พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 251แลว ประทบั อยูในพระวหิ ารเวฬวุ ันประมาณก่ึงเดอื น แลวไดเ สดจ็ ไปพระ-วิหารเชตวัน ในพระเชตวันนั้น กลุ บตุ รไดส มาทานธุดงค ๑๓ เท่ยี วไปบณิ ฑ-บาตตามลาํ ดับตรอกในนครสาวัตถี ยิ่งกาลเวลาใหล ว งไป ใคร ๆ เรียกวาพระจูฬบณิ ฑปาตกิ ติสสเถระ ไดเปนผูปรากฏรกู นั ท่วั ไปในพระพุทธศาสนาเหมือนพระจนั ทรเพ็ญในพนื้ ทองฟา ฉะนั้น. ในกาลนัน้ เม่ือกาลเลน นักขตั ฤกษย งั ดาํ เนินไปในนครราชคฤห บดิ ามารดาของพระเถระเกบ็ สิ่งของอนั เปน เครอ่ื งประดบั อนั มอี ยูใ นครัง้ พระเถระเปนคฤหัสถไ วในผอบเงิน เอามาวางไวท ี่อกรอ งไหพ ลางพดู วา ในการเลนนักขตั ฤกษอ ืน่ ๆ บตุ รของพวกเราน้ีประดบั ดว ยเคร่อื งประดบั นเ้ี ลนนกั ขัตฤกษพระสมณโคดมพาเอาบุตรนอ ยนนั้ ของพวกเราไปยังพระนครสาวัตถี บดั นี้บตุ รนอยของเราท้งั หลายนน้ั นงั่ ทไี่ หนหนอ ยืนที่ไหนหนอ. ลําดบั นั้น นาง-วัณณทาสคี นหนึง่ ไปยังตระกูลนน้ั เหน็ ภรรยาของเศรษฐกี าํ ลังรอ งไหอยู จึงถามวา แมเ จา ทานรองไหท ําไม ? ภรรยาของเศรษฐีนัน้ จงึ บอกเน้อื ความน้ัน นางวณั ณทาสกี ลาววา แมเ จา กพ็ ระลกู เจา รักอะไร ? ภรรยาเศรษฐีกลา ววา รกั ของสงิ่ โนนและส่ิงโนน . นางวณั ณทาสกี ลา ววา ถา ทานจะใหความเปนใหญท งั้ หมดในเรือนน้ีแกดิฉันไซร ดิฉันจกั นําบตุ รของทานมา.ภรรยาทานเศรษฐีรบั คําวา ได แลว ใหสะเบยี ง สง นางวณั ณทาสนี น้ั ไปดว ยบริวารใหญ โดยพดู วาทา นจงไปนําบตุ รของเรามา ดว ยความสามารถของตนนางวณั ณทาสีน้ันนง่ั ในยานนอยอนั ปกปด ไปยังนครสาวัตถีถอื เอาการอยอู าศัยใกลถ นนท่ีพระเถระเท่ียวภิกขาจาร ไมใหพระเถระเห็นพวกตนท่มี าจากตระกูลเศรษฐี แวดลอ มดวยบรวิ ารของตนเทานน้ั เมือ่ พระเถระเขาไปบิณฑบาต ไดถวายยาคหู น่งึ กระบวยและภิกษามีรส ผูกพันดวยความอยากในรสไวแ ตเ บ้อื งตน
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 252แลว ใหน ั่งในเรอื นถวายภิกษาโดยลําดบั รูวาพระเถระตกอยูในอาํ นาจของตนจงึ แสดงการวา เปนในนอนอยูภายในหอง. ฝา ยพระเถระเทีย่ วไปตามลําดบัตรอก ในเวลาภกิ ขาจาร ไดไ ปถึงประตูเรอื น ชนทเ่ี ปน บรวิ ารรับบาตรของพระเถระแลวนิมนตพระเถระใหน ัง่ ในเรือน. พระเถระน่งั แลว ถามวา อบุ าสกิ าไปไหน ? ชนบริวารกลาววา ทานผเู จริญอุบาสกิ าเปน ไขปรารถนาจะเหน็ ทานพระเถระถูกตณั หาในรสผกู พนั ทาํ ลายการสมาทานวตั รของตน เขาไปยงั ท่ที ่ีนางวัณณทาสีนน้ั นอนอยู นางวณั ณทาสีรูเหตุแหงการมาเพือ่ ตน จงึ ประเลาประโลมพระเถระนัน้ ผูกดว ยตณั หาในรส ใหส ึกแลวใหตง้ั อยใู นอํานาจของตน ใหน ง่ั ในยาน ไดไปยงั นครราชคฤหนั้นเอง ดว ยบรวิ ารใหญ. ขา วน้ันไดปรากฏแลว . ภิกษทุ ้ังหลายนง่ั ประชุมกันในโรงธรรมสภา สนทนากันข้นึ วา ไดยินวา นางวณั ณทาสคี นหนง่ึ ผกู พระจฬู บณิ ฑปาตกิ าติกตสิ สเถระดว ยตัณหาในรส แลว พาไปแลว. พระศาสดาเสด็จเขา ไปยงั โรงธรรมสภา ประทบั บนอาสนะท่เี ขาตกแตง ไว แลว ตรัสถามวา ภกิ ษุท้ังหลาย บัดน้พี วกเธอนงั่สนทนากนั ดว ยเร่ืองอะไร ? ภกิ ษเุ หลา นนั้ ไดก ราบทูลเรือ่ งราวนั้น. พระศาสดาตรสั วา ดูกอนภกิ ษทุ ัง้ หลาย ภกิ ษนุ ้ตี ดิ ในรสตัณหา ตกอยูใ นอํานาจของนางวณั ณทาสีน้นั ในบัดนี้เทาน้ัน กห็ ามิได แมใ นกาลกอ นกต็ กอยใู นอํานาจของนางเหมือนกนั แลว ทรงนาํ อดตี นทิ านมาวา ในอดตี กาล ในพระนครพาราณสี ไดม ีนายอุยยานบาลของพระเจาพรหมทตั ชอ่ื วา สญั ชัย ครง้ั นัน้ เนอื้ สมันตวั หน่งึ มายงั อุทยานนั้น เหน็นายอยุ ยานบาลคนเฝาอทุ ยานจึงหนไี ป. ฝายนายสัญชยั มิไดขูคุกคามเนอื้ สมันนน้ั ใหอ อกไป เนอื้ สมนั นนั้ จงึ มาเที่ยวในอทุ ยานนน้ั น่นั แลบอย ๆ นายอุยยานบาลนาํ เอาดอกไมและผลไมม ปี ระการตาง ๆ มาจากอทุ ยานแตเ ชาตรู นาํ ไป
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 253เฉพาะพระราชาทกุ วัน ๆ. ครั้นวนั หน่ึง พระราชาตรสั ถามนายอยุ ยานบาลนน้ัวา ดูกอ นสหายอยุ ยานบาล เธอเห็นความอัศจรรยอ ะไรๆ ในอุทยานบา งไหม?นายอุยยานบาลกราบทลู วา ขาแตสมมติเทพ ขาพระบาทไมเหน็ ส่ิงอ่ืน แตวาเน้อื สมันตวั หนง่ึ มาเที่ยวอยูใ นอุทยาน ขาพระบาทไดเหน็ สงิ่ น้ี. พระราชาตรสัถามวา ก็เธอจักอาจจับมนั ไหม ? นายอุยยานบาลกราบทูลวา ขาพระบาทเมือ่ ไดน ํา้ ผ้ึงหนอ ยหนึ่งจกั อาจนําเนอ้ื สมนั นีม้ า แมยงั ภายในพระราชนเิ วศนพระเจาขา . พระราชาไดใหนํ้าผึง้ แกน ายอุยยานบาลนัน้ . นายอยุ ยานบาลน้ันรบั นํ้าผ้งึ นั้นแลว ไปยงั อทุ ยาน แอบเอาน้ําผ้งึ ทาหญา ทงั้ หลายในทท่ี ี่เนื้อสมันเทย่ี วไป. เน้อื สมนั มากินหญา ท่ีทาดว ยนา้ํ ผง้ึ ตดิ ในรสตัณหา ไมไ ปทอี่ ืน่มาเฉพาะอทุ ยานเทานัน้ . นายอุยยานบาลรูวา เน้ือสมันนั้นตดิ หญาทท่ี าดว ยนํา้ผ้งึ จึงแสดงตนใหเห็นโดยลําดบั . เน้ือสมนั น้ันครน้ั เหน็ นายอุยยานบาลน้นั๒-๓ วันแรกก็หนไี ป แคพ อเห็นเขา บอ ย ๆ จงึ คนุ เคย ถงึ กบั กนิ หญาทอี่ ยใู นมอื ของนายอุยยานบาลไดโดยลาํ ดับ. นายอุยยานบาลรวู าเนือ้ สมนั น้นั คนุ เคยแลวจงึ เอาเสือลาํ แพนลอมถนนจนถงึ พระราชนิเวศน แลว เอากง่ิ ไมห กั ปก ไวในท่ีนั้น ๆ สพายนาํ้ เตาบรรจุนาํ้ ผง้ึ หนีบกาํ หญา แลว โปรยหญา ท่ที าดวยนํา้ ผ้ึงลงขา งหนา เนือ้ . ไดไ ปยังภายในพระราชนเิ วศนทีเดยี ว เมอื่ เนอื้ เขาไปภายในแลว คนทง้ั หลายจึงปด ประตู เนอื้ เห็นมนษุ ยท้งั หลายกต็ ัวส่ันกลัวแตม รณภยัว่งิ มาวิง่ ไป ณ พระลานในภายในพระราชนเิ วศน พระราชาเสด็จลงจากปราสาททอดพระเนตรเหน็ เนื้อนน้ั ตวั สั่น จึงตรัสวา ธรรมดาเน้อื ยอมไมไปยงั ที่ทคี่ นเห็นตลอด ๗ วนั ยอมไมไปยงั ท่ีท่ีถกู คุกคามตลอดชวี ติ เนื้อสมันผอู าศยัปาชฏั อยูเห็นปานน้ีนน้ั ถูกผกู ดวยความอยากในรส มาสูท่เี ห็นปานนี้ ในบัดน้ีผเู จริญทง้ั หลาย ช่ือวา ส่งิ ท่ีลามกกวาความอยากในรส ยอ มไมมีในโลกหนอแลวทรงเร่ิมตั้งธรรมเทศนาดวยคาถาน้วี า
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 254 ไดย ินวา ส่ิงอ่ืนที่จะเลวยง่ิ ไปกวา รสทง้ั หลายยอม ไมม ี รสเปนสภาพเลวแมกวา ถิ่นทีอ่ ยู แมก วาความ สนิทสนม นายสญั ชยั อุยยานบาลนําเนือ้ สมนั ซ่ึงอาศัย อยใู นปา ชัฏนาสูอํานาจของตนได ดวยรสทัง้ หลาย. ศพั ทว า กิระ ไดยนิ วา ในคาถาน้ัน เปน นิบาตใชในอรรถวาไดยินไดฟ ง. บทวา รเสหิ กวารสท้ังหลาย ความวา กวารสหวานและรสเปรย้ี วเปนตน ท่ีพึงรูด ว ยล้ิน. บทวา ปาปโย แปลวา เลวกวา. บทวา อาวา-เส วา สนถฺ เวท วา แมกวา ถน่ิ ทอ่ี ยู แมกวา ความสนทิ สนม ความวาความกําหนดั ดวยอาํ นาจความพอใจในถ่ินที่อยกู ลาวคอื สถานท่ีอยูประจาํ ก็ดี ในความสนทิ สนมดวยอาํ นาจความเปนมิตรกด็ ี ลามกแท แตร สในการบรโิ ภคที่เปน ไปกับดวยฉันทราคะนั่นแหละเปนสภาพเลวกวา แมกวาถ่ินที่อยู แมกวาความสนิทสนมดวยความเปนมิตร ซึ่งมกี ารบริโภคดว ยฉันทราคะเหลาน้นั โดยรอ ยเทา พันเทา เพราะอรรถวา ตอ งเสพเฉพาะเปน ประจํา และเพราะเวนอาหาร การรักษาชวี ิตนิ ทรียก็ไมมี พระโพธสิ ตั วท รงกระทาํ เน้ือความน้ี ใหเปนเสมือนเนื้อทตี่ ามมาดวยดี จงึ ตรัสวา ไดย นิ วาสภาพที่เลวกวารสทง้ั หลายยอมไมมี รสเปน สภาพเลวกวา แมกวาถิ่นท่อี ยู แมก วาความสนทิ สนม บัดน้ีพระโพธสิ ตั วเ มอื่ จะแสดงวารสเหลา นนั้ เลว จึงตรัสคํามอี าทวิ า วาตมิค ดังน้ีบรรดาบทเหลานนั้ บทวา คหนนิสฺสิต แปลวา อาศัยทีเ่ ปน ปา รกชัฏ ทานกลา วอธิบายไววา ทา นท้ังหลายจงดูความทร่ี สทง้ั หลายเปนสภาพเลว นายสญชัยอุยยานบาลนําเน้อื สมันช่ือนี้ ซ่งึ อาศยั อยใู นปา ชัฏ ในราวปา มาสอู ํานาจของตนดว ยรสน้าํ ผง้ึ ส่งิ อนื่ ทเ่ี ลวกวา คือลามกกวา ช่อื วาเลวกวารสทั้งหลายช่ึงมีการบรโิ ภคดว ยฉันทราคะ ยอ มไมมแี มโ ดยประการทัง้ ปวง. พระโพธิสตั ว
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 255ตรสั โทษแหง ตณั หาในรส ดวยประการดงั น้ี กแ็ หละครัน้ ตรัสแลว จึงทรงใหสง เนอ้ื น้ันไปยงั ปานนั่ เอง. พระศาสดาตรัสวา ภิกษุท้งั หลาย นางวณั ณทาสนี ั้น ผกู ภกิ ษนุ ั้นดว ยตณั หาในรส กระทําไวในอาํ นาจของตนในบัดนี้ เทา น้นั กห็ ามิได แมในกาลกอ น กไ็ ดก ระทําแลว เหมือนกัน ครน้ั ทรงนําพระธรรมเทศนานีม้ าสบื ตออนสุ นธิแลว ทรงประชุมชาดกวา นายสัญชัยในคร้ังน้นั ไดเปน นางวัณณทาสีคนน้ี เน้ือสมันในครัง้ นนั้ ไดเปน พระจูฬบณิ ฑปาติภิกษุสวนพระเจา พาราณสไี ดเปน เราแล. จบ วาตมิคชาดกท่ี ๔ ๕. ขราทิยชาดก วาดวยผลู ว งเลยโอวาท [๑๕] ดกู อ นนางเน้อื ขราทยิ า ฉันไมส ามารถจะ ส่ังสอนเน้ือตวั นน้ั ผูมี ๘ กีบ มีเขาคดแตโ คนคนถงึ ปลายเขา ผูลวงเลยโอวาทเสยี ต้ัง ๗ วันได. จบ ขราทิยชาดกที่ ๕
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 256 ๕. อรรถกถาขราทยิ ชาดก พระศาสดาเมื่อประทบั อยทู ่ีพระวิหารเชตวัน ทรงปรารภภิกษวุ า ยากรปู หนงึ่ จงึ ตรสั พระธรรมเทศนาน้ี มคี ําเร่ิมตน วา อฏขุร ขราทิเยดังน.้ี ไดย นิ วา ภกิ ษนุ ัน้ วา ยากไมรับโอวาท ลําดับนนั้ พระศาสดาไดตรสัถามภกิ ษนุ ั้นวา ดกู อนภกิ ษุ ไดยนิ วา เธอวา ยากไมรับโอวาทจริงหรอื ? ภิกษุนนั้ กราบทลู วา ขาแตพ ระผมู พี ระภาคเจา จรงิ พระเจา ขา . พระศาสดาตรัสวาแมใ นกาลกอ นเธอก็ไมรบั โอวาทของบัณฑติ ทั้งหลาย เพราะความเปนผูว า ยากจึงตดิ บวงถึงความสิ้นชีวิต แลวทรงนําอดีตนิทานมาวา ในอดตี กาล เมอ่ื พระเจาพรหมทตั ครองราชสมบตั ิในพระนครพาราณสี พระโพธสิ ัตวเ ปน มฤคแวดลอมดว ยหมเู น้ืออยใู นปา ลาํ ดบั นัน้ เน้อืผูเ ปน นอ งสาวมฤคน้นั แสดงบุตรนอยแลว ใหรบั เอาดวยคําพดู วา ขาแตพ ีช่ ายนเ้ี ปน หลานของพ่ี พจี่ งใหเรียนมายาเน้ืออยางหนึ่ง มฤคน้นั กลาวกะหลานนนั้วา ในเวลาชือ่ โนน เจา จงมาเรียนเอา เน้ือผหู ลานไมม าตามเวลาทพ่ี ูดไวเมอ่ื ลว งไป ๗ วัน เหมอื นดังวนั เดียว เนือ้ ผเู ปนหลานนนั้ ไมไดเรียนมายาของเน้ือทองเที่ยวไป จึงตดิ บว ง ฝายมารดาของเนอ้ื นนั้ เขาไปหามฤคผพู ่ชี ายแลวถามวาขา แตพี่ พไี่ หห ลานเรียนมายาของเนอื้ แลว หรือ ? พระโพธิสัตวกลา ววา เจาอยา คิดเสียใจตอ บุตรผูไมรบั โอวาทส่งั สอนนัน้ บตุ รของเจาไมเรียนเอามายาของเนื้อเอง เปน ผูไ มม ีความประสงคจ ะโอวาทเนื้อนั้นเลย ในบัดน้ี จึงกลาวคาถานว้ี า
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 257 ดกู อนนางเนื้อขราทยิ า ฉนั ไมสามารถจะส่ังสอน เน้ือตัวน้นั ผูม ี ๘ กบี มเี ขาคดแคโ คนเขาจนถึงปลาย เขา ผูลว งเลยโอวาทเสยี ตัง้ ๗ วันได. บรรดาบทเหลานั้น บทวา อฏขุร ไดแก มีกบี ๘ กีบ โดยเทา ขางหนง่ึ ๆ มี ๒ กีบ พระโพธสิ ตั วเรยี กนางเนื้อนั้นโดยชื่อวา ขราทยิ า บทวามิค เปนคํารวมถอื เอาเนอ้ื ทุกชนิด. บทวา วงฺกาตวิ งกฺ นิ ไดแ ก คดยงิ่ กวาคด คอื คดต้งั แตท ี่โคนเขา คดมากขน้ึ ไปถงึ ปลายเขา ชือ่ วา ผมู เี ขาคดแตโคนจนถึงปลายเขา เพราะเน้ือนนั้ มเี ขาเปนเชนนั้น. จึงช่ือวา เขาคดแตโคนจนถึงปลายเขา คือ มเี ขาคดแตโคนเขา จนถึงปลายเขาน้ัน. บทวา สตฺตกาเลห-ตกิ กฺ นตฺ ไดแ ก ผลู วงเลยโอวาท โดยเวลาเปน ทใี่ หโ อวาท ๗ วัน. ดวยบทวาน น โอวทิตสุ ฺสเห น้ี ทานแสดงวา เราไมอ าจใหโอวาทเนอ้ื ผูวายากน้ีแมค วามคดิ เพ่อื จะโอวาทเนอ้ื นี้ กไ็ มเกดิ ขนึ้ แกเ รา. ครง้ั นัน้ นายพรานฆา เนื้อทีว่ า ยากตวั น้ันซึ่งตดิ บวง ถือเอาแตเ น้อืแลว หลีกไป. ฝายพระศาสดาตรสั วา ดกู อนภิกษุ เธอเปน ผวู า ยากแตในบัดน้ี เทานน้ัก็หามไิ ด แมในกาลกอนก็เปนผูวายากเหมือนกัน ครัน้ ทรงนําพระเทศนานมี้ าสืบตอ อนุสนธิกนั แลว ทรงประชมุ ชาดกวา เนื้อผเู ปนหลานในกาลนั้น ไดเปนภกิ ษุผวู ายากในบัดน้ี แมเน้อื ผูเปน นอ งสาวในกาลนน้ั ไดเปนพระอบุ ลวรรณา ในบดั นี้ สว นเน้อื ผูใหโ อวาทในกาลนนั้ ไดเ ปนเราตถาคตแล. จบ ขราทยิ ชาดกท่ี ๕
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 258 ๖. ตปิ ลลัตถมคิ ชาดก วา ดว ยเลห ก ลลวงพราน [๑๖] ดูกอนนอ งหญิง ฉันยังเน้ือหลานชายผูมี ๘ กบี นอนโดยอาการ ๓ ทา มเี ลหก ุมารยาหลายอยา ง ดื่ม กนิ นาในเวลาเทยี่ งดนิ ไหเลา เรยี นมายาของเนอ้ื ดแี ลว โดยประการที่เนอ้ื หลานชายกลัน้ ลมทายใจได โดยชอง นาสิกขางหน่งึ แนบติดอยกู บั พ้ืนดิน ทําเลหกลลวง นายพรานดวยอุบาย ๖ ประการฉะนน้ั แล. จบตปิ ล ลตั ถมคิ ชาดกท่ี ๖ ๖. อรรถกถาตปิ ล ลตั ถมิคชาดก พระศาสดาเม่ือประทบั อยูใน พทริการาม นครโกสมั พี ทรงปรารภพระราหลุ เถระ ผูใ ครต อการศกึ ษาจึงตรสั พระธรรมเทศนานี้ มคี ําเริ่มตน วามิค ตปิ ลลฺ ตฺถ ดังน.ี้ ความพศิ ดารวา กาลครั้งหนึง่ เมื่อพระศาสดาเสด็จเขา ไปอาศยั เมืองอาฬวปี ระทับอยูในอคั คาฬวเจดีย อบุ าสก อุบาสิกา ภิกษุ และภกิ ษุณี จาํ นวนมาก ไปวิหารเพ่ือฟงธรรม. ตอนกลางวัน มีการฟงธรรม ก็เม่ือกาลเวลาลวงไป อุบาสิกาและภกิ ษณุ ที งั้ หลายไมไป. มีแตพ วกภิกษุและอบุ าสกท้งั หลายตั้งแตน ้นั จึงเกิดมีการฟงธรรมตอนกลางคืน ในเวลาเสรจ็ สิ้นการฟง ธรรม
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 259ภิกษทุ ง้ั หลายผูเปน พระเถระพากันไปยงั ทอ่ี ยขู องคนๆ ภิกษุหนุม กับพวกอุบาสกนอนทอี่ ุปฏฐานศาลาคอื โรงฉัน. เม่อื พวกภกิ ษุหนุมและพวกอบุ าสกเหลา นน้ัเขาถงึ ความหลบั บางคนนอนกรนเสียงครืด ๆ นอนกัดฟน บางคน นอนครเู ดยี วแลว ลุกขึน้ . พวกอุบาสก เห็นประการอันแปลกของภิกษุหนุม จงึกราบทูลแดพระผูมีพระภาคเจา. พระผมู ีพระภาคเจาทรงบัญญตั สิ กิ ขาบทวา ก็ภกิ ษใุ ดนอนรวมกับอนุปสัมบนั ภิกษุนั้นตองอาบตั ิปาจิตตยี ดังนแ้ี ลว ไดเสด็จไปยังนครโกสัมพ.ีในขอทท่ี รงบัญญัติสิกขาบทนน้ั ภิกษทุ ั้งหลายจึงกลา วกะทา นราหุลวา อาวุโสราหลุ พระผมู ีพระภาคเจา ทรงบัญญัติสกิ ขาบทไวแลว บดั น้ี ทานจงรทู อ่ี ยูของตน. ก็เมอ่ื กอนภิกษทุ ัง้ หลายไดสงเคราะหทานราหุลนนั้ ผมู ายงั ที่อยขู องตน ๆเปน อยา งดีเพราะอาศัยความเคารพน้ื พระผูมพี ระภาคเจา และความที่ทา นราหลุนัน้ เปนผูใครต อการศึกษา ไดล าดเตยี งเล็ก ใหจวี รเพอื่ หนุนศีรษะ. แคว นั น้นัแมท ี่อยูกไ็ มไ ดใหแลว เพราะกลัวตอสิกขาบท. ฝายพระภตั รราหุลก็ไมไปยังสาํ นักของพระทศพล ดวยคิดวา เปน พระบดิ าของเรา หรือของพระธรรมเสนาบดีดวยคิดวา เปน อุปชฌายของเรา หรอื ของพระมหาโมคคลั ลานะดวยคดิ วา เปนอาจารยของเรา หรอื ของทา นพระอานนทด วยคดิ วาเปน อาของเรา ไดเ ขา ไปยังเวจกุฎสี ําหรับถายของพระทศพล ประดจุ เจาไปยงั วิมานของพรหม สาํ เรจ็ การอยูแ ลว. กป็ ระตูกฎุ สี าํ หรบั ใชของพระพทุ ธเจา ทง้ั หลายท่ีปดสนทิ นัน้ กระทําการประพรมดว ยธปู หอม มพี วงของหอมและพวงดอกไมห อ ย ตามประทีปตลอดคืนยงั รุง. ก็พระภตั รราหุลอาศัยสมบัตินอ งกฎุ ีนน้ั จึงเขาไปอยใู นกุฎนี ้นั . อนงึ่ เพราะภกิ ษทุ ง้ั หลายกลาววา ทา นจงรทู ี่อยู และเพราะความเปนผูใ ครตอการศึกษาโดยเคารพในโอวาท จึงเขา ไปอยใู นกฎนี ้นั กใ็ นระหวา ง ๆ
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 260ภกิ ษทุ ้ังหลายเห็นทา นผูมีอายนุ ั้น มาแตไ กล เพ่ือตอ งการจะทดลองทา นผมู อี ายุน้นั จงึ ท้ิงกาํ ไมก วาดหรือภาชนะสําหรับทั้งหยากเยอ่ื ไวข า งใน. เม่ือทา นผมู ีอายุน้ันมาถึง จึงกลา ววา อาวุโส ใครทิ้งสง่ิ น.้ี ในการการทา นนี้ เม่ือภกิ ษุบางพวกกลา ววา ทานราหุสมาทางน.ี้ แตท านราหลุ น้นั ไมก ลา ววา ทานผเู จรญิผมไมร เู ร่ืองน้ี กลับเก็บงาํ สิง่ นัน้ แลวขอขมาวา ทา นผูเจริญ ขอทานทง้ั หลายจงอดโทษแกก ระผม แลวจงึ ไป. ทานราหลุ นเี้ ปนผูใครต อการศกึ ษาอยา งน.้ีทานราหลุ นัน้ อาศัยความเปน ผใู ครต อ การศกึ ษานนั้ นนั่ เอง จึงเขาไปอยใู นกฎุ ีน้ัน. ครนั้ เวลากอ นอรุณทีเดียว พระศาสดาประทับยืนท่ปี ระตเู วจกุฎแี ลวทรงพระกาสะ (ไอ) ขึ้น สว นทานผมู ีอายนุ ั้นก็ไอข้นึ พระศาสดาตรสั ถามวาใครน่นั ? ทา นพระราหลุ กราบทูลวา ขาพระองคร าหุล แลวออกมาถวายบงั คมพระศาสดาตรัสถามวา ราหลุ เพราะเหตุไรเธอจงึ นอนทน่ี ้ี ? พระราหุลกราบทูลวา เพราะไมม ีที่อยู ขาแตพระองคผูเจริญ ดวยวาเมอื่ กอน ภิกษุทงั้ หลายการทาํ ความสงเคราะหแกขาพระองค บดั นี้ไมใหที่อยูเพราะกลัวคนตองอาบตั ิขา พระองคน ้นั คดิ วา ทเ่ี ปน ทไ่ี มเ บยี ดเสยี ดผูอ ่นื ดว ยเหตนุ ี้ จึงนอนในทน่ี ี.้ลาํ ดับน้ัน พระผูม พี ระภาคเจา เกิดธรรมสังเวชขน้ึ วา เบือ้ งตน ภิกษทุ ้ังหลายสละราหลุ ไดอยางนี้ (ตอไป) ใหเดก็ ในตระกลู ทั้งหลายอ่นื บวชแลว จักกระทําอยา งไร. ลาํ ดบั น้นั พระผูมพี ระภาคเจา ใหภิกษุทั้งหลายประชมุ กนั แตเชา ตรูแลว ตรัสถามพระธรรมเสนาบดวี า สารีบุตร ก็เธอรไู หมวา วนั น้รี าหลุ อยทู ี่ไหน ? พระสารบี ุตรกราบทูลวา ขา แตพระองคผเู จริญ ขาพระองคไมทราบพระเจา ขา . พระศาสดาตรสั วา สารีบุตร วันนี้ราหุลอยทู ีเ่ วจกุฎี ดูกอนสารี-บุตร ทานทั้งหลายเมอื่ ละราหลุ ไดอยางน้ี (ตอไปภายหนา ) ใหเ ด็กในตระกลูท้งั หลายเหลา อื่นบวชแลว จกั กระทาํ อยา งไร แมเมอื่ เปนอยา งน้นั กุลบตุ รผู
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 261บวชในพระศาสนานจ้ี ักเปนผูไ มม ีท่พี ึง่ บัดน้ี ตั้งแตน ไี้ ป ทา นทั้งหลายจงใหอนปุ สมั ปนท้งั หลายอยูในสํานกั ของกองตนวนั หนึง่ สองวนั ในวันทสี่ ามรทู เ่ี ปน ท่ีอยขู องอนุปสัมปนเหลา นน้ั แลว จงใหอ ยภู ายนอก ดงั น้ี แลว ทรงบัญญัตสิ ิกขา-บทอีก ทรงกระทาํ ใหเปนอนุบัญญตั ิขอน้.ี สมยั น้นั ภิกษุทัง้ หลายนงั่ ประชุมกนั ในโรงธรรมสภา แลว กลา วคุณของพระราหลุ วา ดูเอาเถิดทา นผูมีอายทุ งั้ หลาย ราหุลน้ใี ครตอการศกึ ษาเปนกาํ หนด ช่ือวา ผถู กู ภกิ ษทุ ง้ั หลายกลาววา ทานจงรูท ีอ่ ยูของทา น ก็ไมโ ตตอบแมภ ิกษุรูปหน่ึงวา เราเปนโอรสของพระทศพล ทา นทั้งหลายเปนใคร พวกทา นนน่ั แหละจงออกไป ดงั นีแ้ ลว ไดสําเร็จการอยใู นเวจกุฎี. เมือ่ ภกิ ษุเหลานน้ั พากันกลา วอยอู ยา งน้ี พระศาสดาเสดจ็ เขาไปยงั โรงธรรมสภาประทบั น่ังบนอาสนะท่ีตกแตงไวแ ลวตรสั วา ภิกษทุ ้งั หลาย บดั นี้ พวกเธอน่ึงสนทนากันดวยเรือ่ งอะไรหนอ. ภิกษุทัง้ หลายกราบทูลวา ขาแตพ ระองคผูเจรญิ พวกขาพระองคน ัง่ สนทนากนั ดว ยสกิ ขากามกถา วา ดวยควานใครต อ การศกึ ษาของพระราหลุ มใิ ชด วยเร่ืองอ่นื พระเจา ขา . พระศาสดาตรัสวา ดกู อ นภกิ ษุทง้ั หลายราหลุ เปนผใู ครตอการศกึ ษา ในบัดนีเ้ ทานน้ั หามิได แมในกาลกอน แมบงั เกดิ ในกําเนิดดริ ัจฉาน กเ็ ปนผูใครตอการศึกษาเหมอื นกัน แลวทรงนําอดีตนิทานมาดงั ตอไปน้ี ในอดีตกาล พระเจามคธราชพระองคห นงึ่ ครองราชสมบตั ิอยูในพระนครราชคฤห ในกาลน้ัน พระโพธสิ ตั วบ งั เกดิ ในกําเนดิ มฤค อนั หมูมฤคแวดลอมอยใู นบา . ครงั้ น้ัน แมเนือ้ ผูเ ปนนองสาวของพระโพธสิ ัตวน ้นั นําบตุ รนอ ยของตนเขาไปแลว กลาววา ขาแตพ ่ี ทานจงใหหลานของทานนี้ ศกึ ษามารยาของเนอื้ . พระโพธสิ ัตวรบั คาํ แลวกลา ววา ดกู อ นพอ เจา จงไป ใน
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 262เวลาชอ่ื โนน เจาจงมาศกึ ษา. เนื้อผเู ปนหลานน้ันไมลวงเลยเวลาที่ลงุ บอกเขาไปหาลงุ นน้ั แลว ศกึ ษามารยาของเนอ้ื . วันหน่งึ เนือ้ น้ัน เท่ียวไปในปา ติดบว งจึงรองบอกใหรวู า คิดบว ง หมูเนอ้ื พากนั หนีไปบอกแกมารดาของเน้ือนน้ั วาบุตรของทา นติดบวง. แมเ นื้อน้ันจงึ ไปยงั สาํ นักของพช่ี ายแลว ถามวา พที่ า นใหห ลานศกึ ษามารยาของเนอ้ื แลว หรอื ? พระโพธิสัตวก ลาววา เจา อยารงั เกยี จกรรมอนั ลามกอะไร ๆ ของบุตร เราใหบ ุตรของเจานน้ั ศกึ ษามารยาของเนื้ออยา งดแี ลว บัดนี้ บุตรของเจา นัน้ ละทิ้งบวงนั้นแลว หนไี ป จกั กลบั มา แลวกลา วคาถาน้ีวา ดูกอนนอ งหญงิ ฉันยังเนอื้ หลานผชู ายผมู ี ๘ กบี นอนโดยอาการ ๓ ทา มเี ลหกลมารยาหลายอยาง ดมื่ กนิ น้าํ ในเวลาเทีย่ งคืน ใหเ ลาเรยี นมารยาของเน้อื ดแี ลว โดยประการทเ่ี นอ้ื หลานชาย กล้ันลมหายใจได โดย ชอ งนาสกิ ขา งหนึ่งแนบติดอยกู ับพ้นื ดนิ ทาํ เลห กล ลวงนายพราน ดวยอบุ าย ๖ ประการฉะนน้ั . บรรดาบทเหลาน้นั บทวา มิค ไดแก เนอ้ื ผูเปน หลาน. บทวาติปลฺลตฺถ ความวา การนอน เรยี กวา ปลลัตถะ ชือ่ วา ผมู ีการนอน ๓ ทาเพราะมกี ารนอนโดยอาการ ๓ อยางคอื โดยขางทัง้ สอง และโดยอาการอยางโคนอนตรงอีกอยา งหนง่ึ เพราะมีการนอน ๓ ทา. ซง่ึ เน้อื นน้ั ผูม กี ารนอน ๓ทา . บทวา อเนกมาย ไดแ ก มมี ารยามาก คือมกี ารลวงมาก. บทวาอฏ ขุร ไดแ ก ผปู ระกอบดวยกีบ ๘ กบี โดยเทา ขา งหนง่ึ ๆ มี ๒ กบี .บทวา อฑฒฺ รตฺตาปปายึ ความวา เนอ้ื ช่อื วาดื่มนา้ํ ในเวลาเทีย่ งคนื เพราะเลยยามแรกไปแลว ในเวลามัชฌิยาม จงึ มาจากปาแลว ดมื่ น้าํ เพราะเหตนุ ้นั
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 263จงึ ชื่อวา ผดู ม่ื น้ําใจเวลาเที่ยงคนื . ซง่ึ เนอื้ นั้น. อธบิ ายวา เน้อื ผูด่มื น้ําในเวลาเทยี่ งคืน. เราใหเ นอื้ หลานชายของเราเรยี นมารยาของเน้อื ดแี ลว. ถามวา ใหเรยี นอยา งไร ? ตอบวา ดกู อ นนอ งหญงิ เราใหเรยี นโดยประการท่เี นอื้ หลานชายหายใจทีพ่ น้ื ดนิ โดยชอ งนาสกิ ขางหน่ึงลวงนายพรานดว ยเลหกล ๖ ประการ.ทา นกลาวคาํ อธิบายนไ้ี ววา กเ็ ราใหบตุ รของเจา เรยี นเอาแลว โดยประการที่เนื้อหลานชายกลน้ั ลมในชอ งจมกู ดา นบนขางหน่งึ แลวหายใจที่พืน้ ดนิ นนั้ น่นัแหละ โดยชองจมูกดานลางขา งหนง่ึ ซ่ึงแนบติดดิน จงึ ครอบงํา อธบิ ายวาจึงลวงนายพรานดว ยเลหก ล ๖ ประการ คอื โดยสวน ๖ สว น. เลหก ล ๖ประการเปนไฉน ? เลห กล ๖ ประการ คอื โดยการเหยียด ๔ เทานอนตะแคง๑ โดยใชก ีบท้ังหลายตะกยุ หญาและดินรวน ๑ โดยทาํ ลน้ิ หอยออกมา ๑ โดยกระทําทองใหพ อง ๑ โดยการปลอ ยอุจจาระ ๑ ปสสาวะ ใหล าดออกมา ๑ โดยการกลัน้ ลม ๑. อกี นัยหน่งึ ทา นแสดงวา ดูกอ นนอ งหญิง เราใหเ นอื้ หลานชายนนั้ เรยี นมารยาของเนื้อ โดยประการทเี่ ขาจะลวงทาํ ใหน ายพรานเกิดความหมายรูวา เน้ือนี้ตายแลว โดยเลห กล ๖ ประการนี้ คอื โดยตะกยุ เอาดินรว นมาไวตรงหนา ๑ โดยการโนม ตวั ไป ๑ โดยการเทยี่ วรนไปทัง้ สองขาง ๑ โดยการทาํ ทอ งใหพองขึ้น ๑ โดยการทําตองใหแ ฟบลง ๑. อีกนัยหนงึ่ เราใหเนอื้หลานชายนัน่ เรยี นเอาแลว โดยประการทีเ่ นือ้ หลานชายน้นั หายใจท่ีพ้นื ดินโดยชองจมกู ขางหนึ่ง ทาํ กลดวยเลหกล ๖ ประการ คอื ทาํ เลหกลดวยเหตุ ๖ ประ-การซึง่ ไดแสดงไวใ นนัยแมท ง้ั สอง อธบิ ายวา จักกระทําเลห กล คอื จกั ลวงนายพราน. พระโพธิสัตวเรยี กเนื้อผูเปน นอ งสาววา โภติ นางผเู จรญิ . ดว ยบทวาภาคิเนยโฺ ย นี้ พระโพธิสตั ว หมายถึงเนอื้ หลานชายผลู วงดว ยเหตุ ๖ ประการดว ยประการอยางน้.ี
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 264 พระโพธสิ ตั วเ ม่อื แสดงความทเ่ี นือ้ หลานชายเรยี นมารยาของเนื้อดีแลวจงึ ปลอบโยนเนอื้ ผนู องสาวใหเ บาใจ ดว ยประการอยางน้ี ลกู เนอื้ แมนน้ั ตดิบวง ไมด ิ้นรนเลย นอนเหยยี ดเทาท้ัง ๔ ไปทางดา นขา งทีผ่ าสุกมาก ณ ท่ีพน้ืดิน เอากบี ทง้ั หลายนัน่ แหละคยุ ในที่ท่ีใกล ๆ เทา ท้ัง ๔ ทาํ ดินรว นและหญา ใหกระจยุ ขน้ึ ปลอยอุจจาระปส สาวะออกมาทาํ ใหหัวตกลิ้นหอ ย กระทําสรีระใหเปรอะเปอนดวยนํา้ ลาย ทําใหต วั พองขน้ึ ดวยการอัน้ ลม ทาํ นัยนตาทง้ั สองใหเหลอื ก ทาํ ลมใหเ ดนิ ทางชอ งนาสกิ ลาง กลัน้ ลมทางชองนาสกิ บน ทําหวั ใหแขง็ แสดงอาการของเนือ้ ท่ีตายแลว ฝา ยแมลงวันหัวเขียวกต็ อมเนือ้ นั้นกาทั้งหลายพากนั แอบอยใู นทน่ี น้ั ๆ นายพรานมาเอามอื ดีดทอ งคดิ วา เน้อื จักติดบว งแตเ ชาตรนู ัก จึงเกดิ จะเนา (ขน้ึ มา) จงึ แกเ ชอื กที่ผูกเน้ือนั้นออก คิดวา บดั นี้ เราจักแลเน้อื น้ันในที่น้ีแหละ เอาแตเ นอ้ื ไป เปน ผไู มส งสัย เริ่มเกบ็ เอากงิ่ ไมแ ละใบไม. ฝายลูกเน้อื ลุกขึน้ ยืนดว ยเทา ทง้ั ๔ สลดั กายเหยยี ดคอ แลว ไดไ ปยังสาํ นักของมารดาโดยเร็ว ประดุจเมฆฝนถกู ลมพายุใหญพดัขาดไปฉะนน้ั . ฝา ยพระบรมศาสดาตรสั วา ดกู อ นภิกษทุ ้ังหลาย ราหลุ เปน ผใู ครต อการศึกษาในบัดน้ีเทา นัน้ ก็หามิได แมใ นกาลกอนกเ็ ปน ผใู ครต อการศึกษาเหมอื นกัน ครนั้ ทรงนาํ พระธรรมเทศนานี้ มาสืบตออนุสนธิแลว จึงทรงประชมุ ชาดกวา ลูกเน้ือผเู ปนหลานในคร้งั น้ัน ไดเปนราหลุ ในบัดนี้ฝา ยมารดาในคร้ังนน้ั ไดเปนนางอบุ ลวรรณาในบดั น้ี สวนเน้อืผูเปน ลงุ ในครง้ั นนั้ ไดเปน เราแล. จบติปลลัตถมติ ชาดกท่ี ๖
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 265 ๗. มาลุตชาดก วาดว ยความหนาวเกิดแตล ม [๑๗] ขางขึ้นหรือขา งแรมก็ตาม สมยั ใดลมยอมพัด มา สมัยนั้นยอ มมีความหนาว เพราะความหนาวเกิด แตล ม ในปญ หาขอ น้ี ทา นท้งั สองซื่อวา ไมแพกนั . จบมาลุตชาดกท่ี ๗ ๗. อรรถกถามาลตุ ชาดก พระศาสดาเมอื่ ประทบั อยูใ นพระวิหารเชตวันทรงปรารภบรรพชติผบู วช เมื่อแก ๒ รูป จงึ ตรสั พระธรรมเทศนาน้ี มคี ําเรมิ่ ตน วา กาเฬ วายทิ วา ชุณฺเห ดงั น้ี. ไดยินวา บรรพชติ ทั้งสองรปู นัน้ อยใู นปาแหง หน่งึ ในโกศลชนบทรูปหน่ึงชื่อ กาฬเถระ รูปหน่ึงช่อื ชุณหเถระ อยูมาวันหน่ึง พระชุณหะถามพระกาฬะวา ทานกาฬะผเู จรญิ ธรรมดาวา ความหนาวมใี นเวลาไร ? พระ-กาฬะนน้ั กลาววา ความหนาวมีในเวลาขา งแรม. อยมู าวันหน่งึ พระกาฬะถามพระชุณหะวา ทา นชุณหะผูเจรญิ ธรรมดาวาความหนาวยอ มมีในเวลาไร ?พระชณุ หะนัน้ กลาววา มใี นเวลาขางขึน้ พระแมท้งั สองรูปนน้ั เมื่อไมอ าจตดัความสงสยั ของตนได จึงพากนั ไปยังสํานักของพระบรมศาสดาถวายบงั คมแลวทูลถามวา ขาแตพ ระองคผเู จรญิ ธรรมดาวา ความหมายวยอมมใี นกาลไร
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 266พระเจาขา ? พระศาสดาทรงสดับถอ ยคาํ ของภิกษุทง้ั สองนัน้ แลวตรัสวา ดูกอนภิกษทุ ั้งหลาย แมใ นกาลกอน เรากต็ อบปญหานแี้ กเ ธอทงั้ สองแลว แตเ ธอทั้งหลายกาํ หนดไมได เพราะอยใู นสงั เขปแหง ภพ แลวทรงนาํ อดตี นทิ านมาดังตอไปนี้ ในอดีตกาล ณ เชิงเขาแหงหนงึ่ มสี ัตวผเู ปน สหายกนั สองตัว คอืราชสหี ต ัวหนง่ึ เสอื โครง ตวั หนง่ึ อยใู นถา เดยี วกันนน่ั เอง ในกาลนน้ั แมพระโพธิสัตวก็บวชเปนฤๅษี อยูทเี่ ชงิ เขาน้ันเหมือนกัน ภายหลังวนั หนึง่ ความววิ าทเกิดขน้ึ แกสหายเหลา นน้ั เพราะอาศยั ความหนาว เสอื โครงกลาววาความหนาวยอมมีเฉพาะในเวลาขา งแรม. ราชสหี ก ลาววา มเี ฉพาะในเวลาขางขน้ึ . สหายแมท ั้งสองน้นั เมอ่ื ไมอาจดั ความสงสยั ของตน จึงถามพระโพธิสัตวพระโพธิสัตวจ ึงกลาวคาถาน้ีวา ขา งขนึ้ หรอื ขา งแรมก็ตาม สมัยใดลมยอมพดั มา สมัยนัน้ ยอ มมีความหนาว เพราะความหนาวเกิดแต ลม ในปญ หาขอ นี้ทา นทงั้ สอง ชอ่ื วาไมแ พกัน. บรรดาบทเหลา น้นั บทวา กาเฬ วา ยทิ วา ชณุ เฺ ห ไดแ กในปก ษขา งแรม หรอื ในปก ษขา งข้ึน. บทวา ยทา วายติ มาลโุ ต ความวา สมยั ใด ลมอันตางดวยลมทศิ ตะวันออกเปน ตน ยอมพัดมา สมัยน้ันความหนาวยอ มม.ี เพราะเหตุไร ? เพราะความหนาวเกิดแตลม อธบิ ายวาเพราะเหตุท่ี เมอ่ื ลมมีอยนู นั่ แหละ ความหนาวจึงมี, ในขอนี้ปก ษข า งแรมหรือปก ษขางขึน้ ไมเปนประมาณ บทวา อโุ ภตฺถมปราชิตา ความวาทา นแมทงั้ สองไมแพก ันในปญหาขอน้.ี
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 267 พระโพธสิ ตั วใ หส หายเหลา นัน้ ยินยอมกันดว ยประการอยา งนี้. ฝายพระศาสดาจึงตรัสวา ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย แมใ นกาลกอน เราก็ตอบปญ หานี้แกเธอท้งั หลายแลว คร้นั ทรงนําพระธรรมเทศนานีม้ าแลว จงึ ทรงประกาศสจั จะทง้ั หลาย ในเวลาจบสจั จะ พระเถระแมท ้ังสองเหลาน้ันกด็ ํารงอยใู นพระโสดาปตติผล. แมพ ระศาสดาก็ทรงสืบอนุสนธิแลว ประชมุ ชาดกวาเสอื โครงในครงั้ นัน้ ไดเปน พระกาฬะ ราชสีหในครัง้ นนั้ ไดเ ปนพระชณุ หะ สว นดาบสผูแกปญหาในคร้งั นน้ั ไดเ ปนเราแล. จบมาลตุ ชาดกที่ ๗ ๘. มตกภัตตชาดก วาดว ยสตั วไมค วรฆาสัตว [๑๘] ลา สัตวทง้ั หลายพงึ รอู ยา งนว้ี า ชาตสิ มภพนเ้ี ปน ทกุ ข สตั วไมค วรฆาสัตว เพราะวา ผูมปี กตฆิ าสัตว ยอมเศรา โศก. จบมตกภตั ตชาดกที่ ๘
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 283เสด็จเขา พระนคร ราชบรุ ษุ ทง้ั หลายวางสายเชอื กหน่ึงรถนั้นตามที่ผกู ไวน ้ันแหละทพ่ี ระลานหลวง เนอ้ื ฝนตกตอนกลางคนื รถนัน้ กเ็ ปยกฝน. พวกสนุ ัขท่เี ลยี้ งไวใ นราชตระกลู ลงจากปราสาทช้นั บน กัดกนิ หนึ่งและชะเนาะของรถน้ัน.วนั รงุ ข้ึน พวกราชบรุ ุษจงึ กราบทลู พระราชาวา ขาแตส มมตเิ ทพ สุนขั ท้งั หลายเขาไปทางทอนํา้ กดั กนิ หนังและชะเนาะของรถน้ันพระเจาขา. พระราชาทรงกรว้ิ สนุ ัข จงึ ตรัสวา พวกทา นจงฆา พวกสนุ ขั ในทีท่ ไี่ ดเห็นแลว ๆ. ตั้งแตนั้นมาความพินาศใหญห ลวงจงึ เกดิ ขึ้นแกพ วกสนุ ัข. สนุ ัขเหลานั้น เมื่อถูกฆาในทท่ี พ่ี บเหน็ จึงหนีไปปา ชา ไดพากนั ไปยงั สาํ นักของพระโพธสิ ตั ว. พระโพธิสัตวถ ามวา ทานทั้งหลายเปนอันมากพากันมาประชมุ เหตุอะไรหนอ ? สนุ ัขเหลา นั้นกลาววา พระราชาทรงกริ้ววา นยั วา สุนขั กินหนงั และชะเนาะของรถภายในพระราชวัง จึงทรงสง่ั ใหฆ า สนุ ัข สนุ ขั เปนอันมากพนิ าศ มหาภัตเกิดขึ้นแลวพระโพธิสตั วค ิดวา ในที่ที่มีการอารกั ขา สุนัขทง้ั หลายในภายนอก ยอมไมมีโอกาส กรรมน้ีจักเปน กรรมของพวกสุนัขเลีย้ งในภายในพระราชนิเวศนน ั่นเอง ก็ภัยอะไร ๆ ยอมไมมีแกพวกโจร สว นพวกทีไ่ มใชโจรกลับไดความตายถากระไร เราจะแสดงพวกโจรแกพ ระราชาแลว ไหทานชีวติ แกหมญู าติ. พระ-โพธสิ ตั วน ั้น ปลอบโยนญาติทั้งหลายใหเบาใจแลวกลา ววา ทานทง้ั หลายอยากลวั เราจักนําความไมมีภยั มาใหแ กท า นทั้งหลาย พวกทา นจงอยทู ่นี ี้แหละจนกวา เราจะไดเ ฝาพระราชา แลว ราํ พงึ ถึงบารมี กระทําเมตตาภาวนาใหเปนปเุ รจาริกไปในเบ้ืองหนา แลว อธษิ ฐานวา ใคร ๆ อยาไดสามารถขวา งกอ นดินหรือไมค อนเบ้อื งบนเรา ผเู ดยี วเทาน้นั เขาไปภายในพระนคร. คร้งั นั้น แมสัตวตวั หนึ่งเหน็ พระโพธิสตั วแลว ช่ือวา โกรธแลวแลดู มไิ ดมี. ฝายพระราชาทรงสัง่ ฆาสนุ ขั แลวประทับนัง่ ในท่ีวนิ จิ ฉยั ดว ยพระองคเอง พระโพธิสัตวไปในท่วี ินิจฉัยน้ันน่นั แล แลววงิ่ เขา ไปภายใตอ าสนของพระราชา. ลาํ ดบั น้ัน พวก
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 284ราชบุรษุ เรมิ่ เพื่อจะนําพระโพธสิ ัตวน ั้นออกมา แตพระราชาทรงหามไวพระโพธสิ ตั วนั้นพักอยหู นอยหน่ึงแลว ออกจากภายใตอาสน ถวายบังคมพระราชาแลวทูลถามวา ไดย ินวา พระองคท รงใหฆาสุนขั จรงิ หรอื พระเจาขา.พระราชาตรัสวา เออ เราใหฆ า. พระโพธสิ ตั วท ูลถามวา ขาแตพ ระจอมคนสุนัขเหลานนั้ มีความผิดอะไร ? พระราชาตรสั วา สุนัขทัง้ หลายมันกินหนงั หุมและชะเนาะแหง รถของเรา พระโพธสิ ตั วทูลถามวา . พระองคทรงรจู กั สุนัขตวัทีก่ นิ แลวหรอื . พระราชาตรัสวา ไมร ู พระโพธสิ ตั วท ลู วา ขา แตสมมติเทพการไมท รงทราบโดยถอ งแทวา โจรทีก่ ินหนงั ชอื่ นี้ แลวทรงใหฆาในทีท่ ไ่ี ดพ บเหน็ ทันที ไมส มควร พระเจาขา. พระราชาตรัสวา เพราะพวกสุนขั มกั กัดกินหนงั หมุ รถ เราจงึ สั่งฆาสนุ ขั วา พวกทานจงฆา สุนัขที่ไดพบเหน็ ทง้ั หมดเลย.พระโพธสิ ตั วทูลวา ก็มนุษยท ้งั หลายเหลานัน้ ฆาสนุ ขั ทงั้ หมดทีเดียวหรือ หรือวาสนุ ขั แมไมไ ดความตายก็มีอยู. พระราชาตรสั วามี. สุนขั เลย้ี งในสําหนักของเราไมไ ดการถูกฆาตาย. พระมหาสตั วท ูลวา ขา แตมหาราชพระองคไ ดต รัสในบดั น้ีทเี ดียววา เพราะพวกสุนัขมักกัดกินหนงั หมุ รถ เราจึงส่งั ฆา สุนขั วา พวกทา นจงฆาสุนัขทกุ ตัวทีไ่ ดพ บเหน็ แตบ ดั นี้พระองคต รัสวา สนุ ัขเลย้ี งในตาํ หนักของเราไมไ ดก ารถกู ฆาตาย เม่ือเปน อยา งนนั้ พระองคยอ มลุอคตเิ ชน ฉนั ทาคติเปน ตน. กช็ ่อื วา การลอุ คติไมสมควร และไมเปน (ทศพธิ ) ราชธรรม ธรรมดาพระราชาผูแ สวงหาเหตแุ ละมิใชเหตุ เปนเชนกบั ตาชง่ั จึงจะควร. บดั นี้สุนขั เลี้ยงในราชสกุลไมไ ดก ารคาย สนุ ัขทีท่ ุรพลเทา นั้นจงึ จะได เม่ือเปน เชนนนั้ อันนี้ไมเปน การฆา สุนขั ทกุ ตวั แตอันน้ีชอ่ื วาเปนการฆาสนุ ขั ทท่ี รุ พลกแ็ หละครน้ั ทลู อยา งนแี้ ลว จึงเปลงเสยี งอนั ไพเราะกราบทลู วา ขาแตม หาราชสิ่งท่พี ระองคทรงกระทาํ น้นั ไมเ ปน ธรรม เมื่อจะแสดงธรรมแกพ ระราชา จึงกลาวคาถานว้ี า
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 285 สนัขเหลา ใดอนั บคุ คลเลย้ี งไวใ นราชสกลุ เจริญ ในราชสกุล สมบูรณดวยสีสนั และกําลงั สุนัขเหลา นี้ นน้ั ไมถ ูกฆา พวกเรากลบั ถูกฆา โดยไมแ ปลกกัน หา มิได กลบั ชื่อวาการฆา แตสุนัขทั้งหลายท่ที รุ พล. บรรดาบทเหลา น้ัน บทวา เย กุกกฺ ุรา ไดแ ก สนุ ขั เหลาใด.เหมือนอยางวา ปสสาวะแมยังมนี ํ้าอุนกเ็ รยี กวามูตรเนา สนุ ขั จง้ิ จอกแมเกดิ ในวันน้ันก็เรียกวา สนุ ัขจิ้งจอกแก เถาหัวดว นแมย งั ออ นก็เรยี กวาเถาหัวเนา กายแมจ ะมีสเี หมอื นทองก็เรียกวากายเปอ ยเนา ฉนั ใด สนุ ขั แมมอี ายุ ๑๐๐ ป ก็เรยี กวา กุกกุระ ลูกสนุ ขั ฉันน้นั เหมือนกัน. เพราะฉะน้นั สนุ ขั เหลานั้นแกแ ตสมบูรณด ว ยกําลงั กาย กเ็ รียกวา กุกกรุ ะเหมอื นกัน. บทวา วฑฒฺ าแปลวา เจรญิ เติบโต. บทวา โถเลยฺยถา ไดแ ก เกิดแลว มแี ลว เจรญิแลวในราชสกลุ . บทวา วณฺณพลูปปนนฺ า ไดแ ก สมบรู ณด ว ยสรี า งกายและกาํ ลังกาย. บทวา เตเม น วชณฺ า ความวา สนุ ัขเหลานีน้ ั้นมเี จาของมีการอารักขา จึงไมถกู ฆา . บทวา มยมสฺส วชฺณา ความวา เราทง้ั หลายไมมเี จา ของไมม ีการอารักขา เปน สุนขั ท่ถี กู ฆา. บทวา นาย สฆจฺจา ความวา เมื่อเปนอยา งน้ัน อันนีย้ อมไมชอื่ วามีการฆา โดยไมแปลกกัน. บทวาทุพพฺ ลฆาตกิ าย ความวา สวนอนั นย้ี อ มช่ือวา เปนการฆาอนั ทุรพล เพราะฆา เฉพาะสนุ ขั ทรุ พลทัง้ หลาย. อธบิ ายวา ธรรมดาพระราชาทง้ั หลายควรขมพวกโจร พวกท่ไี มเปน โจรไมควรขม แตในเหตุการณน ้ี โทษอะไร ๆ ไมมีแกพ วกโจร พวกท่ไี มใ ชโจรกลบั ไดความตาย โอ! ในโลกน้ี ส่ิงทไ่ี มค วรยอมเปน ไป โอ! เธอธรรมยอ มเปนไป. พระราชาไดท รงสดบั คําของพระโพธิสัตวแลว จึงตรสั วา ดกู อนบณั ฑติก็ทานรูหรอื วา สุนขั ชื่อโนนกนิ หนงั หุม รถ. พระโพธสิ ตั วก ลาววา รูพระเจา ขา .พระราชาตรัสวา สนุ ขั พวกไหนกนิ . พระโพธสิ ตั วท ลู วา พวกสุนัขเลีย้ งทอ่ี ยูในตําหนักของพระองคก ินพระเจา ขา. พระราชาตรสั วา ทานตอง (พิสจู น)
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 286รวู า สนุ ขั เหลาน้นั กินอยา งไร. พระโพธิสตั วท ลู วา ขาพระบาทจกั แสดงความท่ีสนุ ัขเหลา นัน้ กิน. พระราชาตรสั วา จงแสดงเถดิ บัณฑิต. พระโพธสิ ตั วทลู วาพระองคจงใหน ําพวกสนุ ัขเล้ียงในตําหนักของพระองคม า แลว ใหน าํ เปรยี งและหญาแพรกมาหนอยหนงึ่ . พระราชาไดทรงการทําอยางนนั้ . ลาํ ดบั น้ันพระโพธิสตั วใ หขยําหญากบั เปรยี งแลว ทูลกะพระราชาน้นั วา ขอพระองคจ งใหส ุนขัเหลาน้ันดมื่ พระราชาทรงใหท ําอยางน่นั แลว ใหดมื่ สนุ ัขทั้งหลายท่ดี ม่ื แลว ๆ ก็ถา ยออกมาพรอมกบั หนงั ท้ังหลาย พระราชาทรงดพี ระทัยวาเหมือนพยากรณของพระสัพพัญูพทุ ธเจา จงึ ไดทรงทาํ การบูชาพระโพธิสัตวด ว ยเศวตฉัตรพระโพธสิ ตั วจ ึงแสดงธรรมแกพระราชา ดวยคาถาวา ดวยการประพฤตธิ รรม๑๐ ประการ อันมาในเตสกุณชาดก มีอาทิวา ขาแตม หาราชผูบรมกษตั ริยพระองคจงประพฤตธิ รรมในพระชนกและชนนดี งั นี้ แลว ทูลวา ขา แตม หาราชจาํ เดิมแตน ี้ไป พระองคจ งเปน ผูไมป ระมาท แลวใหพ ระราชาดํารงอยใู นศลี ๕จึงไดถวายคนื เศวตฉตั รแดพ ระราชา. พระราชาไดทรงสดับธรรมกถาของพระ-มหาสัตวแลว ทรงใหอ ภัยแกสตั วท้ังปวง ทรงเรมิ่ ตงั้ นติ ยภยั เชนกบั โภชนะของพระองคแ กสนุ ัข ท้งั ปวงมีพระโพธิสตั วเปนตน ทรงต้ังอยูในโอวาทของพระโพธ-ิสัตวท รงการทาํ บุญมีทานเปน ตน ตลอดชว่ั พระชนมายุ สวรรคตแลว เสดจ็ อบุ ตั ิในเทวโลก กกุ กุโรวาทไดดาํ เนินไปถงึ หม่นื ป ฝายพระโพธิสตั วด ํารงอยูตราบชวั่ อายุแลว ไดไ ปตามยถากรรม. พระศาสดาตรสั วา ดูกอ นภิกษทุ ัง้ หลาย ตถาคตประพฤติประโยชนแกพระญาติทั้งหลาย ในบัดนี้เทาน้นั กห็ ามิได แมใ นกาลกอ นก็ไดประพฤติแลวเหมือนกัน คร้ันทรงนาํ พระธรรมเทศนานม้ี าสืบตออนุสนธิแลว จึงทรงประชมุ ชาดกวา พระราชาในกาลนนั้ ไดเ ปน พระอานนท บรษิ ัทท่ีเหลือนอกนี้ ไดเปน พุทธบรษิ ัท สวนกกุ กรุ บัณฑติ คอื เราแล. จบกกุ กุรชาดกที่ ๒
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 287 ๓. โภชาชานียชาดก วา ดวยมา สนิ ธพอาชาไนย [๒๓] ดกู อ นนายสารถี มาสินธพอาชาไนยถูก ลูกศรแทงแลว แมน อนตะแคงอยา งเดยี ว ยัง ประเสริฐกวา มากระจอก ทานจงประกอบฉนั ออกรบ อีกเถิด. จบโภชาชานยี ชาดกที่ ๓ ๓. อรรถกถาโภชาชานียชาดก พระศาสดาเมือ่ ประทับ อยูในพระวิหารเชตวนั ทรงปรารภภกิ ษุผลู ะความเพยี รรูปหนง่ึ จงึ ตรสั พระธรรมเทศนานี้ มีคาํ เริ่มตน วา อป ปสฺเสนเสมาโน ดังน้ี. ความพิศดารวา สมัยนั้น พระศาสดาตรัสเรยี กภิกษุน้ันมาแลวตรัสวาดกู อ นภกิ ษุ บณั ฑติ ทง้ั หลายแมในกาลกอน ไดการทําความเพียรแมใ นทีอ่ ันมใิ ชทอี่ ยู แมไ ดร บั บาดเจบ็ ก็ไมล ะความเพยี ร ดังนแ้ี ลว ทรงนําอดตีนทิ านมาวา ในอดตี กาล เมอื่ พระเจาพรหมทัตครองราชสมบัติ อยใู นนครพาราณสีพระโพธิสตั วบังเกดิ ในตระกลู มา สินธพช่ือ โภชาชานียะ สมบรู ณดวยอาการทง้ั ปวง ไดเ ปน มา มงคลของพระเจา พาราณสี พระโพธสิ ัตวน ั้นบรโิ ภคโภชนะ
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 288ขาวสาลมี กี ล่นิ หอมอันเก็บไว ๓ ป ถงึ พรอ มดว ยรสเลศิ ตา งๆ ในถาดทองอนั มีราคาแสนหนึง่ ยืนอยใู นภาคพน้ื อนั ไลท าดว ยของหอมมีกําเนดิ ๔ ประการเทา นัน้ สถานทยี่ ืนน้ันวงดวยมา นผากัมพลแดง เบื้องบนดาดเพดานผา อนัวิจติ รดวยดาวทอง หอยพวงของหอมและพวงดอกไม ตามประทปี น้ําหอม ก็ข้ึนชอื่ วาพระราชาทัง้ หลายผไู มปรารถนาราชสมบัติในนครพาราณสี ยอมไมม ีคราวหน่งึ พระราชา ๗ พระองคพ ากันลอมนครพาราณสี ทรงสง หนังสือแกพระเจา พาราณสีวา จะใหราชสมบตั แิ กเราทัง้ หลายหรือจะรบ. พระเจาพาราณสีใหป ระชมุ อํามาตยทง้ั หลายแลวตรสั บอกขาวนัน้ แลว ตรัสถามวา ดูกอ นพอทง้ั หลาย บดั น้ี พวกเราจะกระทาํ อยา งไร ? อํามาตยทง้ั หลายกราบทลู วา ขาแตสมมติเทพ เบอื้ งตน พระองคย งั ไมตอ งออกรบกอน พระองคจงสงทหารมา ชอ่ืโนนใหก ระทําการรบ เมื่อทหารมานั้นไมส ามารถขาพระบาทท้งั หลายจกั รใู นภายหลัง. พระราชารบั ส่ังใหเรียกทหารมา นน้ั มาแลวตรสั วา ดกู อ นพอ เธอจกั อาจการทําการรบกับพระราชา ๗ องคหรือไม. นายทหารมา กราบทลู วาขาแตส นมติเทพ ถาขา พระบาทไดมาสินธพช่อื โภชาชานียะไซร พระราชา ๗พระองคจ งยกไว ขา พระบาทจักอาจรบกับพระราชาทั่วทงั้ ชมพทู วีป. พระราชาตรสั วา ดูกอนพอ มา สนิ ธพโภชาชานียะ หรือมาอ่นื ก็ชางเถดิ . นายทหารมา นัน้รบั พระดํารสั แลว ถวายบังคมพระราชาลงจากปราสาท ใหนา้ํ มาสินธพโภชา-ชานียะมา แมคนกผ็ ูกสอดเกราะทุกอยาง เหน็บพระขรรค ขน้ึ หลงั มา สนิ ธพตัวประเสริฐ ออกจากพระนครไปประดุจฟาแลบ ทําลายกองพลท่ี ๑ จับเปนพระราชาไดองคห น่งึ พามามอบใหแกพลในนครแลวกลับไปอีก ทําลายกองพลที่ ๒ กองพลที่ ๓ กเ็ หมือนกนั จบั เปน พระราชาได ๕ องค อยา งนี้ดว ยประการฉะนี้ แลวทาํ ลายกองพลที่ ๖ ในคราวจบั พระราชาองคที่ ๖ มาสินธพโภชาชานียะไดร ับบาดเจ็บ เลือดไหล เวทนากลาเปนไป นายทหารมา
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 289น้ันรวู า มา สนิ ธพนัน้ ไดร ับบาดเจบ็ จึงใหม าสินธพโภชาชานยี ะนอนทีป่ ระตูพระราชวงั เรม่ิ ทาํ เกราะใหหลวมเพอ่ื จะผูกเกราะมา ตัวอืน่ พระโพธสิ ัตวท งั้ ท่ีนอนทางขางทท่ี ีค่ วามผาสกุ มาก ลมื ตาขึ้นเห็นนายทหารมา (ทําอยา งนั้น) จึงคิดวา นายทหารมานี้จะหมุ เกราะมา ตวั อ่นื และมา ตัวนจ้ี กั ไมส ามารถทาํ ลายกองพลท่ี ๗ จบั พระราชาองคที่ ๗ ได และกรรมท่เี ราทาํ ไวแ ลวจกั พนิ าศหมดแมน ายทหารมาซ่ึงไมม ีผเู ปรียบกจ็ ักพนิ าศ แมพระราชากจ็ ักตกอยูในเงื้อมมือของพระราชาอน่ื เวน เราเสียมา อ่นื ชอื่ วา สามารถเพ่อื ทาํ ลายกองพลท่ี ๗ แลวจับพระราชาองคท ี่ ๗ ไดย อมไมมี ท้งั ๆ ท่นี อนอยนู ่นั แล ใหเ รียกนายทหารมามาแลวกลาววา ดูกอ นนายทหารนาํ้ ผูสหาย เวนเราเสยี ช่ือวา มา อืน่ ผสู ามารถเพอ่ื ทําลายกองพลที่ ๗ แลว จับพระราชาองคท่ี ๗ ไดย อ มไมมี เราจักไมท ํากรรมที่เรากระทําแลว ใหเสยี หาย ทา นจงใหเราแลลุกขึ้นแลว ผูกเกราะเถิดครน้ักลาวแลวจึงกลา วคาถานว้ี า มา สินธพอาชาไนยถูกลูกศรแทงแลว แมนอน ตะแคงอยขู า งเดียว ก็ยงั ประเสริฐกวา นํา้ กระจอก ดู กอ นนายสารี ทา นจงประกอบฉันออกรบเถดิ . บรรดาบทเหลานนั้ บทวา อป ปสเฺ สน เสมาโน ไดแก แมนอนโดยขา งๆ เดียว. บทวา สลเฺ ลภิ สลลฺ ลกี โต ความวา เปนผูแมถ ูกศรท้งั หลายแลว. บทวา เสยโฺ ยว วฬวา โภชโฺ ฌ ความวา มา กระจอกซึง่ ไมไดเ กิดในตระกลู มา มาสินธพ ชอ่ื วา วฬวะ มา โภชาชานียสินธพช่อื วา โภชฌะ ดังนัน้ มา โภชาชานียสนิ ธพนน่ั แหละ แมถ กู ลกู ศรแทงแลวกย็ ังประเสรฐิ คอื เลศิ อุดม กวา มา กระจอกนน่ั . ดวยบทวา ยุชฺ มฺเวสารถี น้ี พระโพธิสัตวก ลาววา เพราะเหตุทีเ่ ราแล แมจะไปดว ยอาการอยา งน้กี ็ยงั ประเสริฐกวา ฉะนั้น ทานจงประกอบเราเถดิ อยา ประกอบมาตัวอน่ื เลย.
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 290 นายทหารมาพยงุ พระโพธสิ ัตวใหลกุ ข้นึ พนั แผลแลว ผูกสอดเรยี บรอยนงั่ บนหลงั ของพระโพธิสตั วน ั้น ทําลายกองพลที่ ๗ จบั เปนพระราชาองคที่ ๗แลวมอบ ใหแ กพลของพระราชา คนท้ังหลายนําแมพ ระโพธสิ ัตวมายงั ประตูพระราชวัง พระราชาเสด็จออกเพอื่ ทอดพระเนตรพระโพธิสัตวน นั้ พระมหา-สัตวทลู พระราชาวา ขาแตม หาราช พระองคอ ยา ทรงฆาพระราชาท้ัง ๗ เลยจงใหกระทําสบถแลว ปลอยไป พระองคจ งประทานยศท่ีจะพึงประทานแกขา -พระบาทและนายทหารมา ใหเฉพาะแกน ายทหารมา เทา น้ัน การจับพระราชา๗ องคไ ดแ ลว ทําทหารผกู ระทําการรบใหพนิ าศยอ มไมค วร แมพระองคก ็จงทรงบาํ เพ็ญทาน รกั ษาศลี ทรงครองราชสมบัตโิ ดยธรรม เมื่อพระโพธสิ ตั วใ หโอวาทแกพ ระราชาอยางน้ีแลว คนท้ังหลายจงึ ถอดเกราะของพระโพธิสัตวอ อกเมือ่ เกราะสักวาถูกถอดออกเทา น้ัน พระโพธสิ ัตวน้ันดับไปแลว. พระราชาทรงใหท าํ ฌาปนกจิ สรรี ะของพระโพธสิ ัตวน้นั ไดประทานยศใหญแกน ายทหารมาทรงใหพ ระราชาท้ัง ๗ พระองค ทรงกระทาํ สบถเพ่อื ไมประทุษรา ยพระองคอ ีกแลว ทรงสง ไปยงั ท่ขี องตน ทรงครองราชสมบัติโดยธรรม โดยสมํ่าเสมอ ในเวลาสุดสน้ิ พระชนมายุ ไดเ สดจ็ ไปตามยถากรรม. พระศาสดาตรสั วา ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย บัณฑิตทงั้ หลายในปางกอ นไดกระทําความเพียรแมใ นทอี่ ันมิใชบ อเกิดอยา งนี้ แมไ ดรับบาดเจบ็ เห็นปานนี้ กไ็ มล ะความเพยี ร สว นเธอบวชในศาสนาอนั เปน เครือ่ งนําออกจากทุกขเหน็ ปานนี้ เพราะเหตุไร จงึ ละความเพยี รเสยี แลวทรงประกาศสจั จะท้ัง ๔ในเวลาจบสัจจะ ภกิ ษุผลู ะความเพียรตัง้ อยใู นพระอรหตั ผล ฝายพระศาสดาครน้ัทรงนาํ พระธรรมเทศนาน้มี าสบื ตอ อนสุ นธแิ ลว จงึ ทรงประชมุ ชาดกวา พระราชาในครั้งนน้ั ไดเปน พระอานนท นายทหารมาในคร้ังน้ัน ไดเปนพระสารีบุตร สว นโภชาชานยิ สินธพในคร้งั น้นั ไดเปน เราแล. จบโภชาชานียชาดกท่ี ๓
พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 291 ๔. อาชญั ญชาดก วา ดวยมาอาชาไนยกบั มากระจอก [๒๔] ไมวา เมอื่ ใด ทีใ่ ด ขณะใด ณ ที่ใด ๆ ณ เวลา ใด ๆ มา อาชาไนยใชกาํ ลังความเรว็ มา กระจอก ยอมถอยหน้ี. จบอาชญั ญชาดกท่ี ๔ ๔. อรรถกถาอาชญั ญชาดก พระศาสดาเม่ือประทับอยใู นพระวหิ ารเชตวัน ทรงปรารภภกิ ษผุ ูละความเพียรเหมอื นกนั จึงตรัสธรรมเทศนาน้ี มคี าํ เร่มิ ตนวา ยทา ยทาดังน้ี. ก็พระศาสดาตรัสเรียกภิกษนุ นั้ มาแลวตรสั วา ดูกอ นภกิ ษุ บณั ฑิตท้งั หลายในปางกอน เปน ผูแมไดการประหารทง้ั ในทอ่ี นั มิใชบอเกดิ กไ็ ดกระทําความเพียร แลว ทรงนาํ อดีตนทิ านมา ดังตอ ไปนี้ ในอดตี กาล เมื่อพระเจา พรหมทัตครองราชสมบัติในนครพาราณสีพระราชา ๗ องคพากันลอ มพระนครไว โดยนยั มใี นเร่ืองกอ นน่ันแหละ.ลาํ ดับนั้น นกั รบประจาํ รถคันหนงึ่ เทียมรถมีมาสินธพพ่นี อง ๒ ตวั ออกจากพระนคร ทําลายกองพล ๖ กองพล ไดจ บั พระราชา ๖ องคไว. ขณะนั้นมาผูพีไ่ ดร ับบาดเจ็บ. สารถจี งึ สงรถมายังประตพู ระราชวงั ปลดมา ผพู ่ีชายออก
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 292จากรถ ทําเกราะใหหลวม แลวใหนอนตะแคงขางหนงึ่ เริ่มจะสวมเกราะมาตัวอ่ืน. พระโพธสิ ตั วเห็นดงั นัน้ จึงคดิ โดยนยั เร่อื งกอนนน่ั แหละ แลว ใหเรยี กสารถีมา ทั้งท่ีนอนอยูน่นั แลไดก ลาวคาถานว้ี า ไมว าเมอ่ื ใด ที่ใด ขณะใด ณ ที่ใด ๆ ณ เวลา ใด ๆ น้าํ อาชาไนยใชก ําลังความเรว็ มา กระจอกยอม ถอยหนี้. บรรดาบทเหลา น้ัน บทวา ยทา ยทา ไดแ ก ในกาลใด ๆ ในบรรดาเวลาเชาเปนตน . บทวา ยตฺถ ไดแก ในทใ่ี ด คอื ในหนทาง หรอืในสนามรบ. บทวา ยทา คอื ในขณะใด. บทวา ยตถฺ ยตถฺ ไดแกในสนามรบเปน อนั มาก เชนกองพล ๗ กอง. บทวา ยทา ยทา ไดแ กในกาลใด ๆ คือ ในกาลทไ่ี ดรับบาดเจบ็ หรอื ไมไดรบั . บทวา อาชาไนยกุรเุ ต เวค ความวา มา อาชาไนย คอื มา สินธพตัวประเสรฐิ ผูมีสภาวะรูทั่วถึงเหตุทจ่ี ติ ของสารถชี อบ ใชกาํ ลังความเรว็ คือพยายาม ปรารภความเพียร.บทวา หายนตฺ ิ ตตฺถ วาฬวา ความวา เม่อื มาอาชาไนยนน้ั ใชก าํ ลังความเรว็ มา กระจอกกลาวคือมาตัวเมียนอกนี้ยอ มถอยหนี คือ ยอมลา ถอยไปเพราะฉะนนั้ ทา นจงเทียมเฉพาะเราเทานั้นในรถคันน.้ี สารถปี ระคองพระโพธิสตั วไ หลุกขึน้ เทยี มแลว ทาํ ลายกองพลที่ ๗ พาเอาพระราชาองคท ่ี ๗ มา. ขบั รถมายังประตพู ระราชวังแลวปลดมา สินธพ. พระ-โพธิสตั วน อนตะแคงขา งหนึง่ ถวายโอวาทแกพ ระราชาโดยนัยเรอ่ื งกอ นน่ันแลแลวดับไป. พระราชารับส่งั ใหกระทาํ ฌาปนกิจสรีระของพระโพธสิ ัตวน นั้ แลวกระทาํ สมั มานะแกส ารถปี ระจํารถ ทรงครองราชสมบตั โิ ดยธรรม โดยเสมอเสดจ็ ไปตามยถากรรม.
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 293 พระศาสดาคร้นั ทรงนาํ พระธรรมเทศนานม้ี าแลว ทรงประกาศสจั จะในเวลาจบสจั จะ ภกิ ษุน้นั ตั้งอยใู นพระโสดาปตติผล. พระศาสดาทรงประชมุชาดกวา พระราชาในกาลน้นั ไดเ ปนพระอานนทเถระ สารถไี ดเปน พระสารบี ุตร สวนมา ไดเ ปน เราคือพระสมั มาสมั พุทธเจา แล. จบอาชัญญชาดกท่ี ๔ ๕. ติตถชาดก วาดวยการเบ่ือเพราะซาํ้ ซาก [๒๕] ดูกอนนายสารถี ทานจงยงั มาใหอ าบ และดมื่ น้ําที่ทา โนนบา ง ทาน้ีบา ง แมข าวปายาสท่ี บรโิ ภคบอยคร้ัง คนก็ยังอิม่ ได. จบ ติตถชาดกท่ี ๕ ๕. อรรถกถาติฏฐชาดก๑ พระศาสดาเมือ่ ประทับอยใู นพระเชตวนั วหิ าร ทรงปรารภภิกษุผูเคยเปนชางทองรูปหน่ึง ซงึ่ เปนสัทธิวิหาริกของพระธรรมเสนาบดี จงึ ตรัสพระ-ธรรมเทศนานี้ มีคาํ เรม่ิ ตน วา อฺ มฺเหิ ตฏิ เ หิ ดงั น.ี้๑. บาลเี ปน ตติ ถชาดก
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 294 ก็อาสยานุสยญาณยอ มมีแกพระพทุ ธเจาทงั้ หลายเทานนั้ ยอ มไมม แี กคนอ่ืน เพราะฉะนั้น พระธรรมเสนาบดีจงึ ไมรอู าสยะคอื อธั ยาศัย และอนสุ ัยคอื กิเลสอันเน่ืองอยใู นสนั ดานของสัทธิวิหาริก เพราะความที่คนไมม อี าสยานุสยญาณ จงึ บอกเฉพาะอสุภกรรมฐานเทานั้น อสุภกรรมฐานนน้ั ไมเปน สัปปายะแกสัทธิวหิ าริกนนั้ . เพราะเหตไุ ร เพราะไดยนิ วา สัทธิวิหารกิ ของพระธรรมเสนาบดนี น้ั ถอื ปฏิสนธิในเรือนของชางทองเทานน้ั ถึง ๕๐๐ ชาติ เมอ่ื เปนเชนน้ัน อสุภกรรมฐานจงึ ไมเ ปน สัปปายะแกสทั ธิวิหาริกนนั้ เพราะเปน ผเู คยชนิ ตอการเหน็ ทองคาํ บริสทุ ธเ์ิ ทานนั้ เปนเวลานาน้ี สทั ธวิ หิ ารกิ นั้น ไมอ าจทําแมมาตรวานมิ ติ ใหเ กิดขน้ึ ในกรรมฐานน้นั ใหเ วลาสน้ิ ไป ๔ เดือน. พระธรรมเสนาบดีเม่อื ไมอาจใหพระอรหตั แกสทั ธิวิหาริกของตน จงึ คิดวา ภกิ ษนุ ี้จักเปนพุทธเวไนยแนน อน เราจักนําไปยังสํานักของพระตถาคต จงึ พาสทั ธิ-วหิ าริกน้ัน ไปยังสํานักของพระศาสดาดว ยตนเอง แตเ ชาตรู. พระศาสดาตรัสถามวา สารบี ุตร เธอพาภกิ ษุรูปหนงึ่ มาหรือหนอ. พระสารบี ตุ รกราบทูลวาขาแตพ ระองคผเู จริญ ขาพระองคไดใ หกรรมฐานแกภกิ ษุน้ี แกภ ิกษุนไี้ มอาจทาํ แมมาตรวานมิ ติ ใหเกดิ ขน้ึ โดยเวลา ๔ เดอื น ขาพระองคน น้ั คิดวา ภิกษุน้ีจกั เปนพุทธเวไนยผูทพี่ ระพทุ ธเจาจะพงึ ทรงแนะนํา จงึ ไดพ ามายังสํานักของพระองค พระเจา ขา . พระศาสดาตรัสถามวา สารบี ุตร เธอใหกรรมฐานชนดิ ไหนแกส ัทธวิ ิหารกิ ของเธอ ? พระสารีบตุ รกราบทูลวา ขาแตพระผมู ีพระภาคเจา ขาพระองคใ หอ สุภกรรมฐาน พระเจาขา . พระศาสดาตรัสวาสารีบตุ ร เธอไมมญี าณเครอ่ื งรูอ ธั ยาศยั และอนุสยั ของสัตวท งั้ หลาย เธอไปกอนเถิด เวลาเย็นเธอมา พึงพาสทั ธวิ ิหาริกของเธอมาดว ย. พระศาสดาทรงสง พระเถระไปอยา งนแ้ี ลว ไดใ หผานุงและจีวรอนั นาชอบใจแกภกิ ษนุ น้ัแลวทรงพาภกิ ษุนัน้ เขาไปบณิ ฑบาตยังบา น ใหของเคย้ี วของฉันอันประณีต
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 295แวดลอ มดว ยภิกษสุ งฆหมใู หญก ลบั มายังพระวิหารอกี ทรงยงั เวลาสว นกลางวันใหสิน้ ไปในพระคนั ธกฎุ ี พอเวลาเยน็ ทรงพาภิกษนุ น้ั เที่ยวจาริกไปในวิหารแลวทรงนริ มติ สระโบกขรณสี ระหนงึ่ ในอัมพวัน แลว ทรงนริ มิตกอปทุมใหญในสระโบกขรณีน้ัน และทรงนิรมิตดอกปทุมใหญดอกหน่ึงในกอปทุมแมน้ัน แลวรับส่ังใหน ัง่ ลงดว ยพระดาํ รัสวา ภิกษุ เธอจงน่ังแลดูดอกปทมุนี้ แลวเสด็จเขา พระคันธกฎุ .ี ภกิ ษนุ ัน้ แลดดู อกปทมุ นน้ั บอย ๆ. พระผูม ีพระภาคเจา ทรงใหดอกปทุมนั้นเห่ยี ว. ดอกปทุมนัน้ เมื่อภิกษนุ ัน้ แลดูอยูน่นั แหละไดเ หี่ยวเปลย่ี นสไี ป ก็เมอ่ื เปนเชนนัน้ กลบี ของดอกปทมุ น้นั ก็รว งไปตง้ั แตร อบนอก ไดรวงไปหมดโดยครูเดียว. แตน น้ั เกสรก็รวงไปเหลอื อยแู ตผกั บวั . ภิกษุน้นั เหน็ อยูต ้ังนั้นจงึ คิดวา ดอกปทุมนีไ้ ดง ดงามนาดูอยูเดียวนี้ เมื่อเปน เชน นั้น สีของมันกแ็ ปรไป กลีบและเกสรรวงไป ตั้งอยูแตเพยี งผกั บวั เทานั้น ความชราถงึ แกดอกปทมุ ชอื่ เหน็ ปานนี้ อยางไรจกั ไมถึงรา งกายของเรา สงั ขาร ทั้งหลายไมเทีย่ งหนอ จึงเร่มิ เจริญวปิ สสนา พระ-ศาสดาทรงทราบวา จติ ของภกิ ษนุ ัน้ ขึน้ สูวิปสสนาแลว ประทบั อยใู นพระคันธุฎนี น่ั แล ทรงเปลง โอภาสแสงสวางไป แลวตรัสพระคาถานว้ี า เธอจงตัดความสเิ นหาของตนเสยี เหมอื นคน ตัดดอกโกมทุ อันเกดิ ในสารทกาล เธอจงพอกพูนทาง แหงความสงบ เพราะพระนพิ พาน ตถาคตแสดงไว แลว . ในเวลาจบคาถา ภิกษุน้ันบรรลพุ ระอรหตั แลวคดิ วา เราเปนผพู นแลวหนอจากภพทง้ั ปวง จึงเปลง อทุ านดวยคาถาทง้ั หลายมีอาทิวา เราน้นั มีธรรมเครอ่ื งอยอู นั อยูจบแลว มีฉันทะ ในใจบริบูรณแ ลว มีอาสวะสนิ้ ไปแลว ทรงไวซ ่งึ
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 296 รา งกายครงั้ สุดทาย มศี ีลบริสทุ ธิ์ มอี นิ ทรยี ต ้ังม่ัน ดว ยดี ที่สุดพนแลว เหมือนพระจันทรพน จากปาก ของราหูฉะนน้ั เราบรรเทามลทินทง้ั ปวงอนั กระทํา ความมืด ซ่งึ มดื มนอนธถารเพราะโมหะไดเด็ดขาด เหมอื นพระอาทติ ยมรี ัศมีตั้งพัน ผูสรา งแสงสวา ง ทาํ ความโซติชวงดวยแสงสวางในทอ งฟา ฉะน้นั .กแ็ หละคร้นั เปลงอุทานแลว จงึ มาถวายบังคมพระผูม พี ระภาคเจา ฝา ยพระเถระกม็ าถวายบังคมพระศาสดาแลว ไดพ าสัทธิวหิ าริกของตนไป. ขา วนี้เกิดปรากฏในระหวา งภกิ ษุทง้ั หลาย. ภิกษุทง้ั หลายนงั่ พรรณนาพระคุณของพระทศพลอยูในโรงธรรมสภาวา อาวุโสทัง้ หลาย พระสารีบตุ รเถระไมร ูอัธยาศยั ของสัทธิวิหาริกของตน เพราะไมมอี าสยานุสยญาณ แตพ ระศาสดาทรงทราบ ไดประทานพระอรหตั พรอ มดว ยปฏิสมั ภทิ าแกภ ิกษนุ นั้ โดยวนั เดียวเทาน้ัน โอ!ชื่อวา พระพุทธเจาท้งั หลายทรงมอี านุภาพมาก พระศาสดาเสดจ็ มาแลว ประทับนง่ั บนอาสนะท่ีปูลาดแลวตรัสถามวา ภกิ ษุท้ังหลาย บดั น้ีพวกเธอน่ังสนทนากันดว ยเร่ืองอะไร ? ภกิ ษทุ ้งั หลายกราบทลู วา ขา แตพระผมู ีพระภาคเจาพวกขาพระองคน ง่ั สนทนากันดว ยเร่อื งอนื่ หามไิ ด แตนัง่ สนทนากันดว ยเรื่องพระญาณเครอ่ื งรอู ัธยาศยั และอนสุ ยั แหง สัทธวิ หิ าริกของพระธรรม เสนาบดีเฉพาะของพระองคเทาน้ัน. พระศาสดาตรสั วา ดูกอนภิกษทุ ั้งหลาย ขอนไ้ี มนา อศั จรรย บัดน้ี เรานั้นเปนพระพทุ ธเจา แลว ยอ มรอู ธั ยาศยั ของภิกษุนัน้แมใ นกาลกอน เรากร็ อู ัธยาศยั ของภกิ ษนุ น้ั เหมอื นกนั แลวทรงนําอดตี นทิ านมา ดังตอ ไปนี้ ในอดตี กาล เมอื่ พระเจาพรหมทตั ครองราชสมบัตใิ นนครพาราณสีในกาลนน้ั พระโพธสิ ัตวอนุศาสนอรรถและธรรมกะพระราชาพระองคน นั้ . ใน
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 297กาลน้ัน พวกคนเลีย้ งมาใหมากระจอกขาเขยกอาบกอนกวามา อ่ืน ณ ทาท่มี ามงคลของพระราชาอาบ. มามงคลถกู ใหล งทา ท่ีมากระจอกอาบ จงึ เกลยี ดไมปรารถนาจะลง คนเล้ียงมา มากราบทลู แดพระราชาวา ขา แตส มมติเทพ มามงคลไมปรารถนาจะลงทา น้าํ พระเจาขา . พระราชาทรงสั่งพระโพธิสัตวไปวาดกู อ นบณั ฑติ ทานจงไป จงรูวา เพราะเหตุไร มาถกู เขาใหลงทา นา้ํ จึงไมลง. พระโพธิสัตวท ูลรบั พระบัญชาแลว ไปยังฝงแมนา้ํ ตรวจดมู า ก็รูว า มาไมม ีโรค จงึ ใครค รวญวา เพราะเหตุไรหนอ มา นจ้ี ึงไมลงทาน จงึ คิดวา มาอ่ืนจกั ถกู อาบที่ทา นี้กอ น ดวยเหตุนั้น มาน้นั เห็นจะรังเกียจจงึ ไมล งทา แลวถามพวกคนเลี้ยงมา วา ทา นผเู จรญิ ท่ีทา น้ีทา นทั้งหลายใหมาอะไรอาบกอน พวกคนเลยี้ งมากลาววา ขาแตน ายใหมากระจอกอาบกอ นกวามาอน่ื . พระโพธสิ ัตวรูอธั ยาศัยของมา นั้นวา มานีร้ ังเกียจจงึ ไมปรารถนาจะอาบทที่ านี้ เพราะตนเปน สัตวมี (คุณ) สมบตั ิ การใหม า น้อี าบในทา อ่นื จงึ จะควร จงึ กลาววาทา นผเู ล้ยี งมาผเู จรญิ แมขาวปายาสท่ีปรงุ ดวยเนยใส นาํ้ ผึง้ และนา้ํ ออยเม่ือบุคคลบริโภคบอ ย ๆ กอน ยอ มมคี วามเบื่อ มานีอ้ าบทท่ี า นใหลายคร้งัเบื้องตน พวกทานจงใหม านั้น ลงยังทาแมอนื่ แลว ใหอ าบและด่ืม จึงกลา วคาถานี้วา ดกู อนนายสารถี ทานจงยงั มา ใหอาบและดม่ื ท่ี ทาโนนทาน้ีบา ง แมข า วปายาสที่บริโภคบอ ยคร้ัง คน ยอมอม่ิ ได. บรรดาบทเหลานน้ั บทวา อฺมเฺ หิ แยกศพั ทอ อกเปนอฺเหิ อเฺ หิ แปลวา อืน่ ๆ. บทวา ปาเยหิ (แปลวาจงใหดมื่ ) นี้เปน หวั ขอ เทศนา อธบิ ายวา จงใหอ าบและใหด ่ืม. บทวา อจฺจาสนสสฺ นี้เปนฉัฏฐวี ิภตั ใิ ชใ นอรรถแหงตติยาวภิ ตั ิ อธบิ ายวา กินย่ิง คอื บริโภคยงิ่ .
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 298บทวา ปายาสสฺสป ตปปฺ ติ ความวา ยอ มอ่มิ คอื เปน ผอู ่ิม เปน ผูท่ีเขาเลย้ี งดูอ่ิมแลว แมดวยขาวมธปุ ายาสที่ปรงุ ดว ยเนยใสเปน ตน ยอมไมถ ึงความเปนผูตองการบรโิ ภคอีก เพราะฉะนัน้ มา แมนกี้ ็จักถึงความพอ เพราะการอาบประจําที่ทานี้ ทานจงใหอาบทท่ี า อืน่ เถิด. คนเลี้ยงมาเหลา นนั้ ไดฟง คาํ ของพระโพธิสตั วน ั้นแลว จึงใหมาลงทาอืน่ ใหด ่มื และใหอาบ ในเวลาท่มี าด่ืมนํ้าแลวอาบ พระโพธิสัตวไดม ายงัสํานกั ของพระราชา. พระราชาตรัสถามวา ดกู อนพอ มาอาบและดื่มแลวหรอืพระโพธิสัตวกราบทลู วา พระเจาขา ขาแตส มมตเิ ทพ. พระราชาตรัสถามวาทแี รก เพราะเหตุไร มา จึงไมปรารถนา? พระโพธิสัตวก ราบทูลวา ขาแตสมมติเทพ เพราะเหตุช่ือแมน ้ี แลว กราบทูลเหตุทง้ั ปวง พระราชาตรัสวา โอ!ทานบณั ฑิตยอมรอู ธั ยาศยั ช่ือแมของสตั วด ริ จั ฉานเห็นปานนั้ แลวประทานยศใหญแกพ ระโพธสิ ัตว ในเวลาส้นิ อายุ ไดเสดจ็ ไปตามยถากรรมแลว ฝา ยพระโพธสิ ัตวก ็ไปตามยถากรรมเหมอื นกัน. พระศาสดาตรสั วา ดูกอ นภิกษุท้งั หลายเรารอู ธั ยาศัยของภกิ ษุนใ้ี นบดั น้ี เทา นั้น หามิได แมใ นกาลกอ นก็รูเ หมือนกัน คร้นั ทรงนาํ พระธรรมเทศนาน้มี าสืบตอ อนุสนธิแลว จึงทรงประชมุ ชาดกวา มา นงคลในกาลนน้ั .ไดเปนภิกษรุ ูปนี้ พระราชาในกาลนัน้ ไดเ ปน พระอานนท สวนอาํ มาตยผเู ปน บัณฑิตในกาลนัน้ ไดเ ปนเราตถาคตแล. จบติฏฐชาดกท่ี ๕
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 299 ๖. มหิลามุขชาดก วา ดวยการเสี้ยมสอน [๒๖] พระยาชางชื่อมหิลามุข ไดเ ทย่ี วทุบตีคน เพราะไดคําของพวกโจรมากอ น พระยาชางผูอุดมตง้ั อยูใ นคณุ ทั้งปวง เพราะไดฟ ง คาํ ของทา นผสู าํ รวมดี แลว. จบมหลิ ามขุ ชาดกท่ี ๖ ๖. อรรถกถามหิลามขุ ชาดก พระศาสดาเมือ่ ประทับ อยใู นพระวิหารเวฬวุ ัน ทรงปรารภพระเทวทัตจึงตรสั พระธรรมเทศนาน้มี คี าํ เริ่มตนวา โปราณโจราน วโจ นิสมฺมดังนี้ ความพิศดารวา พระเทวทัตทาํ ใหอ ชาตศตั รูกุมารเลื่อมใสแลว ยงัลาภสกั การะใหเกดิ ข้นึ อชาตศัตรกู ุมารใหสรา งวหิ ารท่ีตาํ บลคยาสสี ะเพื่อพระ-เทวทัต แลว นาํ ไปเฉพาะโภชนะขา วสาลมี ีกลิ่นหอมซึง่ เก็บไว ๓ ป วันละ ๕๐๐สํารบั โดยรสเลศิ ตางๆ เพราะอาศยั ลาภสกั การะ. บรวิ ารของพระเทวทตั จงึใหญขน้ึ พระเทวทตั พรอมทง้ั บริวารอยูในวิหารน่นั แหละ. สมัยนั้น มีสหาย ๒คนผูเปนชาวเมอื งราชคฤห ในสองสหายนัน้ คนหน่งึ บวชในสํานกั ของพระ-ศาสดา คนหนึ่งบวชในสาํ นกั ของพระเทวทัต สหายท้ังสองนนั้ ยอ มเห็นกัน
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 300และกันแมใ นทน่ี ั้นๆ แมไ ปวิหารกย็ งั เหน็ กัน อยูมาวนั หน่งึ ภกิ ษผุ ูเปน นสิ ิตของพระเทวทัตกลา วกะภิกษนุ อกน้วี า ผูม อี ายุ ทานจะเท่ียวบณิ ฑบาตมเี หงอื่ไหลอยูท กุ วัน ๆ ทาํ ไม ทานนั่งในวิหารท่ีตําบลคยาสสี ะเทานัน้ จะไดบ ริโภคโภชนะดดี ว ยรสเลิศตา งๆ ขาวปายาสเหน็ ปานนไ้ี มม ีในวหิ ารนี้ ทานจะมัวเสวยทุกขอยูทาํ ไม ประโยชนอะไรแกทานการมายงั คยาสีสะแตเ ชาตรูแลว ดมื่ ขา วยาคูพรอ มดว ยแกงออม เค้ยี วของควรเคีย้ ว ๑๘ ชนิด แลวบรโิ ภคโภชนะดดี วยรสเลศิ ตาง ๆ ไมควรหรอื ภกิ ษนุ ัน้ ถกู พูดบอย ๆ เปนผปู ระสงคจะไป จาํ เดมิแตน ัน้ จงึ ไปยังคยาสีสะบรโิ ภคแลวกม็ ายงั พระเวฬุวนั ตอ เม่ือเวลาสาย ภิกษุนัน้ไมอาจปกปดไวไ ดตลอดไป ไมช า นัก ขา วก็ปรากฏวา ภกิ ษุนัน้ ไปคยาสสี ะบรโิ ภคภัตทีเ่ ขาอุปฏฐากพระเทวทตั . ลําดบั นน้ั สหายทัง้ หลายพากันถามภิกษุนัน้ วา ผมู ีอายุ ไดย นิ วา ทา นบริโภคภัตที่เขาอปุ ฏ ฐากแกพ ระเทวทัตจริงหรอื ?ภกิ ษุนนั้ กลา ววา ใครกลาวอยา งนี้ สหายเหลา น้นั กลาววา คนโนนและคนโนน กลา ว ภิกษนุ ้ันกลา ววา ผมู ีอายุท้ังหลาย ผมไปยังคยาสสี ะบรโิ ภคจริงแตพ ระเทวทัตไมไดใหภ ตั แกผม คนอนื่ ๆ ให. ภกิ ษุผูสหายกลาววา ผูมอี ายุพระเทวทัตเปนเสี้ยนหนามตอ พระพทุ ธเจา เปนผทู ุศลี ยงั พระเจา อชาตศัตรูใหเ ลอื่ มใส แลวยังลาภสกั การะใหเ กดิ แกค นโดยไมช อบธรรม ทา นบวชในศาสนาอนั เปนเครือ่ งนําออกจากทกุ ขเ ห็นปานนี้ แลวบรโิ ภคโภชนะอนั เกดิ ขึ้นแกพ ระเทวทัตโดยไมชอบธรรมเลย มาเถอะ เราทัง้ หลายจักนา้ํ ทา นไปยังสาํ นักของพระศาสดา แลว พาภกิ ษุนั้นมายังโรงธรรมสภา พระศาสดาพอทรงเห็นภิกษนุ ัน้ เทานัน้ จงึ ตรสั ถามวา ภกิ ษทุ ้งั หลาย พวกเธอพาภกิ ษุน้ี ผไู มปรารถนา มาแลว หรือ ? ภิกษทุ งั้ หลายกราบทลู วา พระเจาขา ขา แตพระองคผูเจริญ ภิกษุน้ีบวชในสาํ นกั ของพระองค แลว บริโภคโภชนะอนั เกดิ ขึ้นแกพระเทวทตั โดยไมช อบธรรม พระศาสดาตรสั ถามวา ดกู อ นภิกษุ ไดย นิ วา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376