนรูด้ ้วย ตนเอง ดา้ นการอา่ น การฟงั การสงั เกต การจา และการจดบนั ทกึ เจตคติ/ปัจจยั ทท่ี าใหก้ ารเรียนรดู้ ้วยตนเองประสบความสาเร็จ การเปิดรับโอกาสการเรียนรู้ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2554) 20

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 21

22 6. ทักษะการเรยี นรู้ และศักยภาพหลกั ของพื้นทใี่ นการพัฒนาอาชีพ ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ทักษะการเรียนรู้ เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือในการเพิ่มศักยภาพและ ขีดความสามารถในการแข่งขันใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ กลุ่มอาชีพด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจัดการและการบริการ โดยคานึงถึงศักยภาพหลักของพ้ืนท่ี คือ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ในแต่ละพืน้ ท่ี ศกั ยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของ ภูมิประเทศ และทาเลท่ีต้ังของแต่ละพ้ืนท่ี ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละ พน้ื ที่ และศกั ยภาพของทรัพยากรมนษุ ย์ในแต่ละพื้นท่ี การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ 1. การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์ในการ เรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เพ่ือ 1) ฝึกให้ผู้เรียนได้กาหนดเป้าหมาย และวางแผนการเรียนรู้ 2) เพ่ิมพูนให้มี ทกั ษะพ้ืนฐานในการอ่าน ฟัง สังเกต จา จดบันทึก 3) มีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองท่ีทาให้การเรียนรู้ ด้วยตนเองประสบผลสาเรจ็ และนาความรู้ไปใชใ้ นวถิ ชี วี ติ ให้เหมาะสมกับตนเอง และชุมชน/สังคม 2. การใชแ้ หล่งเรียนรู้ ตอ้ งใหผ้ ู้เรียนทุกคนไปศึกษาห้องสมุดประชาชนอาเภอ ทาความเข้าใจบทบาท หน้าท่ี กฎ กติกา เงอ่ื นไขการใหบ้ ริการ เพือ่ ใช้ห้องสมุดประชาชนให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการ ความจาเป็นในการนาไปใช้ ในการเรียนรู้ของตนเอง รวมท้ังมอบหมายให้ผู้เรียนไปศึกษาจากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เช่นภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ชุมชน 3. การจดั การความรู้ ศึกษาค้นคว้าหลักการ และกระบวนการของการจัดการความรู้ การฝึกปฏิบัติจริงโดย การรวมกลุ่มปฏิบัติการ/ชุมชนปฏิบัติการ (Community of practice = Cops) สรุปองค์ความรู้ของกลุ่มและ จัดทาสารสนเทศเผยแพร่ความรู้ 4. การคิดเปน็ ให้ผู้เรียนได้ศึกษาทาความเข้าใจกับความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่/การศึกษานอกระบบ ด้วยกระบวนการอภิปรายกลุ่มและร่วมสรุปสาระสาคัญที่เช่ือมโยงไปสู่การคิดเป็นด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล ทัง้ ดา้ นวิชาการ ตนเอง สงั คม และส่ิงแวดล้อม และนาไปสกู่ ารคดิ และการแกป้ ัญหาตามกระบวนการคิดเป็น ที่มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุข จากใบงานและใบความรู้ต่าง ๆ ที่มีการจัดเตรียมไว้ให้ผู้เรียน มีโอกาสฝึกทักษะในการคิด การให้เหตุผลในการแก้ปัญหาหลากหลายชนิดที่เสนอขึ้นมาเป็นกรณีตัวอย่าง และสรุปให้เห็นว่าการแก้ปัญหาตามกระบวนการคิดเป็นน้ันต้องใช้ข้อมูลประกอบอย่างน้อย 3 ประการ ดงั กลา่ ว หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 22

23 5. การวจิ ัยอยา่ งงา่ ย จัดให้ผู้เรียนไดศ้ กึ ษา คน้ คว้า เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง ฝกึ ทักษะการสังเกตและคน้ หาปญั หา ท่ีพบในชีวิตประจาวัน / ในสาระท่ีเรียน การตั้งคาถาม การแลกเปล่ียนเรียนรู้กับเพ่ือน / ผู้รู้ การคาดเดา คาตอบอยา่ งมเี หตุผล การฝกึ ปฏิบตั ิการเขียนโครงการวจิ ัยงา่ ย ๆ การเก็บรวบรวมข้อมลู การสรุปข้อมูลและ เขยี นรายงานผลอย่างง่าย ๆ 6. ทักษะการเรยี นรแู้ ละศักยภาพหลกั ของพนื้ ทใี่ นการพัฒนาอาชีพ จัดให้ผเู้ รียนท้ังรายบุคคล/กลุม่ ไดศ้ กึ ษา ประยุกตท์ กั ษะการเรียนรู้ โดยคานงึ ถงึ พื้นฐานศักยภาพ แต่ละพนื้ ที่ ทมี่ คี วามแตกต่าง และมคี วามตอ้ งการของทอ้ งถิน่ ไม่เหมอื นกัน ในการเพิ่มขีดความสามารถของ การประกอบอาชีพ 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ กลุ่มอาชีพด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิด สร้างสรรค์ การบริหารจัดการและการบริการ เพื่อสร้างอาชีพ และรายได้ อย่างมั่นคง และย่ังยืนอย่าง ต่อเน่อื ง การวดั และประเมินผล 1. การเรียนรดู้ ้วยตนเอง ใชก้ ารประเมินจากสภาพจรงิ ของผู้เรยี นท่แี สดงออกเกีย่ วกับ การกาหนดเป้าหมาย และวางแผน การเรยี นรู้ รวมทกั ษะพ้นื ฐานและเทคนิคในการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ตลอดจนปัจจัยทีท่ าให้การเรยี นร้ปู ระสบ ความสาเรจ็ 2. การใชแ้ หล่งเรียนรู้ ขอ้ มลู จากการนาเสนอ ซึ่งเป็นผลจากการศึกษาจากแหลง่ เรยี นรู้ในรปู แบบต่างๆ เช่นการเขยี น รายงาน การรว่ มกันอภปิ ราย การนาในการพบกล่มุ เป็นต้น 3. การจัดการความรู้ จากการสังเกต ความสนใจ การแสดงความคิดเห็น การมีส่วนร่วม การให้ความร่วมมือ ในกล่มุ ปฏิบัติการ ผลงาน/ช้ินงานจากการรวมกลุ่มปฏิบัติการ ใช้วิธีการประเมินแบบมีส่วนร่วมระหว่างครู ผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้องร่วมกันประเมินตีค่าความสามารถ ความสาเร็จกับเป้าหมายท่ีวางไว้ และระบุ ข้อบกพรอ่ งท่ีต้องแกไ้ ข ส่วนทีท่ าได้ดีแล้วกพ็ ฒั นาให้ดยี ิ่งขน้ึ ต่อไป 4. การคดิ เป็น ประเมินจากการร่วมอภิปรายของผู้เรียน และจากการใช้ข้อมูลทางวิชาการ ตนเอง และสังคม ส่ิงแวดล้อม มาประมวลใช้ประกอบการคดิ การตัดสินใจแกป้ ัญหาอย่างเหมาะสมและพอเพยี งของผ้เู รยี น หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 23

24 22 5. การวิจยั อย่างงา่ ย จากการสังเกต ความสนใจ การมีส่วนร่วม ความร่วมมือ จากผลงาน / ช้ินงานที่มอบหมายให้ ฝกึ ปฏิบตั ิ ในระหวา่ งเรยี นและการสอบปลายภาคเรยี น 6. ทกั ษะการเรียนรู้และศักยภาพหลักของพืน้ ที่ในการพฒั นาอาชีพ จากการสังเกต ความสนใจ การมีส่วนร่วม ความร่วมมือ จากผลงาน / ชิ้นงานที่มอบหมายให้ ฝึกปฏบิ ัติ ในระหวา่ งการเรยี นและการสอบปลายภาคเรยี น หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) 24

25 รายละเอียดคาอธบิ ายรายวิชา ทร11001 วชิ าทักษะการเรียนรู้ สาระทกั ษะการเรียนรู้ จานวน 5 หนว่ ยกิต ระดบั ประถมศึกษา มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั 1. ความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 2. ร้จู ัก เห็นคณุ คา่ และใชแ้ หล่งเรียนรู้ถกู ตอ้ ง 3. เข้าใจ ความหมาย กระบวนการชุมชน และศักยภาพของชุมชนในการปฏิบัติการและทาตาม กระบวนการจดั การความร้ชู มุ ชน เพอื่ เพ่มิ ขดี ความสามารถในการประกอบอาชพี 4. ความสามารถในการอธิบายกระบวนการคิดเป็น และทักษะในการใช้กระบวนการคิดเป็นในการ แก้ปญั หา การเรียนรแู้ ละการประกอบอาชพี ได้อย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวิต 5. เข้าใจความหมาย เห็นความสาคัญ และปฏบิ ัติการรวบรวมข้อมูล วเิ คราะห์ขอ้ มูล และสรุปผลการ หาความรู้ ความจริง ในการเรยี นรแู้ ละการประกอบอาชีพ 6. เข้าใจความหมาย และเห็นความสาคัญของศักยภาพหลักของพื้นที่ในการเพิ่มขีดความสามารถ ของการประกอบอาชพี 5 กลมุ่ อาชีพใหม่ จานวน ท่ี หวั เรอื่ ง ตวั ชี้วดั เนื้อหา (ชว่ั โมง) 1 การเรียนรู้ 1. รู้ เขา้ ใจความหมาย ตระหนัก 1. ความหมาย ความสาคญั ของการ 3 ดว้ ยตนเอง และเหน็ ความสาคญั ของการ เรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง เรยี นรูด้ ้วยตนเอง 2. สามารถกาหนดเป้าหมายและ 2. การกาหนดเป้าหมายและ 8 วางแผนการเรียนรู้ วางแผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้วยตนเอง 3. มที กั ษะพืน้ ฐานทางการศกึ ษา 3. ทักษะพน้ื ฐานทางการศกึ ษาหาความรู้ 15 หาความรู้ ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการแกป้ ัญหา และเทคนคิ ในการ และเทคนิคในการเรยี นรดู้ ้วย เรยี นร้ดู ้วยตนเอง (การอา่ น การฟงั การ ตนเอง สงั เกต การจา และการจดบันทึก) 4. สามารถอธบิ ายปจั จยั ทีท่ าให้ 4. เจตคต/ิ ปัจจัย ท่ีทาให้การเรยี นรู้ด้วย 8 การเรยี นรูด้ ้วยตนเองประสบ ตนเองประสบความสาเรจ็ (การเปิดรับ โอกาสการเรยี นรู้ การคิดริเร่ิมและ ความสาเร็จ เรยี นร้ดู ้วยตนเอง การสรา้ งแรงจงู ใจ การสร้างวินยั ในตนเอง การคิดเชงิ บวก หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2554) 25

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 26

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 27

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 28

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 29

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 30

31 ที่ หัวเร่อื ง ตัวชว้ี ัด เนอ้ื หา จานวน (ช่ัวโมง) เร่ืองทีท่ ำวิจัย 5 3.2 วัตถุประสงคก์ ำรวิจัย 5 3.3 ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั จำกกำรวิจยั 20 3.4 เอกสำรท่เี ก่ียวข้อง 3.5 วธิ ดี ำเนนิ กำรวจิ ัย 3.6 กำรวิเครำะห์ข้อมลู 3.7 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 3.8 เอกสำรอำ้ งองิ 6 ทกั ษะการ 1. ร้เู ข้าใจความหมาย ตระหนกั 1. ความหมาย ความสาคญั ของศกั ยภาพ เรียนรแู้ ละ และเห็นความสาคัญ ศกั ยภาพ หลักในการพัฒนาอาชีพ ศักยภาพ หลักของพ้นื ท่ี 5 ศักยภาพ 2. การวิเคราะห์ศักยภาพหลกั ของพื้นท่ี หลักของ 2. อธิบายถึง องค์ประกอบของ ในการพัฒนาอาชีพ พนื้ ทีใ่ นการ ศักยภาพ 5 ศักยภาพ 2. 1 ศักยภาพของ พัฒนา 3. ยกตวั อยา่ งการใช้ศักยภาพ 5 ทรัพยากรธรรมชาติ ในแตล่ ะพ้ืนท่ี อาชพี ศักยภาพ โดยคานงึ ถึงศักยภาพแล พบรบิ มรอบ ๆ ตัวผู้เรียน 2.2 ศักยภาพของพนื้ ที่ตามลักษณะ ภูมิอากาศ 2.3 ศักยภาพของภมู ิประเทศ และ ทาเลท่ีตงั้ ของแตล่ ะพื้นที่ 2.4 ศกั ยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชวี ิตของแต่ละพื้นท่ี 2.5 ศักยภาพของทรัพยากรมนษุ ย์ใน แตล่ ะพืน้ ที่ 3. ตัวอยา่ งอาชีพท่ีสอดคลอ้ งกบั ศักยภาพหลักของพื้น คือ 3.1 กลมุ่ อาชพี ด้านการเกษตรกรรม 3.2 กลุ่มอาชีพดา้ นอุตสาหกรรม 3.3 กลุ่มอาชีพด้านพาณชิ ยกรรม หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) 31

32 ท่ี หัวเร่ือง ตัวช้วี ัด เนื้อหา จานวน 3.4 กลุ่มอาชพี ด้านความคดิ (ช่วั โมง) สรา้ งสรรค์ 3.5 กลุ่มอาชพี ด้านบรหิ ารจัดการ และการบริการ หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2554) 32

ค�ำ อธบิ ายรายวิชา และ รายละเอียดคำ�อธบิ ายรายวชิ าบังคับ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

34 อธิบายรายวิชา ทร21001 ทักษะการเรยี นรู้ จานวน 5 หนว่ ยกติ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ สาระทักษะการเรียนรู้ เป็นสาระเก่ียวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านการเรียนรู้ ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ การจัดการความรู้ การคิดเป็น และการวิจัยอย่างง่าย โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือให้ผเู้ รียนสามารถกาหนดเปา้ หมาย วางแผนการเรียนรดู้ ้วยตนเอง เข้าถึงและเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ จัดการ ความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล ท่ีสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการช้ีนาตนเองใน การเรียนรู้ และการประกอบอาชีพให้สอดคล้องกับหลักการพ้ืนฐาน และการพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจัดการและ การบริการ ตามยุทธศาสตร์ 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ดังนั้นสาระทักษะการ เรียนรู้ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้นมมี าตรฐานการเรยี นรู้ระดบั ดงั นี้ 1. สามารถวิเคราะห์ เห็นความสาคัญ และปฏิบัติการแสวงหาความรู้จากการอ่าน ฟัง และสรุปได้ ถูกต้องตามหลักวิชาการ 2. สามารถจาแนก จัดลาดับความสาคัญ และเลือกใช้แหล่งเรียนรไู้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. สามารถจาแนกผลทเ่ี กิดขึน้ จากขอบเขตความรู้ ตดั สนิ คณุ ค่า กาหนดแนวทางพัฒนา 4. ความสามารถในการศึกษา เลือกสรร จัดเก็บ และการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลทั้งสามประการ และการใชเ้ ทคนคิ ในการฝกึ ทักษะ การคิดเปน็ เพือ่ ใช้ประกอบการตัดสินใจแก้ปญั หา 5. สามารถวิเคราะห์ปัญหา ความจาเป็น เห็นความสัมพันธ์ของกระบวนการวิจัยกับการนาไปใช้ใน ชวี ติ และดาเนินการวิจยั ทดลองตามขัน้ ตอน 6. สามารถจาแนก และวิเคราะห์ ทักษะการเรียนรู้ และศักยภาพหลักของพื้นท่ีในการเพิ่มขีด ความสามารถของการประกอบอาชพี ใน 5 กลุม่ อาชพี ใหม่ ศกึ ษาและฝกึ ทักษะเกย่ี วกับเรื่องดังตอ่ ไปน้ี 1. การเรียนรูด้ ้วยตนเอง ทบทวน ความหมาย ความสาคัญ และกระบวนการของการเรยี นรู้ด้วยตนเอง ทบทวนทกั ษะพืน้ ฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทักษะการแกป้ ัญหาและเทคนิคในการเรียนรดู้ ว้ ย ตนเอง ด้านการอา่ น การฟงั การสังเกต การจา และการจดบนั ทึก ฝึกทักษะการวางแผนการเรียนรู้ และการประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทักษะพื้นฐานและเทคนิค ในการเรียนรู้ด้วยตนเองในเรื่องการวางแผน การประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการวิเคราะห์วิจารณ์ เจตคติ/ปัจจัย ที่ทาให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ การเปิดรับโอกาสการเรียนรู้ หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) 34

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 35

36 6. ทกั ษะการเรียนรู้ และศักยภาพหลกั ของพ้ืนท่ีในการพฒั นาอาชีพ ศึกษา วิเคราะห์ และจาแนกใช้ทักษะการเรียนรู้ และศักยภาพหลักของพื้นที่ในการเพ่ิมขีด ความสามารถของการประกอบอาชีพใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ กลุ่มอาชีพด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจัดการและการบริการ โดยคานึงถึงศักยภาพหลักของพ้ืนที่ คอื ศักยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติ ในแตล่ ะพ้ืนท่ี ศกั ยภาพของพ้ืนท่ีตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของ ภูมิประเทศ และทาเลที่ต้ังของแต่ละพื้นท่ี ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละ พนื้ ท่ี และศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษยใ์ นแต่ละพน้ื ที่ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 1. การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์ในการ เรียนรู้ท่ีหลากหลาย ซับซ้อน อย่างสร้างสรรค์ เพื่อ 1) ฝึกให้ผู้เรียนได้กาหนดเป้าหมาย และวางแผนการ เรียนรู้ 2) เพ่ิมพูนใหม้ ีทักษะพ้นื ฐานในการการวางแผน การประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง การวิเคราะห์ วิจารณ์ 3) มีเจตคติที่ดตี ่อการเรียนร้ดู ้วยตนเองที่ทาให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบผลสาเร็จ และนาความรู้ ไปใช้ในวถิ ีชวี ิตใหเ้ หมาะสมกบั ตนเอง และชุมชน/สงั คม 2. การใชแ้ หล่งเรียนรู้ ให้ผู้เรียนศกึ ษาสารสนเทศ จากระดับชุมชนสู่ระดับจังหวัด ประเทศ และโลก การเรียนรู้การใช้ อินเตอร์เน็ต และแหล่งเรียนรู้ได้สอดคล้องกับความต้องการ ความจาเป็นในการนาไปใช้ในการแสวงหา ข้อมลู เพ่อื การเรียนรูข้ องตนเอง 3. การจัดการความรู้ ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าหลักการ และกระบวนการของการจัดการความรู้ การฝึกปฏิบัติจริงโดย การรวมกลุ่มปฏิบัติการ/ชุมชนปฏิบัติการ (Community of practice = Cops) สรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม แลกเปล่ียนเรียนรรู้ ะหว่างกลมุ่ ยกระดับความรู้ และจดั ทาสารสนเทศเผยแพรค่ วามรู้ 4. การคดิ เป็น ใหผ้ ูเ้ รยี นทีย่ ังไม่เคยเรียนสาระน้ีมาก่อนได้ศึกษาเล่าเรียน และฝึกทักษะการคิด การตัดสินใจใน รายละเอยี ด เช่นเดียวกับในระดับประถมศึกษา สาหรับผู้เรียนที่ได้เรียนสาระน้ีมาก่อนแล้วควรจัดให้ผู้เรียน ได้ทบทวน ทาความเข้าใจกับการเช่ือมโยง ความเช่ือพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่/การศึกษานอกระบบมาสู่ การคดิ เป็นคลา้ ยกระบวนการอภปิ ราย ถกแถลงอยา่ งกวา้ งขวาง หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 36

37 ใหผ้ เู้ รียนได้ศึกษาทาความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะของข้อมลู ทางดา้ นวชิ าการ ตนเอง และสงั คม ส่งิ แวดลอ้ ม จากเอกสาร แหล่งความรู้ ใบความรู้ ฯลฯ และใหม้ ีการฝึกอธบิ ายและยกตัวอย่าง เพื่อ เปรยี บเทยี บใหเ้ หน็ ความแตกต่างของลักษณะข้อมลู ทัง้ 3 ประการ ควรใหม้ ีการทาใบงานในการฝกึ ปฏิบัติ เพ่อื เพิ่มประสบการณ์ในการเรียนร้ลู ักษณะของข้อมลู ทัง้ 3 ด้าน ให้ผู้เรียนมีโอกาสฝึกปฏิบัติในการทาแบบฝึกหัดในใบงาน และการอภิปรายถกแถลงถึง กระบวนการคดิ แกป้ ัญหาอย่างการคดิ เปน็ ท่ตี ้องใชข้ อ้ มลู และกระบวนการคิด แกป้ ญั หาอย่างคนคิดเป็นจาก กรณีตัวอย่างทีห่ ลากหลายยิ่งข้ึน 5. การวจิ ัยอย่างง่าย จดั ให้ผูเ้ รียนได้ศึกษา ค้นควา้ เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง ฝกึ ทักษะการสงั เกตและค้นหาปัญหา ที่พบในชีวิตประจาวัน / ในสาระท่ีเรียน การต้ังคาถาม การแลกเปล่ียนเรียนรู้กับเพื่อน / ผู้รู้ การคาดเดา คาตอบอยา่ งมเี หตผุ ล / การต้งั สมมตฐิ าน การฝกึ ปฏิบตั ิการเขียนโครงการวจิ ยั ทม่ี คี วามซับซ้อนขึ้น การเก็บ รวบรวมข้อมูล การสร้างเครื่องมือ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพ้ืนฐาน การนาเสนอข้อมูล การสรุป ข้อมลู และเขยี นรายงานผล การเผยแพร่ขอ้ คน้ พบ 6. ทักษะการเรยี นรู้ และศกั ยภาพหลกั ของพื้นทีใ่ นการพฒั นาอาชพี จัดให้ผู้เรียนทั้งรายบุคคล/กลุ่มได้ศึกษา วิเคราะห์ จาแนกทักษะการเรียนรู้ โดยคานึงถึง ศกั ยภาพหลักของแตล่ ะพนื้ ที่ ท่มี ีความแตกต่าง และมีความต้องการของท้องถิ่นที่ไม่เหมือนกัน เพ่ือเพ่ิมขีด ความสามารถของการประกอบอาชีพใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ กลุ่มอาชีพด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบรหิ ารจัดการและการบรกิ าร เพ่ือสร้างอาชีพ และรายได้ อย่างม่ันคง และย่งั ยืนอยา่ งตอ่ เนื่อง การวดั และประเมินผล 1. การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง ใช้การประเมินจากผลงานของผู้เรียนท่ีแสดงออกเก่ียวกับ การกาหนดเป้าหมาย และวางแผนการ เรียนรู้ รวมทักษะพื้นฐานและเทคนิคในการเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดจนปัจจัยท่ีทาให้การเรียนรู้ประสบ ความสาเร็จ 2. การใชแ้ หล่งเรียนรู้ จากการสังเกต ความสนใจ การมีส่วนร่วมและ ผลงานท่ีได้ใชป้ ระโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ 3. การจัดการความรู้ จากการสังเกต ความสนใจ การแสดงความคิดเห็น การมีส่วนร่วม การให้ความร่วมมือ ในกลุ่มปฏิบัติการ ผลงาน/ชิ้นงานจากการรวมกลุ่มปฏิบัติการ ใช้วิธีการประเมินแบบมีส่วนร่วม หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 37

38 ระหว่างครู ผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้องร่วมกันประเมินตีค่าความสามารถ ความสาเร็จกับเป้าหมายท่ี วางไว้ และระบุขอ้ บกพร่องที่ตอ้ งแกไ้ ข สว่ นทท่ี าไดด้ แี ลว้ กพ็ ฒั นาให้ดยี ง่ิ ข้นึ ตอ่ ไป 4. การคิดเป็น ประเมินจากการอภิปราย การทาแบบฝึกหัด ทาใบงาน และการสังเกตจากการอภิปราย ถกแถลง การให้เหตุผล ความรอบคอบและละเอียดย่ิงข้ึน ความพอเพียง และความเหมาะสมใน การแสวงหาขอ้ มลู ทงั้ 3 ประการ ประกอบการคดิ การตดั สนิ ใจ 5. การวจิ ัยอย่างงา่ ย จากการสังเกต ความสนใจ การมีส่วนร่วม ความร่วมมือ จากผลงาน / ช้ินงานที่มอบหมายให้ ฝกึ ปฏบิ ัติ ในระหว่างเรียน และการสอบปลายภาคเรียน 6. ทักษะการเรียนรู้ และศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนท่ีในการพฒั นาอาชีพ จากการสงั เกต ความสนใจ การมสี ่วนร่วม ความร่วมมือ จากผลงาน / ชิน้ งานทีม่ อบหมายให้ฝึก ปฏิบัติ และการประเมินแบบมีสว่ นร่วม หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) 38

39 รายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวชิ า ทร21001 ทักษะการเรียนรู้ จานวน 5 หนว่ ยกติ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั 1. สามารถวิเคราะห์ เห็นความสาคัญ และปฏิบัติการแสวงหาความรู้จากการอ่าน ฟัง และสรุปได้ ถูกต้องตามหลักวชิ าการ 2. สามารถจาแนก จดั ลาดับความสาคญั และเลอื กใช้แหลง่ เรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. สามารถจาแนกผลท่เี กิดข้นึ จากขอบเขตความรู้ ตดั สินคณุ คา่ กาหนดแนวทางพฒั นา 4. ความสามารถในการศึกษา เลือกสรร จัดเก็บ และการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลท้ังสามประการ และการใชเ้ ทคนิคในการฝกึ ทกั ษะ การคดิ เปน็ เพื่อใช้ประกอบการตดั สนิ ใจแก้ปญั หา 5. สามารถวเิ คราะห์ปัญหา ความจาเป็น เห็นความสัมพันธ์ของกระบวนการวิจัยกับการนาไปใช้ใน ชวี ิต และดาเนินการวจิ ัยทดลองตามข้นั ตอน 6. สามารถจาแนก และวิเคราะห์ทักษะการเรียนรู้ และศักยภาพหลักของพ้ืนที่ในการเพิ่มขีด ความสามารถของการประกอบอาชพี 5 กลุม่ อาชพี ใหม่ ท่ี หัวเรอ่ื ง ตัวช้วี ัด เน้อื หา จานวน 1 การเรียนรู้ (ชว่ั โมง) 1. บอกความหมาย ตระหนกั และ 1. ความหมาย ความสาคัญของการ ด้วยตนเอง เห็นความสาคัญของการเรยี นรู้ เรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง 3 3 ด้วยตนเอง 2. การกาหนดเป้าหมาย และการวาง 3 2. มีทักษะพื้นฐานทางการศึกษา แผนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง 4 หาความรู้ ทักษะการแก้ปัญหา 3. ทกั ษะพ้นื ฐานทางการศกึ ษาหาความรู้ 6 15 และเทคนิคในการเรยี นร้ดู ว้ ย ทักษะการแกป้ ญั หา แล ะเทคนคิ ในการ ตนเอง เรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง 3. อธบิ ายปจั จัยทที่ าให้การเรียนรู้ 4. ปัจจัยทท่ี าให้การเรียนร้ดู ้วยตนเอง ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ ประสบความสาเรจ็ 4. สามารถวางแผนการเรยี นรแู้ ละ 5. การวางแผนการเรยี นรู้ และ การ การประเมินผลการเรยี นรู้ดว้ ย ประเมนิ ผลการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง ตนเองได้ 6. การฝกึ ทกั ษะวางแผนการเรียนรู้และ การประเมินผลการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การวิจารณ์ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2554) 39

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 40

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 41