Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_55

tripitaka_55

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:42

Description: tripitaka_55

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 101กม็ ไี ด เมอื่ ความเรา รอ นทั้งหลายในกเิ ลสท้ังปวงมฐี านะและทิฏฐิเปนตน ดับแลว ขึ้นชื่อวาความดับทกุ ขก ม็ ไี ด พระนางใหเ ราไดฟ ง คําทดี่ ี ความจรงิ เราก็กําลังเท่ยี วแสวงหานิพพานอยู เราควรจะทิ้งฆราวาสออกไปบวชและแสวงหานิพพานเสยี วนั น้ีทเี ดยี ว แลว ทรงปลดสรอยไขมกุ มคี า พันหนง่ึ จากพระศอกสง ไปมอบใหแกพ ระนางกิสาโคตมี ดว ยทรงดํารวิ า นจี้ งเปนอาจรยิ ภาค[คา เลา เรยี นของครู] สําหรับพระนางเถิด. พระนางเกิดปต ิและโสมนสั วาสิทธัตถราชกุมารมจี ิตรักใครใ นเรา จงึ สง บรรณาการมาให. ฝา ยพระโพธสิ ตั ว เสดจ็ ข้ึนสูปราสาทของพระองค ดวยพระสิรโิ สภาคยอันใหญหลวง เสดจ็ บรรทมบนพระสิรไิ สยาสน ในทันใดนั่งเอง เหลาสตรีผูประดบั ประดาดว ยเครื่องประดบั ทุกอยา ง ไดศ ึกษามาดแี ลว ในเรอ่ื งการฟอ นและการขับเปนตน ทง้ั มรี ปู โฉมเลอเลศิ ประดจุ ดังนางเทพกัญญา ถือเอาดนตรีนานาชนดิ มาลอ มวงเขาแลว บําเรอพระโพธสิ ตั วใ หรนื่ รมย ตา งพากนั แสดงการฟอนรําขบั รองและการบรรเลง พระโพธิสัตวเ พราะเหตทุ พ่ี ระองคทรงมพี ระทัยคลายกําหนัดแลวในกิเลสทัง้ หลาย จงึ มติ รงอภิรมยในการฟอ นราํ เปน ตน ครูเดยี วกท็ รงเขาสูน ทิ รา พวกสตรีเหลา นน้ั คดิ วา พวกเราแสดงการฟอ นราํเปนตน เพอื่ ประโยชนแ กพ ระราชกุมารใด พระราชกุมารนน้ั ทรงเขาสูนิทราแลว บัดนี้ จะลาํ บากไปเพอื่ อะไร ตา งพากันวางเครอ่ื งดนตรีท่ถี อื ไว ๆ ลงแลวก็นอนหลบั ไป ควงประทีปนํ้ามนั หอมยงั คงลุกไหมอยู พระโพธิสัตวท รงตน่ื บรรทม ประทบั นั่งขัดสมาธิบนพระแทนบรรทม ไดท อดพระเนตรเห็นสตรีเหลา น้ัน นอนหลับทับเคร่อื งดนตรีอยู บางพวกมนี า้ํ ลายไหล มีตัวเปรอะเปอนดว ยนํ้าลาย บางพวกกัดฟน บางพวกกรน บางพวกละเม่ือ บางพวกอาปาก บางพวกผานงุ หลดุ ลุย ปรากฏใหเห็นอวัยวะสตรเี พศท่นี าเกลยี ด พระโพธิสัตวทอด

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 102พระเนตรเหน็ อาการผดิ ปกติของสตรเี หลา น้ัน ไดท รงมพี ระทัยคลายกาํ หนดัในกามทั้งหลายเปน อยา งมาก พ้นื [ปราสาท] ใหญน ั้นประดบั ประดาตกแตงแลวแมจ ะเปน เชน กับพิภพของทา วสักกะ ไดป รากฏแกพ ระโพธิสัตวนัน้ ประหนง่ึวา ปา ชาผีดิบ ทกี่ องเต็มไปดวยซากศพตา ง ๆ ที่เขาทิง้ ไว ภพสามปรากฏประหน่ึงวา เรือนท่ีไฟลุกไหม พระอุทานจงึ มขี ้ึนวา วนุ วายจริงหนอ ขัดของจริงหนอ พระทัยทรงนอมไปในการบรรพชาเหลอื เกิน. พระโพธิสตั วทรงดาํ รวิ า ควรเราจะออกมหาภิเนษกรมนเสียวันนี้ทีเดยี ว จงึ เสด็จลกุ ข้ึนจากที่บรรทม ไปยังทใ่ี กลป ระตตู รสั วา ใครอยูในทน่ี ้ีนายฉนั นะนอนเอาศรี ษะหนุนธรณปี ระตูอยูทูลตอบวา ขา แตพระลุกเจา ขา พระ-องคฉ ันนะ. นแ่ี นะฉันนะ วันนี้เรามปี ระสงคจะออกมหาภิเนษกรมน จงจัดหามาใหเราตัวหน่ึง เขาทลู รบั วา ไดพระเจาขา แลว เอาเครือ่ งแตงมาไปยงั โรงพักมา เมอ่ื ดวงประทีปนํ้ามันหอมลกุ โพลงอยู เหน็ พระยามา กณั ฐกะยนื อยบู นภูมิภาคนารืน่ รมย ภายใตเพดานทีข่ งึ ไวโ ดยรอบ คิดวา วันน้ีเราควรจัดมากัณฐกะตัวนีแ้ หละถวาย จงึ จัดมา กณั ฐกะถวาย มา กณั ฐกะนั้นเมอ่ื เขาจัดเตรียมอยไู ดรวู า การจดั เตรียมเราคราวน้กี ระชบั แนน จริงไมเหมือนกบั การจดั เตรียมในเวลาเสด็จไปทรงเลนในพระราชอุทยานในวนั อ่ืนเปน ตน วันน้ีพระลูกเจาของเราคงจักทรงมีพระประสงคจ ะเสด็จออกมหาภิเนษกรมน ทีน้ันมใี จยนิ ดีจงึ รองเสียงดงั ล่ันไปหมด เสียงนนั้ พงึ ดงั ลั่นกลบทั่วพระนครทัง้ สนิ้ แตเ ทวดาคอยปด กั้นไวม ใิ หใคร ๆ ไดยิน ฝายพระโพธิสัตวท รงใชน ายฉันนะไปแลวทรงดําริวา เราจกั ดูลูกเสยี กอน จึงเสดจ็ ลกุ ขน้ึ จากที่ประทบั น่งั ขดั สมาธิ ไปยังทีบ่ รรทมของพระมารดาของพระราหุล เปด พระทวารหอ งแลว ในขณะนั้นประทีปที่เตม็ ดวยนา้ํ มันหอมยงั คงลุกไหมอยู แมพ ระราหลุ มารดาก็บรรทมวาง

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 103พระหัตถบนพระเศียรของพระโอรส บนท่บี รรทมอันเกล่อื นกลน ไปดว ยดอกมะลซิ อนและดอกมะลลิ าเปน ตน ประมาณ ๑ อัมมณะ [มาตราตวงขาวสารมนี า -หนัก ๑๑ โทณะ (ทะนาน)] พระโพธิสัตวป ระทับยืนวางพระบาทบนธรณีประตนู ่นั แหละ ทอดพระเนตรดแู ลว ทรงดาํ รวิ า ถา เราจกั จบั มอื พระเทวอี อกแลวจับลูกของเรา พระเทวจี ักตื่น เมือ่ เปน เชน นีอ้ ันตรายแหงการไปจักมีแกเรา แมเราเปน พระพทุ ธเจาแลว กจ็ ักมาเยี่ยมลกู ได ดังนจี้ ึงเสด็จลงจากพน้ืปราสาทไป กค็ ําท่ที านกลา วไวใ นอรรกถาชาดกวา ตอนนัน้ พระราหลุ กมุ ารประสตู ิได ๗ วนั ไมมีในอรรกถาทเ่ี หลือ เพราะฉะนนั้ พงึ ถือเอาคํานี้นแ่ี หละ. พระโพธิสัตวเสด็จลงจากพื้นปราสาทโดยประการน้แี ลว ไปใกลม าแลวตรสั วา น่ีแนะพอ กัณฐกะ วนั นเี้ จา จงใหเราขา มฝง สกั คืนหน่งึ เถิด เราอาศยัเจา เปน พระพุทธเจาแลว จักใหโลกพรอ มท่งั เทวโลกขามฝงดว ย. ทีนัน้ พระ-โพธสิ ตั วก ็ทรงกระโดดข้ึนหลังมากัณฐกะ. มากณั ฐกะโดยยาววดั ได ๑๘ ศอกเรมิ่ แตค อประกอบดวยสว นสูงกเ็ ทากนั สมบูรณดวยกําลงั และความเรว็ ขาวลว นประดจุ สังขทข่ี ัดสะอาดแลว. ถา มากณั ฐกะนั้นพงึ รองหรอื ยา่ํ เทา เสียงก็จะดังกลบท่ัวพระนครหมด เพราะเหตุนัน้ เทวดาจึงกัน้ เสยี งรอ งของมาน้ัน โดยอาการท่ีใคร ๆ จะไมไ ดย นิ ดวยอานภุ าพของตน. พระโพธิสัตวเ สดจ็ ขึ้นสู หลังมาตวัประเสริฐ ทรงใหน ายฉนั นะจับทางของมา ไวเ สด็จถึงที่ใกลประตใู หญตอนเที่ยงคืน กใ็ นกาลน้ันพระราชาทรงดาํ รวิ า พระโพธสิ ัตวจ กั ไมสามารถเปด ประตูพระนครออกไปได ไมว า ในเวลาใด ๆ จงึ รบั สง่ั ใหกระทาํ บานประตูสองบานแตละบาน บุรษุ พันคนจงึ จะเปดไดดวยประการฉะนี้. พระโพธสิ ัตวทรงสมบูรณพ ระกําลังย่ิง ทรงมีพระกาํ ลงั เมอ่ื เทยี บกบั ชางกน็ ับไดพ ันโกฏิ เมอื่เทียบกับบรุ ุษ กท็ รงมพี ระกาํ ลงั นบั ไดสิบแสนโกฏิ. เพราะฉะนัน้ พระองคจ งึ

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 104ทรงดาํ ริวา ถาประตูไมเ ปด วันนเ้ี รานั่งอยบู นหลังมากัณฐกะนแี่ หละจักเอาขาออ นหนีบมากณั ฐกะแลว กระโดดขา มกาํ แพงซึง่ สูงได ๑๘ ศอกไป. นายฉันนะก็คิดวา ถาประตไู มเ ปด เราจักใหพระลกู เจาประทบั นงั่ ทค่ี อของเราแลว เอาแขนขวาโอบรอบมากณั ฐกะท่ีทอ ง กระทําใหอ ยูในระหวา งรกั แร จกั กระโดดขา มกาํ แพงไป แมม า กัณฐกะกต็ ิดวา ถา ประตูไมเ ปดเราจกั ยกนายของเราทัง้ ๆท่นี ั่งอยูบ นหลงั นแ่ี หละ พรอมกนั ทเี ดยี วกับนายฉันนะผจู ับทางยนื อยู กระโดดขา มกาํ เเพงไป ถา ประตูจะไมมใี ครเปดให บรรดาคนท้ังสามคนใดคนหน่ึงคงจะทําสมกับท่ีคิดไวแนเเทเ ทวดาผสู ิงอยทู ีป่ ระตเู ปดประตใู ห. ในขณะนน้ั นั่นเอง มารผมู บี าปมาดว ยคดิ วา เราจกั ใหพ ระโพธสิ ตั วกลับ แลว ยนื อยูในอากาศทูลวา ขา แตท านผูนริ ทุกขผ ูเ จริญ ทา นอยาออกไปในวันท่ี ๗ นับเเตว นั นี้ไปจักรรัตนะจักปรากฏแกท าน ทา นจักครอบครองราชสมบตั แิ หงทวีปใหญทง้ั ๔ มีทวปี นอยสองพนั เปน บริวาร ขา แตทา นผูนริ ทกุ ขทานจงกลบั เสยี เถดิ . จงึ ตรสั ถามวา ทา นเปน ใคร. มารตอบวา เราเปนวสวัตดมี าร. ตรัสวา ดูกอนมาร เราทราบวา จักรรัตนะจะปรากฏแกเ รา เราไมมีความตอ งการดว ยราชสมบัตินน้ั เราจกั ไหห ม่นื โลกธาตุบรรลอื แลน แลวเปนพระพุทธเจา . มารกลาววา นับตงั้ แตบัดน้เี ปนตน ไป ในเวลาทที่ านทรงดําริถงึ กามวติ กกด็ ี พยาบาทวติ กกด็ ี วหิ งิ สาวิตกก็ดี เราจักรดู ังนี้ คอยแสวงหาชอ งอยู ติดตามพระองคไปประดจุ เงา. ฝายพระโพธิสัตวมไิ ดมีความอาลัยละทงิ้ จกั รพรรดริ าชสมบตั อิ ันอยใู นเงอื้ มพระหัตถ ประหนึ่งท้งิ กอนเขฬะเสด็จออกจากพระนครดวยสักการะอันใหญกแ็ หละในวันเพญ็ เดอื นอาสาฬหะ เดือน ๘ เม่ือนักขตั ฤกษใ นเดอื นอตุ ตรา-สาฬหะ เดอื น ๘ หลงั กําลังดาํ เนนิ ไปอยู ครัน้ เสดจ็ ออกจากพระนครแลว มีพระประสงคจ ะแลดูพระนคร. ก็แหละเม่อื พระโพธิสตั วน้นั มีความคิดพอเกิด

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 105ข้ึนเทา น้ัน ปฐพีประหนง่ึ จะทลู วา ขา แตพ ระมหาบุรษุ พระองคไ มต อ งหันกลับมากระทําการทอดพระเนตรดอก จงึ แยกหมนุ กลบั ประดจุ จักรของนายชา งหมอ .พระโพธิสตั วป ระทบั ยนื บายพระพักตรไปทางพระนคร ทอดพระเนตรดพู ระ-นครแลว ทรงแสดงเจดยี สถานเปนทก่ี ลบั ของมากณั ฐกะ ณ ทีน่ ัน้ ทรงกระทาํ มากัณฐกะใหบ ายหนา ตอหนทางทจี่ ะเสด็จ ไดเ สดจ็ ไปแลว ดวยสักการะอันยิง่ ใหญดวยความงามสงาอันโอฬาร. ไดยนิ วา ในกาลน้นั เทวดาทั้งหลายชคู บเพลิง๖๐,๐๐๐ อนั ขางหนาพระโพธสิ ัตวน ้ัน ขา งหลัง ๖๐,๐๐๐ อัน ขางขวา ๖๐,๐๐๐อนั ขา งซาย ๖๐,๐๐๐ อัน. เทวดาอีกพวกหนงึ่ ชคู บเพลงิ หาประมาณมไิ ด ณทขี่ อบปากจักรวาล. เทวดา กับนาคและครุฑเปน ตนอีกพวกหนงึ่ เดนิ บชู าดวยของหอม ดอกไม จรุ ณและธูปอนั เปน ทิพย. พืน้ ทองฟานภาดลไดตอเนอื่ งกนั ไปไมวางเวนดวยดอกปารชิ า และดอกมณฑารพ เหมือนเวลามีเมฆฝนอันหนาทบึ ทิพยสังคตี ทัง้ หลายไดเปน ไปแลว. ดนตรีหกหมืน่ แปดพันชนดิบรรเลงขึน้ แลวโดยทวั่ ๆ ไป. กาลยอมเปน ไป เหมอื นเวลาทีเ่ มฆคํารามในทองมหาสมทุ ร และเหมอื นเวลาทส่ี าครมเี สียงกกึ กอ งในตองภเู ขายคุ นธร. พระโพธิสัตว เมื่อเสดจ็ ไปอยดู ว ยสริ โิ สภาคยน ี้ ลวงเลยราชอาณาจักรทง้ั ๓ โดยราตรเี ดยี วเทา นน้ั เสดจ็ ถงึ ฝงแมน ้าํ อโนมานที่ในท่ีสดุ หนทาง ๓๐โยชน. ถามวา กม็ า สามารถจะไปใหยิ่งกวา นนั้ ไดห รอื ไม ? ตอบวา สามารถไปได เพราะมานนั้ สามารถเที่ยวไปตลอดหว งจกั วาลโดยไมมขี อบเขตอยา งนี้เหมือนเหยยี บวงแหง กงลอท่ีสอดอยูใ นดุมแลว กลบั มากอนอาหารเชา บรโิ ภคอาหารท่เี ขาจัดไวสําหรบั ตน. ก็ในกาลนนั้ มาดงึ รา งอันทับถมดว ยของหอมและดอกไมเปนตน ซึง่ เทวดา นาค และครุฑเปนตน ยนื อยใู นอากาศแลวโปรยลงมาทว มจนกระทัง่ อุรุประเทศขาออน เเลว ตลุยชัฏแหง ของหอมและดอกไมไป จงึ

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 106ไดม คี วามลาชามาก เพราะฉะน้ันมา จงึ ไดไ ปเพยี ง ๓๐ โยชนเ ทา นน้ั พระโพธิ-สตั วประทบั ยนื ทฝ่ี ง แมน ้ําแลวตรสั ถามนายฉันนะวา แมน ้ํานี้ชอ่ื อะไร ? นายฉนั นะกราบทลู วา ช่อื อโนมานทีพะยะคะ. พระโพธิสัตวทรงดาํ รวิ า บรรพชาแมของเรากจ็ ักไมทราม จงึ เอาสน พระบาทกระตนุ ใหสัญญาณมา. มา ไดโ ดดขา มแมน าํ้ อนั กวางประมาณ ๘ อสุ ภะไปยนื ที่ฝง โนน พระโพธิสตั วเ สด็จลงจากหลงั มา ประทบั ยนื ที่เนนิ ทรายอนั เหมอื นแผน เงิน ตรัสเรียกนายฉนั นะมาวา ฉนั นะผูสหาย เธอจงพาเอาอาภรณแ ละมาของเราไป เราจักบวช ณ ทนี่ ี้แหละ. นายฉันนะกราบทูลวา ขาแตสมมตเิ ทพ แมขา พระพุทธเจากจ็ กั บวชกบั พระองค พระเจาขา. พระโพธิสตั วตรัสหา มถึง ๓ ครง้ั วา เธอยงั บวชไมได เธอจะตองไป แลว ทรงมอบเครื่องอาภรณและมากณั ฐกะใหน ายฉนั ทะรับไปแลว ทรงดําริวา ผมทั้งหลายของเราน้ี ไมส มควรแกสมณะ ทรงดําริตอ ไปวา ผอู ่ืนท่สี มควรจะตัดผมของพระโพธิสัตว ยอมไมมี เพราะเหตนุ ้นัเราจกั ตัดดว ยพระขรรคน ้นั ดว ยตนเอง จงึ เอาพระหัตถขวาจับพระขรรค เอาพระหตั ถซายจับพระจุฬา (จุก) พรอมกบั พระโมลี (มวยผม) แลวจึงตดั ออกเสน พระเกศาเหลอื ประมาณ ๒ องคุลเี วียนขวาแนมติดพระเศยี ร พระเกศาไดมีประมาณเทา น้ัน จนตลอดพระขนมชพี . และพระมสั สุ (หนวด) ก็ไดม ีพอเหมาะพอควรกบั พระเกศาน้นั ช่ือวากจิ ดว ยการปลงผมและหนวดมิไดมีอกีตอ ไป. พระโพธิสัตวจ บั พระจฬุ าพรอ มดว ยพระโมลีทรงอธิษฐานวาถา เราจกั ไดเปนพระพทุ ธเจาไซร พระโมลจี งต้ังอยใู นอากาศ ถา จกั ไมไดเปน พระพุทธเจาจงตกลงบนภาคพืน้ แลวทรงโยนขึ้นไปในอากาศ มว นพระจฬุ ามณนี ้นั ไปถงึทป่ี ระมาณโยชนหนึ่งแลว ไดคงอยูในอากาศ. ทา วสกั กเทวราชตรวจดูดวยทพิ ย-จกั ษุ จงึ เอาผอบแกว ประมาณโยชนหน่ึงรับไว นําไปประดษิ ฐานไวในพระเจดยี ช่อื วา จุฬามณใี นภพช้นั ดาวดงึ ส เหมอื นดังที่ทา นกลา วไววา

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 107 อัครบุคคลผเู ลิศไดตัดพระโมลอี นั อบดว ยกลน่ิ หอมอนั ประเสริฐแลว โยนขึน้ ไปยังเวหา ทาววาสวะ ผมู พี ระเนตรตงั้ พนั เอาผอบทองอนั ประเสรฐิ ทนู พระ เศยี รรับไวแลว. พระโพธสิ ตั วทรงพระดาํ รอิ กี วา ผากาสกิ พัสตรเ หลา นนั้ ไมส มควรแกสมณะสําหรับเรา. ลาํ ดับนั้น ฆฏิการมหาพรหมผเู ปน สหายเกา ในคร้ังพระ-กัสสปพทุ ธเจา มคี วามเปน มติ รยงั ไมถ ึงพุทธันดร คดิ วา วนั นีส้ หายของเราออกมหาภิเนษกรมณ เราจกั ถือเอาสมณบรขิ ารของสหายเรานั้นไป จึงไดนาํเอาบริขาร ๘ เหลานนั้ คือ บรขิ ารเหลา น้คี อื ไตรจวี ร บาตร มีด เขม็ รดั ประคด เปน ๘ กบั ผา กรองนาํ้ ยอมควรแกภิกษุ ประกอบความเพียร.ไปให พระโพธสิ ตั วทรงนงุ หมธงชยั แหงพระอรหตั แลว ถอื เพศบรรพชาอันสูงสดุ จงึ ทรงสงนายฉนั นะไปดวยพระดํารัสวา ฉันนะ เธอจงทูลถึงความไมมีโรคปว ยไขแกพระชนกเเละชนนี ตามคําของเราดว ยเถิด. นายฉันนะถวายบงั คมพระโพธสิ ัตว กระทาํ ประทกั ษิณแลวหลกี ไป. สานมากัณฐกะยนื ฟงคําของพระโพธิสัตวซ ึ่งตรัสกับนายฉนั นะ คดิ วา บัดน้ี เราจะไมม ีการไดเ หน็นายอีกตอไป เมอื่ ละคลองจักษไุ ป ไมอาจอดกล้นั ความโศกไวไ ด เม่อื หทยัแตก ตายไปบงั เกดิ เปน กัณฐกเทวบตุ รในภพดาวดงึ ส. ครั้งแรก นายฉนั นะไดม คี วามโศกเพยี งอยางเดียว แตเม่อื มา กัณฐกะตายไป นายฉนั นะถกู ความโศกครั้งทสี่ องบบี คน้ั ไดร องไหคร่าํ ครวญเดินไป. ฝา ยพระโพธสิ ัตวค รั้นบรรพชาแลว ไดยับยง้ั อยดู วยความสขุ อันเกิดจากการบรรพชา ตลอดสัปดาห ในอนปุ ย อัมพวันซึง่ มอี ยใู นประเทศนน้ั น่ัน

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 108แล แลวเสด็จดาํ เนินดวยพระบาทส้นิ หนทาง ๓๐ โยชน โดยวนั เดียวเทา นน้ัแลวเสด็จเขาไปยังกรงุ ราชคฤห ก็แหละครั้นเสดจ็ เขาไปแลว เสด็จเท่ยี วบิณฑ-บาตรไปตามลาํ ดบั ตรอก. พระนครทงั้ สิ้นไดถงึ ความต่ืนเตน เพราะไดเห็นพระรปู โฉมของพระโพธสิ ตั ว เหมือนตอนชา งธนบาลเขา ไปกรงุ ราชคฤห และเหมอื นเทพนครตอนจอมอสูรเขาไปฉะนนั้ . ลําดบั นนั้ ราชบตุ รท้ังหลายมากราบทลู วา ขาแตสมมติเทพ บคุ คลชื่อเหน็ ปานนีเ้ ทยี่ วบิณฑบาตอยูในพระ-นคร ขาพระพุทธเจาทง้ั หลายไมทราบเกลา วา ผูนชี้ อื่ ไร จะเปน เทพ มนษุ ยนาค หรือครุฑ พระราชาประทับยืนทีพ่ ื้นปราสาททอดพระเนตรเห็นพระมหา-บุรษุ เกิดอัศจรรยไมเคยเปน ทรงสั่งพวกราชบุรุษวา แนะพนาย ทา นทัง้หลายจงไปพิจารณาดู ถาจกั เปน อมนษุ ย เขาออกจากพระนครแลวจกั หายไปถา เปนเทวดาจักเหาะไป กถ็ า เปนนาคจักดาํ ดินไป ถาเปนมนุษยจ ักบริโภคภิกษาหารตามทไี่ ด. ฝายพระมหาบรุ ษุ แล รวบรวมภตั อันสาํ รวมกันแลว รูวาภตั มปี ระมาณเทา นี้พอสาํ หรบั เรา เพอ่ื ยงั อัตภาพใหเ ปน ไป เสด็จออกจากพระนครทางประตทู เ่ี สดจ็ เขามาน่ันแล บายพระพักตรไ ปทางทศิ ตะวนั ออกประทับน่ังที่รม เงาของปณ ฑวบรรพต เร่ิมเพอ่ื เสวยพระกระยาหาร. ลาํ ดบั นน้ัพระอนั ตะไสใหญข องพระมหาบุรุษไดถงึ อาการจะออกมาทางพระโอษฐ. ลาํ ดับน้นั พระโพธสิ ัตวท รงอดึ อัดกงั วลพระทัยดว ยอาหารอันปฏิกลู เพราะดว ยท้ังอตั ภาพนั้น พระองคไ มเคยเห็นอาหารเหน็ ปานนัน้ แมดวยพระเนตร จงึทรงโอวาทตนดวยพระองคเ องอยางนีว้ า ดกู อ นสทิ ธัตถะ เธอเกดิ ในสถานท่มี ีโภชนะมีรสเลศิ ตาง ๆ ดว ยโภชนะแหง ขาวสาลีมกี ลิ่นหอม ซง่ึ เกบ็ ไว ๓ ปในตระกูลอันมขี าวและนํ้าหาไดง ายมาก ไดเ หน็ บรรพชิตผูท รงผา บังสกุ ุลรูปหนึง่ แลวคดิ วา เม่อื ไรหนอ แมเ ราก็จักเปน ผูเหน็ ปานนน้ั เท่ยี วบณิ ฑบาตบริโภค กาลน้นั จักมไี หมหนอสําหรับเรา จงึ ออกบวช บัดนี้ เธอจะทําขอ

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 109นน้ั อยางไร ครน้ั ทรงโอวาทพระองคอยา งน้ีแลว ไมท รงมีอาการอนั ผิดแผกทรงเสวยพระกระยาหาร ราชบุรษุ ทัง้ หลายเหน็ ความเปนไปนน้ั แลว จงึ ไปกราบทูลพระราชาใหทรงทราบ พระราชาไดส ดับคาํ ของทตู เทานนั้ รีบเสด็จออกจากพระนคร เสด็จไปยังสาํ นักของพระโพธิสัตว ทรงเลือ่ มใสเฉพาะในพระอิริยาบถเทาน้ัน จงึ ทรงมอบความเปน ใหญใหแกพระโพธสิ ตั ว. พระ-โพธสิ ตั วต รสั วา มหาบพติ ร อาตมภาพไมมคี วามตอ งการวตั ถกุ ามหรือกเิ ลสกามท้งั หลาย อาตมภาพปรารถนาปรมาภิสัมโพธญิ าณ จึงออกบวช. พระราชาแมจะทรงออนวอนเปน อเนกประการ ก็ไมไ ดนาํ้ พระทัยของพระโพธสิ ัตวนั้นจึงตรสั วา พระองคจ ักไดเปนพระพทุ ธเจาแนแ ลว ก็พระองคไ ดเ ปนพระพทุ ธเจา แลว พึงเสดจ็ มายงั แควนของหมอมฉันกอ น นเ้ี ปนความยอในทน่ี ี้ สว นความพิศดาร พงึ ตรวจดูศพั ทใ นบรรพชาสูตรน้ีวา เราจักสรรเสริญการบวชเหมอื นผมู ีจักษุบวชแลว ดังน้ี ในอรรถกถา แลวพึงทราบเถดิ . ฝา ยพระโพธสิ ตั วทรงใหป ฏิญญาแกพระราชาแลว เสด็จจาริกไปโดยลําดบั เขา ไปหาอาฬารดาบสกาลามโคตร และอทุ กดาบสรามบตุ ร ทําสมาบตั ิใหบ งั เกิดแลว ทรงดําริวา น้มี ใิ ชทางเพ่ือจะตรสั รู จงึ ยงั ไมท รงพอพระทยัสมาบตั ิภาวนาแมนนั้ มพี ระประสงคจะเรมิ่ ต้งั มหาปธานความเพยี รใหญ เพอ่ืจะทรงแสดงเรยี่ วแรงและความเพียรของพระองคแกโ ลก พรอมทงั้ เทวโลกจึงเสดจ็ ไปยงั ตาํ บลอุรุเวลา ทรงพระดํารัสวา ภมู ภิ าคนินา รนื่ รมยห นอ จงึเสด็จเขาอยู ณ ตาํ บลอรุ ุเวลานนั้ ทรงเร่มิ ตง้ั มหาปธานความเพยี รใหญ. บรรพ-ชิต ๕ รูป มโี กณฑญั ญะเปนประธานแมเ หลา นัน้ แล พากันเที่ยวภกิ ขาจารไปในคาน นคิ ม และราชธานไี ดถ ึงทันพระโพธสิ ัตว ณ ตําบลอุรเุ วลานัน้ . ลําดบันนั้ บรรพชิตทงั้ ๕ รูปนนั้ อปุ ฏฐากพระโพธสิ ตั วน้นั ผเู ริ่มตัง้ มหาปธานความเพยี รตลอด ๖ พรรษา ดวยวตั รปฏบิ ัติมกี ารกวาดบรเิ วณเปนตน ดวยหวังใจ

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 110วา จักเปนพระพทุ ธเจาในบดั นี้ และไดเปน ผอู ยูในสํานกั ของพระโพธิสัตวนนั้ . ฝา ยพระโพธสิ ตั วท รงพระดาํ รวิ า จกั กระทาํ ทกุ รกิรยิ าใหถ ึงท่สี ดุจงึ ทรงยบั ยั้งอยูดวยขา วสารเพยี งเมลด็ งาหนง่ึ เปนตน ไดท รงกระทาํ การตัดอาหารเสียโดยประการทัง้ ปวง. ฝา ยเทวดาก็นาํ เอาโอชะใสเ ขาไปทางขุมพระโลมาทั้งหลาย ครนั้ เมอ่ื พระโพธสิ ตั วนนั้ มีพระวรกายอันถงึ ความออ นเปล้ยี อยา งยิง่เพราะความเปนผูท่ไี มมพี ระกระยาหารน้ัน พระวรกายอนั มีฉวีวรรณดุจทองไดม ีพระฉววี รรณคาํ ไป พระมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ กไ็ ดถูกปกปดไมปรากฏ. ในกาลบางคราว เมอื่ ทรงเพงฌานอนั ไมมลี มปราณ ถูกเวทนาใหญห ลวงครอบงํา ทรงวิสญั ญสี ลบลมลงในทีส่ ดุ ทจ่ี งกรม. ลําดับนัน้ เทวดาบางพวกกลาวถงึ พระโพธสิ ัตวน้นั วา พระสมณโคดมกระทาํ กาลกริ ยิ าแลว เทวดาบางพวกกลาววา นเี้ ปน ธรรมเครือ่ งอยขู องพระอรหนั ตท เี ดียว บรรดาเทวดาเหลาน้นั เหลาเทวดาผูพูดวา พระสมณโคดมไดก ระทํากาลกิริยาแลว นนั้ พากันไปกราบทูลแกพระเจา สุทโธทนะมหาราชวา พระราชโอรสของพระองคสวรรคตแลว. พระเจาสุทโธทนะมหาราชตรัสวา บตุ รของเรายงั ไมเ ปน พระพุทธเจา จะยังไมต าย. เทวดาเหลา นัน้ กราบทลู วา พระโอรสของพระองคไ มอ าจเปนพระ-พุทธเจา ทรงลมลงทพ่ี นื้ สาํ หรบั บําเพ็ญเพียรสวรรคตแลว. พระราชาทรงสดับคาํ นี้จงึ ตรสั หา มวา เราไมเ ช่อื ชื่อวา บุตรของเรายงั ไมบรรลุโพธิญาณแลวกระทาํ กาลกิริยา ยอ มไมมี. ถามวา กเ็ พราะเหตไุ ร พระราชาจึงไมท รงเชือ่ ?ตอบวา เพราะพระองคไดทรงเหน็ ปาฏหิ าริยท ั้งหลาย ในวันที่ใหไ หวพ ระกาล-เทวลดาบส และทค่ี วงไมห วา. พระโพธิสัตวท รงกลบั ไดส ญั ญาลกุ ขึน้ ไดอีกเมือ่ พระมหาสัตวลุกขนึ้ แลว เทวดาเหลา นั้นมากราบทูลแกพระราชาวา ขาแต

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 111มหาราช พระราชโอรสของพระองคไมมพี ระโรคแลว. พระราชาตรสั วา เรายอ มรูวา บุตรของเราไมต าย. เมอ่ื พระมหาสตั วท รงบําเพญ็ ทุกรกริ ิยาอยู ๖ พรรษา กาลเวลาไดเ ปนเหมอื นขอดปมในอากาศ. พระมหาสตั วน ้ันทรงพระดาํ รวิ า ชอ่ื วาการทําทกุ รกริ ยิ านี้ ไมใชท าง (บรรล)ุ จงึ เสดจ็ เที่ยวไปบิณฑบาตในคามและนคิ มท้ังหลาย เพือ่ ตอ งการอาหารหยาบ แลวนาํ อาหารมา คร้งั น้ันมหาปุริสลกั ษณะ ๓๒ ประการของพระโพธสิ ัตวน ้ันไดกลบั เปนปกติ พระกายไดม พี ระฉววี รรณดจุ ทองคาํ พระภกิ ษปุ ญจวคั คยี พากันคดิ วา พระมหาบรุ ษุน้แี มกระทาํ ทุกรกิริยาถึง ๖ ป กไ็ มส ามารถแทงตลอดพระสพั พญั ุตญาณไดบดั น้ี เทีย่ วบิณฑบาตไปในบานเปน ตน นําอาหารหยาบมา จักสามารถไดอ ยา งไร พระมหาบุรุษนีก้ ลายเปนผมู ักมากคลายความเพยี ร ชอื่ การคาดคะเนถงึ คณุ วเิ ศษจากสาํ นกั ของพระมหาบรุ ุษนแ้ี หงพวกเรา ก็เหมือนคนผูจะสรงสนานศรี ษะคดิ คาดคะเนเอาหยาดนํ้าคางฉะนั้น พวกเราจะประโยชนอะไรดว ยพระมหาบุรษุ น้ี จงึ พากนั ละพระมหาบุรษุ ถือเอาบาตรและจีวรของตน ๆ เดนิ ทางไปประมาณ ๑๘ โยชน เขาไปยงั ปา อิสิปตนะ. กส็ มัยนน้ั แล ทาริกาชื่อวา สุชาดา บังเกดิ ในเรอื นของเสนากุฎมพีในตําบลอุรเุ วลาเสนานิคม พอเจริญแลว ไดกระทําความปรารถนาท่ีตน ไทรแหงหนึง่ วา ถา เราไปยงั เรอื นสกลุ ทม่ี ชี าติเสมอกนั จกั ไดบ ุตรชายในครรภแรกเราจักทําพลีกรรม โดยบริจาคทรัพยแสนหนึ่งแกท านทุกป ๆ ความปรารถนาอนั นนั้ ของนางกส็ ําเรจ็ แลว. เมอื่ พระมหาสัตวน ้ันกระทําทกุ รกิริยา. เมือ่ ครบปท่ี ๖ บรบิ รู ณ นางสุชาดานนั้ ประสงคจะพลีกรรมในวันเพญ็ เดือน ๖. และกอนหนาน้ันแหละ ไดป ลอ ยโคนม ๑,๐๐๐ ตัว ใหทองเทยี่ วอยใู นปาชะเอม ใหโคนม๕๐ ตวั ดื่มนา้ํ นมองโคนม ๑,๐๐๐ ตวั น้ัน แลวใหโคนม ๒๕๐ ตวั ด่ืมนํา้

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 112นมของโคนม ๕๐๐ ตวั นั้น นางปรารถนาน้าํ นมขนและมีโอชะจึงไดก ระทําการหมุนเวยี นใหโ คดม่ื น้าํ นมตราบเทา ๘ ตัว ดมื่ น้าํ นมของแมโ คนม ๑๖ ตวั นนั้อยา งน้ดี วยประการฉะนี.้ เชา ตรวู ันวสิ าขบรู ณมี นางสุชาดานน้ั ลุกข้ึนในเวลาใกลรุงแหง ราตรี ใหรีดนมโคนม ๘ ตัวนั้น. ลูกโคท้ังหลายยังไมไดไ ปถึงเตานมเหลา น้นั แตพ อนําภาชนะใหมเ ขา ไปใกลเ ตานมเทา นั้น ธารน้ํานมก็ไหลออกตามธรรมดาของตน นางสุชาดาไดเ ห็นความอัศจรรยน้นั จงึ ตกั นา้ํนมดวยมือของตนเองใสล งในภาชนะใหมแลวกอไฟดว ยมอื ของตนเอง เริม่ จะหุง เม่ือกําลังหงุ ขาวปายาสน้ันนั่นแหละ ฟองใหญ ๆ ตั้งข้นึ ไหลวนเปนทักษิณาวฏั . แมห ยาดสักหยดหนึง่ ก็ไมหกออกภายนอก ควันไฟแมมีประมาณนอ ยก็ไมตั้งข้ึนจากเตา สมยั นน้ั ทา วจตุโลกบาลมาถือการอารักขาท่เี ตา. ทา วมหา-พรหมกัน้ ฉตั ร ทา วสักกะนําดุนฟน มาใสไฟใหลุกโพลงอยู. จริงอยู เทวดาทงั้ หลายรวบรวมโอชะอนั เขาไปสาํ เร็จแกเ ทวดา และมนุษยท ั้งหลายในทวีปทั้ง ๔ อันมที วปี นอยสองพันเปน บริวาร ใสเขา ไปในขา วปายาสนัน้ ดว ยเทวานภุ าพของตน ๆ เหมือนบุคคลคั้นรวงผึ้งอนั ติดอยทู ี่ทอนไม แลว ถอื เอาแตน้าํ หวานฉะนน้ั . จริงอยใู นเวลาอืน่ ๆ เทวดาท้ังหลายใสโอชะในคําขา ว ก็แตวา ในวันตรัสรแู ละวนั ปรินพิ พาน ใสโอชะในหมอ เลยทีเดยี ว. นางสชุ าดาไดเ หน็ ความอศั จรรยม ใิ ชนอ ย ซ่งึ ปรากฏแกตนในท่ีนนั้โดยวนั เดียวเทานน้ั จึงเรยี กนางปุณณาทาสีมาพูดวา แนะ แมป ณุ ณา วนั นี้เทวดาของเราทัง้ หลายนา เลอ่ื มใสยงิ่ นกั ในกาลมปี ระมาณเทานี้ เราไมเ คยเห็นความอัศจรรยเ หน็ ปานน้ี เธอจงรีบไปดแู ลเทวสถานโดยเร็ว. นางปณุ ณาทาสนี ั้น รบัคาํ ของนางสุชาดานน้ั แลว ไดร ีบดวนไปยงั โคนตน ไม. ฝายพระโพธิสัตวได

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 113ทรงเห็นมหาสุบนิ ๕ ประการ ในตอนกลางคนื นัน้ ทรงใครครวญอยู จงึ ทรงกระทาํ สนั นิษฐานวา วนั น้ี เราจกั ไดเ ปน พระพุทธเจา โดยไมต อ งสงสยั พอราตรีนน้ั ลวงไป ทรงกระทาํ การปฏบิ ตั พิ ระสรรี ะ คอยเวลาภกิ ขาจารอยู พอเชา ตรู จงึ เสด็จมาประทับนงั่ ท่โี คนไมน ั้น ทรงกระทาํ โคนไมทัง้ สิน้ ใหสวางไสวดวยรศั มขี องพระองค. ลําดบั นั้น นางปุณณาทาสีน้ันมา ไดเ หน็ พระโพธิสัตวประทับนัง่ทีโ่ คนไมท อดพระเนตรดูโลกธาตุดานทิศตะวันออก. และเพราะไดเห็นตนไมทง้ั ส้นิ มสี ีดังสีทอง ดวยพระรัศมีอันซา นออกจากพระสรรี ะของพระโพธสิ ตั วน ัน้ นางจงึ ไดคดิ ดงั นี้วา วนั นี้ เทวดาของเราทั้งหลาย เหน็ จะลงจากตนไมม านงั่ เพอ่ื จะรบั พลีกรรมดวยมือของตนเองทเี ดียว จงึ เปน ผูถ ึงความสลดใจ รบี ไปบอกเนอ้ื ความน้ัน แกนางสชุ าดา. นางสุชาดาไดฟงคําของนางปณุ ณาทาสีน้ัน แลว ก็ดใี จจึงกลาววา วนั นี้ ต้งั แตบ ดั น้ไี ปเจา จงดาํ รงอยูในฐานะธดิ าคนใหญข องเรา แลวไดใหเคร่ืองประดบั ทัง้ ปวงอนั สมควรแกธ ดิ า. กเ็ พราะเหตุที่ในวันจะบรรลคุ วามเปนพระพุทธเจา การไดถาดทองมีคาแสนหนึ่งจึงจะควร เพราะฉะนั้น นางสุชาดาน้นั จึงทาํ ความคิดใหเกดิ ขนึ้ วา จกั ใสขาวปายาสในถาดทองจงึ ใหค นใชนําถาดทองมีคา แสนหนึง่ ออกมา ประสงคจ ะใสขา วปายาสในถาดทองนั้น จึงราํ พงึ ถึงโภชนะทีล่ กุ แลว . ขาวปายาสทง้ั หมดก็กลิง้ ไปประดษิ ฐานอยใู นถาด เหมอื นนาํ้ กล้ิงจากใบบัวฉะนน้ั ขาวปายาสน้ันไดมีปริมาณเต็มถาดหน่งึ พอดี. นางจึงเอาถาดทองใบอ่นื ครอบถาดใบนนั้ แลวเอาผา ขาวหอ ประดับรางกายดวยเครือ่ งอลงั การทงั้ ปวง เอาถาดน้ันทูนบนศรี ษะของตน เดินไปยังโคนตนไทรน้ันดวยอานภุ าพใหญ แลดูพระโพธ-ิสตั ว เกิดความโสมนสั เปนกาํ ลัง สําคัญวา เปนเทวดา จึงคอมกายลงเดนิ ไปจาํเดมิ แตทไี่ ดเหน็ ปลงถาดลงจากศีรษะแลว เปด ฝาเอาสวุ รรณภงิ คารใสน ้าํ อนั อบ

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 114ดว ยดอกไมห อมแลวไดเ ขา ไปยนื อยใู กล ๆ พระโพธสิ ตั ว. บาตรดนิ ที่ทาวฆฏ-ิการมหาพรหมถวาย ไมห า งพระโพธสิ ตั วมาตลอดกาลนานมีประมาณเทา น้ี ไดหายไปในขณะนนั้ . พระโพธสิ ัตวเมอ่ื แลไมเ ห็นบาตร จงึ เหยียดพระหตั ถข วาออกรบั . นางสชุ าดาจงึ วางถาดทองขาวปายาสในพระหตั ถของพระมหาบรุ ษุ .พระมหาบรุ ุษทอดพระเนตรดูนางสุชาดา. นางสุชาดากําหนดอาการแลว จึงทลู วาขาแตเ จา ขอทา นจงถอื เอาส่ิงที่ขา พเจาบรจิ าคแกทานไปเถดิ ไหวแ ลวทลู วามโนรถความปรารถนาจงสาํ เรจ็ แกทานเหมอื นดงั สาํ เร็จแกข าพเจาเถิด นางไมหว งอาลัยถาดทองอันมีคาแสนหน่ึง เปนเหมอื นภาชนะดินเกา หลกี ไปแลว . ฝายพระโพธสิ ตั วเ สด็จลุกขน้ึ จากที่ประทับทรงทําประทักษณิ ตนไมถือถาดเสดจ็ ไปยงั ฝงแมน ํา้ เนรญั ชรา ในวันทพ่ี ระโพธิสัตวห ลายแสนจะตรัสรูมีทาชือ่ วาสุปตฏิ ฐติ ะ (สปุ ระดษิ ฐ) เปนสถานทีเ่ สด็จลงสรงสนาน จึงทรงวางถาดทีฝ่ ง แหงทาช่อื วาสปุ ติฏฐติ ะน้นั เสดจ็ ลงสรงสนานเสร็จแลวทรงน่ังธงชัยแหง พระอรหตั อันเปน เครือ่ งนงุ หมของพระพุทธเจาหลายแสนพระองคทรงนั่งผนิ พระพกั ตรไปทางทิศตะวันออก ทรงกระทาํ ปน ขาว ๔๙ ปนประมาณเทา จาวตาลสกุ จาวหน่ึง ๆ แลวเสวยมธุปายาสมีนํา้ นอ ยทัง้ หมด. ก็เปนอยางน้ัน ขา วมธปุ ายาสนัน้ ไดเปน อาหารอยูไดตลอด ๗ สัปดาห สําหรบั พระโพธิสตั วนั้น ผจู ะไดเปน พระพทุ ธเจาซง่ึ ประทับอยทู โี่ พธิมัณฑ ประเทศเปน ทผ่ี อ งใสแหง พระปญญาเครอ่ื งตรสั ร.ู ในกาลมปี ระมาณเทา นั้น ไมมอี าหารอยางอน่ืไมม ีการสรงสนาน ไมมีการชาํ ระพระโอษฐ ไมมกี ารถา ยพระบงั คนหนกั ทรงยับยงั้ อยดู วยฌานสขุ มรรคสขุ และผลสขุ เทา น้นั . กพ็ ระโพธสิ ตั วครัน้ เสวยขาวขาวปายาสนนั้ แลว จับถาดทองทรงอธิษฐานวา ถาเราจักไดเ ปน พระพุทธเจา ในวันนไ้ี ซร ถาดของเราใบนี้ จงลอยทวนกระแสนา้ํ ไป ถาจักไมไ ดเ ปน จงลอยไปตามกระแสน้ํา ครน้ั ทรงอธิษฐานแลวไดล อยถาดไป. ถาดนน้ั ลอยตัด

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 115กระแสนาํ้ ไปถงึ กลางแมน ้าํ ณ ท่ีตรงกลางแมน ้าํ นั่นแลไดลอยทวนกระแสนํา้ ไปส้ินสถานทปี่ ระมาณ ๘๐ ศอก เปรยี บเหมือนมาซึ่งเพยี บพรอ มดว ยฝเ ทาอนั เร็วไวฉะนน้ั แลว จมลงทนี่ ํา้ วนแหงหนึง่ จมลงไปถงึ ภพของกาลนาคราช กระทบถาดเคร่อื งบริโภคของพระพุทธเจาทง้ั ๓ พระองค มเี สยี งดงั กร๊กิ ๆ แลว ไดว างรองอยใู ตถ าดเหลา นัน้ . กาลนาคราชครน้ั ไดส ดบั เสียงน้ันแลว กลาววา เมื่อวานนี้พระพุทธเจา ทรงบงั เกิดแลวองคหนงึ่ วนั นี้บงั เกิดอกี องคห นงึ่ จึงไดย ืนกลาวสดุดดี วยบทหลายรอยบท. ไดยนิ วา เวลาท่มี หาปฐพีงอกขน้ึ เตม็ ทองฟาประมาณหนึง่ โยชนส ามคาวุต ไดเ ปน เสมือนวันน้ี หรอื วนั พรุง นี้ แกกาลนาคราชน้ัน. ฝา ยพระโพธิสัตวทรงพักผอนกลางวันอยใู นสาลวันอนั มดี อกบานสะพร่ังใกลฝ ง แมน าํ้ เวลาเย็น ในเวลาดอกไมทัง้ หลายหลดุ จากข้วั ไดเ สด็จบา ยหนาไปยังโพธิพฤกษ ตามหนทางกวา งประมาณ ๘ อุสภะ ซง่ึ เทวดาทัง้ หลายตกแตง ไว ดุจราชสีหเย้ืองกรายฉะนน้ั นาค ยักษแ ละสุบรรณเปนตน ไดบชู าดว ยของหอมและดอกไมเ ปน ตนอันเปน ทพิ ย หม่ืนโลกธาตุไดมีกล่ินหอมเปนอันเดยี วกัน มีระเบยี บดอกไมเ ปน อนั เดียวกนั และมีเสียงสาธกุ ารเปนอนั เดียวกนัสมัยนน้ั พราหมณชือ่ โสตถยิ ะ เปนคนหาบหญา ถือหญา เดินสวนทางมา รูอาการของมหาบุรษุ จงึ ไดถวายหญา ๘ กาํ พระโพธิสัตวรับหญา แลว เสด็จขึน้ สูโพธิมัณฑ ไดประทบั ยนื ในดา นทศิ ใตผ ินพระพักตรไ ปทางทิศเหนือ ขณะนน้ัจักรวาลดา นทิศใตท รุดลง ไดเปน ประหนึ่งวาจรดถงึ อเวจีเบือ้ งลา ง จักรวาลดา นทิศเหนือลอยขึน้ ไดเปน ประหนึ่งจรดถงึ ภวคั คพรหมในเบ้อื งบน พระ-โพธสิ ตั วท รงดําริวา ทีต่ รงนเี้ หน็ จะไมเ ปน สถานท่ีท่จี ะใหบ รรลพุ ระสมั โพธญิ าณจงึ การทําประทักษิณ เสด็จไปยงั ดานทศิ ตะวันตกไดประทบั ยืนผินพระพกั ตรไปทางทิศตะวนั ออก. ลาํ ดับนน้ั จักรวาลดา นทศิ ตะวันตกไดท รดุ ลง ไดเ ปน

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 116ประหนึ่งวา จรดถงึ อเวจใี นเบอ้ื งลา ง จักรวาลดา นเวนออกลอยขน้ึ ไดเ ปนประหนึ่งวาจรดถงึ ภวคั คพรหมในเบือ้ งบน นยั วา ในทท่ี พี่ ระมหาบุรุษน้ันประทับยืนแลว ๆ มหาปฐพีไดย บุ ลงและฟขู ้ึน เหมือนลอ เกวียนใหญซึง่ ติดอยูใ นดมุ ถูกคนเหยยี บริมขอบวงของกงลอ ฉะนัน้ พระโพธสิ ัตวทรงดาํ ริวาสถานทีน่ เ้ี หน็ จะไมเปน สถานที่ใหบ รรลพุ ระสมั โพธิญาณ จึงกระทําประทัก-ษณิ เสดจ็ ไปทางดา นทศิ เหนือประทับยนื ผินพระพกั ตรใปทางดา นทศิ ใต.ลาํ ดับน้นั จักรวาลดา นทิศเหนือไดท รดุ ลง ไดเปนประหนึง่ จรดถึงอเวจใี นเบื้องลาง จกั รวาลดา นทศิ ใตล อยขน้ึ ไดเ ปนประหนึง่ จรดถงึ ภวัคคพรหมในเบื้องบนพระโพธสิ ัตวท รงพระดํารวิ า แมสถานทน่ี ก้ี ็เห็นจะไมใชส ถานทเ่ี ปนทต่ี รัสรูพระสมั โพธิญาณ จงึ ทรงกระทาํ ประทกั ษณิ เสดจ็ ไปยังดานทศิ ตะวนั ออก ไดประทบั ยืนผินพระพักตรไปทางดานทิศตะวันตก. ก็สถานทต่ี ั้งบัลลังกข องพระ-พทุ ธเจาทงั้ หลายทัง้ ปวง มีอยูในดา นทศิ ตะวันออก สถานที่นน้ั จงึ ไมหวนั่ ไหวไมส ่นั สะเทือน พระมหาสตั วทรงทราบวา สถานท่ีนี้ เปนทอ่ี ันพระพทุ ธเจา ท้ังปวงไมทรงละ เปนสถานทีไ่ มหว่ันไหว เปน สถานท่ีกาํ จดั กรงคือกิเลสจงึ ทรงจบั ปลายหญา แลว เขยาใหส ่นั . ทันใดน่งั เอง ไดมีบลั ลังก ๑๔ ศอก หญา แมเหลาน้ันก็คงต้งั อยู โดยการลาดเห็นปานนน้ั ซ้งั ชา งเขยี นหรือชา งฉาบแมผ ูฉ ลาดยงิ ก็ไมส ามารถจะเขยี นหรอื ฉาบทาได. พระโพธิสตั วผนิ พระพกั ตรไ ปทางทศิ ตะวันออก โดยใหลาํ ตนโพธอ์ิ ยูเบื้องพระปฤษฎางค เปน ผูม พี ระมนัสมน่ั คง ทรงน่ังคอู ปราชิตบัลลงั กซึง่ แมสายฟา จะผาลงตั้ง ๑๐๐ ครง้ั ก็ไมแตกทาํ ลาย โดยทรงอธษิ ฐานวา เนื้อ และเลือดในสรรี ะนีแ้ มท ั้งส้ินจงเหอื ดแหงไป จะเหลือแตหนงั เอน็ และกระดกู ก็ตามท่.ีเราไมบรรลุพระสัมมาสมั โพธิญาณบนบลั ลังกน ้ีแหละ จักไมท ําลายบัลลังกน .ี้

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 117 สมัยนั้น เทวปตุ ตมารคิดวา สิทธถั กุมารประสงคจะกาวลวงอํานาจของเรา บัดน้ี เราจักไมใ หส ิทธตั ถกมุ ารนน้ั ลว งพน ไปได จึงไปยังสํานกั ของพลมารบอกความนนั้ ใหโหรอ งอยางมารแลวพาพลมารออกไป ก็เสนามารนนั้มีขางหนามาร ๑๒ โยชน ขางขวาและขางซา ยขา งละ ๑๒ โยชน สวนขา งหลงัเสนามารตัง้ จรดขอบจักรวาลสงู ข้นึ ดา นบน ๙ โยชน ซึ่งเมื่อบนั ลือข้ึน เสียงบันลอื จะไดยินเหมือนเสียงแผน ดินทรดุ ตง้ั แตที่ประมาณพันโยชน ลําดบั น้ันเทวปตุ ตมารขนึ้ ข่ีขา งชอ่ื คีรีเมขสงู ๑๕๐ โยชน นริ มิตแขนพนั แขนถืออาวุธนานาชนดิ แมใ นบรษิ ทั มารนอกนี้ มาร ๒ คนจะไมถืออาวุธเหมอื นกัน เปนผูมีหนาตางๆ คนละอยา งกันพากันมา เหมือนดังจะทวมทบั พระมหาสัตว ก็เทวดาในหมนื่ จกั รวาลไดยนื กลาวชมเชยพระมหาสัตว สวนทาวสกั กเทวราชไดยนื เปา สังขว ิชยั ยุตร ไดยินวา สังขน ัน้ มขี นาด ๑๒๐ ศอก เพือ่ ใหเ กบ็ ลมไวคราวเดยี วแลว เปา จะมีเสียงอยูถึง ๔ เดอื นจงึ จะหมดเสียง มหากาลนาคราชไดยนื กลา วสรรเสริญคณุ เกินกวารอ ยบท ทาวมหาพรหมไดยนื กั้นเศวตฉัตรแตเ มื่อพลมารเขาไปใกลโพธิมัณฑ บรรดาเทวดาเปน ตนเหลานั้น แมคนหนงึ่ กไ็ มอาจดาํ รงอยไู ด ตา งพากนั หนไี ปเฉพาะในที่ที่ตรงหนา ๆ กาลนาคราชดําดินลงไปยังนาคภพอนั มีมณเฑียรประมาณ ๕๐๐ โยชนน อนเอามือทงั้ สองปดหนา ทา วสักกะเอาสงั ขวชิ ยั ยตุ รไวขา งหลัง ไดย ืนอยทู ่ขี อบปากจกั รวาล. ทาว-มหาพรหมจบั ปลายเศวตฉัตรไปยงั พรหมโลกทนั ที แมเทวดาคนหนึง่ ซ่ึงวา ผูสามารถดาํ รงอยมู ไิ ดม ี พระมหาบุรุษพระองคเ ดยี วเทานัน้ ประทับน่ังอย.ู ฝา ยมารก็กลาวกะบรษิ ทั ของคนวา พอทั้งหลาย ช่ือวาบุรษุ อืน่ เชนกับสทิ ธัตถะโอรสของพระเจาั สุทโธทนะ ยอมไมม ี พวกเราจักไมอ าจทาํ การสรู บซง่ึ หนา พวกเราจกั สรู บทางดานหลงั . ฝายพระมหาบรุ ษุ กเ็ หลียวดแู มท ัง้ ๓ ดา น

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 118ไดท รงเหน็ แตความวางเปลา เพราะเทวดาทง้ั ปวงพากันหนไี ปหมด ไดทรงเห็นพลมารหนนุ เนอื่ งเขา มาทางดานเหนืออีก ทรงพระดาํ ริวา ชนนม้ี ปี ระมาณเทานี้ มุง หมายเราผูเดยี วกระทาํ ความพากเพียรพยายามอยางใหญหลวง. ในทนี่ ้ีไมมบี ิดามารดา บุตร ธดิ า พ่นี องชาย หรอื ญาตไิ ร ๆ อื่น มีแตบารมี ๑๐ น้ีเทาน้ันจะเปนเชนกับบตุ รแลบริวารชนของเราไปตลอดกาลนาน เพราะฉะนัน้ เราจะกระทาํ บารมใี หเปนโล แลว ประหารดว ยศสั ตราคือบารมีน่นั แหละ กําจัดหมพู ลนี้เสียจงึ จะควร จงึ ทรงน่ังระลึกถงึ บารมีทง้ั ๑๐ อยู ลาํ ดบั นัน้ เทวปุตตมารไดบันดาลมณฑลประเทศแหงลมใหตั้งข้ึน ดว ยคิดวา เราจกั ใหส ทิ ธตั ถะหนีไปดวยลมนที้ เี ดียว ขณะนนั้ เองลมอนั ตา งดวยลมทศิ ตะวันออกเปนตนไดต้งั ขึน้แมสามารถทาํ ลายยอดเขาขนาดกงึ่ โยชน ๑ โยชน ๒ โยชน และ ๓ โยชนถอนรากไม กอไม และตนไมเ ปนตน กระทาํ ตามและนคิ มรอบดา นใหเ ปนจรุ ณวจิ รุ ณไปได ก็มีอานุภาพอันเดชแหงบญุ ของมหาบรุ ุษจัดเสยี แลว พอมาถึงพระโพธสิ ัตวก็ไมอ าจทําแมส ักวาชายจีวรใหไ หว ลําดับน้ันเทวปุตตมาร ไดบันดาลใหหา ฝนใหญต ัง้ ขึ้นดวยหวังวาจักใหนาํ้ ทว มตาย ดว ยอานภุ าพของเทว-ปตุ ตมารน้นั เมฆฝนอนั มหี ลบื ไดรอ ยหลบื พันหลบื เปนตนเปนประเภทต้งั ขน้ึในเบ้ืองบนแลว ตกลงมา แผนดินไดเ ปนชอ งๆ ไปดวยกาํ ลงั แหง สายธารนํ้าฝนมหาเมฆลอยมาทางดานบนปาไม และตนไมเ ปนตน ก็ไมอาจใหน า้ํ สกั เทาหยาดนาํ้ คา งหยดใหเปย กที่จวี รของพระมหาสัตว แตน ้นั ไดบนั ดาลใหหา ฝนหินตั้งขน้ึ ยอดภูเขาใหญ ๆ คกุ รุนเปนควันลกุ เปนเปลวไฟ ลอยมาทางอากาศพอถึงพระโพธิสัตว กก็ ลับกลายเปน กลุม ดอกไมท ิพย แตนนั้ ไดบ ันดาลใหหาฝนเคร่อื งประหารต้ังข้ึน ศัสตราวธุ มดี าบ หอก และลกู ศรเปน ตน มคี มขางเดยี วบาง มคี มสองขา งบาง คุกรนุ เปน ควัน ลุกเปน เปลวไฟ ลอยมาทางอากาศ พอถึงพระโพธสิ ัตวก็กลายเปน ดอกไมทิพย แตนนั้ ไดบนั ดาลใหหาฝน

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 119ถา นเพลงิ ตั้งขน้ึ ถานเพลงิ ท้งั หลายมสี ีดังดอกทองกวาว ลอยมาทางอากาศกลายเปน ดอกไมทิพยโปรยปรายลงแทบบาทมูลของพระโพธิสตั ว แตน น้ั ไดบันดาลใหหาฝนเถารึงตัง้ ขนึ้ เถารงึ รอนจดั มสี ีดังไฟลอยมาทางอากาศ กลายเปนฝุนไมจ ันทนตกลงแทบบาทมลู ของพระโพธสิ ัตว แตน ้ัน ไดบนั ดาลใหห าฝนทรายต้งั ขนึ้ ทรายทง้ั หลายละเอยี ดยิบ คเุ ปนควนั ลุกเปน ไฟ ลอยมาทางอากาศ กลายเปนดอกไมท ิพยต กลงแทบบาทมลู ของพระโพธิสัตว แตนัน้ จึงบันดาลหาฝนเปอ กตมใหตัง้ ขนึ้ เปอกตมคุเปน ควันลุกเปนไฟ ลอยมาทางอากาศ กลายเปน เคร่อื งลูบไลทิพยตกลงทบ่ี าทมูลของพระโพธสิ ัตว แตนัน้ ไดบนั ดาลความมืดใหต ง้ั ขึน้ ดว ยคิดวา เราจักทาํ ใหตกใจกลัวดวยความมดื นี้แลวใหสทิ ธตั ถะหนีไป ความมืดน้นั เปน ความมดื ต้ือประดุจประกอบดว ยองค ๔[คอื แรม ๑๔ ค่าํ ปา ชัฏ เมฆทบึ และเทย่ี งคนื ] พอถึงพระโพธสิ ตั วก อ็ ันตร-ธานไป เหมือนความมืดทีถ่ กู ขจดั ดว ยแสงสวางแหง พระอาทติ ย มารไมอ าจทาํใหพระโพธสิ ัตวหนไี ปดว ยลม ฝน หา ฝนหนิ หาฝนเครอ่ื งประหาร หาฝนถา นเพลิง หา ฝนเถารึง หาฝนทราย หา ฝนเปอ กตม และหา ฝนคอื ความมดืรวม ๙ อยางน้ี ดวยประการฉะน้ี จงึ สง่ั บรษิ ทั นัน้ วา แนะพนาย พวกทา นจะหยดุ อยทู ําไม จงจับสิทธตั ถกุมารน้ี จงฆา จงทําใหห นไี ป สว นตนเองนัง่ บนคอชา งครี เี มข ถือจกั ราวธุ เขา ไปใกลพ ระโพธสิ ตั วแลว กลาววา สทิ ธัตถะทานจงลุกข้ึนจากบลั ลงั กน้ี บัลลงั กน ีไ้ มถ งึ แกท าน บลั ลงั กนถี้ ึงแกเ รา พระ-มหาสตั วไ ดฟ งคาํ ของมารนน้ั จงึ ไดตรัสวา ดูกอ นมาร ทานไมไ ดบ ําเพญ็บารมี ๑๐ อปุ บารมี ๑๐ และปรมัตถบารมี ๑๐ ทงั้ ไมไดบ รจิ าคมหาบรจิ าค ๕ไมไ ดบ ําเพ็ญญาตตั ถจรยิ า โลกัตถจริยาและพุทธัตถจรยิ า บลั ลงั กนีจ้ ึงไมถ ึงแกท าน บลั ลังกน ไี้ ดถ งึ แกเ รา. มารโกรธอดกลน้ั กําลังความโกรธไวไ มไดจ ึงขวางจักราวุธใสพระมหาสตั ว เม่อื พระมหาสัตวนนั้ ทรงรําพงึ ถงึ บารมี ๑๐ ทัศ

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 120อยู จักราวธุ นั้น ไดต ้งั เปนเพดานดอกไมอ ยูในสวนเบ้อื งบน ไดยนิ วา จักราวธุนนั้ คมกลา นกั มารนนั้ โกรธแลว ขวา งไปในท่ีอ่นื ๆ จะตัดเสาหนิ แตงทึบเปนอันเดยี วไปเหมือนตดั หนอ ไมไผ แตบัดนี้ เมือจกั ราวธุ นนั้ กลายเปนเพดานดอกไมต งั้ อยู บรษิ ทั มารนอกน้คี ดิ วา สทิ ธตั ถกมุ ารจกั ลุกจากบัลลงั กห นีไปในบัดนี้ จงึ พากนั ปลอ ยยอดเขาหินใหญ ๆ ลงมา เน้อื พระมหาบรุ ษุ ทรงรําพงึ ถึงบารมี ๑๐ ทศั แมยอดเขาหนิ เหลานั้นก็ถงึ ภาวะเปน กลุมดอกไมต กลงยังภาคพ้ืนเทวดาทั้งหลายผยู นื อยทู ี่ขอบปากจกั รวาล ยืดคอชะเงอ ศีรษะออกดูดว ยคดิกันวา ทานผเู จริญ อัตภาพอันถึงความงามแหง พระรปู โฉมของสทิ ธตั ถกมุ ารฉบิ หายเสียแลว หนอ สิทธัตถกมุ ารจักทรงกระทาํ อยา งไรหนอ. ลําดับนั้น พระมหาบรุ ษุ ตรัสวา บัลลังกไดถงึ แกเราในวันที่พระโพธิ-สัตวท ง้ั หลายบําเพ็ญบารมแี ลวตรัสรูยิ่ง ดงั นี้ แลว ตรสั กมุ ารผูยืนอยสู บื ไปวาดูกอนมาร ใครเปนสักขีพยานในความทท่ี า นใหทานแลว. มารเหยียดมือไปตรงหนาหมูม าร โดยพดู วา มารเหลาน้ันมปี ระมาณเทา นี้เปน พยาน. ขณะนน้ัเสียงของบริษทั มารซ่งึ เปน ไปวา เราเปน พยาน เราเปน พยาน ดังน้ี ไดเปนเชนกบั เสยี งแผนดินทรดุ . ลาํ ดับน้นั มารจึงกลาวกะพระมหาบุรษุ วา ดกู อนสทิ ธตั ถะ. ในภาวะทท่ี า นใหทาน ใครเปน สกั ขีพยาน พระมหาบุรุษตรสั วากอนอ่ืน ในภาวะทีท่ า นใหท าน พลมารทัง้ หลายผมู จี ติ ใจเปนพยาน แตสําหรับเรา ใคร ๆ ผูมีจติ ใจช่ือวาจะเปนพยานให ยอ มไมมใี นที่นี้ ทานท่ีเราใหแลวในอตั ภาพอ่นื ๆ จงยกไว ก็ในภาวะทีเ่ ราดํารงอยูใ นอตั ภาพเปนพระเวสสันดรแลว ไดใ หส ตั ตสตกมหาทาน ใหสง่ิ ของอยา งละ ๗๐๐ มหา-ปฐพอี นั หนาทึบนี้ แมจะไมมจี ิตใจก็เปน สกั ขีพยานใหก อ น จงึ ทรงนาํ ออกเฉพาะพระหัตถข วา จากภายในกลบี จวี ร แลวทรงเหยยี ดพระหตั ถช ล้ี งตรง

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 121หนามหาปฐพี พรอมกบั ตรสั วา ในคราวท่ีเราดาํ รงอยใู นอัตภาพเปนพระ-เวสสนั ดรแลวใหสัตตสตกมหาทาน ทา นไดเปน พยานหรอื ไมไดเ ปน. มหา-ปฐพีไดด ่งั สนนั่ หวัน่ ไหวประหนึง่ ทวมทบั พลมาร ดว ยรอ ยเสยี งพนั เสียงวาในกาลนั้น เราเปน พยานทาน แตนน้ั มหาปฐพีไดกลา ววา ทา นสิทธตั ถะทานที่ทา นใหแ ลว เปน มหาทาน เปน อุดมทาน เม่อื พระมหาบุรุษพิจารณาไป ๆ ถึงทานท่ไี ดใหโดยอตั ภาพเปนพระเวสสนั ดร ชางคีรีเมขสูง ๑๕๐ โยชนก็คกุ เขา ลง. บริษทั ของมารตา งพากันหนีไปยงั ทศี่ านุทิศ. ชื่อวามารสองตนจะไปทางเดยี วกัน ยอมไมม ี ตางละทงิ้ เคร่อื งประดบั ศรี ษะ และผาทีน่ งุ หมหนีไปเฉพาะทิศทง้ั หลายตรง ๆ หนา. ลําดบั นน้ั หมูเ ทพทั้งหลายเห็นมารและพลมารหนไี ปแลว กลาวกันวา มารปราชยั พา ยแพแลว สิทธตั ถกุมารมีชยั ชนะแลว พวกเรามากระทาํ การบูชาความมชี ยั กันเถดิ ดังน้ี พวกนาคก็ประกาศแกพวกนาค พวกครุฑก็ประกาศแกพ วกครุฑ พวกเทวดาก็ประกาศแกพวกเทวดา พวกพรหมกป็ ระกาศแกพ วกพรหม พวกวิชชาธร (กป็ ระกาศแกพวกวชิ ชาธร) ตางมมี อื ถือของหอมและดอกไมเปนตน มายังโพธิบัลลังกสาํ นกั ของพระมหาบรุ ษุ . ก็เม่ือมารและพลมารเหลา น้นั หนไี ปอยางนแ้ี ลว ในกาลนั้น หมนู าคมีใจเบิกบาน ประกาศความ ชนะของพระมเหสเี จา ณ โพธิมัณฑวา กพ็ ระพทุ ธเจา ผมู สี ิรนิ ี้ทรงมีชัยชํานะ สว นมารผูลามกปราชยั พายแพ แลว. แตห มูครุฑกม็ ใี จเบกิ บาน ประกาศความชนะ ของพระมเหสีเจา ณ โพธิมัณฑว า ก็พระพุทธเจา ผมู ี พระสิริน้ีทรงมีชยั ชนะ สว นมารผลู ามกปราชัยพา ยแพ แลว .

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 122 ในกาลนั้น หมูเ ทพมใี จเบกิ บาน ประกาศความ ชนะของพระมเหสีเจา ณ โพธมิ ัณฑวา ก็พระพุทธเจา ผูมีสิรินที้ รงมชี ัยชนะ สว นมารผลู ามกปราชยั พายแพ แลว . ในกาลน้ัน แมห มูพ รหมกม็ ีใจเบิกบาน. ประกาศ ความชนะของพระมเหสีเจา ณ โพธมิ ัณฑวา กพ็ ระ- พุทธเจา ผมู พี ระสริ นิ ้ที รงมชี ยั ชนะ สวนมารผลู ามก ปราชัยพา ยแพแ ลว แล. เทวดาในหม่ืนจกั รวาลทเี่ หลอื บูชาดวยดอกไมของหอม และเครอื่ งลบู ไลเปน ตน ไดยืนกลา วสดุดมี ปี ระการตาง ๆ เมื่อพระอาทติ ยยงั ทอแสงอยูอยางน้นี ่นั แล พระมหาบรุ ษุ ทรงขจัดมารและพลมารไดแ ลว อันหนอ โพธพิ ฤกษซึ่งตกลงเหนอื จีวร ประหน่ึงกลบี แกว ประพาฬแดง บชู าอยู ทรงระลึกไดบพุ เพนวิ าสญาณในปฐมยาม ทรงชําระทิพยจกั ษุในมชั ฉมิ ยาม ทรงยงั ญาณใหหยั่งลงในปฏจิ จสมปุ บาทในปจฉิมยาม ครั้งเมื่อพระมหาบรุ ุษน้นั ทรงพจิ ารณาปจจยาการอันประกอบดว ยองค ๑๒ โดยอนุโลมและปฏิโลมดวยอาํ นาจวัฏฏะและววิ ฏั ฏะ หมน่ื โลกธาตหุ ว่นั ไหว ๑๒ ครงั้ จนจรดน้ํารองแผน ดินเปน ท่ีสุดกพ็ ระมหาบุรษุ ทรงยงั หมืน่ โลกทีใ่ หบ นั ลอื ล่ันหวนั่ ไหวแลว ไดท รงรแู จงแทงตลอดพระสัพพัญตุ ญาณ ในเวลาอรุณขน้ึ เมื่อพระมหาบรุ ุษนน้ั ทรงบรรลุพระสพั พญั ตุ ญาณแลว หมน่ื โลกธาตุท้งั สน้ิ ไดม ีการประดบั ตกแตงแลวรศั มีของธงชัยและธงปฏากที่ยกขน้ึ ณ ปากขอบจักรวาลทิศตะวนั ออก กระทบถงึ ขอบปากจักรวาลทศิ ตะวันตก ที่ยกขนึ้ ณ ชอบปากจักรวาลทศิ ตะวันตกก็เหมือนกัน กระทบถงึ ขอบปากจักรวาลทิศตะวนั ออก ท่ียกข้ึน ณ ขอบปากจักรวาลทิศเหนือ กระทบถึงขอบปากจกั รวาลทศิ ใต ท่ยี กข้นึ ณ ขอบปากจกั รวาลทศิ ใต กระทบถงึ ขอบปากจักรวาลทศิ เหนือ สวนรศั มีของธงชยั และ

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 123ธงปฏากทยี่ กขนึ้ ณ พ้ืนปฐพี ไดต้งั อยูจ รดพรหมโลก. รศั มที ่ีตัง้ อยใู นพรหมโลก กต็ ้งั ถึงพนื้ ปฐพี. ตน ไมด อกในหม่นื จกั รวาลก็ผลดิ อก ตน ไมผ ลก็ไดเตม็ ไปดว ยพวงผล ปทุมชนดิ ลาํ ตน กอ็ อกดอกที่ลาํ ตน ปทุมชนดิ กิง่ กา นก็ออกดอกท่กี ิง่ กาน ปทุมชนิดเครือเถาก็ออกดอกที่เครอื เถา ปทุมชนดิ หอ ยก็ออกดอกในอากาศ ปทมุ ชนิดเปนชอ ไดเ จาะทําลายชอหนิ ตง้ั ข้นึ ซอน ๆกนั ชอละ ๗ ชัน้ หมนื่ โลกธาตุไดห นนุ ไป เหมือนกลมุ ดายทคี่ ลายออกและเหมือนเคร่ืองปูลาดท่จี ดั วางไวดแี ลว ฉะน้นั . โลกนั ตนรกกวาง ๕๐๐ โยชนในระหวางจกั รวาลทัง้ หลาย ไมเ คยสวางดว ยแสงพระอาทิตย ๗ ดวง ก็ไดมีแสงสวางไสวเปนอนั เดยี วกันมหาสมทุ รลกึ ๘๔,๐๐๐ โยชน ไดก ลายเปน นา้ํ หวานแมนํ้าท้ังหลายไมไหล คนบอดแตก ําเนดิ แลเหน็ รูป คนหนวกแตกาํ เนดิ ไดยนิเสยี ง คนงอยเปล้ียแตก าํ เนิดเดนิ ได กรรมกรณท งั้ หลายมเี ครอื่ งจองจําเปน ตนแหง บรรดาเครอื่ งจองจาํ คือขอื่ เปนตน ไดข าดหลดุ ไป. พระมหาบุรุษอันเทวดาและมนษุ ยท้งั หลายบชู าดวยสมบตั ิอนั ประกอบดวยสิรหิ าปริมาณมไิ ด ดว ยประการอยา งนี้ เม่อื อัจฉริยธรรมอนั นา อัศจรรยทั้งหลายมีประการตา ง ๆ ปรากฏแลว ไดแ ทงตลอดพระสัพพัญุตญาณ จงึ ทรงเปลง อทุ านทพี่ ระพทุ ธเจา ทัง้ปวงมิไดทรงละวา เราเมอ่ื แสวงหานายชา ง (คอื ตัณหา) ผูก ระทํา เรือน เม่อื ไมป ระสบ ไดท องเทีย่ วไปยังสงสารมิใช นอ ย ความเกิดบอ ย ๆ เปน ทกุ ข ดกู อนนายชางผู กระทําเรือน เราเหน็ ทานแลว ทานจกั ทาํ เรือนไมได อีกตอไป ซ่ีโครงท้ังปวงของทาน เราหักแลว ยอด เรือนเรากําจดั แลว จติ (ของเรา) ถึงวสิ งั ขาร (นิพพาน) แลว เราไดถึงความส้ินตัณหาแลว .

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 124 ฐานะมีประมาณทาน เริ่มแตดุสติ บรุ ีจนกระทัง่ บรรลุพระสัพพญั ตุ -ญาณทโ่ี พธิมณั ฑน ้ี พึงทราบวา ชอื่ อวิทเู รนิทาน ดวยประการฉะนี.้ สนั ตเิ กนิทาน ก็สนั ตเิ กนทิ าน ทานกลาววา พระผูมพี ระภาคเจา เมอ่ื ประทบั อยูในท่ีนั้น ๆ อยางนีว้ า พระผูมพี ระภาคเจา ประทับอยใู นพระวิหารเชตวนั อนัเปนอารามของทา นอนาถบณิ ฑิกเศรษฐี ใกลก รงุ สาวัตถี (และวา) ประทบัอยูในกูฏาคารศาลาปามหาวัน ใกลก รงุ เวสาลี ดังน้ี สนั ติเกนทิ านยอ มมไี ดในทนี่ ั้น ๆ นัน่ เอง. ทานกลา วไวอ ยา งนัน้ ก็จรงิ ถงึ อยางน้นั สนั ตเิ กนทิ านนน้ั พึงทราบอยางน้ัน จาํ เดิมแตต น ไป. ก็พระผูมพี ระภาคเจาประทบั น่งั บนบัลลังกชยั เปลงอทุ านน้แี ลว ไดม ีพระดํารดิ งั นีว้ า เราแลน ไปถงึ ส่ีอสงั ไขยกบั แสนกปั ก็เพราะเหตุบลั ลังกน ี้ เราตดั ศรี ษะอันประดบั แลวท่ลี าํ คอแลว ใหทานไปตลอดกาลมปี ระมาณเทานี้ ก็เพราะเหตบุ ลั ลังกน ้ี เราควกั นยั นต าท่ีหยอดดแี ลว (และ) ควักเนอื้ หวั ใจใหไปใหบตุ รเชน ชาลกี ุมาร ใหธ ดิ าเชน กบั กณั หาชนิ ากุมารี และใหภรรยาเชนพระมทั รีเทวีเพ่ือเปน ทาสของตนอื่น ๆ เพราะเหตบุ ลั ลังกนี.้ บลั ลังกน ้เี ปนบลั ลังกชัย เปนบัลลังกป ระเสรฐิ ของเรา ความดาํ ริของเราผูน ั่งบนบัลลงั กนี้ ยงั ไมบ ริบรู ณเพียงใด เราจกั ไมล กุ ขน้ึ จากบลั ลงั กนี้เพยี งนั้น ดงั นี้ จึงทรงนง่ั เขา สมาบตั หิ ลายแสนโกฏิอยู ณ บัลลังกน ้นั น่นั แหละตลอดสปั ดาห ซงึ่ ทานหมายกลา วไววา ครงั้ นนั้ แล พระผมู ีพระภาคเจา ทรงนั่งเสวยวมิ ุตตสิ ุขโดยบลั ลังกเดียว ตลอดสปั ดาห๑ ครง้ั นั้น เทวดาบางเหลาเกิดความปริวิตกขึ้นวา แม๑. สัปดาหท่ี ๑ หลงั จากตรสั รู

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 125วนั น้ี พระสิทธตั ถะก็ยงั มีกิจที่จะตองทาํ อยหู รือหนอ เพราะยงั ไมละความอาลยัในบัลลังก. พระศาสดาทรงทราบความวติ กของเทวดาทงั้ หลาย เพ่อื จะทรงระงบั ความปริวิตกของเทวดาเหลานน้ั จึงทรงเหาะขึ้นยงั เวหาส ทรงแสดงยมกปาฏิหารยิ . จริงอยู ยมกปาฏหิ าริยทที่ รงกระทาํ ณ มหาโพธมิ ัณฑก ด็ ีปาฏิหาริยท ท่ี รงกระทําในสมาคมพระญาตกิ ด็ ี ปาฏิหาริยทท่ี รงกระทาํ ในสมาคมชาวปาตลบี ตุ รกด็ ี ท้งั หมดไดเ ปนเหมือนยมกปาฏิหารยิ ท คี่ วงไมคณั ฑามพพฤกษ. พระศาสดาคร้นั ทรงระงับความปริวิตกของเทวดาท้งั หลายดว ยปาฏ-ิหาริยน ้แี ลว จึงประทับยนื ทางดา นทิศเหนอื เยือ้ งไปทางทิศทะวันออกนดิ หนอยทรงพระดาํ รวิ า เราไดร แู จง พระสัพพัญตุ ญาณบนบัลลังกนห้ี นอ จึงทอดพระเนตรท้ังสองโดยไมกระพริบ มองดูบัลลงั กอนั เปนสถานที่บรรลุผลแหงบารมีที่ทรงบําเพญ็ มาตลอดสี่อสงไขยแสนกปั ทรงยบั ยง้ั อยหู นึ่งสปั ดาห.สถานท่นี ั้น จึงช่ือวา อนมิ ิสเจดีย๑ ลาํ ดับนนั้ ทรงนิรมิตท่ีจงกรมในระหวา งบลั ลงั ก และทท่ี ีป่ ระทบั ยืนแลว ทรงจงกรมในรตั นจงกรมอนั ยาวจากตะวนั ออกไปตะวันตก ทรงยบั ยั้งอยูหน่งึ สัปดาห. สถานทนี่ น้ั จึงชอื่ วา รัตนจงกรมเจดยี .๒ แตใ นสัปดาหท ี่ ๔ เทวดาท้งั หลายนิรมิตเรอื นแกว ในดานทิศพายพัจากตนโพธปิ ระทับน่งั บนบลั ลงั กในเรอื นแกว นัน้ ทรงพิจารณาพระอภิธรรมปฎ กและสมนั ตปฏฐานอนั นี้นยั ในเรอื นแกวน้ี โดยพเิ ศษ ทรงยบั ย้งั อยูหน่ึงสปั ดาห. สวนนกั อภธิ รรมกลาววา เรือนอันลว นแลว ดว ยแกว ช่อื วารตั นฆระเรอื นแกว สถานที่ทรงพจิ ารณาปกรณท้งั ๗ พระคัมภีร กช็ ือ่ วารตั นฆรเรือนแกว . กเ็ พราะเหตุท่ีปริยายแมทงั้ สองนี้ยอมใชไ ดในท่นี ี้ ฉะนัน้๑. สัปดาหท่ี ๒ นับแตตรัสรู ๒. สปั ดาหท่ี ๓ นบั แตต รสั รู

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 126คาํ ทัง้ สองน้ีควรเธอถอื ทีเดียว. กจ็ ําเดิมแตน ัน้ มา สถานทนี่ ้นั จึงชอื่ วา รตั น-ฆรเจดยี . ๑ พระศาสดาทรงยับยง้ั อยู ณ ท่ีใกลต นโพธ์นิ ั่นเอง ตลอด ๔ สปั ดาหดวยอาการอยางนี้ ในสปั ดาหท ี่ ๕ จงึ เสด็จจากควงโพธพิ ฤกษเ ขาไปยงั ตนอชปาลนโิ ครธ ทรงน่ังพิจารณาพระธรรมและเสวยวิมุตตสิ ุขอยู ณ ตนอช-ปาลนโิ ครธ๒ แมนัน้ . สมยั น้นั เทวปตุ รมารติดตามอยูตลอดกาลมปี ระมาณเทานี้ แมจะเพงมองหาชอ งทางอยู กไ็ มไดเหน็ ความพลงั้ พลาดอะไร ๆ ของพระสทิ ธัตถะนี้ จงึถงึ ความโทมนสั วา บดั น้สี ทิ ธัตถะน้ีลวงพน วิสยั ของเราแลว จงึ นง่ั ที่หนทางใหญคิดถงึ เหตุ ๑๖ ประการ จงึ ขีดเสน ๑๖ เสน ลงบนแผนดิน คอื คดิ วา เราไมไดบําเพ็ญทานบารมเี หมือนสิทธตั ถะน้ีแลวขีดลงไปเสน หนง่ึ . อนง่ึ คดิ วาเราไมไ ดบ ําเพ็ญศีลบารมี เนกขัมมบารมี ปญ ญาบารมี วิริยบารมี ขันตบิ ารมีสจั บารมี อธิษฐานบารมี เมตตาบารมี อเุ บกขาบารมี เหมอื นสทิ ธัตถะน้ีดวยเหตุนัน้ เราจงึ ไมเปน เหมือนสทิ ธตั ถะน้ี แลว ขดี เสน (ที่ ๒ ถึง) ท่ี ๑๐.อนงึ่ คดิ วา เราไมไ ดบําเพญ็ บารมี ๑๐ อันเปนอปุ นิสัยแกการแทงตลอดอาสยานุสยญาณ อินทรยิ ปโรปรยิ ญาณ มหากรุณาสมาปตติญาณ ยมกปาฏ-ิหารยิ ญาณ อนาวรณญาณ และสัพพัญญุ าณ อันไมทั่วไปแกผูอ ื่น เหมอื นดังสทิ ธัตถะน้ี ดวยเหตุนนั้ เราจงึ ไมเ ปน เหมือนดงั สทิ ธัตถะน้ี แลวขดี เสน (ท่ี๑๑ ถึง) ท่ี ๑๖ เมื่อเทวปตุ ตมารน้นั นง่ั ขดี เสน ๑๖ เสน อยูบ นทางใหญ เพราะเหตเุ หลา น้นั ดวยประการอยา งนแ้ี ลว สมัยนน้ั ธิดามารทง้ั ๓ คือ นางตณั หานางอรดแี ละนางราคา กลาวกันวา บิดาของพวกเราไมปรากฏ บัดน้ี อยูท่ี๑. สปั ดาหท่ี ๔ นบั แตตรัสรู ๑. สัปดาหท่ี ๕ นับแตตรัสรู

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 127ไหนหนอ จึงมองหาอยู. ไดเ ห็นเทวปุตรมารนน้ั ไดรับความโทมนัสขีดแผนดินอยู จึงพากันไปยังสํานักของบิดาถามวา ทานพอ เพราะเหตไุ ร ทานพอ จึงเปนทกุ ข หมนหมองใจ. เทวปุตรมารกลา ววา ลูกเอย มหาสมณะนล้ี วงพนอาํ นาจของเราเสียแลว พอ คอยดูอยูตลอดกาลมีประมาณเทา น้ี ยงั ไมอ าจเห็นชองโอกาสของมหาสมณะน้ี ดวยเหตุนนั้ พอจึงเปน ทกุ ขห มน หมองใจ. มารธดิ ากลา ววา ถา เมื่อเปนอยา งนั้น คุณพอ อยาไดเสียใจ พวกขา พเจา จกั กระทาํมหาสมณะนนั้ ใหอ ยใู นอาํ นาจของตน แลว จกั พามา. เทวปุตรมารกลาววาลกู เอย ใคร ๆ ไมอาจทาํ มหาสมณะนี้ใหอ ยูใ นอํานาจ บุรุษผูน ีต้ ัง้ อยใู นศรัทธาอนั ไมหวัน่ ไหว. ธิดามารกลา ววา ทา นพอ พวกขาพเจาเปนลกู ผหู ญงินะ พวกขา พเจา จักเอาบว งคือราคะเปน ตน ผูกมหาสมณะใหม น่ั แลว นาํ มาใหเดี๋ยวน้ี ทา นพออยาคดิ ไปเลย. กลา วแลวธดิ ามารท้ัง ๓ นั้น จงึ จากทนี่ เ้ี ขาไปหาพระผูมีพระภาคเจากราบทูลวา ขาแตพระสมณะ พวกขา พระบาทจกั บําเรอเทาของพระองค. พระผมู พี ระภาคเจา มไิ ดลืมพระเนตรแลดู มพี ระมนัสนอมไปในธรรมเคร่ืองสน้ิ ไปแหงอปุ ธิอนั ยอดเย่ยี ม และประทบั น่งั เสวยสขุ อนั เกดิแตว ิเวกเทานัน้ . ธดิ ามารคิดกนั อกี วา ความประสงคข องพวกผชู ายไมเ หมือนกันผูชายบางคนรักหญิงกุมารรี ุนสาว บางคนรักหญงิ ผอู ยูในปฐมวยั บางคนรกั หญงิผูตัง้ อยใู นมัชฌมิ วัย บางคนรักหญิงผตู ้ังอยูในปจฉิมวัย ถา กระไร พวกเราควรประเลาประโลมดวยรปู นานาประการ จึงนางหนง่ึ ๆ นริ มิตอตั ภาพเปนรอย ๆ อตั ภาพ โดยเปนรปู หญิงรนุ เปนตน เปนหญงิ ยงั ไมต ลอดเปน หญิงคลอดคราวเดียว เปนหญงิ ตลอด ๒ คราว เปน หญงิ กลางคนและเปนหญิงรนุ ใหญ เขาไปหาพระผูมีพระภาคเจา ถงึ ๖ คร้ัง แลวกลาววา ขาแตพระสมณะ พวกขาพระบาทจกั บาํ เรอบาทของพระองค. พระผูมพี ระภาคเจา





























พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 142จรุ ณหอม บรรจเุ ตม็ ดวยโภชนะอันอดุ ม แลว วางไวท่มี อื ของพระเถระ โดยตรสั วา ทา นจงถวายพระตถาคต. พระเถระเมือ่ ชนชาววังทง้ั ปวงเหน็ อยนู นั่ แลไดโ ยนบาตรขึ้นไปบนอากาศ สว นตนเองก็เหาะขึน้ สูเ วหาสนาํ บณิ ฑบาตไปวาง เฉพาะทพี่ ระหัตถข องพระศาสดาโดยตรง พระศาสดาเสวยบณิ ฑบาตน้ัน พระเถระไดนําบิณฑบาตมาทุกวนั ๆ โดยอบุ ายน้.ี แมพระศาสดากเ็ สวยบณิ ฑบาตเฉพาะของพระราชาเทาน้ัน ในระหวา งเดนิ ทาง ในเวลาเสดจ็ ภัตกจิทุก ๆ วนั แมพระเถระก็กลาววา วนั นพี้ ระผมู ีพระภาคเจาเสดจ็ มาส้ินระยะทางมีประมาณเทา นี้ วนั น้ีเสด็จมาสิ้นระยะทางมีประมาณเทา น้ี ไดกระทาํ ราชสกุลทัง้ ส้นิ ใหม คี วามเล่อื มใสเกิดข้ึนในพระศาสดา โดยเวนการไดเ ห็นพระศาสดาดวยธรรมกี ถาอันสมั ปยตุ ดวยพุทธคุณ. ดวยเหตุน้นั แหละ พระศาสดาจงึ สถาปนาพระอทุ ายีเถระน้ันไวใ นตาํ แหนง เอตทัคคะวา ดูกอ นภิกษุท้ังหลายพระกาฬุทายนี นั้ เปนเลิศกวา พระสาวกท้ังหลายของเราผยู ังตระกูลไหเลือ่ มใส. ฝา ยเจาศากยะทั้งหลาย เมอ่ื พระผูม พี ระภาคเจา เสด็จถงึ โดยลําดบั แลวไดป รกึ ษากันวา พวกเราจกั เหน็ พระญาติผูป ระเสริฐของพวกเรา จึงประชมุกันพิจารณาสถานที่เปน ทีป่ ระทับ อยขู องพระผูมีพระภาคเจา กาํ หนดกนั วาอารามของเจานิโครธศากยะนา รน่ื รมย จึงใหกระทาํ วิธีการซอมแซมทุกอยางในอารามน้นั ถือของหอมและดอกไม เมอ่ื จะกระทําการตอนรับ จึงสง เด็กชายและเดก็ หญงิ ชาวบา นหนุมสาว ซ่ึงประดับดว ยเคร่ืองประดับทกุ อยางไปกอน จากนน้ั จงึ สงราชกมุ ารและราชกุมารไี ป ตนเองบูชาดว ยของหอม ดอกไมและจรุ ณเปนตนอยใู นระหวา งราชกุมารและราชกมุ ารเี หลาน้ัน ไดพาพระผมู ี-พระภาคเจา ไปยังนโิ ครธารามน้นั เอง ในนิโครธารามนนั้ พระผมู ีพระภาคเจาแวดลอ มดวยพระขณี าสพ ๒ หมนื่ ประทับน่งั บนบวรพุทธอาสนท ่เี ขาปลู าดไวแลว . ธรรมดาเจา ศากยะทัง้ หลายผูมีพระชาตมิ านะถือตัวจดั เจา ศากยะ

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 143เหลา นั้นทรงพระดาํ ริวา สทิ ธตั ถกมุ ารเปนเดก็ กวาเราทัง้ หลาย เปนพระกนิษฐาเปนพระภาคไิ นย เปน พระโอรส เปนพระนดั ดา ของเราทงั้ หลาย จึงตรัสกะราชะกมุ ารทง้ั หลายทห่ี นมุ ๆ วา ทา นทั้งหลายจงถวายบงั คมพระผมู พี ระภาคเจาพวกเราจักนง่ั ขางหลงั ทานทงั้ หลาย. เมื่อศากยะเหลา นน้ั ไมถวายบังคมประทบั น่ังแลวอยา งนี้ พระผมู พี ระ-ภาคเจา ทรงตรวจดอู ธั ยาศัยของเจา ศากยะเหลา นนั้ แลวทรงพระดาํ ริวา พระญาติทั้งหลายไมไ หวเรา เอาเถอะ เราจักใหพระญาติเหลานัน้ ไหว จึงทรงเขา จตุตถฌานมีอภิญญาเปนบาท ออกจากฌานแลวเหาะขน้ึ สูเ วหาส ปานประหนึ่งโปรยธุลีพระบาทลงบนพระเศยี ร ของเจา ศากยะเหลา นนั้ ไดท รงกระทาํปาฏิหาริยเ ชน เดยี วกบั ยมกปาฏหิ าริยท คี่ วงตน ฑามพพฤกษ พระราชาทรงเหน็ความอัศจรรยนัน้ จงึ ตรสั วา ขา แตพ ระผมู ีพระภาคเจา ในวันทีพ่ ระองคประสตู ิหมอมฉันแมไ ดเ ห็นพระบาทของพระองค ซ่ึงหมอมฉนั นําเขา ไปใหไ หวก าล-เทวลดาบสกลับไปประดิษฐานบนกระหมอ มของพราหมณ กไ็ ดไหวพ ระองคนเ้ี ปน การไหวค รั้งแรกของหมอมฉัน ในวันวัปปมงคลแรกนาขวญั . ก็ไดเ ห็นความเปลี่ยนแปลงของรมเงาไมหวา ของพระองค ผูบ รรทมอยบู นท่บี รรทมอนัประกอบดวยสิริใตรมเงาไมห วา ก็ไดไหวพ ระบาท น้ีเปน การไหวครั้งท่ีสองบดั นี้ แมไ ดเหน็ ปาฏิหารยิ น ี้ ซึง่ ไมเคยเหน็ จึงไหวพระบาทของพระองคน้เี ปน การไหวครัง้ ทสี่ ามของหมอ มฉนั . กเ็ มอื่ พระราชาถวายบงั คมแลว แมเจา ศากยะพระองคหน่งึ ชือ่ วาผสู ามารถเพือ่ จะไมถ วายบังคม พระผมู ีพระภาคเจาแลว ดํารงอยู ไมไดมี เจา ศากยะทงั้ ปวงพากันถวายบงั คมทัง้ หมด พระผมู ีพระภาคเจาทรงใหพ ระญาตทิ งั้ หลายถวายบงั คมดวยประการดังนี้แลว จึงเสด็จลงจากอากาศ ประทับนง่ั บนพระอาสนท ลี่ าดไว เมอื่ พระผมู ีพระภาคเจาประทับ

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 144นง่ั แลว สมาคมพระญาติอนั ถงึ สดุ ยอดจึงไดมขี น้ึ . เจา ศากยะทั้งปวงเปนผมู ีพระทยั แนวแนประทับนัง่ แลว. ลําดับนั้น มหาเมฆไดยังฝนโบกขรพรรษใหตกลงมา น้าํ สแี ดงมเี สียงไหลไปขา งลา ง และผปู ระสงคจ ะใหเ ปย กจงึ จะเปย กฝนโบกขรพรรษ แมม าตรวา หยาดเดยี วก็ไมต กลงบนรา งกายของผทู ี่ไมป ระสงคจะใหเบียก. เจาศากยะท้งั ปวงเห็นดงั น้ัน เกิดอัศจรรยไ มเ คยเปน จงึ สง สนทนากันวา โอ ! นา อัศจรรย โอ ! ไมเ คยมี พระศาสดาตรัสวา ฝนโบกขรพรรษตกลงในสมาคมแหง พระญาตขิ องเรา ในบัดนีเ้ ทานนั้ กห็ ามิได แมในอดตี ก็ไดตกแลว จงึ ตรสั เวสสันดรชาดก เพราะเหตุเกดิ เรอื่ งน้.ี เจา ศากยะทัง้ ปวงสดับพระธรรมเทศนาแลว เสด็จลุกข้ึนถวายบังคมแลวหลกี ไป. พระราชาหรอืมหาอาํ มาตยของพระราชาแมพ ระองคเ ดียว ชื่อวา กราบทลู วา ขอพระองคจ งรับภกิ ษาของขา พระองคทงั้ หลายในวนั พรงุ น้ี ดังน้แี ลว จงึ เสด็จไป มิไดม เี ลย. วนั รุง ขึ้นพระศาสดาทรงแวดลอมดว ยภกิ ษุสองหมืน่ องค เสดจ็ เขาไปบณิ ฑบาตยังกรุงกบลิ พัสด. ไมมใี คร ๆ จะไปนิมนตหรอื รบั บาตร พระผมู ีพระภาคเจา ประทบั ยืนท่เี สาเข่ือน ทรงพระราํ พึงวา พระพทุ ธเจาในปางกอนทั้งหลายเสดจ็ เที่ยวบณิ ฑบาตในพระนครของตระกลู อยางไรหนอ ไดเสด็จไปยังเรอื นของอสิ รชนโดยขา มลําดับ หรือเสด็จเทีย่ วจาริกไปตามลาํ ดับตรอกแตนั้นไมไดท รงเหน็ แมพระพทุ ธเจา พระองคห นึ่งเสดจ็ ไปโดยขา มลาํ ดบั แลวทรงพระดําริวา น้เี ทานนั้ เปน วงศข องพระพทุ ธเจาท้ังหลายนนั้ นี้เปน ประเพณีของเรา แมเ รากค็ วรจะยกไวในบดั น้ี และสาวกท้ังหลายของเราสําเหนยี กตามเราอยูนั่นแล จักบําเพญ็ บิณฑบาตจารกิ วัตรตอ ไป จงึ เสด็จเทีย่ วบณิ ฑบาตไปตามลําดบั ตรอก ตงั้ แตเรอื นท่ตี ัง้ อยูในทีส่ ุดไป มหาชนเลา ลอื กันวา ไดย ินวาสิทธัตถกมุ ารผูเปน เจา เทย่ี วไปเพอื่ กอ นขา ว จึงเปดหนา ตางบนปราสาทชั้นท่ี ๒และช้นั ที่ ๓ เปน ตน ไดเปนผขู วนขวายเพ่ือจะดู.

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 145 ฝา ยพระเทวมี ารดาพระราหุล ทรงพระดาํ รวิ า นยั วาพระลกู เจา เสด็จเท่ยี วไปดวยวอทองเปน ตน โดยราชานภุ าพยิง่ ใหญในพระนครนแ้ี หละ บัดนี้ปลงผมและหนวด นุงหมผา กาสายะ ถอื กระเบอ้ื งเทย่ี วไปเพ่ือกอ นขา ว จะงามหรอื หนอ จึงทรงเปดสีหสัญชรทอดพระเนตรตรวจดอู ยู ไดเห็นพระผมู ีพระภาคเจา ทรงยังถนนในพระนครใหสวางไสวดว ยพระรัศมแี หง พระสรีระอนัรุงเรอ่ื งดวยความรงุ เร่อื งตา ง ๆ ไพโรจนด ว ยพุทธสิริอันหาอปุ มามไิ ด ประดบัดว ยมหาปุรสิ ลกั ษณะ ๓๒ ประการ สวา งดวยพระอนุพยัญชนะ ๘๐ ซึ่งตามประชิดลอมรอบดวยพระรศั มีดานละวา จงึ ทรงชมเชยตงั้ แตพระอณุ หิสจนถงึพน้ื พระบาท ดวยคาถาชือ่ วานรสหี ะ ๘ ประการ มีอาทอิ ยางนว้ี า พระผูน รสหี ะมีพระเกสาเปน ลอนออนดําสนิท มีพืน้ พระนลาตปราศจากมลทินดุจพระอาทิตย มีพระ- นาสกิ โคง ออนยาวพอเหมาะ ซา นไปดว ยพระขา ยแหง พระรัศมี ดังน้.ีแลวจงึ กราบทูลแดพ ระราชาวา พระโอรสของพระองคเ สดจ็ เทย่ี วไปเพอื่ กอนขาว. พระราชาทรงสลดพระทัย ทรงจดั ผา สาฎกใหเขาท่ีดว ยพระหตั ถรบี ดวนเสดจ็ ออกไปโดยเร็ว ประทบั ยืนเบ้อื งพระพกั ตรของพระผมู ีพระภาคเจาแลว ตรัสวา ขาแตพ ระองคผ เู จริญ เพราะเหตไุ ร พระองคจงึ ทรงกระทาํหมอมฉนั ใหไ ดอ าย เพ่อื อะไร จงึ เสด็จเท่ียวไปเพ่ือกอนขาว ทําไมพระองคจงึกระทําความสาํ คญั วา ภกิ ษุทัง้ หลายมปี ระมาณเทานี้ไมอ าจไดภ ตั ตาหาร. พระศาสดาตรัสวา มหาบพิตร อันน้ีเปนวงศ เปน จารีตของอาตมภาพ. พระราชาตรัสวา ขา แตพระองคผ ูเ จริญ หมอมฉนั ทัง้ หลายมวี งศเปนกษตั ริยมหาสมมต.ิราชมิใชห รือ กใ็ นวงศกษตั ริยม หาสมมตราชน้ัน แมกษตั ริยพ ระองคหน่ึงชอื่ วา

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 146เท่ยี วไปเพอื่ ภกิ ขาจาร ยอมไมม .ี พระศาสดาตรัสวา มหาบพติ ร ชอ่ื วาวงศน ้ีเปน วงศของพระองค. แตชอ่ื วา พุทธวงศน้ี คือ พระทปี งกร พระโกณฑญั ญะพระกัสสปะ เปนวงศของอาตมภาพ และพระพุทธเจา อนื่ ๆ นบั ไดห ลายพนัไดส ําเรจ็ การเล้ียงชพี ดวยการภกิ ขาจารเทานัน้ ประทับยืนในระหวางถนนน้นั แล ตรสั พระคาถานวี้ า บุคคลไมค วรประมาทในกอนขา ว อนั บุคคลพึง ลุกข้ึนยนื รับ พงึ ประพฤตธิ รรมใหสจุ รติ บคุ คลผู ประพฤตธิ รรมยอ มอยเู ปน สขุ ทงั้ ในโลกน้ี และในโลก หนา .ในเวลาจบคาถา พระราชาดํารงอยูใ นโสดาปตติผล, และไดสดบั คาถาน้ีวา บุคคลพึงประพฤตธิ รรมใหสจุ รติ ไมพึงประพฤติ ธรรมนน้ั ใหทจุ ริต ผูประพฤติธรรมเปนปรกตยิ อ มอยู เปน สุขทง้ั ในโลกน้แี ละในโลกหนา ดังน.้ีไดดาํ รงอยูในสกทาคามผิ ล, ไดท รงสดบั ธรรมปาลชาดก ไดด าํ รงอยใู นอนาคา-มิผล, ในสมยั ใกลจ ะสวรรคต ทรงบรรทมบนพระทบ่ี รรทมอันประกอบดวยสิริภายใตเ ศวตฉตั ร ไดบรรลพุ ระอรหัต. กิจในการตามประกอบความเพยี รโดยการอยปู า ไมไ ดมีแกพ ระราชา. ก็ครน้ั ทรงกระทําใหแ จงเฉพาะโสดา-ปตติผลเทาน้ัน ทรงรบั บาตรของพระผมู ีพระภาคเจา ทรงนมิ นตพ ระผมู พี ระ-ภาคเจา พรอมทั้งบรษิ ทั ใหเ สด็จขนึ้ สมู หาปราสาท ทรงอังคาสดว ยขาทนียโภชนี-ยาหารอันประณีต. ในเวลาเสรจ็ ภตั กจิ นางสนมทง้ั ปวงยกเวน พระมารดาพระราหุลพากนั มาถวายบังคมพระผมู พี ระภาคเจา. ก็พระมารดาของพระราหุลนนั้ แมช นผูเ ปนบริวารจะกลาววา พระองคจ งเสดจ็ ไปถวายบังคมพระลกู เจา

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 147เถดิ ก็ตรสั วา ถา คณุ ของเรามอี ยูไซร พระลูกเจา จักเสดจ็ มายงั สาํ นักของเราดวยพระองคเองที่เดียว เราจกั ถวายบังคมพระลูกเจา นนั้ ผูเ สด็จมาเทานน้ั ครัน้ตรัสดงั นแ้ี ลว ก็มิไดเสดจ็ ไป. พระผมู พี ระภาคเจาทรงใหพ ระราชาถือบาตรแลวเสด็จไปยังหอ งอนั มีสริ ขิ องพระราชธิดา พรอมกับพระอคั รสาวกท้ังสองแลวตรัสวา พระราชธิดาเมอื่ ถวายบังคมตามชอบใจ ไมพงึ กลา วคําอะไร ๆแลวประทบั นงั่ บนอาสนะที่ เขาปลู าดไว. พระราชธดิ าเสด็จมาโดยเรว็ จับขอพระบาททัง้ สอง เกลือกพระเศียรบนหลังพระบาท ถวายบงั คมตามพระอธั ยาศัยพระราชาตรสั คณุ สมบตั ิมีความรกั และความนับถอื มากในพระผมู ีพระภาคเจาของพระราชธดิ าวา ขา แตพระองคผเู จริญ ธิดาของหมอมฉนั ไดฟงขา ววาพระองคท รงนุง หม ผา กาสาวะ ตัง้ แตน น้ั กท็ รงผา กาสาวะบาง ไดสดับวาพระองคมีภตั หนเดียว ก็มีภัตหนเดียวบาง ทรงสดับวาพระองคทรงละที่นั่งที่นอนใหญ ก็ทรงบรรทมเฉพาะบนเตยี งนอยอันขงึ ดวยแผนผา ทรงทราบวาพระองคทรงละเวน จากของหอมมดี อกไมเปนตน ก็ทรงงดเวน ดอกไมและของหอมบาง เมอ่ื พระญาตทิ รงสงขาวมาวา เราท้ังหลายจักปฏิบัตใิ นญาตทิ ัง้ หลายของตน กไ็ มท รงเหลียวแลแมพระญาติสกั องคเ ดยี ว ขาแตพระผูมีพระภาคเจาพระธดิ าของหมอ มฉนั เพียบพรอ มดว ยคุณสมบตั อิ ยา งนี.้ พระศาสดาตรสั วามหาบพติ ร ขอท่พี ระราชธดิ าอันพระองครักษาคุม ครองอยใู นบดั น้ี พึงรักษาคมุ ครองตนในเม่อื ญาณแกกลาแลวนั้น ไมนาอศั จรรย เม่อื กอ นราชธิดานี้ไมมีการอารกั ขา ทอ งเทีย่ วอยทู เ่ี ชงิ เขาก็รกั ษาคนอยไู ดใ นเม่ือญาณยงั ไมแ กก ลาดงั นี้ แลวทรงบรรเทาความเศรา โศกของพระราชธิดาน้ัน ตรสั จนั ทกินรชี าดกทรงใหโสดาปตตผิ ล แลว ลุกจากอาสนะเสด็จหลีกไป. ในวันท่สี อง เมื่อววิ าห-มงคลเน่ืองในการเสดจ็ เขา พระตาํ หนกั อภิเษกของนนั ทราชกุมาร ดาํ เนินไปอยู

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 148พระศาสดาเสดจ็ ไปยังตําหนกั ของนนั ทราชกุมารนั้น ทรงใหพระกุมารถอื บาตรมีพระประสงคจ ะใหบ วช จึงตรัสมงคลกถาแลว เสด็จลุกข้ึนจากอาสนะเสดจ็ หลีกไป นางชนบทกัลยาณเี หน็ พระกมุ ารกาํ ลังเสด็จไป จึงทูลวา ขา แตพ ระลูกเจาพระองคควรเสด็จกลบั มาโดยดว น แลว ทรงชะเงอ พระศอแลดู ฝายพระกมุ ารนน้ั ไมอ าจทูลพระผูมพี ระภาคเจา วา ขอพระองคท รงรับเอาบาตรไป ไดเสดจ็ไปยงั วิหารนั่นแล. นนั ทกุมารน้นั ไมป รารถนาเลย พระผมู พี ระภาคเจา ทรงใหบรรพชาแลว . พระผมู พี ระภาคเจา เสดจ็ ไปกบิลพัสดุบรุ ที รงใหน นั ทกมุ ารบวชดวยประการฉะน้ี. ในวนั ท่ี ๗ พระมารดาพระราหุลประดับพระกุมารแลวสง ไปเฝา พระผูมพี ระภาคเจา ดว ยพระดํารสั วา ลูกเอย เจา จงดพู ระสมณะซ่ึงมีรปู ดังพรหม มีวรรณะดงั ทองคําแวดลอ มดว ยสมณะ ๒ หม่นื องคอยางนนั้ พระสมณะน้ีเปนพระบดิ าของเจา พระสมณะนัน้ ไดม ีขมุ ทรพั ยใหญ จาํ เดิมแตพ ระสมณะนั้นออกบวชแลว แมไมเ หน็ ขุมทรพั ยเ หลาน้นั เจาจงไปขอมรดกกะพระสมณะนั้นวา ขาแตพ ระบิดาขาพระองคเปนกุมาร ไดร ับอภเิ ษกแลวจักเปน พระเจาจักร-พรรดิ ขาพระองคตองการทรัพย ขอพระองคจ งประทานทรัพยแกข าพระองคเพราะบตุ รยอมเปนเจาของสิ่งของอันเปน ของบดิ า. พระกมุ ารเสด็จไปยงั สํานักของพระผมู พี ระภาคเจา ทีเดียว กลบั ไดค วามรกั ตอพระบิดามีจติ ใจรา เรงิ นักกราบทลูวา ขา แตพ ระสมณะ รม เงาของพระองคเปน สขุ แลว ไดยนื ตรสั ถอยคาํ อยา งอน่ือนั สมควรแกพ ระองคเปน อันมาก. พระผูมีพระภาคเจา ทรงการทาํ ภัตกจิ แลวทรงกระทาํ อนโุ มทนา แลว เสด็จลกุ จากอาสนะหลกี ไป. ฝา ยพระกุมารเสด็จติดตามพระผมู พี ระภาคเจา ไปโดยตรัสวา ขา แตพ ระสมณะ ขอพระองคจ งประทานมรดกแกขาพระองค ขา แตพระสมณะ ขอพระองคจ งประทานมรดกแกขา พระ-องค. พระผูม พี ระภาคเจาทรงไมใ หพระกุมารกลบั . บริวารชนไมไดอาจเพ่ือ

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 149จะยงั พระกุมารผเู สด็จไปพรอ มกบั พระผมู ีพระภาคเจา ใหกลับ. พระกุมารนน้ัไดเ สด็จไปยงั พระอารามพรอมกบั พระผูมีพระภาคเจา ดว ยประการดังนี้. พระผูมีพระภาคเจาเสด็จดาํ เนินไป ทรงพระดําริวา กมุ ารนีป้ รารถนาทรัพยอนั เปนของบิดาซึง่ เปน ไปตามวัฏฏะมคี วามคับแคน เอาเถอะ เราจะใหอริยทรพั ย ๗ประการซ่ึงเราไดเ ฉพาะทโี่ พธิมัณฑแ กกุมารน้ี เราจะกระทําใหเปน เจา ของทรัพยมรดกอันเปน โลกตุ ระ. แลวตรัสเรียกทานพระสารีบตุ รมาวา สารบี ตุ รถา อยางนัน้ เธอจงใหร าหลุ กมุ ารบวช. กเ็ มือ่ พระกมุ ารบวชแลว ทุกขมีประมาณยิ่งเกดิ ขนึ้ แกพ ระราชา. เม่ือไมทรงสามารถจะอดกลน้ั ความทุกขน ัน้จึงทลู ใหพระผมู ีพระภาคเจาทรงทราบ. แลวทรงขอพรวา ขา แตพ ระองค.ผูเจรญิ ดังหมอ มฉันจะขอโอกาส พระผูเปน เจา ทงั้ หลาย ไมพึงบวชบตุ รท่ีบิดามารดายงั ไมอ นุญาต. พระผมู ีพระภาคเจาทรงรับพระดาํ รัสน้ันของพระราชานน้ั ในวนั รุงข้นึ เสวยพระกระยาหารเขาในพระราชนิเวศน เม่ือพระราชาผูประทับนง่ั อยู ณ สว นขางหนงึ่ ตรัสวา ขาแตพ ระองคผ เู จรญิ ในคราวที่พระองคท รงบาํ เพญ็ ทุกรกริ ยิ า เทวดาองคหนึง่ เขาไปหาหมอมฉนั กลา ววาพระโอรสของพระองคท รงทาํ กาละแลว หมอ มฉันไมเ ช่ือคําของเทวดานั้น หามเทวดานน้ั วา บตุ รของเรายังไมบ รรลุพระโพธญิ าณจะยงั ไมท าํ กาละ จึงตรัสวาบัดน้ี พระองคจกั ทรงเชอื่ ไดอยา งไร แมในกาลกอ นเม่ือคนเอากระดูกแสดงแลว กลาววา บุตรของทา นตายแลว พระองคก็ยังไมเชื่อ แลว ตรสั มหาธรรม-ปาลชาดก เพราะเหตุเกิดเร่อื งนข้ี น้ึ . ในเวลาจบพระคาถา พระราชาทรงดาํ รงอยูในพระอนาคามผิ ล. พระผูมพี ระภาคเจา ทรงใหพ ระบิดาดาํ รงอยูใ นผลท้ัง ๓ดว ยประการดงั นี้แลว อนั ภิกษุสงฆแ วดลอมแลว เสดจ็ ไปกรงุ ราชคฤหอ ีกทรงประทบั อยทู ป่ี า สตี วนั . สมัยนนั้ ทานอนาถบณิ ฑิกคฤหบดี เอาเกวียน ๕๐๐ เลมบรรทกุสินคาไปยงั เรือนของเศรษฐผี ูเ ปนสหายทร่ี กั ของตนในกรงุ ราชคฤห ไดส ดบั วา

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 150พระผมู ีพระภาคพทุ ธเจา เสด็จอุบัติขน้ึ ในกรุงราชคฤหนั้น ในเวลาใกลร งุ ไดเขาไปเฝาพระศาสดา ทางประตูทเ่ี ปดดวยอานุภาพของเทวดา ฟงธรรมแลวไดดํารงอยูในพระโสดาปต ตผล ในวนั ท่ีสอง ไดถวายมหาทานแกพ ระสงฆมีพระพุทธ. เจาเปน ประธานไดข อใหพระศาสดาทรงรบั ปฏญิ ญาที่จะเสด็จมาเมืองสาวัตถี ในระหวา งทางไดใหทรพั ยแสนหนง่ึ สรา งวหิ าร (ระยะทางหางกนั )โยชนหนึง่ แลว ซอื้ สวนของเจาเชตดวยเงิน ๑๘ โกฏิ โดยการปูลาดกหาปณะจาํ นวนโกฏิ (เตม็ เนื้อที)่ แลวทําการกอสรา งเสรจ็ (คอื ) ใหส รางพระคันธกุฏเี พ่ือพระทศพลตรงกลาง แลวใหส รางวหิ ารอันนา รน่ื รมยใ จรายลอมพระคนั ธกฏุ ีนัน้ในภมู ิภาคอันนา รืน่ รมย ดว ยการบรจิ าคเงิน ๑๘ โกฏิ คอื ใหสรา งเสนาสนะเชน กุฏหิ ลงั เดยี ว กฏุ สิ องหลัง กฏุ ทิ รงหงสเ วียน ศาลาราย และปะรําเปนตนและสระโบกขรณี ท่จี งกรม ทพ่ี ักกลางคนื และท่ีพักกลางวัน โดยเปนอาวาสสําหรบั อยอู าศยั เฉพาะผูเดยี ว ตามลําดบั ๆ เพ่ือพระเถระผใู หญ ๘๐องค แลว สง ทูตไปเพ่อื ตองการใหพ ระทศพลเสดจ็ มา. พระศาสดาไดท รงสดบัคําของทูตแลว มภี กิ ษุสงฆหมใู หญเ ปนบรวิ าร. เสด็จออกจากกรุงราชคฤหเสดจ็ ถงึ กรุงสาวตั ถีโดยลําดับ. ฝา ยมหาเศรษฐแี ลเตรียมการฉลองพระวิหารในวนั ท่ีพระตถาคตเสดจ็ เขา พระเชตวันวหิ าร ไดต กแตง ประดบั ประดาบตุ รดวยอลงั การเคร่อื งประดบั ทั้งปวง แลว สงไปพรอมกบั กมุ าร ๕๐๐ คนผูตกแตงประดบั ประดาแลว. บุตรเศรษฐนี ัน้ พรอ มทัง้ บริวาร ถอื ธง ๕๐๐ คนั อนัเร่อื งรองดว ยผาหา สี ไดอ ยูขางเบ้อื งพระพักตรของพระทศพล. ขางหลังของกุมารเหลาน้นั มธี ดิ าเศรษฐี ๒ นาง คือ สภุ ัททา และจุลลสภุ ทั ทา พรอ มกบั กมุ ารี ๕๐๐ นาง ถือหมอเต็มดวยน้ําเดนิ ออกไป. ขา งหลงั ของกุมารเี หลา นน้ัภรรยาของทานเศรษฐีประดับ ดวยอลงั การท้งั ปวง พรอ มกบั มาตุคาม ๕๐๐ นางถอื ถาดเตม็ (ดว ยอาหาร) ออกไปเบอ้ื งหลงั ของตนทัง้ หมด ทา นมหาเศรษฐี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook