พระสุตตันตปฎก สงั ยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาที่ 601พิจารณา. บดั นี้ พระมหากัสสปเถระ เม่อื ยงั บรรพชาของตนใหบ รสิ ทุ ธ์ิ จึงกลา วคําเปน ตนวา ยโตห อาวุโส ดังน.้ี ในบทเหลานั้น บทวาอฺ สตถฺ าร อุททฺ ิสติ ุ ความวา เราไมนกึ เพ่ืออุทศิ อยางนว้ี า เวนพระผูมีพระภาคเจา คนอื่นเปนครูของเรา. ในบทเปน ตน วา สมพฺ าโธฆราวาส ความวา แมห ากวา ผวั และเมยี ท้งั สอง ยอมอยใู นเรอื น กวาง๖๐ ศอก หรอื แมภายในระหวา งรอ ยโยชน การอยูครองเรอื นผัวเมยี เหลา น้นัชอื่ วา คับแคบอยนู ัน่ เอง เพราะอรรถวา มกี เิ ลสเครอ่ื งกงั วล คือหวงใยบทวา รชาปโถ ทานกลา วในมหาอรรถกถาวา เปน สถานทีเ่ กดิ แหง ธลุ ีมรี าคะเปน ตน . จะกลาววา เปน ทางแหงการมา ดังน้ีกไ็ ด. ช่ือวาอพั โภกาสเพราะอรรถวา ไมของ เหมอื นปลอดโปรง เพราะบรรพชติ อยใู นท่ีปกปด ในท่ีมีกูฏาคารรตั นปราสาทและเทพวิมานเปน ตน ซงึ่ มปี ระตแู ละหนา ตา งปดแลว ยอ มไมขัด ไมข อง ไมต ิด. เพราะเหตนุ น้ั ทานจึงกลา ววา บรรพชาเปน ชอ งวา ง. อนงึ่ ฆราวาส ช่ือวาคนั แคบ เพราะไมเ ปนโอกาสแหง กศุ ลกริ ิยา ช่ือวา เปน ทางหาแหงธุลี เพราะเปนทป่ี ระชมุ แหง กเิ ลสเพียงดงั ธุลี เหมือนกองหยากเยือ่ อนั เขาไมป ด ไว.บรรพชา ชื่อวา เปนชองวาง เพราะเปน โอกาสแหงกศุ ลกริ ิยาความสบาย.ในบทวา นยทิ สุกร ฯ เป ฯ ปพฺพเชยยฺ น้ี มสี งั เขปกถาดังน้ี คนพึงกระทําสกิ ขา ๓ ประพฤติพรหมจรรยไ มใหข าดแมว นั เดยี ว แลวชือ่ วา ประพฤตใิ หสมบูรณโดยสวนเดยี ว เพราะเหตุใหบรรลจุ รมิ กจติ .กระทาํ ไมใหมีมลทิน ดว ยมลทนิ คือกิเลส แมว นั เดียว ชือ่ วา บริสุทธิ์โดยสว นเดยี ว เพราะเหตุใหบ รรลุจริมกจติ . บทวา สงฺขลิขติ ไดแ ก
พระสุตตนั ตปฎ ก สงั ยตุ ตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 602เชนสังขข ดั คือพงึ ประพฤตมิ สี ว นเปรยี บดวยสังขท ช่ี าํ ระแลว . บทวาอทิ น สกุ ร อคาร อชฺฌาวสตา ความวา ผอู ยใู นทามกลางเรอื นประพฤติ ฯลฯ ใหบรบิ รู ณโดยสว นเดยี ว. ไฉนหนอ เราปลงผมและหนวด นงุ หมผากาสายะ เพราะซึมซาบดว ยรสที่ยอ มดวยน้ําฝาด คือผา ที่สมควรแกผ ูประพฤตพิ รหมจรรย ออกจากเรือนพงึ บวชไมมีเรือน. เพราะในขอ น้ี กรรมมีกสิกรรมและพาณชิ ยกรรมเปนตน อันเกื้อกลู เรือนเรยี กวา การมเี รอื น. เรือนนั้นไมม ใี นบรรพชา. ฉะนัน้ บรรพชาพึงรวู าการไมมเี รอื น. ซ่งึ อนาคาริยะการไมมีเรอื นน้นั . บทวา ปพพฺ เชยยฺ คือพงึปฏิบัติ. บทวา ปฏปโลตกิ าน คือผาเกา. ผาใหมแม ๑๓ ศอก ทานเรียกวาผาเกา จาํ เดิมแตเ วลาตัดชาย. ทา นหมายถงึ สังฆาฏทิ ที่ า นตัดผาที่มีราคามาก กลา ววา สงั ฆาฏิแหง ผา เกา ดงั น้ี. บทวา อทฺธานมคคฺ ปฏิปนฺโนไดแ ก ก็ทางต้ังแตก่งึ โยชน เรยี กวา ไกล. อธบิ ายวา เดนิ ทางไกลนัน้ . บัดน้ี พึงกลา วอนปุ ุพพีกถาจาํ เดิมแตอภินิหาร เพื่อความแจม แจงแหง เนอ้ื ความน้ี เหมือนบรรพชติ นัน้ และผูเดินทางไกล ดงั ตอ ไปน้.ี มเี รอ่ื งเลาวา ในอดีตกาลในท่สี ุดแสนกัป พระศาสดาพระนามวาพระปทุมตุ ตระไดอุบตั ิขึน้ . เม่ือพระปทุมตุ ตระเสด็จเขาไปอาศยั หงั สวด-ีนคร ประทบั อยู ณ เขมมฤคทายวนั กุฏม พีชือ่ วา เวเทหะ มีทรพั ยสมบัติ ๘๐ โกฏิ บริโภคอาหารอยางดี แตเชา ตรู อธษิ ฐานองคอ โุ บสถถอื ของหอมและดอกไมเ ปน ตน ไปยังพระวิหาร บชู าพระศาสดา ถวายนมัสการแลว นงั่ อยู ณ ทสี่ มควรสวนขางหนึง่ . ขณะนั้น พระศาสดาทรงตั้งพระสาวกรูปที่ ๓ ชอื่ มหานสิ ภัตเถระ
พระสตุ ตนั ตปฎ ก สงั ยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 603ไวในฐานะเปน เอตทคั คะวา ดกู อ นภิกษุท้งั หลาย บรรดาภกิ ษุผูเปนสาวกของเรา เปน ผกู ลาวสอนธุดงค นสิ ภะเปนผเู ลิศกวาภกิ ษุเหลา น้นั .อบุ าสกไดฟ ง ดังนนั้ เล่ือมใส ในที่สดุ ธรรมกถา เม่ือมหาชนลกุ ขึน้ กลับไปจงึ ถวายนมสั การพระศาสดากราบทลู วา วนั พรงุ น้ี ขอพระองคทรงรบั ภิกษาของขา พระองคเถดิ . พระศาสดาตรัสวา อุบาสก ภกิ ษุสงฆม ีจํานวนมากนะ. อุบาสกทลู ถามวา ขา แตพระผูมีพระภาคเจา ภิกษสุ งฆมีประมาณเทาไร พระเจาขา. พระศาสดาตรัสวา มี ๖ ลา น ๘ แสนรูป.อบุ าสกทูลวา ขา แตพระองคผ ูเจรญิ ขอพระองคท รงใหภ กิ ษไุ มใ หเหลอืไวในวหิ ารแมสามเณรองคเ ดียว รับนิมนตเ ถดิ พระเจาขา. พระศาสดาทรงรับนิมนตแลว. อุบาสกทราบวา พระศาสดารบั นมิ นตแ ลว จงึ ไปเรือนเตรยี มมหาทาน วันรงุ ขึน้ ใหค นไปกราบทูลถึงเวลาแดพ ระศาสดา. พระศาสดาทรงถอื บาตรและจวี ร แวดลอมดว ยหมภู กิ ษุสงฆ เสดจ็ ไปเรือนของอุบาสก ประทับนัง่ บนอาสนะทเี่ ขาปไู วเสร็จแลว ในทส่ี ุดแหงทักษโิ ณทกทรงรบั ขา วยาคูเปน ตน ทรงแจกจา ยภตั . แมอ บุ าสกก็น่งั ใกลพ ระศาสดา. ในลําดบั นน้ั ทานมหานสิ ภตั เถระเทย่ี วไปบณิ ฑบาตถงึ ถนนนั้น.อุบาสกครั้นเห็นแลว จึงลกุ ข้นึ ไปไหวพ ระเถระแลว กลา ววา ขอพระคณุ เจา จงใหบ าตรเถิด. พระเถระไดใ หบ าตรแลว . อุบาสกกลาววานิมนตพ ระคุณเจาเขา ไปในเรือนน้ีเถิด. แมพระศาสดาก็ประทบั น่ังในเรอื น. พระเถระกลาววา ไมสมควรดอกอบุ าสก. อบุ าสกรับบาตรของพระเถระแลว ใสบณิ ฑบาตจนเตม็ นําไปถวาย. จากน้นั อบุ าสกไปสง พระเถระแลว กลบั ไปนัง่ ไปสํานักของพระศาสดา กราบทูลอยางนี้วา ขาแต
พระสตุ ตันตปฎ ก สังยตุ ตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 604พระองคผูเจรญิ ทา นมหานิสภัตเถระแมขาพระองคกลา ววา พระศาสดาประทบั นง่ั ในเรอื น ก็ไมป รารถนาจะเขาไป. พระศาสดาตรสั วา มหา-นิสภตั เถระนนั้ มคี ุณย่ิงกวาคณุ ของพวกทาน. ก็ความตระหนี่ คาํ สรรเสริญยอมไมม แี กพ ระสมั พุทธเจาท้งั หลาย. ครัน้ แลวพระศาสดาจงึ ตรัสอยางนวี้ าอบุ าสก เราน่ังรอภิกษาในเรอื น. ภกิ ษุนนั้ น่ังอยางนไี้ มแ ลดซู ง่ึ ภกิ ษา.เราอยูใ นเสนาสนะทา ยบาน. ภิกษุน้ันอยใู นปา. เราอยูในทม่ี งุ บัง.ภกิ ษุนนั้ อยใู นทแ่ี จง . พระศาสดาตรัสดุจยงั มหาสมทุ รใหเต็มวา น้แี หละน้ีแหละ คุณของภิกษุนน้ั ดว ยประการฉะนี้. อุบาสกเล่อื มใสยิ่งข้นึ เหมอื นประทีปอนั สวางอยูแ มต ามปกติราดน้ํามันเขา ไปฉะนั้น คดิ วา ประโยชนอ ะไรดว ยสมบัติอ่นื แกเ รา. เราจักกระทาํ ความปรารถนาเพื่อความเปน ผูเ ลิศกวา ภิกษผุ กู ลา วสอนธุดงคใ นสาํ นกั ของพระพทุ ธเจา พระองคห นึ่งในอนาคต. เขานมิ นตพ ระศาสดาอกีครัง้ ถวายทานตลอด ๗ วนั โดยทํานองน้ี ในวนั ที่ ๗ ถวายไตรจีวรแกภิกษุ ๖ ลาน ๘ แสนรปู แลวหมอบลงแทบบาทมูลของพระศาสดากราบทูลอยางนีว้ า ขา แตพระองคผ เู จรญิ ทานท่ขี าพระองคถวายตลอด๗ วนั เปน ทานที่ประกอบดว ยเมตตากายกรรม เมตตาวจีกรรมเมตตามโนกรรม ขาพระองคมไิ ดป รารถนาเทพสมบตั ิ หรือสักกสมบัติมารสมบัติ และพรหมสมบตั อิ ยางอื่น ดว ยทานน้.ี แตก รรมของขาพระ-องคนี้ ขอจงเปน สมั ฤทธิผลทุกประการแหง ความเปน ผเู ลศิ กวาภกิ ษผุ ูทรงธุดงค ๑๓ เพ่อื ถึงฐานันดรทีท่ า นมหานิสภตั เถระถึงแลว ในสาํ นักของพระพทุ ธเจา พระองคหนงึ่ ในอนาคตเถดิ . พระศาสดาทรงตรวจดวู า ฐานะอันใหญท ี่อบุ าสกนี้ปรารถนาจัก
พระสุตตันตปฎก สงั ยุตตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 605สาํ เร็จหรอื ไมหนอ ทรงเห็นความสําเรจ็ แลว จึงตรสั วา ฐานะที่ทา นปรารถนาสมใจแลว . ในทส่ี ดุ แสนกัปในอนาคต พระพทุ ธเจา พระนามวาโคตมะจักอบุ ัตขิ ้ึน. ทา นจักเปน สาวกรปู ที่ ๓ ของพระโคดมพระองคน นั้จกั ชอื่ วา มหากัสสปเถระ. อุบาสกไดฟงนนั้ ดาํ รวิ า ชอ่ื วา พระพทุ ธเจาท้งั หลาย ยอมไมม ีพระดํารัสเปน สอง ไดสาํ คัญสมบัตนิ ั้นเหมือนถึงในวนั รุง ข้ึน. เขารกั ษาศีลตลอดอายุ คร้ันทาํ กาลกิรยิ า ณ ทน่ี นั้ แลว ไดบังเกดิ บนสวรรค.จาํ เดมิ แตน น้ั เขาเสวยสมบตั ใิ นเทวโลกและมนุสสโลก เมอ่ื พระวปิ สส-ีสัมมาสมั พทุ ธเจาอาศยั เมอื งพันธมุ ดปี ระทับอยู ณ เขมมฤคทายวนั ในกัปที่ ๙๑ จากกปั นี้ (เขา) จุติจากเทวโลก บงั เกิดในตระกูลพราหมณแกตระกลู หน่งึ . กใ็ นกาลน้นั พระผมู ีพระภาคเจา พระนามวา วปิ ส สีทรงแสดงธรรมทกุ ๆ ๗ ป. ปรากฏความต่นื เตน กนั ยกใหญ ทวยเทพในสกลชมพทู วีปตา งบอกขาวกนั ตอ ๆ ไปวา พระศาสดาจักทรงแสดงธรรม. พราหมณไ ดส ดบั ขา วน้นั แลว . แตเ ขามผี า สาฎกสาํ หรบั นุงอยูผนืเดยี ว. ของพราหมณกี ็เหมอื นกนั . ท้ังสองคนมผี า หม ผืนเดียวเทานั้น.ปรากฏไปทั่วเมอื งวา พราหมณเ อกสาฎก. เม่ือมีการประชุมกนั ดวยกิจอยางใดอยางหนง่ึ ของพวกพราหมณ เขาไปดวยตนเอง ใหนางพราหมณีอยูทเี่ รอื น. เมื่อมกี ารประชมุ นางพราหมณเี ขาอยูเรืองเอง. นางพราหมณีหม ผา ผืนน้ันไป. ก็ในวันน้นั พราหมณก ลา วกะนางพราหมณีวา แมมหา-จําเริญ แมจักฟงธรรมกลางคนื หรือกลางวนั . นางพราหมณีพดู วา ฉนัเปน มาตคุ าม ไมอ าจจะฟง ธรรมในเวลากลางคืนได. ฉันจักฟงธรรมในเวลากลางวัน จงึ ใหพ ราหมณอ ยทู เ่ี รือน หมผาผนื นนั้ ไปกบั พวกอุบาสกิ า
พระสุตตนั ตปฎก สังยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 606ในเวลากลางวนั ถวายบังคมพระศาสดานั่งฟงธรรมอยู ณ ทีค่ วรสวนขา งหนึ่ง แลวกลบั ไปกบั พวกอบุ าสิกา. คร้งั น้ันพราหมณใหน างพราหมณีอยเู รือน หอ ผานั้นไปวหิ าร. กส็ มัยน้ัน พระศาสดาประทบั นง่ั ณ ธรรมาสนท่ตี กแตง แลว ในทามกลางบริษทั ทรงจบั พดั วีชนอี ันวจิ ิตรตรสั ธรรมกถา ดุจยังผวู ิเศษใหห ย่ังลงสูอ ากาศคงคา ดจุ ทํายอดภูเขาสิเนรุใหถลม ลงสูส าคร. เมอื่พราหมณนั่งอยูส ดุ แถว ฟง ธรรมอยใู นยามตนน้นั เอง ปต ิมวี รรณะ ๕เกดิ ซานไปทั่วตวั . เขาพับผาหม คดิ วา เราจกั ถวายแดพ ระทศพล.ลําดับน้ัน เขาเกดิ จิตตระหนี่ ชีถ้ ึงโทษพนั ดวง. ผา ของนางพราหมณีและของทานมีผนื เดียวเทานน้ั . ไมม ผี าหม ไร ๆ อ่ืนอกี . ครนั้ ไมห ม แลวก็จะไมอาจออกไปขา งนอกได เพราะฉะน้นั จึงไมประสงคจะถวายแมดว ยประการทงั้ ปวง. คร้นั ปฐมยามลว งไป แมในมชั ฌิมยาม เขากเ็ กดิปติอยา งนัน้ อีก. ก็ครัน้ คดิ เหมือนอยา งน้ันแลว ก็ไมป ระสงคจ ะถวายเหมือนอยางนั้นอกี . เม่อื มชั ฌิมยามลว งไป แมใ นปจฉมิ ยาม เขาก็เกิดปต ิอยางนั้นอีก. เขาคดิ วา ตายหรือไมต ายก็ชางเถิด. เราจักรูใ นภายหลังจงึ พบั ผาหมวางไว ณ บาทมลู ของพระศาสดา แตน ้ัน เขาคูมอื ซาย ปรบดวยมือขวา เปลงเสียงวา เราชนะแลว เราชนะแลวถงึ ๓ คร้งั . สมยั นั้น พระเจา พันธมุ หาราช ประทบั นั่งทรงสดับธรรมอยูภายในมา นหลงั ธรรมาสน. ก็ธรรมดาพระราชายอ มไมพอพระทัยเสียงวา เราชนะแลว เราชนะแลว ดังนี้. พระองคท รงสง บรุ ุษไป มพี ระดํารัสวาเจาจงไปถามพราหมณผนู น้ั วา ทานพดู อะไร. บุรษุ น้นั ไปถามวา ทานพูดอะไร. คร้นั บุรุษน้นั ไปถามแลว พราหมณพดู วา พวกชนทเ่ี หลอื ข้ึน
พระสตุ ตันตปฎก สังยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 607ยานชางเปน ตน แลวชนะขาศกึ ขอนนั้ ไมอ ัศจรรยเลย. กเ็ ราสละจิตตระหนี่ไดถ วายผา หม แดพระทศพล ดจุ เอาสากทบุ หัวโคโกง ซ่ึงเดนิ มาขา งหลัง แลวใหม นั หนีไปฉะนัน้ . พราหมณกลาววา เราชนะความตระหน่นี ้ัน. ราชบุรุษกลับมากราบทลู เรอื่ งนน้ั แดพระราชา ตรัสวาพนาย เราไมร สู ิง่ สมควรของพระทศพล พราหมณเ ปนผูรู จึงทรงสงผาไปคหู นงึ่ . พราหมณเห็นผาคูน้นั จงึ คิดวา พระราชาพระองคน ี้ไมพระ-ราชทานอะไร ๆ แกเ ราผูน่งั น่งิ กอ น เม่ือเรากลา วถงึ คณุ ของพระศาสดาแลว จงึ พระราชทาน. ประโยชนอะไรของเราดว ยผา ทเี่ กดิ ขึ้น เพราะอาศยั คุณของพระศาสดา จงึ ไดถวายผา คนู น้ั แดพระทศพลอกี . พระ-ราชาตรัสถามวา พราหมณท ําอะไร สดับวา พราหมณถวายผาคนู ้ันแดพระตถาคตเชนเคย จึงทรงสง ผา ๒ คูอื่นไปให. พราหมณก ไ็ ดถวายผา ๒ คูนั้นอีก. พระราชาทรงสงผาไปอีก ๔ คู จนถึง ๓๒ ค.ู ครัง้ นน้ั พราหมณค ิดวา คผู า น้ีดูเหมอื นจะเพ่มิ จาํ นวนมากข้ึนจงึ ถอื เอาเพยี ง ๒ คู คือเพอ่ื ตนคหู น่ึง เพ่อื นางพราหมณคหู นง่ึ ไดถ วายแดพ ระตถาคต ๓๐ คู ตั้งแตนน้ั มา พราหมณนัน้ ไดค นุ เคยกบั พระศาสดา.วนั หนึ่งในฤดูหนาว พระราชาทรงเห็นพราหมณน ้นั ฟงธรรมในสาํ นักของพระศาสดา จึงพระราชทานผา รัตตกมั พลท่ีคลุมพระองคม ีคา แสนหนง่ึแลว ตรัสวา ต้ังแตน ไ้ี ป ทานจงหมผา ผืนน้ี ฟงธรรม. เขาคดิ วาประโยชนอ ะไรของเราดว ยผากมั พลผนื นี้ที่จะนําเขาไปในกายอนั เปอ ยเนา น้ีจึงกระทาํ ใหเปนเพดานเบอ้ื งบนเตียงของพระตถาคตภายในพระคนั ธกุฎีแลว จงึ ไป. วันหนงึ่ พระราชาเสดจ็ ไปวิหารแตเ ชา ตรู ประทับนง่ั ในสาํ นัก
พระสุตตนั ตปฎ ก สงั ยุตตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 608ของพระศาสดา ภายในพระคันธกฎุ ี. สมยั นนั้ พระพุทธรัศมีมีสี ๖ประการกระทบผากมั พล. ผากัมพลรงุ เรอื งยง่ิ นกั . พระราชาทรงมองไปเบอื้ งบนทรงจําได จึงกราบทลู วา ขาแตพ ระองคผ ูเ จรญิ ผากมั พลผืนนี้ของขา พระองค ขาพระองคไดใ หแกพ ราหมณเอกสาฎก. พระศาสดาตรสั วา มหาบพิตร พระองคบูชาพราหมณแลว พราหมณบ ชู าอาตมาแลว. พระราชาดําริวา พราหมณไ ดรสู ง่ิ ทคี่ วร เราไมร ู. ทรงเลือ่ มใสแลวทรงกระทําส่งิ ท่ีเกื้อกูลมนุษยท งั้ หมด ใหเปน อยา งละ ๘ ๆ พระราชทานอยางละ ๘ ทั้งหมด แลว ทรงแตง ต้ังพราหมณในตาํ แหนงปโุ รหิต. ช่อื วาทานอยา งละ ๘ ๆ รวมเปน ๖๔. เขานอมนําสลากภตั ร ๖๔ รักษาศลีจตุ ิจากนน้ั ไปบงั เกิดบนสวรรค. คร้นั จตุ จิ ากน้ันอกี ไดบังเกิดในเรือนกุฏมพี ในกรงุ พาราณสี ในระหวางพระพทุ ธเจา ๒ พระองค คอืพระผูม ีพระภาคเจาพระนามวา โกนาคมนะ และพระทศพลพระนามวากัสสปะ ในกปั นี.้ เขาอาศยั ความเจริญอยคู รองเรือน วนั หนึง่ เทยี่ วไปยงั ชงั ฆตกิ วิหาร ในปา. กส็ มัยนน้ั พระปจเจกพุทธเจา กระทําจวี รกรรมอยู ณ ฝง แมน า้ํเม่อื อนุวาต (ขอบจีวร) ไมพ อ จงึ ปรารภเพอื่ จะพับเก็บ. เขาเห็นจงึ ถามวา เพราะเหตไุ รพระคุณเจาพับเกบ็ เจา ขา. พระปจ เจกพุทธเจาตอบวา อนวุ าต ไมพ อ. เขากลา ววา ขอพระคณุ เจาจงทําดว ยผา ผนื น้ีเถิด. แลว ถวายผาสาฎกต้งั ความปรารถนาวา ขอเราจงอยา มคี วามเสือ่ มไรๆ ในท่ีทเี่ ราไปเกดิ เถดิ . แมทเี่ รอื นเมอ่ื นอ งสาวของเขาทะเลาะกันอยกู ับภรรยา พระปจเจกพุทธเจา เขา ไปบิณฑบาต. ลาํ ดับนนั้ นอ งสาวของเขาถวายบิณฑบาตแดพ ระปจ เจกพุทธเจา แลว ตั้งความปรารถนาวา เราพึงเวน
พระสุตตันตปฎก สงั ยตุ ตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 609คนพาลเหน็ ปานนี้ไป ๑๐๐ โยชน นางกลา วอยา งนี้ หมายถึงภรรยาของพราหมณน น้ั . ภรรยายนื อยทู ป่ี ระตเู รอื น คร้นั ไดยินจึงคิดวา พระปจเจก-พุทธเจา อยาฉันภัตรที่หญงิ นีถ้ วายเลย จึงรบั บาตรมาแลว ทิ้งบิณฑบาตเสยีเอาเปอ กตมใสจ นเตม็ ถวาย. นอ งสาวเหน็ จึงพดู วา หญงิ พาล เจา จงดาหรอื ทบุ ตีเราก็พอ แตเ จา ไมค วรท้ิงภตั รจากบาตรของทานผูบาํ เพญ็ บารมีมาตลอด ๒ อสงไขย แลวถวายเปอ กตม. ทนี ั้น ภรรยาของเขาจึงไดเ กิดความคิด. นางกลาววา หยดุ เถดิเจา ขา แลว ท้ิงเปอ กตม ลา งบาตร ขดั ดวยผงหอม แลวใสอ าหารมรี สอรอ ย ๔ ชนดิ จนเต็มบาตร วางบาตรซึง่ แพรวพราวดว ยสัปปมีสีดุจกลบี บัวที่โปรยไวเ บ้ืองบน บนมือของพระปจเจกพทุ ธเจา แลว ตงั้ ความปรารถนาวา ขอรา งกายของเราจงมีแสงเหมือนบิณฑบาตนีอ้ ันมีแสงเถดิ . พระ-ปจเจกพทุ ธเจาอนโุ มทนาแลวเหาะไปสอู ากาศ. ภรรยาสามีบําเพญ็ กุศลตราบสนิ้ อายุ ไดบ ังเกดิ บนสวรรค ครนั้ จตุ จิ ากสวรรค อุบาสกไดบ ังเกิดเปนบตุ รของเศรษฐมี ีสมบตั ิ ๘๐ โกฏิ ในกรงุ พาราณสี. สวนภรรยาไดบังเกิดเปน ธดิ าของเศรษฐีเชนเดยี วกัน. มารดาบิดาไดน าํ ธดิ าเศรษฐีน้นัแล มาใหแ กบตุ รเศรษฐีผูเจริญวยั . เพียงเมื่อเศรษฐธี ิดาเขา ไปสตู ระกลูสามีดว ยอานุภาพแหงกรรมอนั เปนผลทีน่ างไมถ วายทานมากอ น สกลกายกเ็ กิดกล่นิ เหมน็ ดุจสวมท่เี ขาเปดไวภายในธรณปี ระตู. เศรษฐกี ุมารถามวาน้ีกล่นิ ของใคร คร้ันไดฟง แลว เปน กล่นิ ของเศรษฐีธดิ า จงึ ตะโกนขนึ้ วา จงนําออกไป จงนําออกไป แลวสง กลบั ไปยงั เรือนตระกูลโดยทํานองเดียวกบั ทีน่ ํามา. เศรษฐีธิดาถูกสงกลบั ไปในฐานะ ๗ โดยทาํ นองนแ้ี ล คดิ วาเรากลบั ไปถึง ๗ ครั้งแลว เราจะอยไู ปทําไม จึง
พระสุตตันตปฎก สังยุตตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 610ยุบเครอื่ งอาภรณข องตนใหท ําอฐิ ทองคํา ยาว ๑ ศอก กวาง ๑ คืบ สงู๔ นิ้ว. จากนั้น นางถอื กอนหรดาลและมโนศลิ าแลว ถือดอกบัว ๘ กําไปสทู ีส่ รางเจดยี ข องพระกัสสปทศพล. กใ็ นขณะน้ัน เมอื่ นางมาถงึ กอ นอิฐไดตกลงมา. เศรษฐธี ดิ าจึงบอกกะชา งวา ทานจงวางอฐิ กอ นน้ไี วตรงน.้ี ชา งกลา ววา แมมหาจาํ เริญแมม าในเวลา แมว างเองเถิด. นางข้ึนไปเอานํ้ามันผสมหรดาลและมโนศลิ ากออิฐใหแนนดว ยหรดาลและมโนศิลาท่ีผสมนา้ํ มนั นั้น ทาํ การบชู าดวยดอกบัว ๘ กาํ เบือ้ งบน แลวไหวทาํ ความปรารถนาวา ขอกลิน่ จนั ทนจ งฟงุ ออกจากปากในที่เกิดเถดิ แลว ไหวพ ระเจดีย กระทําประทกั ษณิ กลบัไป. ในขณะน้ัน เศรษฐบี ุตรระลกึ ถึงเศรษฐธี ิดาทีน่ ําไปสูเรอื นครั้งแรก.แมใ นเมืองกม็ ีการปาวรอ งเลนนักษตั ร. เศรษฐถี ามคนรบั ใชวา เศรษฐี-ธิดาท่นี าํ ไปคราวนนั้ นางอยูท ไ่ี หน. คนรับใชต อบวา อยทู ี่เรือนตระกูลจะ นาย. เศรษฐบี ุตรกลาววา พวกเจาจงนาํ มา เราจกั เลน นักษตั รน้ัน.พวกรบั ใชพ ากนั ไปยนื ไหวเ ศรษฐธี ดิ า ครน้ั เศรษฐีธดิ าถามวา พวกทานมาทําไม จึงบอกเรอื่ งราวใหนางฟง. เศรษฐธี ดิ ากลา ววา พอคุณเราเอาเครอื่ งอาภรณบ ชู าเจดยี หมดแลว เราไมม อี าภรณ. คนรับใชพ ากนั ไปบอกแกเ ศรษฐีบตุ ร เศรษฐีบตุ รกลาววา พวกทา นจงนาํ นางมาเถดิ .เราจกั ใหเครือ่ งประดบั . คนรับใชนาํ นางมาแลว . พรอ มกบั ทีน่ างเขา ไปสเู รอื น กลิ่นจนั ทนแ ละกล่ินดอกบัวขาบฟงุ ไปตลอดเรอื น. เศรษฐีบุตรถามเศรษฐธี ดิ าวา คร้งั แรกกลิน่ เหม็นฟงุ ออกจากรา งกายของเจา. แตเดีย๋ วน้ีกลนิ่ จันทนฟงุ ออกจากรา งกาย กลนิ่ ดอกบวั ฟุงออกจากปากของ
พระสุตตนั ตปฎก สงั ยตุ ตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 611เจา. มนั เรอ่ื งอะไรกนั . นางไดบ อกกรรมทีน่ างทําต้งั แตตน. เศรษฐ-ีบุตรเลอื่ มใสวา คาํ สอนของพระพุทธเจา ทัง้ หลาย เปน คาํ สอนท่นี ําออกจากทกุ ขห นอ จงึ เอาเสอื้ กัมพลคลมุ เจดียทอง ประกอบดว ยดอกประทมุทอง ประมาณเทา ลอ รถ ณ ทน่ี ัน้ หอ ยยอ ยลงมาประมาณ ๑๒-๑๓ ศอก. เศรษฐีบุตรนน้ั ดาํ รงอยู ณ ที่นั้นตราบเทาอายแุ ลว ไปบงั เกดิ บนสวรรค จุตจิ ากนนั้ ไปบงั เกิดในตระกูลอํามาตยตระกลู หนงึ่ ในทีป่ ระมาณ๑๐๐ โยชน จากกรงุ พาราณสี. เศรษฐธี ิดาจุติจากเทวโลกไปบังเกิดเปนราชธิดาในราชตระกลู . เมือ่ ทง้ั สองเจรญิ วัย ใกลบ านท่ีกมุ ารอยไู ดมีการปาวรอ งเลนนกั ษตั ร. กมุ ารพูดกะมารดาวา แมจา แมใ หผ า สาฎกแกฉนัเถิด. ฉนั จกั เลนนกั ษัตร. มารดานําผา ทซี่ ักแลวมาให. กมุ ารไดป ฏิเสธผา ผืนนัน้ . มารดานาํ ผา ผนื อ่ืนมาใหอกี . กมุ ารปฏเิ สธผา ผนื นัน้ อกี . ลาํ ดับน้นั มารดาพูดกะกมุ ารนน้ั วา ลูกเอย เราเกิดในเรอื นเชนใดเราไมม ีบญุ เพอ่ื จะไดผาเนอ้ื ละเอยี ดกวานนั้ . กุมารกลาววา แมจ า ลกู จะไปทีท่ ่หี าได. มารดากลาววา ลกู เอย แมปรารถนาจะใหลูกไดร าชสมบัติในกรุงพาราณสใี นวนั น้ีทเี ดียว. กุมารนัน้ ไหวม ารดาแลว กลาววา แมจ าํลูกจะไปละ. มารดากลา ววา ไปเถดิ ลกู . นยั วา มารดาไดมีความคดิอยา งนี้วา กุมารจกั ไป ทีไ่ หน จกั นอนในทนี่ ้หี รอื ในเรือนน้.ี กก็ ุมารน้นั ออกไปโดยกาํ หนดของบุญไปถึงกรุงพาราณสี นอนคลุมศรี ษะบนแผนมงคลศิลา ณ พระอุทยาน. อนง่ึ เม่อื พระเจากรงุ พาราณสีสวรรคต วนั นั้นเปนวนั ที่ ๗. พวกอํามาตย ครั้นถวายพระเพลิงพระศพของพระราชาแลวจึงนัง่ ปรกึ ษากนั ณ พระลานหลวงวา พระราชามพี ระธดิ าองคเ ดยี วเทาน้ันไมมีพระโอรส ราชสมบัตทิ ่ไี มมพี ระราชาจะดาํ รงอยไู มไ ด ใครจะเปน
พระสุตตนั ตปฎก สงั ยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 612พระราชา เพราะฉะนัน้ ขอทานจงปรกึ ษากันดเู ถดิ . ปโุ รหิตกลา ววาไมค วรดูใหม ากไป. เราจะปลอ ยบุษยราชรถ. พวกอํามาตยเ ทยี มมาสินธพ ๔ ตวั มสี ีขาว ตัง้ เครอ่ื งราชกกธุ ภัณฑ ๕ อยาง และเศวตฉัตรไวบนรถ แลวปลอยรถไปใหประโคมดนตรตี ามไปขา งหลัง. ราชรถออกทางประตูดา นปราจีนบา ยหนาไปพระราชอทุ ยาน. ราชรถบา ยหนา ไปพระราชอทุ ยานดวยบุญบารม.ี พวกอาํ มาตยบ างคนบอกวา พวกเรากลับเถิด.ปโุ รหติ บอกวา พวกทานอยา กลบั . ราชรถกระทาํ ประทกั ษณิ กมุ ารแลวกห็ ยุด เปน การเตรยี มใหก มุ ารขนึ้ . ปุโรหิตดึงชายผา หมออก มองดฝู าเทากลาววา ทวีปนยี้ กไวกอ น กุมารน้คี วรครองราชสมบตั ิในทวปี ทัง้ ๔มที วปี ๒,๐๐๐ เปนบรวิ ารแลวใหป ระโคมดนตรี ๓ ครง้ั วา พวกทา นจงประโคมอีก พวกทา นจงประโคมอีก. ลําดบั นนั้ กมุ ารเปด หนามองดู แลวถามวา พอเจาพระคณุ ท้งั หลายพวกทานมาทําอะไรกัน. ตอบวา ทา นผูประเสรฐิ ราชสมบัติจะถึงแกทา น. ถามวา พระราชาไปไหนเสียเลา . ตอบวา สวรรคตเสียแลวนาย.ถามวา กีว่ นั แลว . ตอบวา ๗ วันเขาวนั น.้ี ถามวา พระโอรสหรือพระธดิ าไมม ีหรอื . ตอบวา มแี ตพ ระธดิ า ทานผปู ระเสรฐิ ไมม ีพระโอรส.รบั วา เราจักครองราชสมบตั .ิ พวกอํามาตยส รางมณฑปสําหรับอภิเษกกอน ประดบั พระราชธดิ าดวยเครอ่ื งประดับทกุ ชนิด แลว นาํ มายงั พระราชอุทยาน ไดก ระทําอภิเษกพระกุมาร. ลาํ ดบั น้นั พวกอํามาตยไดนาํ ผาราคาแสนหนง่ึ นอมถวายแดพระกมุ ารผไู ดท าํ อภเิ ษกแลว . พระกมุ ารตรัสถามวา น่ีอะไรพอ คณุ .ทลู วา ผานงุ พระเจาขา. ตรัสถามวา เปนผาเนอ้ื หยาบมิใชหรือ. ทูลวา
พระสตุ ตนั ตปฎก สงั ยุตตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 613บรรดาผา ทพี่ วกมนุษยใ ชสอยกันอยู ไมมผี า ทมี่ ีเนอื้ ละเอียดกวาน้ี พระ-เจาขา. ตรสั ถามวา พระราชาของพวกทา นนุงผา อยา งนี้หรือ. ทลู วาใชแลว พระเจาขา. ตรสั วา พระราชาของทา นคงจะไมม ีบญุ .พวกอาํ มาตยนาํ พระเตาทองมาถวาย. พระกมุ ารเสดจ็ ลกุ ข้ึนชาํ ระพระหตั ถท้งั สอง ทรงบวนพระโอษฐแลว ทรงอมนํา้ พนไปทางทศิ ตะวนั ออก.ตนกลั ปพฤกษ ๘ ตน ทําลายแผน ดนิ อันหนาผดุ ขน้ึ . พระกมุ ารทรงอมนาํ้ พน ไปทางทิศใต ทิศตะวันตก ทิศเหนอื อกี เพราะเหตุนัน้ ตนกลั ปพฤกษผุดขึน้ แลวทัง้ ๔ ทิศอยางน.ี้ ในทกุ ทิศตน กลั ปพฤกษผ ุดขน้ึทศิ ละ ๘ ตน จงึ รวมเปน ๓๒ ตน . พระกุมารทรงนุงผา ทิพยผ นื หน่งึ ทรงหมผืนหนงึ่ ตรสั วา พวกทา นจงเทยี่ วตกี ลองประกาศในแควน ของพระเจานันทะวา พวกหญิงปนดาย อยาปนดา ย แลว ใหย กฉตั ร ทรงชา งตัวประเสริฐ ที่ประดับตกแตง แลว เสด็จเขา สูพระนคร ทรงขน้ึ สปู ราสาทเสวยมหาสมบตั ิ. เมอ่ื กาลผา นไปดวยประการฉะนี้ วนั หน่ึง พระเทวีทรงเหน็ สมบตั ิของพระราชา ทรงแสดงอาการของความเปนผกู รุณาวา โอ ผูม ตี ปะ.ตรัสถามวา อะไร พระเทวี. ทลู วา สมบัตใิ หญย ่งิ นักเพคะ ในอดตีพระองคเชือ่ พระพุทธเจา ไปกระทาํ ความดี บัดนี้ พระองคไ มกระทาํกุศลอันเปน ปจจยั แหง อนาคต. ตรัสถามวา เราจักใหแ กใ คร. ผูมีศีลก็ไมม .ีทลู วา พระองค ชมพูทวีปไมวางเปลาจากพระอรหันต. ขอพระองคจ งทรงเตรยี มทานไว หมอ มฉนั จกั ได (นมิ นต) พระอรหันตม า. ในวนั รุงขึ้น พระราชารบั ส่งั ใหเตรยี มทานทางทวารดา นปราจีน. พระ-เทวที รงอธิษฐานองคอโุ บสถแตเชาตรู บายหนาไปทางทิศตะวันออก
พระสุตตันตปฎก สังยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 614ณ เบ้ืองบนปราสาท หมอบลงกลาววา หากพระอรหันตมีอยูใ นทิศน.้ีขอพระอรหันตท ง้ั หลายจงมารับภิกษาของพวกขา พเจา ในวันพรงุ นี้เถดิ .ในทศิ นน้ั ไมมีพระอรหันต ไดใหส ักการะนั้นแกค นกาํ พรา และยาจก. ในวนั รงุ ขนึ้ พระเทวีไดเตรยี มทาน ณ ประตดู า นทกั ษิณ แลว กระทําเหมอื นอยางนัน้ . ในวนั รงุ ขน้ึ ไดเ ตรียมทานดา นประตทู ิศปจ ฉิม แลว กระทาํเหมือนอยา งน้นั . ก็ในวันทีพ่ ระนางเตรยี มทาน ณ ประตูดา นทิศอุดร พระปจ เจก-พุทธเจา ชือ่ มหาปทมุ ผูเ ปน ใหญก วา พระปจ เจกพทุ ธเจา ๕๐๐ บุตรของนางปทุมวดี ซ่งึ อยใู นหมิ วันต อนั พระเทวีนิมนตแลว เหมอื นอยางนัน้ไดเรียกพระปจเจกพุทธเจาผูเปนนองมากลาววา ทานผนู ิรทุกขทัง้ หลายพระราชานนั ทะทรงนมิ นตพวกทาน ขอพวกทา นจงรบั นิมนตพ ระองคเถดิ . พระปจเจกพทุ ธเจา เหลา น้ันรบั นิมนตแ ลว วนั รงุ ข้ึนลา งหนาทีส่ ระอโนดาต เหาะมาลง ณ ประตูดา นทิศอุดร. พวกมนุษยพากันไปกราบทลู พระราชาวา ขา แตพระองคผปู ระเสรฐิ พระปจ เจกพทุ ธเจา ๕๐๐มาแลว พระเจา ขา . พระราชาพรอมกบั พระเทวเี สดจ็ ไปทรงไหวแ ลว รับบาตรนมิ นตพ ระปจ เจกพทุ ธเจา ใหข น้ึ บนปราสาท แลวทรงถวายทานแกพระปจเจกพทุ ธเจาทั้งหลายบนปราสาทนน้ั ครนั้ เสร็จภัตกจิ แลว พระ-ราชาทรงหมอบ ณ บาทมลู ของพระสงั ฆเถระ พระเทวีทรงหมอบ ณบาทมูลของพระสงั ฆนวกะ ทรงใหทาํ ปฏิญญาวา พระคณุ เจาทงั้ หลายจกั ไมลาํ บากดวยปจจัย ขา พเจา ทง้ั หลายจักไมเส่อื มจากบุญ ขอพระคุณเจาท้งั หลายจงใหปฏญิ ญาเพือ่ อยู ณ ท่นี ีต้ ลอดชีวติ ของพวกขา พเจาทัง้ หลายเถิด แลวทรงสรางท่อี ยู โดยอาการท้ังปวง คอื บรรณศาลา ๕๐๐ ที่
พระสตุ ตนั ตปฎ ก สงั ยุตตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 615จงกรม ๕๐๐ ที่ ในพระอทุ ยาน. แลว อาราธนาใหพระปจเจกพุทธเจา อยูณ ทีน่ ้นั . เมอื่ กาลผา นไปอยา งน้ีชายแดนของพระราชากาํ เรบิ . พระราชารับส่ังกะพระเทวีวา ฉันจะไปทาํ ชายแดนใหสงบ เธออยาประมาทในพระปจเจกพุทธเจาทัง้ หลาย แลวเสด็จไป. เม่อื พระราชายงั ไมเสด็จมาอายสุ ังขารของพระปจเจกพุทธเจา ทงั้ หลายสิ้นแลว . พระปจ เจกพุทธเจาช่ือมหาปทมุ เขา ฌานตลอด ๓ ยามในราตรี เม่ืออรุณขึน้ ยืนพิงกระดานปรินพิ พานดวยปรนิ พิ พานธาตุ อันเปนอนปุ าทิเสส.แมท่เี หลือทงั้ หมดก็ปรินพิ พานดวยอุบายน้.ี ในวนั รงุ ขน้ึ พระเทวรี ับส่งัใหท าํ ทนี่ ัง่ ของพระปจ เจกพทุ ธเจาทั้งหลาย ฉาบดว ยของเขียว เกลี่ยดอกไมทําการบชู า นัง่ แลดูพระปจ เจกพทุ ธเจา ท้ังหลายมา เม่ือไมเ ห็นมา จงึทรงสง ราชบรุ ุษไปวา เธอจงไป จงทราบวา พระผูเปน เจา ทงั้ หลายไมสบายหรอื อยา งไร. ราชบุรษุ ไปเปดประตูบรรณศาลาของพระปจเจก-พุทธเจา มหาปทุม เม่ือไมเ ห็น ณ ท่นี น้ั จงึ ไปยังท่ีจงกรม เหน็ ทานยนืพิงกระดาน ไหวแ ลว กลา ววา ถงึ เวลาแลวพระคุณเจา . รางกายดับแลวจักพดู ไดอยา งไร. ราชบรุ ุษคดิ วา เห็นจะหลับ จึงไปลูกคลาํ ทหี่ ลังเทารวู าทา นปรนิ ิพพานเสียแลว เพราะเทา เยน็ และกระดา ง จงึ ไปหาทานที่ ๒ทานที่ ๓ ก็อยา งนนั้ รูวาทา นทั้งหมดปรนิ ิพพานแลว จงึ ไปราชตระกูล เมื่อรับสง่ั ถามวา พระปจ เจกพุทธเจา ทงั้ หลายไปไหน กราบทูลวา ขาแตพระเทวี พระปจ เจกพทุ ธเจาทัง้ หลายปรนิ ิพพานเสยี แลว .พระเทวีทรงครา่ํ ครวญกันแสง เสดจ็ ออกพรอ มกับชาวเมือง ไปถึงที่นน้ั ใหเ ลน สาธุกฬี า กระทาํ ฌาปนกจิ พระปจเจกพทุ ธเจาทงั้ หลาย แลว ถอืเอาธาตกุ อ เจดยี บรรจุ.
พระสตุ ตันตปฎก สังยตุ ตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 616 พระราชาครน้ั ทําใหชายแดนสงบ เสด็จกลับ ตรัสถามพระเทวีซึ่งเสด็จมาตอ นรับวา นองหญิง เธอไมป ระมาทในพระปจ เจกพทุ ธเจาท้ังหลายหรอื . พระผเู ปนเจา ท้งั หลายสบายดีหรอื . ทลู วา พระปจ เจก-พทุ ธเจา ทั้งหลายปรนิ พิ พานเสียแลวเพคะ. พระราชาทรงดํารวิ า ความตายยังเกิดแกบ ณั ฑิตเห็นปานน้ีได พวกเราจะพน ความตายไดแ ตไ หน. พระ-ราชาไมเ สดจ็ กลับพระนคร เสด็จเขาไปยงั พระอทุ ยานน้ันแล รบั ส่ังใหเรยี กเชษฐโอรสมา ทรงมอบราชสมบตั แิ กโอรสนั้น พระองคเ องเสด็จผนวชเปน สมณเพศ. แมพ ระเทวเี มอื่ พระสวามีผนวชทรงดาํ ริวา เราจกัทําอะไรได จึงทรงผนวชในพระอทุ ยานน้นั เอง. แมท งั้ สองพระองค ยังฌานใหเ กดิ จุติจากทีน่ น้ั แลว กบ็ ังเกิดในพรหมโลก. เมอ่ื ทงั้ สองอยูในพรหมโลกนัน้ เอง พระศาสดาของเราท้งั หลายทรงอบุ ัตขิ ้นึ ในโลก ทรงธรรมจกั รอันบวรใหเปน ไปแลว เสด็จถึงกรุงราชคฤหโดยลําดับ. ปป ผลิมาณพนี้เกิดในทองของอัครมเหสีของกบิลพราหมณในบา นพราหมณมหาดติ ถ แควนมคธ. นางภทั ทกาปลานเี กดิ ในทองของอัคร-มเหสีของพราหมณโ กสยิ โคตร ในสาคลนคร แควน มคธ. เมอื่ เขาเจริญวยัโดยลาํ ดับ ปป ผลมิ ามาณพอายุ ๒๐ นางภัททาอายุ ๑๖ มารดาบดิ าแลดบู ุตร คาดค้นั เหลือเกินวา ลกู เอย ลูกเตบิ โตแลว ควรดาํ รงวงศตระกลู . มาณพกลาววา คุณพอ คณุ แม อยาพูดถอยคําเชนนใ้ี หเขาหูลูกเลย. ลกู จะปรนนิบตั ติ ราบเทา ท่คี ณุ พอ คณุ แมด ํารงอย.ู ลกู จักออกบวชภายหลังคณุ พอคณุ แม. ลว งไปอกี เลก็ นอย มารดาบดิ ากพ็ ูดอกี . แมมาณพกป็ ฏเิ สธเหมือนอยา งเดมิ . ตั้งแตนั้นมามารดาก็ยงั อยไู มขาดเลย.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก สังยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 617มาณพคดิ วา เราจกั ใหมารดายนิ ยอมเรา. จงึ ใหท องสีแดงพันลิม่ ใหช างทองหลอรปู หญงิ คนหนงึ่ เมือ่ เสรจ็ ทําการขดั สีรูปหญงิ นั้น จึงใหน ุงผาแดง ใหป ระดับดวยดอกไม สมบูรณดว ยสี และดว ยเครือ่ งประดับตาง ๆแลวเรยี กมารดามาบอกวา แมจ า ลกู เมือ่ ไดอารมณเห็นปานน้ี จักดํารงอยูในเรอื น เมือ่ ไมไ ดจกั ไมด าํ รงอย.ู พราหมณีเปนหญิงฉลาด คดิ วาบตุ รของเรามีบุญ ใหท าน สรางสมความดี เมื่อทาํ บุญมไิ ดท าํ เพยี งผเู ดยี วเทานัน้ . จกั มีหญงิ ท่ีทําบญุ ไวมาก มีรูปเปรียบรูปทองเชน รปู หญิงนี้แนน อน. จงึ เรยี กพราหมณ ๘ คนมาสง่ั วา พวกทา นจงใหอ่ิมหนาํ สําราญดวยความใครทกุ ชนดิ ยกรปู ทองข้นึ สูรถไปเถิด. พวกทานจงคน หาทารกิ าเห็นปานนี้ ในตระกลู ท่เี สมอดว ยชาติ โคตร และโภคะของเรา. พวกทา นจงประทับตราไว แลวใหรปู ทองนี.้ พราหมณเ หลา น้นั ออกไปดว ยคิดวา นเ้ี ปน กรรมของพวกเรา แลว คดิ ตอไปวา เราจักไปที่ไหน รวู าแหลงของหญิง มอี ยใู นมัททรฐั เราจักไปมัททรฐั จงึ พากันไปสาคลนครในมัททรัฐ. พวกพราหมณต ้งั รปู ทองนน้ั ไวท ่ีทาน้ํา แลวพากนั ไปนงั่ณ ท่ีควรสวนขา งหนงึ่ . ครงั้ นนั้ พีเ่ ลยี้ งของนางภทั ทา ใหน างภทั ทาอาบนํ้าแตงตัวแลวใหน ง่ั ในหอ งอนั เปน สริ ิแลว มาอาบนาํ้ ครั้นเห็นรปู นน้ั จงึ คุกคามดวยสําคัญวา ลกู สาวนายเรามาอยใู นท่ีนี้ กลาววา คนหัวด้อื เจา มาท่นี ท้ี ําไมเงื้อหอกคอื ฝา มือตกนางภทั ทาทส่ี ีขา ง กลาววา จงรบี ไปเสยี ว. มือสนั่เหมอื นกระทบทห่ี ิน. พี่เลย้ี งหลีกไป เกิดความรสู กึ วา ลกู สาวนายของเราแตง ตวั กระดางถึงอยา งน้.ี พเ่ี ล้ียงกลา ววา จรงิ อยู แมผ ูถือเอาผานงุ นี้ไมสมควรแกล กู สาวนายของเรา.
พระสุตตนั ตปฎ ก สงั ยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 618 ลาํ ดับนัน้ พวกคนแวดลอมพี่เลย้ี งนั้น พากนั ถามวา ลูกสาวนายของทานมีรปู อยางน้หี รือ. นางกลาววา อะไรกัน นายของเรามรี ปู งามกวาหญิงนต้ี ้ังรอยเทา พนั เทา. เม่อื นางนง่ั อยใู นหอ งประมาณ ๑๒ ศอก ไมตองตามประทปี . เพราะแสงสวางของรางกายเทา นนั้ กาํ จัดความมืดได.พวกมนษุ ยก ลา ววา ถา เชนนนั้ ทา นจงมา พาหญงิ คอ มนัน้ ไป ใหย กรปู ทองไวในรถ ตั้งไวทีป่ ระตูเรอื นของพราหมณโ กสยิ โคตร ประกาศใหร ูวามา. พราหมณทาํ ปฏิสนั ถารแลว ถามวา พวกทานมาแตไ หน. พวกมนษุ ยกลาววา พวกเรามาแตเ รือนของกบลิ พราหมณ ณ บา นมหาดติ ถ ในแควน มคธ ดว ยเหตชุ อื่ นี.้ พราหมณกลาววา ดแี ลว พอ คณุ . พราหมณของพวกเรา มีชาตโิ คตรและสมบัติเสมอกัน เราจกั ใหนางทาริกา. แลวรบั บรรณาการไว. พราหมณเหลานน้ั สง ขาวใหก บิลพราหมณทราบวาไดน างทารกิ แลว โปรดทาํ ส่ิงท่ีควรทําเถดิ . มารดาบิดาฟง ขา วนนั้ แลวจงึ บอกแกป ปผลิมาณพวา ขาววา ไดน างทารกิ าแลว . มาณพคิดวาเราคดิ วา เราจกั ไมไ ด ก็มารดาบดิ ากลา ววา ไดแ ลว เราไมต องการจกั สง หนังสอื ไป จึงไปในทล่ี บั เขียนหนงั สอื วา แมภทั ทา จงครองเรอื นตามสมควรแกช าติ โคตร และโภคะของตนเถิด เราจกั ออกบวช.ทา นอยา ไดมคี วามเรา รอนใจในภายหลังเลย. แมนางภัททาก็สดับวา นัยวามารดาบดิ าประสงคจ ะยกเราใหแ กผ โู นน จงึ ไปในท่ลี บั เขยี นหนงั สือวาบุตรผเู จรญิ จงครองเรอื นตามสมควรแกช าติ โคตร และโภคะของตนเถดิเราจักบวช ทานอยา ไดเ ดือดรอนในภายหลังเลย. หนงั สอื แมท ั้งสอง ไดมาถงึ พรอมกันในระหวา งทาง. ถามวา น้หี นงั สอื ของใคร. ตอบวาปปผลิมาณพสงใหน างภทั ทา. ถามวา นขี้ องใคร. ตอบวา นางภัททาสงให
พระสตุ ตันตปฎก สงั ยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 619ปป ผลิมาณพ. คนทั้งสองกไ็ ดพดู ขนึ้ วา พวกทานจงดูการกระทําของพวกทารกเถดิ จึงฉกี ทงิ้ ในปา เขียนหนงั สือมีความเหมอื นกนั สง ไปทงั้ ขา งนี้และขางโนน เมอื่ คนท้ังสองไมปรารถนาเหมอื นกนั นัน่ แหละ กไ็ ดม กี ารอยูรว มกนั . ก็ในวันน้ันเองมาณพกใ็ หรอ ยพวงดอกไมพวกหน่ึง. แมนางภทั ทากใ็ หร อยพวงหนง่ึ . แมค นทง้ั สองบรโิ ภคอาหารในเวลาเยน็ แลว จึงวางพวงดอกไมเหลา นนั้ ไวก ลางทีน่ อน คิดวาเราทัง้ สองจกั เขานอน มาณพนอนขา งขวา นางภทั ทานอนขา งซาย. คนทั้งสองนั้น เพราะกลวั การถูกตองรางกายกนั และกนั จงึ นอนไมห ลับจนลว งไปตลอด ๓ ยาม. กเ็ พียงหวั เราะกนั ในเวลากลางวันกไ็ มม ี. คนทงั้ สองมิไดร วมกนั ดว ยโลกามสิ . เขาทง้ั สองมิไดสนใจสมบตั ติ ลอดเวลาท่มี ารดาบิดายังมีชีวิตอยู เม่ือมารดาบิดาถึงแกกรรมแลวจงึ สนใจ. มาณพมีสมบัตมิ าก. ในวันหน่งึ ควรไดผ งทองคําท่ขี ดั สีรางกายแลว ทิง้ ไวประมาณ ๑๒ ทะนาน โดยทะนานของชาวมคธ.มีสระใหญ ๖๐ แหง ตดิ เคร่อื งยนต. มีพน้ื ทีท่ าํ การงาน ๑๒ โยชน. มบี านทาส ๑๔ แหง เทา อนุราธบรุ .ี มีชา งศึก ๑๔ เชอื ก รถ ๑๔ คัน. วนั หนง่ึมาณพขี่มา ตกแตง แลว มมี หาชนแวดลอ มไปยังพน้ื ท่ีการงาน ยนื ในที่สดุ เขต เห็นนกมกี าเปนตน จกิ สัตวมีไสเดอื นเปน ตน กิน จากทถ่ี ูกไถทาํ ลาย จงึ ถามวา นกเหลานกี้ ินอะไร. ตอบวา กนิ ไสเ ดือนจะ นาย.ถามวา บาปท่ีนกเหลานี้ทําจะมีแกใ คร. ตอบวา แกพวกทา นจะ นาย.มาณพคิดวา บาปที่นกเหลา นี้ทาํ จะมีแกเ รา. ทรัพย ๘๖ โกฏิจกั ทาํ อะไรเราได. พนื้ ที่การงานประมาณ ๑๒ โยชน จักทําอะไรได. สระ ๖๐สระตดิ เครื่องยนต หมูบาน ๑๔ หมู จกั ทาํ อะไรได เราจกั มอบสมบัติ
พระสตุ ตนั ตปฎก สงั ยตุ ตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาที่ 620ทั้งหมดน้นั แกนางภทั ทา ออกบวช. ในขณะนั้น แมนางภทั ทกาปลานีก็ใหเทหมองา ๓ หมอลงในระหวางพน้ื ที่ พวกพี่เล้ยี งน่งั ลอม. เห็นกากนิสตั วท ก่ี นิ งา จึงถามวา กาเหลา น้กี นิ อะไรแม. ตอบวา กินสัตวจ ะแมนาย. ถามวา อกศุ ลจะมแี กใ คร. ตอบวา จะมแี กท านจะ แมน าย.นางคิดวา เราควรไดผ าประมาณ ๔ ศอก และขาวสกุ ประมาณทะนานหนงึ่ . กผ็ วิ า อกุศลทช่ี นประมาณเทา น้ที าํ จะมีแกเ รา ดว ยวา เราไมสามารถจะยกศีรษะขนึ้ ไดจากวัฏฏะตง้ั พนั ภพ. พอเมื่ออยั ยบตุ ร (มาณพ) มาถงึเราจกั มอบสมบัติทง้ั หมดแกเขาแลวออกบวช. มาณพมาอาบนํ้าแลว ข้นึ สปู ราสาทหนงึ่ ณ บัลลังกม คี ามาก. สาํ ดับนั้น ชนทงั้ หลายจัดโภชนะอันสมควรแกจกั รพรรดิใหแกเ ขา. ทั้งสองบริโภคแลว เมื่อบรวิ ารชนออกไปแลว จึงพูดกันในท่ีลับ น่งั ในทส่ี บาย.แตนน้ั มาณพกลาวกะนางภัททาวา ดกู อ นแมภัททา ทานมาสเู รือนน้นี าํทรพั ยมาเทาไร. นางตอบวา ๕๕,๐๐๐ เกวยี นจะนาย. มาณพกลาววาทรัพย ๘๗ โกฏิ และสมบตั ิมสี ระ ๖๐ ติดเครอ่ื งยนต มีอยใู นเรือนน้ีท้งั หมดนั้นเรามอบใหแ กทานผเู ดียว. นางถามวา กท็ า นเลานาย. ตอบวาเราจกั บวช. นางกลาววา แมฉันนัง่ มองดกู ารมาของทาน. ฉันก็จักบวชจะ นาย. ท้ังสองคนกลาววา ภพท้ังสามเหมือนบรรณกฎุ ีที่ถกู ไฟไหม. เราจักบวชละ จงึ ใหนาํ ผาเหลอื งยอมดว ยนา้ํ ฝาด และบาตรดนิ เหนยี วมาจากภายในตลาด ยังกนั และกนั ใหปลงผม บวชดวยตั้งใจวา บรรพชาของพวกเราอทุ ศิ พระอรหันตใ นโลก เอาบาตรใสถ ลกคลอ งบา ลงจากปราสาท. บรรดาทาสและกรรมกรในเรอื นไมมีใครรูเลย. ครัง้ น้นั ชาว
พระสุตตนั ตปฎก สังยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 621บา นทาสจําเขาซงึ่ ออกบา นพราหมณไปทางประตูบานทาสได ดว ยสามารถอากปั กริ ิยา. ชาวบา นทาสตางรอ งไห หมอบลงแทบเทากลาววา นายจํานายจะทําใหพ วกขา พเจาไรท ่พี งึ่ หรอื . ท้ังสองกลาววา เราท้งั สองบวชดวยคิดวา ภพทง้ั สามเปน เหมอื นบรรณศาลาทถี่ ูกไฟไหมเ ผาผลาญ. หากเราทัง้ สองจะทาํ ในพวกทานคนหน่งึ ๆ ใหเ ปน ไท. แมรอยปก ย็ ังไมห มด.พวกทานจงชาํ ระศีรษะของพวกทา นแลว จงเปนไทเถิด. เม่ือชนเหลา น้นัรองไห เขาพากนั หลีกไป. พระเถระเดนิ ไปขางหนา เหลยี วมองดูคดิ วา หญิงผมู คี า ในสกลชมพ-ูทวปี ชือ่ ภัททกาปลานนี ้.ี เดินมาขางหลังเรา. ขอ ทใี่ คร ๆ พงึ คดิ อยางน้วี า ทา นทงั้ สองนี้แมบ วชแลว กไ็ มอ าจจะพรากจากกนั ได ช่อื วา กระทาํกรรมอันไมส มควร น้ีไมเปน ฐานะที่จะมีได. อกี อยา งหนง่ึ ใคร ๆ พึงมีใจประทุษรายแลว จะไปตกคลักในอบาย. พระเถระจึงเกดิ คิดขึ้นวา เราควรละหญิงนไ้ี ป. พระเถระไปขา งหนา เห็นทางสองแพรง จึงไดย ืนในท่สี ดุทางสองแพรง น้ัน. แมน างภัททากไ็ ดมายนื ไหว. พระเถระกลา วกะนางวาแมมหาจําเรญิ มหาชนเหน็ หญงิ เชนทานเดนิ มาขา งหลังเรา แลว คิดวาทา นท้งั สองน้ี แมบ วชแลวกไ็ มอาจจะพรากจากกันได จะพึงมีจติ รา ยในเรา จะไปตกคลกั อยูในอบาย. เธอจงถอื เอาทางหนึ่งในทางสองแพรง นี.้ฉันจักไปผเู ดียว. นางภัททากกลา ววา ถกู แลวจะ พระผูเ ปน เจา ชื่อวามาตคุ ามเปน มลทินของพวกบรรพชติ . ชนทัง้ หลายจะชี้โทษของเราวาทา นท้งั สองแมบวชแลว ก็ยังไมพรากกัน. ขอเชญิ ทานถือเอาทางหนึง่ .เราทัง้ สองจักแยกกัน . นางกระทําประทกั ษิ ๓ ครง้ั ไหวดว ยเบญจางค-ประดิษฐในฐานะ ๔ ประคองอัญชลีรุง เรืองดว ยทสนขสโมธาน มติ ร
พระสุตตันตปฎก สังยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาที่ 622สันถวะทีท่ าํ มานานประมาณแสนกัป ทาํ ลายลงในวันน้.ี พระผูเปน เจาชอ่ื วา เปน ทกั ษณิ า ทางเบื้องขวายอ มควรแกพ ระผเู ปน เจา . ดฉิ นั ช่ือวาเปน มาตคุ ามเปนฝายซาย ทางเบ้ืองซา ยยอ มควรแกด ฉิ ัน ดงั นี้ ไหวแ ลวเดนิ ไปสูท าง. ในเวลาท่ีคนทงั้ สองแยกจากกัน มหาปฐพีนค้ี รนื ครนั่ สัน่สะเทือนดุจกลาววา เราแมสามารถจะทรงเขาในจักรวาลและเขาสเิ นรุไวไดกไ็ มส ามารถจะทรงคณุ ของทา นทงั้ สองไวได. ยอ มเปนไปดจุ เสียงสายฟาบนอากาศ. ภเู ขาจักรวาลบันลอื สน่ั . พระสัมมาสมั พุทธเจา ประทบั น่งั ณ พระคันธกุฎีใกลมหาวิหารเวฬุวัน ทรงสดับเสียงแผน ดนิ ไหว ทรงพระรําพึงวา แผนดนิ ไหวเพือ่ใครหนอ ทรงทราบวา ปปผลิมาณพและนางภัททกาปลานี สละสมบัติมากมายอุทิศเรา. การไหวของเผน ดนิ นี้ เกดิ ดวยกําลังคณุ ของคนทง้ั สองในทีท่ เ่ี ขาจากกนั แมเรากค็ วรทําการสงเคราะหแ กเขาท้ังสอง จงึ เสด็จออกจากพระคนั ธกฎุ ี ทรงถอื บาตรและจวี รดว ยพระองคเอง ไมทรงปรกึ ษาใคร ๆ ในบรรดามหาเถระ ๘๐ ทรงกระทําการตอ นรบั ประมาณ๓ คาวุต ประทับนั่งขัดสมาธิ ณ โคนตนพหุปุตตกนิโครธ ในระหวางกรงุ ราชคฤหและกรุงนาลนั ทา. กเ็ มอื่ ประทบั น่งั มไิ ดป ระทับนัง่ เหมอื นภิกษผุ ูถือผาบังสกุ ลุ เปน วัตรรปู ใดรูปหนง่ึ ทรงถอื เพศแหงพระพทุ ธเจาประทับนง่ั เปลง พระพุทธรัศมเี ปน ลําสูทีป่ ระมาณ ๘๐ ศอก. . ในขณะน้ันพระพทุ ธรัศมีประมาณเทาใบไม รม ลอ เกวยี น และเรอื นยอดเปนตนแผซ านสายไปขา งโนนขา งนี้ ปรากฏการณดจุ เวลาพระจนั ทรและพระ-อาทติ ยขน้ึ พันดวง ไดกระทําบรเิ วณปาใหญใหแ สงสวางเปนอนั เดยี วกันดวยประการฉะน้ี.
พระสุตตนั ตปฎก สงั ยุตตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาที่ 623 บริเวณปา รุง เรืองดว ยสริ แิ หง มหาปรุ ิสลกั ษณะ ๓๒ ดจุ ทอ งฟารงุ โรจนดว ยหมดู าว ดจุ นาํ้ มกี ลมุ ดอกบัวบานสะพรงั่ . ลําตนนโิ ครธมีสีขาว. ใบสเี ขยี ว ใบแกสีแดง. แตในวันน้นั ตน นโิ ครธพรอมลําตนและกงิ่มีสีเหมือนทอง. พึงทราบอนุปพุ พกิ ถาท่ที านกลา วความแหง บทวาอทธฺ านมคฺค ปฏิปนฺโน แลว กลาววา บัดนี้ ผนู บ้ี วชแลวดวยประการใดและเดนิ ทางไกลดว ยประการใด เพ่อื ใหเน้อื ความน้ีแจม แจง พงึ กลาวอนปุ ุพพกิ ถาน้ตี ัง้ แตอภินิหารอยางน.้ี บทวา อนตฺ รา จ ราชคห อนฺตรา จ นาฬนฺท ความวา ในระหวางกรงุ ราชคฤหแ ละกรงุ นาลนั ทา. บทวา สตถฺ ารฺจ วตาหปสฺเสยฺย ภควนตฺ เมว ปสเฺ สยย ความวา หากวา เราพงึ เหน็ พระ-ศาสดาไซร. เราพงึ เหน็ พระผูมพี ระภาคเจา ผูเปน พทุ ธะนีแ้ ล. เพราะศาสดาอ่นื จากนีไ้ มส ามารถจะเปน ของเราไดเลย. บทวา สุคตฺจ วตาหปสฺเสยยฺ ภควนตฺ เมว ปสเฺ สยฺย ความวา หากเราพงึ เห็นทานผชู ่ือวาสคุ ต เพราะความทแ่ี หงสัมมาปฏบิ ตั อิ ันทา นถึงแลว ดวยดีไซร เราพงึ เห็นพระผมู ีพระภาคเจาผเู ปน พุทธะน้ีแล. เพราะพระสคุ ตอ่นื จากนีไ้ มสามารถจะเปนของเราได. บทวา สมฺมาสมพฺ ทุ ธฺ ฺจ วตาห ปสเฺ สยฺย ภควนตฺ เมว ปสเฺ สยยฺความวา หากเราพึงเหน็ ทานผชู อ่ื วา สัมมาสัมพุทธะ เพราะเปน ผูตรสั รเู องโดยชอบไซร. เราพึงเหน็ พระผมู พี ระภาคเจาองคนี้แล. เพราะพระสมั มา-สัมพทุ ธะอ่ืนจากนไ้ี มสามารถจะมีแกเ ราได น้ีเปน ความประสงคในขอ น้ีดวยประการฉะน.้ี เกจิอาจารยแ สดงวา ดกู อนผูมอี ายุ เรามไิ ดมีความสงสยั ในพระผูมีภาคพระเจา วา นพี้ ระศาสดา นีพ้ ระสคุ ต นพี้ ระสัมมา-
พระสตุ ตันตปฎ ก สงั ยุตตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 624สัมพุทธเจา ดวยการเห็นเทาน้ัน ดวยประการฉะน.้ี บทวา สตฺถา เม ภนเฺ ต นี้ มาแลว ๒ ครั้งกจ็ ริง แตพ งึทราบวา ทานกลาวแลว ๓ ครัง้ . เกจิอาจารยแสดงวา ดว ยบทนี้ ดกู อ นผูมอี ายุ เราประกาศความเปน สาวก ๓ คร้ังอยางน้ี. บทวา อชานเฺ วแปลวา ไมร ูอ ย.ู แมในบทท่ี ๒ ก็มีนยั นเ้ี หมือนกนั . บทวา มทุ ฺธาปตสสฺ วิปเตยยฺ ความวา สาวกผูมีจติ เส่อื มใสทุม เทจิตใจทัง้ หมดอยา งน้ีพงึ ทําความเคารพอยา งย่ิงเหน็ ปานน้ี ตอ ศาสดาภายนอกอน่ื ผไู มร ูป ฏญิ ญาวาเรารู ศรี ษะของศาสดานัน้ พึงหลุดจากคอ ดจุ ตาลสุกหลน ฉะนั้น. อธิบายวาก็ศรี ษะพงึ แยกออก ๗ เสยี่ ง. หรือดวยเรอื่ งมีเปรียบเทียบไวอ ยา งไร. หากพระมหากสั สปเถระพงึ ทําความเคารพอยา งย่ิงนี้ ดว ยจติ เลื่อมใสตอมหาสมุทร. มหาสมทุ รจะตอ งถึงความเหือดแหง ดจุ หยาดน้ําที่ใสใ นกระเบื้องรอ น. หากพงึ ทาํ ความเคารพตอ จักรวาล. จกั รวาลตองกระจัดกระจายดุจกําแกลบ. หากพงึ ทาํ ความเคารพตอเขาสิเนร.ุ เขาสิเนรตุ องยอยยบั ดจุ กอนแปงท่ีถูกกาจกิ หากพงึ ทําความเคารพตอ แผนดนิ . แผน ดินตอ งกระจัดกระจายดุจผยุ ผงที่ถกู ลมหอบมา. กก็ ารทาํ ความเคารพของพระ-เถระเห็นปานน้ี ไมสามารถแมเพยี งทําขมุ ขน ณ เบอ้ื งหลังพระบาทสีดุจทองของพระศาสดาใหก าํ เรบิ ได อนึง่ พระมหากสัสปยกไวเ ถิด ภกิ ษุเชนพระมหากัสสปตง้ั พันตงั้ แสน กไ็ มส ามารถแมเพยี งทาํ ขมุ ขนเบือ้ งหลังพระ-บาทของพระทศพลใหก าํ เรบิ ได หรือแมเ พียงผา บงั สุกุลจีวรใหไหวได.ดวยการแสดงความเคารพ จริงอยู พระศาสดามอี านุภาพมากดว ยประการฉะน.ี้ ตสมฺ าตหิ เต กสสฺ ป ความวา เพราะเราเมอ่ื รู เราก็กลา ววา
พระสุตตนั ตปฎ ก สงั ยตุ ตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาที่ 625เรารู และเมอ่ื เห็น เรากก็ ลา ววา เราเหน็ ฉะนัน้ ดกู อ นกัสสป เธอพงึ ศึกษาอยางน้ี. บทวา ตพิ ฺพ แปลวา หนา คือใหญ. บทวา หโิ รตฺตปฺปไดแก หิรแิ ละโอตตัปปะ. บทวา ปจฺจุปฏ ิต ภวสิ ฺสติ ไดแก จักเขาไปตง้ั ไวก อน. อธบิ ายวา จรงิ อยู ผูใ ดยังหิริและโอตตปั ปะใหเ ขา ไปต้งัไวในพระเถระเปน ตน แลวเขาไปหา. แมพ ระเถระเปนตนก็เปนผูมีหริ ิและโอตตปั ปะเขา ไปหาผูนนั้ นี้เปนอานิสงสในขอน้ี ดว ยประการฉะนี้. บทวากุสลปู สหฺ ติ คอื อาศยั ธรรมเปน กุศล. บทวา อฏกิ ตวฺ า ความวาทําตนใหเ ปน ประโยชนดว ยธรรมนนั้ หรอื ทาํ ธรรมนัน้ ใหเ ปนประโยชนวา นป้ี ระโยชนข องเรา ดังน้ี. บทวา มนสกิ ตฺวา คือตง้ั ไวใ นใจ. บทวาสพฺพเจตโส สมนฺนาหรติ ฺวา ความวา ไมใ หจ ติ ไปภายนอกไดแมแตนอ ยรวบรวมไวดว ยประมวลมาทั้งหมด. บทวา โอหติ โสโต แปลวา เงี่ยห.ูอธิบายวา เธอพึงศึกษาอยา งน้วี า เราจักต้งั ญาณโสตและปสาทโสตแลวฟงธรรมที่เราแสดงแลว โดยเคารพ. บทวา สาตสหคตา จ เม กาย-คตาสติ ความวา กายคตสตสิ มั ปยุตดว ยสขุ ดวยสามารถปฐมฌานในอสุภกรรมฐานและในอานาปานกรรมฐาน. ก็โอวาทนี้มี ๓ อยาง. บรรพชาและอปุ สมบทน้แี ลไดม แี กพ ระ-เถระ. บทวา สาโณ ไดแ ก เปน ผมู กี เิ ลสคอื เปนหน้.ี บทวา รฏปณฑฺ ภฺุชึ ไดแก บรโิ ภคอาหารท่เี ขาใหด วยศรัทธา. จรงิ อยู การบรโิ ภคมี ๔ อยา ง คือ ไถยบริโภค ๑ อิณบรโิ ภค ๑ทายชั ชบรโิ ภค ๑ สามบิ ริโภค ๑. ในบรโิ ภคเหลา น้ัน ภิกษุเปน ผูทศุ ีลแมน งั่ บรโิ ภคในทา มกลางสงฆ กช็ อื่ วา ไถยบรโิ ภค. เพราะเหตไุ รเพราะไมเปน อิสระในปจ จัย ๔. ผูมีศีล ไมพิจารณาบรโิ ภค ชอื่ วา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 684
- 685
- 686
- 687
- 688
- 689
- 690
- 691
- 692
- 693
- 694
- 695
- 696
- 697
- 698
- 699
- 700
- 701
- 702
- 703
- 704
- 705
- 706
- 707
- 708
- 709
- 710
- 711
- 712
- 713
- 714
- 715
- 716
- 717
- 718
- 719
- 720
- 721
- 722
- 723
- 724
- 725
- 726
- 727
- 728
- 729
- 730
- 731
- 732
- 733
- 734
- 735
- 736
- 737
- 738
- 739
- 740
- 741
- 742
- 743
- 744
- 745
- 746
- 747
- 748
- 749
- 750
- 751
- 752
- 753
- 754
- 755
- 756
- 757
- 758
- 759
- 760
- 761
- 762
- 763
- 764
- 765
- 766
- 767
- 768
- 769
- 770
- 771
- 772
- 773
- 774
- 775
- 776
- 777
- 778
- 779
- 780
- 781
- 782
- 783
- 784
- 785
- 786
- 787
- 788
- 789
- 790
- 791
- 792
- 793
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 700
- 701 - 750
- 751 - 793
Pages: