Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_14

tripitaka_14

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:39

Description: tripitaka_14

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 105 บทวา และรูย่ิงสิง่ ทงั้ หมดนัน้ คือ ในภกิ ษุเหลานั้น ส่งิ ใดทแ่ี ตละรูปไดเหน็ กร็ ูสิ่งทัง้ หมดนน้ั ดวย. บทวา ผทู รงมจี ักษทุ รงใครค รวญแลว คือ พระศาสดาผทู รงมจี ักษุดวยจักษทุ ง้ั ๕ อยาง ทรงใครค รวญโดยประจักษ เหมอื นผใู ครค รวญดูลายมอื ฉะนั้น จึงตรัสพระคาถาทีก่ ลา วมาเมอ่ืกอนวา แตน ั้นจงึ ตรสั เรยี ก เพื่อทรงตองการระบุถึงชื่อและโคตร. ในบทน้มี ีความเกีย่ วของอยา งนวี้ า พวกเธอจงรูจ กั คือจงดู ไดแ ก จงมองดพู วกอมนุษยท่เี ราจะระบแุ กพ วกเธอ. บทวา ดว ยถอ ยคําท้ังหลาย คอื ดวยคาํ พูดท้งั หลาย.บทวา โดยลาํ ดบั คือ ตามลําดับ. บทวา ยักษท ้งั หลายเจด็ พนั เปนพวกเทพอยูตามแผน ดนิอาศัยกรงุ กบิลพสั ดุ คอื พระผมู ีพระภาคเจา ตรัสวา หมูย กั ษ คือพวกเทพอยตู ามแผน ดินอาศัยกรงุ กบลิ พัสดุเ กิดในกรุงกบลิ พสั ดุน ั้นกอน. บทวา มีฤทธ์ิ คอื ประกอบดว ยฤทธท์ิ ิพย. บทวา มคี วามรุง เรอื ง คอื ถึงพรอมดวยอานภุ าพ. บทวา มวี รรณะ คือสมบรู ณดวยผิวพรรณของรา งกาย. บทวามียศ คือสมบรู ณด ว ยบริวาร. บทวา ยินดมี ุงหนามา คือ มจี ติ ยินดมี า.บทวา สูปา เปน ท่ปี ระชมุ ของภกิ ษุทงั้ หลาย คือมาเพ่อื ตองการดปู า ใหญนี้ คอื สาํ นกั ของพวกภกิ ษุน้ี ไดแกเพือ่ ตองการดภู ิกษทุ ั้งหลาย. อกี อยา งหน่งึพวก เรยี กวา ประชมุ . อธิบายวา มาเพอ่ื ชมพวกภิกษดุ ังนีก้ ็ได. บทวา พวกยักษช าวเขาเหมวัตหกพนั มผี วิ พรรณตา ง ๆ กนั คือพวกยักษท ีเ่ กิดที่ภเู ขาเหมวตั หกพัน พวกยักษแ มทั้งหมดนน้ั มสี ตี าง ๆ กนั ดวยอาํ นาจสเี ขียวเปน ตน . บทวา พวกยักษช าวเขาสาตาคริ ีสามพัน คือ พวกยกั ษทเี่ กิดท่ีภเู ขาสาคาคริ ี ๓,๐๐๐. บทวา ยักษเหลา นี้หม่ืนหกพนั ดวยประการฉะน้ีคอื ยักษแ มท ้ังหมดน้ี รวมกนั เปนหม่นื หกพัน. บทวา ชาวเขาวิศวามติ รหา รอย คอื พวกยักษท เ่ี กิดท่ีภเู ขาวิศวามติ ร ๕๐๐ บทวา กุมภรี ชาวเมอื ง

พระสุตตนั ตปฎก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 106ราชคฤห คอื ยักษชอ่ี กุมภรี เ กิดในกรุงราชคฤห. บทวา เขาไพบูลยเ ปน ท่ีอยูของยกั ษนั้น อธิบายวา ภเู ขาไพบูลย (เวปลุ ละ) เปน นิเวศน คอื ท่อี ยูของยกั ษนน้ั . บทวา ยกั ษมากกวาแสนเขา เฝา ยักษชอ่ื กุมภรี นั้น คือ ยกั ษเ กินแสนเขาเฝายกั ษช อ่ื กมุ ุภรี น นั้ . บทวา ยกั ษชือ่ กุมภรี ช าวเมอื งราชคฤหแมนัน้ ก็มาสูปาเปน ทป่ี ระชุมภกิ ษุท้งั หลาย คอื แมย ักษช อื่ กมุ ภีรนน้ั พรอมกบั บริวารกม็ าสูป านี้ เพือ่ ชมการประชมุ ของภิกษุทง้ั หลาย. บทวา ก็ทาวธตรัฏฐ ทรงปกครองทิศตะวันออก คอื ทรงปกครองทางทิศปราจีน. บทวา ทรงเปนอธิบดขี องพวกคนธรรพ คอื ทรงเปนหัวหนา ของพวกคนธรรพ(คนธรรพ -นกั ดนตรี) คนธรรพท้ังหมดน้ัน เปนไปในอํานาจของทา วธตรฏั ฐนั้น . บทวา ทา วเธอทรงเปนมหาราช ทรงมยี ศ คือ มหาราชพระองคนนั้ ทรงมบี ริวารมาก. บทวา แมพวกบุตรของทาวเธอก็มาก มีนามวาอนิ ทรมกี ําลังมาก คือ พวกลกู ๆ ของทา วธตรัฏฐน้ัน มีมาก มกี ําลังมาก.เธอทง้ั หลายทรงช่ือของทา วสกั กะ ผเู ปนราชาของเทวดา. บทวา ทาววิรุฬหทรงปกครองทศิ นัน้ คือทิศนน้ั ทาววิรฬุ หก ทรงอนศุ าสน. บทวา แมพวกลูก ๆ ของทาวเธอ คอื ลูก ๆ แมข องทา วเธอกเ็ ชนน้นั เหมอื นกนั . ก็ในบาลีทานเขียนวา มหพพฺ ลา - มีกําลงั มาก. ในวาระทง้ั หมดในอรรถกถาปาฐะเปน มหาพพฺ ลา - มีกําลังมาก. สวนคาถาพระผมู พี ระภาคเจาตรัสดว ยอํานาจรวมเอาหมดอยา งนีว้ า ทาวธตรัฏฐท รงปกครองทิศตะวันออก ทางทศิ ใตท า ววิรฬุ หก ทางทิศตะวันตก ทาววริ ูปกษ ทาวกเุ วรทรงปกครองทศิ เหนอื มหาราชท้ัง ๔ พระองคน ัน้ ทรง

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 107 ยังทิศท้งั ๔ โดยรอบใหรุงเรอื งประทบั อยู ทปี่ าใกลกรุงกบิลพสั ดุ. ในคาถานน้ั มีใจความดงั ตอไปน้ี ในหม่นื จกั รวาลตา งมีพวกมหา-ราช ทรงพระนามวา ธตรฏั ฐ. แมท ง้ั หมดนนั้ ตา งกท็ รงมีคนธรรพแ สนโกฏิแสนโกฏิเปนบริวาร ยืนเต็มหอ งจักรวาลตง้ั แตปาใหญใกลก รุงกบลิ พัสดทุ างทิศตะวันออก. ทาววริ ฬุ หกเปนตนในทศิ ใตเปน ตน กอ็ ยางนี้. เพราะเหตนุ น้ัแล พระผมู พี ระภาคเจา จึงตรัสวา ทรงยังทศิ ท้งั ๔ โดยรอบใหรุงเรอื งประทบัอยู. กค็ ําอธิบายมอี ยา งนี้วา มาจากจกั รวาลโดยรอบ ยังทิศท้ัง ๔ ใหร งุ เรืองอยา งดปี ระทับอยูเหมือนกองไฟบนยอดเขา. กท็ านเหลานัน้ ทรงหมายเอาปา ใกลกรงุ กบลิ พัสดเุ ทานน้ั แลว จึงมาเพราะเหตใุ ด เพราะเหตนุ ัน้ พระผมู ีพระภาคเจาจงึ ตรสั ถงึ พวกทา นวา เปนผยู ังจักรวาลใหเ ตม็ เทา ๆ กัน ดวยจักรวาล แลวประทับท่ปี า ใกลก รุงกบลิ พัสดุ ดงั น้ี. บทวา พวกบาวของมหาราชทั้ง ๔ พระองคน้นั มีมารยา ลอ -ลวง โออ วดกม็ า ความวา มหาราชเหลา นั้น ทรงมที าสทีป่ ระพฤติคดโกงประกอบดวยเจาเลห ซ่งึ มกี ารปกปดความชว่ั ทกี่ ระทาํ ไวเ ปนลักษณะ เปน พวกทีเ่ รยี กวาผลู อลวง. เพราะหลอกลวงโลกดว ยการหลอกลวงทงั้ ตอ หนาและลบัหลัง และพวกทเ่ี รียกวาผูโ ออ วด เพราะประกอบดวยความฉอ ฉลและโออ วดแมพวกเหลา นน้ั กม็ า. บทวา เปนเจาเลห  คอื กุเฏณฑุ เวเฏณฑุ วฏิ  วฏิ ก ะคือ บาวแมทงั้ หมดนน้ั ลวนแตเ ปน ผกู ระทํามารยาท้ังน้ัน ก็ในพวกทาํมารยานี้โดยช่อื ก็มี กเุ ฏณฑุ ๑ วิเฏณฑุ ๑. สวนในบาลีทา นเขียนวาเวเฏณฑฺ ุ (ตอ ไปก็เปน ) วิฏ ๑ วฏิ ฏ ะ ๑. บทวา กบั คือ แมวิฏฏ ะนัน้ก็มากับพวกเหลานน้ั เหมือนกัน. (ถัดไปกม็ )ี จันทน ๑ กามเศรษฐ ๑ กนิ น-ุฆณั ฑุ ๑ นิฆณั ฑุ ๑ กินนุฆณั ฑะอกี ผหู นงึ่ ๑. แตในบาลีเขยี นเปน

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ท่ี 108กนิ ฺนุฆณทฺ ุ. ชอื่ นิฆณั ฑอุ นื่ ก็ชือ่ นฆิ ณั ฑฺ ดุ ว ย. ( = นิฆัณฑุมีสองตน) พวกบาวมี ( ๑๐ ตน) เทานี.้ สว นพวกอืน่ จากน้กี ไ็ ดแ กเทวราชเหลา น้ี คอื :- ปนาทะ ๑ โอปมญั ญะ ๑ เทวสูตะ ๑ มาตลี ๑ จิตตเสนะ ๑ คนธรรพ ๑ นโฬ- ราชะ ๑ ชโนสภะ ๑ ปญ จสิขะ ๑ ติมพรู ๑ สรุ ิยวจั ฉสา ๑ กม็ าแลว . บรรดาบทเหลานัน้ บทวา เทวสูตะ คอื เทวสารถ.ี บทวา จิตตเสนะคือ แยกออกเปนเทวราชได ๓ องค จติ ตะ ๑ เสนะ ๑ จติ ตเสนะ ๑.บทวา คนธรรพ กไ็ ดแก จิตตเสนะ อันเปนพวกคนธรรพน ี้ . ไมใชแ ตจิตตเสนะนีเ้ ทานน้ั ถงึ ปนาทะเปนตน ทั้งหมดนี้ ก็เปนคนธรรพทัง้ น้ัน. บทวานโฬราชะ ไดแ กเทพองคห นึ่งชือ่ นฬการเทวบุตร. บทวา ชโนสภะ คือเทวบตุ รช่ือชนวสภะ. บทวา และปญจสิขะ กม็ าเหมือนกัน คอื ปญจสขิ ะเทวบตุ รน่นั เทียวก็มา. บทวา ตมิ พรู คอื คนธรรพเทวราช. บทวา สรุ ยิ -วจั ฉสา ไดแกล กู สาวของทาวตมิ พรูนนั่ เอง. บทวา เทพเหลานี้ และคน-ธรรพผ ูเปน ราชาเหลา อนื่ พรอ มกับเหลา ราชา คือเทพเหลานี้ เหลาพญาคนธรรพท ่กี ลาวดว ยอาํ นาจพระนาม และคนธรรพจ ํานวนมากเหลาอนื่พรอมกบั พระราชาเหลานั้น. บทวา ยินดมี ุงหนามาสปู า อนั เปน ทปี่ ระชมุของภิกษุทง้ั หลาย มีความวา มีจติ รา เริงยินดี มาแลว สปู าน้อี นั เปนท่ีประชมุ ของภกิ ษทุ ัง้ หลาย. บทวาอนึง่ พวกนาคชาวสระนาภสะ และพวกนาคชาวไพศาลีก็มาพรอ มกับตัจฉกะ คือ พวกนาคชาวสระนภสะ และพวกนาคชาวเมอื งไพศาลี กม็ าพรอมกบั บริษทั ของตัจฉกนาคราช. บทวา กมั พลและอัสดรคอื กัมพล ๑ อัสดร ๑. เลากนั มาวา นาคเหลา น้ี อยูทเี่ ชงิ เขาสเิ นรุ เปนนาค

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ท่ี 109ช้ันผใู หญทีแ่ มพวกสบุ รรณ (ครุฑ) ก็พงึ ฉดุ ไป (= นาํ ไป จับไป) ไมได.บทวา และพวกนาคชาวประยาคะ พรอ มกับหมญู าติ คอื และพวกนาคทอี่ ยทู าประยาคะ ก็มากับหมญู าต.ิ บทวา และพวกชาวยมนุ าและพวกธตรัฏฐ คอื พวกนาคทอ่ี ยูในแมน้ํายมนุ า และพวกนาคท่ีเกดิ ในตระกูลธตรัฏฐ.บทวา ชางใหญช่อื เอราวณั คอื และเอราวณั เปน เทวบตุ ร ไมใชเ ปนชางโดยกําเนดิ แตเ ทวบตุ รน้ันถูกเรียกวาชาง. บทวา แมเ ขากม็ า คือ แมเอราวัณเทวบุตรนนั้ กม็ า. บทวา พวกใดนํานาคราชไปไดร วดเร็ว คอืพวกครุฑเหลาใด มีความโลภครอบงําแลวนาํ คอื จบั เอาพวกนาคมีประการที่กลา วแลว น้ีไปไดอ ยางรวดเรว็ . บทวา เปน ทิพย เกดิ สองครง้ั มีปก มตี าหมดจด คอื ชือ่ วา เปน ทิพย เพราะมีอานุภาพทพิ ย ชื่อวาเกดิ สองคร้งัเพราะเกิดแลวสองครั้งคอื จากทองแมและจากกะเปาะไข ช่ือวามีปก เพราะประกอบดว ยปก ช่อื วามีตาหมดจด เพราะประกอบดวยตาทีส่ ามารถเห็นหมูนาคในระหวา งรอยโยชนบา ง พนั โยชนบา ง. บทวา พวกเหลา นน้ั ไปถงึกลางปาทางเวหา คอื พวกครุฑเหลานน้ั ถึงปาใหญน โี้ ดยทางอากาศนัน่เอง. บทวา ชื่อของพวกเหลานนั้ วา จติ ระและสบุ รรณ คอื ครุฑเหลานนั้ ชือ่ จิตระ และสุบรรณ. บทวา ในคร้ังน้ันไดม ีการอภัยแกพวกนาคราช พระพุทธเจา ทรงทําความปลอดภัยจากสุบรรณ คือ (เพราะเหตุใด)เพราะเหตนุ น้ั พวกนาคและครุฑท้ังหมดนั้น ทกั กันดว ยวาจาที่สุภาพคยุ กนัเพลดิ เพลินเหมือนเพ่อื นและเหมือนญาติ สวมกอดกนั จบั มอื กนั วางมือบนจงอยบา มจี ิตรา เริงยนิ ด.ี บทวา พวกนาค พวกสุบรรณ ทาํ พระพุทธเจา ใหเปนสรณะ คือ พวกเขาเหลานน้ั ถงึ พระพุทธเจาเปน ท่ีพ่ึงท่ีระลึก. พวกทอี่ ยใู นทะเลหลวงคือพวกอสรู ผอู าศยั ทะเล ซึ่งถกู พระอนิ ทรผูเ ปนราชาแหงเทพ ซง่ึ มีพระนามวา ทาววชริ หัตถ (มีวชริ าวุธในพระหัตถ) ปราบ

พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 110เมือ่ คราวกอ น เพราะเหตนุ างสชุ าดาลูกสาวของอสูร แมเหลาใด แมเ หลานั้นทงั้ หมด เปน พน่ี อ งของทา ววาสวะ. (พระอนิ ทร) พวกเหลา น้ันมีฤทธ์ิ มียศ-บทวา พวกกาลกัญชามีกายใหญพิลกึ คอื และพวกอสูรกาลกัญชานิรมิตรางใหญ นาสะพึงกลวั แลวกม็ า. บทวา พวกอสรู ตระกลู ทานเวฆัส ไดแ กพวกอสูรถือธนู เหลาอ่นื ชื่อทานเวฆสั . บทวา เวปจติ ติ สุจติ ติ และปหาราทะกับนมจุ ี ไดแ ก และพวกอสูรเหลา น้ี คอื อสูรช่อื เวปจติ ติ ๑ อสูรช่ือสุจติ ติ ๑.๑ บทวา กบั นมจุ ี ไดแก และมาร ชื่อนมจุ ิ ผูเปนเทวบตุ ร กม็ าพรอมกบั อสรู เหลาน้นั นัน่ แล. อสรู เหลาน้ีอยูใ นทะเล แตนมุจีน้ีอยใู นเทวโลกชน้ั ปรนมิ มิต เหตไุ รจงึ มาพรอ มกับอสูรเหลา น้ัน ? เพราะเปน พวกไมถ กู ใจเปนพวกอภพั . สว นนมุจนี กี้ ็เชนกันนน่ั แหละ ธาตถุ กู กนั เพราะฉะนัน้ จงึ มา.บทวา และพวกลกู ของพลิผอู สรู หนึ่งรอ ย คอื ลูกรอ ยหนงึ่ ของพลีผูอ สรูใหญ บทวา ทกุ ตนช่อื ไพโรจน คอื ทรงชอื่ ราหผู ูเปน ลงุ ของตนนนั่ เอง.บทวา ผูกสอดเคร่อื งเสนาอนั มกี ําลงั คอื ผูกสอดเคร่ืองเสนาอนั มกี าํ ลังของตนทกุ ตนกลายเปน ผจู ัดเครื่องสนามเสรจ็ แลว. บทวา เขาใกลร าหุภทั รแลว คือ เขา หาจอมอสรู ช่อื ราหู. บทวา ทานผเู จริญ บดั นี้ เปน สมยัของทา น คอื ความเจริญจงมีแกทา น บดั นี้เปนเวลาประชมุ . อธบิ ายวาทา นจงเขา ไปสูปา เปนที่ประชมุ แหง ภกิ ษทุ ัง้ หลาย เพ่อื ดูหมภู กิ ษ.ุ บทวา เหลา อาโปเทพ เหลา ปฐวีเทพ เหลาเตโชเทพ และเหลา วาโยเทพ ก็มาในคร้งั นนั้ คอื เหลาเทพท่มี ีช่อื ข้ึนตนวา นํ้า เพราะทําบริกรรมในกสิณนํา้ เปนตนจงึ เกิดข้ึนมา ก็มาในครง้ั นั้น. บทวา เหลาวรณุ เทพ เหลา วารณุ เทพ และโสมเทพ กบั ยศเทพ ความวา พวกเทพทม่ี ชี ่ืออยา งนี้ คือ วรุณเทพ วารณุ เทพ โสมเทพ ก็มาดว ยกัน กับยศเทพ.๑. ปหาราทะ หายไป.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 111บทวา พวกเมตตากรณุ า คือพวกเทพผูท ําบรกิ รรมในฌานท่ปี ระกอบดว ยความรกั และในฌานที่ประกอบดว ยความเอ็นดูแลวจึงเกิดขึ้น. บทวา เหลาเทพผูมียศมาแลว คือ แมพวกเทพเหลา นน้ั เปน ผูมยี ศใหญ ไดมาแลว .บทวา หมเู ทพสิบหมเู หลานี้ ตงั้ อยโู ดยสว นสบิ ท้ังหมดมผี วิ พรรณตา ง ๆ กัน ความวา พวกเทพสบิ หมเู หลา นั้นต้งั อยโู ดยสว นสิบ ทั้งหมดมีผวิ พรรณตาง ๆ กัน ดวยสามารถแหงสีเขยี วเปน ตน กม็ าแลว . บทวา และเทพชื่อเวณฑู คือ เวณฑุเทพ ๑. บทวา สหลดี วยคือ เทพช่อื สหลี ๑. บทวา เทพชอ่ื อสมา และยมะทง้ั สอง คอื อสมเทพและยมกเทพอีก ๒. บทวา พวกเทพทอี่ าศัยพระจันทร เอาพระจนั ทรไวข า งหนาแลว ก็มา คอื พวกเทพทอ่ี าศยั พระจันทร ทําพระจันทรไ วข า งหนาแลว กม็ า ถงึ พวกเทพท่ีอาศยั พระอาทิตย ก็ทําพระอาทติ ยไ วขางหนาแลวก็มาเหมือนกนั . บทวา ทาํ นักษตั รไวขางหนา คอื เทวดาทง้ั หลายที่อาศัยนกั ษัตร (ดาวเคราะห) ทาํ หมนู ักษตั รไวข างหนา แลว กม็ า. บทวา มันทวลาหกทั้งหลายก็มา ความวา เหลาวาตวลาหก เหลา อัพภวลาหก เหลา อณุ ห-วลาหก พวกวลาหกเทพแมท ง้ั หมดนี้ เรยี กชื่อวามนั ทวลาหก แมเ หลา มนั ทวลาหกนนั้ กม็ า. บทวา ถงึ แมทา วสักกะ วาสวะปุรนิ ททะ ผปู ระเสรฐิกวา พวกวสุ ก็มา คอื วาสวะ คอื พระองคใดท่ีเรียกวา สักกะและปุรนิ ททะ ผูประเสรฐิ กวาวสุเทพทง้ั หลาย แมท า ววาสวะนน้ั ก็เสดจ็ มา.บทวา พวกเทพ ๑๐ เหลา นี้ คอื พวกเทพ ๑๐ เหลานี้ มาแลวโดยสวน ๑๐.บทวา ลว นแตมผี วิ พรรณแตกตา งกนั คือ มีผวิ พรรณตาง ๆ กันดว ยสามารถสเี ขียวเปน ตน. บทวา ตอ มา พวกสหภเู ทพก็มา คอื ลําดบั ตอ มา พวกเทวดาชอื่ สหภูกม็ า. บทวา ชลมคคฺ สิ ิขาริว คอื รงุ เรอื งอยูด ุจเปลวไฟ. ทาน

พระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 112กลาววา บทวา รงุ เรืองดุจเปลวเพลงิ น้ี เปนชื่อของเทพเหลา น้ัน ดงั นี้กม็ .ีบทวา พวกอรฏิ กะ และพวกโรชะ คอื พวกอริฏฐกเทพ และพวกโรชเทพ. บทวา มรี ศั มเี หมือนดอกผักตบ คือพวกเทวดาเหลาน้ัน ช่อื วาพวกเทพดอกผกั ตบ. เพราะวา แสงตวั เทวดาเหลานนั้ เหมอื นกบั ดอกผักตบฉะน้ัน จึงเรยี กวา อุมฺมาปปุ ฺผนภิ าสิ-มีรัศมเี หมอื นดอกผกั ตบ. คําวา วรุณและสหธรรม คอื เทพท้งั สององคเหลา นี้ดวย. คาํ วา อจั จตุ ะและอเนชกะคือ เหลาอจั จุตเทพและเหลา อเนชกเทพ. คาํ วา สไุ ลยและรจุ ิระกม็ า คอืพวกเทวดาชอื่ สุไลย และพวกเทวดาชื่อรุจิระกม็ า. คําวา วาสวเนสกี ็มา คือพวกเทวดาวาสวเนสี ก็มา. คาํ วา หมูเทพทั้ง ๑๐ เหลา นี้ คอื หมูเ ทพทัง้ ๑๐ แมเ หลา นม้ี าแลวโดยสว นสิบทีเดยี ว. คาํ วา สมานะ มหาสมานะ คือ พวกเทพช่ือสมานะและพวกเทพชอื่มหาสมานะ. คาํ วา มานสุ ะ มานุสตุ ตมะ คือ พวกเทพชอ่ื มานสุ ะและพวกเทพช่อื มานสุ ุตตมะ. คําวา พวกขฑิ ฑาปทสู ิกะกม็ า พวกมโนปทสู กิ ะกม็ า คอื พวกเทพท่ีมีการเลน ประทุษราย และพวกเทพทม่ี ีใจประทุษรายกม็ า. คําวา ถัดไปพวกหริเทพก็มา คือ พวกทชี่ อ่ื หริเทพก็มา. คําวาและพวกใด ชือ่ โลหติ วาสี คอื และเทพพวกโลหิตวาสีกม็ า. และเทพสองพวกเหลานค้ี อื พวกทชี่ อื่ ปารคะ และพวกท่ชี ื่อมหาปารคะ กม็ า. คําวาหมเู ทพทง้ั สิบเหลาน้ี คือ หมเู ทพทงั้ สิบแมเหลา นี้ มาแลวโดยสวนสิบเทยี ว. คําวา พวกเทพชือ่ สุกกะ ชื่อกรมุ หะ ช่ืออรุณะ ชื่อเวฆนัสกม็ าดวยกัน คอื พวกเทพทั้งสามมีพวกสกุ กะเปนตน และเทพพวกเวฆนัสก็มาพรอมกับเทพเหลา นั้น. คําวา พวกเทพผูหัวหนา ช่อื โอทาตคัยหะ คือพวกเทพผูเ ปนหวั หนาชื่อ โอทาตคยั หะ กม็ า. คาํ วา พวกวจิ ักขณเทพกม็ า

พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ท่ี 113คอื พวกเทพชอ่ื วิจักขณะ กม็ า. คาํ วา พวกสทามัตตะ พวกหารคชะ คือพวกเทพชื่อสทามัตตะและพวกเทพชอ่ื หารคชะ คําวา และพวกมสิ ลกะผมู ียศ คอื พวกชอื่ มิสสกเทพถึงพรอมดวยยศ. คาํ วา ปช ชุนคาํ รามอยกู ม็ าคือ. และเทวราชช่ือปชชุน คาํ รามอยูกม็ า. คําวา ผใู หฝ นตกทว่ั ทศิ คือผูทีไ่ ปทิศใดๆฝนตกในทิศนั้น ๆ. คําวา หมูเทพทงั้ สบิ เหลา นี้ คือ หมเู ทพท้ังสบิ แมเหลานี้ มาแลว โดยสวนสบิ เทยี ว. คาํ วา พวกเทพชนั้ ดุสิตผูม ีความเกษมและพวกชน้ั ยามา ไดแกพวกเทพผมู คี วามเกษมอยดู สุ ติ บุรี และพวกเทพท่ีอยใู นยามาเทวโลก คําวาและพวกกถกา ผมู ยี ศ ไดแ ก พวกเทพชื่อกถกะ ผสู มบรู ณด ว ยยศดว ยสว นในบาลีเขียนวา กัฏฐกะ. คําวา ลมั พิตกะ (และ) ลามเสฏฐะ ไดแ กพวกเทพชอ่ื ลัมพติ กะ และพวกเทพชอ่ื ลามเสฏฐะ. คําวา โชตนามและอาสวะความวา มพี วกเทวดาช่อื โชตเิ ทพ โชติชว งเหมือนกองไฟออ ท่ีกอบนยอดภเู ขาและพวกอาสาเทพกม็ า. แตในบาลเี ขียน โชตนิ าม ทา นเรียกอาสาเทพวาอาสวะ ดวยอํานาจฉนั ท. เทวดาชนั้ นิมมานรดกี ม็ า ถัดมาเทวดาช้นั ปรนิมมิตากม็ า. คําวา หมูเ ทพท้ังสิบเหลา น้ี ไดแก หมูเทพทั้งสบิ แมเ หลานีม้ าแลวโดยสว นสบิ ทีเดยี ว. คําวา หมูเทพ ๖๐ เหลานี้ ไดแก เทพ ๑๐ หมู ๖ คร้ัง เรมิ่ แตอาโปเปน ตน ไป ก็เปน หมูเ ทพ ๖๐ หม.ู เทพทัง้ หมดมีผวิ พรรณแตกตา งกนัดว ยอาํ นาจสเี ขยี วเปน ตน. คําวา มาแลวโดยกําเนิดชื่อ ไดแก มาแลว โดยภาคแหงชื่อ คอื โดยสวนแหง ชอื่ นัน่ เทียว. คําวา และเทพเหลาอ่นื ใดท่ีเชน กันกบั ไดแก และแมเทพในจักรวาลทเ่ี หลือเหลาอ่นื ใดทเ่ี ชน กนั กับเทพเหลาน้ี คอื เปนเชนน้นั เหมอื นกันท้งั โดยผิวพรรณ ทัง้ โดยชื่อ เทพเหลานน้ัมาแลว เทียว ดงั นี้ เปนอนั วาพระผมู ีพระภาคเจา ทรงแสดงเทวดาทัง้ หมด

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 114เหมือนรวบยอดมดั เปน กลุม ๆ ดวยบทเดยี วเทา นั้น. คร้นั ทรงแสดงหมเู ทวดาในหมืน่ โลกธาตอุ ยางนเ้ี สร็จแลว บัดนี้ เมอื่ จะทรงแสดงความตองการท่เี ทวดาเหลา นัน้ มาจงึ ตรสั คาถาเปนตน วา มชี าติ (ความเกิด) ทอี่ ยูแลว ดังน.้ี พึงทราบใจความของคาถาน้นั พระอรยิ สงฆชอื่ วา มชี าติที่อยแู ลวเพราะชาติของทาน ทา นอยแู ลวปราศไปแลว. ทานผูม ชี าติที่อยแู ลวน้ัน. พวกเราจะดู คอื จะเห็นพระอริยสงฆท่ีชื่อวาไมมตี าปู เพราะตาปูคอื ราคะ โทสะและโมหะ ไมมี ชอื่ วา ขามโอฆะ (หวงน้าํ ) แลว เพราะขามโอฆะทัง้ สไี่ ดแลวต้งั อยู ช่อื วา หาอาสวะมิได เพราะไมม ีอาสวะทัง้ ๔ ชอ่ื วาผขู ามโอฆะ เพราะขา มโอฆะเหลา นนั้ น่นั เองไดแลว ชอื่ วา นาคะ เพราะไมทาํ ความชว่ั . คําวาผลู ว งกรรมดาํ คอื และพวกเราจะดู คือจะเห็นพระทศพลท่ีทรงรุง เรอื งอยดู ว ยพระสิรเิ หมอื นพระจนั ทรท ล่ี ว งความดํา (คอื เมฆเวลาหก) ฉะนน้ั . เทพเหลาน้ันและเทพเหลาอน่ื ใดทเี่ ชนเดียวกันกบั เทพเหลา น้ัน แมท ้งั หมดมาแลวดวยการระบชุ ื่อเพอ่ื ประโยชนน้นั ดวยประการฉะนี้. บัดนี้ เมื่อจะทรงแสดงถงึ พวกพรหม จงึ ตรสั คาํ เปนตนวา สุพรหมและปรมัตต (ปรมาตมนั ) พรหม ดังนี้. บรรดาบทเหลานัน้ บทวา สพุ รหม ไดแ กพรหมประเสรฐิ องคห นง่ึและพรหมช่ือ ปรมตั ตะ. บทวา เปน บุตรของทานผมู ฤี ทธิ์กบั ไดแกอริยพรหมเหลา นี้ เปนบุตรของพระผมู ีพระภาคพทุ ธเจาผมู ฤี ทธม์ิ าดวยกนัทเี ดยี ว. บทวา สนงั กุมารและติสสะ ไดแ ก สนังกุมารองคห น่งึ ๑ ติสส-มหาพรหมองค ๑. บทวา แมเขากม็ า ไดแ ก แมต ิสสมหาพรหมน้ันกม็ า.มีพระดํารัสในเร่อื งพรหมนีว้ า มหาพรหมเขาถึงพรหมโลกมคี วามรงุ เรือง มีรา งใหญโต มยี ศ ปกครองพรหมโลกพนั หน่งึ .

พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 115 บทวา พรหมโลกพันหนึ่ง ไดแก พรหมช้ันผูใ หญพันองคมาแลวสามารถทําแสงสวางในพนั จกั รวาลดว ยน้ิวพระหตั ถนวิ้ เดียว ในหมน่ื จกั รวาลดวยน้ิวพระหตั ถสบิ นว้ิ . บทวา มหาพรหมปกครอง ไดแกพ รหมชนั้ ผู ใหญแตละองคค รอบงาํ พรหมเหลา อ่ืนแลว ตัง้ อยใู นที่ใด. บทวา เขา ถงึ ไดแ กเกิดในพรหมโลก. บทวา มคี วามรงุ เรอื ง ไดแก สมบูรณดว ยอานภุ าพ.บทวา มีรา งใหญโ ต ไดแ ก มีรางกายใหญมขี นาดรา งกายเทากับสองสามเขตหมบู านชาวมคธ. บทวา มียศ ไดแ ก ประกอบพรอมดวยยศกลาวคือ สิริแหงอัตภาพ. บทวา พรหมสบิ องคเ ปน อิสระในพรหมพนั หน่ึงนั้น มอี าํ นาจเปนไปเฉพาะกม็ า ไดแ ก มหาพรหมเปน อสิ ระสบิ องคเห็นปานนน้ั ยังอาํ นาจใหเปน ไปโดยเฉพาะๆ ก็มา. บทวา และพรหมชอื่ หาริตะ อนั บรวิ ารแวดลอมแลว ก็มาในทา มกลางพรหมเหลา นัน้ ความวา กม็ หาพรหมชอ่ื หาริตะ มพี รหมแสนองคเ ปน บริวาร ก็มาในทามกลางพรหมเหลานนั้ .บทวา และเหน็ พวกเทวดาทมี่ าน้นั หมด ทัง้ พระอนิ ทรพรอมทงั้พระพรหม ความวา พวกเทวดา แมท ้ังหมดนน้ั ทาํ ทาวสักกเทวราชใหเ ปนหัวหนา แลวมา และพวกพรหมก็ทาํ หารติ มหาพรหมใหเปนหวั หนาแลวมา. บทวา กองทัพมารกม็ า ความวา กองทัพมาร ก็เขา มา. บทวา พวกทานจงดคู วามเขลาของกฤษณะ (มารผดู าํ ) ความวา พวกทา นจงดคู วามโงของมารผูดํา พญามารส่ังบริษทั ของตนอยา งนีว้ า พวกทานจงมาจบั ผูกไว.บทวา การผกู ดวยราคะ จงมีแกพ วกทาน ความวา เทวมณฑลของทานท้ังหมดน้ี จงเปนอนั ผูกไวแ ลวดวยราคะ. บทวา พวกทา นจงแวดลอมไวโดยรอบ บรรดาพวกทา นใคร ๆ อยาปลอ ยเขาไป ความวา บรรดาพวกทา น แมผหู น่งึ อยาปลอย ไปแมแ ตผูเดยี วในพวกนี้ ปาฐะวา มา โว มุ-ฺจิตถฺ พวกทา นอยาปลอ ยไป ใจความก็อยา งน้เี หมือนกัน. บทวา แมทัพ

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 116ใหญ บงั คับกองทัพกฤษณะในทปี่ ระชุมนน้ั ดงั นี้ ความวา มารผูเ ปนแมทพั ใหญบงั คบั กองทพั มารในทป่ี ระชมุ นั้นอยางน้ี . บทวา เอามอื ตบพน้ืความวา ตบพืน้ แผน ดินดว ยมือ. บทวา ทาํ เสียงนา กลวั ความวา และทําเสียงท่ีนากลวั เพอื่ แสดงเสียงทน่ี า กลวั ของมาร. บทวา เหมอื นเมฆที่หลง่ัฝน คาํ รามอยูเปนไปกบั ดว ยฟา แลบ ความวา เหมือนเมฆหล่ังนํ้าฝนเปนไปกบั ดว ย ฟาแลบขคู าํ รามอยางใหญ. บทวา ครั้งนนั้ มารนนั้ กลบั ไปแลว ความวา สมยั นั้น คร้ันแสดงสงิ่ ท่ีนากลัวนัน้ เสรจ็ แลว มารนั้นกก็ ลับไป.บทวา เดอื ดดาลกบั ผทู ี่ไมเปนไปในอํานาจตน ความวา เมอ่ื ไมอาจเพื่อจะใหใคร ๆ เปนไปในอาํ นาจของตนได ก็แสนเดือดดาลพลุงพลานเอากบั ผูท่ีไมอ ยูในอาํ นาจตัว หมดอยากดวยอาํ นาจของตนแลวกก็ ลบั ไป. เลากันมาวา พระผูมพี ระภาคเจาไดท รงทราบวา มารน้ีเห็นสมาคมน้ใี หญ คดิ วา จะทาํ อันตรายแกก าร บรรลุมรรคผลประชมุ ท่ีสําคญั จึงสงกองทพั มารไปแสดงสงิ่ อนั นา กลัวเปนพัก ๆ กแ็ ล ปกตขิ องพระผูมีพระภาคเจาก็คอื ในทใ่ี ดจะไมมกี ารบรรลุมรรคผล ในทน่ี นั้ พระองคจะไมทรงหา มมารทแี่ สดงสง่ิ อันนากลัวของมาร แตในที่ใดจะมกี ารบรรลมุ รรคผล ในที่นนั้พระองคจะทรงอธิษฐานไมใ หบริษัทเห็นรปู ไมใ หยินเสยี งมาร กเ็ พราะในสมยั นี้ จะมกี ารตรสั รมู รรคผลใหญ ฉะน้นั จงึ ทรงอธษิ ฐานโดยประการท่ีพวกเทวดาจะไมเหน็ จะไมยินเสยี งของมารนั้น. เพราะฉะน้นั พระผมู ีพระภาคเจาจึงตรสั วา ครัง้ นน้ั มารนั้น แสนเดือดดาลกบั ผทู ี่ไมเปน ไปในอํานาจตน ไดก ลับไปแลว . บทวา พระศาสดาผมู ีดวงตา ทรงพิจารณาและทรงทราบเหตนุ น้ั ท้งั หมดแลว ความวา พระผูมีพระภาคเจาทรงทราบและทรงพิจารณาเหตนุ นั้ ทง้ั หมดแลว . บทวา กองทพั มารเขามาแลว ภิกษทุ ั้งหลาย

พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 117พวกเธอจงรูจักพวกเขา ความวา พระผมู ีพระภาคเจาตรสั วา ภกิ ษทุ ั้งหลายกองทัพมารเขามาแลว พวกเธอจงรูจกั พวกเขาตามสมควรแกต น พวกเธอจงเขา ผลสมาบัติ. บทวา ไดก ระทําความเพียรแลว ความวา ภกิ ษเุ หลานน้ัปรารภความเพยี รเพ่อื ประโยชนเ ขา ผลสมาบัติ. บทวา หลกี ไปจากทา นปราศจากราคะแลว ความวา มารและผูเ ทยี่ วไปตามมาร ไดหลกี ไปอยา งไกลจากเหลาพระอริยะผูป ราศจากราคะแลว เทยี ว. บทวา แมแตข นของพวกทานก็ไมไหว ความวา แมแ ตขนของทา นผปู ราศจากราคะเหลา น้นั กไ็ มหวั่นไหว. คร้ังน้นั มารปรารภหมูภกิ ษุแลวไดกลา วคาถานว้ี า เหลา สาวกของพระองคทัง้ หมด พชิ ิตสง- ครามไดแ ลว ลว งความกลัวเสยี ไดแลว มียศ ปรากฏในประชุมชน บนั เทิงอยูก ับหมพู ระอรยิ ะ ผเู กิดแลว. บรรดาบทเหลา นัน้ บทวา บนั เทิงอยกู ับภตู ทงั้ หลาย ความวาบนั เทิงคือ บันเทงิ ทวั่ กบั หมพู ระอริยะอันเกดิ แลว (ภตู ) คอื เกิดพรอมแลวในศาสนาของพระทศพล. บทวา ปรากฏในประชมุ ชน ความวา ปรากฏโดยวเิ ศษ คือ แจม แจง ไดแ ก อนั เขารจู กั เปนอยางยงิ่ . กเ็ พราะมหาสมยั สตู รนี้เปนท่ีรักที่ชอบใจของพวกเทวดา ฉะนัน้ ในสถานทใี่ หมเอย่ี ม เม่อื จะกลาวมงคล ก็พงึ กลาวแตพ ระสตู รน้นี ั่นเทียว. ไดย ินวา พวกเทวดาพากนั คิดวา พวกเราจะฟงพระสูตรนแ้ี ลว กเ็ งย่ี หูลงฟง . กแ็ ลเม่ือพระผูม ีพระภาคเจาทรงแสดงจบ เทวดาจํานวนหนง่ึ แสนโกฏิไดบรรลพุ ระอรหตั แลว ผูที่เปนพระโสดาบันเปนตน ไมมีการนับ. และเรอ่ื งนี้ พึงมีเพราะความทเี่ ปน ที่รักทช่ี อบใจของพวกเทวดา.

พระสตุ ตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 118 มีเร่ืองเลาวา ท่ีวัดโกฏบิ รรพต มีเทพธดิ าองคห น่งึ อยูท ตี่ นกากทิงใกลประตูถ้าํ กากทิง. ภกิ ษุหนุมรปู หนงึ่ ทอ งพระสตู รนี้ภายในถาํ้ . เทพธดิ าไดฟงในเวลาจบพระสตู ร ก็ไดใหส าธุการดวยเสียงอนั ดัง. นนั่ ใคร ? ๆ ภิกษุหนมุ ถาม. ดฉิ นั เปนเทพธดิ าเจาคะ เทพธดิ าตอบ. ทาํ ไมจงึ ไดใ หสาธุการ ภิกษหุ นุมถามอกี . ทานเจาคะ ดฉิ นั ไดฟ ง พระสูตรนใ้ี นวนั ทพี่ ระทศพลประทบั นง่ั แสดงทีป่ า ใหญ วนั นไี้ ดฟ ง (อกี ) ธรรมบทนท้ี า นถอื เอาดแี ลว เพราะไมทําใหอ กั ษรแมต วั เดียวจากคาํ ท่ีพระผูม พี ระภาคเจา แสดงไวเ สยี ไป เทพธิดาชแ้ี จง. เมือ่ พระทศพลกําลังแสดงอยู คณุ ไดฟ ง หรือ ? ภิกษุถามอีก. อยา งนัน้ เจา คะ นางรบั รอง. เขาวา เทวดาเขาประชมุ กันมาก แลว คณุ ยืนฟง ที่ไหน ? ทานเจาคะ ดฉิ นั เปนเทวดาชาวปา ใหญ ก็เมอ่ื พวกเทวดาชน้ั ผใู หญกาํ ลังพากันมา ไมไ ดท ่ีวา งในชมพูทวีปเลยมาสูตามพปณณิทวปี นี้ ยืนรมิ ฝง ที่ทาชัมพโู กล ถึงทที่ า นั้นก็ตาม เม่อื พวกเทวดาชั้นผใู หญก าํ ลังพากันมา กถ็ อยรนมาโดยลาํ ดับ แชน้ําทะเลลกึ แคคอทางสวนหลังหมบู า นใหญในจังหวดัโรหณะแลวก็ยืนฟงในทนี่ ้นั นางบรรยายรายละเอยี ด. จากทซี่ ่งึ คณุ ยนื มันไกลแลว คณุ จะเห็นพระศาสดาหรอื เทวดา ทา น ! พูดอะไร ดฉิ ันเขา ใจวา พระศาสดาทรงแสดงธรรมอยูท่ปี าใหญทรงแลดูดฉิ นั เสมอ ๆ รูสกึ กลัว รูสกึ ละอาย. เขาเลา มาวา วนั น้ันมเี ทวดาแสนโกฏิสําเร็จพระอรหัต แลว คณุ ละตอนนั้นสาํ เร็จพระอรหตั หรอื ไมห รอกคะ ทานผเู จริญ

พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 119 สําเรจ็ อนาคามิผล กระมัง ? ไมหรอกคะ ทานผเู จรญิ เห็นจะสําเรจ็ สกทาคามิผล กระมงั ไมห รอกคะ ทา นผเู จรญิ เขาวา พวกเทวดาทสี่ ําเร็จมรรคสามนบั ไมไ ค แลว คณุ ละ เหน็ จะเปนพระโสดาบนั กระมงั ? ในวันนน้ั เทพธิดาสําเร็จโสดาปตติผล รสู ึกอาย จงึ พดู วา พระ-คุณเจาถามส่ิงไมน า ถาม (ถามซอกถามแทรก) ลาํ ดับนั้น ภิกษนุ ้นั จงึ กลาวกะนางวา เทวดา ! คุณจะแสดงกายใหอ าตมาเหน็ ไดไ หม ? จะแสดงหมดทั้งตวั ไมไดห รอกคะ ทานผูเ จรญิ ! ดิฉนั จะแสดงแกพระคุณเจา แคขอนิว้ มือ. วาแลวก็เอานิ้วมือสอดหันหนาเขาภายในถํา้ ตามรูกญุ แจ. นิ้วมือก็เปนเหมือนเวลาพระจนั ทรพระอาทติ ยขน้ึ เปน พนั ๆ ดวง เทพธิดากลา ววา จงอยาประมาทนะ ทานเจาคะ ! แลว ไหวภ ิกษหุ นมุ กลบั ไป. สตู รน้ี เปนท่ีรกั ที่ชอบใจของเทวดาท้งั หลายอยางนี้ เทวดาทง้ั หลายยอมถอื วา พระสูตรนน้ั เปน ของเราดว ยประการฉะน้ี. จบ อรรถกถามหาสมัยสูตรที่ ๗

พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ท่ี 120

พระสุตตนั ตปฎก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 121 ๘. สักกปญหสตู รเรอ่ื ง ทา วสักกะกับปญจสิขคนธรรพบตุ ร [๒๔๗] ขาพเจาไดส ดบั มาแลวอยา งนี้ :- สมัยหนึ่ง พระผูม ีพระภาคเจาประทบั ทถี่ า้ํ อินทสาลระหวา งเขาเวทยิ กะดานเหนือแหง บา นพราหมณช ือ่ อมั พสณฑ ขางทศิ ตะวันออกแหงกรุงราชคฤหในแควน มคธ. สมยั นั้น ทาวสักกะผจู อมเทพมีพระประสงคจ ะเฝาพระผมู พี ระภาคเจาจงึ ทรงพระราํ พงึ วา บดั นี้ พระผูม พี ระภาคเจาอรหันตสัมมาสัมพทุ ธเจาประทับอยูทไี่ หนหนอ คร้นั ทรงเหน็ แลว ไดตรัสเรยี กหมูเทพช้ันดาวดึงสมา ตรัสวาทานผนู ิรทกุ ขทงั้ หลาย พระผมู ีพระภาคเจา ประทบั อยทู ี่ถา้ํ อินทสาลระหวา งเขาเวทยิ กะ ดา นเหนือแหง บานพราหมณชอ่ื อัมพสณฑ ขางทิศตะวนั ออกแหงกรงุ ราชคฤห ในแควนมคธ ถากระไร เราพงึ เขา ไปเฝาพระผมู พี ระภาคผูอ รหนั ตสัมมาสัมพทุ ธเจาพระองคนนั้ . หมูเทพชน้ั ดาวดงึ สไ ดรบั สนองเทว-โองการแลว จึงทา วเธอตรัสเรยี กปญ จสิขคนธรรพเทพบตุ รมาแลว รับส่ังเหมอื นอยา งนน้ั ปญจสขิ คนธรรพเทพบุตรรับสนองเทวโองการแลวไดถอื พิณสีเหลืองดจุ ผลมะตูม ตามเสดจ็ ทา วสักกะผจู อมเทพไปดว ย. ครง้ั นั้นแล ทาวสกั กะจอมเทพอันเทพชั้นดาวดึงสแวดลอมแลว มปี ญ จสิขคนธรรพเทพบุตรนําเสด็จไดอนั ตรธานจากดาวดงึ สเทวโลกไปปรากฏทภ่ี เู ขาเวทิยกะ ดานเหนอื แหง บานพราหมณช อื่ อมั พสณฑ ขางทศิ ตะวันออกแหง กรงุ ราชคฤหใ นแควนมคธเหมอื นบรุ ษุ มีกาํ ลัง เหยียดแขนออกหรอื คูแขนเขา ฉะน้ัน. สมัยน้นั ภเู ขา

พระสุตตนั ตปฎก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 122เวทิยกะไดป รากฏสวางรุง โรจนน กั และบา นของพราหมณช อ่ื อัมพสณฑ กไ็ ดสวางไสวเหมือนกนั เพราะเทวานุภาพ. หมมู นุษยในบา นโดยรอบไดกลาววาวันนี้ภเู ขาเวทยิ กะไดล กุ โพลงสวางไสวรุงโรจนแ ลว ทําไมวนั น้ภี เู ขาเวทิยกะและบา นพราหมณช อื่ อมั พสณฑจ ึงสวางไสวนัก. ตางพากันตกใจมขี นลุกชันแลวครง้ั น้นั แล ทาวสักกะผจู อมเทพ ตรัสเรียกปญ จสขิ คนธรรพเทพบตุ รวา พอปญ จสขิ ะ ตถาคตผูม ีฌานทรงยินดใี นฌาน บดั น้ี ทรงเรน อยู คนเชนเราเขาเฝา ไดย ากนัก ก็ถาเธอทําใหพ ระผมู พี ระภาคเจา โปรดกอนแลว พวกเราจะเขาเฝา ในภายหลัง ปญ จสิขคนธรรพเทพบตุ ร ไดรับสนองเทวโองการแลว ถอืพิณเขา ไปทางถํ้าอนิ ทสาล แลวยืน ณ ทสี่ ว นขางหน่ึง ราํ พงึ วา พระผมู ีพระภาคเจาประทบั อยไู มไ กลนักไมใกลนกั เพียงแคน ี้ คงจกั ทรงไดยินเสียงของเรา. จึงยกพณิ ข้ึนบรรเลงและไดกลา วคาถาทีเ่ นื่องดว ยพระพทุ ธคุณพระธรรมคุณ พระสังฆคุณ พระอรหนั ตคณุ และเกยี่ วไปในทางกามเหลา นีว้ า [๒๔๘] ดูกอ นนอ งสรุ ยิ วัจฉสา พขี่ อ ไหวทา วตมิ พร ผูเปนบิดาใหก าํ เนดิ นอง ผเู ปนเทพกลั ยาณี ยังความยินดใี หเ กดิ แก พ่ี นอ งผูม ีรัศมีอนั เปลงปลั่ง เปนที่รกั ของ พี่ ดุจลมเปนที่ใครของผูม ีเหง่อื ดุจน้ําเปน ท่ปี รารถนาของคนผูกระหาย ดุจธรรม เปนที่รกั ของพระอรหันตท้ังหลาย ดุจยา เปนท่รี กั ของคนไขหนัก ดุจโภชนะเปนท่ี รักของคนหิว ฉะนนั้ . ขอแมจงชวยดับความกลัดกลมุ ของพี่ ดุจเอาวารีดับไฟทก่ี ําลังโพลงฉะนัน้ . เม่ือ

พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 123 ไรหนอพจี่ กั ไดห ยง่ั ลงสูร ะหวา งถันยคุ ลและอทุ รประเทศของนอ ง ดจุ ชางสารทถี่ ูกแดดแผดเผาในฤดรู อ น หยัง่ ลงสสู ระโบกขรณมี นี ้าํ อนั เยน็ ประกอบดว ยเกสรละอองดอกปทุมฉะนั้น . พี่หลงใหลในนิ่มนองผูมีขางาม จึงไมร ูจกั เหตกุ ารณ ประดุจชา งสารทเี่ หลือขอเขาใจวา ตนชนะขอและหอกแลว แมถ ูกแทงอยูก ไ็ มรสู ึก ฉะนน้ั .พม่ี จี ติ ปฏพิ ัทธในนอง ไมอาจจะกลับจิตที่ปรวนแปรแลว ได ดจุ ปลาทกี่ ลนื เบ็ดฉะนน้ั . เชญิ นองผเู ปน เทพกัลยาณี มลี ําขาอนังาม มนี ยั นต าอันชมดชมอ ย จงสวมกอดคลงึ เคลา พี่ พ่ปี รารถนาดั่งนีย้ ิ่งนัก สว นความรกั ของพ่มี ีไมนอย ดุจทักษณิ าอนับุคคลถวายแลวในพระอรหันต ฉะนัน้ .แนะ นอ งผูงามทัว่ สรรพางค บญุ พีท่ ี่ทําไวใ นพระอรหนั ตท้งั หลาย บญุ น้ันพึงอาํ นวยผลใหพ ีก่ บั นองไดรว มรักกนั . บญุทพี่ ไี่ ดกอสรางไวใ นปฐพีมณฑลน้ี จงอํานวยผลใหพ ก่ี บั นอ งไดร วมรักกนั . แนะ นอ งสรุ ิยวัจฉสา พเี่ สาะหานอ งดจุ พระสักยบุตรพุทธมุนมี พี ระสติปญ ญา

พระสุตตนั ตปฎ ก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 124 เขา ฌานอยโู ดดเดี่ยว แสวงหาอมตธรรม ฉะน้นั . พระพทุ ธมนุ ที รงบรรลุสัมโพธ-ิ ญาณอันอดุ มแลว พงึ ทรงเพลิดเพลินฉันใด พ่ีถึงความคลอเคลียกับนองแลว จงึ เพลิด เพลนิ ฉันน้ัน. ถาทา วสกั กะผเู ปนใหญ แหง ทวยเทพชน้ั ดาวดึงส พงึ ประทานพร แกพ ไ่ี ซร นอง พขี่ อเลือกนอ ง (ทันที ) ความรกั ของพม่ี ัน่ คงอยางนี้ แนะ นองผมู ี ปรีชาดี นองมีความงามเชน น้ี เปนธิดา ของทานผูใด พขี่ อนอบนอ มกราบไหว ทา นผูนน้ั ผปู ระหน่งึ วาไมรงั ซึ่งผลติ ดอก ออกผลยังไมนานคอื บิดาของนอง ดังนี้ [๒๔๙] เมื่อปญจสขิ คนธรรพเทพบตุ ร กลา วอยางนแี้ ลว พระผูมีพระภาคเจา ไดต รสั กะเธอวา ปญจสขิ ะ เสยี งพณิ ของทาน ยอมกลมกลืนกับเสียงเพลงขับ และเสยี งเพลงก็กลมกลนื กับเสียงพณิ อนึ่ง เสยี งพิณและเสยี งเพลงขับของทานพอเหมาะกนั ปญจสขิ ะ กค็ าถาเหลานี้ ทานรอ ยกรองไวแ ตครั้งไร ? ขา แตพ ระองคผเู จริญ ครัง้ เมอื่ พระผูมพี ระภาคเจา แรกตรสั รู ประทบัอยู ณ อชปาลนโิ ครธ ใกลฝง แมน าํ้ เนรญั ชรา ในอุรเุ วลาประเทศ. สมยั นัน้ แลขา พระองคยอมมงุ หวงั นางสุริยวจั ฉสา ซึง่ เปน ธิดาของทา วคนธรรพราช ช่อืตมิ พรุ ก็แตนางรกั ผูอื่นอยู นางมงุ หวังบตุ รแหงมาตลีเทพสารถี ช่ือสิขณั ฑิเมอื่ ขาพระองคไ มไดน างโดยปรยิ ายอะไร ๆ จึงไดถ อื พิณเขาไปถึงทอี่ ยแู หงทาวคนธรรพราชน้ันแลว ไดบ รรเลงพณิ และกลาวคาถาเหลา นวี้ า

พระสตุ ตนั ตปฎก ทฆี นิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 125 ดูกอ น นองสรุ ยิ วจั ฉสา พ่ขี อไหว ทา วติมพรุผูเ ปนบิดาใหกําเนิดนอง ผูเปน เทพกลั ยาณี ยังความยนิ ดีใหเ กดิ แกพ ่ี ฯลฯ แนะ นอ งผูม ปี รชี าดี นองมคี วามงาม เชน นี้ เปนธิดาของทา นผใู ด พ่ีขอนอบ- นอ มกราบไหวท านผนู ัน้ ผปู ระหนึ่งวา ไมร งั ซ่ึงผลติ ดอกออกผลยังไมนาน คอื บดิ าของนอ ง ดงั นี้. [๒๕๐] ครนั้ ขา พระองคกลา วอยางนี้แลว นางไดกลาวกะขา พระองควา ทา นผูน ิรทกุ ข ฉันไมไ ดเ ฝาพระผมู ีพระภาคเจาเฉพาะพระพกั ตรเลย กแ็ ตวาเมือ่ ฉนั ฟอ นอยใู นเทวสภา ชื่อสธุ รรมา ไดส ดับ (พระนาม) พระผมู ีพระภาคเจา แลว ผูน ิรทกุ ขท านยอพระเกียรติพระผมู พี ระภาคเจา เพราะเหตุใดเลา ? วนั น้ี เราเลกิ พบปะกันเสยี เถิด ดง่ั น้ี ขาแตพระองคผเู จรญิ ขาพระองคไดส มาคมกบั นอ งหญิงนนั้ เทาน้นั ภายหลังแตน ัน้ ก็ไมไ ดพ ูดกนั อีก. ครั้งน้ันแล ทา วสักกะผจู อมเทพไดท รงปริวิตกวา ปญจสขิ คนธรรพเทพบตุ ร และพระผมู ีพระภาคเจาไดส นทนากนั อยางเพลิดเพลิน จึงทรงเรียกปญจสขิ คนธรรพเทพบุตรมาตรัสวา พอ ปญ จสขิ ะ ทานจง ถวายอภวิ าทพระผมู ีพระภาคเจา แทนเราแลวทลู วา ทาวสักกะจอมเทพพรอมดวยอํามาตยแ ละบริวารขอถวายบังคมพระบาทยคุ ล ของพระผมู ีพระภาคเจา ดวยเศียรเกลา. ปญ สขิคนธรรพเทพบุตรรับสนองเทวโองการแลว ไดถ วายอภิวาทพระผมู พี ระภาคเจาแทนตามเทพบญั ชาแลว . พระผมู พี ระภาคเจาตรสั วา ปญ จสิขะ ขอทา วสกั กะจอมเทพพรอ มอํามาตยและบรวิ าร จงทรงพระสาํ ราญตามประสงค อน่งึ เทพดา

พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 126มนษุ ย อสูร นาค คนธรรพ และหมูสตั วเ หลาอนื่ เปน อนั มากเปน ผใู ครตอความสุข ก็จงมคี วามสุขเชนกนั . [๒๕๑] ก็แหละพระตถาคตทงั้ หลายยอมตรสั รบั รองเทวดาผมู ีศักดาใหญเ หน็ ปานนี้ ดวยอาการอยางน้ี. ทาวสกั กะจอมเทพ อันพระคถาคตเจาตรัสรับรองแลว เสด็จเขาไปสูถาํ้ อนิ ทสาล ถวายอภวิ าทพระผมู ีพระภาคเจาแลว ไดประทบั ยืน ณ ที่ควรสว นขา งหนง่ึ ถงึ หมูเทพช้นั ดาวดึงส ท้งั ปญจสิขคนธรรพเทพบุตร ก็เขา ไปถวายอภวิ าทแลวยนื ณ ทคี่ วรสว นขางหนงึ่ ดจุ กนั .กแ็ หละโดยสมัยนั้น ถาํ้ อินทสาลเปนสถานอนั ไมสม่ําเสมอ ไดถึงความสมา่ํ เสมอเคยคบั แคบ ไดถ ึงความกวางขวาง ความมดื ในถ้ําไดห ายไป ความสวางไสวบังเกดิ ขนึ้ แทน เพราะเทวานภุ าพ. [๒๕๒] ครงั้ น้ัน พระผูมีพระภาคเจา ไดตรสั กะทา วสักกะจอมเทพวา การทที่ าวโกสยี ผมู ีกจิ มาก มกี รณียะมาก เสด็จมา ณ ถา้ํ น้นี าอัศจรรยยังไมเ คยมแี ลวมามีข้ึน. ทาวสักกะทลู วา ขา แตพ ระองคผ ูเจริญ ขา พระองคหลีกไปเสยี นาน ตัง้ ใจจะเขาเฝาพระผมู พี ระภาคเจา อยู แตข าพระองคยุงดว ยกิจและกรณียะบางอยาง ของหมูเทพชน้ั ดาวดงึ ส จึงไมอาจจะเขาเฝา พระผมู ีพระภาคเจา ได. ขาแตพระองคผเู จริญ สมยั หนงึ่ พระผมู พี ระภาคเจา ประทับทสี่ ลฬคันธกุฎี ใกลก รุงสาวัตถี ครงั้ นน้ั ขาพระองคไดไปเฝา แตพ ระผมู ีพระภาคเจาประทับนัง่ เขา สมาธอิ ันใดอันหน่ึงเสยี นางภชุ คเี ทพธดิ าบรจิ ารกิ าของทา วเวสวณั มหาราช เปน ผูอุปฏฐากพระผูม ีพระภาคเจา ยืนประคองอญั ชลนี มสั การอยู ขาพระองคไดก ลาวกะนางวา ดูกอ นนอ งหญงิ เธอจงอภิวาทพระผูม พี ระภาคเจา แทนเรา กราบทูลวา ทา วสกั กะจอมเทพพรอ มดว ยอาํ มาตยและบรวิ าร ขอถวายบังคมบาทพระยุคลดวยเศยี รเกลา . เม่ือขา พระองคกลา วแลว อยางน้ี นางไดบ อกแกข า พระองควา บดั นี้มใิ ชก าลจะเฝา เพราะ

พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 127พระผมู ีพระภาคเจาทรงกาํ ลงั หลีกเรนอยู ขา พระองคก ลาววา ถา กระนัน้พระผมู พี ระภาคเจา เสด็จออกจากสมาธนิ ้นั แลวในกาลใด ในกาลนั้น เธอจงถวายอภวิ าทพระผมู พี ระภาคเจาตามคําของเราเถิด. นางไดถ วายอภิวาทพระผูมีพระภาคเจาแทนขา พระองคบางหรือ พระผูม พี ระภาคเจา ทรงระลึกถงึ คําของนางไดอยหู รือ พระพุทธเจาขา . ภ. ขอถวายพระพร นางไดไหวอาตมา อาตมาภาพยงั ระลกึ ถงึ คาํ ของนางไดอ ยู อกี ประการหนงึ่ อาตมาภาพออกจากสมาธินั้น เพราะเสียงแหงลอและดุมรถของมหาบพติ ร. เรอื่ งศากยธดิ าโคปก า ส. ขาแตพระองคผเู จริญ ขาพระองคไดสดบั รบั ถอยคําเฉพาะหนาแหงหมเู ทพซึ่งอุบตั ิในดาวดึงสม ากอ นวา ในกาลใด พระตถาคตอรหันตสมั มา-สมั พทุ ธเจา อุบัตขิ ้นึ ในโลก ในกาลน้นั หมูเทพเทวดายอ มเต็มบริบูรณ หมูอสูรยอมเส่ือมไป ขอนี้นั้น ขา พระองคไดเ หน็ เปนพยานแลว ขาแตพระองคผ เู จรญิศักยธิดา นามวา โคปก า ในกรุงกบลิ พัสดุนี้เอง ไดเปนผูเลอื่ มใสแลวในพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ ทําใหบ รบิ รู ณใ นศีลเปน ปกติ นางเบอ่ื หนา ยสตรีเพศ ปรารถนาบุรุษเพศเบ้อื งหนาแตตายเพราะกายแตก ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค เปนพวกกับทวยเทพช้นั ดาวดงึ ส ถงึ ความเปน บุตรของขาพระองคแมท วยเทพในดาวดงึ สนัน้ ยอ มรจู กั เธออยางนีว้ า โคปกเทพบุตร ๆ ด่ังน.ี้ขาแตพ ระองคผ เู จริญ ภิกษุ ๓ รูป แมอน่ื ประพฤติพรหมจรรยในพระผูม ีพระภาคเจา เขาถงึ หมคู นธรรพช้นั ตาํ่ เธอเหลาน้ันเพรยี บพรอมบําเรออยูดว ยกามคณุ ๕ มาสทู ่ีบาํ รงุ บาํ เรอของขา พระองค. โคปกเทพบตุ รไดต ักเตอื นพวกเธอวา ทานผูนริ ทกุ ขพวกทานไดร วบรวมธรรมของพระผูมีพระภาคเจาไวแลว

พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 128(มาเปน) เชน นี้ชอื่ วา เอาหนา ไปไวไ หน ก็เราชอ่ื วาเปนสตรเี ลือ่ มใสในพระพทุ ธพระธรรม พระสงฆ ทาํ ใหบ ริบูรณใ นศีลเปนปกติ เบอ่ื หนา ยสตรเี พศปรารถนาบรุ ุษเพศ เบือ้ งหนาแตต ายเพราะกายแตก ไดเ ขาถงึ สุคตโิ ลกสวรรคเปนพวกกบั ทวยเทพชน้ั ดาวดงึ ส ถึงความเปนบตุ รแหงทา วสกั กะจอมเทพแมทวยเทพชนั้ นีย้ อมรจู กั เราอยางนว้ี า โคปกเทพบตุ รๆ ดง่ั น้ี สว นพวกทา นประพฤติพรหมจรรยใ นพระผูมพี ระภาคเจา แลว เขาถึงหมคู นธรรพช ้นั ต่าํพวกเราไดเ หน็ แลว ชางไมนาดเู สยี เลย เมอ่ื โคปกเทพบตุ รไดตกั เตอื นคนธรรพเหลา นน้ั แลว เทวดา ๒ องค กลับไดสติในอตั ภาพนน้ั เขาถงึ หมูพรหมชนั้พรหมปโุ รหิต สว นองค ๑ ยงั อยใู นชนั้ กามาวจรนนั้ แล. [๒๕๓] คร้ังทา วสกั กะตรัสคาํ นี้แลว โคปกเทพบตุ รไดก ลาวคาถาวา ขาพเจาเปน อบุ าสกิ าของพระพุทธ- เจา ผูมจี กั ษุ ทั้งขา พเจากช็ ่อื โคปกา ขา พเจา เลอ่ื มใสย่งิ แลวในพระพุทธ พระ ธรรม และมีจติ เลอื่ มใสแลว ไดบ ํารงุ พระสงฆ . ขา พเจาเปนบุตรแหง ทา วสกั กะ มี อานภุ าพมาก มีความรงุ เรืองมาก เขา ถงึ ทพิ ยสถาน เพราะความทีธ่ รรมของพระ พุทธเจานั้นแลเปน ธรรมอันดี ทวยเทพแม ในชั้นน้ี ยอ มรจู กั ขาพเจา วาโคปกะ ดงั น.้ี ขาพเจาไดเคยเหน็ พวกภิกษทุ ่ีเคย เห็นกนั เขา ถึงหมแู หงคนธรรพอยู ก็ ภกิ ษเุ หลา นเ้ี ปนสาวกของพระโคดมทงั้ นน้ั ขา พเจา เกดิ เปนมนษุ ย ในกาลกอ น.

พระสุตตันตปฎก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ท่ี 129 ยังไดช าํ ระเทา ไดเ ลีย้ งดูแลวดวยขา วและนาํ้ ในเรือนของตน ทา นผูเ จริญเหลานี้ ไมรบั ธรรมของพระพทุ ธเจา ช่อืวา เอาหนา ไปไวไหน. เพราะธรรมอันบณั ฑติ พงึ รูเ ฉพาะตนอันพระพุทธเจาผมู จี ักษุไดแสดงดแี ลว อนัพระสาวกตรัสรูตามแลว แมขาพเจา ไดเขา ไปหาพวกทา นไดฟ ง สุภาษติ ของพระ-อริยะ. ขา พเจา ไดเปนโอรสของทา วสักกะมอี านุภาพใหญ มีความรุงเรืองมาก เขาถึงไตรทศแลว สวนพวกทานนง่ั ใกลพระพทุ ธเจาผูป ระเสริฐสุด ประพฤติพรหม-จรรยในพระพทุ ธศาสนาอันยอดเยี่ยม แลวยังเขาถึงหมเู ทพชน้ั ตาํ่ ความอุบัติของพวกทา นไมส มควรเลย ขา พเจาไดเ หน็สหธัมมกิ ทเี่ ขาถึงหมูเทพชนั้ ต่าํ แลวชา งไมนา ดเู สยี เลย. พวกทานเขาถึงหมคู นธรรพ มาสทู ี่บาํ เรอแหงหมเู ทพ ทา นจงเห็นความแตกตา งนี้ของขาพเจาผูอยคู รองเรือน. ขาพเจาเคยเปน สตรี แลว มาเปน เทพบตุ รในวันน้ี พรง่ั พรอมดว ยกามอนั เปน

พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 130 ทิพย คนธรรพท ้งั ๓ นนั้ อันสาวกของพระโคดมตกั เตอื นแลว ถึงความสลดเพราะมาพบโคปกเทพบตุ ร. (พดู กันวา )เชญิ พวกเราจงมาขวนขวายพยายาม อยาเปน คนรับใชเขาเลย บรรดาทานท้งั ๓นน้ั ๒ ทา นปรารภความเพยี ร ทา น ๑ระลึกถึงศาสนาของพระโคดม. เธอทัง้ ๒ น้ันพรากจติ เสียไดใ นชั้นน้ีเห็นโทษในกามแลวละกามคณุ ท่ลี ะเอียดอันเปนเคร่ืองขอ งเครอ่ื งผูกคือกามสงั โยชนซึ่งเปนเครื่องประกอบของมาร ที่ยากจะขามพนได. กา วลวงหมเู ทพช้นั ดาวดงึ ส ดุจชางตัดเครอื่ งผกู พน ไปไดฉ ะนัน้ ปวงเทพพรอมดวยพระอินทรเทวราชและปชาบดีเทวราช ไดเ ขาไปในสภาสธุ รรมาเทวสภาแลว. เทพทั้ง ๒ น้นั นงั่ ไมเลยไป ยงั เปนผูแกลว กลา ไมม ีกําหนดั ทําใหห มดธุลีไปได ทา ววาสพผเู ปน ใหญกวา เทพประทบัทา มกลางหมูเทพ ทอดพระเนตรเห็น ๒เทพบุตรแลว ไดท รงสลดพระหฤทัย.

พระสตุ ตันตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 131 เพราะ ๒ เทพนน้ั เขา ถงึ หมเู ทพชัน้ ตาํ่ยังลวงเลยหมเู ทพชาวดาวดึงสเสียได เม่ือทรงพิจารณาแลว ทรงสลดพระหฤทัยอยูนั่นแหละ โคปกเทพบตุ รไดกราบทลู วาขอเดชะ พระพุทธเจาผเู ปน จอมแหง หมูชนประทับอยใู นมนษุ ยโลก ปรากฏวาเปนศากยมนุ ีผคู รอบงําเสยี ซึ่งกามนี้ บุตรของพระองคเ หลา นั้น เปนผปู ราศจากสติ อนัขา พระองคตักเตือนแลว กลบั ไดส ต.ิ บรรดาเธอท้ัง ๓ รปู ๑ อยใู นทน่ี ้ีเขาถงึ หมูแ หง คนธรรพอยู สว น ๒ รูปมีปกติระลึกถึงทางตรสั รู (อนาคามมิ รรค)ยอ มดหู ม่ินแมซึง่ เทวดาทั้งหลาย เพราะเธอเปนผูมจี ติ ตั้งม่นั . สาวกผูมคี ุณเครอื่ งประกาศธรรมเชน นนั้ ในพระศาสนานี้ สาวกไรๆ ยอ มไมห วงั อะไรในเพราะการประกาศธรรมน้นั พวกเราขอนมสั การพระพุทธเจา ผขู า มโอฆะ ตดั ความสงสัยไดแลวเปน ชนนิ ทะผูชนะ. บรรดาคนธรรพทง้ั ๓ นัน้ ๒ รปูไดร ธู รรมใดของพระองคใ นพระศาสนาน้ี

พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 132 แลวบรรลุคุณพเิ ศษ เขา ถึงหมูพรหมชั้น ปุโรหติ . ขาแตพ ระองคผ ูนริ ทุกข ขาพระองค ทงั้ หลายมาแลว เพอื่ บรรลุธรรมนั้น ขา- แตพระองคผูน ิรทุกข ถา พระผมู ีพระภาค เจาประทานพระวโรกาสแลว ขา พระองค ก็จะพึงทลู ถามปญ หา. [๒๕๔] ครง้ั น้ันแล พระผมู พี ระภาคเจา ไดม พี ระปรวิ ติ กนว้ี า ทาวสกั กะนี้แลเปนผบู ริสทุ ธแ์ิ ลว สิ้นกาลนาน จักถามปญหาอยา งใดอยางหน่ึงกะเราก็จักถามลว นแตป ระกอบดว ยประโยชนถ ายเดียว หาไรประโยชนไม อนึ่งเราจกั พยากรณปญหาใดแกพระองค พระองคจักทรงทราบทวั่ ถึงปญหาน้ันไดฉับพลนั ทีเดยี ว จงึ ตรสั คาถาวา มหาบพิตรผูวาสพ พระองคจ ึงถาม ปญหาขอ ใดขอ หนงึ่ ซ่งึ ทรงประสงคไ ว ในพระหฤทยั กจ็ งถามเถดิ อาตมาภาพ จะทําที่สดุ แหง ปญหานั้น ๆ นนั่ แลแก พระองค. จบ ปฐมภาณวาร ทรงแกปญ หาทาวสักกะ [๒๕๕] ทาวสกั กะผูจอมเทพ ไดร ับประทานพระวโรกาสแลว ไดทูลถามปญ หาทีแรกน้กี ะพระผูมพี ระภาคเจา วา ขาแตพ ระองคผ ูน ิรทกุ ข เทวดา

พระสตุ ตันตปฎ ก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ท่ี 133มนษุ ย อสรู นาค คนธรรพ และสัตวเ หลาอน่ื เปน อนั มาก มอี ะไรเปนเครื่องผูกพัน เขาเหลา น้นั เปน ผไู มม ีเวร ไมม อี าชญา ไมมขี า ศกึ ไมมคี วามคบั แคน ใจ มีความหวงั อยูวา ขอพวกเราจงเปน ผูไมมเี วรเปนตน อยเู ถดิ ดั่งนี้แตไฉนยังเปน ผูมีเวร มีอาชญา มขี า ศึก มคี วามคบั แคน ใจ เปนไปกับดวยเวรอยูอกี เลา . พระผูมีพระภาคเจา ไดทรงพยากรณแกทาวเธอวา ขอถวายพระพรเทวดา มนษุ ย อสูร นาค คนธรรพ และสตั วเหลาอืน่ เปนอันมาก มคี วามรษิ ยาและความตระหนเ่ี ปนเครอ่ื งผกู พัน เขาเหลาน้นั เปนผูไมม เี วร ไมมอี าชญาไมมีขา ศึก ไมม คี วามคับแคนใจ หวังอยูวา ขอเราจงเปนผไู มมีเวรเปน ตนอยูเถดิ ดังน้ี แตก็ยังเปน ผมู ีเวร มีอาชญา มีขา ศกึ มีความคบั แคนใจ เปนไปกบั ดวยเวรอยู ทาวสกั กะผจู อมเทพ มพี ระหฤทยั ชื่นชมเพลิดเพลินอนโุ มทนาภาษติของพระผมู ีพระภาคเจาวา ขา แตพ ระผมู พี ระภาคเจา ขอ พยากรณนัน้ ยอมเปนอยา งนน้ั ขาแตพ ระสคุ ต ขอพยากรณน้ันยอ มเปน อยางนั้น ขาพระองคขา มพนขอสงสัยในขอนั้นเสยี ไดแลว หมดความสงสยั ทีจ่ ะพึงกลา ววาอะไร ๆ แลวเพราะไดสดับปญหาพยากรณข องพระผมู พี ระภาคเจา. [๒๕๖] คร้ันแลว ไดทลู ถามปญ หาตอไปวา ขา แตพระองคผนู ิรทุกขก็ความรษิ ยาและความตระหนี่มอี ะไรเปน นิทาน (เคา มลู ) มอี ะไรเปน สมทุ ัย(เครอ่ื งกอ ) มีอะไรเปน ชาติ (เหตเุ กดิ ) มอี ะไรเปน แดนเกดิ ก็เมอ่ื อะไรยังมอี ยู ความรษิ ยาและความตระหนจี่ ึงมี และเมอื่ อะไรไมม ีอยู ความริษยาและความตระหนย่ี อมไมม ี. พ. ช่ือถวายพระพร ความรษิ ยาและความตระหน่ี มีอารมณอันเปนทีร่ กั และไมเปนทีร่ กั เปนนิทาน เปนสมทุ ัย เปนชาติ เปนแดนเกดิ เมื่อ

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทฆี นิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 134อารมณอ ันเปนทีร่ กั และไมเ ปนทร่ี ักยงั มอี ย.ู ความรษิ ยาและความตระหน่ยี อมมีเมือ่ ไมมีอยู ความรษิ ยาและความตระหนย่ี อ มไมม.ี ส. ก็อารมณอ นั เปน ทรี่ กั และไมเปน ท่ีรกั มีอะไร เปน นิทาน เปนสมุทยั เปนชาติ เปนแดนเกดิ เมอ่ื อะไรยังมีอยู อารมณอันเปนทรี่ กั และไมเปนท่รี กั จึงมี เมอื่ อะไรไมม อี ยู อารมณอนั เปนท่รี กั และไมเปน ทร่ี ักจงึ ไมมี. พ. อารมณอนั เปน ท่ีรักและไมเปนท่ีรัก มฉี นั ทะเปน นิทาน เปนสมทุ ยั เปนชาติ เปนแดนเกดิ เม่อื ฉันทะยงั มอี ยู อารมณอันเปนทร่ี ักและไมเ ปนที่รกั ยอมมี เม่อื ไมม ี อารมณอ นั เปน ทีร่ กั และไมเ ปนท่รี ักยอมไมม ี ด่ังน.ี้ ส. ฉนั ทะ (ความพอใจ) มอี ะไรเปน นทิ าน เปน สมุทัย เปน ชาติเปนแดนเกิด เมอื่ อะไรยังมอี ยู ฉนั ทะจึงมี เมอ่ื อะไรไมม ี ฉนั ทะจงึ ไมม.ี พ. ฉันทะมีวิตก (ความตรกึ ) เปน นทิ าน เปน สมุทยั เปนชาติเปน แดนเกดิ เมอื่ วิตกยังมีอยู ฉันทะยอ มมี เม่อื ไมม ี ฉนั ทะ ยอ มไมม .ี ส. ก็วติ กมอี ะไรเปน นทิ าน เปน สมุทยั เปนชาติ เปน แดนเกิดเม่ืออะไรยังมีอยู วิตกจึงมี เมื่ออะไรไมม ี วติ กจึงไมม .ี พ. วิตก มีสว นแหง สญั ญาอันสัมปยุตดวยปปญจธรรม (ธรรมเคร่ืองเนนิ่ ชา ) เปนนทิ าน เปน สมทุ ยั เปนชาติ เปนแดนเกดิ เมอ่ื สว นแหง สญั ญาอันสัมปยุตดวยปปญ จธรรมยังมอี ยู วติ กยอ มมี เมือ่ ไมมี วติ กยอมไมม.ี [๒๕๗] ส. ขา แตพ ระองคผ ูนริ ทุกข ก็ภิกษุปฏบิ ัตอิ ยา งไร ชอื่ วาเปน ผูด าํ เนินปฏิปทาอันสมควร และใหถงึ ความดบั สว นแหง สัญญาอนั สมั ปยุตดว ยปปญจธรรม. พ. ก็อาตมาภาพ กลาวโดยโสมนสั โทมนสั และอเุ บกขา สว นละ ๒คอื ทคี่ วรเสพกม็ ี ทไ่ี มควรเสพกม็ ี อาตมาภาพกลาวหมายถงึ ขอความดังวา มาฉะน้ี และอาศัยอะไรจึงกลา วดงั นั้น บรรดาโสมนสั ๒ อยางนน้ั บคุ คลพึงรจู กั

พระสุตตนั ตปฎก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 135โสมนสั ใดวา เมื่อเราเสพโสมนัสนอ้ี ยู อกุศลธรรมยอมเจรญิ มาก กศุ ลธรรมยอมเส่อื มไป ดังน้ี โสมนสั เห็นปานนนั้ ไมควรเสพ. บคุ คลพงึ รูจกั โสมนสั ใดวาเม่ือเราเสพโสมนสั นี้อยู อกศุ ลธรรมยอ มเจริญมากดงั น้ี โสมนสั เห็นปานนั้นควรเสพ. บรรดาโสมนสั น้นั โสมนัสท่ีเกิดข้ึนดวยปฐมฌาน ยงั มวี ิตกวิจารโสมนสั ทไี่ มมีวติ กวิจารประณตี กวา อาตมาภาพกลาวโสมนัสใดโดยสวน ๒ วาควรเสพกม็ ี ไมค วรเสพกม็ ี อาตมาภาพกลา วหมายถงึ ขอความดงั วา มาฉะน้ี และอาศัยเหตนุ ี้จงึ กลา วดังนัน้ . แมโทมนสั และอุเบกขา ก็มลี กั ษณะดังนีแ้ ล ขอถวายพระพร. ภิกษุปฏิบตั อิ ยางน้แี ล ยอ มชอ่ื วาเปนผูดําเนนิ ปฏิปทาอนั สมควรและใหถงึ ความดับสว นแหงสัญญาอันประกอบดวยปปญ จธรรม. ทา วสกั กะจอมเทพมีพระหฤทยั ชื่นชมเพลิดเพลนิ อนโุ มทนาภาษิตแหงพระผมู ีพระภาคเจา วา เปน อยางนัน้ ขาแตพระผูมีพระภาคเจา เปนอยางนัน้ขาแตพระสคุ ตเจา ขา พระองคขา มพนขอสงสัยอันจะพงึ กลาววา เปน อยางไร ๆแลว เพราะไดส ดับปญหาพยากรณข องพระผมู ีพระภาคเจา. [๒๕๘] ทา วสักกะจอมเทพ ครน้ั แลว ไดทลู ถามปญ หาตอไปวาขาแตพ ระองคผูนริ ทกุ ข ก็ภกิ ษุปฏิบตั ิอยางไร ชื่อวา เปน ผูปฏบิ ตั เิ พื่อความสํารวมในพระปาติโมกข. พ. ขอถวายพระพร ก็อาตมภาพยอมกลาวกายสมาจาร (มรรยาททางกาย) วจสี มาจาร (มรรยาททางวาจา) และความแสวงหาโดยอยา งละ ๒ ๆคือที่ควรเสพก็มี ไมควรเสพก็ม.ี นอ่ี าตมภาพกลาวถงึ ขอความดังวา มาฉะนี้และอาศัยอะไรจงึ กลา วดังนน้ั บรรดาธรรมเหลา นั้น บุคคลพึงรูจกั กายสมาจารวจสี มาจาร และการแสวงหาใดวา เม่อื เราเสพกายสมาจาร วจีสมาจาร และการแสวงหาชนิดน้แี ลว อกศุ ลธรรมยอ มเจรญิ กุศลธรรมยอมเส่ือมไป ดังน้ีกายสมาจาร วจสี มาจาร และการแสวงหาเหน็ ปานนนั้ ไมค วรเสพ. บรรดา

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 136ธรรมเหลานน้ั บคุ คลพงึ รูจ ักกายสมาจาร วจสี มาจาร และการแสวงหาใดวาเม่อื เราเสพกายสมาจาร วจสี มาจาร และการแสวงหาน้ีแลว อกุศลธรรมยอ มเส่ือมไป กศุ ลธรรมยอมเจรญิ มากดงั น้ี กายสมาจาร วจีสมาจาร และการแสวงหาเปนปานน้ัน ควรเสพ. อาตมภาพกลาวกายสมาจาร วจีสมาจาร และการแสวงหาโดยสว นละ ๒ ๆ คือท่คี วรเสพก็มี ทไ่ี มค วรเสพก็มี. อาตมภาพกลา วหมายถึงขอความดังวามาฉะน้ี และอาศยั เหตุนี้ จงึ กลา วดังน้นั ภกิ ษุปฏิบตั ิอยางนแี้ ลยอมชือ่ วา เปนผปู ฏิบัติเพ่อื ความสํารวมในพระปาฏโิ มกข. [๒๕๙] ส. ขา แตพ ระองคผนู ิรทกุ ข กภ็ ิกษุปฏบิ ัติอยา งไร ชื่อวาเปน ผูปฏิบตั เิ พือ่ ความสาํ รวมในอินทรยี . พ. อาตมภาพยอมกลา ว รูป เสยี ง กลิ่น รส โผฏฐพั พะ ธรรมารมณอนั จะพงึ รูดวยจกั ขุ โสด ฆาน ชวิ หา กาย มนะ สว นละ ๒ คือที่ควรเสพก็มี ทไี่ มค วรเสพกม็ ี. เมอื่ พระผมู ีพระภาคเจา ตรสั แลว อยางน้ี ทา วสักกะผจู อมเทพ ไดกราบทูลวา ขาแตพระองคผเู จรญิ ขาพระองคย อ มทราบซง้ึ ถงึ เนอื้ ความแหงภาษิตที่พระผูม พี ระภาคเจา ตรัสแลวโดยยอนไี้ ดโดยพสิ ดาร เมอ่ื บุคคลเสพ รปูเสยี ง กล่นิ รส โผฎฐัพพะ ธรรมารมณ อนั จะพงึ รูดว ยจกั ขุ โสด ฆานชิวหา กาย มนะ อยางใดอยู อกศุ ลธรรมยอ มเจริญมาก กุศลธรรมยอ มเส่ือมไป ดังน้ี รปู เสียง กลิน่ รส โผฏฐพั พะ ธรรมารมณ เห็นปานนนั้ไมค วรเสพ. เมอ่ื บุคคลเสพ รูป เสยี ง กลิน่ รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณอนั จะพึงรดู วยจักขุ โสด ฆาน ชิวหา กาย มนะ อยา งใดอยู อกุศลธรรมยอ มเส่ือมไป กศุ ลยอ มเจริญมาก ดงั น้ีแล รปู เสียง กล่นิ รส โผฏฐัพพะธรรมารมณ เหน็ ปานนั้น ควรเสพ.

พระสุตตนั ตปฎ ก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 137 ส. ขาพระองคทราบซึง้ ถึงเน้ือความแหงภาษติ ท่พี ระผูมีพระภาคเจาตรัสแลวโดยยอ อนั ไดโ ดยพิสดาร ไดขามขอสงสัยในขอนีไ้ ดแลว หมดความสงสยั อันจะพึงกลาววาอะไร ๆ แลว เพราะไดสดับปญหาพยากรณข องพระผูมีพระภาคเจา. [๒๖๐] ทา วสกั กะผจู อมเทพ ครน้ั เพลดิ เพลนิ อนุโมทนาภาษติ ของพระผูมพี ระภาคเจาอยางน้แี ลว ไดท ลู ถามปญ หาตอไปวา ขาแตพ ระองคผ นู ริ ทกุ ขสมณพราหมณท้งั หมดแล มวี าทะเปน อยา งเดียวกัน มศี ลี เปนอยา งเดียวกันมีฉันทะเปนอยา งเดียวกนั มีทส่ี ุดเปน อยางเดียวกันหรือ. พ. หามิได มหาบพติ ร. ส. กท็ าํ ไม สมณพราหมณท้ังหมด จึงเปนผไู มม วี าทะเปนอยา งเดยี วกัน ไมมีศีลเปนอยา งเดยี วกัน ไมมีฉนั ทะเปน อยางเดียวกนั ไมม ีทส่ี ุดลงเปน อยา งเดียวกันเลา. พ. โลกมธี าตไุ มเปนอันเดยี วกัน มธี าตุตา ง ๆ กนั หมสู ตั วถือมั่นในธาตุใด ๆ แล ยอ มยดึ ถอื ธาตนุ ้นั ๆ กลา วดวยกําลงั ความยดึ ถอื วา อยา งน้ีแหละแนนอน อยา งอน่ื เหลวไหล ดงั นี้ เพราะเหตุน้นั สมณพราหมณจงึ เปนผชู อ่ื วามวี าทะเปน อยางเดยี วกนั มีศลี เปน อยา งเดียวกนั มีฉันทะเปน อยา งเดยี วกนัมีท่ีสดุ ลงเปน อยา งเดียวกันทง้ั หมดไมไ ด. [๒๖๑] ส. สมณพราหมณม คี วามสําเรจ็ ลวงสวน เกษมจากโยคะลวงสว น เปนพรหมจารีลวงสว น มที ่ีสุดลว งสวนท้ังหมดหรอื . พ. หามิได มหาบพติ ร. ส. เพราะเหตุไร พระพทุ ธเจาขา . พ. ภิกษุเหลา ใดเปนผหู ลุดพน เพราะสนิ้ ตัณหา ภิกษุเหลานั้นมคี วามสาํ เร็จลวงสวน เกษมจากโยคะลว งสว น เปนพรหมจารลี ว งสว น เพราะเหตนุ ัน้สมณพราหมณจ ึงเปนผูม ีความสําเรจ็ ลว งสว นทงั้ หมดไมไ ด.

พระสุตตนั ตปฎ ก ทฆี นิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 138 ทาวสกั กะผจู อมเทพ ชื่นชมเพลดิ เพลนิ อนุโมทนาภาษิตแหงพระผูม ีพระภาคเจาวา ขา แตพระผูมพี ระภาคเจา ขอ น้เี ปนอยางนนั้ ขาแตพ ระสคุ ตเจาขอน้เี ปนอยางนั้น ขาพระองคไดข า มความสงสยั ในขอนแี้ ลว หมดความสงสัยอนั จะพึงกลา ววาเปนอยา งไรๆ แลว เพราะไดส ดับปญหาพยากรณของพระผูมีพระภาคเจา . วา ดว ยสมณพราหมณพ วกอน่ื [๒๖๒] ทา วสักกะผจู อมเทพ ครั้นเพลิดเพลินอนุโมทนาภาษติ แหงพระผมู พี ระภาคเจา อยา งน้ีแลว ไดทลู วา ขาแตพ ระองคผ ูเ จรญิ ความหวน่ั ไหว(ตณั หา) เปน ดงั่ โรค เปน ด่ังฝ เปน ดงั่ ลกู ศร ยอมคราบรุ ุษน้ี เพือ่ ใหบ ังเกดิในภพน้นั ๆ นน่ั แล เพราะเหตุนั้น บุรษุ นย้ี อ มถึงความสงู ๆ ตํา่ ๆ ขา พระองคไมไดโ อกาสทจี่ ะถามปญ หาเหลา ใด ในสมณพราหมณอ นื่ ภายนอกแตศ าสนานี้พระผูมีพระภาคเจาผูรูเหน็ มาชา นาน ไดท รงพยากรณป ญ หาเหลา น้ันแกข าพระองคแ ลว อน่งึ พระผูม พี ระภาคเจา ไดทรงถอนลูกศรคอื ความสงสยั เคลือบแคลงของขาพระองคเสยี แลว . พ. มหาบพิตร ไดท รงถามปญหาเหลา นน้ั กะสมณพราหมณเ หลา อืน่แลวทรงเขา ใจหรอื ไม. ส. เขาใจอยู พระเจา ขา. พ. ก็สมณพราหมณเหลานนั้ พยากรณไ วแลวอยางไร ถา มหาบพิตรไมท รงหนกั พระหฤทยั จงตรัสเถดิ . ส. พระผูมพี ระภาคเจาประทบั นงั่ แลวในทใี่ ด หรอื พระรูปของพระผูมีพระภาคเจาปรากฏอยแู ลวในทใี่ ด ในทน่ี น้ั ความหนักใจของขา พระองคไมม แี ล. พ. ถา ดงั นน้ั มหาบพติ รจงตรัส.
























Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook