Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_26

tripitaka_26

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:37

Description: tripitaka_26

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตันตปฎก สังยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 101 บทวา กึ หตุ ฺวา กึ อโหสึ ความวา อาศยั ชาติเปน ตนเราไดเ ปน กษัตรยิ หรือ แลว จึงสงสยั วา คนเปน คนอืน่ ร่ําไป วา เราเปนกษัตริยแลว เปนพราหมณหรอื ฯ ล ฯ เปนเทวดาแลว เปนมนษุ ย. แตคาํ วา อทธฺ าน ในทท่ี ุกแหง เปน ชอื่ เรยี กกาล. บทวา อปรนฺตไดแก ทสี่ ดุ ซงึ่ ยังมาไมถ ึง. บทวา ภวสิ ฺสามิ นุ โข นนุ โขความวา อาศยั อาการทเ่ี ท่ยี ง และอาการทขี่ าดสูญ แลว จึงสงสัยวา ตนมแี ละไมมี ในอนาคต. สว นทีเ่ หลอื ในขอ นี้ ก็มีนัยอยางทก่ี ลาวมาแลว. บทวา เอตรหิ วา ปจจฺ ุปฺปนนฺ  อทธฺ าน ความวา หรือระบุเอาปจจบุ นั กาลแมทัง้ หมด เร่ิมตั้งแตก ารปฏิสนธใิ นบัดน้ี จนถึงจตุ ิ. บทวาอชฺฌตฺต กถ กถี ภวิสสฺ ติ ไดแกจกั เปนผสู งสัยในขันธของตน. ดวยบทวา อห นโุ ขสมฺ ิ ความวา สงสัยวา คนมีอยหู รือ. ถามวา ขอ น้ันควรหรอื . จะไปคดิ ถงึ ทาํ ไม ในขอ ที่วา ควรไมค วรน้.ี อกี อยา งหน่ึงในขอ นท้ี า นนาํ เรือ่ งน้ีมาเปนอุทาหรณดังตอไปน้ี. เลา กนั วา จลุ ลมารดามบี ุตรหวั โลน . มหามารดามีบตุ รหวั ไมโลน .มารดาท้งั สองตางก็แตง ตัวบุตรนน้ั . บุตรคนนัน้ ก็ลกุ ขนึ้ คิดวา เราเปนลกู ของจุลลมารดาหรอื . เม่ือเปนเชน น้ยี อมสงสยั วา เราเปนหรือหนอ.ดวยบทวา โน นุโขสฺมิ ความวา สงสยั วา ตนไมม.ี แมในขอ นี้มเี รอื่ งน้เี ปน อุทาหรณ. เลากนั วา มีชายคนหนงึ่ เม่ือจะจับปลา จงึ ฟนขาของตนซึง่ เย็นเพราะยืนอยูในนํา้ นาน โดยคิดวา เปนปลา. อีกคนกําลงั รักษานาอยูขา ง ๆ ปา ชา กลัวผี จงึ นอนชันเขา พอเขาตืน่ ข้นึ คิดวา เขา ทง้ั ๒ของตนเปนยกั ษ ๒ ตน จงึ ฟน ฉับเขาให. ดว ยประการดงั วามาน้ี จงึ เกิด

พระสตุ ตนั ตปฎ ก สงั ยตุ ตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาที่ 102มคี วามสงสัยวา เราเปน หรอื ไมห นอ. บทวา กึ นุโขสมฺ ิ ความวา เปนกษัตรยิ อยู กส็ งสยั วา ตวั เองเปนกษัตรยิ หรอื . ในคาํ ทเี่ หลอื กม็ ีนยั เชนน.ี้ กผ็ ทู ่ีเปน เทวดา ช่ือวาจะไมรูวา ตวั เองเปนเทวดายอ มไมมี แตเ ทพแมน้ัน กย็ อมสงสัย โดยนยั มีอาทวิ า เรามรี ูปราง หรอื ไมม รี ปู ราง. หากจะมีคําถามวา เพราะเหตไุ ร กษัตริยเปนตน จึงไมร เู ลา . ตอบวา เพราะกษัตริยเ ปน ตนเหลาน้นั เกิดในตระกลู นนั้ ๆ ไมเปน ที่ประจกั ษชัด. อกี อยางหน่งึ พวกคฤหสั ถส ําคญั ตัววาเปนบรรพชิต ซึ่งถือลัทธินิกายโปตลกะเปน ตน แมบรรพชิตกส็ าํ คัญตวั เองวาเปน คฤหัสถ โดยนยั มอี าทวิ า กรรมของเรากาํ เรบิ หรอื ไมหนอ. อกี อยา งหนงึ่ พวกมนุษยก็สําคัญวา ตนเปน เทวดาเหมอื นพระราชาฉะนั้น. บทวา กถ นุ โขสฺมิ ก็มนี ยั ตามที่กลาวแลวนัน่ เอง. พงึ ทราบเนอื้ ความในขอน้ีอยา งเดยี ววา บคุ คลถือวา ขึ้นชือ่ วาชวี ะ มอี ยู ในภายใน ดงั นแี้ ลว อาศยั อาการแหงสณั ฐานของชีวะนั้นเมื่อจะสงสัยวา เราเปนคนสูง หรอื วา มีอาการเปน คนเตยี้ ๔ ศอก ๖ ศอก๘ ศอก ๑๖ ศอก เปนตน คนใดคนหนง่ึ จงึ สงสยั วา กถ นุโขสฺมิ.แตขึน้ ชื่อวา ผูจ ะไมร ูส รีระสัณฐานท่เี ปนปจจุบนั คงไมม.ี บทวา กุโตอาคโต โส กหุ ึ คามี ภวสิ ฺสติ ความวา เมือ่ สงสยั ฐานะท่ีมาทไ่ี ปแหงอัตภาพ จึงสงสยั อยา งน.้ี พระโสดาบนั ทานประสงคเอาในท่นี ี้วาอริยสาวกสสฺ สว นพระอริยบคุ คล ๓ จาํ พวกนอกน้ีไมไดหา มไวเ ลย. จบอรรถกถาปจจยสตู รท่ี ๑๐ จบอรรถกถาอาหารวรรคที่ ๒

พระสุตตนั ตปฎก สงั ยุตตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาที่ 103 ทสพลวรรคที่ ๓ ๑. ปฐมทสพลสูตรวาดวยทศพลญาณและจตเุ สารัชญาณ [ ๖๔ ] ขา พเจาไดสดบั มาแลวอยางน.ี้ สมยั หนึ่ง พระผูมีพระภาคเจา ประทับอยู ณ พระเชตวัน อารามของทานอนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี กรงุ สาวัตถี. พระผมู ีพระภาคเจาไดตรสั วาดกู อนภกิ ษทุ ัง้ หลาย ตถาคตประกอบดว ยทศพลญาณ และจตุเวสารัชญาณจงึ ปฏญิ าณฐานะของผูองอาจ บันลือสีหนาทในบรษิ ทั ทง้ั หลาย ยงัพรหมจักรใหเ ปนไปวา ดังนีร้ ปู ดงั นค้ี วามเกดิ ขน้ึ แหง รูป ดังน้ีความดบั แหงรปู ดงั นเ้ี วทนา ดังน้ี ความเกดิ ขนึ้ แหงเวทนา ดงั นี้ความดับแหงเวทนา ดงั นสี้ ัญญา ดังน้คี วามเกิดขน้ึ แหงสญั ญา ดงั น้คี วามดบั แหงสัญญาดงั นส้ี ังขารท้ังหลาย ดงั นีค้ วามเกดิ ขึ้นแหง สงั ขารทั้งหลาย ดงั นค้ี วามดับแหง สังขารท้ังหลาย ดงั นี้วิญญาณ ดงั นีค้ วามเกดิ ขึ้นแหง วญิ ญาณ ดังน้ีความดบั แหงวญิ ญาณ ดวยเหตนุ ี้ เมือ่ ปจจัยน้ีมีอยู ผลนยี้ อ มมี เพราะการบังเกดิ ข้ึนแหงปจ จยั น้ี ผลน้จี ึงบงั เกิดขึน้ เมื่อปจ จยั นี้ไมมีอยู ผลนีย้ อ มไมมี เพราะการดับแหงปจ จยั นี้ ผลนี้จงึ ดบั ขอ น้ีคือ เพราะอวิชชาเปนปจ จัย จึงมีสังขาร เพราะสงั ขารเปนปจจยั จงึ มวี ญิ ญาณ. . . ความเกดิข้นึ แหง กองทกุ ขท ั้งมวลน้ี ยอมมดี ว ยประการอยา งน้ี. กเ็ พราะอวิชชานนั้ แหละดบั ดวยการสาํ รอกโดยไมเหลอื สังขารจงึ

พระสตุ ตนั ตปฎ ก สงั ยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 104ดบั เพราะสงั ขารดบั วิญญาณจึงดบั . . . ความดับแหงกองทกุ ขท้งั มวลน้ียอมมีดวยประการอยางน.ี้ จบทสพลสตู รท่ี ๑ ทสพลวรรคท่ี ๓ อรรถกถาปฐมทสพลสูตรท่ี ๑ทสพลสตู รที่ ๑ ไมม ีอรรถกถาอธบิ าย. ๒. ทตุ ยิ ทสพลสตู รวาดวยทศพลญาณและจตเุ วสารัชญาณ [๖๕] พระผูม ีพระภาคเจา ประทบั อยู ณ พระเชตวัน อารามของทา นอนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี กรงุ สาวัตถี. ครง้ั น้ันแล พระผมู ีพระ-ภาคเจา ไดตรัสวา ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย ตถาคตประกอบดว ยทศพลญาณและจตเุ วสารชั ญาณ จึงปฏิญาณฐานะของผอู งอาจ บนั ลือสีหนาทในบรษิ ทั ท้งั หลาย ยังพรหมจักรใหเ ปน ไปวา ดงั น้ีรปู ดงั นค้ี วามเกิดขึน้แหง รูป ดังนค้ี วามดบั แหงรูป ดงั นเ้ี วทนา ดังน้คี วามเกดิ ขึน้ แหง เวทนาดงั น้คี วามดบั แหงเวทนา ดังนส้ี ญั ญา ดังนีค้ วามเกดิ ขึ้นแหง สญั ญา ดังนี้ความดับแหงสัญญา ดังนีส้ ังขารทง้ั หลาย ดังนค้ี วามเกดิ ขน้ึ แหง สงั ขารท้งั หลาย ดังนค้ี วามดบั แหง สังขารทัง้ หลาย ดังนีว้ ญิ ญาณ ดังนค้ี วามเกิดขนึ้ แหง วิญญาณ ดงั น้คี วามดับแหงวิญญาณ ดว ยเหตนุ ้ี เม่ือปจ จัยน้ีมีอยูผลนีย้ อ มมี เพราะการบังเกดิ ขึ้นแหง ปจจัยนี้ ผลนี้จึงบงั เกิดขึ้น เมอ่ื ปจ จัย

พระสตุ ตนั ตปฎก สงั ยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 105น้ไี มม อี ยู ผลน้ียอมไมม ี เพราะการดับแหงปจจัยน้ี ผลน้ีจึงดบั ขอ น้คี อืเพราะอวิชชาเปน ปจจัย จงึ มสี ังขาร เพราะสงั ขารเปน ปจ จยั จึงมีวิญญาณ...ความเกิดข้ึนแหง กองทกุ ขท ้งั มวลน้ี ยอมมีดวยประการอยางน.้ี ก็เพราะอวชิ ชานน่ั และดับดว ยการสํารอกโดยไมเ หลือ สงั ขารจึงดบั เพราะสงั ขารดบั วญิ ญาณจึงดับ. . . ความดบั แหง กองทุกขท้ังมวลนี้ยอมมดี ว ยประการอยา งน.้ี [๖๖] ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย ธรรมอนั เรากลา วดแี ลว อยา งน้ี ทําใหต้นื แลว เปดเผยแลว ประกาศแลว เปน ธรรมตดั สมณะขร้ี ิว้ แลว ดูกอนภกิ ษทุ งั้ หลาย กลุ บตุ รผบู วชดว ยศรทั ธา สมควรแทเพ่อื ปรารภความเพยี รในธรรมอันเรากลา วดแี ลว อยา งน้ี ทําใหต ้ืน เปดเผย ประกาศ เปนธรรมตดัสมณะขร้ี ิว้ แลว ดวยความตั้งใจวา หนัง เอ็น และกระดูกจงเหลืออยู เนื้อเลือดในสรีระของเราจงเหือดแหงไปก็ตามที อิฐผลใดทีจ่ ะพงึ บรรลไุ ดด วยเร่ยี วแรงของบรุ ษุ ดว ยความเพียรของบุรุษ ดว ยความบากบั่นของบรุ ษุยงั ไมบ รรลุอฐิ ผลนั้น จักไมห ยดุ ความเพียร ดงั นี้ ดูกอนภิกษทุ ง้ั หลายบุคคลผูเกยี จครา นอาเกียรณด ว ยธรรมอนั เปนบาปอกุศล ยอมอยูเปน ทุกขและยอมยงั ประโยชนข องตนอันใหญใ หเ ส่ือมเสยี ดูกอ นภิกษทุ ั้งหลาย สวนบุคคลผูป รารภความเพียร ผูสงัดจากธรรมอนั เปน บาปอกุศล ยอ มอยูเปนสุข และยงั ประโยชนข องตนอนั ใหญใหบริบรู ณไ ด ดกู อนภิกษุท้ังหลายการบรรลุธรรมอันเลิศดว ยธรรมอนั เลิศ ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย พรหมจรรยน ี้ผองใส ควรดื่ม เพราะพระศาสดาอยูพรอ มหนา แลว. [๖๗] เพราะเหตุฉะน้แี หละ ภิกษทุ ั้งหลาย เธอท้ังหลายจงปรารภ

พระสุตตนั ตปฎก สงั ยุตตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 106ความเพียร เพ่ือถงึ ธรรมท่ยี ังไมถ งึ เพือ่ บรรลุธรรมทยี่ ังไมไดบ รรลุ เพอื่ทาํ ใหแจง ธรรมทีย่ งั ไมไดทาํ ใหแจง เธอท้งั หลายพงึ ศกึ ษาอยางนี้วาบรรพชาของเราทัง้ หลายน้ี จักไมตา่ํ ทราม ไมเปนหมนั มผี ล มกี ําไรพวกเราบรโิ ภคจวี ร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานเภสัชบริขาร ของชนเหลาใด สกั การะเหลานั้น ของชนเหลานนั้ จกั มีผลมาก มีอานิสงสมาก เพราะเราทงั้ หลาย ดังน้ี ดกู อ นภิกษทุ ้งั หลาย อันบคุ คลผูเ ล็งเหน็ประโยชนตน สมควรแทเพอ่ื ยงั กจิ ใหถ งึ พรอ มดว ยความไมป ระมาท หรือบุคคลผูเห็นประโยชนผ อู น่ื สมควรแทเพอ่ื ยงั กิจใหถึงพรอมดว ยความไมป ระมาท กห็ รอื วา บคุ คลผูมองเห็นประโยชนท ้ังสองฝา ย สมควรแทจริงเพอ่ื ยงั กจิ ใหถึงพรอมดว ยความไมประมาท ดงั น.้ี จบทตุ ยิ ทสพลสูตรท่ี ๒ อรรถกถาทตุ ยิ ทสพลสตู รท่ี ๒ พงึ ทราบความสงั เขปแหงทสพลสูตรที่ ๒ เทาน้นั ดังน้ี. สูตรที่ ๒พระผมู พี ระภาคเจา ตรสั โดยอาํ นาจพระอัธยาศยั ของพระองค. บรรดาบทเหลานั้น บทวา ทสพลสมนฺนาคโต แปลวา ทรงประกอบดวยพละกําลงั๑๐ ธรรมดาพละน้มี ี ๒ คือ กายพละ กาํ ลงั พระกาย ๑ ญาณพละกําลังพระญาณ ๑ ในพละทง้ั ๒ น้นั กายพละของพระตถาคต พึงทราบตามแนวตระกลู ชา ง ๑๐ ตระกูล ทพ่ี ระโบราณาจารยท งั้ หลายกลาวไวว า กาฬาวกฺจ คงฺเคยยฺ  ปณฺฑร ตมพฺ ปงคฺ ล คนธฺ  มงฺคลเหมจฺ อุโปสถ ฉทฺทนตฺ ิเม ทส.

พระสตุ ตันตปฎ ก สงั ยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 107 ชา ง ๑๐ ตระกูลเหลาน้คี อื กาฬาวกะ ๑ คังเคยยะ ๑ ปณฑระ ๑ ตัมพะ ๑ ปง คละ๑ คันธะ ๑ มังคละ ๑ เหมะ๑๑ ๑ อุโปสถะ ๑ ฉัททนั ตะ ๑. บรรดาชาง ๑๐ ตระกลู เหลานั้น พงึ เห็นวา ตระกูลชา งโดยปกติช่อื วา กาฬาวกะ. กาํ ลังกายของบุรุษ ๑๐ คน เปนกาํ ลังชางตระกลู กาฬาวกะ ๑ เชอื ก กาํ ลังของชางตระกลู กาฬาวกะ ๑๐ เชอื ก เปนกําลงั ชา งตระกลูคังเคยยะ ๑ เชือก. กําลงั ชางตระกูลคงั เคยยะ ๑๐ เชือก เปน กาํ ลังชางตระกูลปณ ฑระ๑ เชือก. กาํ ลังชา งตระกลู ปณ ฑระ ๑๐ เชือก เปน กาํ ลังชางตระกูลตมั พะ ๑เชอื ก. กาํ ลังชา งตระกลู ตัมพะ ๑๐ เชอื ก เปนกาํ ลังชา งตระกลู ปง คละ ๑เชอื ก. กําลังชา งตระกูลปง คละ ๑๐ เชือก เปนกาํ ลังชางตระกูลคันธะ ๑เชอื ก. กําลังชา งตระกลู คันธะ ๑๐ เชอื ก เปนกําลังชางตระกลู มงั คละ ๑เชือก. กําลังชางตระกลู มงั คละ ๑๐ เชือก เปนกาํ ลงั ชางตระกูลเหมวตะ๒๑เชอื ก. กาํ ลงั ชางตระกูลเหมวตะ๓ ๑๐ เชือก เปน กําลังชางตระกูลอโุ ปสถะ ๑เชือก.๑. ๒. ๓. คาถาเปน เหมาะ แกอ รรถเปน เหมวตะ.

พระสตุ ตนั ตปฎก สังยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาที่ 108 กาํ ลงั ชา งตระกลู อุโปสถะ ๑๐ เชอื ก เปนกาํ ลังชางตระกลู ฉัททันตะ๑ เชือก. กําลังชางตระกลู ฉัททนั ตะ ๑๐ เชือก เปน กาํ ลังของพระตถาคตพระองคเดียว. กําลงั พระตถาคตนี้นแี่ ล ทา นเรียกวา กาํ ลงั ทน่ี บั ไดวา พระ-นารายณดงั นก้ี ม็ ี. กําลังพระนารายณน น้ี ั้น คํานวณโดยกาํ ลังชา งตามปกติก็เทากบั กาํ ลังชา งหน่งึ พนั โกฏิ แตคํานวณโดยบุรษุ ก็เทา กบั กําลงั บรุ ุษสิบพนั โกฏ.ิ นพ้ี งึ ทราบวา เปน กาํ ลงั พระกายของพระตถาคตกอ น. แตกาํ ลงั พระกายท่ีมิไดจ ดั สงเคราะหไ ว ในบทวา ทสพลสมนนฺ าคโต น.้ีจริงอยู การกาํ หนดรทู ุกขก ด็ ี การละสมทุ ยั ก็ดี การเจริญมรรคกด็ ี การกระทําใหแ จงผลกด็ ี อาศยั กําลงั พระกายนี้ ไมมี แตมีกําลังอีกอยา งหนงึ่ช่อื ญาณพละ กําลังพระญาณ ๑๐ ประการ โดยอรรถวา ไมห วนั่ ไหวและโดยอรรถวา อปุ ถมั ภในฐานะ ๑๐ ประการ. ทรงหมายถึงทศพลญาณน้ีจึงตรัสวา ทสพลสมนฺนาคโต ดงั น.้ี ถามวา กท็ ศพลญาณนนั้ เปนไฉน. ตอบวา ทรงรูฐ านะและอฐานะ เปนตน ตามเปนจรงิ . คอืทรงรฐู านะโดยเปนฐานะ และอฐานะโดยเปน อฐานะ ๑ ทรงรวู ิบากของกรรมสมาทาน ทงั้ อดตี อนาคตและปจ จุบัน โดยฐานะ โดยเหตุตามเปน จริง ๑ ทรงรูขอปฏบิ ตั ิท่ดี าํ เนนิ ไปในฐานะทัง้ ปวง ๑ ทรงรูโลกโดยเปน อเนกธาตุ และนานาธาตุ ๑ ฯลฯ ทรงรูอธิมตุ ติอัธยาศัยของสัตวทัง้ หลาย ๑ ทรงรูอนิ ทรยี ข องสัตวเหลา น้นั วา ย่ิงและหยอน ๑ทรงรูค วามเศราหมองผองแผว และออกของฌาน วโิ มกข สมาธแิ ละ

พระสตุ ตันตปฎก สังยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 109สมาบัติ ๑ ทรงรขู ันธท เ่ี คยอาศยั ในปางกอ นของสัตวเหลานัน้ ๑ ทรงรูจุติและอุปบตั ิของสัตวท้งั หลาย ๑ ทรงรูธรรมเปนท่ีสน้ิ อาสวะ ๑. สว นในอภิธรรม มาโดยพสิ ดาร โดยนยั วา ในโลกน้พี ระตถาคตทรงทราบชดั ตามเปน จริง ซ่ึงฐานะโดยเปน ฐานะ และซง่ึ อฐานะโดยเปนอฐานะ แมขอ ที่พระตถาคตทรงทราบชดั ตามเปน จริง ซึ่งฐานะโดยเปนฐานะ และซ่ึงอฐานะโดยเปนอฐานะ กจ็ ัดเปนตถาคตพละของพระตถาคต. พระตถาคตทรงอาศยั พละใด ปฏญิ าณฐานะอันประเสรฐิ สดุบนั ลือสหี นาทประกาศพรหมจักรในบรษิ ัททง้ั หลาย ดังนเ้ี ปนตน. แมกถาพรรณนาความทา นกลา วแลวโดยอาการทุกอยา งของพละเหลานน้ั ไวในอรรถกถาวภิ งั ค และปปญจสูทนี อรรถกถามัชฌมิ นกิ าย. กถาพรรณนาความนั้น กพ็ ึงถือเอาตามนัยทท่ี านกลาวไวแลว ในอรรถกถาเหลานนั้ . ญาณอันเปน ปฏิปกษต อ ความขลาดกลวั ชื่อวา เวสารชั ญาณในคําวา จตหุ ิ จ เวสารชเฺ ชหิ คาํ นี้เปนชอื่ ของพระญาณทสี่ ําเรจ็ ดวยโสมนัส ซ่ึงเกดิ ข้ึนแกพ ระตถาคตผทู รงพิจารณาเหน็ ความเปนผอู งอาจในฐานะทง้ั ๔. ในฐานะทงั้ ๔ เปนไฉน. คือในเรื่องทกั ทว งมีวา เม่อืทานปฏญิ าณวาเปน พระสมั มาสัมพทุ ธะ ธรรมเหลานท้ี า นกม็ ิไดต รสั รยู ิ่งเองแลว ดังนเ้ี ปนตน. ในขอนน้ั มบี าลีดังน้ีวา ดกู อนภิกษทุ ัง้ หลายเวสารัชญาณ ๔ เหลา น้ี ๔ เหลา น้เี ปนไฉน. ๔ เหลาน้ีคอื ใคร ๆในโลก ไมวาสมณพราหมณ เทวดา มาร พรหม จกั ทกั ทว งเราโดยสหธรรม ในขอ ทีว่ า เมื่อทานปฏิญาณวาเปน พระสัมมาสมั พุทธะ ธรรมเหลา นท้ี านก็มไิ ดตรัสรยู ่งิ เองแลว ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย เราไมเ หน็ นิมิตแมข อ นเี้ ลย เราเม่อื ไมเ หน็ นมิ ติ นน้ั จึงเปนผถู งึ ความเกษม ถึงความ

พระสุตตันตปฎ ก สังยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 110ไมกลวั ถึงความเปนผูองอาจอยู ใคร ๆ ในโลกนี้ ฯ ล ฯ ทกั ทว งเราในขอ ทวี่ า เม่อื ทานปฏญิ าณวา เปน ขณี าสพ อาสวะเหลา นขี้ องทา นก็ยงัไมสิน้ แลว ฯ ล ฯ ธรรมทีท่ านกลา ววา ทาํ อันตราย กไ็ มอาจทาํ อนั ตรายแกผ ูเสพไดจ ริง ฯ ล ฯ ธรรมทีท่ านแสดงเพ่ือประโยชนแกผใู ด กไ็ มน ําผนู นั้ ซ่ึงปฏบิ ตั ิตามธรรมนนั้ ใหส ิน้ ทกุ ขโ ดยชอบไดจ รงิ . ฯลฯ เราเมื่อไมเหน็ นมิ ิตนั้น จงึ เปน ผถู ึงความเกษม ถงึ ความไมกลัว ถึงความเปนผูองอาจอยู ดงั น.้ี บทวา อาสภณฺาน ไดแกฐ านะอันประเสรฐิสดุ ฐานะอนั สงู สุด หรือฐานะของพระพุทธเจาท้งั หลายองคก อ น ๆ ผูประเสริฐ อธบิ ายวา ฐานะของพระพทุ ธเจา เหลาน้นั . อกี นัยหน่ึงจา ฝงู โค ๑๐๐ ตัว ชือ่ วา อุสภะ จา ฝูงโค ๑,๐๐๐ ตัว ชื่อวา วสภะ.หรือวา หัวหนา โค ๑๐๐ คอก ชื่อวา อุสภะ. หัวหนาโค ๑,๐๐๐ คอกชื่อวา วสภะ. โคท่ปี ระเสริฐสดุ กวา โคทกุ ตวั ทนอันตรายไดทุกอยางสขี าว นาเลอ่ื มใส นาํ ภาระของหนกั ไดมาก พึงไมส ะดงุ หวน่ั ไหว แมเพราะเสยี งฟาผาตัง้ ๑๐๐ ครัง้ ช่ือวา นสิ ภะ. โคนิสภะนั้น ทา นหมายเอาวาอุสภะ. จริงอยู คําน้ี เปน คําเรยี กโคอุสภะนั้นโดยปรยิ าย ฐานะนี้เปนของโคอสุ ภะ เหตนุ ั้น จึงชื่อวา อาสภะ. บทวา าน ไดแกกาํ หนดกระทบื แผนดนิ ดวยเทา ทงั้ ๔ แตในทีน่ ี้ เปนด่งั โคอาสภะ. เหตุน้ันจงึ ชอื่ วาอาสภะ เหมอื นอยา งวา โคอุสภะ กลา วคอื โคนิสภะ ประกอบดวยอสุ ภพละ กําลงั โคอสุ ภะ กระทบื แผน ดนิ ดวยเทาทัง้ ๔ ยนื หยดั ดว ยฐานะทีไ่ มหวน่ั ไหว ฉันใด แมพ ระตถาคต ทรงประกอบดวยตถาคตพละกําลังพระตถาคต ทรงกระทืบแผนดนิ คอื บรษิ ทั ๘ ดว ยพระบาท คือเวสารชั ญาณ ๔ ไมท รงหวั่นไหวดว ยศตั รู หมอู มติ รไร ๆ ในโลก ท้ัง

พระสตุ ตันตปฎก สังยตุ ตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 111เทวโลก ทรงยืนหยัดดว ยฐานะอนั ไมหวัน่ ไหวกฉ็ นั นัน้ ก็พระตถาคตเม่ือทรงยืนหยัดอยางนั้น กท็ รงปฏญิ าณเขาถงึ ไมบ อกคนื อาสภฐานะ ฐานะอนั ประเสรฐิ สุด ทรงวางอาสภฐานะไวในพระองค. ดวยเหตุนัน้ จงึ ตรัสวาอาสภณฺาน ปฏชิ านาติ ดังนี.้ บทวา ปรสิ าสุ ไดแกบริษทั ๘ เหลา นี้[มหาสีหนาทสูตร] วา ดูกอ นสารบี ุตร บริษัท ๘ เหลา น้คี อื ขตั ตยิ -บรษิ ัท พราหมณบริษัท คหบดบี รษิ ทั สมณบริษัท จาตมุ มหาราชกิ -บรษิ ทั ดาวดงึ สบรษิ ทั มารบริษทั พรหมบรษิ ัท. บทวา สีหนาท นทติไดแกทรงบนั ลือเสยี งประเสริฐสดุ เสียงท่ีไมนา กลัว เสียงท่ไี มม ใี ครเหมือนหรอื บันลือเสียงเสมือนเสยี งราชสหี . พึงแสดงความขอ น้ี ดวยมหาสีหนาท-สูตร. เปรยี บเหมือนราชสหี  เขาเรียกกันวา สหี ะ เพราะอดทนและลาสตั วฉันใด พระตถาคต ทานเรยี กวาสหี ะ ก็เพราะทรงอดทนตอ โลกธรรมทง้ั หลาย และแมเ พราะทรงกาํ จดั ปรปั ปวาท การกลา วรา ยของฝา ยอ่ืนกฉ็ ันนั้น. เสยี งราชสหี ท ่กี ลาวอยางนี้ ชือ่ วา สหี นาท. ในขอนั้น พระตถาคตทรงประกอบดวยพระกําลงั ดงั ราชสีห ทรงองอาจในทที่ ้งั ปวงปราศจากขนพองสยองเกลา ทรงบนั ลือสีหนาทเหมือนราชสีห. ราชสีหคือพระตถาคต ทรงประกอบดวยพระกาํ ลังของพระตถาคต ทรงองอาจในบรษิ ัทท้งั ๘ ทรงบันลือพระธรรมเทศนาอันงดงาม มวี ิธีตาง ๆโดยนยั วา ดังน้รี ปู เปน ตน คือสีหนาท ที่พรอ มดวยความสงา งาม. ดว ยเหตนุ ้ัน จึงตรัสวา ปริสาสุ สีหนาท นทติ. ในบทวา พฺรหมฺ จกฺกปวตฺเตติ นี้ บทวา พรฺ หมฺ  ไดแ กประเสริฐสุด สูงสดุ บรสิ ุทธ.ิ์คาํ นเี้ ปน ช่อื ของพระธรรมจกั ร. พระธรรมจกั รนั้น มี ๒ คอื ปฏเิ วธ-ญาณ ๑ เทศนาญาณ ๑. ในญาณ ๒ อยางนน้ั ญาณท่ีปญญาอบรม

พระสุตตนั ตปฎ ก สังยุตตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาที่ 112นาํ อริยผลมาใหพระองค ช่ือวา ปฏิเวธญาณ. ญาณท่กี รณุ าอบรม นาํอรยิ ผลมาใหเหลา สาวก ชื่อวาเทศนาญาณ. ในญาณ ๒ อยางนน้ัปฏิเวธญาณ มี ๒ คือ ที่กาํ ลงั เกดิ ข้ึน ที่เกิดขึ้นแลว จรงิ อยู ปฏิเวธญาณน้นั นับตงั้ แตเสด็จออกทรงผนวชจนถงึ พระอรหตั มรรค ช่อื วา กําลงัเกิดข้นึ . ที่เกดิ ข้นึ ในขณะอรหัตผล ช่ือวา เกดิ ขน้ึ แลว . นับตัง้ แตภ พดุสติ จนถงึ อรหตั มรรค ณ มหาโพธิบลั ลังก ช่ือวากาํ ลังเกิดขึน้ . ท่ีเกิดขน้ึ ในขณะอรหัตผล ชือ่ วา เกิดขนึ้ แลว . นับต้ังแตพระพุทธเจาพระนามวาทปี ง กร จนถึงอรหัตมรรค ช่ือวากําลงั เกดิ ขึ้น. ท่ีเกิดขึน้ในขณะอรหตั ผล ชื่อวา เกิดขึน้ แลว . เทศนาญาณมี ๒ คือ ท่กี ําลงัประกาศ ทปี่ ระกาศแลว . จริงอยู เทศนาญาณนนั้ ทปี่ ระกาศจนถึงโสดาปตติมรรคของพระอัญญาโกณฑญั ญะ ชอ่ื วากําลังประกาศ. ท่ีประกาศในขณะโสดาปต ตผิ ล ชือ่ วาประกาศแลว . ในญาณทง้ั ๒ น้ันปฏิเวธญาณเปน โลกุตระ. เทศนาญาณเปนโลกยิ ะ แตญาณแมทั้ง ๒ น้นักไ็ มท ั่วไปแกค นเหลาอนื่ . เปน โอรสญาณของเหลาพระพุทธะเทานัน้ . บัดนี้ เพ่อื จะทรงแสดงสีหนาทท่ที รงเปน ผูประกอบดวยพระญาณทบี่ ันลือ จงึ ตรัสวา อิติ รปู  ดังน้ีเปนตน . บรรดาบทเหลาน้นั บทวาอิติ รูป แปลวา น้ีรปู เทา น้รี ูป. ตรัสการกาํ หนดรูปไมใ หเหลือดว ยอํานาจลักษณะ รส ปจ จปุ ปฏ ฐานและปทัฏฐาน ทําสง่ิ ที่มคี วามสลายเปนสภาวะ และความแตกแหง ภูตรปู และอุปาทายรูป เปนตนไปวาเหนือน่ีขนึ้ ไป รูปไมม .ี ตรัสความเกิดข้ึนแหงรปู ที่กาํ หนดไวดว ยคาํ นี้วาดังน้เี ปนความเกิดขนึ้ แหง รูป. บรรดาบทเหลา นัน้ บทวา อิติ ความวาอยางน้เี ปน ความเกดิ ข้ึน. ความพสิ ดารแหง รปู สมทุ ยั นั้น พึงทราบอยา งนี้

พระสุตตนั ตปฎ ก สังยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 113วา เพราะอวชิ ชาเกดิ รปู กเ็ กิด เพราะตัณหาเกิด รูปก็เกดิ เพราะกรรมเกดิ รปู กเ็ กดิ เพราะอาหารเกดิ รปู ก็เกิด. อริยสาวกแมเ มื่อเหน็ นพิ พัตต-ิลกั ษณะ ลักษณะเกดิ ยอมเห็นความเกิดแหงรูป. แมในฝายความดบัความพิสดารกม็ อี ยางน้วี า เพราะอวิชชาดบั รูปกด็ ับ. อริยสาวกแมเมือ่เหน็ วปิ รณิ ามลกั ษณะ ลกั ษณะแปรปรวน ยอมเหน็ ความดับแหง รูปขันธ.แมในบทวา อติ ิ เวทนา เปนตน ก็ตรัสการกาํ หนดเวทนา สญั ญาสังขาร และวิญญาณ ท่เี หลอื ไว ดวยอาํ นาจลักษณะ รส ปจ จปุ ปฏ ฐานและปทฏั ฐาน ทาํ ความเสวยอารมณ ความจาํ ได ความปรงุ แตงและความรสู กึ เปน สภาวะ และความแตกแหง สขุ เวทนาเปน อาทิ รปู สัญญาเปน อาทิประสาทและจักษุวิญญาณเปนอาทิ เปนตนไปวา น้เี วทนา เทา น้ีเวทนา.เหนอื นข้ี นึ้ ไป เวทนาไมม .ี นส้ี ัญญา เหลา น้ีสงั ขาร นวี้ ญิ ญาณ เทานี้วิญญาณ. เหนอื ขึ้นไป วญิ ญาณไมม ี ดงั นี้. แตตรัสความเกิดแหง เวทนาสญั ญา สังขาร และวิญญาณ ทกี่ ําหนดอยา งนี้ ดว ยบททั้งหลายมีวาดังนเ้ี ปน ความเกิดข้ึนแหงเวทนา เปน ตน . แมในบทเหลานนั้ บทวาอติ ิ ความวา อยางน้ีเปน ความเกิด. ความพสิ ดาร แมข องขันธเ หลาน้ันกพ็ งึ ทราบตามนยั ท่กี ลา วไวแ ลวในรูปวา เพราะอวชิ ชาเกดิ เวทนากเ็ กิดดงั นี้เปนตน. สว นความตา งกนั มีดังนี้ ในขนั ธ ๓ ไมกลาววา เพราะอาหารเกิดควรกลา ววา เพราะผสั สะเกดิ . ในวิญญาณขันธ ควรกลา ววา เพราะนามรปู เกิด. แมบทฝายดบั ก็ควรประกอบดว ยอํานาจปญ จขันธเหลา นนั้นนั่ แล. นี้เปน ความสงั เขปในขอน.้ี แตเมอ่ื วาโดยพสิ ดาร การวินิจฉัยความเกดิ และความเสอื่ ม ที่บริบรู ณดวยอาหารทุกอยา ง กก็ ลาวไวแลว

พระสุตตันตปฎก สังยตุ ตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาที่ 114ในคมั ภรี วิสทุ ธมิ รรค. แมเ สียงอยางนวี้ า เมอ่ื สงิ่ น้มี ี สิง่ นกี้ ็มี ดังน้ี ก็เปน สีหนาทอกี ประการหน่ึง. ใจความของสหี นาทน้นั มีวา เมอื่ ปจจัยมีอวิชชาเปนตนน้มี ีอยู ผลมีสงั ขารเปน ตน น้ี ก็มี. บทวา อทิ  น โหติความวา เมือ่ ปจ จยั อวชิ ชาเปน ตนไมมี ผลมีสงั ขารเปนตนน้ี ก็ไมม ี.บทวา อมิ สฺส อุปปฺ าทา อิท อปุ ปฺ ชชฺ ติ ความวา เพราะปจ จยั มีอวชิ ชาเปนตนน้ีเกิด ผลมีสังขารเปนตนนก้ี ็เกิด. บทวา อมิ สมฺ ึ อสติ อทิ น โหติ ความวา เม่ือปจ จัยมอี วชิ ชาเปนตนนี้ไมม ี ผลมีสงั ขารเปนตนนี้กไ็ มม ี. บทวา อมิ สสฺ นโฺ รธา อทิ  นริ ุชฌฺ ติ ความวา เพราะปจจยัมอี วิชชาเปนตน นด้ี ับ ผลมสี ังขารเปนตนน้กี ็ดับ. บัดน้ี เม่ือจะทรงแสดงอาการทส่ี ่งิ นัน้ มี [เกดิ ] และดับ โดยพิสดาร จงึ ตรัสวา ยททิ  อวชิ ฺชาปจจฺ ยา สงฺขารา เปน ตน. บทวาเอว สวฺ ากขฺ าโต ไดแกท ี่ทรงกลา วไวดวยดี คือตรสั ไวดแี ลว โดยการจาํ แนกปญ จขันธเ ปน ตน อยางนี้. บทวา ธมฺโม ไดแ กธรรม คอืปญจขันธและปจ จยาการ. บทวา อุตฺตาโน ไดแ กไมควํา่ แลว . บทวาวิวโฏ ไดแ กเปดตง้ั ไว. บทวา ปกาสิโต ไดแกแ สดงแลว สอ งใหสวางแลว . ผาเกา ทีท่ ะลุ ฉีก มีปมเยบ็ ไวในที่นน้ั ๆ เรียกกนั วา ปโลตกิ าในคําวา ฉนิ ฺนปโลตโิ ก ผูใดไมม ีผาเกา นนั้ นงุ หมแตผา ใหมข นาด ๘ศอก หรือ ๙ ศอก ผนู นั้ ชอื่ วา ฉินนฺ ปโลติก ขาดผาเกา ธรรมแมน ้ีกเ็ ปนเชน นัน้ . ในธรรมนมี้ ิใชม ีภาวะคือสมณะดจุ ผา ทะลุฉกี และมปี มท่เี ยบ็ไวดว ยอํานาจหลอกลวงเขาเปน ตน . อีกนยั หนง่ึ แมผ า เลก็ ๆ กเ็ รยี กปโ ลตกิ า [ผาเกา ผาขรี้ ิว้ ] ผูใ ดไมม ี ปโลติกา น้ัน แตม แี ตผ า ผนื ใหญขนาด ๘-๙ ศอก ผูนัน้ กช็ ่ือวา ฉนิ นปโ ลตกิ ะ ขาดผา เกา ผา ขี้ริว้

พระสุตตันตปฎก สงั ยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 115อธิบายวา ปราศจากผา เกา. ธรรมน้กี เ็ ปนเชน นนั้ [ปราศจากสมณะดจุ ผาเกา หรือผา ขี้ร้ิว]. เหมอื นอยางวา บรุ ุษไดผ า ๔ ศอกมา ทาํ การกําหนด กะ ชกั ไปทางโนนทางน้ี ยอ มลาํ บาก ฉันใด เหลานกั บวชในลทั ธิภายนอก [พระพุทธศาสนา] ก็ฉันน้นั กะกาํ หนดธรรมอนั นอย ๆของตนไวว า เม่อื ส่งิ นี้เปนอยา งน้ี สิ่งน้ีกจ็ ักเปนอยางน้ี เมอื่ จะขยายหรือเพ่มิ ยอมลาํ บาก. อน่งึ บรุ ุษกะกําหนดดว ยผา ขนาด ๘ ศอก ๙ ศอกยอมนงุ หมไดต ามชอบใจ ไมล าํ บากเลย ไมม กี จิ ที่บุรษุ จะตองชกั ผามาขยายหรอื เพิ่มในผา นัน้ ฉันใด ไมมีกิจทกี่ ลุ บตุ รผูบวชดว ยยศรัทธาจะตอ งกะกาํ หนดจาํ แนกธรรมทั้งหลาย แมในธรรมนี้ กฉ็ ันนั้น. พระผมู ีพระภาคเจาทรงหมายถึงขอ แมน้วี า ธรรมน้ีเราจาํ แนกไวด แี ลว ขยายกวา งดีแลว ดว ยเหตนุ ้นั ๆ จึงตรสั วา ฉนิ ฺนปโ ลติโก ธรรมทีป่ ราศจากสมณะดจุ ผา ขร้ี ิ้ว ดงั น.้ี อนง่ึ แมหยากเยื่อ ทานกเ็ รยี กวา ปโ ลติกะ.ข้ึนชื่อวาสมณะหยากเยอื่ ยอ มจะดํารงอยูในพระศาสนานี้ไมได. ดว ยเหตนุ น้ั พระผมู พี ระภาคเจา จงึ ตรัสวาการณฺฑว นิทฺธมถ กสมพฺ ุ อปกสฺสถตโต ปลาเป วาเหถ อสมเณ สมณมานิเนนิทธฺ มติ วฺ าน ปาปจเฺ ฉ ปาปอาจารโคจเรสุทธฺ าสทุ เฺ ธหิ ส วาส กปปฺ ยวโฺ ห ปตสิ สฺ ตาตโต สมคคฺ นปิ กา ทุกฺสฺสนตฺ  กรสิ สฺ ถ.พวกเธอจงกาํ จัดสมณะหยากเย่อื ขบั ไลส มณะขยะ ลอยสมณะแตเ ปลอื ก ผไู มเ ปนสมณะ แตสําคัญตัววาเปน สมณะ ครนั้ กาํ จัดสมณะผูมีความ

พระสตุ ตนั ตปฎก สงั ยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาที่ 116 ปรารถนาลามก ผมู ีอาจาระและโคจรลามก ถงึ ชอ่ื วา อยรู ว มกับสมณะผูบริสุทธ์ิและผูไมบ ริสุทธิ์ มี สตมิ ั่นคง แตน นั้ พวกเธอมคี วามพรอ มเพรียงกนั มปี ญ ญารักษาตน ก็จกั ทาํ ท่สี ุดทกุ ขได.ธรรมน้ี ชอื่ วา ปราศจากสมณะผา ขร้ี ว้ิ แมเ พราะสมณะหยากเย่ือถกูตัดขาดแลว ดวยประการฉะน.้ี บทวา อลเมว แปลวา สมควรแท. บทวาสทธฺ าปพฺพชิเตน แปลวา ผบู วชดวยศรทั ธา. ในบทวา กลุ ปตุ เฺ ตนกลุ บตุ รมี ๒ คอื อาจารกุลบตุ รและชาตกิ ุลบตุ ร. บรรดากลุ บุตรทั้งสองนัน้กลุ บตุ รผใู ด ออกบวชจากตระกลู ใดตระกลู หนงึ่ บาํ เพญ็ ธรรมขันธ ๕มีศีลขันธเปน ตน กุลบตุ รผูนี้ ชอ่ื วา อาจารกลุ บตุ ร สว นกุลบุตรผูใ ดออกบวชจากตระกลู ที่สมบรู ณด ว ยชาติ ดงั่ เชน พระยศกุลบุตรเปน ตนกุลบุตรผนู ี้ ช่อื วา ชาตกิ ุลบุตร ในกุลบุตรท้ังสองนั้น ในทน่ี ้ที านประสงคเอาอาจารกลุ บุตร. ก็ถาชาตกิ ลุ บุตร มีอาจาระ ชาติกุลบตุ รน้ี ก็จดั วาสูงสุดทเี ดียว. อันกุลบุตรเห็นปานน้ัน. บทวา วิรยิ  อารภิตุ ไดแกเพ่อื ทําความเพียรประกอบดว ยองค ๔. บดั นี้ เมือ่ จะทรงแสดงความเพยี รมีองค ๔ จงึ ตรัสวา กาม ตโจเปนตน . ในองคทง้ั ๔ น้ัน ตโจ เปนองค ๑ นหารุ เปน องค ๑อฏิ เปน องค ๑. ม สโบหติ  เปนองค ๑. กแ็ ลกลุ บตุ รผูอธิษฐานความเพยี รประกอบดวยองค ๔ นี้ พึงใชใ นฐานะท้งั ๙ คือ กอ นอาหาร หลังอาหาร ยามตน ยามกลาง ยามสุดทาย เวลาเดนิ เวลายืนเวลาน่งั เวลานอน. บทวา ทุกขฺ  ภกิ ฺขเว กสุ ิโต วหิ รติ ความวาในพระศาสนานี้ บุคคลใดเกียจครา น บคุ คลนั้นยอ มอยเู ปน ทุกข แต

พระสตุ ตันตปฎก สงั ยุตตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาที่ 117ในลัทธินอกพระพุทธศาสนา ผูใดเกยี จครา น ผนู ั้นยอมอยูเปนสขุ . บทวาโวกณิ ฺโณ แปลวา คลกุ คลี. บทวา สทตฺถ แปลวา ประโยชนทด่ี ีหรอืประโยชนข องตน. แมด ว ยบททั้งสอง ทานกป็ ระสงคเ อาเฉพาะพระอรหัตอยางเดยี ว. วา ปรหิ าเปติ แปลวา ใหเ สอื่ มไป ไมบรรลุ.จริงอยู กลุ บตุ รผเู กียจคราน ยอ มเปนอันไมค ุม ครองทวารทัง้ ๖. กรรม ๓ก็ไมบริสทุ ธ์ิ. ศีลมอี าชวี ะเปน ท่ี ๘ [อาชีวมฏั ฐกศีล] กไ็ มผ องแผว.ภกิ ษผุ มู อี าชวี ะอันทําลายเสียแลว ยอ มเปน ผเู ขา ไปเปนพระประจําตระกลู .ภิกษนุ ้ันเปนผทู าํ รา ยเพอ่ื นสพรหมจารีทั้งหลาย เหมอื นผงท่ีตกลงในดวงตายอมอยเู ปนทุกข ทัง้ ไดช ่ือวา เปนคนเมา และกนิ ข้ชี าง. ไมสามารถจะยดึ พระอธั ยาศยั ของพระศาสดาไวได ชอ่ื วา ทําขณะเวลาที่หาไดย ากใหพลาดไป. แมอ าหารของชาวแควน ที่ภกิ ษนุ ้นั บริโภคแลว ยอมไมมผี ลมาก. บทวา อารทฺธวริ โิ ย จ โข ภกิ ขฺ เว ความวา บุคคลผูปรารภความเพียร ยอมอยูเปนสุขในพระศาสนานี้โดยแท. สว นผูทป่ี ระกอบความเพียรอยใู นลทั ธินอกพระพทุ ธศาสนา ยอ มอยเู ปนทกุ ข. บทวาปวิวติ โฺ ต ไดแ กผูพ รากแลว. บทวา สทตฺถ ปริปูเรติ ไดแ กบรรลุพระอรหัต. จรงิ อยู ภกิ ษุผปู รารภความเพียร ยอมเปน อนั คุมครองทวารทงั้ ๖ ดแี ลว. กรรมทัง้ ๓ กบ็ ริสทุ ธ์ิ. ศีลมีอาชวี ะเปนท่ี ๘ก็ผอ งแผว . อีกอยา งหนงึ่ ภกิ ษนุ น้ั เปน ทีพ่ อใจของเพอื่ นสพรหมจารีทั้งหลาย เหมอื นยาหยอดตาท่เี ย็นในดวงตา และเหมอื นจันทรต ามธรรมชาตยิ อ มอยเู ปน สขุ ยอ มอาจยดึ พระอัธยาศยั ของพระศาสดาไวไ ด.จรงิ อยู พระศาสดาถูกนางโคตมีถวายบังคมดวยกราบทลู อยา งนวี้ า

พระสุตตนั ตปฎก สงั ยตุ ตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาที่ 118 จริ  ชวี มหาวีร กปฺป ติฏ มหามุนี. ขา แตพ ระมหาวรี ะ โปรดมีพระชนมายุนาน ๆ ขาแตพระมหามนุ ี โปรดดํารงอยูตลอดกปั เถดิ .กท็ รงหา มเสียวา ดกู อนโคตมี เธอไมพงึ ไหวต ถาคตดวยอาการอยางนี้เลยถูกนางโคตมนี ้นั ทูลออนวอน เม่ือจะทรงบอกอาการทคี่ วรไหว จงึ ตรสัอยา งน้วี า อารทธฺ วริ เิ ย ปหติ ตฺเต นิจจฺ  ทฬฺหปรกกฺ เม สมคเฺ ค สาวเก ปสฺส เอสา พทุ ธฺ าน วนทฺ นา. เธอจงดูเหลาพระสาวก ผปู รารภความเพยี ร ผูมีใจเด็ดเดี่ยว บากบั่นมั่นคงอยูเ ปน นิตย ผพู รอม เพรียงกนั นเ้ี ปน การไหวพ ระพุทธะทั้งหลาย.ภิกษุผูปรารภความเพียรอยา งนี้ ยอมสามารถยึดเหนี่ยวพระอธั ยาศัยของพระศาสดาไวไ ด ยอ มทําขณะเวลาท่ีหาไดยากไมใ หพ ลาดไป. จริงอยูพุทธปุ บาทกาล สมยั เกิดข้นึ ของพระพุทธเจา ธรรมเทศนา การแสดงธรรม และสังฆสุปฏิบัติ ความปฏบิ ตั ิดขี องสงฆ ยอมมีผล มกี าํ ไรสาํ หรับภิกษุนน้ั . แมอ าหารของชาวแควน ที่ภกิ ษุน้ันบริโภคแลว ยอมมผี ลมาก.บทวา หีเนน อคคฺ สสฺ ความวา ไมช อื่ วาบรรลุพระอรหัต ทีน่ ับวาเลศิดวยศรัทธาอยางเลว วริ ิยะอยางเลว สตอิ ยา งเลว สมาธิอยางเลว ปญ ญาอยางเลว. บทวา อคเฺ คน จ โข ความวา ช่ือวา บรรลพุ ระอรหตั อนัเลิศ ดว ยคุณมีศรัทธาเปน ตนอยางเลศิ . ในบทวา มณฺฑปยฺย ชอ่ื วามณั ฑะ เพราะอรรถวา ผองใส ชื่อวา เปยยะ เพราะอรรถวา ควรด่ืม.พระผมู พี ระภาคเจา เม่ือทรงแสดงวา จริงอยู บุคคลดื่มนํ้าดืม่ อนั ใดแลว

พระสตุ ตันตปฎ ก สังยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 119ลม ลงระหวา งถนน ไมร สู ึกตวั ไมเปน เจา ของแมแ ตผเู ปน ตนของตนเองนํ้าด่มื อนั น้นั แมใสก็ไมควรดื่ม. สวนศาสนาของเรา ท้งั ผอ งใส ทั้งควรดมื่ อยา งนี้ จงึ ตรสั วา มณฑฺ เปยยฺ  ดงั นี้. ในคําวา มณฑฺ เปยยฺ  นั้นผองใสมี ๓ อยาง คอื เทสนามัณฑะ เทศนาผอ งใส ปฏิคคหมณั ฑะผรู ับผอ งใส พรหมจริยมณั ฑะ พรหมจรรยผองใส. เทศนาผองใสเปนไฉน. คือการบอก [สอน] แสดงบญั ญตั ิ เปดเผย จาํ แนก ทาํ ใหต ้ืนซึ่งอรยิ สจั ๔. การบอก ฯลฯ ทาํ ใหต ้ืน ซ่งึ อรยิ มรรคมีองค ๘ น้ีชอื่ เทสนามัณฑะ เทศนาผอ งใส. ผูรับผอ งใสเปนไฉน. คอื ภกิ ษุ ภกิ ษณุ ี อุบาสก อบุ าสิกา เทวดา มนุษย กห็ รือชนแมเ หลาอน่ื พวกใดพวกหน่ึง ซ่ึงเปนผูรูค วาม. นี้ช่ือ ปฏคิ คหมัณฑะผรู ับผอ งใส. พรหมจรรยผองใสเปน ไฉน. คือ อรยิ มรรคมีองค ๘ น้ีนีแ่ ล คอื สมั มาทิฏฐิ ฯลฯ สมั มาสมาธินี้ชอ่ื พรหมจรยิ มณั ฑะ พรหมจรรยผ องใส. อกี อยางหนง่ึ พงึ ทราบความในขอ นี้ โดยนัยเปน ตน วา สัทธนิ ทรียเปนความผอ งใสโดยอธโิ มกข ความนอมใจเชื่อ อสัทธิยะ ความไมเชอื่เปนกาก. ละอสัทธิยะอนั เปนกากเสีย ด่มื แตอธโิ มกข อันเปน ความใสแหง สัทธินทรีย เพราะเหตนุ ้ัน สทั ธนิ ทรยี จงึ ช่ือวา มัณฑะ ใส เปยยะควรดืม่ . คําวา สตถฺ า สมฺมขุ ีภูโต นี้ เปนคํากลา วเหตใุ นขอน้ี.เพราะเหตทุ ีพ่ ระศาสดาประทบั อยูต อหนา. ฉะนัน้ พรหมจรรยน้ัน จงึ

พระสุตตนั ตปฎก สังยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 120เปน ของผอ งใส ในอรรถวา ทาํ ประโยคความเพียรแลว ด่มื ได. แทจรงิของภายนอก แมแ ตเภสชั ยาที่ใส อยลู บั หลังหมอ ผดู มื่ ก็มคี วามสงสัยวาเราไมรขู นาดหรือ หรือวา การเพิม่ การลด. แตเ ม่ืออยตู อ หนา หมอ ผูดื่มก็หมดสงสัยด่ืม ดวยคิดวา หมอจักร.ู พระศาสดาผเู ปน เจาของธรรมกฉ็ ันนัน้ เหมอื นกนั ทรงประกอบสัตวไ วใ นพรหมจรรยแมที่ใสและควรดมื่ดว ยตรสั วา พวกเธอจงพยายามด่ืมเสีย เพราะฉะนนั้ จงึ ตรสั วา ตหิภกิ ฺขเว. บรรดาเหลา นั้น บทวา สผลา ไดแ กมีอานิสงส. บทวาสอทุ รฺ ิยา ไดแกม ีผลเพิม่ คือกาํ ไร. บทวา อตฺตตถฺ  ไดเ เกพระอรหตัอนั เปนประโยชนแ กตน. บทวา อปฺปมาเทน สมปฺ าเทตุ ไดแ กเพ่อื ทาํ กจิทุกอยางดวยความไมป ระมาท. บทวา ปรตฺถ ไดแ กผลเปนอันมากของผถู วายปจ จยั . คาํ ทเ่ี หลือในท่ที ุกแหง งายทง้ั นน้ั แล. จบอรรถกถาทตุ ยิ ทสพลสตู รท่ี ๒ ๓. อปุ นสิ สตู ร วา ดว ยธรรมที่อิงอาศัยกนั [๖๘] พระผูมพี ระภาคเจา ประทบั อยู ณ พระเชตวนั อารามของทา นอนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี กรงุ สาวตั ถี. พระผูม พี ระภาคเจาตรสั วาดูกอ นภิกษุทง้ั หลาย เมือ่ เรารอู ยู เห็นอยู เราจงึ กลาวความส้ินไปแหงอาสวะทงั้ หลาย เม่อื เราไมร ูไมเหน็ เรากม็ ไิ ดกลาวความส้ินไปแหง อาสวะทง้ั หลาย ภิกษุท้ังหลาย เมื่อเรารเู ราเห็นอะไรเลา ความสิ้นไปแหงอาสวะทั้งหลายยอมมี เม่ือเรารเู ราเห็นวา ดงั นร้ี ูป ดงั น้คี วามเกดิ ขนึ้ แหงรูปดังนีค้ วามดบั แหง รูป. . .ดงั นเ้ี วทนา. . .ดังน้สี ญั ญา. . .ดงั สังขาร

พระสุตตนั ตปฎก สงั ยุตตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 121ทั้งหลาย. . .ดังนว้ี ิญญาณ ดังนีค้ วามเกิดข้นึ แหง วญิ ญาณ ดงั นี้ความดับแหงวญิ ญาณ ความสนิ้ ไปแหงอาสวะท้ังหลายยอมมี ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เม่ือเรารู เราเห็นอยา งน้ีแล ความสิ้นไปแหงอาสวะทัง้ หลายยอมมี. [๖๙] ดูกอ นภิกษุทัง้ หลาย เม่ือธรรมเปนทสี่ ้ินไป๑ เกดิ ขน้ึ แลวญาณในธรรมเปน ท่สี ิ้นไป อันน้ันแมใ ด มีอยู เรากลาวญาณแมนน้ั วามเี หตุเปนท่ีองิ อาศยั มไิ ดก ลาววา ไมมีเหตเุ ปน ทอี่ ิงอาศยั ดกู อ นภกิ ษุทง้ั หลาย กอ็ ะไรเลา เปน เหตุทอี่ งิ อาศยั แหง ญาณในธรรมเปน ทสี่ ิ้นไปควรกลา ววา วมิ ตุ ติ ดูกอ นภิกษทุ ง้ั หลาย เรากลาวแมซ่ึงวิมตุ ติวามีเหตทุ ่ีอิงอาศยั มิไดกลาววาไมม เี หตทุ ีอ่ ิงอาศัย ดกู อนภิกษุท้งั หลาย กอ็ ะไรเลาเปน เหตุท่ีองิ อาศัยแหงวิมตุ ติ ควรกลา ววา วริ าคะ ดกู อ นภิกษทุ ัง้ หลายเรากลาวแมซ่งึ วิราคะวา มีเหตทุ ีอ่ ิงอาศัย มิไดกลา ววาไมมีเหตทุ ีอ่ ิงอาศยัดกู อ นภิกษทุ ง้ั หลาย กอ็ ะไรเลา เปนเหตุทีอ่ ิงอาศยั แหง วิราคะ ควรกลาววา นิพพทิ า ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เรากลาวแมซงึ่ นพิ พิทาวา มีเหตทุ ี่องิ อาศยั มิไดกลาววา ไมมเี หตุท่ีองิ อาศัย ดกู อนภิกษทุ ้งั หลาย ก็อะไรเลาเปน เหตุทีอ่ งิ อาศัยแหงนิพพทิ า ควรกลา ววา ยถาภตู ญาณทัสสนะ ดกู อนภิกษทุ ้งั หลาย เรากลา วแมซ ึ่งยถาภตู ญาณทัสสนะวา มเี หตทุ ่อี งิ อาศัยมไิ ดก ลาววาไมม ีเหตทุ อี่ งิ อาศัย ดกู อ นภกิ ษทุ ัง้ หลาย กอ็ ะไรเลา เปน เหตุที่อิงอาศยั แหงยถาภูตญาณทสั สนะ ควรกลาววา สมาธิ ดกู อนภกิ ษุท้งั หลายเรากลาวแมซ ึ่งสมาธิวา มีเหตทุ ่ีองิ อาศยั มไิ ดก ลาววา ไมม เี หตทุ ี่องิ อาศยัดูกอ นภกิ ษุทงั้ หลาย ก็อะไรเลา เปน เหตุท่ีอิงอาศยั แหงสมาธิ ควรกลา ววาสขุ ดกู อ นภกิ ษุทั้งหลาย เรากลาวแมซ่งึ สขุ วา มีเหตทุ ่ีองิ อาศัย มิไดกลาว๑. อรหตั ผล

พระสตุ ตันตปฎก สงั ยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 122วาไมม เี หตุทอี่ งิ อาศยั ดกู อนภกิ ษทุ ั้งหลาย ก็อะไรเลา เปน เหตุท่ีองิ อาศัยแหงสุข ควรกลา ววา ปสสทั ธิ ดูกอ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรากลาวแมซ ึง่ปสสัทธวิ ามเี หตทุ ่อี ิงอาศัย มิไดก ลา ววา ไมม ีเหตุทอ่ี งิ อาศยั ดูกอ นภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเลา เปน เหตุท่ีอิงอาศัยแหง ปสสทั ธิ ควรกลาววา ปต ิ ดูกอนภกิ ษทุ ั้งหลาย เรากลา วแมซ ่ึงปต วิ า มเี หตทุ อี่ ิงอาศัย มไิ ดกลาววาไมมีเหตุทีอ่ งิ อาศัย ดกู อ นภกิ ษุทง้ั หลาย ก็อะไรเลาเปนเหตุที่องิ อาศยั แหงปติ ควรกลาววา ความปราโมทย ดูกอนภกิ ษทุ ้งั หลาย เรากลา วแมซง่ึ ความปราโมทยวามเี หตทุ ี่อิงอาศัย มิไดกลาววาไมม เี หตุทีอ่ งิ อาศัย ดกู อนภกิ ษทุ ัง้ หลาย กอ็ ะไรเลา เปนเหตุท่อี งิ อาศยั แหงความปราโมทย ควรกลาววา ศรทั ธา ดูกอนภกิ ษทุ ้ังหลาย เรากลา วแมซ ่งึ ศรัทธาวามเี หตุทีอ่ ิงอาศัยมิไดกลาววา ไมมเี หตทุ อ่ี ิงอาศัย ดกู อ นภกิ ษทุ ั้งหลาย กอ็ ะไรเลา เปนเหตุทอี่ งิ อาศยั แหง ศรัทธา ควรกลาววา ทกุ ข ดกู อนภกิ ษุท้ังหลาย เรากลาวแมซึ่งทกุ ขวา มีเหตเุ ปน ทีอ่ งิ อาศัย มไิ ดก ลา ววาไมม ีเหตทุ ่อี งิ อาศัย ดกู อ นภกิ ษทุ ้งั หลาย ก็อะไรเลา เปน เหตทุ ่อี งิ อาศยั แหงทกุ ข ควรกลา ววา ชาติดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย เรากลา วแมซ งึ่ ชาติวามีเหตทุ ่อี ิงอาศยั มิไดก ลา ววา ไมม ีเหตุท่ีองิ อาศยั ดูกอ นภกิ ษุท้ังหลาย กอ็ ะไรเลา เปน เหตุที่อิงอาศัยแหงชาติควรกลา ววา ภพ ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย เรากลา วแมซงึ่ ภพวา มเี หตุทอ่ี งิ อาศัยมไิ ดกลาวไมมีเหตทุ ่ีองิ อาศัย ดูกอ นภกิ ษทุ ั้งหลาย กอ็ ะไรเลา เปน เหตทุ ่ีอิงอาศยั แหง ภพ ควรกลา ววา อุปาทาน ดูกอ นภกิ ษุทงั้ หลาย เรากลาวแมซึ่งอปุ าทานวามเี หตทุ ่ีองิ อาศัย มไิ ดก ลา ววา ไมม เี หตุท่อี งิ อาศยั ดกู อนภกิ ษุท้งั หลาย กอ็ ะไรเลา เปนเหตทุ ี่องิ อาศยั แหงอปุ าทาน ควรกลาววา ตัณหาดกู อนภกิ ษุท้งั หลาย เรากลาวแมซงึ่ ตณั หาวา มีเหตุที่อิงอาศยั มิไดกลา ววา

พระสุตตันตปฎก สงั ยุตตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 123ไมม ีเหตทุ อี่ ิงอาศัย ดกู อนภิกษทุ ัง้ หลาย ก็อะไรเลา เปน เหตทุ ีอ่ งิ อาศยัแหง ตัณหา ควรกลา ววา เวทนา ดูกอ นภกิ ษุทง้ั หลาย เรากลาวแมซ ึง่ เวทนาวามเี หตทุ ีอ่ ิงอาศัย มไิ ดก ลาววา ไมม เี หตทุ อ่ี งิ อาศัย ดกู อ นภิกษทุ ั้งหลายก็อะไรเลา เปนเหตุทีอ่ ิงอาศัยแหงเวทนา ควรกลา ววา ผสั สะ ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย เรากลาวแมซงึ่ ผสั สะวามเี หตทุ ี่อิงอาศัย มไิ ดกลา ววาไมม ีเหตุทอ่ี ิงอาศยั ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย กอ็ ะไรเลา เปนเหตุทีอ่ ิงอาศยั แหงผัสสะ ควรกลา ววา สฬายตนะ ดกู อ นภิกษุท้งั หลาย เรากลา วแมซง่ึสฬายตนะวามเี หตทุ ่ีองิ อาศัย มไิ ดก ลาววาไมมีเหตทุ ่อี งิ อาศยั ดกู อนภกิ ษุทั้งหลาย กอ็ ะไรเลา เปนเหตทุ ่อี งิ อาศยั แหง สฬายตนะ ควรกลา ววานามรปู ดกู อนภิกษุทง้ั หลาย เรากลาวแมซง่ึ นามรปู วา มเี หตุทอ่ี งิ อาศยัมิไดกลา ววา ไมม ีเหตุทีอ่ ิงอาศยั ดกู อ นภกิ ษุทงั้ หลาย ก็อะไรเลา เปน เหตุท่ีองิ อาศัยแหง นามรปู ควรกลา ววา วญิ ญาณ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย เรากลาวแมซ่งึ วญิ ญาณวามีเหตทุ ่อี งิ อาศยั มไิ ดก ลาววา ไมมเี หตทุ ี่อิงอาศัยดูกอ นภกิ ษทุ ้ังหลาย ก็อะไรเลา เปนเหตทุ ่ีอิงอาศยั แหงวญิ ญาณ ควรกลา ววา สังขารท้งั หลาย ดกู อนภิกษุทง้ั หลาย เรากลาวแมซ ึ่งสังขารทง้ั หลายวา มีเหตุที่อิงอาศัย มไิ ดก ลาววา ไมมเี หตทุ ีอ่ ิงอาศัย ดกู อนภกิ ษุทง้ั หลาย ก็อะไรเลา เปนเหตุทีอ่ งิ อาศยั แหงสังขารทง้ั หลาย ควรกลาววาอวิชชา ดว ยเหตุดงั นแ้ี ล ภกิ ษุทง้ั หลาย สงั ขารทงั้ หลาย มีอวิชชาเปน ที่อิงอาศัย วิญญาณมสี ังขารเปนท่ีอิงอาศยั นามรปู มีวิญญาณเปนท่ีอิงอาศัยผสั สะมสี ฬายตนะเปนทอ่ี ิงอาศัย เวทนาที่ผัสสะเปนท่ีอิงอาศยั ตัณหามีเวทนาเปน ทีอ่ งิ อาศยั อุปาทานมีตณั หาเปนท่อี งิ อาศยั ภพมอี ุปาทานเปนทอ่ี ิงอาศัย ชาติมีภพเปน ทีอ่ ิงอาศัย ทกุ ขม ีชาติเปน ท่ีองิ อาศยั ศรัทธามี






















































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook