พระสตุ ตนั ตปฎก สังยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาที่ 201 [๑๓๙] ดกู อ นภิกษุทงั้ หลาย ผูใ ดพึงกลา ววา สังขารเปนไฉนและสงั ขารนี้เปน ของใคร หรอื พงึ กลา ววา สังขารเปนอยางอื่น และสังขารนเ้ี ปน ของผูอน่ื คําทั้งสองของผูน น้ั มเี นือ้ ความอยา งเดียวกัน ตางกันแตพ ยญั ชนะเทานนั้ เม่ือมีทฏิ ฐวิ า ชพี กอ็ ันนั้น สรรี ะกอ็ นั นั้น ความอยูประพฤติพรหมจรรยย อ มไมม ี หรอื เมอ่ื มที ฏิ ฐิวา ชพี อยางหน่งึ สรีระอยา งหน่ึง ความอยูป ระพฤตพิ รหมจรรยยอมไมมี ดกู อ นภกิ ษุทั้งหลาย ตถาคตยอ มแสดงธรรมโดยสายกลาง ไมขอ งแวะสวนสดุ ทัง้ สองงนนั้ ดังน้วี าเพราะอวชิ ชาเปน ปจจยั จงึ มีสังขาร ฯ ล ฯ [๑๔๐] ดูกอนภกิ ษทุ งั้ หลาย ทิฏฐไิ มวา ชนิดใดชนดิ หน่ึง ท่ีเปนขา ศึก อันบุคคลเสพผิด สา ยหาไปวา ชรามรณะเปน ไฉน และชรามรณะเปน ของใคร หรือวาชรามรณะเปน อยา งอื่น และชรามรณะนี้เปน ของผอู ืน่วา ชพี ก็อันน้นั สรรี ะก็อันนั้น หรือวาชีพอยางหนงึ่ สรีระอยางหน่ึง ทิฏฐิเหลาน้นั ทัง้ ส้ิน อนั อริยสาวกน้ันละไดแลว ตดั รากขาดแลว กระทาํ ใหเปนดงั ตาลยอดดว น ถงึ ความไมมี มีอนั ไมเกิดอกี ตอไปเปน ธรรมดาเพราะอวชิ ชาดบั ดวยสํารอกโดยไมเหลือ. [๑๔๑] ดูกอนภิกษทุ งั้ หลาย ทิฏฐิไมว า ชนิดใดชนดิ หนงึ่ ทเี่ ปนขาศึก อนั บุคคลเสพผิด สายหาไปวา ชาตเิ ปน ไฉน และชาติน้เี ปนของใคร หรือวา ชาตเิ ปนอยางอนื่ และชาตินี้เปน ของผูอ นื่ วาชีพกอ็ นันน้ั สรรี ะกอ็ นั น้นั หรือวาชีพอยา งหนงึ่ สรีระอยางหน่ึง ทิฏฐเิ หลา น้ันท้งั ส้ิน อันอรยิ สาวกนัน้ ละไดแลว ตดั รากขาดแลว กระทาํ ใหเ ปนดงั ตาลยอดดว น ถงึ ความไมมี มีอนั ไมเ กิดอีกตอ ไปเปน ธรรมดา เพราะอวิชชาดบั ดวยสาํ รอกโดยไมเหลอื ฯลฯ
พระสตุ ตนั ตปฎ ก สงั ยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 202 ภพเปน ไฉน. . . อุปาทานเปน ไฉน. . . ตณั หาเปน ไฉน. . . เวทนาเปน ไฉน. . .ผสั สะเปน ไฉน. . .สฬายตนะเปนไฉน. . .นามรูปเปน ไฉน. . .วญิ ญาณเปนไฉน. . . [๑๔๒] ดกู อนภกิ ษุทง้ั หลาย ทิฏฐไิ มวาชนดิ ใดชนิดหน่ึง ท่ีเปนขาศกึ อนั บุคคลเสพผดิ สา ยหาไปวา สังขารเปน ไฉน และสงั ขารนเี้ ปนของใคร หรือวา สังขารเปนอยางอื่น และสงั ขารนีเ้ ปนของผูอื่น วาชีพก็อันนน้ั สรรี ะกอ็ นั น้นั หรอื วาชีพอยางหน่งึ สรรี ะอยางหนึ่ง ทฏิ ฐิเหลา นนั้ทง้ั ส้นิ อันอรยิ สาวกนั้นละไดแ ลว ตัดรากขาดแลว กระทาํ ใหเ ปนดังตาลยอดดว น ถงึ ความไมมี มีอันไมเ กิดอกี ตอ ไปเปน ธรรมดา เพราะอวชิ ชาดับดว ยสํารอกโดยไมเ หลือ. จบทตุ ิยอวิชชาปจ จยสูตรท่ี ๖ อรรถกถาทุตยิ อวิชชาเปนปจ จยสูตรที่ ๖ พงึ ทราบวินจิ ฉัยในทตุ ิยอวิชชาปจจยสูตรที่ ๖ ตอไป. ขอ วา \"อติ ิ วา ภิกขฺ เว โย วเทยฺย ดกู อ นภกิ ษทุ ั้งหลาย ผูใ ดพึงกลา วอยางนี\"้ อธิบายวา ในบริษัทน้นั ผูถือทิฏฐิใครท ี่จะถามปญ หามีอยู. แตผูนน้ั พระธาตแุ หงผไู มกลาหาญจงึ ไมอาจจะลุกข้นึ ถามพระทศพล. เพราะฉะนน้ัพระศาสดาจงึ ตรสั ถามเสียเองตามความประสงคของเขา เม่อื จะทรงแก จึงตรสั อยา งน้.ี จบอรรถกถาทุตยิ อวชิ ชาปจจยสตู รท่ี ๖
พระสตุ ตันตปฎ ก สงั ยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 203 ๗. นตมุ หสูตร วาดวยปจ จัยปรงุ แตง กรรม [๑๔๓] พระผมู พี ระภาคเจา ประทบั อยู ณ พระเชตวัน อารามของทานอนาถบิณฑกิ เศรษฐี กรุงสาวัตถี. พระผูมพี ระภาคเจา ไดตรัสวา ดูกอ นภกิ ษุทัง้ หลาย กายน้ีไมใชข องเธอทัง้ หลาย ท้ังไมใชของผอู ืน่ ดกู อนภิกษทุ ัง้ หลาย กรรมเกานพี้ งึ เหน็ วา อันปจ จยั ปรงุ แตง เกิดขึน้ ดวยความตั้งใจ เปน ทต่ี ้งั ของเวทนา. [๑๔๔] ดูกอนภกิ ษทุ งั้ หลาย อริยสาวกผไู ดส ดบั แลว ในเร่ืองกายน้ัน ยอมมนสิการโดยแยบคายซ่งึ ปฏิจจสมปุ บาทเปน อยา งดวี า เมอื่ สิ่งน้ีมีสิง่ นจ้ี ึงมี เพราะสงิ่ นเี้ กดิ ขน้ึ ส่ิงนจี้ ึงเกิดข้ึน เม่อื สิ่งน้ีไมมี สิ่งนี้ก็ไมม ีเพราะสิง่ น้ีดับ สิ่งนี้จงึ ดับ ดวยประการดงั น้ี คือ เพราะอวชิ ชาเปนปจจัย จงึ มสี งั ขาร เพราะสังขารเปนปจ จัย จงึ มวี ิญญาณ ฯลฯ ความเกิดขึน้ แหง กองทกุ ขท ง้ั มวลน้ี ยอมมดี วยประการอยา งนี้ ก็เพราะอวชิ ชาดบัโดยสาํ รอกไมเ หลือ สังขารจึงดับ เพราะสังขารดับ วิญญาณจงึ ดับฯ ล ฯ ความดับแหงกองทุกขท้ังมวลนี้ ยอมมีดวยประการอยา งนี้. จบนตุมหสูตรที่ ๗ อรรถกถานตุมหสตู รที่ ๗ พึงทราบวินิจฉัยในนตมุ หสตู รที่ ๗ ตอไป. ขอวา \"นาย ตมุ ฺหาก กายนี้มใิ ชข องพวกเธอ\" อธบิ ายวา เมอ่ื อัตตามอี ยูขน้ึ ชอื่ วาส่งิ ที่เปน อัตตาก็ยอ มม.ี แตอ ัตตานั่นแหละยอมไมม ี เพราะฉะนน้ั
พระสตุ ตันตปฎ ก สงั ยุตตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 204พระผมู พี ระภาคเจา จึงตรัสวา กายนีม้ ิใชของพวกเธอ. ขอวา \"นาปอฺเส ทงั้ มิใชของผอู นื่ \" คือ อัตตาของคนอ่ืนชื่อวาเปนอื่นไป. เม่ืออัตตานน้ั มอี ยู ทช่ี ื่อวา อัตตาอนื่ ก็พงึ มี ทัง้ อตั ตาอืน่ นั้นก็ไมมี. เพราะเหตนุ ้นัพระผมู ีพระภาคเจาจงึ ตรัสวา ทั้งมิใชข องคนอืน่ . ขอ วา \"ปุราณมทิ ภกิ ฺขเว กมมฺ ดูกอนภกิ ษทุ งั้ หลาย กรรมเกานี้ \" อธิบายวา กรรมนมี้ ใิ ชกรรมเกา เลย แตก ายน้ี บงั เกดิ เพราะกรรมเกา เพราะฉะน้นั พระผมู ีพระภาคเจา จงึ ตรสั ไวอ ยา งน้ีดวยปจจยโวหาร. บทวา อภสิ งขฺ ต เปน ตนพระผมู พี ระภาคเจา ตรสั ดว ยศพั ทเ ปน เพศชายโดยอาํ นาจแหงกรรมโวหารนนั่ เอง. กใ็ นคําวา อภสิ งฺขต เปน ตน น้ี มอี ธิบายดังนี้ บทวา อภสิ งขฺ ตไดแก กายนี้พึงเห็นวา อนั ปจจัยแตงแลว. บทวา อภิสฺเจตยติ ไดแกพงึ ทราบวา มีเจตนาเปน ท่ตี ง้ั คอื มคี วามจงใจเปน มูล. บทวา เวทนยี ไดแก พงึ ทราบวา เปนท่ีตั้งแหง เวทนา. จบอรรถกถานตมุ หสตู รท่ี ๗ ๘. ปฐมเจตนาสตู ร วา ดวยความเกดิ และดบั กองทุกข [๑๔๕] พระผมู พี ระภาคเจา ประทบั อยู ณ พระเชตวัน อารามของทา นอนาถบิณฑิกเศรษฐี กรงุ สาวตั ถี. พระผูมพี ระภาคเจาไดตรัสวา ดูกอ นภิกษุท้ังหลาย ภิกษุยอมจงใจ ยอมดาํ ริ และครนุ คดิถงึ สิ่งใด ส่ิงนั้นเปนอารัมมณปจจยั เพ่อื ความต้งั อยแู หง วิญญาณ เม่อื มีอารัมมณปจ จยั ความตงั้ มัน่ แหง วิญญาณจึงมี เม่อื วิญญาณนั้นตัง้ ม่ันแลว
พระสุตตนั ตปฎก สังยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 205เจริญขึ้นแลว ความบงั เกดิ คือภพใหมต อไปจงึ มี เมอ่ื มคี วามบงั เกดิ คือภพใหมต อ ไป ชาติ ชราและมรณะ โสกปรเิ ทวทุกขโทมนสั และอุปายาสจึงมตี อไป ความเกิดข้นึ แหงกองทกุ ขทั้งมวลนี้ ยอมมดี วยประการอยางนี้ดูกอนภกิ ษุทงั้ หลาย ภกิ ษไุ มจงใจ ไมด ําริ แตย ังครนุ คิดถึงสง่ิ ใด สิ่งนนั้เปน อารมั มณปจจยั เพอ่ื ความต้งั อยูแหง วิญญาณ เม่ือมอี ารมั มณปจจยั ความตัง้ ม่นั แหง วญิ ญาณจงึ มี เมือ่ วิญญาณนนั้ ตง้ั มั่นแลว เจริญขน้ึ แลว ความบงั เกิดคือภพใหมต อ ไปจงึ มี เม่อื มคี วามบงั เกดิ คือภพใหมต อ ไป ชาติชราและมรณะ โสกปรเิ ทวทกุ ขโทมนสั และอุปายาสจงึ มตี อไป ความเกดิแหงกองทุกขทงั้ มวลนี้ ยอ มมีดว ยประการอยา งน้ี. [๑๔๖] ดกู อนภิกษทุ ัง้ หลาย เมื่อภกิ ษุไมจงใจ ไมดาํ ริ และไมครุนคดิ ถึงสง่ิ ใด สง่ิ นั้นยอ มไมเ ปน อารมั มณปจจยั เพื่อความต้งั อยแู หงวญิ ญาณ เมอ่ื ไมม ีอารมั มณปจ จัย ความตงั้ ม่ันแหงวญิ ญาณจึงไมม ี เม่อืวญิ ญาณน้ันไมตงั้ มัน่ แลว ไมเ จริญข้นึ แลว ความบังเกดิ คือภพใหมตอไปจึงไมม ี เม่อื ความบังเกิดคอื ภพใหมต อไปไมมี ชาติ ชราและมรณะโสกปริเทวทกุ ขโทมนัสและอุปายาสตอไปจึงดบั ความดบั แหง กองทุกขทั้งมวลนี้ ยอ มมดี วยประการอยา งน.้ี จบปฐมเจตนาสูตรที่ ๘ อรรถกถาปฐมเจตนาสูตรท่ี ๘ พงึ ทราบวนิ ิจฉัยในเจตนาสตู รท่ี ๘ ตอ ไป. ขอ วา ยจฺ ภิกขฺ เว เจเตติ \"ดกู อ นภิกษทุ ง้ั หลาย ภกิ ษยุ อ มจงใจสง่ิ ใด\" อธิบายวา ยอ มจงใจ คือยังความจงใจใดใหเปน ไป. ขอ วา ยจฺ
พระสุตตนั ตปฎก สงั ยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 206ปกปฺเปติ \"ยอ มดํารสิ ง่ิ ใด อธบิ ายวา ยอมดําริ คือยังความดําริใดใหเปนไป. ขอ วา \"ยจฺ อนุเสติ ยอ มครนุ คดิ ถึงสิง่ ใด\" อธิบายวา ยอ มครุน คดิคอื ยังความครนุ คดิ ใดใหเ ปนไป. กใ็ นขอ ความน้ี ความจงใจอันเปน กศุ ลและอกุศล ที่เปน ไปในภมู ิ ๓ พระผมู พี ระภาคเจา ทรงถอื เอาวา ยอมจงใจ ความดํารดิ ว ยตัณหาและทิฏฐิในจิตอันเกิดพรอ มดวยโลภะ ๘ ดวงทรงถอื เอาวา ยอ มดําร.ิ ความครุน คดิ ทรงถอื เอาดวยทส่ี ุดแหงเจตนา๑๒ ทเ่ี กดิ พรอ มกนั และดว ยท่ีสุดแหง อุปนิสยั วา ยอ มครุน คิด. ขอวา\" อารมฺมณเมต โหติ สง่ิ นน้ั เปนอารัมมณปจ จัย\" ไดแ ก ธรรมชาติมีเจตนาเปนตนนี้ เปนปจ จัย. และปจ จัยทรงประสงคเ อาวา อารมณใ นท่นี .ี้ ขอวา \"วิฺาณสสฺ ิตยิ า เพือ่ ความตง้ั อยูแหง วิญญาณ\" คือเพือ่ ความตัง้ อยแู หง กรรมวิญญาณ. ขอ วา \"อารมฺมเณ สติ เมื่อมีอารัมมณปจ จยั ไดแก เมื่อปจจยั นัน้ มอี ย.ู บทวา ปตฏิ า วิฺาณสสฺโหติ ความวา ยอมเปนท่ีตัง้ อาศยั แหงกรรมวิญญาณน้นั . บทวา ตสมฺ ึปติฏ ิเต วิ ฺาเณ ไดแ ก เมอื่ กมั มวญิ ญาณนัน้ ต้ังม่นั แลว . บทวา\"วิรุฬฺเห เจรญิ ขึ้นแลว \" ไดแ ก เม่อื เกิดมลู เหตแุ หง การบังเกิด เพราะสามารถใหก รรมทรดุ โทรมไปแลวชกั ปฏสิ นธมิ า. บทวา \"ปนุ พฺภวา-ภินพิ พฺ ตตฺ ิ\" แปลวา ความบังเกดิ กลาวคอื ภพใหม. ขณะที่ความจงใจอันเปน ไปในภมู ิ ๓ ไมเ ปนไป พระผูม ีพระภาคเจาตรัสดวยคาํ น้ีวา \"ดกู อนภิกษุทง้ั หลาย ก็ภกิ ษุไมจ งใจ\" ขณะทีค่ วามดาํ รเิ รอื่ งตัณหาและทฏิ ฐิไมเปนไป พระผมู ีพระภาคเจา ตรสั ดว ยคําวา \"โน จ ภกิ ขฺ เวเจเตติ ก็ภิกษุไมดาํ ร,ิ \" ดวยบทวา โน จ ปกปเฺ ปติ ทานกลาวถงึ ขณะแหง ความดํารดิ วยอํานาจตณั หาและทฏิ ฐไิ มเ ปน ไป. กิรยิ าท่ีเปนกามาพจร
พระสุตตนั ตปฎ ก สงั ยุตตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 207คือความครุนคิด ในวิบากอันเปนไปในภูมิ ๓ ทรงถอื เอาดว ยคาํ วา\"อนเุ สติ ยอมครนุ คดิ .\" ในคาํ วา \"อนุเสต\"ิ นี้ ทรงถือเอาผทู ่ียังละความครุน คิดไมได. ขอวา \"อารมฺมณเมต โหติ อารัมมณปจ จัยนัน้ยอ มม\"ี หมายความวา เมือ่ ความครุนคิดมอี ยู ความครุนคดิ นั้นจึงเปนปจจยั (แหงกัมมวญิ ญาณ) โดยแท เพราะความเกดิ ขน้ึ แหงกัมมวญิ ญาณเปนส่ิงทใี่ ครหา มไมได. ในบทวา \"โน จ เจเตติ ก็ภิกษไุ มจ งใจ\" เปน ตน กศุ ล-เจตนาและอกุศลเจตนาอนั เปนไปในภูมิ ๓ พระผมู พี ระภาคเจาตรสั ไวใ นบทท่ี ๑. ตัณหาและทิฏฐิในจิต ๘ ดวง ตรสั ไวในบทท่ี ๒. ความครุนคดิท่ีบุคคลครนุ คดิ โดยท่ีสดุ ท่ียงั ละไมไดใ นธรรมมีประการดงั กลาวแลว ตรสัไวในบทท่ี ๓. อกี อยางหนึ่ง เพื่อมิใหฉงนในพระสตู รน้ี ควรทราบหมวด ๔ดงั น้คี อื ยอ มจงใจ ยอ มดําริ ยอ มครนุ คดิ หมวด ๑. ยอ มไมจงใจแตด ําริ และครุนคดิ หมวด ๑. ยอ มไมจงใจ ไมดําริ แตครุนตดิหมวด ๑. ยอมไมจ งใจ ไมด าํ ริ และไมครุนคิด หมวด ๑. ในหมวด ๔นัน้ การกําหนดธรรม พระผมู ีพระภาคเจา ทรงแสดงไวใ นนัยท่ี ๑.กศุ ลเจตนาอนั เปน ไปในภมู ิ ๓ และอกศุ ลเจตนา ๔ ทรงถือเอาวา\" จงใจ\" ในนยั ที่ ๒. ตัณหาและทิฏฐใิ นจิต ๘ ดวง ทรงกลาววา\"ไมด ําร\"ิ ความครนุ คิด โดยท่ีสุดแหง อุปนสิ บั ในกุศลอนั เปนไปในภมู ิ ๓ กด็ ี โดยท่สี ดุ แหง ปจจยั ที่เกดิ พรอมกันในอกศุ ลเจตนา ๔ กด็ ีโดยท่ีสดุ แหงอปุ นิสยั กด็ ี ทรงถอื เอาวา \"อนสุ โย ครุนคดิ .\" กุศลและอกุศลทีเ่ ปน ไปในภูมิ ๓ ทรงกลา ววา \"ไมจ งใจ\" ในนยั ที่ ๓. ตัณหาและ
พระสุตตนั ตปฎ ก สงั ยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาที่ 208ทิฏฐใิ นจิต ๘ ดวง ทรงกลา ววา \"ไมดําริ\" พระผูม พี ระภาคเจาทรงหา มจติ ทีม่ าในพระสตู ร แลวทรงถือเอาอุปนสิ ยั โดยทสี่ ุดที่ยังละไมได ในกศุ ลจิต อกศุ ลจิต วปิ ากจติ กริ ยิ าจติ ทเ่ี ปนไปในภูมิ ๓ และรปูดวยคาํ วา \"ยอมครนุ คดิ .\" นัยท่ี ๔ เชน กบั นัยกอนแล. บทวา ตทปฺปตฏิ ิเต แปลวา เมื่อวญิ ญาณนั้นไมต้ังมนแลว .บทวา \"อวิรุฬฺเห ไมเ จริญขนึ้ แลว\" ไดแก เมอ่ื เกดิ มลู แหง การไมบงั เกดิ เพราะสามารถใหก รรมทรดุ โทรมแลว ชักปฏสิ นธมิ า. ถามวากใ็ นวาระที่ ๓ นีท้ า นกลา วถึงอะไร. แกวา กลา วถึงกจิ ของอรหตั มรรค.จะกลา ววา การกระทาํ กิจของพระขณี าสพบา ง นวโลกุตรธรรมบา งกค็ วร. แตในวาระน้ี มอี ธบิ ายวา ระหวางวญิ ญาณกับภพใหมใ นอนาคตเปนสนธิอันหนง่ึ ระหวางเวทนากับตัณหาเปนสนธิอนั หนึ่ง ระหวา งภพกบั ชาตเิ ปนสนธิอนั หนึ่ง. จบอรรถกถาปฐมเจตนาสูตรที่ ๑ ๙. ทตุ ิยเจตนาสูตร วาดว ยความเกิดดับแหงกองทกุ ข [๑๔๗] พระผูมพี ระภาคเจาประทับอยู ณ พระเชตวัน อารามของทานอนาถบิณฑิกเศรษฐี กรงุ สาวตั ถี. พระผูมีพระภาคเจา ไดตรสัวา ดูกอ นภกิ ษทุ ้งั หลาย ภกิ ษยุ อมจงใจ ยอ มดําริ และครุนคิดถงึ ส่งิ ใดสงิ่ นนั้ ยอ มเปนอารมั มณปจจยั เพือ่ ความตงั้ อยแู หงวิญญาณ เมือ่ มีอารัมมณ-ปจ จัย ความตัง้ ม่นั แหง วญิ ญาณจึงมี เมือ่ วญิ ญาณนัน้ ต้งั มัน่ แลว เจรญิ
พระสุตตนั ตปฎ ก สังยตุ ตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 209ข้นึ แลว ความหยงั่ ลงแหง นามรปู จงึ มี เพราะนามรปู เปนปจจัย จงึ มีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเปน ปจจยั จึงมีผสั สะ เพราะผสั สะเปนปจ จยัจงึ มเี วทนา เพราะเวทนาเปน ปจจยั จงึ มีตัณหา เพราะตณั หาเปนปจจยัจงึ มีอุปาทาน เพราะอุปาทานเปนปจ จัย จึงมภี พ เพราะภพเปนปจ จยัจงึ มชี าติ เพราะชาตเิ ปน ปจ จยั จึงมชี ราและมรณะ โสกปรเิ ทวทุกข-โทนนัสและอปุ ายาส ความเกิดขน้ึ แหง กองทกุ ขท ้ังมวลนี้ ยอมมดี ว ยประการอยา งนี.้ ดกู อ นภิกษทุ ัง้ หลาย ภกิ ษไุ มจงใจ ไมดําริ แตย งั ครุนคดิ ถึงส่งิ ใดส่ิงนน้ั ยอ มเปน อารมั มณปจ จัยเพอ่ื ความตั้งอยแู หงวิญญาณ เม่อื มอี ารัมมณ-ปจ จยั ความตั้งม่ันแหงวิญญาณจงึ มี เม่อื วิญญาณนัน้ ต้ังมน่ั แลว เจรญิข้ึนแลว ความหยั่งลงแหงนามรูปจึงมี เพราะนามรูปเปน ปจ จัย จึงมีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเปน ปจจัย จงึ มผี ัสสะ เพราะผสั สะเปนปจ จัยจงึ มเี วทนา เพราะเวทนาเปน ปจ จยั จงึ มตี ัณหา เพราะตณั หาเปน ปจจยัจึงมอี ปุ าทาน เพราะอปุ าทานเปน ปจ จัย จึงมีภพ เพราะภพเปน ปจ จัยจงึ มีชาติ เพราะชาติเปน ปจจัย จงึ มชี ราและมรณะ โสกปรเิ ทวทกุ ข -โทมนสั และอปุ ายาส ความเกดิ ข้นึ แหงกองทุกขท ้ังมวลนี้ ยอมมดี ว ยประ-การอยา งน้.ี [๑๔๘] ดกู อนภิกษทุ ้ังหลาย เมือ่ ภิกษุไมจงใจ ไมดําริ และไมค รุนคิดถึงส่ิงใด สิ่งนั้นยอมไมเ ปนอารมั มณปจ จัยเพอ่ื ความตง้ั อยแู หงวิญญาณ เมือ่ ไมม อี ารมั มณปจจยั ความต้งั มนั่ แหงวญิ ญาณจงึ ไมม ี เม่ือวญิ ญาณนนั้ ไมต้ังมัน่ แลว ไมเ จรญิ ข้นึ แลว ความหยง่ั ลงแหงนามรูปจึงไมม ี เพราะนามรปู ดบั สฬายตนะจึงดับ เพราะสฬายตนะดับ ผสั สะจึงดบั
พระสตุ ตนั ตปฎก สงั ยุตตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 210เพราะผัสสะดบั เวทนาจึงดบั เพราะเวทนาดับ ภพจึงดับ เพราะภพดบัชาติจงึ ดับ เพราะชาตดิ บั ชราและมรณะ โสกปรเิ ทวทกุ ขโทมนสั และอปุ ายาสตอ ไปจงึ ดบั ความดบั แหงกองทกุ ขท ง้ั มวลน้ี ยอมมดี ว ยประการอยางน.้ี จบทุติยเจตนาสูตรท่ี ๙ อรรถกถาทุตยิ เจตนาสูตรที่ ๙ ในทุตยิ เจตนาสตู รท่ี ๙ มีอธบิ ายวา ระหวา งวิญญาณกับนามรปูเปน สนธอิ ันหน่ึง ระหวางเวทนากับตณั หาเปน สนธอิ ันหนง่ึ ระหวางภพกับชาติเปนสนธิอนั หนง่ึ ฉะน้ีแล. จบอรรถกถาทตุ ยิ เจตนาสูตรที่ ๙ ๑๐. ตติยเจตนาสูตร วา ดว ยความเกิดและดับกองทกุ ข [๑๔๙] พระผมู ีพระภาคเจาประทบั อยู ณ พระเชตวัน อารามของทา นอนาถบิณฑกิ เศรษฐี กรุงสาวตั ถี. พระผูมีพระภาคเจาไดต รสัวา ดกู อนภิกษุทงั้ หลาย ภกิ ษยุ อมจงใจ ยอมดําริ และยอมครุน คดิ ถงึสิ่งใด สิง่ น้นั ยอ มเปน อารัมมณปจ จัยเพื่อความตง้ั อยูแ หงวญิ ญาณ เมือ่ มีอารัมมณปจ จยั ความต้งั มนั่ แหง วญิ ญาณจึงมี เมื่อวิญญาณน้ันตงั้ ม่นั แลวเจริญขน้ึ แลว ตัณหาจึงมี เมอื่ มตี ัณหา คตใิ นการเวียนมาจงึ มี เมือ่ มคี ติในการเวยี นมา จตุ ิและอปุ บัตจิ งึ มี เมื่อมจี ุตแิ ละอุปบตั ิ ชาตชิ ราและมรณะ
พระสตุ ตันตปฎ ก สงั ยุตตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 211โสกปรเิ ทวทกุ ขโทมนัสและอปุ ายาสจึงมี ความเกิดขึน้ แหง กองทุกขท ัง้ มวลน้ี ยอมมีดว ยประการอยา งนี้ ดกู อ นภกิ ษทุ ้ังหลาย ภกิ ษไุ มจ งใจ ไมด าํ ริแตย งั ครนุ คดิ ถงึ สงิ่ ใด ส่งิ นน้ั ยอมเปน อารัมมณปจจัยเพื่อความต้งั อยูแหงวิญญาณ เม่อื มอี ารมั มณปจจัย ความตง้ั มัน่ แหงวิญญาณจงึ มี เมื่อวญิ ญาณนน้ั ต้ังมน่ั แลว เจริญขนึ้ แลว ตณั หาจงึ มี เมือ่ มตี ณั หา คติในการเวียนมาจงึ มี เมื่อมีคติในการเวยี นมา จตุ แิ ละอุปบัตจิ ึงมี เมอื่ มีจตุ แิ ละอปุ บัติชาติชราและมรณะ โสกปริเทวทุกขโทมนัสและอปุ ายาสจึงมี ความเกดิ ข้ึนแหงกองทุกขทง้ั มวลนี้ ยอมมีดว ยประการอยางน.้ี [๑๕๐] ดกู อ นภกิ ษุทัง้ หลาย เม่อื ภิกษไุ มจ งใจ ไมดาํ ริ และไมค รนุ คิดถึงสิง่ ใด ส่งิ นนั้ ยอมไมเ ปนอารัมมณปจจยั เพื่อความตงั้ อยูแหงวญิ ญาณ เม่ือไมม อี ารมั มณปจจยั ความต้งั มั่นแหง วิญญาณจงึ ไมม ี เม่อืวิญญาณนนั้ ไมต ้ังมั่นแลว ไมเจรญิ ขน้ึ แลว ตณั หาจึงไมมี เมื่อไมมีตณั หาคตใิ นการเวยี นมาจงึ ไมม ี เมอื่ ไมมคี ตใิ นการเวียนมา จุติและอุปบตั จิ งึไมมี เมือ่ ไมม ีจุตแิ ละอปุ บัติ ชาติ ชราและมรณะ โสกปรเิ ทวทุกข-โทมนัสและอุปายาสตอไปจึงดบั ความดับแหงกองทกุ ขทงั้ มวลน้ี ยอมมีดวยประการอยา งนี้. จบตตยิ เจตนาสูตรที่ ๑๐ กฬารขัตตยิ วรรคท่ี ๔ จบ
พระสุตตนั ตปฎ ก สังยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 212 รวมพระสตู รทีม่ ีในวรรคน้ี คือ ๑. ภตู มทิ สูตร ๒. กฬารขัตติยสูตร ๓. ปฐมญาณวตั ถสุ ตู ร๔. ทุติยญาณวตั ถุสตู ร ๕. ปฐมอวิชชาปจ จยสตู ร ๖. ทตุ ยิ อวิชชา-ปจ จยสูตร ๗. นตุมหากังสูตร ๘. ปฐมเจตนาสูตร ๙. ทตุ ยิ เจตนา-สูตร ๑๐. ตติยเจตนาสตู ร. อรรถกถาตติยเจตนาสูตรที่ ๑๐ พึงทราบวินิจฉัยในตติยเจตนาสูตรที่ ๑๐ ตอไป. บทวา นติ แปลวา ตณั หา. กต็ ัณหานน้ั เรียกวา นติ เพราะอรรถวานอ มไปในอารมณมรี ปู เปน ตน อันเปนปย รปู รปู ท่นี า รกั . ขอ วา อาคตคิ ติโหติ แปลวา คติในการเวียนมาจงึ มี. เมอื่ กรรม กรรมนิมิต หรอื คตินมิ ติมาปรากฏ คติแหงวญิ ญาณยอ มมีดว ยอํานาจปฏิสนธิ. บทวา \"จตุ ูปปาโตจุตแิ ละอปุ บัติจึงมี\" หมายความวา เม่ือคติอันเปน อารมณแหง ปฏสิ นธมิ าปรากฏแกว ญิ ญาณ มอี ยู จตุ ิ กลา วคอื การเคล่อื นจากภพน้ีจึงมี. อปุ บตั ิกลา วคือการบงั เกดิ ขน้ึ ในภพนนั้ จงึ ม.ี ช่อื วาจตุ ิและอปุ บตั ิ (การตายและการเกดิ ) นจ้ี ึงมี. ระหวางตณั หากับคตใิ นการเวียนมา จงึ เปนอันพระผูมพี ระภาคเจา ตรัสวา เปน สนธอิ ันหนึ่งในพระสูตรน้ี ดว ยประการฉะนแี้ ล. จบตติยเจตนาสตู รที่ ๑๐ จบอรรถกถากฬารขัตติยวรรคที่ ๔
พระสตุ ตนั ตปฎก สังยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 213 คหบดีวรรคที่ ๕ ๑. ปฐมปญ จเวรภยสตู ร วา ดว ยภยั เวร ๕ ประการ [๑๕๑] พระผมู พี ระภาคเจาประทบั อยู ณ พระเชตวนั อารามของทา นอนาถบิณฑกิ เศรษฐี กรงุ สาวัตถี. ครั้งนน้ั แล ทานอนาถ-บณิ ฑิกคฤหบดเี ขา ไปเฝา พระผูมีพระภาคเจา ถึงที่ประทบั ถวายอภวิ าทแลว นงั่ อยู ณ ท่คี วรสวนขางหนงึ่ ครน้ั น่งั เรยี บรอ ยแลว พระผูมพี ระ-ภาคเจา ไดต รัสกะทา นอนาถบิณฑิกคฤหบดีวา ดูกอ นคฤหบดี เม่อื ใดแลภัยเวร ๕ ประการ ของอริยสาวกสงบแลว เม่อื นน้ั อรยิ สาวกยอ มประกอบดวยธรรมเปน องคแ หงโสดาปต ติ ๔ อยา ง และญายธรรมอยา งประเสรฐิอรยิ สาวกเหน็ ดแี ลว แทงตลอดดวยปญญา อริยสาวกน้นั หวงั อยู พึงพยากรณตนดว ยตนเองไดว า เราเปนผูมนี รกสน้ิ แลว มีกาํ เนิดสตั วดริ จั ฉานส้ินแลว มีปตตวิ สิ ยั สน้ิ แลว มอี บาย ทุคติ วนิ บิ าตส้ินแลวเราเปนโสดาบัน มอี นั ไมต กตํ่าเปนธรรมดา เปน ผูเทย่ี งจะตรัสรูในกายหนา. [๒๕๒] ภยั เวร ๕ ประการสงบแลวเปนไฉน. ดูกอ นคฤหบดีบุคคลผูฆาสตั ว ยอ มประสบภัยเวรใด อนั มีในชาตินีบ้ าง อันมใี นชาติหนา บาง ยอ มเสวยเจตสิกทุกขคอื โทมนสั บาง เพราะปาณาติบาตเปน เหตุภัยเวรของอริยสาวกผพู น ขาดจากปาณาติบาต สงบแลวดวยอาการอยา งนี้บุคคลผลู ักทรพั ยย อมประสบภัยเวรใด อันมใี นชาตนิ ้บี าง อนั มใี นชาติ
พระสตุ ตนั ตปฎ ก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 214หนา บา ง ยอมเสวยเจตสกิ ทุกขคอื โทมนสั บา ง เพราะอทนิ นาทานเปน เหตุภยั เวรของอรยิ สาวกผูเวน ขาดจากอทินนาทาน สงบแลวดว ยอาการอยา งนี้บคุ คลผปู ระพฤติผิดในกาม ยอ มประสบภยั เวรใด อนั มีในชาตินีบ้ าง อันมีในชาตหิ นา บา ง ยอ มเสวยเจตสกิ ทกุ ขคือโทมนัสบาง เพราะกาเมสุมิจฉา-จารเปนเหตุ ภยั เวรของอริยสาวกผูเ วนขาดจากกาเมสมุ ิจฉาจาร สงบแลวดวยอาการอยา งน้ี บคุ คลผพู ดู เท็จ ยอ มประสบภยั เวรใด อนั มใี นชาตินี้บา ง อันมีในชาติหนาบาง ยอมเสวยเจตสิกทุกขคอื โทมนัสบา ง เพราะมุสาวาทเปนเหตุ ภยั เวรของอรยิ สาวกผูเวน ขาดจากมสุ าวาท สงบแลว ดว ยอาการอยา งน้ี บคุ คลผูต้ังอยูในความประมาท เพราะด่ืมนํ้าเมาคือสรุ าและเมรยั ยอมประสบภัยเวรใด อนั มีในชาตินบี้ า ง อนั มใี นชาติหนา บา งยอ มเสวยเจตสิกทกุ ขคือโทมนัสบาง เพราะการดมื่ น้าํ เมาคือสรุ าและเมรยัอันเปน ท่ีตัง้ แหง ความประมาทเปนเหตุ ภัยเวรของอริยสาวกผูเวนขาดจากการดืม่ น้ําเมาคอื สรุ าและเมรยั อนั เปนที่ตั้งแหงความประมาท สงบแลวดวยอาการอยางนี้ ภยั เวร ๕ ประการนี้ สงบแลว. [๑๕๓] อริยสาวกยอมประกอบดว ยธรรมเปน องคแ หง โสดาปต ติ๔ อยา งเปน ไฉน. ดูกอ นคฤหบดี อริยสาวกในธรรมวินัยน้ี ยอ มประกอบดว ยความเล่ือมใส อันไมหว่นั ไหวในพระพุทธเจา วา แมเ พราะเหตนุ ้ี ๆพระผมู ีพระภาคเจาพระองคนน้ั เปน พระอรหันต ตรสั รเู องโดยชอบถงึ พรอ มแลวดวยวชิ ชาและจรณะ เสด็จไปดีแลว ทรงรูแจง โลก เปนสารถีฝก บรุ ษุ ทีค่ วรฝก ไมมีผูอ่ืนย่ิงกวา เปนศาสดาของเทวดาและมนุษยทงั้ หลาย เปนผูเบกิ บานแลว เปนผจู าํ แนกพระธรรม ดงั นี้ ยอ มประกอบดวยความเล่ือมใสอันไมห วัน่ ไหวในพระธรรมวา พระธรรมอนั พระผมู ี-
พระสตุ ตันตปฎก สงั ยุตตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 215พระภาคเจา ตรสั ดแี ลว อนั ผูไ ดบรรลุจะพงึ เหน็ เอง ไมป ระกอบดว ยกาลควรเรยี กใหม าดู ควรนอ มเขา มา อันวญิ ชู นพึงรูเ ฉพาะตน ดงั นี้ ยอ มประกอบดว ยความเล่ือมใสอนั ไมหวนั่ ไหวในพระสงฆวา พระสงฆส าวกของพระผูมพี ระภาคเจาเปน ผปู ฏบิ ตั ิดีแลว เปนผูปฏบิ ตั ิตรง เปนผูป ฏบิ ัติเปนธรรม เปนผูป ฏบิ ัตสิ มควร คอื คแู หงบรุ ุษ ๔ บุรษุ บคุ คล ๘ น่ีพระ-สงฆส าวกของพระผมู ีพระภาคเจา เปน ผูควรของคํานบั เปนผูควรของตอ นรับ เปน ผคู วรของทาํ บญุ เปนผคู วรทาํ อัญชลี เปนนาบญุ ของโลกไมม นี าบญุ อนื่ ยิ่งกวา ดังน้ี ยอ มประกอบดว ยศลี ที่พระอรยิ เจาปรารถนาอนั ไมข าด ไมท ะลุ ไมดา ง ไมพรอ ย เปน ไท อันวญิ ูชนสรรเสริญอันตัณหาและทฏิ ฐไิ มค รอบงําได เปนไปเพอื่ สมาธิ อรยิ สาวกยอ มประกอบดว ยธรรมเปน องคแหงโสดาปต ติ ๔ อยางนี้. [๑๕๔] กญ็ ายธรรมอนั ประเสริฐ อันอรยิ สาวกเหน็ ดีแลวแทงตลอดดีแลว ดว ยปญญาเปน ไฉน. ดูกอ นคฤหบดี อรยิ สาวกในธรรมวนิ ัยน้ี กระทําไวใ นใจโดยแยบคาย ถงึ ปฏิจจสมปุ บาทเปนอยางดวี าเมอ่ื สง่ิ นี้มี สงิ่ น้จี ึงมี เพราะสงิ่ นเ้ี กิดข้นึ สิง่ น้จี ึงเกดิ ขึน้ เมอ่ื ส่งิ นไ้ี มม ีสิง่ นจี้ ึงไมมี เพราะสงิ่ น้ดี ับ ส่งิ น้ีจึงดับ ดวยประการดงั นี้ คอื เพราะอวิชชาเปน ปจ จยั จึงมีสงั ขาร เพราะสงั ขารเปนปจจยั จึงมวี ิญญาณเพราะวญิ ญาณเปนปจ จัย จงึ มีนามรปู เพราะนามรูปเปน ปจ จัย จงึ มีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเปน ปจจัย จงึ มีผสั สะ เพราะผัสสะเปนปจ จยัจงึ มเี วทนา เพราะเวทนาเปนปจจัย จงึ มีตัณหา เพราะตัณหาเปน ปจจัยจึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเปนปจ จัย จึงมีภพ เพราะภพเปน ปจ จยัจงึ มชี าติ เพราะชาติเปน ปจจยั จงึ มีชราและมรณะ โสกปริเทวทุกข-
พระสุตตันตปฎ ก สงั ยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 216โทมนสั และอปุ ายาส ความเกิดขึ้นแหง กองทุกขทั้งมวลนี้ ยอ มมีดวยประการอยา งน้ี กเ็ พราะอวิชชาดับดว ยสํารอกโดยไมเ หลอื สงั ขารจึงดบัเพราะสงั ขารดับ วิญญาณจงึ ดบั เพราะวิญญาณดบั นามรปู จงึ ดบั เพราะนามรูปดบั สฬายตนะจงึ ดบั เพราะสฬายตนะดับ ผสั สะจงึ ดบั เพราะผัสสะดบั เวทนาจึงดบั เพราะเวทนาดับ ตณั หาจึงดบั เพราะตัณหาดับ อุปาทานจงึ ดับ เพราะอุปาทานดบั ภพจึงดับ เพราะภพดับ ชาติจึงดับ เพราะชาตดิ ับ ชราและมรณะ โลกปริเทวทุกขโทมนัสและอปุ ายาสจงึ ดบั ความดับแหง กองทกุ ขท้ังมวลน้ี ยอมมดี ว ยประการอยางนี้ ญาย-ธรรมอันประเสรฐิ นี้ อรยิ สาวกน้นั เห็นดีแลว แทงตลอดดีแลว ดวยปญ ญา. [๑๕๕] ดูกอ นคฤหบดี เมอ่ื ใดแล ภัยเวร ๕ ประการน้ขี องอริยสาวกสงบแลว เมอื่ นัน้ อรยิ สาวกยอ มประกอบดวยธรรมเปน องคแหง โสดาปต ติ ๔ อยา ง และญายธรรมอยา งประเสริฐน้ี อนั อริยสาวกนน้ั เห็นดีแลว แทงตลอดดีแลวดวยปญญา อริยสาวกนั้นหวังอยู พึงพยากรณด วยตนเองไดวา เราเปน ผมู ีนรกสน้ิ แลว มีกําเนิดสัตวด ิรัจฉานสิ้นแลว มปี ตติวิสัยสนิ้ แลว มอี บาย ทุคติ วนิ บิ าตสนิ้ แลว เราเปนโสดาบัน มีอันไมต กตํ่าเปน ธรรมดา เปน ผเู ท่ยี งจะตรสั รใู นภายหนา. จบปฐมปญ จเวรภยสูตรที่ ๑
พระสุตตนั ตปฎ ก สงั ยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 217 คหปติวรรคที่ ๕ อรรถกถาปฐมปญ จภยเวรสตู รท่ี ๑ พงึ ทราบวนิ จิ ฉัยในปญจภยเวรสูตรท่ี ๑ แหง คหปตวิ รรคตอ ไป.บทวา ยโต แปลวา ในกาลใด. บทวา ภยานิ เวรานิ ไดแก เจตนาเปนเหตุกอภยั และเวร. บทวา \"โสตาปตตฺ ยิ งเฺ คหิ ดว ยธรรมเปนองคแหงโสดาปต ต\"ิ อธิบายวา องคแหงโสดาปตติ มี ๒ อยา ง คอืองคท่ีเปนไปในสว นเบอื้ งตนเพือ่ ไดเฉพาะโสดาปต ตมิ รรคที่มาอยา งนี้คอื สัปปุริสสงั เสวะ (การคบสตั บุรษุ ) สัทธมั มสวนะ (การฟงธรรมของสัตบรุ ุษ) โยนิโสมนสกิ าร (การกระทําไวใ นใจโดยแยบคาย)ธัมมานธุ ัมมปฏิบตั ิ (การปฏิบตั ธิ รรมสมควรแกธรรม) ซึ่งเรียกวาองคแหงโสดาปตติมรรค ๑ องคแหงบคุ คลผมู ีคณุ ธรรมอันไดแ ลว บรรลุโสดาปต ตมิ รรคแลว ดํารงอยู ซึง่ เรยี กวา องคแหงโสดาบนั ๑. คาํ วาโสตาปนฺนสฺส นี้ เปน ช่อื ของผมู คี วามเลื่อมใสไมหวนั่ ไหวเปนตน ในพระพทุ ธเจา คํานแี้ ลพระผูมีพระภาคเจาทรงประสงคเอาแลวในทีน่ ี้.บทวา อริโย แปลวา ผไู มม ีโทษ คอื ผูไ มมกี ารติเตียน. บทวาญาโย ไดแ ก ญาณทีร่ ปู ฏจิ จสมทุ บาทตงั้ อยบู าง ปฏจิ จสมุปบาทธรรมบา ง. เหมือนอยางทท่ี า นกลา ววา ปฏิจจสมุปบาท เรยี กวา ญายธรรม.แมอริยมรรคมีองค ๘ ทานกเ็ รยี กวา ญายธรรม. บทวา \"ปฺายดว ยปญ ญา\" ไดแ ก ดว ยวปิ สสนาปญ ญาทเ่ี กิดขึ้นตอ ๆ กันไป. บทวา\"สุทิฏโ โหติ อันอริยสาวกเห็นดแี ลว \" ไดแก อนั อริยสาวกเหน็แลวดว ยดี ดวยอํานาจการเห็นเกิดขนึ้ ตอ ๆ กนั .
พระสุตตันตปฎก สงั ยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 218 บทวา \"ขีณนริ โย มีนรกส้นิ แลวเปนตน\" อธบิ ายวา นรกของเราส้นิ แลว เพราะไมเกดิ ขนึ้ ในนรกนน้ั ตอไปอีก เพราะฉะนั้น เราจงึชอ่ื วา เปน ผูมีนรกสน้ิ แลว. ในบททง้ั ปวงก็นยั น้.ี บทวา โสตาปนโฺ นแปลวา ถึงกระแสแหงมรรค. บทวา \"อวนิ ิปาตธมฺโม มีการไมต กต่ําเปนธรรมดา\" ไดแก มอี นั ไมตกตา่ํ เปนสภาวะ. บทวา \"นิยโต เทย่ี ง\"ไดแ ก เที่ยงโดยกําหนดความเปนชอบ กลาวคอื มรรคท่ี ๑ (โสดาปต ต-ิมรรค). บทวา \"สมโฺ พธปิ รายโน จะตรัสรูในภายหนา \" ไดแกปญญาเครอ่ื งตรสั รู กลาวคือมรรค ๓ เบอื้ งสูง เปนเบอื้ งหนา คอื เปนทางของเรา เพราะเหตุนั้น เรานัน้ จึงชือ่ วาจะมกี ารตรัสรูในเบอ้ื งหนา .อธบิ ายวา จะตรสั รพู ระสัมโพธิญาณนัน้ แนแท. บทวา \"ปาณาติบาตปจจฺ ยา เพราะปาณาตบิ าตเปน ปจ จยั \" ไดแ กเพราะกรรมคือปาณาตบิ าตเปนเหต.ุ สองบทวา \"ภย เวร เวร\" โดยเน้ือความเปนอนั เดยี วกัน . และขึน้ ชื่อวา เวรนีม้ ี ๒ อยา ง คือ เวรภายนอก ๑เวรภายใน ๑ ก็เมอื่ บดิ าของคนคนหนึง่ ถูกบุคคลหน่ึงฆาตาย เขาจึงคิดวา \"ขาววา บดิ าของเราถูกผูน ี้ฆาตายเสียแลว แมเ ราก็จกั ฆา มันใหตายเหมอื นกนั \" ดงั น้ี จงึ เอาศัสตราพกติดตัวไป. เจตนาอนั เปนเหตกุ อเวร อันเกิดข้นึ แลวในภายในของผูน้นั นี้ชื่อวา เวรภายนอก. สว นบุคคลนอกนีเ้ กดิ ความคิดวา \"ขา ววา บุคคลนี้เที่ยวเพ่ือจะฆา เราเรานแี่ หละจกั ฆามนั กอน\" นี้ช่อื วา เวรภายใน. แมเวรทง้ั ๒ อยางนี้กจ็ ักเปนเวรในปจจุบนั น่ันเอง. สว นความจงใจทเ่ี กดิ ข้นึ แกน ายนิรยบาลผเู ห็นเขาเกดิ ในนรกถือคอนเหลก็ อนั ลุกโพลงดวยคิดวา \"เราจกั ฆา มัน\"น้เี ปนเวรภายนอกอันจะมีในภายหนา . ผูท่ีมคี วามคิดมาวา ผนู ้ันเกิดความ
พระสตุ ตันตปฎก สังยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 219จงใจข้นึ วา ผนู ้ีมาเพือ่ จะประหารเราผูไ มม ีความผิด เราน่แี หละ จกั ฆามันกอ น. นช้ี ่ือวา เวรภายในอนั จะมใี นภายหนา. อน่งึ เวรที่เปน ภายนอกนน้ี ้นั ในอรรถกถา ทา นเรยี กวา \"เวรสวนบุคคล\" สองบทวา\"ทกุ ฺข โทมนสฺส ทกุ ข โทมนสั \" โดยเนือ้ ความก็เปนอันเดยี วกนั นัน่ เอง.กใ็ นขอนีม้ ีอธิบายอยา งไร. แมใ นบททเ่ี หลอื กม็ ีอธบิ ายอยางน้ัน. พงึ ทราบความเกิดข้นึ แหง เวรโดยนัยมอี าทิวา \"ผนู ้ไี ดทาํ ลายสงิ่ ของของเราเสยี แลวผูนไี้ ดป ระพฤติ (ผิด) ในภรรยาของเราแลว ประโยชนถ ูกผูน ี้ทาํ ลายแลวเพราะกลาวเท็จ กรรนชอื่ นีอ้ นั บุคคลนกี้ อ (กระทํา) แลวดวยเหตุเพยี งเมาสรุ า\" ดงั นี้. บทวา อเวจฺจปปฺ สาเทน ไดแ ก ดวยความเลอื่ มใสอันไมหวนั่ ไหวอนั ตนบรรลุแลว . บทวา อรยิ กนเฺ ตหิ ไดแ ก ศลี ๕.เพราะวา ศลี ๕ เหลาน้ัน เปน ที่ปรารถนา คือเปนท่ีรักของพระอริยเจาทั้งหลาย. พระอริยเจาทง้ั หลายถึงไปสภู พก็ไมล ะศีล ๕ เหลานัน้ . เพราะ-ฉะน้นั ศีล ๕ เหลานั้น จึงเรยี กวา \"เปน ท่ปี รารถนาของพระอริยเจา .\"ขอ ท่ีเหลือซึง่ ควรกลาวในทน่ี ท้ี ัง้ หมดนั้น ไดกลาวแลว ในอนุสสตินิเทศในวสิ ทุ ธมิ รรคแล. จบอรรถกถาปฐมปญ จภยเวรสูตรที่ ๑ ๒. ทุตยิ ปญ จเวรภยสูตร วาดว ยภัยเวร ๕ ประการ [๑๕๖] พระผูม พี ระภาคเจาประทับอยู ณ พระเชตวนั อารามของทานอนาถบิณฑกิ เศรษฐี กรงุ สาวตั ถ.ี พระผมู ีพระภาคเจา ไดต รสัวา ดูกอนภกิ ษุทงั้ หลาย เมือ่ ใดแล ภยั เวร ๕ ประการของอริยสาวก
พระสุตตนั ตปฎก สงั ยตุ ตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 220สงบแลว เม่อื นั้น อรยิ สาวกยอมประกอบดว ยธรรมเปน องคแ หง โสดา-ปต ติ ๔ อยา ง และญายธรรมอยางประเสรฐิ อันอริยสาวกนนั้ เห็นดีแลวแทงตลอดดแี ลว ดวยปญ ญา อรยิ สาวกนั้นหวังอยู พึงพยากรณต นดวยตนเองไดวา เราเปนผมู ีนรกส้ินแลว ฯลฯ มีอนั ไมตกต่ําเปน ธรรมดาเปน ผเู ทยี่ งจะตรสั รูใ นภายหนา . [คําทัง้ ปวง เปน ตนวา \" ภกิ ขฺ เว ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย\" ควรใหพสิ ดาร] [๑๕๗] ภยั เวร ๕ ประการสงบแลว เปนไฉน. ดกู อ นภกิ ษุทงั้ หลายบคุ คลผูฆา สตั ว ยอ มประสบภัยเวรใด อันมีในชาตนิ บี้ าง อนั มใี นชาติหนา บาง ยอ มเสวยเจตสกิ ทุกขค อื โทมนัสบา ง เพราะปาณาตบิ าตเปน เหตุภยั เวรของอริยสาวกผูเวนขาดจากปาณาติบาต สงบแลวดวยอาการอยา งนี้บคุ คลผลู ักทรพั ย. . .บุคคลผูประพฤติผิดในกาม. . .บุคคลผูพดู เท็จ. . .บุคคลผตู ั้งอยใู นความประมาท เพราะด่ืมน้ําเมาคอื สุราและเมรยั ยอ มประสบภัยเวรใด อนั มีในชาตนิ บี้ าง อันมใี นชาติหนาบาง ยอ มเสวยเจตสิกทกุ ขค อื โทมนสั บาง เพราะด่มื นาํ้ เมาคอื สุราและเมรยั อันเปน ท่ตี ง้ัแหงความประมาท ภัยเวรของอรยิ สาวกผูเ วน ขาดจากการดื่มนํ้าเมา คอืสุราและเมรยั อนั เปน ต้งั แหง ความประมาท สงบแลวดวยอาการอยางน้ีภยั เวร ๕ ประการนี้ สงบแลว . [๑๕๘] อริยสาวกยอ มประกอบดว ยธรรมอนั เปนองคแ หง โสดา-ปต ติ ๔ อยา งเปนไฉน. ดกู อนภกิ ษุทัง้ หลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ยอ มประกอบดว ยความเลอื่ มใสอันไมห วนั่ ไหวในพระพุทธเจา. . .ในพระ-ธรรม. . .ในพระสงฆ. . .และประกอบดวยศีลที่พระอริยเจาปรารถนา. . .
พระสตุ ตันตปฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 221ยอ มประกอบดวยธรรมเปนองคแ หง โสดาปตติ ๔ อยางนนั้ . [๑๕๙] ก็ญายธรรมอนั ประเสริฐ อันอริยสาวกน้นั เหน็ ดแี ลวแทงตลอดดแี ลว ดวยปญ ญาเปน ไฉน. ดกู อ นภิกษุท้ังหลาย อรยิ สาวกในธรรมวนิ ัยน้ี กระทําไวในใจโดยแยบคาย ถงึ ปฏจิ จสมุปบาทเปน อยางดีฯ ล ฯ ญายธรรมอันประเสริฐน้ี อริยสาวกนั้นเหน็ ดีแลว แทงตลอดดีแลวดวยปญ ญา. [๑๖๐] ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย เมอื่ ใดแล ภัยเวร ๕ ประการน้ีของอริยสาวกสงบแลว เมอ่ื นน้ั อรยิ สาวกยอ มประกอบดวยธรรมอนั เปนองคแหงโสดาปต ติ ๔ อยา งนี้ และญายธรรมอนั ประเสริฐน้ี อันอรยิ สาวกนัน้ เหน็ ดีแลว แทงตลอดดแี ลวดว ยปญ ญา อรยิ สาวกนั้นหวงั อยู พงึพยากรณตนดวยตนเองไดว า เรายอมเปนผูมนี รกสิน้ แลว มกี ําเนดิ สัตวดิรจั ฉานสนิ้ แลว มปี ตติวสิ ยั ส้นิ แลว มีอบาย ทุคติ วินบิ าตสน้ิ แลว เรายอมเปน โสดาบนั มีอันไมตกต่ําเปนธรรมดา เปนผเู ที่ยงจะตรสั รใู นภายหนา . จบทุติยปญจภยเวรสตู รท่ี ๒ อรรถกถาทตุ ิยปญ จเวรภยสตู รท่ี ๒ ในสตู รท่ี ๒ เพียงแตภาวะทีพ่ วกภกิ ษุกลาวเทานั้น เปนความตางกนั . จบอรรถกถาปญจเวรภยสตู รที่ ๒
พระสุตตนั ตปฎก สังยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 222 ๓. ทกุ ขนโิ รธสูตร วาดว ยเหตุเกดิ แหง ทุกขแ ละความดบั ทกุ ข [๑๖๑] พระผมู ีพระภาคเจา ประทับอยู ณ พระเชตวนั อารามของทานอนาถบณิ ฑิกเศรษฐี กรุงสาวตั ถ.ี พระผูมพี ระภาคเจา ไดต รัสวา ดูกอนภิกษทุ ้ังหลาย เราจักแสดงเหตุเกิดแหง ทุกข และความดับแหงทกุ ข ทา นทัง้ หลายจงฟง จงทาํ ไวใ นใจใหด ี เราจกั กลาว ภิกษุเหลานน้ั ทลู รับพระผูมีพระภาคเจา วา พระพุทธเจา ขา. [๑๖๒] พระผูมีพระภาคเจาไดตรสั ดังนว้ี า ดกู อ นภกิ ษทุ ัง้ หลายก็ความเกิดขนึ้ แหง ทกุ ขเปนไฉน. เพราะอาศัยจกั ษุและรูป จงึ เกิดจักข-ุวญิ ญาณ ความประชมุ แหงธรรม ๓ ประการเปนผัสสะ เพราะผัสสะเปนปจ จัย จึงเกดิ เวทนา เพราะเวทนาเปนปจจัย จงึ เกิดตณั หา ภกิ ษทุ ง้ั หลายน้ีแลเปน ความเกดิ ขึน้ แหงทุกข เพราะอาศยั หูและเสียง . . . เพราะอาศยั จมูกและกลนิ่ . . . เพราะอาศยั ลิน้ และรส . . . เพราะอาศยั กายและโผฏฐพั พะเพราะอาศยั ใจและธรรม จงึ เกดิ มโนวิญญาณ ความประชุมแหง ธรรม ๓ประการเปน ผัสสะ เพราะผสั สะเปน ปจจัย จึงเกดิ เวทนา เพราะเวทนาเปนปจจัย จึงเกดิ ตณั หา ภิกษุทง้ั หลาย น้แี ลเปน ความเกิดข้ึนแหง ทุกข. [๑๖๓] ดูกอ นภิกษุทง้ั หลาย ก็ความดบั แหงทกุ ขเ ปน ไฉน. เพราะอาศัยจักษแุ ละรปู จงึ เกิดจกั ขวุ ิญญาณ ความประชมุ แหงธรรม ๓ ประการเปนผัสสะ เพราะผสั สะเปนปจ จยั จงึ เกดิ เวทนา เพราะเวทนาเปนปจจยัจงึ เกดิ ตณั หา เพราะตณั หานน้ั เทียวดบั ดวยสํารอกโดยไมเ หลือ อปุ าทานจึงดบั เพราะอปุ าทานดับ ภพจึงดบั เพราะภพดบั ชาตจิ ึงดับ เพราะชาติ
พระสุตตันตปฎ ก สังยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 223ดบั ชราและมรณะ โสกปริเทวทุกขโทมนัสและอปุ ายาสจงึ ดบั ความดบัแหงกองทกุ ขท ้ังมวลนี้ ยอ มมีดว ยประการอยางน้ี. ภกิ ษทุ ั้งหลาย น้แี ลเปนความดับแหงทุกข เพราะอาศัยหูและเสียง . . . เพราะอาศัยจมูกและกล่นิ . . . เพราะอาศัยลน้ิ และรส . . . เพราะอาศัยกายและโผฏฐพั พะ. . .เพราะอาศัยใจและธรรม จึงเกดิ มโนวญิ ญาณ ความประชมุ แหง ธรรม ๓ประการเปนผัสสะ เพราะผสั สะเปนปจจยั จงึ เกิดเวทนา เพราะเวทนาเปน ปจจยั จึงเกิดตณั หา เพราะตัณหานั้นเทยี วดบั ดว ยสํารอกโดยไมเหลอือปุ าทานจงึ ดับ เพราะอุปาทานดับ ภพจงึ ดบั เพราะภพดับ ชาตจิ ึงดับเพ่อื ชาตดิ ับ ชราและมรณะ โสกปริเทวทกุ ขโทมนสั และอปุ ายาสจึงดับความดบั แหงกองทุกขทงั้ มวลนี้ ยอมดวยประการอยา งนี้ ภิกษุทงั้ หลายนี้แลเปนความดบั แหง ทกุ ข. จบทกุ ขนโิ รธสูตรท่ี ๓ อรรถกถาทกุ ขนิโรธสูตรที่ ๓ พึงทราบวินิจฉยั ในทกุ ขสตู รท่ี ๓ ตอไป. บทวา ทกุ ฺขสสฺ ไดแกวัฏทุกข ทุกขคือความเวียนวายตายเกิด. เหตุเกดิ ในบทวา สมทุ ย มี ๒ อยางคือ เหตเุ กิดทเ่ี ปน ชว่ั ขณะ ๑ เหตุเกดิ คือปจ จยั ๑. ภกิ ษุแมเ หน็ เหตเุ กดิ คือปจจัย ก็ชอื่ วา เหน็ เหตเุ กดิ ที่เปนไปช่วั ขณะ ถึงเห็นเหตุเกดิ ที่เปน ไปชวั่ ขณะ ก็ชือ่ วาเหน็ เกดิ คอื ปจจัย.ความดบั ในบทวา อฏ งคฺ โม มี ๒ อยา งคอื ความดบั สนิท ๑ ความดับคอื การแตกสลาย ๑. ภกิ ษแุ มเหน็ ความดับสนิท ก็ชื่อวาเหน็ ความดับคือการแตกสลาย ถึงเห็นความดบั คือการแตกสลาย ก็ชอ่ื วา เหน็ ความดบั สนิท.
พระสตุ ตนั ตปฎก สงั ยุตตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 224บทวา เทเสสสฺ ามิ ไดแ ก เราจักแสดงความเกิดและความดบั ซ่งึ ชือ่ วา ความบงั เกดิ และความแตกแหงวฏั ทกุ ขน.ี้ อธิบายวา พวกเธอจงฟง เหตเุ กดิ และความดับนัน้ . บทวา ปฏิจฺจ ไดแ ก เพราะความประชุมแหง ธรรม ๓ประการ จงึ เกิดผัสสะ เพราะทําใหเปน ปจจยั ดวยอํานาจนสิ สยปจ จัยและอารัมมณปจจัย. บทวา อย โข ภิกฺขเว ทุกขฺ สสฺ สมุทโย ไดแกนชี้ ่อื วา เปน ความบังเกดิ แหง วัฏทุกข. ขอวา อฏงคฺ โม แปลวา ความแตกสลาย. วฏั ทกุ ขยอ มเปน อนั ถกู ทําลายแลว หาปฏสิ นธิมไิ ด ดว ยประการฉะน้แี ล. จบอรรถกถาทกุ ขนโิ รธสตู รที่ ๓ ๔. โลกนิโรธสตู ร วาดวยความเกดิ และความดับแหงโลก [๑๖๔] พระผมู พี ระภาคเจา ประทบั อยู ณ พระเชตวัน อารามของทานอนาถบิณฑิกเศรษฐี กรงุ สาวตั ถี. พระผูมพี ระภาคเจา ไดต รัสวาดกู อนภกิ ษุทง้ั หลาย เราจักแสดงความเกดิ และความดับแหง โลก๑ เธอทงั้ หลายจงฟง . . . ภกิ ษุทงั้ หลาย กค็ วามเกดิ แหง โลกเปนไฉน. เพราะอาศยัจักษแุ ละรปู จึงเกดิ จักขวุ ญิ ญาณ ความประชมุ แหงธรรม ๓ ประการเปนผัสสะ เพราะผสั สะเปนปจ จยั จงึ เกิดเวทนา เพราะเวทนาเปน ปจจยั จึงเกดิตัณหา เพระตัณหาเปน ปจจัย จงึ เกิดอปุ าทาน เพราะอปุ าทานเปน ปจจัยจึงเกดิ ภพ เพราะภพเปน ปจจัย จงึ เกิดชาติ เพราะชาตเิ ปนปจ จยั จงึ เกิดชราและมรณะโสกปรเิ ทวทกุ ขโทมนัสและอปุ ายาส ภิกษุท้งั หลาย นี้แลเปนความเกดิ แหงโลก เพราะอาศยั หแู ละเสียง. . .เพราะอาศยั จมกู และกลิ่น. . .๑. สงั ขารโลก
พระสุตตันตปฎก สังยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 225เพราะอาศยั ลิ้นและรส. . .เพราะอาศยั กายและโผฏฐัพพะ. . .เพราะอาศยั ใจและธรรม จงึ เกิดมโนวิญญาณ ความประชมุ แหง ธรรม ๓ ประการเปนผสั สะ เพราะผสั สะเปนปจจัย จึงเกิดเวทนา ฯล ฯ เพราะชาตเิ ปน ปจ จัยจึงเกิดชราและมรณะ โสกปริเทวทกุ ขโทมนสั และอุปายาส ภกิ ษุทัง้ หลายน้ีแลเปน ความเกิดแหง โลก. [๑๖๕] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย กค็ วามดับแหง โลกเปน ไฉน. เพราะอาศยั จกั ษแุ ละรูป จึงเกดิ จักขวุ ญิ ญาณ ความประชมุ แหง ธรรม ๓ ประการเปน ผสั สะ เพราะผัสสะเปน ปจจัย จงึ เกดิ เวทนา เพราะเวทนาเปน ปจจัยจึงเกิดตณั หา เพราะตัณหานัน้ เทียวดบั ดวยสํารอกโดยไมเหลอื อปุ าทานจึงดบั เพราะอปุ าทานดับ ภพจึงดบั เพราะภพดบั ชาตจิ งึ ดับ เพราะชาติดบั ชราและมรณะ โสกปรเิ ทวทุกขโทมนัสและอปุ ายาสจงึ ดับความดบั แหง กองทกุ ขท้งั มวลน้ี ยอมมีดวยประการอยา งนี.้ ภิกษุทั้งหลายนแ้ี ลเปนความดับแหง โลก เพราะอาศัยหูและเสียง. เพราะอาศยั จมูกและกล่นิ . . . เพราะอาศัยลนิ้ และรส. . . เพราะอาศัยกายและโผฏฐัพพะ. . .เพราะอาศัยใจและธรรม จงึ เกดิ มโนวิญญาณ ความประชุมแหงธรรม ๓ประการเปน ผัสสะ เพราะผสั สะเปน ปจจยั จงึ เกดิ เวทนา เพราะเวทนาเปน ปจ จัย จงึ เกดิ ตัณหา เพราะตัณหาน้ันเทียวดับดว ยสาํ รอกโดยไมเหลืออปุ าทานจึงดับ เพราะอปุ าทานดบั ภพจงึ ดบั ฯลฯ ความดบั แหง กองทกุ ขท ้งั มวลนี้ ยอมมดี วยประการอยางน้ี ภิกษุทงั้ หลาย นี้แลเปน ความดับแหงโลก. จบโลกนโิ รธสูตรท่ี ๔
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 684
- 685
- 686
- 687
- 688
- 689
- 690
- 691
- 692
- 693
- 694
- 695
- 696
- 697
- 698
- 699
- 700
- 701
- 702
- 703
- 704
- 705
- 706
- 707
- 708
- 709
- 710
- 711
- 712
- 713
- 714
- 715
- 716
- 717
- 718
- 719
- 720
- 721
- 722
- 723
- 724
- 725
- 726
- 727
- 728
- 729
- 730
- 731
- 732
- 733
- 734
- 735
- 736
- 737
- 738
- 739
- 740
- 741
- 742
- 743
- 744
- 745
- 746
- 747
- 748
- 749
- 750
- 751
- 752
- 753
- 754
- 755
- 756
- 757
- 758
- 759
- 760
- 761
- 762
- 763
- 764
- 765
- 766
- 767
- 768
- 769
- 770
- 771
- 772
- 773
- 774
- 775
- 776
- 777
- 778
- 779
- 780
- 781
- 782
- 783
- 784
- 785
- 786
- 787
- 788
- 789
- 790
- 791
- 792
- 793
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 700
- 701 - 750
- 751 - 793
Pages: