พระสุตตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 261 อกี นัยหนงึ่ ชอ่ื วา เอกายนะ เพราะอรรถวิเคราะหว า เปนทางท่บี ุคคลพงึ ไปผเู ดยี ว. คาํ วา ผเู ดียว คือคนทีล่ ะการคลกุ คลดี วยหมู ปลีกตวั ไปสงบสงัด.ขอวา พึงไป คือ พงึ ดําเนนิ ไป. อีกนัยหนงึ่ ชื่อวา อยนะ เพราะอรรถวิเคราะวาเปนเครือ่ งไป อธิบายวา ไปจากสงั สารวัฏสูพ ระนพิ พาน. หนทางไปของบคุ คลผูเ ปน เอก ชือ่ วา เอกายนะ. บทวา เอกสสฺ คือ ของบุคคลผปู ระเสริฐสดุ แหงสรรพสตั ว. กพ็ ระผูม ีพระภาคเจา นั้นทรงประเสริฐกวาสรรพ-สตั ว เพราะฉะนนั้ ทานจึงอธบิ ายวา หนทางของพระผมู พี ระภาคเจา . แมส ตั วเหลา อน่ื ถงึ จะเดินไปดวยหนทางนั้นก็จรงิ แมเ ชนน้ัน หนทางนัน้ กเ็ ปนทางเดนิ ของพระผมู ีพระภาคเจาเทา น้ัน เพราะเปน ทางทพ่ี ระองคทรงทาํ ใหเกิดขึน้ .เหมอื นอยา งที่ตรัสไว (ในโคปกโมคคลั ลานสูตร) วา ดกู อนพราหมณ พระผมู ีพระภาคเจา นนั้ เปน ผทู าํ มรรคทีย่ ังไมเ กิด ใหเ กดิ ขน้ึ ดงั นเี้ ปนตน . อกี นยั หนงึ่ทางยอมไป เหตนุ ั้น จึงชอ่ื วา อยนะ อธบิ ายวา ไป คอื เปน ไป. หนทางไปในธรรมวินัยอนั เดียว ช่อื วา เอกายนะ ทา นอธิบายวา หนทางเปน ไปในธรรมวินัยนีเ้ ทา นน้ั ไมเปน ไปในธรรมวนิ ัย (ศาสนา) อืน่ . เหมอื นอยา งท่ตี รัสไว(ในมหาปรนิ พิ พานสตู ร) วา ดูกอ นสุภทั ทะ มรรคมอี งค ๘ ท่ีเปนอรยิ ะ บุคคลจะไดก แ็ ตใ นธรรมวนิ ัยน้ีแล ดังนี้. กม็ รรคนัน้ ตางกนั โดยเทศนา แตโ ดยอรรถกอ็ ันเดยี วกนั นั้นเอง. อีกนัยหน่งึ หนทางยอ มไปครงั้ เดยี ว เหตุนน้ั หนทางน้นั จึงชอ่ืเอกายนะ (ทางไปครง้ั เดยี ว). ทา นอธิบายวา หนทางแมเ ปน ไปโดย มุข คือภาวนามนี ยั ตางๆ กัน เบอ้ื งตน ในเบ้อื งปลายกไ็ ปสูพระนพิ พานอันเดียวกันน่นั เอง. เหมอื นอยางทที่ านกลาวไว (ในสังยตุ ตนกิ าย มหาวารวรรค) วาทาวสหัมบดีพรหมกราบทูลพระผมู พี ระภาคเจา วา
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 262 เอกายน ชาติขยนฺตทสสฺ ี มคคฺ ปชานาติ หิตานกุ มปฺ เอเตน มคเฺ คน ตรสึ ุ ปุพฺเพ ตริสฺสเร เจว ตรนตฺ ิ ใจฆ พระผมู ีพระภาคเจาทรงเหน็ ธรรม เปน ทีส่ ิ้นชาติ ทรงพระกรณุ าอนเุ คราะห ดว ยประโยชนเ กื้อกูล ทรงทราบชัด เอกายนมรรค พระพทุ ธะทงั้ หลายในอดตี พากนั ขา ม โอฆะ(โอฆะ ๔) ดวยมรรคน้ัน มาแลว พระพทุ ธะท้ังหลาย ในอนาคตก็ จกั ขา มโอฆะดว ยมรรคนั้น และพระพทุ ธะ ทั้งในปจ จุบนั ก็ขามโอฆะดวยมรรคอยาง เดียวกันนนั้ แล. แตเกจิอาจารยก ลาวตามนยั แหง คาถาทวี่ า ชนท้ังหลาย ไมไ ปสูฝง(พระนพิ พาน) สองคร้ังดังน้ี วา เพราะเหตบุ คุ คลไปพระนิพพานไดคราวเดียวฉะน้ัน หนทางน้ัน จงึ ชอื่ วา เอกายนะไปคราวเดยี ว. คาํ น้นั ไมถ กู . เพราะอรรถน้ีจะพงึ มีพยัญชนะอยางนวี้ า สกึ อยโน ไปคราวเดยี ว. ก็ถา หากวา จะพึงประกอบอรรถะ กลา วอยา งนีว้ า การไปคร้งั เดียว คือการดําเนินครงั้ เดียวของมรรคนนั้เปนไปอยดู ังน้ี พยญั ชนะกน็ าจะถกู . แตอรรถะ ไมถ ูกท้งั สองประการ. เพราะเหตไุ ร. ก็เพราะในทีน่ ี้ ทานประสงคแตม รรคทเี่ ปนสวนเบื้องตน . เปนความจรงิในทน่ี ี้ ทา นประสงคเ อาแตม รรคท่ีมสี ตปิ ฏฐานเปนสว นเบื้องตน ซง่ึ เปนไปโดยอารมณ ๔ มกี ายเปนตน. มิไดป ระสงคเ อามรรคท่เี ปน โลกุตตระ. ดว ยวามรรคท่ีเปน สว นเบื้องตน นน้ั ยอ มดาํ เนนิ ไปแมมากครั้ง ทั้งการดาํ เนินไปของมรรคนัน้ ก็มิใชมคี รั้งเดียว.
พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 263 ธรรมสากัจฉาของพระมหาเถระ ในขอน้ี แตก อ นพระมหาเถระท้งั หลาย กไ็ ดเ คยสนทนากันมาแลว.ทานพระจุลลนาคเถระ ผทู รงพระไตรปฎกกลา ววา สติปฏ ฐาน เปน มรรคเบือ้ งตน (บุพภาค). สว นทานจุลลสมุ นเถระ ผทู รงพระไตรปฎก อาจารยของทานพระจุลลนาคเถระ กลาววา เปนมรรคผสม (มิสสกะ). ศษิ ยว า เปนสวนเบือ้ งตน ขอรบั . อาจารยวาเปน มรรคผสมนะเธอ. แตเ มื่ออาจารยพูดบอยๆเขา ศิษยก ไ็ มค าน กลบั นิ่งเสีย. ทัง้ ศิษยท้งั อาจารยตกลงปญ หากนั ไมไ ดตา งกล็ ุกไป. ภายหลงั พระเถระผเู ปนอาจารย เดนิ ไปโรงสรงน้ํา คิดใครค รวญวาเรากลา ววา เปนมรรคผสม สว นทานจลุ ลนาคยึดหลักกลาววา เปน สว นเบอ้ื งตนขอวนิ จิ ฉยั ในขอ นเ้ี ปน อยางไรกนั หนอ เม่อื ทบทวนสวดพระสตู ร (มหาสติปฏ ฐานสูตร) ตั้งแตต น กก็ ําหนดไดตรงนี้ทีว่ า ดกู อ นภกิ ษทุ ัง้ หลาย ผใู ดผหู น่ึงพงึ เจริญสตปิ ฏฐาน ๔ เหลา น้ี ถึง ๗ ป กร็ ูวา โลกตุ ตมรรคเกดิ ขน้ึ แลว ชื่อวาตัง้ อยูถ ึง ๗ ป ไมม ี ทเ่ี รากลาววา เปนมรรคผสม ยอมไมได (ไมถูก) สวนทท่ี านจลุ ลนาคเห็นวา เปนมรรคสวนเบอ้ื งตน ยอมได (ถก) เม่ือเขาประกาศการฟงธรรมวัน ๘ ค่ํา ทานกไ็ ป. เลา กนั วา พระเถระเกา ๆ เปนผูรักการฟงธรรม คร้ันไดย นิ เสยี งประกาศ ก็เปลงเสยี งเปนอันเดียวกัน วา ผมกอน ผมกอ น. วนั น้ัน เปน วาระของทา นพระจลุ ลนาคเถระ. ทานน่งั บนธรรมาสน จับพดั กลา วคาถาเบ้ืองตนพระเถระผูอาจารยอ ยหู ลงั อาสนะก็คิดวา จะนัง่ ลบั ๆ ไมพ ูดจาละ. แทจรงิพระเถระเกา ๆ ไมร ิษยากัน ไมหยิบยกเอาความชอบใจของตนข้ึนเปน ภาระอยา งแบกทอ นออ ย ถือเอาแตเหตุ (ท่คี วร) เทานั้น ทมี่ ใิ ช ก็สละไป เพราะฉะน้ัน ทา นพระจุลลสมุ นเถระจงึ เรียกทานจลุ ลนาคเบา ๆ ทานจลุ ลนาคเถระไดย ินเหมือนเสยี งอาจารยเรียก จึงหยดุ ธรรมกถาถามวา อะไรขอรับ .
พระสุตตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 264อาจารยกลา ววา ทานจุลลนาค ทีเ่ รากลาววาเปน มรรคผสมน้นั ไมถูกดอกสว นทเ่ี ธอกลา ววา สตปิ ฏ ฐานเปน มรรคเบอ้ื งตน ถูกแลว . ทานพระจลุ ลนาคเถระคิดวา อาจารยของเราทรงปรยิ ัติธรรมไวทัง้ หมด เปนสุตพทุ ธะทางพระไตรปฎ กภกิ ษุเหน็ ปานน้ียังวนุ วายกบั ปญ หามาก ตอ ไปภายภาคหนา พระธรรมกถกึทงั้ หลายจกั วุนวายกบั ปญ หาชนิดนี้ เพราะฉะนั้น เราจักยึดพระสตู รเปนหลักทําปญหาชนดิ นี้ ไมใหว ุน วายตอไปละ. สติปฏฐานเปนมรรคเบ้อื งตน แตปฏสิ ัมภทิ ามรรค เรยี กวา เอกายนมรรค. ทา นจึงนําพระสูตร (ในธรรมบทขทุ ทกนิกาย) ตงั้ เปน บทอุเทศวามคฺคานฏงคฺ ิโก เสฏโ สจจฺ าน จตโุ ร ปทาวริ าโค เสฏโฐ ธมฺมาน ทปิ ทานฺจ จกฺขุมาเอเสว มคฺโค นตฺถโฺ ทสฺสนสฺส วิสทุ ธฺ ยิ าเอตหฺ ิ ตุมเฺ ห ปฏปิ ชชฺ ถ มารเสนปปฺ มทฺทนเอตฺหิ ตมุ เฺ ห ปฏิปนนฺ า ทุกขสฺสสนตฺ กริสฺสถบรรดาทางท้งั หลาย ทางมอี งค ๘ประเสรฐิ สุด บรรดาสัจจะทัง้ หลาย บทท้ัง ๔ (อรยิ สจั ) ประเสริฐสุด บรรดาธรรมทง้ั หลาย วิราคธรรมประเสริฐสุด บรรดาสัตวส องเทาทงั้ หลาย พระพุทธเจา ผูมีจักษุประเสรฐิ สุด ทางนีเ้ ทา นัน้ เพือ่ ความหมดจดแหงทรรศนะ ทางอน่ื ไมมี ทา นทงั้ หลายจงเดินทางนี้ ท่เี ปน เครือ่ งกําจัดกองทัพมารทา นทั้งหลายเดินทางนีแ้ ลว จกั กระทาํทส่ี ดุ แหง ทุกขไ ดดงั น.้ี
พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 265 ในขอ วา มรรค ท่ีชือ่ วามรรค เพราะอรรถวา อะไร. เพราะอรรถวาเปน เครอื่ งเดนิ ไปสูพ ระนพิ พานอยางหนึ่ง เพราะอรรถวา อนั ผตู อ งการพระนพิ พานพงึ คนหา อยางหนึ่ง. ขอ วา เพอ่ื ความหมดจดของสัตวท ั้งหลาย หมายความวา เพ่อืประโยชนแกค วามหมดจดของสัตวท้งั หลายผูมจี ติ เศราหมอง เพราะมลทนิทง้ั หลายมรี าคะเปนตน และเพราะอุปกเิ ลสทั้งหลาย มอี ภิชฌาวิสมโลภะเปนตน เปนความจรงิ สตั วเหลาน้ีคือ พระสัมมาสมั พทุ ธเจาทัง้ หลายเปน อเนกต้ังตน แตพ ระพทุ ธเจา พระนามวา ตัณหังกร เมธงั กร สรณังกร ทีปง กรซ่งึ ปรินิพพานในกัปเดียวเทานัน้ เบ้อื งตนแต ๔ อสงไขยแสนกปั ป แตก ปั ปน้ีลงมาจนถงึ พระพทุ ธเจาพระนามวา ศากยมนุ ี เปนทส่ี ุด พระปจเจกพทุ ธเจาหลายรอ ย แลพระอรยิ สาวกทง้ั หลาย อกี นบั ไมถวน ตา งลอยมลทินทางจติทงั้ หมด ถงึ ความหมดจดอยางยิง่ ดว ยทางนีเ้ ทานั้น. การบญั ญตั คิ วามเศราหมองและผอ งแผว โดยมลทนิ ทางรปู อยา งเดยี ว ไมม .ี สมจริง ดงั คาํ ทก่ี ลาวไววา รเู ปน สงฺกิลิฏเ น ส กิลสิ สฺ นฺติ มาณวา รูเป สุทฺเธ วสิ ชุ ฺฌนฺติ อนกฺขาต มเหสนิ า จิตฺเตน สงกฺ ลิ ฏิ เ น ส กิลสิ สฺ นฺติ มาณวา จติ ฺเต สุทเฺ ธ วสิ ชุ ฌฺ นฺติ อติ ิ วตุ ตฺ มเหสนิ า. พระพุทธเจา ผูทรงแสวงหาคณุ อันยิ่ง ใหญ มิไดต รสั สอนวา คนทงั้ หลาย มรี ูป เศราหมองแลว จงึ เศรา หมอง มีรปู หมดจด แลว จึงหมดจด แตพระผทู รงแสวงหาคณุ อนั ยิ่งใหญ ทรงสอนวา คนทง้ั หลาย มีจติ เศรา หมองแลว จงึ เศราหมอง มจี ิตหมด จดแลวจึงหมดจด ดังนี้.
พระสตุ ตันตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 266เหมือนอยางทตี่ รสั ไว (ในสังยตุ ตนิกาย ขนั ธวารวรรค) วา ดกู อ นภกิ ษทุ ัง้ หลายสัตวท ้ังหลายยอ มเศรา หมอง เพราะจติ เศราหมอง ยอมบรสิ ทุ ธิ์ เพราะจติผองแผว ดงั น้ี. กค็ วามผองแผว แหงจิตนั้น ยอมมไี ดด วยมรรค คอื สติปฏฐานน.้ีเพราะฉะนัน้ พระผมู พี ระภาคเจาจงึ ตรสั วา เพอื่ ความหมดจดของสตั วท ้งั หลาย. ขอวา เพ่อื กาวลวงโสกะ และปริเทวะ หมายความวา เพือ่ กาวลวง คอื ละโสกะ และปรเิ ทวะ. จรงิ อยู มรรคนี้ อันบคุ คลเจรญิ แลวยอมเปนไปเพ่อื กา วลวง โสกะ เหมือนอยาง โสกะของสนั ตตมิ หาอํามาตยเ ปน ตนเพ่อื กา วลว ง ปรเิ ทวะ เหมือนอยา งปรเิ ทวะของนางปฏาจาราเปนตน เพราะเหตุน้นั พระผมู พี ระภาคเจา จึงตรัสวา เพื่อกาวลวง โสกะ และปริเทวะ. แทจ ริงสันตตมิ หาอํามาตยฟ ง คาถาท่วี า ย ปุพเฺ พ ต วโิ สเธหิ ปจฉฺ า เต มาหุ กิ ฺจน มชเฺ ฌ เจ โน คเหสสฺ สิ อุปสนฺโต จรสิ สฺ สิ ทา นจงทาํ ความโศกในกาลกอ นให เหือดแหง ทา นอยามีความกังวลใจ ในกาล ภายหลงั ถาทานจักไมย ึดถือในทา มกลาง กจ็ กั เปน ผสู งบเท่ยี วไป ดังน้ีแลวกบ็ รรลุพระอรหตั พรอมดว ยปฏิสมั ภิทา นางปฏาจารา ฟง พระคาถาน้วี า น สนฺติ ปุตฺตา ตาณาย น ปต า นป พนธฺ วา อนตฺ เกนาธปิ นนฺ สสฺ นตฺถิาตีสุ ตาณตา มบี ตุ รไวเพือ่ ชว ยกไ็ มไ ด บิดาก็ไมได พวกพองก็ไมได เม่อื ความตายมาถงึ ตวั แลว ญาตทิ งั้ หลายกช็ วยไมไ ด ดังน้ี
พระสตุ ตันตปฎก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 267แลวกต็ ง้ั อยูในโสดาปต ตผิ ล ก็เพราะเหตุวา ชอ่ื วา การไมถ ูกตอ งธรรมบางอยา งในกายเวทนาจิต ธรรมทั้งหลายแลว ภาวนาไมม ีเลย ฉะนน้ั สันตติมหา-อาํ มาตยกบั นางปฏาจาราแมนน้ั จงึ ควรทราบวา เปนผกู า วลวงโสกะ และปรเิ ทวะดว ยมรรคนเ้ี อง. ขอวา เพ่อื ดบั ทกุ ข และโทมนัส ความหมายวา เพ่อื ต้งั อยไู มไ ดคอื ดบั ทั้งสองนี้ คอื ทกุ ขทางกาย และโทมนสั ทางใจ. ดวยวามรรคน้ีบคุ คลเจรญิ แลว ยอ มเปน ไปเพอ่ื ดับทุกข เหมือนทุกขข องพระตสิ สเถระเปนตนดบั โทมนสั เหมอื นอยา งโทมนสั ของทา วสักกะเปนตน. ในเร่อื งทัง้ สองนั้นแสดงความดงั ตอไปน้.ี เรื่องทกุ ขข องพระตสิ สเถระ เลากนั วา ในกรงุ สาวัตถี บตุ รของกฏุ ม ภชี ื่อติสสะทรพั ย ๔๐ โกฏิออกบวชโดดเด่ียวอยูใ นปา ทไ่ี มม บี าน. ภริยาของนอ งชายทา น สงโจร ๕๐๐ ใหไปฆา ทา นเสยี . พวกโจรไปลอ มทา นไว. ทานจึงถามวา ทานอบุ าสกมาทาํ ไมกันพวกโจรตอบวา มาฆาทานนะซ.ิ ทานจึงพดู ขอรอ งวา ทานอุบายสกทง้ั หลายโปรดรบั ประกันอาตมา ใหช ีวติ อาตมาสักคนื หนงึ่ เถิด. พวกโจรกลา ววา สมณะใครจักประกันทานในฐานะอยา งนไ้ี ด. พระเถระกจ็ บั หนิ กอนใหญท ุบกระดกู ขาทง้ั สองขาง แลว กลาววาประกันพอไหม. เหลา โจรพวกน้ันก็ยงั ไมหลบไปกลบั กอ ไฟนอนเสียทใี่ กลจงกรม พระเถระขมเวทนา พิจารณาศีล อาศยั ศลีทีบ่ รสิ ทุ ธิก์ ็เกดิ ปตแิ ละปราโมช. ลําดบั ตอ จากนั้น กเ็ จรญิ วปิ สสนา ทาํ สมณธรรมตลอดคืน ในยามทัง้ สาม พออรณุ ขนึ้ กบ็ รรลพุ ระอรหตั จึงเปลง อุทานวา อโุ ภ ปาทานิ ภินฺทิตวฺ า สฺมิสฺสามิ โว อห อฏฏยิ ามิ หรายามิ สราคมรเณ อห
พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 268 เอวาห จินตฺ ยติ วฺ าน ยถาภตู วิปสสฺ ิส สมฺปตฺเต อรณุ ุคฺคมหฺ ิ อรหตฺต อปาปุณึ เราทุบเทาสองขาง ปองกันทาน ท้ังหลาย เราเอือมระอาในความตายทงั้ ท่ี ยังมรี าคะ เราคิดอยา งนแ้ี ลว กเ็ ห็นแจง ตามเปนจริง พอรงุ อรุณมาถึง เรากบ็ รรลุ พระอรหตั ดงั น.ี้ เรือ่ งทุกขข องภิกษุ ๓๐ รปู ภกิ ษุ ๓๐ รูป อกี กลุมหนึ่ง เรยี นกมั มฏั ฐานในสาํ นกั ของพระผูมีพระภาคเจา แลวจําพรรษาในวัดปา ทํากตกิ ากนั วา ผูมีอายุ เราควรทาํ สมณ-ธรรม ตลอดคืนในยามทั้งสาม เราไมควรมายงั สาํ นกั ของกันและกัน แลวตา งคนตางอยู. เมื่อภกิ ษเุ หลา นัน้ ทาํ สมณธรรม ตอนใกลรุงก็โงกหลบั เสอื ตัวหนงึ่ก็มาจับภกิ ษไุ ปกนิ ทีละรปู ๆ. ภิกษุไร ๆ ก็มิไดเ ปลง แมว าจาวา เสือคาบผมแลว .ภิกษุถูกเสือกนิ ไป ๑๕ รูป ดว ยอาการอยา งน้ี ถงึ วนั อุโบสถ ภิกษทุ เ่ี หลือก็ถามวาทานอยทู ่ีไหน และรเู ร่อื งแลวกก็ ลาววา ถูกเสอื คาบควรบอกวา บัดนี้เราถูกเสอื คาบไป ๆ แลว กอ็ ยกู ันตอ ไป. ตอ มาเสอื ก็จับภกิ ษหุ นุมรปู หน่ึง โดยนยั กอน. ภิกษหุ นมุ ก็รอ งวา เสือขอรับ. ภิกษุท้งั หลายกถ็ ือไมเทา และคบเพลงิ ตดิ ตามหมายวา จะใหม ันปลอ ย เสอื กข็ ้นึ ไปยังเขาขาด ทางที่ภกิ ษุทัง้ หลายไปไมไ ด เรม่ิ กินภิกษุน้นั ต้ังแตนวิ้ เทา. ภกิ ษทุ ง้ั หลายนอกน้ัน กไ็ ดแตก ลา ววาสัปบรุ ษุ บดั น้ี กจิ ที่พวกเราจะตอ งทําไมม ี ขึ้นช่อื วา ความวิเศษของภกิ ษุทัง้ หลายยอมปรากฏในฐานะเชนนี.้ ภกิ ษหุ นมุ น้นั นอนอยูในปากเสอื ขม เวทนา
พระสุตตันตปฎก ทฆี นิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 269เจบ็ ปวด แลว เจรญิ วิปส สนา ตอนเสอื กินถงึ ขอเทา เปนพระโสดาบนั ตอนกินไปถึงหวั เขา เปน พระสกทาคามี ตอนเสือกนิ ไปถึงทอง เปนพระอนาคามีตอนเสือกินไปยังไมถึงหวั ใจ กบ็ รรลุพระอรหตั พรอ มดว ยปฏิสมั ภิทา จึงเปลงอุทาน ดงั นว้ี า สีลวา วตฺตสมฺปนโฺ น ปฺ วา สสุ มาหโิ ต มุหตุ ฺต ปมาทมนฺวาย พฺยคเฺ ฆ โน รุทธฺ มานโส ปฺชรสฺมึ โส คเหตวฺ า สลิ าย อุปรี กโต กาม ขาทตุ ม พฺยคฺโฆ อฏยิ า จ นหฺ ารุสสฺ จ กิเลเส เขปยสิ สฺ ามิ ผสุ สิ สฺ ามิ วมิ ตุ ฺติย เรามศี ลี ถึงพรอ มดวยวัตร มปี ญ ญา มีใจมัน่ คงดีแลว อาศัยความประมาท ครู หนึง่ ทง้ั ทีม่ ีใจไมคิดรายในเสือ มันก็จบั ไวในกรงเล็บ พาไปไวบ นกอ นหนิ เสอื จงกินเราถึงกระดูกและเอน็ กต็ ามที เราจัก ทาํ กเิ ลสใหสนิ้ ไป จกั สัมผัสวิมุตติ ดังนี้. เรอื่ งทกุ ข ของพระปต มิ ลั ลเถระ ภกิ ษอุ ีกรูปหน่ึง ช่อื ปติมัลลเถระ ครง้ั เปนคฤหัสถ ทา นถอื ธงมาเกาะลังกา ถงึ ๓ รัชกาล เขา เฝาพระราชาแลว ไดรบั พระราชานุเคราะหวนั หนึ่ง เดนิ ทางไปประตศู าลา ที่มที น่ี งั่ ปูดว ยเสอ่ื ลาํ แพน ไดพ ึงนตมุ หากวรรค(ในสังยุตตนกิ าย ขันธวารวรรค) วา ดกู อ นภิกษุทั้งหลาย รูปไมใ ชข องทา น
พระสุตตันตปฎก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 270ทา นจงละรปู น้นั เสีย รปู นน้ั ทา นละไดแ ลว จักมเี พ่อื ประโยชนเ ก้ือกูล เพ่ือความสขุ ตลอดกาลนาน ดง่ั นแ้ี ลวกค็ ดิ วา มใิ ชร ปู เทา น้นั เวทนาก็ไมใ ชข องตน. เขาทาํ พระบาลนี ้ันใหเปนหัวขอ แลว ออกไปยงั มหาวหิ ารขอบวชบรรพชาอุปสมบท แลว กระทาํ มาตกิ า ใหทงั้ สองคลอ งแคลว พาภิกษุ ๓๐ รูปไปยงั ลาน ณ ตําบลควปรปาลี กระทาํ สมณธรรม. เมื่อเทา เดินไมไหว ก็คกุเขา เดินจงกรม. ในคืนนัน้ พรานเน้ือผูห น่ึงสําคญั วา เนอ้ื กพ็ ุงหอกออกไปหอกกแ็ ลน ถูกทา นถงึ ทะลุ ทานก็ใหเ ขาชกั หอกออก เอาเกลียวหญา อุดปากแผลใหเขาจบั ตัวนงั่ บนหลังแผน หิน ใหเ ขาเปดโอกาส เจรญิ วปิ สสนา ก็บรรลุพระอรหัตพรอ มดวยปฏิสมั ภทิ า พยากรณ แกภกิ ษทุ ง้ั หลายทพี่ ากนั มาโดยใหเสียงไอ จาม เปลงอุทานดังน้ีวาภาสติ พุทธฺ เสฏสสฺ สพฺพโลกคคฺ วาทิโนน ตมุ หฺ ากมิท รปู ต ชเหยฺยาถ ภกิ ขฺ โวอนจิ ฺจา วต สงขฺ ารา อปุ ปฺ าทวยธมฺมิโนอปุ ปฺ ชชฺ ิตฺวา นิรชุ ฺฌนตฺ ิ เตส วปู สโม สโุ ขพระพุทธเจา ผูประเสรฐิ สุด ที่สรร-เสริญกนั วา เลศิ ทกุ แหลงลา ทรงภาษิตไววา ดูกอนภิกษุท้ังหลาย รูปน้ีมใิ ชข องทานทานท้งั หลายพงึ ละรปู น้ันเสยีสงั ขารทั้งหลายไมเ ทย่ี งหนอ มเี กดิและเสอ่ื มไปเปน ธรรมดา เกิดแลว ก็ดบัความสงบระงบั แหงสงั ขารเหลา น้ัน เปนสขุ ดงั น.ี้
พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 271 มรรคนี้ยอมเปนไปเพือ่ ดบั ทุกขเ หมือนอยา งทกุ ขของพระติสสเถระเปนตนเพียงเทาน้กี อน. เร่ืองโทมนัสของทาวสกั กะ กท็ า วสักกะ จอมเทพ ทรงเหน็ บพุ นิมิต ๕ ประการ ของพระองคถูกมรณภัยคกุ คาม เกดิ โทมนัส เขาเฝา พระผูม พี ระภาคเจาทูลถามปญหา.ทา วเธอก็ดํารงอยใู นโสดาปต ตผลพรอ มดว ยเทวดาแปดหมื่นองคดว ยอาํ นาจการวิสัชนาอเุ บกขาปญ หา. เรอ่ื งการอุบัติของทาวเธอจงึ กลับเปน ปกติอีก. เรอื่ งโทมนัสของสพุ รหมเทพบุตร แมส ุพรหมเทพบตุ ร อันนางเทพอปั สรพันหนง่ึ หอ มลอม ก็เสวยสวรรคสมบตั .ิ ในจาํ พวกนางเทพอัปสรพนั หนงึ่ นนั้ นางเทพอัปสรหา รอ ยมัวเกบ็ ดอกไมจากตน ก็จตุ ไิ ปเกิดในนรก สพุ รหมเทพบุตรรําพึงวา ทําไม เทพอัปสรเหลา นจ้ี งึ ชักชา อยู ก็รูวาพวกนางไปเกดิ ในนรก จึงหนั มาพจิ ารณาดูตัวเองวา อายุเทาไรแลว หนอ กร็ ูวา ตนจะสนิ้ อายุ จะไปเกดิ ในนรกนัน้ ดวยก็หวาดกลวั เกดิ โทมนสั อยางยิง่ เห็นวา พระบรมศาสดาเทาน้ัน จะยังความโทมนัสของเรานี้ใหพ นิ าศไป ไมม ผี ูอืน่ แลว กพ็ านางเทพอัปสรหา รอ ยทีเ่ หลอืเขา เฝาพระผูมพี ระภาคเจาทูลถามปญหาวา นิจจฺ ุตฺรสตฺ มทิ จิตฺต นิจจฺ ุพพฺ ิคฺคมทิ มโน อนปุ ปฺ นฺเนสุ กิจเฺ จสุ อโถ อปุ ฺปตตฺ เิ ตสุ จ สเจ อตถฺ ิ อนตุ รฺ สตฺ ต เม อกฺขาหิ ปจุ ฺฉิโต
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 272 จติ นสี้ ะดงุ อยูเปน นติ ย จิตใจนหี้ วาด อยเู ปน นิตย ทงั้ ในกิจทีย่ ังไมเ กดิ ท้ังในกจิ ที่เกิดแลว ถาหากวาความไมหวาดสะดงุ มีอยู ขอพระองคท ี่ถูกทูลถามแลว โปรด บอกความไมห วาดสะดงุ นน้ั แกขา พระ- องคดว ยเถดิ . ลําดับน้ัน พระผมู พี ระภาค- เจา จึงไดต รสั บอก สุพรหมเทพบตุ ร (ในสงั ยุตตนกิ าย สคาถวรรค) วา นาฺตรฺ โพชฺฌา ตปสา นาฺตฺร อนิ ทฺ ฺริยส วรา นาฺญตรฺ สพพฺ ปฏินิสฺสคคฺ า โสตฺถึ ปสสฺ ามิ ปาณิน นอกจากปญ ญาเครอ่ื งรู ตปะเครื่อง เผาความชัว่ นอกจากความสํารวมอนิ ทรีย นอกจากความสละคืนทุกส่ิงทุกอยา ง เราก็ มองไมเหน็ ความสวสั ดีของสตั วทง้ั หลาย ดังน.ี้ ในทสี่ ดุ เทศนา สพุ รหมเทพบุตรกด็ าํ รงอยูในโสดาปตตผิ ล พรอมดวยนางเทพอปั สรหารอยทําสมบัตนิ ้ันใหถ าวรแลว กลบั ไปยังเทวโลก. มรรคน้ีอนั บคุ คลเจริญแลว บัณฑิตพงึ ทราบวา ยอ มเปนไปเพือ่ ดบัโทมนัส เหมอื นอยา งโทมนสั ของทาวสักกะ เปน ตน ดงั กลาวมานี.้ มรรคมีองค ๘ ที่เปน อริยะ เรยี กวา ญายธรรม ในขอทีว่ า าย-สสฺ อธิคมาย เพื่อบรรลุญายธรรม ทา นอธบิ ายวา เพอื่ บรรลุ คือเพ่อื ถึงญายธรรมนั้น. จรงิ อยู มรรค คือสติปฏฐานท่เี ปน โลกิยะเบือ้ งตนน้ี อนั
พระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 273บคุ คลเจรญิ แลว ยอ มเปน ไปเพื่อบรรลุมรรคที่เปนโลกตุ ตร. เพราะเหตุนน้ัพระผมู ีพระภาคเจาจึงตรัสวา เพือ่ บรรลุญายธรรม. ขอวา เพ่ือใหแ จง พระนิพพาน ทานอธิบายวา เพอ่ื ทําใหแจงคือเพ่ือประจกั ษด วยตนเอง ซึ่งอมตธรรมท่ีไดชือ่ วานิพพาน เพราะเวน จากตณั หาเคร่ืองรอ ยรัด. จริงอยู มรรคน้ี อนั บุคคลเจรญิ แลว ยอมยงั การทาํใหแจง พระนพิ พานใหส ําเร็จไปตามลําดับ. เพราะฉะนั้น พระผมู พี ระภาคเจาจงึ ตรสั วา เพ่อื ทําใหแ จงพระนพิ พาน ดงั น.้ี ในพระสตู รนน้ั ถึงเม่ือพระผูมพี ระภาคเจาตรสั วา เพอื่ ความหมดจดของสัตวท ้ังหลายแลว ขอทีว่ า เพือ่ กาวลว งโสกะ และปริเทวะเปน ตนกเ็ ปน อันสาํ เรจ็ ใจความไดกจ็ รงิ แตยกเวนผฉู ลาดรขู อ ยตุ ขิ องคําส่งั สอนเสียแลวก็ไมปรากฏแกค นอ่ืน ๆ ได แตพระผูมีพระภาคเจา หาไดท รงทาํ ใหช นผูฉลาดรขู อ ยุติของคําส่ังสอนเสยี กอนแลว ทรงแสดงธรรมในภายหลงั ไม หากแตทรงยังชนทง้ั หลายใหร ูอรรถะนน้ั ๆ ดวยสูตรนัน้ ๆ เลยทีเดียว เพราะฉะน้ัน ในทนี่ ี้เอกายนมรรค จะยังอรรถใด ๆ ใหสาํ เร็จได ก็ทรงแสดงอรรถน้นั ๆ ใหป รากฏจึงตรัสขอวา เพื่อกา วลวงโสกะ และปริเทวะเปนตน . หรืออกี นยั หน่ึงความหมดจดของสัตวทง้ั หลาย ยอมเปน ไปไดดวยเอกายนมรรค ความหมดจดนัน้ . ยอ มมีไดด ว ยความกา วลว งโสกะ และปรเิ ทวะ ความกาวลว งโสกะ และปริเทวะ ยอ มมไี ดดวยความดับทกุ ข และโทมนสั ความดบั ทกุ ขแ ละโทมนัสยอ มมีไดด วยการบรรลญุ ายธรรม การบรรลญุ ายธรรม ยอ มมีไดด วยการทําใหแจง พระนิพพาน เพราะฉะนนั้ เม่ือจะทรงแสดงลาํ ดับการอันนี้ จึงตรสั วาเพ่อื ความหมดจดของสัตวทง้ั หลาย แลวตรัส ขอ วา เพอ่ื กาวลว งโสกะและปริเทวะเปนตน ไป.
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ท่ี 274 อีกนัยหนึ่ง คําที่กลา วมานเ้ี ปนการพรรณนาคุณของเอกายนมรรค. 0เปรยี บเหมือนอยา งวา พระผูมพี ระภาคเจาไดต รสั คณุ ดวยบทท้ัง ๘ ดวยฉฉักกเทศนา (ฉฉักกสูตร มชั ฌิมนิกายอปุ ริปณณาสก) วา ดกู อนภกิ ษุทัง้ หลาย เราจักแสดงแกทา นทงั้ หลาย ถึงธรรมอนั งามในเบอ้ื งตน งามในทามกลาง งามในเบ้ืองปลาย จักประกาศพรหมจรรยอนั บริสุทธิ์ บริบรู ณส้นิ เชิงพรอมทง้ั อรรถ พรอมทงั้ พยญั ชนะ คือ ฉฉักกธรรม ๖ ดงั นี้ฉันใดและตรสั คณุ ดวยบททั้ง ๙ ดว ย อรยิ วงั สเทศนา (อังคุตตรนกิ าย จตุกกนิบาต)วา ดูกอ นภิกษทุ งั้ หลาย อริยวงศ ๔ เหลาน้ีรกู ันวา เลิศมีมานาน เปน วงศพระอรยิ ะ เปน ของเกา ในอดีตกไ็ มม ใี ครรงั เกยี จไมเคยรงั เกียจ ในปจจบุ ันก็ไมร งั เกยี จกัน ในอนาคตกจ็ กั ไมร งั เกียจกัน สมณพราหมณผ ูร ูก็ไมเ กลียดแลวดังน้ี ฉันใด พระผูม ีพระภาคเจา กไ็ ดตรสั คุณของ เอกายนมรรค แมอ ันนี้ดวยบททงั้ ๗ มีวา เพือ่ หมดจดของสตั วท้งั หลาย เปนตน กฉ็ ันนัน้ . ถาจะถามวาเพราะเหตใุ ด กต็ อบไดว า เพือ่ ใหเกิดอุตสาหะ แกภ ิกษเุ หลานนั้ . จรงิ อยูภิกษเุ หลานัน้ ฟง การตรัสคณุ (ของเอกายนมรรค) รูวา มรรคนี้นําไปเสียซ่งึอปุ ททวะ ๔ คือ โสกะ อันเปน เครอื่ งเผาใจ ปริเทวะ อนั เปน การพไิ รราํ พันทุกขะ อันเปนความไมสําราญทางกาย โทมนสั อันเปน ความไมสาํ ราญทางใจนาํ มาซึ่งคุณวิเศษ ๓ คือ วสิ ุทธิ ญายธรรม พระนิพพาน ดังน้ีแลวกเ็ กดิอุตสาหะ สาํ คัญ เทศนานวี้ า ควรเลา ควรเรยี น ควรทรงจํา ควรบอกกลาวและจักสําคัญมรรคอันนี้วา ควรเจรญิ . เพราะฉะน้ัน พระผมู ีพระภาคเจา ไดตรสั คุณ (ของเอกายนมรรค) เพอ่ื ใหเ กิดอุตสาหะ แกภกิ ษเุ หลา นนั้ เหมอื นพอ คา ผา กมั พลเปนตน โฆษณาคณุ ภาพของผา กัมพล เปน ตน ฉะนัน้ . เหมอื นอยา งวา แมวาพอ คา ผากัมพลอนั มีคานบั แสน โฆษณาวา โปรดซือ้ ผา กมั พล มนษุ ยท ัง้ หลายก็ยงั ไมท ราบกอนดอกวา ผมคนก็มี ผา กัมพล
พระสตุ ตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 275ทําดวยขนสตั วก ม็ ีเปน ตน มนั มกี ลนิ่ สาบสัมผัสหยาบ แตก็เรยี กวา ผา กัมพลเหมอื นกนั ตอเมือ่ ใดพอคา นนั้ โฆษณาวา ผา กมั พลสแี ดงทําในแควน คนั ธาระละเอียดสดใส สัมผัสละมุน เม่อื น้นั ถา มเี งนิ พอก็จะซอื้ เอา มไี มพอ กอ็ ยากจะชม ฉันใด แมเมื่อพระผมู ีพระภาคเจา ตรสั วา ดกู อนภิกษุท้ังหลาย หนทางนี้เปน ทางเดียวดงั น้ี ก็ยงั ไมปรากฏกอ นดอกวา หนทางไหน ดวยวา แมห นทางท่ไี มน าํ สตั วออกจากทุกขมปี ระการตา ง ๆ กเ็ รยี กกันวา หนทางเหมือนกัน แตเม่อื พระผมู พี ระภาคเจาตรัสวา เพ่อื ความหมดจดของสัตวท้ังหลายดงั นี้ เปน ตนภิกษทุ งั้ หลายกท็ ราบวาหนทางนี้นาํ มาซง่ึ อปุ ท วะ ๔ นาํ มาซง่ึ คณุ วเิ ศษ ๓แลว ก็เกดิ อตุ สาหะ สาํ คัญเทศนานี้วา ควรเลา ควรเรียน ควรทรงจําควรบอกกลาว และจกั สาํ คัญมรรคอันน้ีวา ควรเจรญิ เพราะฉะน้ัน พระผูมีพระภาคเจา เม่อื จะตรัสคณุ (ของเอกายนมรรค) จึงตรัสวาเพ่อื ความหมดจดของสัตวทงั้ หลาย เปนตน. อนึ่ง ขออุปมาวา ดว ยพอ คาผา กัมพลสีเหลอื ง อนั มีคาแสน นาํ มาเปรยี บฉนั ใด ในขอ นี้กค็ วรนาํ ขออปุ มาวา ดวยพอคา ทองชมพูนุทสสี ุก แกวมณีกรองนํา้ ใหใ ส แกว มกุ ดาท่ีบริสทุ ธิ์ ผาขนสตั ว และแกว ประพาฬเปนตนเอามาเปรยี บฉันนน้ั . คําวา ยททิ เปน ศัพทนิบาต. ศัพทน บิ าตน้ัน มคี วามดงั น้วี าเหลา นี้ใด (เย อเิ ม). คําวา จตตฺ าโร (๔) เปน ศพั ทก ําหนดจาํ นวน ดวยจาํ นวนนัน้ พระผูมีพระภาคเจา ทรงแสดงการกาํ หนดจํานวนสตปิ ฏฐานวา ไมตา่ํ กวาน้ัน ไมสูงกวานั้น คาํ วา สตปิ ฏ ฐานทั้งหลาย ไดแก สตปิ ฏฐาน ๓ คอือารมณแ หงสตกิ ม็ ี ความทพี่ ระบรมศาสดาทรงลว งเลยความยนิ รายและยนิ ดใี นพระสาวกทัง้ หลาย ผปู ฏิบัติ ๓ อยางก็มี ตวั สตกิ ็ม.ี อารมณแ หง สติ เรยี กวาสติปฏฐาน ไดในบาลเี ปนตน (สงั ยตุ ตนิกาย มหาวารวรรค) วา ดกู อนภิกษุทัง้ หลาย เราจกั แสดงความเกิดและความดับไปแหง สตปิ ฏ ฐาน ๔ ทา นทงั้ หลาย
พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 276จงฟง ฯลฯ ดูกอ นภกิ ษทุ งั้ หลาย ความเกดิ แหงกายเปนอยางไร ความเกดิ แหงกาย กเ็ พราะอาหารกอ ใหเกดิ ดังน.้ี อกี อยา งหนึ่ง ชอื่ วา สติปฏ ฐาน ไดใ นบาลี(ขทุ ทกนกิ าย ปฏิสัมภทิ ามรรค) เปน ตนวา กายเปน ทปี่ รากฏมใิ ชส ติ สติเปนทป่ี รากฏดวย เปน ตัวสตดิ ว ย. คําน้ันมีความดังน.ี้ ช่ือวา ปฏฐาน เพราะอรรถวิเคราะหวา เปนทตี่ งั้ ในท่นี .้ี ถามวา อะไรตง้ั . ตอบวา สต.ิ ทตี่ ้ังอยูแหงสติ ช่ือวา สติปฏฐาน. อกี นัยหนงึ่ ความต้งั เปนประธาน เหตนุ ัน้จึงช่ือวา ปฏฐาน. ความตง้ั แหง สติ ชอื่ วา สติปฏ ฐานเหมือนอยางการยนื ของชาง การยนื ของมาเปน ตน . ความท่ีพระบรมศาสดาทรงลว งเลยความยินรา ย และความยินดใี นพระสาวกท้งั หลาย ผปู ฏิบัติ ๓ อยางเรยี กวา สติปฏฐาน ไดในบาลี (สฬายตน วภิ งั สตู ร มัชฌิมนกิ าย อุปริปณณาสก)นว้ี า สตปิ ฏ ฐาน ๓ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา ผูเปนพระอรยิ ะ ทรงเสพสติปฏฐานไรเลา เมอ่ื ทรงเสพสตปิ ฏฐาน ไรเลา จงึ เปนพระศาสดา สมควรสอนพระสาวกดงั นี.้ คาํ นนั้ มคี วามดงั น้ี ชื่อวา ปฏ ฐาน เพราะเปน ธรรมทค่ี วรตัง้ ไว อธิบายวาควรใหเปนไป. ถามวา เพราะเปนธรรมที่ควรต้ังไวดวยอะไร. ตอบวา ดวยสต.ิการต้งั ไวดว ยสติชือ่ วา สติปฏ ฐาน กส็ ติเทานั้น เรียกวา สตปิ ฏ ฐาน ไดในบาลี(สงั ยุตตนิกาย มหาวารวรรค) เปนตน วาสตปิ ฏฐาน ๔ อันบุคคลเจริญแลวทาํ ใหม ากแลว ยอมยงั สัมโพชฌงค ๗ ใหบริบูรณดังนี้ . คํานัน้ มคี วามดงั นี้ธรรมชาติใดต้ังอยทู ั่ว อธิบายวา เขา ไปตัง้ ม่ัน คือแลนเปนไป เหตุนนั้ธรรมชาตนิ ้ัน ชอื่ วา ปฏ ฐาน. สตินัน้ เอง ชือ่ วาสตปิ ฏ ฐาน. อกี นัยหน่งึ ทช่ี ื่อวาสติเพราะอรรถวา ระลกึ ได ท่ีช่ือวา ปฏฐาน เพราะอรรถวา เขา ไปตัง้ ไว. เพราะฉะนน้ั สตินนั้ ดว ย ปฏฐานดวย เพราะเหตนุ ั้น จึงช่อื วา สติปฏ ฐาน. ในท่ีนี้พระผมู ีพระภาคเจาทรงประสงคเ อาสติปฏ ฐานอันน.ี้ ถามวา หากเปนเชนนัน้เหตุไร คาํ วาสติปฏ ฐานทง้ั หลายจงึ เปนคาํ พหพู จน. ตอบวา เพราะตอ งมีสติมาก
พระสุตตันตปฎก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ท่ี 277เปน ความจริง สตเิ หลา นัน้ มมี าก เพราะตางแหงอารมณ. ถามวา แตเ หตุไรคาํ วา มรรค จึงเปน เอกวจนะ. อบวา เพราะมที างเดยี ว ดวย อรรถวาเปน มรรค. เปนความจรงิ สตเิ หลา นัน้ แมมี ๔ ก็นับวา ทางเดียว ดว ยอรรถวา เปน มรรค. สมจรงิ ดังที่ทานกลาวไววา ถามวา ในคาํ วามรรค ท่ชี ื่อวามรรค เพราะอรรถวา อะไร ตอบวา เพราะอรรถวา เปนเครอ่ื งไปสูพระนพิ พานดว ย เพราะอรรถวา ผูต อ งการพระนิพพานจะพึงคนหาดวย. สติท้ัง ๔ น้นัทาํ กจิ ใหสาํ เร็จ ในอารมณทั้งหลาย มกี ายเปนตนจงึ ถึงพระนพิ พานในภายหลงัแตผตู องการพระนิพพานทง้ั หลาย จําตองดาํ เนินไปตั้งแตต นมา เพราะฉะนั้นสตทิ ้ัง ๔ จงึ เรียกวา หนทางเดียว. เทศนาพรอ มดว ยอนสุ นธิ ยอ มมีดวยการอนุสนธิ คําวาสติ เหมือนดงั ในบาลีทง้ั หลาย (สังยตุ ตนกิ าย มหาวารวรรค)เปนตนวา ดูกอ นภิกษทุ ัง้ หลาย เราจกั แสดงมรรค เปนเครื่องกาํ จดั กองทัพมารเธอจงฟง มรรคนัน้ เปนเคร่ืองกาํ จัดกองทพั มารเปนอยา งไร คอื สมั โพชฌงค ๗ดงั น้ี. คําวามรรคเปน เครือ่ งกําจดั กองทพั มาร และคาํ วาสัมโพชฌงค ๗ โดยอรรถกเ็ ปน อนั เดียวกนั ตา งกันแตพ ยญั ชนะเทานนั้ ฉนั ใด คาํ วา เอกายนมรรคกบั คาํ วา สตปิ ฏฐาน ๔ โดยอรรถก็เปนอันเดยี วกัน ตางกนั แตพ ยัญชนะเทา นนั้กฉ็ นั น้นั เพราะฉะน้นั บณั ฑติ พึงทราบวา เปนเอกวจนะ ก็เพราะเปน ทางเดยี ว ดวยอรรถวาเปน มรรค เปนพหุวจนะ ก็เพราะมีสติมาก โดยความตา งแหงอารมณ. ถามวา กเ็ พราะเหตุไร พระผมู ีพระภาคเจา จงึ ตรัสสติปฏ ฐานวามี ๔ไมห ยอ นไมยิง่ . ตอบวา ก็เพราะจะทรงใหเปนประโยชนเ กือ้ กลู แกเ วไนยสัตว.แทจริง ในจําพวกเวไนยสัตวท เี่ ปนตณั หาจริต ทิฏฐิจริต ผูเปนสมถยานิก(ผมู ีสมถะเปน ยาน) และวิปสสนายานกิ (ผมู วี ปิ ส สนาเปนยาน) ทเ่ี ปน ไปโดยสวนทงั้ สอง คือ ปญ ญาออน และปญญากลา กายานปุ ส สนาสตปิ ฏฐานมอี ารมณ
พระสตุ ตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 278หยาบเปน ทางหมดจด สาํ หรบั เวไนยสัตวผมู ีตัณหาจริต มีปญญาออน เวทนานุปส สนาสตปิ ฏ ฐานมอี ารมณล ะเอียด เปน ทางหมดจด สําหรบั เวไนยสตั วผ มู ีตัณหาจริต มีปญญากลา จิตตานุปส สนาสตปิ ฏฐาน ที่มีอารมณไมแยกออกมากนกัเปนทางหมดจด สําหรบั เวไนยสตั วผูมีทิฏฐจิ ริต มปี ญญาออน ธัมมานปุ ส สนาสตปิ ฏฐาน ทีม่ อี ารมณแ ยกออกมาก เปนทางหมดจด สําหรับเวไนยสตั ว ผูมีทิฏฐจิ รติ มปี ญ ญากลา อนึง่ สติปฏฐานขอ ๑ ทีม่ นี มิ ิตอนั จะพงึ บรรลไุ ดโดยไมย าก เปน ทางหมดจด สาํ หรับ เวไนยสตั วผูเปนสมถยานกิ มปี ญ ญาออ น สติปฏฐาน ขอท่ี ๒ เพราะไมตัง้ อยใู นอารมณอ ยา งหยาบ จึงเปนทางหมดจดสาํ หรับเวไนยสตั วผเู ปนสมถยานิก มปี ญ ญากลา สตปิ ฏ ฐาน ขอท่ี ๓ มอี ารมณทแี่ ยกออก. ไมมากนกั เปนทางหมดจด สําหรบั เวไนยสัตวผ ูเปนวิปส สนายานกิมปี ญ ญาออน สตปิ ฏฐาน ขอที่ ๔ มอี ารมณท แ่ี ยกออกมาก เปนทางหมดจดสาํ หรบั เวไนยสัตวผ เู ปน วปิ สสนายานกิ มปี ญ ญากลา เพราะเหตดุ งั นนั้ จึงกลาววาสตปิ ฏ ฐานมี ๔ เทาน้ัน ไมห ยอ นไมยง่ิ . อีกอยางหนง่ึ ทีต่ รสั วา สติปฏ ฐานมี ๔กเ็ พ่ือละเสียซง่ึ วิปลลาสความสําคญั ผดิ วางาม สุข เท่ียง และเปนตัวตน. แทจริงกายเปน อสภุ ะ ไมง าม แตสัตวทง้ั หลายกย็ งั สําคญั วา งาม ในกายน้นั . ดว ยทรงแสดงความไมงามในกายน้ันแกสัตวเหลา น้นั จงึ ตรสั สตปิ ฏฐานขอที่ ๑ เพอ่ื ละวิปลลาสน้ันเสีย. และในเวทนาเปนตน ทส่ี ัตวยดึ ถือวาสุข เท่ียง เปน ตวั ตนเวทนากเ็ ปน ทุกข จติ ไมเที่ยง ธรรมทง้ั หลายเปนอนตั ตา. แตส ัตวท งั้ หลายก็ยงัสําคญั วา สุข เทยี่ งเปน ตวั ตน ในเวทนา จิต ธรรมน้ัน ดว ยทรงแสดงความเปนทกุ ขเ ปนตน ในเวทนา จิต ธรรมนัน้ แกส ัตวเ หลา นน้ั จงึ ตรสั สติปฏ ฐาน ๓ ทเ่ี หลือเพือ่ ละวปิ ลลาสเหลาน้นั เสีย เพราะฉะนน้ั บณั ฑติ พงึ ทราบวา ท่ตี รัสวา สติปฏฐาน ๔ ไมห ยอ นไมย ิง่ ก็เพอื่ ละความสําคัญผดิ วา งาม สุข เทีย่ ง และตวั ตนเสีย ดังท่ีกลา วมาน.้ี มิใชเพ่อื ละวปิ ล ลาสอยา งเดยี วเทาน้ัน บณั ฑิตพงึ ทราบวา
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 279ที่ตรสั สตปิ ฏ ฐาน ๔กเ็ พอ่ื ละ โอฆะ โยคะ อาสวะ คณั ฐะ อปุ าทาน และอคติ อยางละ ๔ ดวย เพอื่ กําหนดรูอาหาร ๔ อยางดวย พงึ ทราบในท่ีมาในปกรณ (บาลี) เทานก้ี อน. สว นในอรรถกถาทานกลา ววา สติปฏ ฐาน มีอนั เดียวเทาน้ัน โดยเปนความระลกึ และโดยเปนทป่ี ระชุมลงเปน อนั เดียวกัน มี ๔ ดวยอาํ นาจอารมณ.เปรยี บเหมอื นพระนครมี ๔ ประตู คนท่ีมาแตท ิศตะวันออก นาํ ส่ิงของที่อยูทางทศิ ตะวันออก มาเขา พระนครทางประตทู ิศตะวนั ออก คนที่มาแตท ิศใต ทิศตะวนั ตกก็เหมือนกัน คนทีม่ าแตท ศิ เหนือก็นาํ สิ่งของทอี่ ยูทางทิศเหนอื มาเขาพระนครทางประตูทศิ เหนอื ฉนั ใด ขออปุ ไมยนกี้ ฉ็ ันนนั้ . จรงิ อยูนิพพานเปรยี บเหมือนนคร โลกุตตรมรรคมอี งคแ ปด เปรียบเหมอื นประตพู ระนคร สติปฏ ฐานมกี ายเปน ตน เปรยี บเหมือนทิศทัง้ หลายมที ิศตะวันออกเปน ตน. กค็ นทมี่ าแตท ิศตะวันออก นําสง่ิ ของท่ีอยูท างทิศตะวนั ออกมาเขา พระนครทางประตูทศิ ตะวันออก ฉนั ใด ผูปฏิบตั โิ ดยมขุ แหง กายานุปสสนา เจรญิ กายานปุ สสนา๑๔ วธิ ี ยอ มหยงั่ ลงสพู ระนพิ พานอนั เดียวกนั นัน่ เอง ดว ยอรยิ มรรคทเ่ี กิดจากอานุภาพแหงการเจรญิ กายานุปส สนา กฉ็ นั น้นั . คนทีม่ าแตทศิ ใต นําสงิ่ ของที่อยูทางทศิ ใตยอมเขา มาสพู ระนครทางประตทู ิศใต ฉนั ใด ผปู ฏบิ ตั ิโดยมขุ แหง เวทนานุปสสนาเจริญเวทนานุปสสนา ๙ วิธยี อ มหยง่ั ลงสพู ระนพิ พานอันเดียวกนั น่ันเองดวยอรยิ มรรคทีเ่ กดิ จากอานภุ าพแหง การเจรญิ เวทนานปุ สสนากฉ็ นั นน้ั . คนท่มี าแตทิศตะวันตก นาํ สง่ิ ของทอ่ี ยูทางทิศตะวันตก ยอ มเขามาสูพระนครทางประตูทศิ ตะวนั ตกฉนั ใด ผปู ฏิบัติโดยมุขแหงจติ ตานปุ ส สนา เจรญิ จติ ตานุปสสนา๑๖ วธิ ี ยอ มหยง่ั ลงสูพระนพิ พานอันเดียวกันนน้ั เอง ดว ยอริยมรรค ทเ่ี กิดจากอานภุ าพแหงการเจรญิ จิตตานุปสสนาฉนั น้นั . คนทีม่ าแตทศิ เหนอื นําสงิ่ ของท่ีอยทู างทิศเหนือ ยอ มเขามาสพู ระนครทางประตูทศิ เหนอื ฉันใด ผูปฏิบตั ิโดยมขุแหงธมั มานุปส สนา เจรญิ ธมั มานุปสสนา ๕ วิธี ยอมหยั่งลงสพู ระนพิ พาน
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 280อนั เดียวกนั นั้นเอง ดว ยอรยิ มรรค ทีเ่ กิดจากอานภุ าพแหง การเจรญิ ธัมมานุ-ปสสนากฉ็ นั นน้ั . บัณฑิตพึงทราบวา ท่ีทา นกลาววา สติปฏ ฐานมี อนั เดยี วเทา นั้นก็ดว ยอาํ นาจความระลกึ ได อยางหนงึ่ ดวยอานุภาพประชุมลงสูความเปน อันเดยี วกันหน่งึ ที่กลา ววามี ๔ กโ็ ดยจัดตามอารมณ ดงั กลาวมาฉะนี.้ คาํ วา มี ๔ เปน อยา งไร เปน คําถามดวยหมายจะตอบ (ถามเองตอบเอง). คําวา ในธรรมวินยั นี้ คือ ในพระศาสนาน้.ี คําวา ภิกขฺ เวนนั้ เปนคําเรียกบคุ คลผรู บั ธรรม. คําวา ภกิ ษนุ ั้น เปน คําแสดงถึงบคุ คลผูถ งึ พรอ มดว ยขอ ปฏบิ ัต.ิ เทวดา และมนุษย แมเ หลาอื่น กด็ าํ เนินการปฏิบตั ใิ หพรอ มเหมือนกนั . แตที่ตรัสวา ภิกษุ กเ็ พราะเปน ผูป ระเสรฐิอยางหนงึ่ เพราะทรงแสดงภาวะของภกิ ษดุ วยการปฏบิ ัติอยางหน่ึง. เปนความจริง ในบุคคลทั้งหลาย ผูรับคาํ สัง่ สอนของพระผมู ีพระภาคเจา ภกิ ษุเปนผปู ระเสริฐ เพราะเปนประหนึง่ ภาชนะรองรับคําสงั่ สอนมีประการตาง ๆเพราะฉะนนั้ จงึ ตรสั วา ภิกษุ เพราะเปน ผูประเสริฐ. แตเมอ่ื ทรงถือเอาภิกษุแลว คนทัง้ หลายทเ่ี หลอื กเ็ ปนอันทรงถือเอาดวย เหมอื นอยา งในการเสดจ็ พระ-ราชดําเนนิ เปน ตน เหลา ราชบริพารนอกนั้น ก็เปนอนั ทา นรวมไวดวยศัพทวา ราช. ผูใ ดปฏิบตั ิขอ ปฏิบัตนิ ้ี ผูน นั้ ยอ มชื่อวา ภกิ ษุ เพราะฉะนน้ั พระ-ผูมพี ระภาคเจาตรัสวา ภกิ ษุ กเ็ พราะจะทรงแสดงภาวะของภิกษุดว ยการปฏบิ ัต.ิเปน ความจริง ผปู ฏิบัตจิ ะเปน เทวดา หรือมนษุ ยกต็ าม ยอมนบั ไดวา เปนภกิ ษทุ ัง้ น้นั . เหมอื นอยา งท่ตี รสั ไว (ในธรรมบท ขทุ ทกนกิ าย) วา อลงกฺ โตฺ เจป สม จเรยฺย สนโฺ ต ทนโฺ ต นิยโต พฺรหฺมจารี สพฺเพสุ ภเู ตสุ นธิ าย ทณฺฑ โส พฺราหฺมโณ โส สมโณ ส ภิกขฺ ุ
พระสตุ ตันตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 281 หากวา บุคคลมธี รรมประดับแลว เปน ผสู งบแลว ฝก แลว เปนคนแน เปน พรหมจารี เลิกอาชญากรรมในสัตวทัง้ ปวง พงึ ประพฤตสิ มา่ํ เสมออยไู ซร ผนู ้ันกช็ ่ือวา พราหมณ ผูน ้ันกช็ ่ือวา สมณะ ผนู น้ั ก็ ช่อื วา ภกิ ษุ ดงั น.ี้ คําวา ในกาย คอื ในรปู กาย. จรงิ แลว รปู กายในทนี่ น้ั ทานประสงคเอาวา กาย เพราะอรรถวา เปน ท่ีรวมแหงอวยั วะนอ ยใหญ และธรรมทัง้ หลายมีผม เปน ตน เหมือนตัวของชางตวั ของรถเปนตน. ท่ชี ่ือวา กายเพราะอรรถวาเปน ทร่ี วมฉันใด ทช่ี ื่อวา กาย เพราะอรรถวา เปนแหลงท่มี าของสิ่งทีน่ า รงั เกียจฉนั นนั้ . จรงิ แลว กายนน้ั เปน แหลงทีม่ าของสงิ่ นารงั เกยี จ คือนา เกียจอยางยง่ิแมเพราะเหตุนั้นจงึ ชอ่ื วา กาย. คาํ วาเปนแหลงท่มี า คอื เปนถิน่ เกิด ใจความของคําในคําวา เปนแหลงท่มี านนั้ มดี งั นี้ ธรรมชาติทงั้ หลายมาแตก ายน้นั เหตุนนั้กายนนั้ จงึ ชอ่ื วา เปนแหลงทีม่ า. อะไรมา. สิ่งอนั นาเกลียดท้งั หลายมีผมเปน ตนยอ มมา. ชอื่ วา อายะ เพราะเปนแหลง มาแหงสิ่งนาเกลียดท้ังหลาย ดว ยประการฉะน้ี. คาํ วา พิจารณาเหน็ กาย หมายความวา มปี กตพิ ิจารณาเหน็ ในกาย หรอื พิจารณาเหน็ กาย. พระผมู พี ระภาคเจาแมจ ะตรสั วา ในกายแลว บณั ฑติ พงึ ทราบวาทรงกระทาํ ศัพทว า กาย คร้งั ทสี่ องวา พจิ ารณาเหน็กายอีกครัง้ หน่ึง เพือ่ ทรงแสดงการกาํ หนด และการแยกออกจากกอนเปน ตนโดยไมปนกัน. ภกิ ษุพิจารณาเห็นเวทนาในกาย หรือพจิ ารณาเห็นจติ ในกายหรือพจิ ารณาเห็นธรรมในกายหามิได ทแ่ี ทพจิ ารณาเหน็ กายในกายตางหากเพราะฉะนน้ั จงึ เปน อนั ทรงแสดงการกาํ หนดไมปนกัน ดว ยทรงแสดงอาการ
พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 282คอื พิจารณาเหน็ กายในวตั ถุที่นบั วา กาย. มใิ ช พจิ ารณาเหน็ ธรรมอยา งหนงึ่ ท่ีพนจากอวยั วะนอ ยใหญในกายทง้ั มิใชพ จิ ารณาเห็นเปน หญิงหรือเปนชาย ท่พี นจากผมขนเปนตน. จรงิ อยูในขอนนั้ กายแมอนั ใด ท่ีนบั วา เปนท่ีรวมของภูตรปู และอปุ าทายรูป มผี มขนเปน ตน มใิ ชพจิ ารณาเหน็ ธรรมอยา งหนึง่ ท่ีพน จากภูตรูป และอปุ าทายรูป ท่ีแทพจิ ารณาเหน็ กายเปน ที่รวมอวยั วะนอ ยใหญในกายแมอันนั้น เหมอื นพจิ ารณาเห็นสว นประกอบของรถฉะน้นั พจิ ารณาเห็นกายเปนทรี่ วมของ ผม ขน เปนตน เหมือนพิจารณาเห็นสวนนอ ยใหญของพระนคร พิจารณาเหน็ กายเปน ทีร่ วมของภูตรูป และ อุปาทายรูป เหมือนแยกใบและกา นของตนกลวย และเหมอื น แบกํามอื ที่วางเปลา ฉะนั้น เพราะฉะน้นั จงึ เปนอนั ทรงแสดงการแยกออกจากกอ น ดวยทรงแสดงวัตถทุ ่นี บัไดวา กาย โดยเปน ทร่ี วมโดยประการตาง ๆ นัน่ แลว. ความจริง กายหรอืชายหญิง หรอื ธรรมไร ๆ อน่ื ทพ่ี นจากกายอนั เปนทีร่ วมดงั กลา วแลว หาปรากฏในกายน้ันไม แตส ตั วท ง้ั หลาย ก็ยดึ มันผดิ ๆ โดยประการนนั้ ๆ ในกายทสี่ ักวาเปน ทร่ี วมแหง ธรรมดงั กลาวแลว อยนู ั่นเอง. เพราะฉะนัน้ พระโบราณาจารยทง้ั หลายจึงกลา ววา ย ปสฺสติ น ต ทิฏ ย ทิฏ ต น ปสฺสติ อปสสฺ พชฌฺ เต มูฬโฺ ห พชฌฺ มาโน น มจุ ฺจติ บคุ คลเหน็ ส่ิงใด สิง่ น้นั กไ็ มไดเ หน็ สิง่ ใดเหน็ แลว กไ็ มเห็นสิ่งน้ัน เมื่อไมเห็น ก็หลงติด เม่อื ตดิ กไ็ มหลุดพน ดงั น.ี้ ทา นกลา วคํานี้ กเ็ พ่ือแสดงการแยกออกจากกอนเปน ตน. ดว ยศัพทวาอาทเิ ปนตน ในคาํ น้ีบณั ฑติ พึงทราบความดงั นี้. กภ็ ิกษนุ ี้ พจิ ารณาเหน็ กาย
พระสุตตนั ตปฎก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ท่ี 283ในกายนเี้ ทา น้ัน ทา นอธบิ ายวา มใิ ชพิจารณาเห็นธรรมอยา งอ่นื . คนทั้งหลายแลเห็นนา้ํ ในพยบั แดด แมท ่ีไมมนี าํ้ ฉนั ใด ภิกษุพจิ ารณาเหน็ กายอันนีว้ าเปนของไมเ ทย่ี ง เปน ทกุ ข ไมใ ชตวั ตน ไมส วยงามวา เปนของเทย่ี ง เปน สุขเปนตวั ตน และสวยงาม ฉนั นนั้ หามิได ท่ีแท พจิ ารณาเห็นกาย ทานอธิบายวา พิจารณาเห็นกายเปน ท่รี วมของอาการ คอื ไมเ ทย่ี ง เปน ทกุ ขมิใชตวั ตน และไมส วยงามตา งหาก. อกี อยา งหนึง่ ก็กายอนั นีใ้ ด ท่ีทานกลาวไวข างหนาวา มีลมอสั สาสะปส สาสะ เปน ตน มกี ระดูกทีป่ น เปนทส่ี ดุ ตามนยั พระบาลเี ปนตน วาดกู อนภิกษุท้งั หลาย ภกิ ษุในธรรมวนิ ัยนีไ้ ปปา ก็ดี ฯลฯ เธอมีสติหายใจเขา ดังน้ี และกายอนั ใดทท่ี านกลาวไวใ นปฏิสมั ภิทามรรค (ขุททกนิกาย) วาภกิ ษบุ างรปู ในธรรมวินัยนี้ พจิ ารณาเหน็ กายคือดนิ กายคือนา้ํ กายคือไฟกายคอื ลม กายคอื ผม กายคอื ขน กายคอื ผิวหนงั กายคือหนง่ึ กายคอื เนือ้กายคอื เลอื ด กายคือเอน็ กายคือกระดูก กายคือเย่อื ในกระดกู โดยความเปนของไมเทยี่ ง ดงั น้ี บณั ฑติ พึงทราบเน้อื ความของกายนัน้ ทัง้ หมด แมอ ยา งน้วี าภกิ ษุพจิ ารณาเห็นกายในกาย โดยพจิ ารณาเห็นในกายอนั นเี้ ทา นน้ั . อีกอยา งหนงึ่ พึงทราบความอยา งนวี้ า พิจารณาเห็นกาย ทน่ี บั วาเปน ทีร่ วมแหง ธรรมมผี มเปนตน ในกาย โดยไมพิจารณาเห็นสวนใดสว นหน่งึทพี่ งึ ถือวา เปนเรา เปน ของเราในกาย แตพจิ ารณาเหน็ กายนั้น ๆ เทา นน้ั เปนทีร่ วมแหงธรรมตาง ๆ มผี ม ขนเปน ตน. อนง่ึ พึงทราบความอยางนวี้ า พจิ ารณาเห็นกายในกาย แมโ ดยพจิ ารณาเห็นกายทีน่ บั วา เปนทีร่ วมแหง อาการ มีลกั ษณะไมเ ทยี่ ง เปน ตน ทัง้ หมดทีเดียวซ่งึ มนี ัยที่มาในปฏิสัมภทิ ามรรค ตามลาํ ดับบาลี เปน ตนวา พิจารณาเหน็ ใน
พระสตุ ตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ท่ี 284กายน้ี โดยความเปนของไมเทยี่ ง ไมใ ชโ ดยเปน ของเท่ยี งดงั นี้. จรงิ อยางนั้นภิกษุผูปฏิบตั ิ ปฏิปทา คือพิจารณาเหน็ กายในกายรปู นี้ ยอ มพจิ ารณาเหน็ กายอนั นีโ้ ดยเปน ของไมเท่ียง ไมใ ชเหน็ โดยเปน ของเทยี่ ง พจิ ารณาเห็นโดยเปนทุกข ไมใชเห็นโดยเปน สุข พิจารณาเห็นโดยมใิ ชตัวตน ไมใ ชเห็นเปนตัวตนดวยอํานาจ อนุปส สนา (การพจิ ารณาเห็น) ๗ ประการ มพี จิ ารณาเหน็ ความไมเ ท่ยี งเปนตน ยอ มเบอื่ หนาย มิใชยนิ ดี ยอมคลายกําหนัด มิใชกาํ หนัด ยอ มดบั ทุกข มิใชก อ ทุกข ยอ มสละ มใิ ชยดึ ถอื . ภกิ ษุนั้นเมื่อพจิ ารณาเหน็ กายอันนี้โดยความเปน ของไมเท่ียง ยอ มละนจิ จสัญญาความสาํ คัญวา เทยี่ งเสยี ได เมือ่พิจารณาเห็นโดยความเปน ทกุ ข ยอ มละทกุ ขสัญญาความสําคัญวาเปน สุขเสียไดเม่ือพิจารณาเหน็ โดยความเปนของไมใชต ัวตน ยอ มละอัตตสัญญาความสําคัญวาเปนตัวตนเสยี ได เมอ่ื เบ่ือหนา ย ยอมละความยนิ ดเี สียได เมอื่ คลายกําหนัดยอ มละความกําหนัดเสยี ได เมื่อดบั ทกุ ข ยอมละเหตเุ กดิ ทกุ ขเ สียได เมอ่ื สละยอ มละความยึดถือเสียได ดงั นี้ พึงทราบดังกลา วมาฉะนี้. คําวา อยู คอื เปนไปอย.ู คําวา มีเพยี ร มอี รรถวา สภาพใด ยอ มแผดเผากเิ ลสทงั้ หลายในภพทั้ง ๓ เหตนุ ัน้ สภาพน้นั ช่อื วา อาตาปะแผดเผากเิ ลส คาํ น้เี ปนช่ือของความเพยี ร. ความเพยี รของผูน้นั มีอยู เหตนุ ั้น ผนู ้นัชอ่ื วา อาตาปมีความเพียร. คําวา มสี มั ปชัญญะ คอื ผูประกอบดว ยความรูที่นับวา สมั ปชัญญะ. คําวา มสี ติ คอื ประกอบดวยสตกิ าํ กบั กาย. กภ็ ิกษรุ ูปนี้กาํ หนดอารมณ ดว ยสตพิ ิจารณาเห็นดวยปญ ญา ธรรมดาวาปญญาพิจารณาเห็นของผูเวน จากสติ ยอ มมีไมไ ด ดวยเหตนุ น้ั พระผมู ีพระภาคเจา จึงตรสั(สังยุตตนกิ าย มหาวารวรรค) วา ดกู อนภกิ ษุทั้งหลาย เรากลาววาสตแิ ลจาํ ปรารถนาในที่ทง้ั ปวง เพราะฉะนั้น ในทน่ี จี้ ึงตรสั วา ยอมพิจารณา เห็นกายในกาย อยู ดังนี้. กายานปุ สสนาสติปฏ ฐาน เปน อันทรงอธิบาย ดวย
พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 285ประการฉะนี.้ อกี อยางหนึง่ ความทอ แทภ ายใน ยอ มทําอนั ตรายแกผไู มมีความเพียร ผูไมมีสมั ปชัญญะ ยอ มหลงลมื ในการกาํ หนด อุบายในการงดเวนสง่ิ ท่มี ใิ ชอ บุ าย ผูมีสติหลงลืมแลว ยอ มไมสามารถในการกําหนดอบุ าย และในการสละสิง่ ท่ีไมใ ชอ ุบาย ดวยเหตุน้นั กัมมัฏฐานนน้ั ของภกิ ษนุ น้ั ยอมไมส าํ เร็จ เพราะฉะน้ัน กมั มัฏฐานนั้น ยอมสําเร็จดว ยอานุภาพแหง ธรรมเหลาใด เพ่ือทรงแสดงธรรมเหลาน้ัน พงึ ทราบวา พระผูมีพระภาคเจาตรสั วามเี พียร มสี ัมปชัญญะ มสี ติ. ทรงแสดงกายานปุ สสนาสติปฏ ฐาน และองคแหงสัมปโยคะ บัดนเ้ี พื่อจะทรงแสดงองคแ หง การละ จึงตรัสวา นาํ ออกเสยีซึ่งอภชิ ฌา และ โทมนัสในโลก. บรรดาคําเหลา นน้ั คาํ วา นาํ ออกเสีย หมายความวา นาํ ออกเสียดวยการนาํ ออกช่วั ขณะหรอื ดว ยการนําออกดว ยการขม ไว. คําวา ในโลกกค็ อืในกายอันนนั้ แหละ. จริงอยู กายในท่นี ี้ ทรงหมายถงึ โลก เพราะอรรถวา ชํารุดชุดโทรม. อภชิ ฌา และโทมนัส มิใชพระโยคาวจรนนั้ ละไดใ นอารมณเพยี งกายเทา น้นั แมในเวทนาเปนตน กล็ ะไดเ หมอื นกัน เพราะฉะนนั้ทา นจึงกลาวไวใ นวิภงั ค (สติปฏ ฐานวภิ งั ค) วา อุปาทานขนั ธ ๕ กช็ ื่อวาโลก.คําน้นั ทานกลาวตามนัยแหง การขยายความ เพราะธรรมเหลาน้นั นบัไดว าเปนโลก. แตท า นกลาวคาํ อนั ใดไวว า โลกเปนอยา งไร โลกก็คือกายอนั นั้นแหละ ความในคาํ น้นั มดี งั นี้แล. พงึ เหน็ การเช่อื มความดงั นว้ี า นาํ ออกเสียซง่ึ อภิชฌา และโทมนัสในโลกนั้น . กเ็ พราะในทน่ี ี้ กามฉันทร วมเขา กับศพั ทวา อภิชฌา พยาบาทรวมเขา กับศพั ทว าโทมนัส ฉะน้นั จงึ ควรทราบวาทรงอธบิ าย การละนิวรณดว ยการทรงแสดงธรรมอนั เปน คูที่มกี ําลงั นบั เนือ่ งในนวิ รณ. แตโดยพิเศษ ในที่น้ี ตรัสการละความยนิ ดที ีม่ กี ายสมบัตเิ ปนมลู ดวยการกาํ จัดอภิชฌา ตรัสการละความยนิ รายที่มกี ายวิบัติเปน มลู ดว ยการ
พระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 286กําจัดโทมนสั ตรัสการละความยินดียงิ่ ในกาย ดว ยการกาํ จัดอภิชฌา ตรสัการละความไมยินดีย่งิ ในการเจรญิ กายานปุ ส สนา ดว ยการกาํ จัดโทมนสั ตรัสการละกายของผูใสซ่ึงภาวะวางามเปนสขุ เปนตน ท่ไี มม จี รงิ ในกาย ดว ยการกําจดั อภิชฌาและตรสั การละการเอาออกไปซ่งึ ภาวะท่ีไมง าม เปน ทุกขเปนตนทีม่ อี ยูจรงิ ในกาย ดว ยการกาํ จัดโทมนัส. ดวยพระดาํ รสั นัน้ เปน อันทรงแสดงอานุภาพของความเพยี ร และความเปน ผูส ามารถในการประกอบความเพยี รของพระโยคาวจร. แทจ ริงอานุภาพของความเพยี รนนั้ กค็ ือ เปนผูห ลุดพน จากความยินดี ยนิ รา ย ครอบงาํ ความไมยินดี และความยนิ ดี และเวน จากใสสิง่ ท่ีไมมีจริง และนาํ ออกซง่ึ สง่ิ ที่มจี รงิ ก็พระโยคาวจรนน้ั เปน ผหู ลุดพนจากความยนิ ดียินราย เปน ผูครอบงําความไมยินดี และความยนิ ดี ไมใ สสงิ่ ทไ่ี มม จี รงิ ไมนําออกซึง่ สงิ่ ท่มี จี ริง จงึ ชือ่ วา เปนผูสามารถในการประกอบความเพียรดวยประการฉะนนั้ . อีกนัยหนึง่ . ตรสั กัมมฏั ฐานดวย อนุปส สนา ในคาํ ทีว่ า กาเย กายานปุ สฺสี พจิ ารณาเหน็ กายในกาย. ตรัสการบริหารกายของพระโยคาวจรบาํ เพญ็กัมมฏั ฐาน ดว ยวิหารธรรมทกี่ ลา วไวแลว ในคาํ นว้ี า วหิ รติอย.ู ก็ในคาํ เปนตน วา อาตาปมีความเพียร พงึ ทราบวา ตรสั ความเพียรชอบ ดว ยอาตาปะความเพยี รเครอ่ี งเผากิเลส ตรสั กัมมฏั ฐานทใี่ หสาํ เร็จประโยชนท ั่ว ๆ ไป หรอือุบาย เครือ่ งบรหิ ารกัมมัฏฐาน ดวยสติสัมปชัญญะ หรอื ตรสั สมถะ ทไ่ี ดมาดวยอาํ นาจกายานุปส สนา ตรัสวปิ สสนาดว ยสมั ปชญั ญะ ตรสั ผลแหง ภาวนาดว ยการกาํ จดั ซง่ึ อภิชฌา และโทมนัสฉะน.ี้ บาลวี ิภงั ค สว นในบาลีวิภงั ค กลา วความของบทเหลา นนั้ ไวอยา งนวี้ า บทวาอนุปสฺสี ความวา อนุปส สนาในคาํ นัน้ เปนอยางไร ความรอบรู ความรูท ่วั
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 287ฯลฯ ความเหน็ ชอบ น้ีเรียกอนปุ สสนา บุคคลไดป ระกอบแลว ประกอบพรอมแลว เขาไปแลว เขา ไปพรอ มแลว เขา ถงึ แลว เขาถงึ พรอ มแลว มาตามพรอมแลว ดว ยอนุปส สนานี้ เหตนุ นั้ บคุ คลนัน้ จงึ เรยี นวา อนุปสสฺ ี. บทวา วหิ รติแปลวา เปนอยู เปนไปอยู รกั ษาอยู ดาํ เนนิ ไปอยู ใหอัตตภาพดาํ เนนิ ไปอยูเที่ยวไปอยู เหตนุ นั้ จงึ เรียกวา วิหรติ. บทวา อาตาป ผมู เี พยี ร ความวาอาตาปะ ความเพียรในคาํ น้ันเปน อยา งไร การปรารภความเพยี รเปน ไปทางใจฯลฯ สัมมาวายามะใด นเ้ี รียกวา อาตปะ บคุ คลผูป ระกอบดวยอาตาปะนี้ เหตนุ น้ับุคคลน้นั จงึ เรียกวาอาตาป. บทวา สมปฺ ชาโน ความวา สมั ปชัญญะ ในคํานน้ั เปน อยางไร ความรอบรู ความรูท ่ัว ฯลฯ ความเหน็ ชอบ น้ีเรียกวา สัมปชญั ญะบคุ คลใดประกอบแลว ฯลฯ มาตามพรอ มแลว ดว ยสมั ปชญั ญะนี้ เหตุน้นับคุ คลนนั้ จงึ เรียกวา สมปฺ ชาโน. บทวา สตมิ า ความวา สตใิ นคํานัน้เปน อยางไร ความระลึกได ความระลึกถงึ ฯลฯ ความระลกึ ชอบ นีเ้ รียกวาสติ บคุ คลใดประกอบแลว ฯลฯ มาตามพรอมแลวดวยสตนิ ้ี เหตนุ ั้น บคุ คลนนั้ จงึ เรียกวาสตมิ า. ขอ วา วเิ นยยฺ โลเก อภชิ ฌฺ าโทมนสสฺ ความวาโลกในคาํ นั้น เปนอยางไร กายนัน้ แล ช่ือวา โลก อุปาทานขันธแ มทงั้ ๕ ก็ชื่อวาโลก นี้เรยี กวาโลก. อภชิ ฌาในคาํ นั้นเปน อยางไร ความกาํ หนดั ความกาํ หนัดนัก ความดีใจ ความยนิ ดี ความเพลิดเพลนิ ความกาํ หนดั ดวยอํานาจความเพลิดเพลนิ ความกําหนดั นักแหงจติ นเ้ี รียกวา อภชิ ฌา โทมนัสในคาํ นั้นเปนอยางไร ความไมสําราญทางใจ ทกุ ขท างใจ ฯลฯ เวทนาทไ่ี มสําราญเปนทกุ ข อันเกิดแกส มั ผัสทางใจ น้ีเรยี กวา โทมนัส อภชิ ฌา และโทมนสั น้ีเปน อนั พระโยคาวจรกําจัด เสยี แลว นําออกไปแลว สงบแลว ใหสงบแลว ใหระงบั แลว ใหถ ึงความต้ังอยูไมไดแ ลว ใหถึงความสาบศนู ยแลว ใหถ ึงความไมมแี ลว ใหถงึ ความยอยยบั แลว ใหเหอื ดแหงแลว ใหแหง ผากแลว
พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 288ทาํ ใหถ งึ ทสี่ ุดแลว เหตนุ ้นั จงึ ตรัสวา วเิ นยยฺ โลเก อภิชฌฺ า โทมนสฺสดังน.้ี นยั ที่มาในอรรถกถานี้ กบั บาลวี ิภงั คนน้ั บณั ฑติ พึงทราบไดโ ดยการเทยี บกัน. พรรณนาความแหง อทุ เทสท่วี า ดวย กายานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐาน มเี พยี งเทา น้ีกอ น.อทุ เทสวารแหง เวทนาจิตตธมั มานปุ ส สนา บดั น้ี จะวนิ จิ ฉยั ในคําวา ภิกษุพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย จติ ในจติ ธรรมในธรรมท้งั หลาย อยู ฯลฯ กําจัดอภชิ ฌา และโทมนัสในโลก ดังน้ี ประโยชนในอนั จะกลา วซํา้ เวทนาเปนตน ในคาํ ซงึ่ มีอาทิอยางน้วี า เวทนาสุ เวทนานปุ สสฺ ี พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย พงึ ทราบโดยนัยทกี่ ลาวมาแลวในกายานุปสสนาน่นั แล. อนึ่ง ในขอทวี่ า พิจารณาเหน็เวทนาในเวทนาทงั้ หลาย พจิ ารณาเห็นจิตในจิต พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทง้ั หลาย น้ี มวี นิ ิจฉัยดังน้ี เวทนาไดแ กเวทนา ๓ กเ็ วทนา ๓ นนั้ เปนโลกยิ ะอยางเดียว แมจิตกเ็ ปนโลกยิ ะ ธรรมทัง้ หลายก็เปนโลกยิ ะเหมือนกัน. การจําแนกเวทนาจติ ธรรมน้นั จกั ปรากฏในนิทเทสวาร. สว นในอุทเทสวารนี้ภกิ ษผุ ูพจิ ารณาเวทนา ๓ นน้ั โดยประการทีค่ นพงึ พิจารณาเห็นกพ็ งึ ทราบวาเปนผพู จิ ารณาเห็นเวทนาในเวทนาทัง้ หลาย. แมใ นจติ และธรรมก็นยั นี้เหมอื นกนั . ถามวา จะพึงพจิ ารณาเห็นเวทนาอยางไร. ตอบวา พึงพจิ ารณาเห็นสขุ เวทนา โดยความเปนทกุ ข เห็นทกุ ขเวทนาโดยเปนดจุ ลูกศร เห็นอทกุ ขมสุขเวทนา โดยความเปนของไมเทีย่ ง. ดงั ทตี่ รสั ไววา
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 289โย สุข ทุกฺขโต อทฺท ทกุ ฺขมททฺ กขฺ ิ สลลฺ โตอทกุ ฺขมสขุ สนตฺ อททฺ กฺขิ น อนิจจฺ โตส เว สมมฺ ททฺ โส ภิกฺขุ อุปสนโฺ ต จริสสฺ ติภกิ ษใุ ดเหน็ สุขเวทนาโดยความเปนทุกข เหน็ ทกุ ขเวทนาโดยความเปนดังลกูศร เห็นอทกุ ขมสุขเวทนาที่มีอยูโ ดยความเปน ของไมเ ท่ียง ภกิ ษุนัน้ แล เปน ผูเห็นชอบ จักเปน ผูสงบเทีย่ วไป ดงั นี.้อนึ่ง พระโยคาวจรพงึ พจิ ารณาเห็นเวทนาท้งั หมดนั้นแหละ โดยความเปน ทกุ ขด ว ย. สมจริง ดังทตี่ รัสไวด ังนี้วา เรากลาวเวทนาทกุ อยางบรรดามีอยใู นทกุ ขท ้ังนั้น. พึงพิจารณาเหน็ เวทนาโดยความเปน สุข เปน ทกุ ข (เปลี่ยนเวียนกนั ไป). ดังทตี่ รัสไววา สุขเวทนา เปนสขุ เม่ือเกดิ ข้นึ เมอื่ ตง้ั อยูเปน ทกุ ขเ มอ่ื แปรไป ดงั น้ี คาํ ท้ังหมด ผูศึกษาพึงเขา ใจใหก วางขวาง.อนง่ึ พระโยคาวจร พงึ พจิ ารณาเหน็ แมดว ยอํานาจอนปุ สสนา ๗ มีอนจิ จานปุ ส สนา เปน ตน. ขอควรกลา วน้ียงั เหลอื จักปรากฏในนิทเทสวารแล.กอนอนื่ บรรดาจิตและธรรม จิตอนั พระโยคาวจร พึงพจิ ารณาเห็นดวยอาํ นาจประเภทแหง จิตอันตา ง ๆ กัน มอี ารัมมณจิต อธปิ ติจติ สหชาตจติภมู จิ ติ กมั มจิต วปิ ากจิตและกริ ิยาจิต เปนตน และดว ยอํานาจประเภทแหงจิต มจี ติ มีราคะเปนตน ซ่ึงมาในนิทเทสวารแหงอนุปส สนา มีอนิจจานุปสสนาเปน ตน . ธรรมอนั พระโยคาวจร พึงพิจารณาเห็นดว ยอํานาจแหง ลกั ษณะเฉพาะตนและลักษณะทว่ั ไป และแหงธรรมท่ีเปนสภาพวางเปลา และดว ยอาํ นาจประเภทแหง ธรรมมธี รรมอนั มีสงบเปนตน ซงึ่ มาในนทิ เทสสวาร แหง อนปุ ส สนา๗ มีอนิจจานปุ ส สนาเปน ตน. คําทีเ่ หลอื มนี ยั ดงั กลา วมาแลว ท้งั นน้ั .
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 290 อภชิ ฌา และโทมนสั ในโลกคือ กาย อันพระโยคาวจรใดละไดแลวในกายานปุ สสนาสติปฏ ฐานนี้ แมอ ภิชฌา และโทมนัสในโลก คือเวทนาเปน ตนกเ็ ปนอนั พระโยคาวจรน้นั ละไดแลว เหมือนกนั กจ็ ริงอยู ถึงดังน้ัน พระผูมี-พระภาคเจากย็ ังตรสั การละอภชิ ฌา และโทมนัสไวในสติปฏฐานทกุ ขอ ดว ยอาํ นาจแหง บคุ คลตาง ๆ กนั และดวยอํานาจแหง สติปฏ ฐานภาวนา อันเปน ไปในขณะจิตตา งกนั . อีกนยั หนึ่ง เพราะอภิชฌา และโทมนสั ทีล่ ะไดใ นสติปฏ ฐานขอหนง่ึ ถึงในสติปฏ ฐานทเี่ หลือทัง้ ๓ ขอ ก็เปน อนั ละไดเ หมอื นกัน. เพราะฉะนัน้ แล จงึ ควรทราบวา การละอภชิ ฌา และโทมนัสน้ี ตรสั ไวเพอ่ื ทรงแสดงการละในสตปิ ฏ ฐานเหลาน้นั ของภกิ ษนุ ้นั ฉะน้ันแล. จบอุทเทสวารกถา
พระสุตตนั ตปฎก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 291 นิทเทสวารกถา กายานปุ ส สนาสติปฏ ฐาน สัมมาสตมิ อี ารมณ ๔ นายชางจกั สานผฉู ลาด ประสงคจะทาํ เคร่ืองใช เชน เส่อื หยาบเสอ่ื ออ น เตียบ ลงุ และฝาชีเปนตน ไดไ มไ ผล าํ ใหญม าลาํ หนงึ่ ตัดเปน ๔ ทอ นแลว พึงเอาทอน ๆ หนงึ่ แต ๔ ทอ นน้ันมาผาออกทําเปนเครือ่ งใชนนั้ ๆ แมฉันใด พระผมู พี ระภาคเจา ก็ฉนั น้ันเหมอื นกัน บดั นี้ ทรงประสงคจะทาํ สตั วทัง้ หลายใหบรรลคุ ุณวเิ ศษตา ง ๆ ดว ยการทรงแสดงสตปิ ฏ ฐานจาํ แนกสัมมาสติอยางเดยี วเทานน้ั ออกเปน ๔ สวน ดว ยสามารถแหง อารมณ โดยนัยเปน ตนวา สติปฏ ฐาน ๔ เปน อยางไร ภกิ ษุในธรรมวนิ ัยน้ี พิจารณาเห็นกายในกายอยู ดงั น้ี ทรงถอื เอาสตปิ ฏ ฐานแตล ะอยาง จาก ๔ อยางนนั้ เม่ือจะทรงจําแนกกาย จงึ ทรงเร่มิ ตรัส นทิ เทสวาร โดยนยั เปน ตนวา กถจฺ ภิกขฺ เว. อธิบายศัพทใ นปุจฉวา ในนิทเทสวารนัน้ คาํ วา กถฺจ อยา งไรเลา เปน ตน เปน คาํ ถามดวยหมายจะขยายใหก วางขวาง. กแ็ ล ความยอในปุจฉวารน้มี ีดงั นว้ี า ดูกอ นภกิ ษุทง้ั หลาย ภิกษุพจิ ารณาเห็นกายในกายโดยประการไรเลา. ในปุจฉวารทกุ ขอกน็ ยั น.้ี ขอ วา ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย ภกิ ษุในธรรมวนิ ัยน้ี คือภกิ ษุในพระศาสนานี.้ ก็อธิ ศัพทในคาํ น้ี เปน เครื่องแสดงศาสนา อันเปน ท่ีอาศยั อยา งดี
พระสตุ ตนั ตปฎก ทฆี นิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ท่ี 292ของบุคคลผบู าํ เพญ็ กายานุปส สนาสตปิ ฏ ฐานทุกประการ ใหเ กดิ ขนึ้ แลว และเปน เคร่อื งปฏิเสธความไมเ ปนจรงิ ของศาสนาอื่น. สมจริง ดงั ทีต่ รสั ไว (ในจูฬ-สหี นาทสตู ร มชั ฌิมนกิ าย มูลปณณาสก) วา ดูกอนภิกษทุ ั้งหลาย สมณะท่ี๑-๒-๓-๔ มอี ยใู นศาสนาน้เี ทา นัน้ ศาสนาอ่ืนวา งเปลาจากสมณะผูเปนพระอรหันตท ง้ั หลาย เพราะฉะนั้น จงึ ตรัสวาภิกษใุ นศาสนานี.้ อานาปานบรรพ คําวา ภิกษไุ ปปากด็ ี ไปทโ่ี คนไมก็ดี ไปยงั เรอื นวางก็ดี น้ีเปนเครอื่ งแสดงการกําหนดเอาเสนาสนะอนั เหมาะแกการเจริญสตปิ ฏ ฐาน ของภิกษนุ ้นั . เพราะจติ ของเธอซานไปในอารมณท ั้งหลาย มรี ูปเปนตน มานานยอมไมป ระสงคจ ะลงสูว ถิ ีแหงกมั มัฏฐาน คอยแตจะแลน ออกนอกทางทาเดียวเหมอื นเกวยี นท่เี ทียมดว ยโคโกงฉะน้ัน. เพราะฉะนน้ั ภกิ ษผุ ูจ ะเจรญิ สตปิ ฏ ฐานน้ีประสงคจะทรมานจติ ท่ีรา ย ทเ่ี จริญมาดวยการดื่มรส มีรปู ารมณเ ปน ตนมานาน พงึ พรากออกจากอารมณเชน รูปารมณเปน ตน แลวเขา ไปปากไ็ ดโคนไมก ไ็ ด เรือนวางก็ได แลว เอาเชือก คอื สตผิ กู เขา ไวท หี่ ลัก คอื อารมณของสติปฏ ฐานน้ัน จิตของเธอนัน้ แมจะดิน้ รนไปทางน้นั ทางน้ี เมือ่ ไมไ ดอารมณท ค่ี นุ เคยมากอน ไมอ าจตดั เชอื ก คือสติใหข าดแลวหนไี ปไดก ็จะแอบแนบสนทิ เฉพาะอารมณนนั้ อยางเดยี ว ดว ยอํานาจเปน อุปจารภาวนา และอปั ปนาภาวนา เหมอื นอยางคนเลยี้ งโค ตองการจะทรมานลกู โคโกง ทด่ี ่มื นมแมโคตวั โกงจนเตบิ โต พงึ พรากมนั ไปเสียจากแมโ ค แลว ปก หลักใหญไ วหลักหนงึ่ เอาเชือกผูกไวท ี่หลกั นนั้ ครั้งน้ันลูกโคของเขานั้น กจ็ ะด้นิ ไปทางโนนทางนี้ เมอื่ ไมอาจหนไี ปได ก็หมอบ หรอื นอนแนบหลักนั้นนน้ั แล ฉะนน้ั .เหตุนั้น พระโบราณาจารยจึงกลา ววา
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนา ที่ 293 ยถา ถมฺเภ นิพนฺเธยฺย วจฺฉ ทม นโร อธิ พนฺเธยเฺ ยว สก จติ ฺต สติยารมฺมเณ ทฬหฺ นรชนในพระศาสนานี้ พึงผูกจติ ของตนไวในอารมณใหมั่นดว ยสติ เหมือน คนเล้ียงโค เมื่อจะฝกกลกู โค พึงผูกมนั ไว ที่หลกั ฉะนน้ั . เสนาสนะนี้ ยอ มเหมาะแกก ารเจริญสติปฏ ฐานของภกิ ษุผูเจริญสติปฏ -ฐานน้ัน ดวยประการฉะน.้ี เพราะฉะน้ัน ขา พเจาจงึ กลา ววา คํานี้ เปน เครื่องแสดงการกําหนดเสนาสนะอันเหมาะแกก ารเจริญสติปฏฐาน ของภิกษนุ ัน้ ดงั นี้.เสนาสนะทีเ่ หมาะแกการเจรญิ อานาปานสติ อีกอยางหนึง่ เพราะพระโยคาวจรไมละ ละแวกบา นอันออ้ื อึงดวยเสียงหญิงชาย ชา งมาเปน ตน จะบาํ เพญ็ อานาปานสตกิ มั มฏั ฐาน อันเปนยอดในกายานุปส สนา เปนปทัฏฐานแหง การบรรลคุ ณุ วเิ ศษ และธรรมเคร่อื งอยูเปนสขุ ในปจจบุ นั ของพระพุทธเจา พระปจ เจกพุทธเจา และพระสาวกทงั้ ปวงนใ้ี หสาํ เร็จ ไมใชทาํ ไดงา ย ๆ เลย เพราะฌานมีเสียงเปนขาศึก แตพ ระโยคาวจรกําหนดกมั มฏั ฐานนีแ้ ลว ใหจ ตตุ ถฌาน มอี านาปานสตเิ ปน อารมณ เกดิ ข้ึนทาํ ฌานน้ันนน่ั แล ใหเปน บาท พิจารณาสังขารทงั้ หลาย แลว บรรลุพระอรหตัซึง่ เปน ผลอนั ยอดจะทาํ ไดง าย กแ็ ตใ นปา ทไ่ี มมีบา น ฉะนน้ั พระผูมพี ระภาคเจาเมอ่ื จะทรงแสดงเสนาสนะอันเหมาะแกภ กิ ษโุ ยคาวจรนัน้ จึงตรสั วา อรฺ-คโต วา ไปปากด็ ี เปน ตน . กพ็ ระผมู ีพระภาคเจา เปรยี บเหมอื นอาจารยผรู ชู ัยภูมิ. อาจารยผ รู ชู ัยภูมิเหน็ พืน้ ทค่ี วรสรางนครแลว ใครค รวญถถ่ี วนแลว ก็ชี้วา ทานทง้ั หลาย
พระสตุ ตันตปฎก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๒ - หนาท่ี 294จงสรางนครตรงนี้ เม่อื เขาสรา งนครเสร็จ โดยสวสั ดีแลว ยอมไดร บั ลาภสกั การะอยา งใหญ จากราชสกลุ ฉันใด พระผมู พี ระภาคเจานนั้ ก็ฉนั นัน้ทรงใครครวญถึงเสนาสนะอนั เหมาะแกพระโยคาวจรแลวทรงช้วี า เสนาสนะตรงน้ี พระโยคาวจรควรประกอบกัมมัฏฐานเนือง ๆ ตอแตน น้ั พระโยคเี จรญิกัมมฏั ฐานเนือง ๆ ในเสนาสนะนนั้ ไดบรรลุพระอรหตั ตามลาํ ดับยอมทรงไดรับสกั การะอยางใหญว า พระผูมพี ระภาคเจา พระองคน ้นั ทรงเปนผูตรสั รเู องโดยชอบ จรงิ หนอ. กภ็ ิกษุนท้ี า นกลาววา เปน เชนเดยี วกับเสอื เหลอื ง. เหมอื นอยางพระยาเสอื เหลอื งขนาดใหญอ าศัยพงหญาปาชัฏ หรือเทอื กเขาในปา ซอนตัวคอยจับหมูม ฤค มกี ระบอื ปา ละมัง หมูปา เปน ตน ฉันใด ภิกษนุ ี้ผมู เี พยี รประกอบเนือง ๆ ซงึ่ กัมมัฏฐานในปาเปน ตน ยอ มถอื เอาซ่งึ มรรค ๔ และอริยผล ๔ ไดตามลาํ ดับฉนั นน้ั เหมือนกัน. เพราะเหตนุ นั้ พระโบราณาจารยจงึ กลาววา. ยถาป ทปี โก นาม นลิ ยี ติ วฺ า คณหฺ ตี มเิ ค ตเถวาย พทุ ฺธปุตโฺ ต ยตุ ฺตโยโค วปิ สสฺ โก อรฺ ปวิสติ ฺวาน คณฺหติ ผลมตุ ตฺ ม อนั เสือเหลืองซอนตัวคอยจับหมู มฤคฉนั ใด ภิกษผุ ูเ ปนพทุ ธบุตรน้ีก็ฉันนนั้ เหมือนกนั เขา ไปสูปาแลว ประกอบ. ความเพียร เปน ผมู ีปญญาเหน็ แจง (เจริญ วปิ ส สนา) ยอมถือไวไ ดซ งึ่ ผลอันสงู สุด ได. เพราะฉะนั้น พระผูมีพระภาคเจา เมื่อจะทรงแสดงเสนาสนะปา อนัเปนภมู ทิ เ่ี หมาะแกชวนปญ ญา อนั เปนเครอ่ื งบากบนั่ ของพระโยคาวจรน้ันจึงตรสั วา อรฺ คโตวา ไปปา กด็ ี เปน ตน .
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411