Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 สาระการเรียนรู้

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 สาระการเรียนรู้

Published by Bunchana Lomsiriudom, 2020-07-17 04:56:11

Description: หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 สาระการเรียนรู้

Keywords: การศึกษาพื้นฐาน, กศน.,หลักสูตร 2551,กศน.เขตหนองแขม

Search

Read the Text Version

42 ที่ หัวเร่อื ง ตัวชีว้ ดั เน้อื หา จานวน (ชวั่ โมง) 6 ทกั ษะการ 1. บอกความหมาย ตระหนักและ 1. ความหมาย ความสาคญั ของทักษะ เรยี นรแู้ ละ เหน็ ความสาคัญ ของทักษะการ การเรยี นรู้และศักยภาพหลักของพืน้ ท่ี 2 ศกั ยภาพ เรียนรู้ และศกั ยภาพหลกั ของ 2. ทกั ษะการเรียนร้พู ้ืนฐาน และเทคนิค 3 หลักของ พนื้ ท่ี วิธีทางศึกษาหาความรู้ 10 15 พน้ื ที่ในการ 2. มที ักษะการเรียนรพู้ ้ืนฐาน และ 3. การเข้าถึงและการเลอื กใช้ศักยภาพ พฒั นา เทคนิควธิ ีในการแสวงหาความรู้ หลักของพืน้ ที่ อาชีพ 3. สามารถบอกอาชีพในกลุม่ 4. ตัวอย่างอาชีพในกลมุ่ อาชีพด้าน อาชพี ใหม่ ไดแ้ ก่ ก ลมุ่ อาชีพดา้ น 4.1 การเกษตรกรรม เกษตรกรรม อุตสาหกรรม 4.2 อตุ สาหกรรม พาณชิ ยกรรม ความคดิ 4.2 พาณิชยกรรม สรา้ งสรรค์ การบริหารจดั การและ 4.3 ความคิด สรา้ งสรรค์ การบรกิ าร 4.4 บรหิ ารจัดการ และการบริการ 4. สามารถบอกและยกตัวอย่าง ท่สี อดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพหลกั ของพ้ืน ทักษะการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ศักยภาพ 5 กลมุ่ อาชพี ใหม่ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2554) 42

ค�ำ อธบิ ายรายวิชา และ รายละเอยี ดค�ำ อธบิ ายรายวิชาบงั คับ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

44 คำอธิบำยรำยวิชำ ทร31001 ทกั ษะกำรเรยี นรู้ จำนวน 5 หนว่ ยกติ ระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดับ สาระทักษะการเรียนรู้ เป็นสาระเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านการเรียนรู้ ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ การจัดการความรู้ การคิดเป็น และการวิจัยอย่างง่าย โดยมีวัตถุประสงค์ เพอ่ื ให้ผู้เรียนสามารถกาหนดเป้าหมาย วางแผนการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง เข้าถึงและเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ จัดการ ความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล ท่ีสามารถใช้เป็นเคร่ืองมือในการช้ีนาตนเองใน การเรียนรู้ และการประกอบอาชีพให้สอดคล้องกับหลักการพื้นฐาน และการพัฒนา 5 ศักยภาพหลักของ พื้นท่ีใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ กลุ่มอาชีพดด้าน เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิด สร้างสรรค์ การบริหารจัดการและการบริการตามยุทธศาสตร์ 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชวี ิต ดังนัน้ สาระทักษะการเรียนรู้ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายจงึ มมี าตรฐานการเรียนร้รู ะดบั ดังนี้ 1. สามารถประมวลความรู้ ทางานบนฐานข้อมูล และมีความชานาญในการอ่าน ฟัง จดบันทึก เป็น สารสนเทศอย่างคล่องแคลว่ รวดเร็ว 2. สามารถวางแผนและใชแ้ หลง่ เรียนรูไ้ ด้อย่างคล่องแคล่วจนเป็นลกั ษณะนิสัย 3. สามารถสรปุ องค์ความรใู้ หม่ นาไปสร้างสรรคส์ งั คมอดุ มปัญญา 4. ความสามารถในการฝึกทักษะการคิดเป็นท่ีซับซ้อนเช่ือมโยงกับคุณธรรม จริยธรรม ที่เก่ียวข้อง กับปรชั ญาคิดเปน็ และสามารถระบถุ งึ ปัญหาอุปสรรคการพฒั นากระบวนการคิดเปน็ และการแกไ้ ข 5. สามารถวางแผนการวจิ ัย ดาเนินการตามแบบแผนอยา่ งถูกตอ้ ง 6. สามารถวางแผนประยุกตใ์ ชท้ ักษะการเรียนรู้ และศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนทเ่ี ปน็ เคร่ืองมือในการ เพิม่ ศกั ยภาพและขีดความสามารถในการแขง่ ขันใน 5 กลมุ่ อาชีพใหม่ ศึกษำและฝึกทักษะเกี่ยวกับเร่ืองดงั ต่อไปนี้ 1. กำรเรียนรดู้ ้วยตนเอง ทบทวน ความหมาย ความสาคัญ และกระบวนการของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ฝึกทกั ษะพน้ื ฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทักษะการแก้ปัญหาและเทคนิคในการเรยี นรู้ ดว้ ยตนเอง ดา้ นการอ่าน การฟงั การสงั เกต การจา และการจดบันทกึ ทบทวนการวางแผนการเรยี นรู้ และการประเมนิ ผลการเรียนร้ดู ้วยตนเอง มที ักษะพืน้ ฐานและ เทคนคิ ในการเรยี นรูด้ ้วยตนเองในเรอ่ื งการวางแผน การประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง การวิเคราะห์ วจิ ารณ์ ฝึกทกั ษะความรทู้ ักษะการพูด และการทาแผนผงั ความคดิ หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 44

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 45

46 ฝึกการสรุปกระบวนการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการคิดเป็นจากข้อมูลท่เี กบ็ และวเิ คราะห์จาก ชุมชน 5. การวิจยั อย่างงา่ ย ทบทวนความหมาย ความสาคัญการวิจยั อยา่ งง่าย กระบวนการและข้ันตอนของการดาเนินงาน สถติ งิ ่าย ๆ เพ่ือการวิจัย เคร่ืองมือการวจิ ยั และการเขียนโครงการวิจัยอย่างง่าย ๆ ศึกษา ฝึกทกั ษะ การวิจยั ในบา้ น การเขียนรายงานวิจัย การนาเสนอและเผยแพรง่ านวิจยั 6. ทกั ษะการเรยี นรู้ และศักยภาพหลกั ของพืน้ ที่ในการประกอบอาชีพ ทบทวน ประยุกต์ใช้ทักษะกาเรเรียนรู้ และศักยภาพหลักของพื้นที่ คือ ศักยภาพของ ทรพั ยากรธรรมชาติ ในแต่ละพ้ืนท่ี ศักยภาพของพื้นท่ีตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศ และ ทาเลที่ตัง้ ของแตล่ ะพื้นท่ี ศกั ยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่ และศักยภาพ ของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นท่ี เพื่อเป็นเครื่องมือในการเพ่ิมศักยภาพและขีดความสามารถในการ แข่งขนั ในกล่มุ อาชีพใหม่ เชน่ กลุ่มอาชพี ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ และการบรหิ ารจัดการและการบริการ การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ 1. การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง ควรจัดในลกั ษณะของการบรู ณาการทกั ษะตา่ ง ๆ ไปพร้อมกับการสรา้ งสถานการณ์ในการ เรยี นรู้ท่ีหลากหลาย ซับซอ้ น อย่างสรา้ งสรรค์ เพ่อื 1) ฝึกให้ผเู้ รยี นไดก้ าหนดเป้าหมาย และวางแผนการ เรียนรู้ 2) เพ่มิ พนู ให้มีทักษะพ้ืนฐานทกั ษะการพูด และการทาแผนผังความคิดโดยการปฏิบัตจิ ริง 3) มเี จตคติทีด่ ีตอ่ การเรียนรู้ด้วยตนเองทที่ าใหก้ ารเรียนรดู้ ้วยตนเองประสบผลสาเรจ็ และนาความรู้ไปใชใ้ น วถิ ชี ีวติ ให้เหมาะสมกับตนเอง และชมุ ชน/สงั คม 2. การใช้แหลง่ เรียนรู้ ให้ผู้เรียนทุกคนไปสารวจ ศึกษา รวบรวมแหล่งเรียนรู้ ภายในชุมชน จังหวัด ประเทศ และโลก รวมท้ังการใช้อินเทอร์เน็ต การเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศที่สนใจ ทาความเข้าใจ บทบาท หน้าท่ี ข้อดีข้อเสีย ของแหล่งเรยี นรู้ต่าง ๆ 3. การจัดการความรู้ ศึกษาค้นคว้าหลักการ และกระบวนการของการจัดการความรู้ การฝึกปฏิบัติจริงโ ดย การรวมกลุ่มปฏิบัติการ/ชุมชนปฏิบัติการ (Community of practice = Cops) สรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม ยกระดับความรู้/สร้างองค์ความรู้ใหม่และจัดทาสารสนเทศเผยแพร่ความรู้ ด้วยวิธีการทหี่ ลากหลาย หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 46

47 4. การคิดเปน็ ให้ผู้เรียนได้มีการทบทวนท้ังความเช่ือพ้ืนฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ / กศน. ที่เชื่อมโยงไปสู่ ปรัชญาคิดเป็น และกระบวนการคิดการแก้ปัญหาท่ีเป็นระบบกระบวนการคิดเป็นที่ใช้ข้อมูลของการคิด อย่างน้อย 3 ประการ คือ ขอ้ มลู วิธกี ารตนเอง และสงั คม ส่งิ แวดล้อม ให้ผู้เรียนได้มีการอภิปรายถกแถลงถึงประสบการณ์ในการคิดของตนเองท่ีผ่านมาว่ามีการใช้ กระบวนการคิดเป็นมากน้อยเพียงใด มีผลกระทบจากการคิดการตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างใด รวมถึงการใช้ หลกั คุณธรรมจริยธรรมบูรณาการเขา้ กบั กระบวนการคิดเป็นเพอ่ื ปรบั กระบวนการ คิดเป็นที่ย่งั ยืน ให้ผู้เรียนได้ฝึกการเก็บข้องมูล การเลือกใช้ข้อข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสังเคราะห์ข้อมูล ในชุมชน และนามาฝึกปฏิบัติการแก้ปัญหา ในลักษณะการคิดเป็นที่มีข้อมูลคุณธรรม จริยธรรม บูรณาการ ด้วยเหมือนการคดิ ทย่ี ่ังยนื ให้มีการสรุปรายงานการคิดแก้ปัญหาด้วยกรนะบวนการคิดเป็น เพื่อจัดทาเป็นร่องรอยในแฟ้ม ผลงาน 5. การวิจัยอยา่ งง่าย จัดให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า เอกสารที่เก่ียวข้อง การใช้เทคโนโลยีเพ่ือสืบค้นข้อมูลฝึกทักษะ การสังเกตและค้นหาปัญหาที่พบในชีวิตประจาวัน / ในการประกอบอาชีพ / ในสาระที่เรียน การตั้งคาถาม การแลกเปล่ียนเรียนรู้กับเพื่อน / ผู้รู้ การคาดเดาคาตอบอย่างมีเหตุผล การฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการวิจัย ตามหลักการ การเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างเคร่ืองมือ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติอย่างง่าย ๆ ที่เหมาะสมกับข้อมูล การนาเสนอข้อมูล การสรุปข้อมูลและเขียนรายงานผลตามหลักการ การเผยแพร่ ข้อค้นพบด้วยวธิ กี ารหลากหลาย 6. ทักษะการเรยี นรู้ และศกั ยภาพหลักของพ้ืนท่ีในการพัฒนาอาชพี จัดให้ผู้เรียนทั้งรายบุคคล/กลุ่มได้ศึกษา สารวจ วิเคราะห์ ประยุกต์ทักษะการเรียนรู้ และ พื้นฐานศักยภาพหลักแต่ละพ้ืนท่ี ที่มีความแตกต่าง และมีความต้องการท้องถ่ินที่ไม่เหมือนกัน ในการเพ่ิม ขีดความสามารถท่ีเก่ียวกับการพัฒนาการประกอบอาชีพในกลุ่มอาชีพใหม่ คือ ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจัดการและการบริการ เพื่อสร้างอาชีพ และ รายได้ อย่างมน่ั คง และยงั่ ยืนอยา่ งตอ่ เน่ือง การวดั และประเมินผล 1. การเรียนรดู้ ้วยตนเอง ใชก้ ารประเมนิ จากสภาพจริงของผู้เรียนที่แสดงออกเก่ียวกับ การกาหนดเป้าหมาย และวางแผน การเรียนรู้ รวมทักษะพื้นฐานและเทคนิคในการเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดจนปัจจัยที่ทาให้การเรียนรู้ประสบ ความสาเรจ็ หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 47

48 2. การใช้แหล่งเรียนรู้ ผลงานจากการศกึ ษาสารวจ และการนาไปใช้ประโยชน์ 3. การจัดการความรู้ ประเมนิ จากสภาพจรงิ โดย การสงั เกต ความสนใจ การแสดงความคิดเห็น การมีส่วนร่วม การให้ ความร่วมมือในกลุ่มปฏิบัติการ ผลงาน/ช้ินงานจากการรวมกลุ่มปฏิบัติการ ใช้วิธีการประเมินแบบมีส่วน ร่วมระหว่างครู ผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้องร่วมกันประเมินตีค่าความสามารถ ความสาเร็จกับเป้าหมายท่ีกาหนด ไว้ และระบขุ อ้ บกพร่องทตี่ ้องแกไ้ ข ส่วนท่ีทาได้ดแี ล้วก็พฒั นาใหด้ ียิ่งขึน้ ตอ่ ไป 4. การคิดเป็น ประเมินจากการเก็บรวบรวมข้อมูล การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจแก้ปัญหาจากข้อมูลตาม ข้อเท็จจริง ประเมินจากการใช้ข้อมูลท่ีเหมาะสม สอดคล้อง เพียงพอ น่าเช่ือถือ ประเมินจากการมีส่วนร่วม ในกจิ กรรม และการอภิปรายถกแถลง และความพอใจในการแกป้ ัญหาด้วยวธิ ีคิดเป็นอยา่ งยัง่ ยนื 5. การวิจยั อย่างงา่ ย ประเมินจากสภาพจริงโดย การสังเกต ความสนใจ การมีส่วนร่วม ความร่วมมือจากผลงาน / ชิ้นงานทม่ี อบหมายใหฝ้ ึกปฏิบตั ิ ในระหวา่ งเรียน และการสอบปลายภาคเรียน 6. ทักษะการเรยี นรู้ และศักยภาพหลักของพื้นทใี่ นการพัฒนาอาชีพ ประเมินจากสภาพจริงโดย ความสนใจ การมีส่วนร่วม ความร่วมมือ จากผลงาน / ชิ้นงานท่ี มอบหมายให้ฝึกปฏิบัติ ในระหวา่ งเรยี นและการสอบปลายภาคเรยี น หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 48

49 รายละเอียดคาอธบิ ายรายวชิ า ทร31001 ทกั ษะการเรียนรู้ จานวน 5 หนว่ ยกติ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั 1. สามารถประมวลความรู้ ทางานบนฐานข้อมูล และมีความชานาญในการอ่าน ฟัง จดบันทึก เป็น สารสนเทศอยา่ งคล่องแคล่วรวดเรว็ 2. สามารถวางแผนและใชแ้ หลง่ เรียนร้ไู ดอ้ ย่างคล่องแคลว่ จนเปน็ ลกั ษณะนิสยั 3. สามารถสรปุ องค์ความรู้ใหม่ นาไปสร้างสรรคส์ ังคมอดุ มปญั ญา 4. ความสามารถในการฝึกทักษะการคิดเป็นที่ซับซ้อนเชื่อมโยงกับคุณธรรม จริยธรรม ท่ีเกี่ยวข้อง กบั ปรัชญาคิดเปน็ และสามารถระบุถึงปัญหาอปุ สรรคการพฒั นากระบวนการคิดเป็น และการแกไ้ ข 5. สามารถวางแผนการวจิ ยั ดาเนนิ การตามแบบแผนอย่างถูกต้อง 6. สามารถวางแผนประยุกต์ใช้ทักษะการเรียนรู้ และศักยภาพหลักของพื้นท่ีเป็นเครื่องมือในการ เพมิ่ ศกั ยภาพ และขดี ความสามารถในการแข่งขนั ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ จานวน ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ดั เนื้อหา (ชั่วโมง) 1 การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมาย ความสาคญั 1. ความหมาย ความสาคัญ และ 4 ดว้ ยตนเอง และกระบวนการของการเรยี นรู้ กระบวนการของการเรยี นรู้ด้วยตนเอง ดว้ ยตนเอง 2. ทักษะพ้ืนฐานทางการศกึ ษาหาความรู้ 12 2. ปฏบิ ตั ิการฝึกทักษะพ้ืนฐาน ทกั ษะการแก้ปัญหาและเทคนิคในการ ทางการศกึ ษาหาความรู้ ทกั ษะ เรยี นรู้ดว้ ยตนเอง รวมทั้งการวาง การแก้ปญั หา และเทคนคิ ในการ แผนการเรียนรู้ และการประเมนิ ผลการ เรียนรูด้ ้วยตนเองได้ และการวาง เรียนรดู้ ้วยตนเอง แผนการเรียนรู้ และการ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง 3. ทกั ษะการพดู และการทาแผนผัง 8 3. ฝึกปฏบิ ตั ทิ ักษะการพดู ความคดิ และการทาแผนผงั ความคิด 4. อธบิ ายปัจจยั ที่ทาให้การเรียนรู้ 4. ปจั จยั ท่ีทาให้การเรยี นรู้ด้วยตนเอง 10 ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ ประสบความสาเรจ็ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 49

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 50

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 51

52 ที่ หัวเรือ่ ง ตัวช้วี ดั เนื้อหา จานวน (ช่ัวโมง) 6 ทกั ษะการ 1. อธิบายความหมาย ความสาคัญ 1. ความหมาย ความสาคญั ของศักยภาพ เรยี นรู้และ ของทกั ษะการเรยี นรู้ และ หลกั ของพืน้ ที่ 2 ศกั ยภาพ ศกั ยภาพหลักของพน้ื ท่ี ที่แตกตา่ ง 2. กลมุ่ อาชพี ใหม่ 5 ด้าน และศกั ยภาพ 2 หลักของ กัน หลักของพืน้ ที่ 5 ประการ 10 พ้นื ท่ีในการ 2. ยกตัวอยา่ งเกี่ยวกับศกั ยภาพ กลุ่มอาชีพใหม่ พัฒนา หลักของพน้ื ท่ีหลกั ทแ่ี ตกต่างกัน 1. กลมุ่ อาชพี ด้านเกษตรกรรม 16 อาชีพ 3. สามารถบอกหรือยกตัวอย่าง 2. กล่มุ อาชพี ดา้ นอุตสาหกรรม เก่ียวกับศักยภาพหลักของพ้นื ท่ี 3. กลมุ่ อาชีพดา้ นพาณิชยกรรม ของตนเอง 4. กลุ่มอาชีพดา้ นความคิด 4. ยกตัวอย่างอาชีพที่ใชห้ ลักการ สรา้ งสรรค์ พน้ื ฐานของศกั ยภาพหลักในการ 5. กลุม่ อาชีพดา้ นการบริหารจดั การ ประกอบอาชพี ในกลมุ่ อาชพี ใหม่ และการบรกิ าร เช่น กลุ่มอาชีพดา้ นเกษตรกรรม ศักยภาพหลกั ของพ้ืนท่ี อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม 1. ศกั ยภาพของ ความคิดสร้างสรรค์ การบรหิ าร ทรัพยากรธรรมชาติ ในแต่ละพ้นื ที่ จดั การและการบริการ 2. ศกั ยภาพของพน้ื ทีต่ ามลักษณะ ภูมิอากาศ 3. ศักยภาพของภูมิประเทศ และ ทาเลที่ต้งั ของแต่ละพื้นที่ 4. ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพ้ืนท่ี 5. ศักยภาพของทรพั ยากรมนุษย์ ในแตล่ ะพืน้ ท่ี 3. ตัวอย่างการวเิ คราะห์ศกั ยภาพหลัก ของพนื้ ท่ี ทั้ง 5 ประการในกลมุ่ อาชพี ใหม่ ดา้ นการเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม ความคดิ สร้างสรรค์ บรหิ ารจัดการ และการบริการ หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) 52

สาระทักษะความร้พู ื้นฐาน

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 54

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) การฟง การดู ภาษาไทย 55 คณติ ศาสตร จาํ นวนและการดาํ เนนิ การ 55 การอาน การวดั การพดู ผังมโนทัศน เรขาคณิต การเขียน พชี คณติ หลกั การใชภาษา สาระความรพู น้ื ฐาน การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน วรรณคดีและวรรณกรรม ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร ภาษาไทยกบั การประกอบอาชพี การเชื่อมโยงความรูคณติ ศาสตรก บั งานอาชีพ มาตรฐานท่ี 2.1 มาตรฐานท่ี 2.2 มีความรู ความเขา ใจ และทักษะพ้ืนฐาน มีความรู ความเขาใจ และทกั ษะพนื้ ฐานเกีย่ วกบั เกยี่ วกบั ภาษาและการสอื่ สาร คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี การฟง ภาษาตางประเทศ วทิ ยาศาสตรแ ละ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การพดู เทคโนโลยี และเทคโนโลยี การอาน สงิ มีชีวิตและสงิ แวดลอ ม การเขียน สารเพือ่ ชีวติ ภาษาอังกฤษกับการประกอบอาชีพ แรงและพลงั งานเพอื่ ชีวิต ดาราศาสตรเ พ่ือชีวติ วทิ ยาศาสตรก บั ชอ งทางในการประกอบอาชีพ



วชิ าภาษาไทย

57 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) ผงั มโนทัศน์ 58 ระดับประถมศกึ ษา การใชภ้ าษาไทยด้านการพูด การเขยี น เปน็ ภาษาไทย การฟงั การดู หลกั การ ความสาคญั จุดมงุ่ หมาย การสรุปความ ช่องทางในการประกอบอาชพี กบั การประกอบอาชพี และมารยาทในการฟงั และดู สามารถค้นควา้ เรือ่ งราว ประโยชน์ และ วรรณคดี วิชาภาษาไทย การพูด ความสาคญั ลกั ษณะการพูดท่ดี ี เพอ่ื แสดงความรู้ คุณคา่ ของนิทาน นทิ านพนื้ บ้าน วรรณคดี และวรรณกรรม ความคดิ ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ ได้อยา่ ง และวรรณกรรมท้องถ่ิน เหมาะสม การนาเสียงและรปู อกั ษรไทยประสมเป็น หลักการใชภ้ าษาไทย การอา่ น ความสาคญั หลกั การ จุดมงุ่ หมาย ของการอา่ นออกเสยี งและ คาอ่าน และเขยี นได้ถูกต้องตามหลักการ อ่านในใจ การอ่านบทร้อยกรอง ร้อยแกว้ ไดอ้ ย่างถูกต้อง ใช้ภาษา การใชเ้ คร่อื งหมายวรรคตอน มีนิสยั รักการอ่าน ตลอดจนมารยาทในการอ่าน เข้าใจลักษณะของคาไทย คาภาษาถ่ิน และ ภาษาต่างประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย หลกั การ ความสาคัญของการเขียนประเภทตา่ งๆ การเขยี น การกรอกแบบรายการตา่ งๆ มีนสิ ัยรกั การเขียน ตลอดจนมารยาทในการเขียน

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 59

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 60

มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดับ และ ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง

63 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) มาตรฐานท่ี 2.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะพืน้ ฐานเกี่ยวกับภาษาและการสอื่ สาร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 62 ระดับประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรูท้ ่คี าดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั การฟงั การดู การฟัง การดู การฟัง การดู 1. เหน็ ความสาคัญของ 1. ร้แู ละเขา้ ใจหลกั การ 1. สามารถสรปุ ความ 1. สรุปความจับประเด็น 1. สามารถเลือกส่ือ ใน 1. เหน็ คุณค่าของส่อื ความสาคัญและ จบั ประเด็นสาคญั สาคัญของเรื่องทีฟ่ งั การฟงั และดอู ยา่ ง ในการฟงั และดู การฟงั และดู 2. สามารถจบั ใจความ จดุ ม่งุ หมายของ ของเรือ่ งทฟ่ี ัง และ และดู 2. วิจารณค์ วาม 2. วิเคราะห์ความ สรา้ งสรรค์ และสรุปความจาก การฟังและดู 2. สามารถฟงั และดู สมเหตสุ มผล ดู เรื่องทฟี่ งั และดู 2. จับใจความสาคญั 2. วิเคราะห์ แยกแยะ นา่ เช่ือถอื จากการฟัง อย่างมวี ิจารณญาณ การลาดบั ความ 3. มมี ารยาทในการฟงั และสรุปความจาก ข้อเท็จจริง และดสู ่ือโฆษณาและ 3. เป็นผูม้ ีมารยาทใน และความเป็นไปได้ เร่ืองทฟี่ งั และดู ขา่ วสารประจาวันอย่าง การฟงั และดู ของเรอื่ งทีฟ่ งั และดู และดู ข้อคิดเห็นและ 3. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผู้มี มเี หตุผล 3. นาเสนอความรู้ จุดประสงคข์ อง มารยาทในการฟงั เรื่องทีฟ่ ัง และดู 3. วจิ ารณ์การใช้น้าเสียง ความคิดเห็นท่ไี ด้ และดู 3. สามารถแสดง กิริยาท่าทางถ้อยคาของ จากการฟังและดู ทรรศนะและความ ผู้พดู อย่างมีเหตผุ ล 4. ปฏบิ ัติตนเป็นผูม้ ี คิดเหน็ ต่อผูพ้ ูด 4. ปฏบิ ตั ิตนเป็นผู้มี มารยาทในการฟัง อย่างมีเหตุผล มารยาทในการฟงั และดู และดู 4. มมี ารยาทในการฟงั และดู

64 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) ระดับประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 63 มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรูท้ ่ีคาดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวัง การพดู การพูด การพูด 1. เห็นความสาคัญ และ 1. เข้าใจความสาคัญ 1. สามารถพูดนาเสนอ 1. พูดนาเสนอความรู้ 1. สามารถพดู ทง้ั ทีเ่ ป็น 1. ใชศ้ ิลปะการพูดท่ี ลกั ษณะการพูดทด่ี ี และลกั ษณะการพูด ความรู้ แสดงความ ความคดิ เห็น ทางการและไมเ่ ป็น เป็นทางการและไม่ ทดี่ ี คิดเหน็ สร้างความ สรา้ งความเข้าใจ ทางการโดยใช้ภาษา เป็นทางการได้อย่าง 2. สามารถพดู แสดง ความรู้ ความคิด 2. พูดแสดงความรู้ เข้าใจ โนม้ น้าวใจ โนม้ นา้ วใจ ปฏเิ สธ ถกู ตอ้ งเหมาะสม เหมาะสมกับโอกาส ความร้สู ึกในโอกาส ความคดิ ความรสู้ ึก ปฏิเสธเจรจาตอ่ รอง เจรจาต่อรอง ด้วย 2. สามารถแสดงความ และบุคคล ได้อย่างเหมาะสม ดว้ ยภาษากริ ิยา ภาษากิริยาท่าทาง คดิ เหน็ เชงิ วิเคราะห์ 2. วิเคราะห์ ประเมนิ คา่ ตา่ งๆ ได้อย่าง 3. ปฏิบตั ิตนเป็นผ้มู ี ท่าทางทีส่ ุภาพ ใน ที่สภุ าพ และประเมินค่าการ การใช้ภาษาพดู จาก เหมาะสม 3. มีมารยาทในการพูด มารยาทในการพดู โอกาสตา่ งๆ ไดอ้ ย่าง 2. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผมู้ ี ใชภ้ าษาพูดจากส่อื ส่อื ตา่ งๆ มารยาทในการพดู ตา่ งๆ 3. ปฏิบตั ติ นเป็นผู้มี เหมาะสม 3. มีมารยาทในการพูด มารยาทในการพดู 2. มมี ารยาทในการพูด การอา่ น การอ่าน การอา่ น 1. เห็นความสาคัญของ 1. เขา้ ใจความสาคัญ 1. สามารถอ่านได้อย่าง 1. อา่ นในใจไดค้ ลอ่ ง 1. สามารถอ่านอยา่ ง มี 1. ตคี วาม แปลความ การอ่าน ทัง้ การอา่ น หลักการ และ และเรว็ และขยายความเรื่องท่ี มปี ระสิทธิภาพ วิจารณญาณ ออกเสยี งและอา่ นใน จดุ มุง่ หมายของการ 2. จบั ใจความสาคัญ 2. อา่ นออกเสยี งและอ่าน จัดลาดับความคิดจาก อา่ น อา่ นทัง้ อา่ นออกเสยี ง แยกขอ้ เท็จจริงและ ทานองเสนาะไดอ้ ยา่ ง เรื่องทอ่ี า่ น 2. วเิ คราะห์ วิจารณค์ วาม ใจ 2. สามารถอ่านได้อย่าง และอา่ นในใจ ข้อคดิ เหน็ จากเร่ือง ถกู ต้องตามลกั ษณะ 2. สามารถศกึ ษาภาษา สมเหตุสมผล การ ถูกตอ้ ง และอา่ นได้ 2. อ่านออกเสียงคา คาประพนั ธ์ ถ่นิ สานวน สภุ าษิต ลาดบั ความคิดและ ท่อี ่าน เรว็ เขา้ ใจความหมาย ข้อความ บทสนทนา 3. สามารถอา่ นหนงั สือ 3. วเิ คราะห์ แยกแยะ ทม่ี ีอยู่ในวรรณคดี ความเป็น ไปได้ของ

65 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 64 มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นร้ทู ่คี าดหวงั ของถ้อยคา ข้อความ เร่ืองส้นั บทร้อย และสือ่ สารสนเทศ ข้อเทจ็ จริง ข้อคิดเหน็ วรรณกรรมปจั จุบัน เรือ่ งที่อา่ น กรอง และบทร้อง ไดอ้ ย่างกว้างขวาง และจดุ มงุ่ หมายของ และวรรณกรรม 3. อธบิ ายความหมาย เนื้อเรื่องท่ีอา่ น เร่ืองที่อา่ น ทอ้ งถ่นิ ของภาษาถนิ่ สานวน เพ่ือพฒั นาตนเอง 3. มมี ารยาทในการอา่ น เลน่ บทกล่อมเดก็ สภุ าษติ ทีป่ รากฏใน และนิสัยรักการอ่าน 3. อธบิ ายความหมาย 4. มีมารยาทในการอา่ น 4. เลอื กอา่ นหนงั สือ 3. สามารถวเิ คราะห์ ของคาและขอ้ ความ และนิสยั รัก การอา่ น และสื่อสารสนเทศ วิจารณ์ ประเมินค่า วรรณคดี เพือ่ พฒั นาตนเอง องคป์ ระกอบของ วรรณกรรมปจั จบุ ัน ที่อา่ น 4. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผู้มี 5. ปฏิบตั ติ นเป็นผมู้ ี วรรณคดี วรรณกรรมทอ้ งถ่นิ มารยาทในการอ่าน มารยาทในการอา่ น วรรณกรรมปัจจุบัน 4. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ วรรณกรรมท้องถิน่ ประเมนิ คา่ วรรณคดี และมีนสิ ัยรกั การ และมนี ิสยั รกั การ อา่ น อ่าน 4. สามารถคน้ คว้าหา วรรณกรรมปัจจุบัน ความรู้จากสอื่ วรรณกรรมท้องถิน่ สง่ิ พิมพแ์ ละส่อื ในฐานะทเ่ี ปน็ มรดก สารสนเทศ ทางวัฒนธรรมของ 5. ปฏบิ ัติตนเป็นผู้มี ชาตแิ ลว้ นาไป มารยาทในการอ่าน ประยกุ ต์ใชใ้ นการ และนสิ ยั รักการอ่าน ดาเนนิ ชีวติ 5. เลือกใชส้ ื่อในการ คน้ คว้าหาความรู้ ท่หี ลากหลาย

66 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 65 มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนร้ทู ่ีคาดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรูท้ ีค่ าดหวัง 6. มมี ารยาทในการอ่าน การเขยี น การเขยี น และมีนิสยั รักการอา่ น การเขยี น 1. เห็นความสาคัญของ 1. เขา้ ใจหลกั การเขยี น 1. สามารถเลือกใช้ 1. เลอื กใชภ้ าษาในการ 1. รูแ้ ละเข้าใจหลักการ 1. กรอกแบบพมิ พ์ และเหน็ ความสาคัญ ภาษาในการนาเสนอ นาเสนอตามรูปแบบ เขยี นประเภทต่างๆ ประเภทตา่ งๆ ได้ การเขยี นและ ตามรปู แบบของงาน ของงานเขียน ถูกต้อง เขียนยอ่ ประโยชนข์ องการ ของการเขียน โดยใช้คาในการ เขยี นประเภทตา่ งๆ ประเภทรอ้ ยแก้วและ เขยี นได้ตรง ความ เรียงความ คัดลายมอื 2. สามารถเขียนคา 2. รจู้ ักอักษรไทย เขยี น ได้อย่างสรา้ งสรรค์ รอ้ ยกรองได้อยา่ ง ความหมาย และ จดหมาย เขยี น คาคล้องจอง สะกดคา และรู้ 2. สามารถใช้แผนภาพ สรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ งตามอกั ขระ อธบิ าย ชแ้ี จง โน้ม ประโยค และ เขยี น ความหมายของคา ความคิด จัดลาดับ 2. ใช้แผนภาพความคิด วธิ ีและระดบั ภาษา น้าวใจ แสดงทศั นะ คาคล้องจอง และ ความคิด เพ่อื พัฒนา จัดลาดบั ความคดิ 2. สามารถวิพากษ์ และการเขยี นเชิง บนั ทึกเรื่องราว สือ่ สาร เหตุการณใ์ น ประโยค งานเขยี น ก่อนการเขยี น วิจารณ์และประเมนิ สรา้ งสรรค์ โดย ใช้ งานเขยี นของผ้อู ื่น หลกั การเขยี นและ ชีวิตประจาวันได้ 3. เขียนสอื่ สารใน 3. สามารถแตง่ บทร้อย 3. แต่งบทร้อยกรอง เพอ่ื นามาพฒั นางาน โวหารต่างๆ ได้ ชวี ิตประจาวัน กรองตามความสนใจ ประเภทกลอนสี่ 3. มมี ารยาทในการ ถกู ต้องตามอกั ขระ เขยี นและนิสัยรกั การ จดบันทึก โดยใชค้ า ได้ถกู ตอ้ งตามหลกั กลอนสุภาพ เขียน ถูกตอ้ ง ชดั เจน 4. เขยี นบทร้อยแกว้ 3. สามารถแต่งคา วิธีและระดับภาษา เขียน ไวยากรณ์และ 4. เขยี นเรียงความ ลักษณะคาประพนั ธ์ ประเภทประวตั ิ ประพันธ์ประเภท 2. แตง่ คาประพนั ธ์ ย่อความ จดหมาย 4. สามารถเขียนสือ่ สาร ตนเอง อธบิ ายความ ร้อยแก้วและร้อย ประเภทรอ้ ยกรอง ไดต้ ามรปู แบบ เร่ืองราวต่างๆ ได้ ย่อความขา่ ว กรอง ได้ถกู ตอ้ งตาม

67 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 66 มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรูท้ คี่ าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นร้ทู ่คี าดหวงั 5. เขียนรายงาน 5. มีมารยาทในการ 5. เขียนรายงานการ 4. มีมารยาทในการ ฉันทลกั ษณแ์ ละ การค้นควา้ สามารถ เขียนและนิสยั รกั การ คน้ ควา้ สามารถ เขยี น และนสิ ัยรัก ใชถ้ ้อยคาทไ่ี พเราะ อ้างอิงแหล่งความรู้ เขียน อ้างองิ แหล่งความรู้ การเขียน 3. ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผู้มี 6.กรอกแบบรายการตา่ งๆ ได้ถูกตอ้ ง มารยาทในการเขียน 7. ปฏิบตั ิตนเป็นผู้มี 6. กรอกแบบรายการ และมกี ารจดบันทกึ มารยาทในการเขียน ตา่ งๆ อย่างสมา่ เสมอ และมกี ารจดบนั ทึก 7. ปฏิบตั ิตนเป็นผู้มี อยา่ งสมา่ เสมอ มารยาทในการเขยี น และมกี ารจดบันทึก อย่างสมา่ เสมอ หลักการใชภ้ าษา หลกั การใช้ภาษา หลกั การใชภ้ าษา 1. สามารถสะกดคาโดย 1. อธิบายการใช้เสยี ง 1. รูแ้ ละเขา้ ใจชนิด และ 1. อธบิ ายความแตกตา่ ง 1. รแู้ ละเขา้ ใจธรรมชาติ 1. อธิบายธรรมชาตขิ อง และรูปอกั ษรไทย หน้าท่ีของคา พยางค์ ของคา พยางค์ วลี ของภาษา ภาษาและใชป้ ระโยค นาเสยี งและรปู อกั ษรไทยประสม อกั ษร 3 หมู่ และการ วลี ประโยค และ ประโยค ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. สามารถใชภ้ าษา ตามเจตนาของการ เปน็ คาอา่ นและเขยี น ผนั วรรณยุกต์ได้ สามารถอา่ น เขียนได้ 2. ใช้เคร่อื งหมายวรรค สร้างมนุษยสมั พนั ธ์ ส่อื สาร 2. อธบิ ายเกยี่ วกบั การ ถูกต้องตามหลกั เกณฑ์ ตอน อกั ษรยอ่ คา ในการปฏิบัตงิ าน 2. เลือกใชถ้ ้อยคา ไดถ้ ูกตอ้ งตาม สะกดคา พยางค์ และ ของภาษา ราชาศัพท์ไดถ้ ูกตอ้ ง รว่ มกับผูอ้ ื่น และ ใช้ สานวน หลกั การใช้ภาษา ประโยคได้ถูกตอ้ ง 2. สามารถใช้ 3. อธิบายความแตกต่าง คาราชาศัพท์ คา สุภาษิต คาพังเพย 2. สามารถใช้ เคร่ืองหมายวรรค 3. ใช้เครื่องหมายวรรค เคร่ืองหมาย วรรค ระหวา่ งภาษาพดู และ สุภาพไดถ้ ูกต้องตาม ใหต้ รงความหมาย

68 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) ระดับประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 67 มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวงั ตอนได้ถกู ตอ้ ง และ ตอนและอกั ษรยอ่ ตอน อกั ษรยอ่ ภาษาเขยี นได้ ฐานะของบคุ คล 3. ใช้ประโยคไดถ้ ูกตอ้ ง เหมาะสม ได้ถูกต้อง คาราชาศัพท์ 4. อธบิ ายความแตกต่าง ตามเจตนาของ 3. เขา้ ใจลกั ษณะของคา 3. สามารถวิเคราะห์ ความหมายของ ผสู้ ่งสาร ไทย คาภาษาถิ่น และ 4. บอกประโยชน์ ความแตกตา่ ง สานวน สุภาษิต 4. ใชค้ าสภุ าพ และคา คาภาษา ตา่ งประเทศ การใช้พจนานุกรม ระหวา่ งภาษาพดู และ คาพังเพย และนาไป ราชาศัพทใ์ ห้ถูกตอ้ ง ใช้ในชวี ิตประจาวัน ท่ี ใช้ในภาษาไทย 5. บอกความหมายของ ภาษาเขยี น ตามฐานะและบคุ คล สานวน คาพังเพย 4. รู้และเข้าใจสานวน ได้ถูกต้อง สุภาษิต คาราชาศพั ท์ สุภาษติ คาพงั เพย คาสุภาพ และ ในการพูดและเขยี น นาไปใช้ไดถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสม 6. บอกลักษณะคาไทย คาภาษาถิ่น และคา ภาษาตา่ งประเทศทมี่ ี ใชใ้ นภาษาไทย วรรณคดี วรรณกรรม วรรณคดี วรรณกรรม วรรณคดี วรรณกรรม 1. สามารถคน้ คว้า 1. อธิบายถงึ ประโยชน์ 1. รูแ้ ละเขา้ ใจความ 1. อธิบายความแตกตา่ ง 1. สามารถวิเคราะหแ์ ละ 1. วิจารณ์ และอธบิ าย เรื่องราว ประโยชน์ และคุณคา่ ของนิทาน แตกต่างของ และคณุ คา่ ของ เห็นคุณคา่ วรรณคดี คณุ ค่าวรรณคดี และคุณคา่ ของนทิ าน นทิ านพนื้ บ้าน วรรณคดี วรรณกรรม วรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบัน วรรณกรรมปัจจบุ ัน

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 69 68 ระดับประถมศึกษา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นร้ทู ีค่ าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวัง นิทานพน้ื บ้าน วรรณกรรมและ ปัจจุบันและ วรรณกรรมปจั จบุ ัน และวรรณกรรม และวรรณกรรม วรรณกรรมและ วรรณกรรมใน วรรณกรรมทอ้ งถิ่น และวรรณกรรม ทอ้ งถ่ิน โดยใช้ ทอ้ งถ่นิ วรรณกรรมทอ้ งถิน่ ทอ้ งถ่นิ ตลอดจนเห็นคณุ ค่า ท้องถิน่ หลักการพนิ ิจ วรรณคดี ภาษาไทยกับการ ภาษาไทยกบั การ ภาษาไทยกับการ ประกอบอาชีพ ประกอบอาชพี ประกอบอาชพี 1. ใชค้ วามรู้ดา้ นการพดู 1. ใช้ความรูก้ ารพดู 1. ใช้ความรู้ด้านการพดู 1. ใชค้ วามร้กู ารพดู 1. ใชค้ วามรดู้ ้านการพดู 1. ใช้ความรู้การพดู ภาษาไทยเป็น ภาษาไทยเพือ่ การ ภาษาไทยเปน็ ภาษาไทยเพ่อื การ ภาษาไทยเปน็ ภาษาไทยเพ่ือการ ชอ่ งทางในการ ประกอบอาชพี ชอ่ งทางในการ ประกอบอาชพี ช่องทางในการ ประกอบอาชพี ประกอบอาชีพ 2. ใช้ความรดู้ ้านการ ประกอบอาชพี 2. ใช้ความร้ดู า้ นการ ประกอบอาชพี 2. ใช้ความรดู้ ้านการ เขยี นภาษาไทยเพอ่ื 2. ใช้ความรกู้ ารเขยี น เขยี นภาษาไทยเพ่อื 2. ใชค้ วามรู้การเขียน เขยี นภาษาไทยเพ่อื 2. ใช้ความรู้การเขยี น การประกอบอาชีพ ภาษาไทยเป็นชอ่ ง การประกอบอาชพี ภาษาไทยเปน็ ช่อง การประกอบอาชีพ ภาษาไทยเป็นช่อง ทางการประกอบ ทางการประกอบ ทางการประกอบ อาชีพ อาชพี อาชีพ

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 69



ค�ำ อธบิ ายรายวิชา และ รายละเอยี ดค�ำ อธบิ ายรายวิชาบงั คบั ระดบั ประถมศกึ ษา

72 คำอธิบำยรำยวชิ ำ พท11001 ภำษำไทย จำนวน 3 หนว่ ยกิต ระดบั ประถมศกึ ษำ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั กำรฟัง กำรดู 1. เห็นความสาคัญของการฟังและดู 2. สามารถจับใจความ และสรุปความจากเร่ืองท่ีฟงั และดู 3. มีมารยาทในการฟังและดู กำรพูด 1. เหน็ ความสาคัญ และลักษณะการพดู ทีด่ ี 2. สามารถพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 3. มมี ารยาทในการพดู กำรอำ่ น 1. เห็นความสาคัญของการอ่าน ทงั้ การอา่ นออกเสียงและอา่ นในใจ 2. สามารถอา่ นได้อย่างถกู ตอ้ ง และอา่ นได้เรว็ เขา้ ใจความหมายของถอ้ ยคา ข้อความ เนื้อเรื่องท่อี ่าน 3. มมี ารยาทในการอ่านและนสิ ัยรักการอา่ น กำรเขยี น 1. เห็นความสาคัญของการเขยี นและประโยชนข์ องการคัดลายมอื 2. สามารถเขียนคา คาคลอ้ งจอง ประโยค และเขยี นบนั ทึกเร่ืองราว สอื่ สาร เหตุการณ์ ในชวี ิตประจาวนั ได้ 3. มีมารยาทในการเขยี นและนิสัยรักการเขียน หลักกำรใชภ้ ำษำ 1. สามารถสะกดคา โดยนาเสยี งและรปู อักษรไทยประสมเป็นคาอา่ นและเขยี นไดถ้ กู ตอ้ ง ตามหลกั การใชภ้ าษา 2. สามารถใช้เครอื่ งหมายวรรคตอนไดถ้ กู ต้องและเหมาะสม 3. เข้าใจลกั ษณะของคาไทย คาภาษาถนิ่ และ คาภาษาต่างประเทศทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 72

73 วรรณคดี วรรณกรรม สามารถค้นควา้ เร่ืองราว ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของนิทาน นทิ านพน้ื บา้ น วรรณกรรมและ วรรณกรรมทอ้ งถิ่น ภาษาไทยกับการประกอบอาชีพ 1. ใช้ความรูด้ า้ นการพดู ภาษาไทยเพื่อการประกอบอาชพี 2. ใช้ความรู้ด้านการเขยี นภาษาไทยเพื่อการประกอบอาชีพ ศกึ ษาและฝกึ ทกั ษะเก่ยี วกบั เรื่องดงั ต่อไปนี้ การฟัง การดู หลกั การ ความสาคญั จุดมุ่งหมาย การสรปุ ความ และมารยาทของการฟงั และดู การพูด ความสาคัญ ลกั ษณะการพูดทดี่ ี และมารยาทในการพดู การอ่าน หลกั การ ความสาคัญ จดุ มงุ่ หมายของการอ่านออกเสยี งและอา่ นในใจ บทร้อยแก้ว บทร้อยกรองและ มารยาทของการอา่ น การเขยี น หลกั การ ความสาคญั ของการเขยี น การคดั ลายมอื การเขยี นส่อื สารในชวี ิตประจาวันด้วยวิธกี ารเขียน ประเภทต่างๆ และการกรอกแบบรายการตา่ งๆ ตลอดจนมีมารยาทในการเขียน หลกั การใชภ้ าษา การใชเ้ สียงและรูปอกั ษรไทย อักษร 3 หมู่ การผันวรรณยุกต์ ความหมายของคา คาไทย คาภาษาถ่นิ คาภาษาต่างประเทศทใ่ี ช้ในภาษาไทย การสะกดคา พยางค์และประโยค การใชเ้ ครือ่ งหมาย วรรคตอน พจนานกุ รม และความหมายของสานวน คาพงั เพย สภุ าษิต คาราชาศัพท์ คาสุภาพ วรรณคดี และวรรณกรรม ประโยชน์และคุณค่าของนิทาน นิทานพืน้ บ้าน และวรรณกรรมในท้องถิน่ ภาษาไทยกับการประกอบอาชีพ การใชค้ วามร้ดู า้ นการพูด การเขยี นภาษาไทยเป็นช่องทางในการประกอบอาชพี การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ จัดประสบการณ์หรือสถานการณใ์ นชวี ิตประจาวันให้ผูเ้ รียนไดศ้ กึ ษา คน้ ควา้ โดยการปฏบิ ัติจรงิ เป็น รายบุคคลหรือใช้กระบวนการกลุ่มเกี่ยวกบั ทักษะการฟงั การดู การพูด การอา่ น การเขยี น และหลักการใช้ภาษา การวัดและประเมินผล การสงั เกต การฝกึ ปฏิบัติ การทดสอบ (แบบทดสอบ) และการประเมินชิ้นงานในแต่ละกิจกรรม หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2554) 73

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 74

75 ภาษาไทยกับการประกอบอาชพี 1. ใชค้ วามรู้ด้านการพูดภาษาไทยเพ่อื การประกอบอาชพี 2. ใช้ความร้ดู า้ นการเขียนภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชีพ ที่ หัวเรือ่ ง ตัวชว้ี ดั เน้ือหา จานวน (ชั่วโมง) 1 การฟงั การดู 1. รู้และเข้าใจหลักการ 1. หลักการ ความสาคัญและ 2 ความสาคญั และจดุ มุ่งหมาย จดุ ม่งุ หมายของการฟัง ของการฟังและดู และดู 3 2. จับใจความสาคญั และ 2. การจับใจความสาคัญ จากการฟังและดู สรุปความจากเร่อื งทฟ่ี ัง 3 3. การสรปุ ความจากการฟงั และดู และดู 2 3. ปฏิบตั ติ นเป็นผู้มีมารยาท 4. มารยาทในการฟังและดู ในการฟงั และดู 2. การพูด 1. เข้าใจหลกั การ ความสาคัญ 1. หลักการ ความสาคญั และ 2 และจุดมงุ่ หมายของ จุดมุ่งหมายของการพดู ลกั ษณะการพูดทดี่ ี 2 2. การเตรยี มการ และพูด 2. การเตรยี มการพดู และ ลักษณะการพดู ทด่ี ี แสดงความรู้ ความคิด 3 3. การพูดในโอกาสต่าง ๆ ความรูส้ กึ ได้อยา่ ง - การพดู อวยพร เหมาะสม - การพดู ขอบคณุ - การพดู แสดงความเสียใจ ดใี จ - การพูดต้อนรบั - การพูดรายงาน 1 3. ปฏิบตั ติ นเป็นผ้มู มี ารยาท 4. มารยาทในการพูด ในการพูด หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) 75

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 76

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 77

78 ที่ หวั เรอ่ื ง ตัวช้ีวัด เน้ือหา จานวน (ชัว่ โมง) (ไตรยางศ์) 1 2. อธิบายเก่ยี วกบั การสะกดคา 3. คาและพยางค์ 2 4. คาในมาตราตวั สะกด พยางค์ และประโยค 9 มาตรา ได้ถูกต้อง 5. ชนิดและหน้าท่ีของคา 7ชนิด 3 6. โครงสรา้ งและชนดิ ของ 2 ประโยค 1 3. ใช้เครื่องหมายวรรคตอน 7. เครื่องหมายวรรคตอน และอักษรย่อได้ถูกต้อง 1 4. บอกวธิ กี ารใช้ และประโยชน์ 8. การใชพ้ จนานุกรม ของการใช้พจนานุกรม 9. ความหมายและการใช้ 3 5. บอกความหมายของ สานวน คาพังเพย สภุ าษติ สานวน คาพงั เพย สุภาษติ คาราชาศัพท์ คาสภุ าพ และ คาราชาศพั ทแ์ ละคาสุภาพ 10. การใชภ้ าษาที่เหมาะสม 1 นาไปใช้ได้ถกู ตอ้ ง กบั บุคคล สถานการณ์ เหมาะสม วฒั นธรรม ประเพณี 6. บอกลักษณะคาไทย 11. ลกั ษณะของคาไทย 2 คาภาษาถ่ิน และ คาภาษาถน่ิ คาภาษา คาภาษาตา่ งประเทศ ต่างประเทศทีม่ ใี ช้ใน ทม่ี ีใชใ้ นภาษาไทย ภาษาไทย 6. วรรณคดี วรรณกรรม อธิบายถงึ ประโยชน์ 1. เรื่องราว นทิ าน 5 และคุณคา่ ของนิทาน นทิ านพนื้ บา้ นและ นิทานพนื้ บ้าน วรรณกรรม วรรณกรรมท้องถิน่ และวรรณกรรมในท้องถ่นิ 2. เร่ืองราววรรณคดที ่ีมี 15 ความหลากหลาย - กลอนบทละคร หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2554) 78

79 ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนื้อหา จานวน (ชั่วโมง) (สังข์ทอง) - กลอนนทิ าน (พระอภัยมณี) - กลอนเสภา (ขุนช้าง ขนุ แผน) 7. ภาษาไทยกับการ 1. ใชค้ วามรกู้ ารพดู ภาษาไทย 1. ภาษาไทยดา้ นการพดู กับ 2 ประกอบอาชีพ เปน็ ช่องทางในการ ชอ่ งทางการประกอบอาชพี ประกอบอาชีพ 2. ภาษาไทยดา้ นการเขยี นกับ 2 2. ใชค้ วามรกู้ ารเขยี น ชอ่ งทางการประกอบอาชพี ภาษาไทยเปน็ ช่องทาง การประกอบอาชพี หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) 79



ค�ำ อธบิ ายรายวิชา และ รายละเอียดค�ำ อธบิ ายรายวชิ าบังคับ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 82

82 หลักการใชภ้ าษา 1. รแู้ ละเข้าใจชนิด และหนา้ ทข่ี องคา พยางค์ วลี ประโยค และสามารถอา่ น เขียนไดถ้ ูกตอ้ ง ตามหลักเกณฑ์ของภาษา 2. สามารถใชเ้ ครื่องหมายวรรคตอน อักษรย่อ คาราชาศัพท์ 3. สามารถวเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งระหว่างภาษาพดู และภาษาเขียน 4. รูแ้ ละเขา้ ใจสานวน สุภาษิต คาพงั เพยในการพูดและเขียน วรรณคดี วรรณกรรม รูแ้ ละเขา้ ใจความแตกต่างของวรรณคดี วรรณกรรมปจั จุบันและวรรณกรรมทอ้ งถิ่น ตลอดจน เหน็ คณุ ค่า ภาษาไทยกับการประกอบอาชพี 1. ใช้ความรูด้ ้านการพดู ภาษาไทยเพ่ือการประกอบอาชีพ 2. ใช้ความรดู้ า้ นการเขยี นภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชีพ ศกึ ษาและฝึกทกั ษะเกี่ยวกับเร่ืองดังตอ่ ไปนี้ การฟงั การดู การสรุปความ จบั ประเด็นสาคญั ของเรื่องทีฟ่ งั และดู ตลอดจนการมีมารยาทในการฟงั และดู การพูด การพูดนาเสนอความรู้ ความคิดเหน็ โนม้ น้าวใจ ปฏิเสธ เจรจาต่อรอง และมารยาทในการพดู การอา่ น การอ่านออกเสยี งและอ่านในใจท้งั ร้อยแกว้ และร้อยกรอง การแยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ ข้อคิดเห็นและ จดุ ม่งุ หมายของเรื่องทีอ่ า่ น ตลอดจนมารยาทในการอ่าน การเขียน การใช้แผนภาพความคิด จดั ลาดบั ความคิดก่อนการเขยี น การแต่งบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสี่ กลอน สุภาพ การเขียนสือ่ สารเรื่องราวตา่ งๆ และการเขยี นรายงาน การคน้ ควา้ อา้ งอิง ตลอดจนมารยาท ในการเขียน หลกั การใช้ภาษา ชนิดและหนา้ ที่ของคา พยางค์ วลี ประโยค การใชเ้ คร่ืองหมายวรรคตอน อกั ษรยอ่ พจนานกุ รม คาราชาศพั ท์ ความแตกตา่ งและความหมายของสานวน สุภาษติ คาพงั เพย วรรณคดีและวรรณกรรม ความแตกตา่ งและคุณคา่ ของวรรณคดี วรรณกรรมปจั จุบันและวรรณกรรมท้องถิน่ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) 83

83 ภาษาไทยกับการประกอบอาชพี การใช้ความรดู้ า้ นการพูด การเขยี นภาษาไทยเป็นช่องทางในการประกอบอาชพี การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ จัดประสบการณ์หรือสถานการณใ์ นชวี ิตประจาวันใหผ้ เู้ รียนไดศ้ กึ ษา ค้นควา้ โดยการฝึกปฏบิ ัตจิ ริงเป็น รายบคุ คลหรือกระบวนการกลุ่มเกย่ี วกบั ทกั ษะการฟงั การดู การพดู การอ่าน การเขียน และหลักการใช้ภาษา การวดั และประเมินผล การสงั เกต การฝกึ ปฏบิ ัติ การทดสอบ (แบบทดสอบ) และการประเมินช้ินงานในแต่ละกิจกรรม หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) 84

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 85

85 ภาษาไทยกับการประกอบอาชพี 1. ใชค้ วามรู้ด้านการพูดภาษาไทยเพ่อื การประกอบอาชีพ 2. ใชค้ วามรดู้ ้านการเขียนภาษาไทยเพ่อื การประกอบอาชีพ ท่ี หัวเรื่อง ตวั ชี้วดั เน้อื หา จานวน (ช่ัวโมง) 1. การฟัง การดู 1. สรุปความจบั ประเด็นสาคัญของ 1. สรุปความจบั ประเด็นสาคัญ 2 เร่ืองที่ฟงั และดู ของเรื่องที่ฟงั และดู 2. วิเคราะห์ความน่าเช่ือถือจากการ 2. หลกั การจบั ใจความสาคัญ 2 ฟังและดสู ื่อโฆษณาและข่าวสาร ของเร่อื งที่ฟังและดู ประจาวันอยา่ งมีเหตุผล 4 3. วิเคราะห์ วิจารณ์การใช้นาเสยี ง 3. การวิเคราะห์ วจิ ารณ์ ขอ้ เท็จจริง ข้อคิดเหน็ กิรยิ าท่าทางถ้อยคาของผู้พูด และสรปุ ความ อยา่ งมีเหตุผล 2 4. การมีมารยาทในการฟัง 4. ปฏิบัติตนเป็นผู้มมี ารยาท ในการฟงั และดู และดู 2. การพดู 1. พูดนาเสนอความรู้ ความ 1. สรุปความจับประเด็นสาคัญ 2 ของเร่ืองท่ีพูดได้ คดิ เหน็ สรา้ งความเข้าใจ 4 2. การพูดนาเสนอความรู้ โนม้ น้าวใจ ปฏิเสธ ความคิดเห็น และการพดู เจรจาต่อรองด้วยภาษา ในโอกาสตา่ งๆ เช่น กิริยาท่าทางทีส่ ภุ าพ - พดู แนะนาตนเอง - พูดกลา่ วตอ้ นรับ - พูดกล่าวขอบคุณ - พดู โน้มน้าวใจ - พูดปฏิเสธ - พดู เจรจาตอ่ รอง - พูดแสดงความคดิ เหน็ 2 2. ปฏิบัตติ นเป็นผมู้ ีมารยาท 3. การมีมารยาทในการพดู ในการพูด หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 86

86 ท่ี หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนอื้ หา จานวน (ชว่ั โมง) 3. การอ่าน 1. อา่ นในใจไดค้ ลอ่ งและเร็ว 1. หลักการอา่ นในใจจากสื่อ 5 ประเภทต่างๆ 5 2. อ่านออกเสยี งและอ่านทานอง 2. หลกั การอ่านออกเสียง ท่ีเป็นทังร้อยแก้วและ เสนาะได้อยา่ งถกู ต้องตาม ร้อยกรอง ลกั ษณะคาประพนั ธ์ 3. เลือกอา่ นหนงั สอื และสื่อ 3. หลักการเลอื กอา่ นหนงั สือ 3 สารสนเทศ เพ่อื พัฒนาตนเอง และสอื่ สารสนเทศ 4. หลกั การอ่านจบั ใจความ 10 สาคัญ 4. วเิ คราะห์ วิจารณ์ แยกแยะ 5. หลักการวิเคราะห์ วจิ ารณ์ 15 ขอ้ เท็จจริง ข้อคิดเหน็ และ จดุ มุ่งหมายของเร่ืองท่อี ่าน 2 5. ปฏิบัตติ นเปน็ ผมู้ ีมารยาทใน 6. มารยาทในการอ่านและ การอา่ นและมนี ิสยั รักการอ่าน นิสัยรักการอ่าน 4. การเขยี น 1. เลอื กใชภ้ าษาในการนาเสนอ 1. หลักการเขยี น การใช้ 4 ตามรูปแบบของงานเขยี น ภาษาในการเขยี น ประเภทรอ้ ยแก้วและ ร้อยกรองได้อย่างสร้างสรรค์ 14 2. ใช้แผนภาพความคิด จัดลาดับ 2. หลกั การเขยี นแผนภาพ ความคดิ กอ่ นการเขยี น ความคิด 3. แตง่ บทร้อยกรอง ประเภท 3. หลักการเขยี นเพ่ือการ 18 กลอนส่ี กลอนสุภาพ สอ่ื สารประเภทตา่ ง ๆ 4. เขยี นบทร้อยแก้วประเภทประวัติ เชน่ การเขียนเรยี งความ ตนเอง อธิบายความ ย่อความ ข่าว ย่อความ เขยี นชแี จง 5. เขียนรายงานการค้นควา้ สามารถ เขยี นแสดงความคดิ เห็น อา้ งองิ แหลง่ ความรู้ ไดถ้ กู ต้อง คาขวัญ คาคม คาโฆษณา เขยี นรายงานการค้นควา้ 6. กรอกแบบรายการต่างๆ หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2554) 87

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 88

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) 89

89 ที่ หวั เร่อื ง ตวั ชว้ี ดั เน้ือหา จานวน (ช่ัวโมง) 7. ภาษาไทยกับการ 1. ใชค้ วามรกู้ ารพูดภาษาไทย 1. ภาษาไทยดา้ นการพดู กบั 2 ประกอบอาชีพ เป็นชอ่ งทางในการประกอบ ช่องทางการประกอบอาชพี อาชีพ 2. ใช้ความรูก้ ารเขียนภาษาไทย 2. ภาษาไทยดา้ นการเขียนกับ 2 เปน็ ช่องทางการประกอบอาชพี ช่องทางการประกอบอาชีพ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) 90

ค�ำ อธบิ ายรายวิชา และ รายละเอยี ดค�ำ อธบิ ายรายวิชาบงั คับ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย