Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_55

tripitaka_55

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:42

Description: tripitaka_55

Search

Read the Text Version

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 201พนกั งานตีราคา ดาํ รงอยตู ลอดกาลมปี ระมาณเทา น้ี ณ ทไ่ี หนกนั ทานเหมาะสมแกพ ระราชาของพวกเราทีเดียว. ครัง้ นนั้ พระราชาทรงละอาย ใหฉดุ คราบรุ ุษโงนนั้ ออกไป แลว ไดพระราชทานตําแหนง พนักงานตรี าคาแกพระโพธ-ิสัตวต ามเดิม. พระโพธสิ ตั วไดไ ปตามยถากรรม. พระศาสดาคร้นั ทรงนําพระธรรมเทศนานีม้ าแลว ตรัสเร่ือง ๒ เร่อื งสืบอนสุ นธติ อกันไป แลว ทรงประชมุ ชาดกวา พนกั งานตรี าคาผเู ปน ชาวบานโงเ ขลาในกาลนนั้ ไดเปน พระโลฬทุ ายีในบัดนี้ พนักงานตรี าคาผเู ปนบัณฑติในกาลน้ัน ไดเปน เราเอง. จบ ตณั ฑลุ นาฬชิ าดกท่ี ๕ ๖. เทวธรรมชาดก วา ดวยธรรมของเทวดา [๖] สัปบุรุษผูสงบระงับ ประกอบดวยหริ ิและ โอตตัปปะ ตัง้ มน่ั อยูในธรรมอันขาว ทา นเรยี กกวาผมู ี ธรรมของเทวดาในโลก. จบเทวธรรมชาดกที่ ๖

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 202 ๖. อรรถกถาเทวธรรมชาดก พระผมู พี ระภาคเจา เมอ่ื ประทบั อยใู นพระวหิ ารเชตวัน ทรงปรารภภกิ ษผุ มู ีภณั ฑะมาก จึงตรัสพระธรรมเทศนานม้ี คี ําเร่ิมตนวา หริ โิ อตฺตปปฺ -สมฺปนฺนา ดงั นี้. ไดย นิ วา กุฎม พีชาวเมืองสาวัตถคี นหนง่ึ เมอื่ ภรรยาตายก็บวชกฎุ มพ-ีน้ัน เมื่อจะบวชไดใ หท ําบริเวณ โรงไฟและหองเกบ็ สิ่งของ ทําหอ งเกบ็ สิง่ของใหเ ต็มดวยเนยใสและขา วสารเปน ตน สําหรับคนแลวจงึ บวช กแ็ หละครน้ับวชแลว ใหเรียกทาสของตนมา ใหหงุ ตม อาหารตามชอบใจ แลวจึงบรโิ ภคและไดเปน ผูมบี รขิ ารมาก ในเวลากลางคนื มผี านงุ และผา หมผนื หนึ่ง เวลากลางวัน มอี กี ผืนหน่งึ อยูทายวหิ าร วนั หนึง่ เมือ่ ภิกษนุ น้ั นาํ จวี รและเครอื่ งปลู าดเปน ตน ออกมาคลี่ตากไวใ นบรเิ วณ ภิกษุชาวชนบทมากดว ยกัน เทยี วจาริกไปตามเสนาสนะ ไปถึงบริเวณ เห็นจีวรเปน ตน จงึ ถามวา จีวรเปนตนเหลา นัน้ ของใคร ? ภิกษุนั้นกลา ววา ของผมครบั ทา นผูมอี ายุ. ภิกษุเหลา นัน้ถามวา จวี รนก้ี ็ดี ผา นุง นกี้ ด็ ี เครือ่ งลาํ ตนก็ดี ทั้งหมดเปนของทา นเทานน้ัหรอื ? ภกิ ษนุ น้ั กลา ววา ขอรับ เปน ของผมเทาน้ัน. ภกิ ษุทง้ั หลายกลาววาทา นผมู ีอายุ พระผมู ีพระภาคเจา ทรงอนญุ าต ไตรจวี รมใิ ชห รอื ทานบวชในศาสนาของพระพุทธเจาผมู กั นอ ยอยา งนี้ เกดิ เปนผูมบี รวิ ารมากอยางน้ี มาเถดิ ทาน พวกเราจักนาํ ไปยงั สํานกั ของพระทศพล แลว ไดพ าภกิ ษนุ น้ั ไปยังสํานกั ของพระศาสดา พอทรงเห็นภกิ ษนุ ัน้ เทา นน้ั จงึ ตรัสวา ภิกษทุ ัง้ หลาย เธอทง้ั หลายเปน ผูพาภิกษผุ ไู มปรารถนานัน้ แลมาแลวหรือ. ภกิ ษทุ งั้ หลายกราบทลูวา ขาแตพ ระองคผ เู จรญิ ภกิ ษนุ ีม้ ภี ณั ฑะมากมีบริขารมาก พระเจา ขา

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 203พระศาสดาตรสั ถามวา ดกู อนภกิ ษุ ไดย ินวา เธอมีภณั ฑะมากจริงหรือ ?ภิกษนุ น้ั กราบทลู วา ขา แตพ ระผมู ีพระภาคเจา จริงพระเจา ขา. พระศาสดาตรสั วา ดกู อ นภิกษุ กเ็ พราะเหตไุ รเธอจงึ เปนผูม ีภัณฑะมาก เรากลาวคณุของความเปน ผูม ักนอ ย ความเปนผสู นั โดษ ความสงัด เเละการปรารภความเพยี ร มิใชห รือ. ภิกษนุ นั้ ไดฟ ง พระดํารัสของพระศาสดาก็โกรธคดิ วา บดั น้ีเราจักเทีย่ วไปโดยทาํ นองน้ี จึงท้งิ ผา หม มีจวี รผนื เดียว ยืนอยูในทา มกลางบรษิ ทั . ลําดบั นั้น พระศาสดาเมอื่ จะทรงอุปถัมภภิกษนุ ้นั จึงตรสั วา ดูกอนภิกษุ เมื่อกอน แมใ นกาลเนื้อเปนผเี สอื้ นา ผูแสวงหาหิริโอตตัปปะ เธอแสวงหาหริ ิโอตตปั ปะอยถู ึง ๑๒ ป เมอ่ื เปนเชน นั้น เพราะเหตไุ รในบดั นี้ เธอบวชในพระพุทธศาสนาอนั เปน ทเี่ คารพตา งน้ี จึงทิ้งผา หมในทา มกลางบริษัท ละหิรโิ อตตัปปะยนื อยเู ลา. ภิกษุน้นั ไดฟ ง พระดาํ รัสของพระศาสดา ไดยงั หริ -ิโอตัปปะใหกลบั ต้งั ข้ึน. จงึ หม จีวรน้ันแลว ถวายบังคมพระศาสดานง่ั ณ สว นขา งหนึ่ง ภิกษุทั้งหลายทลู ออนวอนพระผูมพี ระภาคเจา เพือ่ ทรงยังเร่อื งนนั้ใหแ จม แจง. พระผพู ระภาคเจาไดท รงกระทาํ เหตอุ นั ระหวา งภพปกปดไวใหปรากฏ ดงั ตอ ไปน้ี ในอดตี กาล ไดมพี ระราชาพระนามวา พรหมทตั ในนครพาราณสีในแควนกาส.ี ในกาลนน้ั พระโพธสิ ัตวถือปฏสิ นธใิ นพระครรภของพระอคั ร-มเหสีของพระเจา พรหมทตั นนั้ . เม่อื ครบทศมาส พระนางประสูตพิ ระโอรส.ในวนั เฉลมิ พระนามของพระโอรสน้ัน พระญาติทง้ั หลายไดตงั้ พระนามวามหิสสาสกุมาร ในกาลท่ีพระกุมารนน้ั ทรงวง่ิ เลนได พระโอรสองคอ่นื ก็ประสูติ พระญาตทิ ้งั หลายต้งั พระนามของพระโอรสนนั้ วา จนั ทกมุ าร. ในเวลาท่ีพระจนั ทกมุ ารน้นั ทรงวิง่ เลนได พระมารดาของพระโพธิสัตวก ็สวรรคต พระราชาทรงต้ังพระสนมอน่ื ไวใ นตาํ แหนง พระอคั รมเหส.ี พระอัคร-

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 204มเหสีนั้น ไดเ ปนทร่ี ักเปน ทโ่ี ปรดปรานของพระราชา. พระอัครมเหสแี มน น้ัทรงอาศยั การอยรู วมกันก็ประสูตพิ ระโอรสองคห นึ่ง. พระญาตทิ ง้ั หลายไดต้ังพระนามของพระโอรสนน้ั วา สรุ ยิ กมุ าร. พระราชาทรงเหน็ พระโอรสแลวมีพระหฤทยั ยินดีตรัสวา นางผูเจรญิ เราใหพรแกบตุ รของเธอ. พระเทวเี กบ็ไวจ ะรับเอาในเวลาตองการพรน่นั . เมอื่ พระโอรสเจรญิ วัยแลว พระนางกราบทูลพระราชาวา ขา แตสมมตเิ ทพ ในกาลท่ีพระโอรสของหมอมฉนั ประสตู ิพระองคท รงประทานพรไวมใิ ชห รอื ขอพระองคจ งประทานราชสมบตั ิแกพระ-โอรสของหมอ มฉนั . พระราชาทรงหา มวา พระโอรสสองพระองคของเรารงุ เรือ่ งอยูเหมอื นกองเพลิง เราไมอ าจใหร าชสมบัตแิ กโ อรสของเธอ ทรงเห็นพระนางออนวอนอยบู อย ๆ ทรงพระดาํ ริวา พระนางนจี้ ะพึงคดิ แมก รรมอนัลามกแกโอรสท้งั หลายของเรา จงึ รับส่ังใหเ รียกพระโอรสท้งั สองมาแลวตรสั วาพอ ทง้ั สอง ในเวลาทีส่ ุรยิ กมุ ารประสตู ิ พอ ไดใ หพรไว บดั น้มี ารดาของสุรยิ -กุมารนนั้ ทูลขอราชสมบัติ พอ ไมประสงคจ ะใหแกสุรยิ กมุ ารนนั้ ธรรมดามาตุคาม ผลู ามกจะพงึ คดิ แมส ่งิ อนั ลามกแกพ วกเจา เจาทั้งสองตองเขา ปา ตอเมื่อพอลวงไปแลว จงครองราชสมบตั ิในนครอนั เปนของมีอยขู องตระกลู แลวทรงกนั แสง ครา่ํ คราญจมุ พติ ที่ศรี ษะแลว ทรงสง ไป. สรุ ยิ กุมารทรงเลน อยูที่พระลานหลวง เหน็ พระโอรสทงั้ สองนั้นถวายบังคมพระราชบิดาแลวลงจากปราสาท ทรงเหน็ เหตนุ ้นั จงึ คดิ วา แมเรากจ็ กั ไปกบั พระเจาพ่ีทง้ั สอง จึงออกไปพรอ มกบั พระโอรสทง้ั สองน้นั เอง พระโอรสเหลานั้นเสดจ็ เขา ไปยังปาหิมพานต. พระโพธิสัตวแวะลงขางทางประทบั นง่ั ท่โี คนไม เรียกสุรยิ กุมารมาวาพอสรุ ยิ ะ. เจา จะไปยงั สระน้นั อาบและดมื่ แลว จงเอาใบบัวหอนํ้าดม่ื มาแมเพ่ือเราทัง้ สอง กส็ ระน้นั เปนสระที่ผเี สอ้ื นํา้ ตนหน่ึงไดพ รจากสํานักของทา วเวสวัณ

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 205ทา วเวสวณั ตรัสกะผีเส้ือนํา้ นนั้ วา เจาจะไดกินคนที่ลงยงั สระน้ี ยกเวนคนที่รูเทวธรรมเทานนั้ เจา จะไมไ ดก ินคนท่ีไมไดลง ตัง้ แตน ้นั รากษสน้นั จึงถามเทวธรรมกะคนทล่ี งสระน้นั แลวกินคนที่ไมรเู ทวธรรม ลาํ ดบั นัน้ แล สุรยิ กุมารไปยงั สระนน้ั ไมไดพ จิ ารณาเลยลงไปอยู ลาํ ดับนน้ั รากษสนั้นจับสุรยิ กมุ ารน้นัแลวถามวา ทา นรเู ทวธรรมหรือ ? สรุ ิยกุมารนั้นกลา ววา เออ ฉนั รู พระ-จันทรและพระอาทติ ย ชอ่ื วา เทวธรรม ลาํ ดับน้นั รากษสนัน้ จงึ กลา วกะสรุ ิยกุมารนั้นวา ทา นไมร จู กั เทวธรรม แลว พาดาํ ไปพักไวในท่ีอยขู องตน ฝา ยพระโพธิสตั วเหน็ สุริยกุมารน้ันชักชา อยู จงึ สง จันทกมุ ารไป แมร ากษสกจ็ บัจนั ทกุมารนน้ั แลวถามวา ทานรูเทวธรรมไหม ? จันทกุมารกลา ววา เออ ฉนัรู ทศิ ท้งั ๔ ชอื่ วาเทวธรรม รากษสกลาววา ทา นไมร ูเทวธรรม แลว พาจนั ทกมุ ารแมน น้ั ไปไวใ นทอ่ี ยูของตนน้ันน่นั แหละ. เมอื่ จันทกมุ ารลา ชาอยูพระโพธิสตั วค ิดวา อันตรายอยา งหนึ่งจะพงึ มี จึงเสดจ็ ไปท่ีสระน้ันดว ยพระ-องคเอง เห็นรอยเทา ลงของพระอนุชาแมท ัง้ สองจึงดาํ รวิ า สระนี้คงเปน สระที่รากษสหวงแหน จึงไดสอดพระขรรคถ อื ธนยู นื อย.ู ผเี สือ้ น้ําเห็นพระโพธสิ ัตวไมลงน้ํา จงึ แปลงเปน เหมอื นบุรษุ ผทู ํางานในปา กลาวกะพระโพธสิ ตั ววาบุรษุ ผเู จรญิ ทา นเหน็ดเหนื่อยในหนทาง เพราะเหตุไร จงึ ไมลงสระนี้ อาบดื่ม กินเหงาบวั ประดบั ดอกไมไ ปตามสบาย พระโพธิสตั วเห็นดงั นัน้ รูวาผนู ้จี กั เปนยักษ จึงกลา ววา ทา นจับนองชายของเรามาหรอื . ผเี ส้อื น้ํากลา ววาเออ เราจับมา. พระโพธสิ ัตวถ ามวา เพราะเหตุไร. ผเี สอ้ื นาํ้ กลาววา เรายอ มไดค นผูลงยงั สระนี.้ พระโพธสิ ัตวถ ามวา ทานยอมไดท ้งั หมดทีเดียวหรือ ?ผีเสอ้ื นํ้ากลาววา เราไดท ัง้ หมด ยกเวน คนท่ีรูเทวธรรม. พระโพธสิ ัตวน ั้นตรัสถามวา ทา นมีความตอ งการเทวธรรมหรอื ? ผเี สอื้ นาํ้ กลา ววา เออมคี วามตองการ. พระโพธสิ ตั วตรสั วา ถา เม่อื เปน อยางน้ัน เราจกั บอกเทวธรรมแก

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 206ทา น. ผีเสอ้ื นํ้ากลาววา ถาอยางนน้ั ทานจงบอก เราจักฟงเทวธรรม. พระโพธ-ิสัตวต รสั วา แตเรามตี วั สกปรก. ยักษจ ึงใหพ ระโพธิสัตวอาบนา้ํ ใหด่มื นํ้า ใหประดบั ดอกไมใ หล ูบไลของหอม ไดลาดบลั ลงั กใ หในทามกลางปะรําทป่ี ระดบัแลว. พระโพธสิ ตั วประทบั น่งั บทอาสนะ ใหยักษน ั่งแทบเทาแลว ตรสั วาถา อยางน้ันทา นจงเงยี่ โสตฟงพระธรรมโดยเคารพ แลวตรัสพระคาถาน้วี า สัปบุรุษผูสงบระงับ ประกอบดวยหริ ิและโอต- ตปั ปะ ตั้งม่นั อยใู นธรรมอันขาว ทา นเรียกวาผมู ี เทวธรรมในโลก. บรรดาบทเหลา นัน้ บทวา หิรโิ อตตฺ ปฺปสมฺปนฺนา แปลวา ผูประกอบดว ยหริ ิ และโอตตปั ปะ บรรดาหิรแิ ละโอตตปั ปะเหลานน้ั ท่ชี อ่ื วาหริ ิ เพราะละอายแตก ายทจุ ริต เปนตน คาํ วา หิริ น้ี เปน ชือ่ ของความละอาย. ทีช่ ือ่ วา โอตตัปปะ เพราะกลัวแตกายทจุ ริตเปน ตน นั้นน่นั แหละ คาํ วาโอตตปั ปะนี้ เปน ช่ือของความกลัวแตบาป บรรดาหริ แิ ละโอตตัปปะนัน้หิริมีสมฏุ ฐานทีต่ ัง้ ขนึ้ ภายใน โอตตัปปะมสี มฏุ ฐานทตี่ ง้ั ข้ึนภายนอก. หริ ิ มตี นเปน ใหญ โอตตัปปะมีโลกเปน ใหญ หิริดํารงอยูในสภาวะอนั นา ละอาย โอต-ตปั ปะดาํ รงอยใู นสภาวะอนั นากลวั หิรมิ ลี กั ษณะยาํ เกรง โอตตัปปะมีลักษณะโทษและเห็นภยั บรรดาหริ ิและโอตตปั ปะนนั้ บุคคลยอ มยังหิรอิ นั มสี มฏุ ฐานเปน ภายใน ใหต้ังข้นึ ดวยเหตุ ๔ ประการ เพราะพจิ ารณาถึงชาตกิ าํ เนดิ ๑ พจิ ารณาถงึ วัย ๑ พิจารณาถึงความกลาหาญ ๑ พจิ ารณาถงึ ความเปน พหูสตู อยา งไร ?บุคคลพิจารณาถงึ ชาตกิ าํ เนิดกอ นอยา งนวี้ า ชอ่ื วาการกระทําบาปน้ี ไมเปนกรรมของคนผูส มบรู ณด ว ยชาติ เปนกรรมของตนผมู ชี าติต่ํามีพรานเบ็ดเปนตนจะฟงการทํา บุคคลผสู มบูรณด ว ยชาติเชน ทา นไมควรการทํากรรมน้ี แลว ไม

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 207ทําบาปมปี าณาติบาตเปน ตน ชอ่ื รา ยงั หิรใิ หต้ังข้นึ อน่ึง บคุ คลพจิ ารณาถึงวัยอยางนว้ี า ช่อื วาการกระทําบาปนเ้ี ปน กรรมทค่ี นหนมุ ๆ พงึ กระทาํ กรรมนอ้ี นัคนผูต ้ังอยใู นวยั เชน ทา นไมควรกระทํา แลว ไมกระทําบาป มปี าณาติบาตเปนตน ช่อื วา ยังหิรใิ หตัง้ ขนึ้ แมอนง่ึ บคุ คลพิจารณาถงึ ความเปน ผกู ลา หาญอยางนี้วา ชอ่ื วา การกระทําบาปน้ี เปน กรรมของคนผมู ชี าตอิ อนแอ กรรมน้ีบคุ คลผส มบูรณด ว ยความกลา หาญเชนทา น ไมควรกระทาํ แลวไมก ระทาํ บาปมปี าณาตบิ าตเปน ตน ชอื่ วายังหริ ิใหฝูงชน อนึง่ บุคคลพจิ ารณาความเปนพหสู ตู อยางนี้วา ช่ือวา การกระทาํ บาปนี้เปนกรรมของตนอนั ธพาล กรรมนี้อนัคนผูเปน พหูสตู เปนบัณฑิตเชนทา น ไมค วรการทาํ แลว ไมกระทาํ บาปมีปาณาติบาตเปนตน ช่อื วายงั หริ ิใหต ้งั ขน้ึ บุคคลชอ่ื วายงั หริ ิอนั มีสมุฏฐานภายในใหต ้งั ขึ้นดวยเหตุ ประการอยา งนี.้ ก็แหละ ครน้ั ใหต้ังข้นึ แลว ยงั หริ ใิ หเขาไปในจิตไมกระทําบาปดวยคน หิริยอมชอื่ วามีสมฏุ ฐานภายในอยางน้.ี โอตตัปปะชือ่ วา มสี มฏุ ฐานภายนอกอยางไร ? บคุ คลพิจารณาวา ถาทา นจกั ทําบาปไซร ทานจักเปนผูถกู ติเตียนในบริษัท ๔ และวา วิญชู นท้ังหลายจักติเตยี นทา นเหมอื นชาวเมือง ตเิ ตียนของไมส ะอาด ดกู อ นภกิ ษุ ทานอันผูมศี ลี ทั้งหลายเวนหา งแลว จกั กระทําอยางไร ดังน้.ียอ มไมก ระทาํ บาปกรรม เพราะโอตตปั ปะอันตั้งข้ึนภายนอก โอตตปั ปะยอ มช่ือวามีสมฏุ ฐานภายนอกอยางน.ี้ หริ ิช่ือวา มีตนเปน ใหญอ ยา งไร กุลบตุ รบางตนในโลกน้ี กระทาํ ตนใหเปน ใหญใ หเปน หัวหนา ไมกระทําบาปดว ยคดิ วา บคุ คลผูบวชดว ย ศรทั ธาเปน พหูสตู มวี าทะ [คอื สอน] ในการกําจดั กิเลสเชนทาน ไมควรกระทําบาปกรรม หริ ิยอมชอื่ วามตี นเปนใหอยางนี้ ดว ยเหตุนัน้ พระผมู พี ระภาคเจาจึง

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 208ตรสั วา บุคคลนั้น กระทําคนนน่ั แหละใหเ ปนใหญ ละอกศุ ล เจรญิ กศุ ลละธรรมท่มี โี ทษ เจริญธรรมทีไ่ มม ีโทษ บริหารตนใหห มดจดอย.ู โอตตปั ปะชอ่ื วามีโลกเปนใหญอยางไร ? กลุ บตุ รบางตนในโลกนี้กระทาํ โลกใหเ ปน ใหญ ใหเ ปนหวั หนา แลว ไมก ระทาํ บาปกรรม สมดังทีต่ รสัไวว า กโ็ ลกสนั นวิ าสนีใ้ หแล อน่ึง สมณพราหมณท้ังหลายผมู ฤี ทธิ์ มที ิพย-จกั ษุ รจู ติ ของผูอ น่ื อยูใ นโลกสนั นิวาสอันใหญแ ล สมณพราหมณเ หลา น้ันยอมเหน็ ในท่ไี กลบา ง เห็นในที่ใกลบา ง รจู ิตดว ยจติ บาง สมณพราหมณแ มเหลานน้ั ยอมรูเราอยา งน้วี า ทา นผเู จริญ ทา นทัง้ หลายจงดูกลุ บตุ รน้ี เขามีศรัทธาออกจากเรอื นบวชเปนบรรพชิตเกลือกกลว้ั ดวยอกุศลธรรมอนั ลามกอยูเทวดาทั้งหลายผมู ฤี ทธ์ิ มที ิพยจักษุ รจู ติ ของผูอน่ื มีอยู แมเ ทวดาเหลานั้นยอ มเหน็ แตท ่ไี กลบา ง ยอ มเห็นในที่ใกลบา ง ยอ มรใู จดวยใจบา ง แมเทวดาเหลา น้ันกจ็ กั รเู ราวา ทา นผเู จรญิ ทานท้ังหลายจงดูกุลบตุ รนี้ เขามศี รัทธาออกจากเรอื นบวชเปนบรรพชติ ไมม ีเรือน เกลอื กกล้ัวดว ยอกุศลธรรมอันลามกอยู เขากระทําโลกนั่นแลใหเ ปน ใหญ ละอกศุ ลเจริญกุศล ละธรรมอันมีโทษเจรญิ ธรรมอนั ไมม โี ทษ บริหารคนใหหมดจดอยู โอตตปั ปะยอมชอ่ื วา มโี ลกเปนใหญอยางน.้ี ก็ในคําวา หริ ิต้ังอยูใ นสภาวะนา้ํ ละอาย โอตตปั ปะตั้งอยใู นสภาวะนากลัว นี้ มีวินิจฉยั ดังตอไปนี้. อาการละอาย ชือ่ วา ความละอาย หริ ติ ัง้ อยูโดยสภาวะอนั น้ัน ความกลวั แตอ บายช่ือวา ภัย โอตตปั ปะตง้ั อยูโดยสภาวะอันนัน้ . หริ แิ ละโอตตปั ปะแมท ง้ั สองนั้น ยอมปรากฏในการงดเวน ทุกบาป จรงิ อยู บุคคลบางคนกาวลงสธู รรมคือความละอายอันเปน ภายใน ไมก ระทาํ บาปธรรม เหมอื นกลุ บตุ รเมอ่ืจะถา ยอุจจาระ ปส สาวะ เปน ตน เห็นคนหน่งึ อนั ควรละอาย พงึ เปนผถู ึง

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 209อาการละอาย ถูกอุจจาระ ปส สาวะบีบคั้นจนอาจมเลด็ ก็ถายอจุ จาระ ปส สาวะไมได ฉะนน้ั บคุ คลบางคนกลัวภยั ในอบายจงึ ไมก ระทาํ บาปกรรม ในขอนัน้มคี วามอปุ มาดังตอไปน:ี้ - เหมือนอยา งวา ในกอนเหล็ก ๒ กอน กอนหนึง่ เยน็ แตเ ปอ นคถูกอนหนง่ึ รอน ไฟติดโพลง. ในกอนเหลก็ ๒ กอ นน้ัน บัณฑติ เกลียดไมจบักอ นเย็น เพราะกอ นเย็นเปอ นคูถ ไมจ บั กอ นรอ น เพราะกลวั ไฟไหมฉ ันใด.ในขอ ทวี่ าดว ยหริ แิ ละโอตตัปปะนัน้ กฉ็ ันน้ัน พึงทราบการหยงั่ ลงสลู ัชชีธรรมอันเปน ภายในแลว ไมทาํ บาปกรรม เหมอื นบณั ฑิตเกลียดกอนเหล็กเย็นทเี่ ปอ นคูถจึงไมจับ และพงึ ทราบการไมท ําบาปเพราะกลวั ภยั ในอบาย เหมือนการทบ่ี ณั ฑติไมจบั กอนเหลก็ รอน เพราะกลวั ไหมฉะนั้น. แมบททั้งสองน้ที ่วี า หริ ิมลี ักษณะยาํ เกรง โอตตปั ปะมลี ักษณะกลวัโทษและเหน็ ภัย ดงั นี้ ยอมปรากฏเฉพาะในการงดเวนจากบาปเทานั้น. จรงิอยู. คนบางคนยงั หิริอนั มลี กั ษณะยาํ เกรงใหเกดิ ขึ้นดวยเหตุ ๔ ประการ คอืพิจารณาถึงความเปนใหญโดยชาติ ๑ พิจารณาถงึ ความเปน ใหญแ ตงพระศาสดา ๑ พจิ ารณาถงึ ความเปน ใหญโ ดยทรพั ยมรดก ๑ และพิจารณาถงึ ความเปน ใหญแ หงเพ่ือนพรหมจารี ๑ แลวไมท าํ บาป. คนบางคนยงั โอตตัปปะอนั มีลักษณะกลวั โทษและมักเห็นภยั ใหต ั้งขน้ึดวยเหตุ ๔ ประการ คอื ภยั ในการติเตยี นตน ๑ ภัยในการท่คี นอนื่ติเตยี น ๑ ภัยคืออาชญา ๑ และภัยในทคุ ติ ๑ แลว ไมท ําบาป ในขอท่ีวาดวยหริ ิโอตตัปปะนน้ั พงึ กลา วการพจิ ารณาความเปนใหญโ ดยชาติเปนตนและภัยในการติเตยี นตนเปนตน ใหพ สิ ดาร ความพิศดารของการพจิ ารณาความเปน ใหญโ ดยชาตเิ ปนตน เหลา นน้ั ไดก ลาวไวแ ลว ในอรรถกถาอังคตตร-นกิ าย.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 210 บทวา สุกกฺ ธมฺมสมาหติ า ความวา กุศลธรรมท่คี วรกระทํามีหิริโอตตปั ปะน้แี หละเปน ตน ไป ชื่อวา สุกกธรรม ธรรมขาว เม่ือวาโดยนัยที่รวมถือเอาทัง้ หมด สุกกธรรมนนั้ กค็ ือธรรมอนั เปน โลกิยะและโลกุตระอนั เปน ไปในภมู ิ ๔ ทป่ี ระกอบแลว ประกอบพรอ มแลว ดวยหิรแิ ละโอตตัปปะทง้ั สองนัน้ .บทวา สนฺโต สปฺปุรสิ า โลเก ความวา ช่ือวาผูสงบระงับ เพราะกายกรรมเปนตนสงบระงับแลว ชอื่ วา เปน สัปบุรษุ เพราะเปนบุรษุ ผงู ดงามดวยความกตัญกู ตเวที. ก็ในบทวา โลเก นี้ โลกมหี ลายโลก คือ สงั ขารโลก สัตวโลกโอกาสโลก ขันธโลก อายตนโลก และธาตุโลก. ในโลกเหลานั้น สงั ขารโลกทา นกลาวไวในประโยคนวี้ า โลกหน่งึ คอื สัตวท ้ังปวงดาํ รงอยูไดด วยอาหาร ฯลฯโลก ๑๘ คอื ธาตุ ๑๘. โลกมีขันธโลกเปน ตน รวมอยใู น สังขารโลกน่ันแหละ.สว นสัตวโลกทา นกลา วไวในประโยคมอี าทวิ า โลกน้ี โลกหนา เทวโลกมนษุ ยโลก. โอกาสโลกทานกลาวไวในประโยคนวี้ า พันโลกธาตมุ ีประมาณเพยี งทพี่ ระจนั ทรและ พระอาทิตยเวยี นสอ งสวา งไปทว่ั ทศิ อํานาจของพระ- องคย อมแผไปในพันโลกธาตนุ นั้ . บรรดาโลกเหลานนั้ ในทนี่ ปี้ ระสงคเ อาสตั วโลก จริงอยใู นสัตวโ ลกเทานั้น มสี ปั บุรุษเห็นปานน้ี สปั บรุ ษุ เหลา น้นั ทานกลา ววา มเี ทวธรรม. บทวาเทว ในบทวา เทวธมมฺ า นน้ั เทพมี ๓ ประเภท คอื สมมติเทพ.อปุ บัติเทพ ๑ และวสิ ทุ ธิเทพ ๑ บรรดาเทพเหลานัน้ พระราชาและพระ-ราชกมุ ารเปน ตน ช่อื วาสมมตเิ ทพ เพราะชาวโลกสมมตวิ าเปนเทพ จําเดมิแตค ร้ังพระมหาสมมติราช. เทวดาผอู ุปบัติในเทวโลก ชื่อวา อุปบตั เิ ทพ.พระขีณาสพ ช่ือวา วสิ ุทธิเทพ.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 211 สมจริงดังทตี่ รสั ไวว า พระราชา พระราชเทวี พระราชกุมารชื่อวา สมมติเทพ. เทพสูง ๆ ข้นึ ไปตัง้ แตภุมมเทวดาไป ช่ือวาอปุ บติเทพ ? พระพทุ ธเจา พระปจเจกพุทธเจา และพระขณี าสพ ชอื่วา วสิ ทุ ธเิ ทพ. ธรรมของเทพเหลา น้ี ชื่อวา เทวธรรม. บทวา วจุ จฺ เร แปลวา ยอ มกลา ว จริงอยู กุศลธรรมทง้ั หลายมีหิริโอตตปั ปะเปน มูล ชอ่ื วา เปนธรรมของเทพทง้ั ๓ ประเภทเหลานี้ เพราะอรรถวา เปนเหตแุ หงกุศลสมั ปทา แหง การเกิดในเทวโลกและแหงความหมดจดเพราะเหตนุ น้ั จงึ ช่ือวาเทวธรรม แมบ ุคคลผปู ระกอบดวยเทวธรรมเหลา นน้ักเ็ ปน ผูมเี ทวธรรม เพราะฉะนน้ั พระผมู พี ระภาคเจา เมอ่ื จะทรงแสดงธรรมเหลานั้น ดวยเทศนาอันเปนบคุ คลอธิษฐานจึงตรสั วา สัปบรุ ษุ ผูสงบระงบัเรียกวา ผมู เี ทวธรรมในโลก. ยักษครั้นไดฟ ง ธรรมเทศนาน้ี มคี วามเลื่อมใสจึงกลา วกะพระโพธิสัตววา ดูกอนบัณฑิต เราเลื่อมใสทา น จะใหน อ งชายคนหนึ่ง จะใหน าํ คนไหนมา.พระโพธิสัตวตรัสวา ทานจงนาํ นองชายคนเล็กมา. ยักษก ลา ววา ดกู อ นบณั ฑิตทานรูแตเทวธรรมอยางเดียวเทา นนั้ แตไมประพฤติในเทวธรรมเหลา นั้น.พระโพธสิ ตั วตรัสถามวา เพราะเหตุไร ? ยกั ษก ลา ววา เพราะเหตทุ ่ีทา นเวนพีช่ ายเสยี ใหนํานอ งชายมา ช่อื วาไมกระทํากรรมของผอู อ นนอ มตอผูเ จริญท่ีสดุ .พระโพธสิ ัตวตรัสวา ดกู อนยักษ เรารูเ ทวธรรมทเี ดยี ว และประพฤติในเทวธรรมเหลาน้นั เพราะวา เราทง้ั หลายเขาบา น เพราะอาศัยนอ งชายนี้ ดวยวาพระมารดาของนองชายน้ี ทูลขอราชสมบัตกิ ะพระบิดาของพวกเรา เพือ่ประโยชนแ กนองชายนี้ แตพ ระบิดาของพวกเราไมใ หพรนั้น เพือ่ จะทรงอนุรกั ษพวกเรา จงึ ทรงอนุญาตการอยปู า พระกุมารนนั้ ตดิ ตามมากบั พวกเรา.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 212แมเมื่อพวกเรากลาววา ยักษในปา กินพระกุมารน้ันเสยี แลว ใคร ๆ จักไมเชือ่ดว ยเหตุนัน้ เรากลัวแตภยั คือการครหา จึงใหน ํานอ งชายคนเล็กนั้นนั่นแหละมา.ยักษมีจิตเล่อื มใสใหส าธกุ ารแกพ ระโพธิสัตวว า สาธุ สาธุ ทา นบัณฑิต ทา นรเู ทวธรรมท้งั ปฏิบัตใิ นเทวธรรมเหลาน้นั ดังนแ้ี ลว จึงไดน ํานอ งชายแมทง้ั สองคนมาให. ลาํ ดับนัน้ พระโพธิสัตวต รสั กะยักษน ัน้ วา สหาย ทานบังเกิดเปนยกั ษมีเนอ้ื และเลอื ดของตนอ่นื เปน ภกั ษา เพราะบาปกรรมทคี่ นทําไวใ นชาติกอ น บดั นี้ ทานยงั กระทําบาปนน่ั แลชาอกี ดว ยวาบาปกรรมจักไมใหพน จากนรกเปน ตน เพราะฉะน้ัน ตงั้ แตน ้ไี ป ทานจงละบาปแลว การทําแตกศุ ล. ก็แหละไดสามารถทรมานยักษน ้นั พระโพธิสตั วน น้ั ครั้นทรมานยักษนั้นแลวเปนผอู ันยักษนั้นจัดแจงการอารกั ขาอยูใ นทีน่ ้นั นน่ั แล. วนั หนึ่ง แลดนู กั ขตั -ฤกษ รูวา พระชนกสวรรคต จงึ พายักษไ ปเมืองพาราณสี ยดึ ราชสมบัติประทานตาํ แหนงอุปราชแกพ ระจนั ทกมุ าร ประทานตําแหนงเสนาบดแี กส ุริยกมุ าร ใหสรา งท่อี ยูใ นท่ีอนั นา รน่ื รมยใหแกยกั ษ ไดท รงกระทาํ โดยประการที่ยกั ษน ัน้ ไดบ ูชาอนั เลศิ ดอกไมอันเลิศ. ของหอมอันเลิศ ผลไมอนั เลศิ และภตั อันเลศิ . พระโพธสิ ตั วครองราชสมบตั ิโดยธรรมไดเ สด็จไปตามยถากรรมแลว . พระศาสดาครน้ั ทรงนําพระธรรมเทศนาน้ีมาแลว ทรงประกาศสัจจะทงั้ หลาย ในเวลาจบสัจจะ ภกิ ษุนัน้ ดํารงอยใู นโสดาปต ตผิ ล. แมพ ระสมั มา-สมั พทุ ธเจา ก็ตรสั เร่อื ง ๒ เรอ่ื งสืบอนุสนธติ อ กนั ไป แลว ทรงประชมุ ชาดกวาผีเส้ือนํ้าในครัง้ นั้น ไดเ ปน ภกิ ษผุ ูมภี ณั ฑะมากในบดั นี้ สรุ ิยกุมารไดเ ปนพระอานนท จันทกมุ ารไดเ ปนพระสารบี ุตร สวนมหิสสาสกมุ ารผเู ปนเชฏฐาไดเปนเราเองแล. จบ เทวธรรมชาดกท่ี ๖

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 213 ๗. กฏั ฐหารชิ าดก [๗] ขาแตพ ระราชาผูเปน ใหญ ขาพระบาท เปนโอรสของพระองค ขาแตพ ระองคผ เู ปนจอมแหง หมูช น ขอพระองคไ ดทรงโปรดชุบเลย้ี งขาพระบาท ไว แมค นเหลา อืน่ พระองคยังทรงชุบเลีย้ งได ไฉนจะ ไมท รงชบุ เลีย้ งโอรสของพระองคเ องเลา. จบกัฏฐหาริชาดกที่ ๗ ๗. อรรถกถากัฏฐหารชิ าดก พระศาสดาเมื่อประทับอยใู นพระเชตวันวิหาร ทรงปรารภพระนางวาสภขัตติยา จึงตรสั พระธรรมเทศนานี้ มคี าํ เรมิ่ ตน วา ปุตโฺ ต ตฺยาหมหาราช ดังน.้ี เรือ่ งพระนางวาสภขตั ตยิ า จักมีแจง ในภทั ทสาลชาดก ทวาทสนิบาต.ไดย นิ วา พระนางวาสภขัตติยาน้นั เปนพระธิดาของเจาศากยะมหานาม ประสตู ิในครรภของทาสีชอื่ วา นาคมณฑา (ตอมา) ไดเปน พระอคั รมเหสขี องพระเจาโกศล พระนางประสูติพระราชโอรส. ก็ภายหลงั พระราชาทรงทราบวาพระนางเปน ทาสจี งึ ทรงปลดจากตาํ แหนง แมว ฑิ ูฑภะผูเปนพระโอรสก็ถูกปลดจากตาํ แหนง เหมือนกัน. แมล กู แมท ้ังสองก็ต้ังอยูในพระราชนิเวศนของพระองคนนั่ แล. พระศาสดาทรงทราบเหตนุ ้นั คร้นั ในเวลาเยน็ ทรงหอม

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 214ลอมดวยภกิ ษุ ๕๐๐ เสด็จไปยังพระราชนิเวศนของพระราชา ประทับน่ังบนอาสนะที่ปลู าดไวแลวตรัสวา พระนางวาสภขตั ติยาประทบั อยทู ่ไี หน. พระราชาจงึ กราบทลู เหตนุ น้ั ใหท รงทราบ พระศาสดาตรัสถามวา มหาบพติ ร พระนางวาสภขัตติยาเปนธดิ าของใคร ? พระราชาทูลวา เปนธิดาของเจามหานามพระเจาขา. พระศาสดาตรัสถามวา เมื่อพระนางวาสภขัตติยาเสดจ็ มา เสดจ็ มาแลว เพอื่ ใคร พระราชาทลู วา เพอ่ื หมอมฉัน พระเจา ขา พระศาสดาตรัสวา มหาบพิตร พระนางวาสภขัตติยานี้ เปน ธิดาของพระราชาและมาเพื่อพระราชา เพราะอาศยั พระราชาน่ันแหละ จึงไดพระโอรส เพราะเหตไุ ร พระ-โอรสนน้ั จงึ ไมไดเปนเจาของราชสมบัติอนั เปน ของมอี ยูของพระราชบดิ า พระราชาท้ังหลายในกาลกอ น ไดพระโอรสในครรภข องหญิงหาฟน ผเู ปนภรรยาช่วั คราว ก็ยังไดพ ระราชทานราชสมบตั แิ กพ ระโอรส. พระราชาทรงขอพระผูมี-พระภาคเจา เพ่อื ตรสั เรอื่ งนัน้ ใหแ จม แจง. พระผูมีพระภาคเจาไดทรงกระทาํ เหตุอนั ระหวา งภพปกปด ไว ใหปรากฏแลว. ในอดีตกาล พระราชาพระนามวา พรหมทตั ในกรงุ พาราณสีเสด็จไปพระราชอทุ ยานดวยพระยศใหญ เสดจ็ เทย่ี วไปในพระราชอทุ ยานน้ันเพราะทรงยินดีดอกไมแ ละผลไม ทรงเหน็ หญงิ ผหู น่ึงผูขบั เพลงไปพลางตัดฟนไปพลางในปาชฎั ในพระราชอุทยาน ทรงมีจิตปฏพิ ัทธจงึ ทรงสําเร็จการอยูรวมกนั ในขณะน้ันเอง พระโพธิสตั วทรงถือปฏิสนธใิ นครรภข องหญิงน้นัทนั ใดน้นั ครรภนางไดหนักอง้ึ เหมอื นเตม็ ดว ยเพชร. นางรวู า ต้งั ครรภจงึ กราบทลู วา ขาแคส มมติเทพ หมอ มฉันตง้ั ครรภแลว เพคะ. พระราชาไดประทานพระธาํ มรงคแ ลวตรสั วา ถาเปนธิดาเจาจงจาํ หนายแหวนเล้ยี งดู ถาเปนบตุ ร เจาจงนาํ มายังสํานักของเราพรอมกับแหวน ครัน้ ตรสั แลวจงึ เสด็จหลีกไป. ฝายหญงิ น้นั มคี รรภแกแ ลว ก็ตลอดพระโพธิสตั ว. ในเวลาทพี่ ระ-

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 215โพธิสัตวนัน้ แลน อยูในสนามเลน. มคี นกลาวอยา งนีว้ า พวกเราถกู คนไมมพี อทบุ ตีแลว . พระโพธิสตั วไ ดฟงดงั นัน้ จึงไปหามารดาถามวา แมจ า ใครเปน พอ ของหนู ? มารดากลา ววา ลกู เอย เจา เปนโอรสของพระเจาพาราณสีพระโพธสิ ตั วก ลา ววา กพ็ ยานอะไร ๆ มีอยหู รือจะแม. มารดากลา ววา ลูกเอย พระราชาประทานแหวนน้ไี วแ ลวตรัสวา ถาเปนธดิ า พึงจาํ หนายเลยี้ งดูกัน ถา เปน บุตร พงึ พามาพรอ มกบั แหวนนี้ ดงั น้แี ลว กเ็ สด็จไป. พระโพธิ-สัตวกลา ววา แมจ า เม่ือเปน เชน นน้ั เพราะเหตุไร แมจ ึงไมน าํ ฉันไปยงั สํานกัของพระบดิ า. นางรูอ ัธยาศยั ของบตุ ร จงึ ไปยงั ประตูพระราชวงั ใหคนกราบทูลแกพ ระราชาใหท รงทราบ และเปน ผูอ นั พระราชารับสง่ั ใหเ ขาเฝา จงึ เขา ไปถวายบังคมพระราชาแลวกราบทลู วา ขา แตส มมตเิ ทพ ผนู ้เี ปน โอรสของพระองคพระราชาแมท รงทราบอยู กเ็ พราะทรงละอายในทา มกลางบริษัทจึงตรัสวา ไมใ ชบตุ รของเรา. หญงิ นนั้ กราบทลู วา ขา แตสมมตเิ ทพ นี้พระธาํ มรงคข องพระ-องค พระองคคงจะทรงจาํ พระธาํ มรงคน ้ีได. พระราชาตรัสวา แมพระธํามรงคน้ีกไ็ มใชธ าํ มรงคของเรา. หญงิ นน้ั กราบทูลวา ขา แตส มมติเทพ บดั น้ี เวนสจั กริ ยิ าเสยี คนอืน่ ผจู ะเปน สกั ขพี ยานของกระหมอมฉนั ยอ มไมมี ถาทารกน้ีเกิดเพราะอาศยั พระองค อนั กระหมอมฉนั เหวียงขึ้นไปแลว จงอยูในอากาศถา ไมไดอ าศัยพระองคเกดิ จงตกลงมาตายบนภาคพืน้ ดนิ แลว จับเทา ท้งั สองของพระโพธสิ ัตวเหว่ียงไปในอากาศ. พระโพธิสตั วน ั่งคูบลั ลงั กใ นอากาศ เมอ่ืจะกลาวธรรมะแกพระบดิ าดวยเสียงอนั ไพเราะ จึงตรัสพระคาถานี้วา ขา แตพระราชาผเู ปนใหญ ขาพระบาทเปน โอรสของพระองค ขาแตพระองค ผูเ ปน จอมแหง หมูชน ขอพระองคไดทรงโปรดชุบเลีย้ งขา พระบาท ไว แมคนเหลา อน่ื พระองคยงั ทรงชบุ เลีย้ งได ไฉนจะ ในทรงชุบเลย้ี งโอรสของพระองคเ องเลา .

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 216 บรรดาบทเหลา น้ัน บทวา ปตุ โฺ ต ตยฺ าห ตดั บทเปน ปตุ ฺโตเต อห แปลวา ขาพระบาทเปน โอรสของพระองค. ก็ชื่อวาบตุ รนีม้ ี ๔ประเภท คือ บตุ รผูเกดิ ในตน ๑ บตุ รผเู กิดในเขต ๑. อันเตวาสิกลกู ศิษย ๑ และบตุ รเขาให ๑. บรรดาบุตร ๔ ประเภทนั้น บุตรผอู าศยั คนเกิด ชือ่ วา บุตรผูเกิดในตน. บุตรผูเกดิ ในทที่ ั้งหลายมอี าทิอยา งน้ี คอื บนหลังท่ีนอน บนบลั ลงั กแ ละท่ีอก ชอ่ื วา บตุ รผเู กิดในเขต. บุคคลผูเรียนศิลปศาสตรใ นสํานกั ชื่อวาลูกศิษย. บุตรท่ีเขาใหมาเลย้ี ง ชอ่ื วา บุตรท่ีเขาให คอื บตุ รบุญธรรม.แตใ นท่ีนี้ ทานหมายเอาบุตรทเี่ กิดในตน จงึ กลา ววาบุตร. ทชี่ ่อื วา พระราชา เพราะทาํ ชนใหย ินดี ดว ยสังคหวตั ถุ ๔. พระ-ราชาผใู หญช อื่ วา มหาราชา พระโพธิสัตวเ มอ่ื จะตรสั เรียกพระราชานน้ั จงึตรสั วา มหาราช ขาแตพ ระราชาผใู หญ. บทวา ตวฺ  ม โปส ชนาธปิ ความวา ขาแตพระองคผ เู ปนใหญในหมมู หาชน พระองคจงชบุ เลยี้ ง คอื จงเลีย้ งดูขาพระบาทอยเู ถดิ .อเฺ ป เทโว โปเสติ ความวา ชนเปนอนั มากเหลาอน่ื ไดแกพ วกมนุษยผเู ล้ยี งชางเปน ตน และสตั วดริ จั ฉานมชี างและมาเปน ตน พระองคยังทรงชุบเลย้ี งได. ก็ศัพทว า กิ ฺจ ในบทวา กิฺจ เทโว สก ปช น้ีเปน ศัพทนิบาตใชใ นความหมายวา ตเิ ตยี น และความหมายวา อนุเคราะห.พระโพธสิ ตั วท รงโอวาทวา ประชาชนของพระองค คอื ขาพระบาทผเู ปน โอรสของพระองค พระองคไ มท รงชบุ เลย้ี ง ดงั นี้ ชื่อวา ยอ มตเิ ตยี น. เมอื่ ตรสั วาคนอนื่ เปนอันมาก พระองคทรงชุบเล้ียงไดดังน้ี ช่ือวา ยอมอนุเคราะหชว ยเหลอื . ดังนน้ั พระโพธสิ ตั วแมเ ม่อื จะทรงติเตยี นจงึ ตรสั วา ไฉนจะไมทรงชุบเลย้ี งโอรสของพระองคเลา .

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 217 เมื่อพระโพธิสตั วประทับนง่ั ในอากาศทรงแสดงธรรมอยอู ยา งน้ี พระราชาไดทรงสดบั แลว จงึ ทรงเหยียดพระหัตถตรัสวา จงมาเถิดพอ เราแหละจักชบุ เลยี้ งเจา . มีมือตงั้ พนั เหยยี ดมาแลว พระโพธสิ ัตวไมลงในมอื คนอื่น ลงในพระหตั ถข องพระราชาเทานัน้ แลว ประทับนัง่ บนพระเพลา พระราชาทรงประทานความเปนอปุ ราชแกพ ระโพธิสัตวน ้ัน แลว ไดทรงตั้งมารดาใหเปนอัครมเหสี. เม่ือพระบิดาสวรรคตแลว พระโพธสิ ัตวน้ันไดเ ปนพระราชาพระนานวา กฏั ฐวาหนะ เครอื่ งราชสมบตั ิ โดยธรรม ไดเ สดจ็ ไปตามยถากรรม. พระศาสดาคร้นั ทรงนําพระธรรมเทศนาน้ีมาทรงแสดงแกพ ระเจา โกศลแลว ทรงแสดงเร่อื ง ๒ เรื่องสบื ตออนุสนธิ แลวทรงประชมุ ชาดกวา พระมารดาในคร้ังนน้ั ไดม าเปนพระมหามายาเทวี พระบิดาในครัง้ นน้ั ไดมาเปนพระเจาสทุ โธทนมหาราช สว นพระเจา กัฏฐวาหนราชในครั้งนน้ั ไดเปนเราเองแล. จบกฏั ฐาหาริชาดกที่ ๗ ๘. คามนิชาดก วา ดวยไมใ จเร็วดวนได [๘] เออ กค็ วามหวังในผล ยอ มสําเรจ็ แกผูไม ใจเรว็ ดวนได เรามีพรหมจรรยแ กก ลา แลว ทานจง เขา ใจดังน้เี ถิด พอคามนิ.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 218 ๘. อรรถกถาคามนชิ าดก พระศาสดาเมื่อประทบั อยใู นพระวหิ ารเขตวนั ทรงปรารภภกิ ษลุ ะความเพยี ร จึงตรสั พระธรรมเทศนานีม้ ีคาํ เริม่ ตน วา อป อตรนานาน ดงั น้ี. กเ็ รื่องปจจุบันและเร่อื งอดตี ในชาดกน้ี จกั มแี จง ในสงั วรชาดก เอกา-ทสนิบาต กใ็ นสงั วรชาดกนน้ั และชาดกนเ้ี ร่ืองเปน เชน เดยี วกนั เทย่ี ว แตค าถาตางกนั มีความยอ วา คามนิกมุ ารตัง้ อยูในโอวาทของพระโพธสิ ตั ว แมจ ะเปนพระกนษิ ฐาของพระภาคาท้ังรอยพระองค ก็เปนผูอ ันพระภาดาทัง้ รอ ยพระองคหอมลอม ประทับน่งั บนบลั ลงั กอนั ประเสริฐ ภายใตเศวตฉตั ร ทอดพระเนตรดูยศสมบตั ิของพระองค ทรงดพี ระทัยวา ยศสมบัติของเราน้ี เปน ของอาจารยเรา จึงทรงเปลง อทุ านนีว้ า เออ ก็ความหวังในผล ยอ มสําเร็จแกผไู มใจเรว็ ดว นได เรามพี รหมจรรยแกก ลาแลว ทา นจงเขาใจ ดังน้เี ถดิ พอคามนิ. บรรดาบทเหลาน้ัน ศัพทวา อป เปน เพยี งนิบาต. บทวา อตรมา-นาน ไดแก ผตู ง้ั อยใู นโอวาทของบัณฑติ ทั้งหลายไมร บี ดวน กระทําการโดยอุบาย. บทวา ผลาสาว สมชิ ฌฺ ติ ความวา ความหวงั ในผลท่ปี รารถนาไว ช่อื วา ยอ มสาํ เรจ็ แน เพราะความสําเร็จผลนน้ั อีกอยา งหน่งึ . บทวาผลาสา ไดแก ผลแหง ความหวงั คือ ผลตามท่ปี รารถนาไว ยอ มสําเรจ็ทเี ดยี ว. ในบทวา วิปกฺกพฺรหมฺ จรโิ ยสมฺ ิ นี้ สังคหวตั ถุ ๔ ชอ่ื วาพรหมจรรยเพราะเปน ความประพฤติอันประเสรฐิ ก็พรหมจรรยนนั้ ชอื่ วา แก

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 219กลา แลวทเี ดยี ว เพราะไดเฉพาะยศสมบัติอันมสี ังคหวัตถุน้นั เปน มูล ยศท่ีสําเร็จแกคามนกิ มุ ารแมน ัน้ ก็ช่ือวา พรหมจรรย เพราะอรรถวา ประเสริฐ. ดวยเหตุนนั้ ทานจงึ กลา ววา ขา พเจาเปน ผมู พี รหมจรรยแ กก ลาแลว. บทวา เอวชานานิ คามนิ ความวา ในทบี่ างแหง บรุ ุษชาวบา นกด็ ี หัวหนา ชาวบานก็ดี ช่ือวา คามนิ ผใู หญบา น แตในที่นี้ หมายเอาตนเองซง่ึ เปน หวั หนาคนท้ังปวงจงึ กลาววา ดกู อนนายบานผเู จรญิ ทา นจงรเู หตุนี้อยางนี้วา เรากา วลว งพี่ชายรอยคน ไดร บั ราชสมบัตใิ หญนี้ เพราะอาศยั อาจารย ดงั นีเ้ ปลงอุทานแลว . ก็เมอื่ คามนิกุมารน้ัน ไดร าชสมบัติแลว เม่อื เวลาลว งไป ๒-๓ วนัพชี่ ายทุกคนไดไปยงั สถานท่อี ยขู องตน ๆ พระเจา คามนคิ รองราชสมบตั ิ โดยธรรม แลว เสด็จไปตามยถากรรม ฝายพระโพธิสตั วทาํ บญุ แลว ไดไปตามธรรม. พระศาสดาคร้นั ทรงนําพระธรรมเทศนานีม้ าแสดงแลว ทรงประกาศอริยสจั ทั้งหลาย ในเวลาจบสจั จะ ภิกษผุ ลู ะความเพยี รไดดาํ รงอยใู นพระอรหัตแล พระศาสดาตรัส ๒ เรอ่ื งสืบอนุสนธิตอ กัน แลว ทรงประชมุ ชาดกวาพระเจาคามนิในครั้งน้นั ไดเปนพระอานนทสวนอาจารย คือเราเองแล. จบ คามนิชาดกที่ ๗ ๙. มฆเทวชาดก วาดว ยเทวทูต [๙] ผมท่ีหงอกบนศรี ษะของเรานี้ เกดิ ขน้ึ นํา เอาวยั ไปเสยี เทวทตู ปรากฏแลว บดั นี้ เปนสมยั บรรพชาของเรา. จบ มฆเทวชาดกท่ี ๙

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 220 ๙. อรรถกถามฆเทวชาดก พระศาสดาเมื่อประทับอยใู นพระเชตวันวิหาร ทรงปรารภการเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคําเริ่มตน วา อตุ ตฺ มงคฺ รหุ ามยหฺ  ดังน.้ี การเสดจ็ ออกมหาภิเนษกรมณนน้ั ไดกลาวไวแลวในนทิ านกถาในหนหลังน้นั แล. ก็ในกาลนั้น ภิกษุท้งั หลายนัง่ พรรณนาการเสด็จออกบรรพชาของพระทศพล. ลําดับน้นั พระศาสดาเสด็จมายงั โรงธรรมสภา ประทบั น่ังบนพุทธ-อาสน ตรัสเรียกภกิ ษุท้ังหลายมาถามวา ดูกอ นภกิ ษทุ งั้ หลาย บดั น้ี พวกเธอนงั่ สนทนากันดว ยเร่ืองอะไรหนอ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทูลวา ขา แดพระองคผูเจริญ ขาพระองคทัง้ หลายมิไดนงั่ สนทนากันดวยเรอ่ื งอยา งอืน่ แตน งั่ พรรณนาการเสดจ็ ออกบรรพชาของพระองคเ ทา น้ัน พระศาสดาตรัสวา ดกู อ นภิกษทุ ้ังหลาย ตถาคตออกเนกขมั มะในบดั น้เี ทานน้ั กห็ ามิได แมในกาลกอ นก็ไดออกเนกขมั มะแลว เหมอื นกัน ภกิ ษุท้งั หลายจงึ อาราธนาพระผมู พี ระภาคเจา เพ่ือตรัสเร่อื งนนั้ ใหแจม แจง พระผมู พี ระภาคเจา ไดท รงกระทาํ เหตอุ ันระหวางภพปกปดใหป รากฏ ดงั ตอ ไปน้ี ในอดตี กาล ในกรงุ มถิ ลิ า วเิ ทหรฐั ไดม ีพระราชาพระนามวามฆเทวะ เปน พระมหาธรรมราชาผดู าํ รงอยใู นธรรม พระเจา มฆเทวะนนั้ ทรงใหก าลเวลาอันยาวนานหมดส้นิ ไปวนั หนึง่ ตรสั เรียกชา งกลั บกมาวา ดกู อ นชา งกัลบกผสู หาย ทานเห็นผมหงอกบนศีรษะของเราในกาลใด ทา นจงบอกแกเราใน กาลนัน้ ฝายชา งกลั บกกไ็ ดทาํ ใหเ วลาอนั ยาวนานหมดสิ้นไป วันหน่ึงเหน็ พระเกศาหงอกเสน หน่งึ ในระหวางพระเกศาทงั้ หลายอ นมสี ดี งั ดอกอญั ชัน































พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 236 กภ็ ิกษผุ มู ญี าณในศาสนานน้ี ั่นแล ไดฟง พระพุทธพจน แลว ยอ มรแู จง กายน้ัน ยอมเหน็ ตามเปนจริงแลวา รา งกายนฉี้ นั ใด รา งกายนน่ั ก็ฉันนัน้ รางกายนั่นฉนั ใด รางกายนี้กฉ็ ันน้ัน ขาพเจา คายความเพลดิ เพลนิ ใน กายทงั้ กายในและภายนอกเสยี แลว.ขา แตพระลูกเจา ขาพเจาจักประดบั ประดารา งกายนีท้ าํ อะไร การกระทาํ ความประดบั กายน้ี ยอ มเปนเหมอื นกระทําจิตรกรรมภายนอกหมอ ซ่ึงเตม็ ดว ยคถูเศรษฐีบตุ รไดฟ งคําของนางดังนั้นจงึ กลาววา นางผูเ จริญ เธอเห็นโทษท้ังหลายอยางนแี้ หง รา งกายน้ี เพราะเหตุไรจงึ ไมบ วช. นางกลา ววา ขา แดพระลกู เจาขาพเจาเมื่อไดบ วช จะบวชวันนีแ้ หละ. เศรษฐีบตุ รกลา ววา ดีแลว ฉันจักใหเธอบวช. แลวบาํ เพญ็ มหาทาน กระทํามหาสกั การะ แลวนําไปสํานักของภิกษุณีดว ยบริวารใหญ เม่ือจะใหน างบวช ไดใหบ วชในสาํ นกั ของภิกษุณผี ูเปนผูกฝายของพระเทวทัต. นางไดบ รรพชาแลวมีความดาํ ริเต็มบรบิ ูรณ ดใี จแลว . ครัง้ น้ัน เมือ่ ครรภข องนางแกแลว ภกิ ษุณีท้ังหลายเหน็ ความท่อี ินทรียทง้ั หลายแปรเปน อน่ื ไป ความทห่ี ลังมือและเทา บวม และความท่พี ืน้ ตองใหญจงึ ถามนางวา แมเ จา เธอปรากฏเหมือนมีครรภ ทอ่ี ะไรกนั ? ภิกษุณีนั้นกลาววา แมเจา ทงั้ หลาย ขา พเจาก็ไมรวู า เหตุชื่อน้ี แตศลี ของขา พเจายังบรบิ รู ณอยู. ลําดบั นน้ั ภิกษณุ เี หลา น้นั จงึ นํานางภกิ ษุณนี ัน้ ไปยังสาํ นักของพระเทวทตั ถามพระเทวทตั วา ขา แตพ ระผเู ปน เจา กลุ ธดิ านีย้ ังสามีใหโปรดปรานไดโดยยาก จึงไดบ รรพชา กบ็ ัดน้ี ครรภข องนางปรากฏ ขา พเจาทง้ั หลายยอ มไมรูว ากุลธิดานีไ้ ดต ั้งครรภใ นเวลาเปนคฤหสั ถ หรอื ในเวลาบวชแลว บัดนี้ ขา พเจาทงั้ หลายจะกระทําอยางไร. เพราะความที่คนไมรู และ

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 237เพราะขนั ติ เมตตา และความเอน็ ดูไมม ี พระเทวทตั จงึ คิดอยา งน้ีวา ความครหานินทาจักเกดิ แกเ ราวา ภิกษณุ ีผูอยใู นฝา ยของพระเทวทตั มคี รรภ แตพระเทวทตั กลับเพิกเฉยเสยี เราใหภ ิกษณุ ีน้สี กึ จึงจะควร. พระเทวทัตนัน้ ไมพิจารณา แลนออกไปเหมอื นกล้งิ กอนหนิ กลา ววา พวกทา นจงใหภ กิ ษณุ ีนนั้ สกึ ภิกษณุ ีเหลา น้ันฟงคําของพระเทวทตั แลว ลุกข้นึ ไหวแลวไปยงั สาํ นกัลําดบั นนั้ ภิกษุณีสาวนน้ั กลา วกะภิกษณุ ที ง้ั หลายวา แมเจาท้ังหลาย พระเทวทัตเถระไมใชพ ระพุทธเจา การบรรพชาของเราในสํานักของพระเทวทัตน้นั ก็หามิไดก ็บรรพชาของเราในสาํ นกั ของพระสมั มาสัมพทุ ธเจา ผเู ปนบคุ คลเลศิ ขึน้ โลก อน่งึ บรรพชานั้น เราไดโ ดยยาก ทา นทง้ั หลายอยา ทําใหก ารบรรพชานน้ั อันตรธานหายไปเสยี เลย มาเถดิ ทานทง้ั หลาย จงพาเราไปยงัพระเชตวัน ในสาํ นกั ของพระศาสดา ภกิ ษุณีท้งั หลายจงึ พาภกิ ษุณีสาวนัน้ ไปจากกรุงราชคฤหส ิ้นหนทาง ๔๕ โยชนถ งึ พระเชตวนั มหาวหิ ารโดยลาํ ดบั ถวายบังคมพระศาสดาแลวกราบทลู เร่อื งนั้นใหท รงทราบ. พระศาสดาทรงพระดาํ ริวา ภกิ ษุณีนตี้ ้ังครรภในเวลาเปนคฤหสั ถโ ดยแท แมเ ม่ือเปน อยางนน้ั พวกเดียรถยี จ ักไดโอกาสวา พระสมณโคดมพาภกิ ษณุ ีทีพ่ ระเทวทตั ท้งิ แลวเทีย่ วไปอยู เพราะฉะนน้ั เพอ่ื จะตดั ถอยคาํ นคี้ วรจะวนิ ิจฉัยอธกิ รณนใ้ี นทา มกลางบริษทั ซึ่งมพี ระราชา ในวนั รุงขนึ้ จงึ ใหทลูเชญิ พระเจา โกศล และเชิญมหาอนาถบิณฑิกเศรษฐี จูฬอนาถบณิ ฑกิ เศรษฐีนางวสิ าขามหาอบุ าสกิ า และตระกลู ใหญ ๆ อน่ื ๆ ทมี่ ชี อ่ื เสยี ง ในเวลาเย็นเม่ือบรษิ ัททง้ั ๔ ประชุมกนั แลว จงึ ตรสั เรียกพระอบุ าลเี ถระมาวา เธอจงไปชาํ ระกรรมของภกิ ษุณสี าวนี้ ในทามกลางบรษิ ทั ๔. พระเถระทูลรับพระดาํ รสัแลว จึงไปยังทามกลางบริษทั น่ังบนอาสนะท่เี ขาตกแตงไวเพอื่ ตน แลวใหเรยี กนางวิสาขาอบุ าสิกามาตรงเบอ้ื งพระพกั ตรของพระราชา ใหรบั อธิกรณนี้

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 238วา ดูกอ นวสิ าขา ทา นจงไป จงรโู ดยถองแทวา ภกิ ษณุ สี าวน้บี วชในเดือนโนน วนั โนน แลวจงรวู าเธอไดม ีครรภน้ีกอนหรือหลงั บวช มหาอุบาสิการบัคาํ แลว จงึ ใหวงมาน ตรวจดูทสี่ ดุ มอื เทา สะดอื และตองของภิกษณุ สี าวภายในมา น นับเดือนและวนั รูวานางไดตัง้ ครรภในภาวะเปน คฤหัสถโดยถองแท จึงไปยังสาํ นักของพระเถระแลว บอกเนื้อความนน้ั . พระเถระไดก ระทาํภกิ ษุณนี ั้นใหเ ปน ผบู รสิ ุทธิ์ ในทามกลางบรษิ ัท ๔. ภกิ ษณุ นี น้ั เปนผูบรสิ ุทธ์ิแลวไหวภ กิ ษสุ งฆแ ละถวายบังคมพระศาสดา แลวไปยังสํานักนั่นแล พรอมกับภิกษุณีทั้งหลาย ภกิ ษุณีนนั้ อาศัยครรภแกแ ลว ไดตลอดบุตรมอี านุภาพมาก ผตู ั้งความปรารถนาไวแทบบาทมลู ของพระพทุ ธเจาพระนามวาปทมุ ุตตระ. ครั้นวนั หนึง่ พระราชาเสด็จไปโดยใกล ๆ สาํ นักของภกิ ษุณี ไดทรงสดับเสียงทารก จึงตรสั ถามอํามาตยท้ังหลาย. อาํ มาตยท้งั หลายรูเหตุน้นัจึงกราบทลู วา ขาแตสมมติเทพ ภกิ ษุณีสาวนั้น ตลอดบุตรแลว น่ันเสียงของบตุ รภิกษุณสี าวนั้นนน่ั เอง. พระราชาตรัสวา แนะพนาย ชื่อวาการปรนนบิ ตั ิทารกเปนเครอ่ื งกังวลสําหรับภิกษุณที งั้ หลาย พวกเราจักปรนนบิ ตั ิทารกนั้นพระราชาทรงไหมอบทารกน้ันแกห ญงิ ฟอนทัง้ หลาย ใหเ ติบโตโดยการบรหิ ารดแู ลอยางกุมาร. กใ็ นวันตัง้ ชอ่ื กุมารนั้น ไดต้ังชือ่ วากัสสป ครงั้ นนั้ คนท้ังหลายรกู นั วา กุมารกัสสป เพราะเจริญเตบิ โต ดวยการบรหิ ารอยางกุมารในเวลามีอายุได ๗ ขวบ กุมารกสั สปน้ันบวชในสาํ นักของพระศาสดา พอมีอายุ ๒๐ ปบรบิ ูรณก ็ไดอ ุปสมบท เมื่อกาลเวลาลวงไป ไดเ ปนผกู ลา วธรรมอนั วิจติ ร ในบรรดาพระธรรมกถึกทง้ั หลาย. ลาํ ดบั นัน้ พระศาสดาทรงต้ังพระกุมารกสั สนั้น ไวในตําแหนง เอตทคั คะ ดวยพระดํารัสวา ดกู อ นภิกษุทัง้ หลาย กุมารกสั สปนี้ เปนเลิศแหง สาวกทง้ั หลายของเรา ผกู ลา วธรรมอนัวจิ ติ ร ภายหลังพระกมุ ารกสั สปนนั้ บรรลุพระอรหตั ในเพราะวัมมิกสูตร. แม

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 239ภิกษุณีผูเปน มารดาของพระกมุ ารกสั สปนั้น เห็นแจงแลว บรรลุพระอรหตั .พระกมุ ารกัสสปเถระปรากฏในพระพทุ ธศาสนา ประดจุ พระจันทรเ พ็ญในทามกลางทองฟาฉะนั้น. อยมู าวนั หนงึ่ พระตถาคตเสดจ็ กลับจากบิณฑบาต ภายหลังภัตประทานโอวาทแกภ ิกษทุ ั้งหลายแลวเสดจ็ เขา พระคันธกุฎี ภิกษุท้ังหลายรบัพระโอวาทแลว ใหภาคกลางวนั หมดไปในทีเ่ ปน ท่พี กั กลางคนื และท่พี ักกลางวนัของตน ๆ ในเวลาเยน็ ประชุมกนั ในโรงธรรมสภา นง่ั พรรณนาพระพทุ ธคณุวา ดูกอนอาวุโสทัง้ หลาย พระเทวทัตทาํ คนทัง้ สอง คอื พระกุมารกสั สปเถระและพระเถรีใหพนิ าศ เพราะความท่ตี นไมร ู และเพราะความไมม ีขนั ติและเมตตาเปนตน แตพ ระสัมมาสมั พุทธเจา ทรงเปน ปจจัยแกทา นทั้งสองนั้น เพราะพระองคเ ปนพระธรรมราชา และเพราะทรงถงึ พรอ มดวยพระขันติพระเมตตา และความเอน็ ด.ู พระศาสดาเสด็จมายังโรงธรรมสภาดวยพุทธลลี าประทบั นั่งบนอาสนะท่เี ขาปูลาดไว แลวตรสั ถามวา ดูกอนภกิ ษทุ ้ังหลายบดั นพี้ วกเธอนัง่ สนทนากนั ดวยเรอ่ื งอะไรหนอ ? ภิกษทุ ้งั หลายกราบทูลวาดวยเรือ่ งพระคณุ ของพระองคเ ทาน้นั แลว กราบทลู เร่อื งท้งั ปวงใหท รงทราบพระศาสดาตรัสวา ดูกอนภกิ ษทุ ้งั หลาย ตถาคตเปน ปจ จยั และเปน ท่พี งึ่ แกช นทง้ั สองนี้ ในบัดน้เี ทา นนั้ หามไิ ด แมในกาลกอน กไ็ ดเ ปนแลวเหมอื นกนั .ภกิ ษุท้งั หลายจึงทูลออนวอนพระผูมพี ระภาคเจา เพ่อื ตองการใหเ รือ่ งน้นั แจมแจง . พระผูมีพระภาคเจา ไดทรงกระทําเหตุอันระหวางภพปกปดไวใหปรากฏดงั ตอ ไปน.้ี ในอดีตกาล เมอ่ื พระเจาพรหมทตั ครองราชสมบตั ใิ นนครพาราณสีฝา ยพระโพธสิ ัตวท รงถือปฏสิ นธติ นกําเนดิ มฤคชาติ. พระโพธิสตั วเ ม่อื ออกจากทองของมารดา ไดมสี เี หมอื นดงั สที อง นัยนตาทงั้ สองของเนื้อนนั้ ไดเ ปน

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 240เชนกับลกู แกว มณีกลม เขาทั้งคมู ีวรรณะดงั เงิน หนามีวรรณะดงั กองผา กมั พลแดง ปลายเทาหนาและเทาหลัง เหมอื นทาํ บริกรรมดวยรสนํ้าครัง้ ขนหางไดเ ปนเหมอื นขนจามรี กร็ างกายของเนื้อน้นั ใหญมีขนาดเทาลูกนาํ้ เนอื้ นน้ั มีบรวิ าร ๕๐๐. โดยชอ่ื มชี อื่ วา นโิ ครธมคิ ราช สาํ เรจ็ การอยใู นปา . กใ็ นท่ีไมไกลแหง พระยาเน้ือนิโครธน้ัน มีเนอ้ื แมอ ืน่ ซง่ึ มเี นอื้ ๕๐๐ เปน บริวาร มีชอวา สาขะ อาศัยอยู แมเ นือ้ สาขะก็มวี รรณะดุจสีทอง. สมัยน้ัน พระเจาพาราณสที รงขวนขวายในการฆา เนอ้ื เวน เนอ้ื ไมเ สวย ทรงกระทาํ พวกมนุษยใหขาดการงาน ยงั ชาวนิคมและชนบททั้งปวงใหป ระชมุ กนั แลวเสด็จไปฆาเนื้อทุกวัน. พวกมนษุ ยค ิดกันวา พระราชาน้ีทรงทาํ พวกเราใหขาดการงานถากระไร พวกเราวางเหยอ่ื ของเนอ้ื ไวในพระราชอทุ ยาน จัดนาํ้ ดืม่ ไวใ หพรอ ม ตอ นเนื้อเปน อนั มากใหเขา ไปยังพระราชอุทยานแลว ปด ประตูมอบถวายพระราชา มนุษยเ หลา นนั้ ทง้ั หมดจึงปลกู ผกั ทเี่ ปนเหยือ่ ของเนอ้ื ไวในพระราช-อทุ ยาน จัดนํา้ ดม่ื ไวใหพ รอม แลวประกอบประตู ถือบวง มือถอื อาวธุนานาชนิดมคี อนเปนตน เขา ปาแสวงหาเนอ้ื คิดวา พวกเราจักจบั เนอ้ื ทั้งหลายทอ่ี ยตู รงกลาง จึงลอ มทป่ี ระมาณ ๑ โยชน เม่อื รน เขามาไดลอ มท่ีเปนทอี่ ยูของเน้ือนโิ ครธและเนอ้ื สาขะไวตรงกลาง ครัน้ เหน็ หมูเน้อื นน้ั จึงเอาไมค อนดีตน ไม พุมไมเ ปนตน และดพี ้ืนดนิ ไลห มเู นอื้ ออกจากท่รี กชัฎ พากันเง้ืออาวุธท้งั หลายมดี าบ หอกและธนูเปน ตน บนั ลือเสยี งดงั ตอ นหมูเนื้อนั้นใหเขาพระราชอุทยานแลว ปด ประตู พากนั เขาไปเฝาพระราชาแลว กราบทูลวาขา แตส มมติเทพ เมอ่ื พระองคเ สดจ็ ไปทรงฆา เนอ้ื เปนประจาํ ทรงทําการงานของขา พระองคท ้ังหลายใหเสียหาย พวกขา พระองค อันเนื้อท้งั หลายมาจากปาเต็มพระราชอุทยานของพระองค ตั้งแตน้ไี ป พระองคจะไดเสวยเน้ือของมฤคเหลา นั้น แลว ทูลลาพระราชาพากนั หลกี ไป.

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 241 พระราชาไดทรงสดับคาํ ของมนุษยเ หลานนั้ แลว เสดจ็ ไปพระราชอทุ ยาน ทอดพระเนตรเนื้อทงั้ หลาย ทรงเหน็ เนือ้ สีทอง ๒ ตัว จงึ ได-พระราชทานอภัยแกเนอ้ื ทงั้ สองนัน้ กต็ ้ังแตนน้ั มา บางคราว เสดจ็ ไปเองทรงฆาเน้อื ตัวหนง่ึ แลวนาํ มา บางคราว พอครวั ของพระองคไ ปฆาแลวนํามาเน้ือท้ังหลายพอเหน็ ธนูเทาน้ัน ถกู ความกลัวแตความตายคกุ คาม พากันหนีไป ไดรบั การประหาร ๒-๓ ครัง้ ลําบากไปบาง ปวยไปบา ง ถึงความตายบา ง หมูเนือ้ จึงบอกประพฤติเหตุนน้ั แกพ ระโพธิสตั ว พระโพธสิ ัตวไ หเรียกเนอ้ื สาขะมาแลว กลาววา ดูกอ นสหาย เน้อื เปนอันมากพากนั ฉบิ หาย เมอ่ืเนือ้ มอี ันจะตอ งตายโดยสว นเดยี ว ตั้งแตน้ีไป ผูจะฆาจงอยา เอาลกู ศรยงิ เน้อืวาระของเนือ้ ท้ังหลายจงมีในทแี่ หง คอนของผพู ิพากษา วาระจงถึงแกบ ริษัทของเราวนั หนึ่ง จงถงึ แกบรษิ ัทของทานวนั หน่ึง เนอ้ื ตวั ทถี่ ึงวาระจงไปนอนพาดหวั ท่ีไมค อ นของผพู พิ ากษา แมเม่อื เปนอยางนน้ั เนอ้ื ทง้ั หลายจกั ไมกลวัเน้ือสาขะรบั คําแลว ตั้งแตนน้ั มา เนอื้ ท่ถี งึ วาระ จะไปนอนพาดคอทีไ่ มค อนพพิ ากษา พอครวั มาจบั เอาเนื้อตวั ทน่ี อนอยู ณ ที่นน้ั น่นั แหละไป อยูมาวันหน่ึง วาระถึงแกแ มเ นอ้ื ผูมคี รรภต ัวหน่งึ ซ่ึงเปนบริษทั ของเนอื้ สาขะ แมเนอ้ืน้ันเขา ไปหาเน้อื สาขะแลว กลา ววา เจา นาย ขา พเจามคี รรภ ตลอดลกู แลวพวกเราทัง้ สองจะไปตามวาระ ทานจงใหขา มวาระของขาพเจาไปกอน เนอ้ืสาขะกลา ววา เราไมอ าจทาํ วาระของเจา ใหถ งึ แกเ น้ือตวั อืน่ ๆ เจา เทานนั้ จกั รูวา เจามีบุตร เจาจงไปเถอะ แมเนอ้ื นัน้ เมอื่ ไมไดความชว ยเหลอื จากสํานกัของเนื้อสาขะ จงึ เขา ไปหาพระโพธิสัตวบอกเน้อื ความน้นั พระโพธิสตั วนน้ัไดฟงคาํ ของแมเนอื้ นน้ั จึงคดิ วา กพ็ ระโพธสิ ตั วท ั้งหลายในกาลกอน เหน็ทกุ ขข องคนอ่นื ยอ มไมหว งใยชีวิตของตน ประโยชนข องผอู ่นื จากประโยชนตนน่ันแล เปนส่งิ ท่ีหนักกวาสาํ หรับพระโพธสิ ตั วเหลา นนั้ .

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 242 เหลานก ปศุสัตว มฤคในปาทัง้ หมดยอ มเปน อยูดวยตนเอง นกั ปราชญท ัง้ หลายผสู งบ ยนิ ดแี ลว ในประโยชนเกื้อกูลแกส ตั ว ยอมยงั ผอู นื่ ใหเปนอยู ก็ นักปราชญเหลา น้ัน สละทรัพย อวยั วะ และชวี ติ เพอื่ ประโยชนเ ก้ือกูล เราน้นั เปน ผูสามารถจกั ยังเหลา สตั วเปนอนั มากพรอ มท้งั เทวโลกใหขา มไดดวย ก็ ความไมม ีบญุ เพราะกายอนั ไรส าระน้ี เราจักไดลาภ ของทานอนั ยัง่ ยืนดว ยตนเองแน.ครั้น คิดดงั นแ้ี ลว จงึ กลาววา เจา จงไปเถอะ เราจักใหวาระของเจาขา มไป ครัน้กลา วแลว ตนเองก็ไปนอนกระทําศรี ษะไวทีไ่ มค อนพิพากษาพอ ครัวเหน็ ดังนน้ัจึงคดิ วา พระยาเน้ือผไู ดร ับ พระราชทานอภัยนอนอยทู ไ่ี มคอ นพพิ ากษา เหตุอะไรหนอ จึงรบี ไปกราบทลู แดพระราชา พระราชาเสด็จขนึ้ ทรงรถในทันใดนัน้ เอง เสด็จไปดว ยบรวิ ารใหญเห็นพระโพธิสตั วจงึ ตรสั วา พระยาเนื้อผสู หายเราใหอภัยแกท า นไวแลว มิใชหรือ เพราะเหตไุ รทานจงึ นอนอยู ณ ทน่ี ี้ พระยาเนอื้ กราบทลู วา ขาแตม หาราช แมเนอื้ ผูมคี รรภมากลา ววา ขอทา นจงยังวาระของฉนั ใหถ งึ แกเ นื้อตวั อนื่ ก็ขา พระบาทไมอ าจโยนมรณทกุ ขของเนื้อตัวหนง่ึ ไปเหนอื เน้อื ตัวอื่นได ขา พระบาทนั้นจงึ ใหช ีวติ ของตนแกแมเนือ้ น้ัน ถือเอาความตายอนั เปน ของแมเนอื้ นัน้ แลว จงึ นอนอยู ณ ท่นี ี้ ขาแตม หาราช ขอพระองคอ ยา ไดท รงระแวงเหตุอะไรๆ อยา งอนื่ เลย พระราชาตรัสวา ดูกอ นสวุ รรณมคิ ราชผูเ ปนนาย แมใ นหมูมนษุ ยท ั้งหลาย เรากไ็ มเ คยเหน็ คนผูเพยี บพรอมดว ยขันติ เมตตา และความเอ็นดเู ชน กับทา น ดวยเหตุน้ัน เราจงึเล่อื มใสทานลกุ ขึน้ เถิด เราใหอภัยแกท านและแกแมเ น้ือน้ัน พระยาเนือ้ กลาววา

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 243ขาแตพ ระผจู อมคน เม่ือขาพระบาททัง้ สองไดอภัยแลว เนื้อท่เี หลือนอกนัน้จกั กระทาํ อยา งไร พระราชาตรัสวา นาย เราใหอภยั แมแ กเนื้อที่เหลือดวยพระยาเนื้อกราบทลู วา ขาแตม หาราช แมเม่ือเปนอยา งนน้ั เนอื้ ทง้ั หลายในพระราชอทุ ยานเทา น้ัน จกั ไดอ ภัย เนื้อทีเ่ หลอื จกั ทรงกระทําอยางไร พระราชาตรัสวา นาย เราใหอภัยแกเ นอ้ื แมเหลานนั้ พระยาเน้ือกราบทลู วา ขาแตม หาราชเบื้องตน เนือ้ ท้งั หลายไดร บั อภยั สตั ว ๔ เทาทีเ่ หลือจกั กระทําอยางไร พระราชาตรสั วา นาย เราใหอภยั แกส ัตว ๔ เทา แมเ หลา นัน้ พระยาเน้อื กราบทลูวา ขาแตมหาราช สัตว ๔ เทาไดรับ พระราชทานอภยั กอ น หมนู กจักกระทําอยา งไร พระราชาตรัสวา นาย แมห มูนกเหลา น้ันเรากใ็ หอภัย พระยาเน้อืกราบทูลวา เบอื้ งตน หมูน กจกั ไดร ับพระราชทานอภัย พวกปลาท่ีอยูในนาํ้ จกักระทําอยา งไร พระราชาตรัสวา นาย แมหมูป ลาเหลา น้ัน เรากใ็ หอภัยพระมหาสัตวทูลขออภัยแกส รรพสัตวก ะพระราชาอยางนี้แลว ไดล ุกขึน้ ยนื ใหพระราชาคงอยูใ นศลี ๕ แลว แสดงธรรมแกพ ระราชาดวยลีลาของพระพุทธเจาวา ขา แตมหาราช ขอพระองคจงประพฤติธรรมในพระชนกชนนีในพระโอรสพระธดิ า ในพราหมณคฤหบดี ในชาวนคิ มและชาวชนบท เมอ่ื ทรงประพฤติธรรม ประพฤตสิ ม่ําเสมออยู เบ้อื งหนา แตตายเพราะกายแตกจกั เขา ถึงสุคติโลกสวรรค ดังน้ี แลวอยใู นอทุ ยาน ๒-๓ วนั ใหโ อวาทแกพระราชาแลวอันหมูเนือ้ แวดลอ มเขาปาแลว แมเน้อื นมแมนน้ั ตกลกู ออกมาเชน กับชอดอกไม ลกูเนื้อนนั้ เมอื่ เลน ได จะไปยงั สํานกั ของเน้อื สาขะ. ลําดับนนั้ มารดาเห็นลกู เนอื้นัน้ กําลังจะไปยังสาํ นักของเนือ้ สาขะน้ัน จึงกลาววา ลกู เอย ตง้ั แตน ไี้ ปเจาอยาไปยังสํานัก ของเนื้อสาขะน้นั เจา พงึ ไปยังสาํ นักของเน้อื นิโครธเทานั้น เมอื่จะโอวาทจงึ กลา วคาถาวา

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 244 เจา หรือคนอืน่ กต็ าม พงึ คบหาแตพ ระยาเนื้อ ชื่อวา นโิ ครธเทานนั้ ไมค วรเขาไปอาศยั อยกู ับพระยา เนื้อชือ่ วา สาขะ ความตายในสํานกั ของพระยาเน้ือชอ่ื วา นิโครธประเสริฐกวา การมีชีวิตอยใู นสํานกั พระยา เนอ้ื สาขะ จะประเสรฐิ อะไร. บรรดาบทเหลานั้น บทวา นโิ ครฺ ธเมว เสเวยยฺ ความวา ดูกอ นพอ เจาหรือคนอ่ืนก็ตาม ผูใครตอ ประโยชนเกอ้ื กูลแกต น ควรเสพหรือควรคบหาแตพ ระยาเน้ือชอื่ วา นโิ ครธนนั้ . บทวา น สาข อปุ ส วเส ความวาแคเ นื้อชื่อวา สาขะไมควรเจาไปอยูร ว ม คือ ไมค วรเขาไปใกลแลวอยูร ว มไดแกไ มควรอาศัยเนอื้ สาขะนน้ั เล้ยี งชีวติ . บทวา นิโครฺ ธสฺมึ มต เสยโฺ ยความวา แมก ารตายอยูแทบเทา ของพระยาเน้ือชือ่ วา นิโครธประเสรฐิ กวา คอืยอดเยยี่ มสูงสดุ . บทวา ยฺเจ สาขสฺมิ ชวี ติ  ความวา ก็ความเปน อยูในสํานักของเนื้อชื่อวา สาขะน้ัน ไมประเสริฐคือไมยอดเย่ยี มไมส ูงสุดเลย. กจ็ ําเดิมแตนั้น พวกเนือ้ ท่ไี ดอภัยพากนั กนิ ขาวกลา ของพวกมนษุ ยมนุษยท้ังหลายไมอ าจตหี รอื ไลเ นื้อทั้งหลายดว ยคดิ วา เน้ือเหลา นี้ไดร บั พระ-ราชทานอภัย จงึ พากนั ประชมุ ท่พี ระลานหลวง กราบทลู ความนน้ั แดพระราชาพระราชาตรัสวา เรามีความเลือ่ มใสใหพ รแกพ ระยาเน้ือช่อื วานิโครธ เราถงึ จะละราชสมบัติ กจ็ ะไมท าํ ลายปฏิญญานัน้ ทา นทั้งหลายจงไปเถิดใคร ๆ ยอ มไมไดเพื่อจะประหารเนอ้ื ทง้ั หลายในแวนแควน ของเรา พระยาเนื้อนิโครธไดสดบัเหตุการณน ั้น จึงใหห มูเน้อื ประชมุ กัน โอวาทเนื้อทั้งหลายวา จําเดมิ แตน ี้ไปทา นทัง้ หลายอยา ไดก ินขาวกลาของคนอื่น ดงั นแ้ี ลว บอกแกมนษุ ยท งั้ หลายต้งั แตน ไี้ ปมนษุ ยทั้งหลายผูกระทําขา วกลา จงอยาทําร้ัวเพือ่ จะรกั ษาขา วกลา

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 245แตจ งผูกสญั ญาดว ยใบไมปกนาไว ไดยนิ วา จําเดมิ แตน ้นั จึงเกดิ สัญญาในการผูกใบไมข ึ้นในนาทั้งหลาย จาํ เดิมแตน ้ัน ช่ือวา เน้ือผูลวงละเมดิ สญั ญาในการผูกใบไม ยอ มไมม.ี ไดยินวา ขอ น้ีเปน โอวาทท่ีพวกเน้อื เหลาน้นั ไดจ ากพระโพธสิ ตั ว พระโพธิสตั วโ อวาทหมูเน้ืออยางนแี้ ลวดาํ รงอยตู ลอดช่วั อายุ.พรอมกับเนอ้ื ทง้ั หลายไดไ ปตามยถากรรมแลว. ฝา ยพระราชาทรงตั้งอยูใ นโอวาทของพระโพธิสัตว ทรงกระทําบุญท้ังหลายไดเสดจ็ ไปตามยถากรรมแลว . พระศาสดาดาํ รัสวา ภิกษทุ ้งั หลาย เราเปน ทีพ่ ึ่งอาศัยของพระเถรีและพระกมุ ารกัสสป ในบดั น้ีเทาน้ันก็หามิได แมใ นกาลกอ นก็ไดเ ปน ท่พี ่ึงอาศัยแลว เหมอื นกัน กค็ รน้ั ทรงนาํ พระธรรมเทศนาน้ีมาแลว จงึ ทรงหมนุ กลับเทศนาวา ดว ยสจั จะท้ัง ๔ ตรัสเรอ่ื ง ๒ เรอื่ งสบื ตออนุสนธกิ ัน แลว ทรงประชมุ ชาดกวา เน้อื ชื่อสาขะในคร้ังนั้น ไดเ ปน พระเทวทัต แมบรษิ ทั ของเน้ือสาขะน้นั ก็ไดเ ปน บรษิ ทั ของพระเทวทตั น่ันแหละแนเ นื้อนั้นในครัง้ นั้น ไดเ ปนพระเถรี ลูกเน้ือในครง้ั นน้ั ไดเปนพระกมุ ารกัสสป พระราชาไดเปนอานนท สวนพระยาเนอื้ ชอ่ื วานโิ ครธ ไดเ ปน เราเองแล. จบนิโครธมคิ ชาดกที่ ๒

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 246 ๓. กณั ฑินชาดก วาดวยผูตกอยูในอาํ นาจหญงิ [๑๓] เราติเตียนบรุ ุษผมู ีลูกศรเปน อาวธุ ยงิ ปลอ ยใหเ ตม็ กําลัง เราติเตียนชนบทท่มี หี ญงิ เปนผูน ํา อน่ึง สัตวเ หลา ใด ตกอยูใ นอํานาจของหญิงทง้ั หลาย สตั วเ หลานั้นบัณฑิตตเิ ตยี นแลว. จบกณั ฑนิ ชาดกท่ี ๓ ๓. อรรถกถากัณฑนิ ชาดก พระศาสดาเม่อื ประทับอยูในพระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภการประเลา ประโลมของภรรยาเกา จงึ ตรัสพระธรรมเทศนาน้ี มีคาํ เรม่ิ ตนวาธิรตถฺ ุ กณฺฑิน สลลฺ  ดงั น.้ี การประเลาประโลมนัน้ จักมีแจง ในอินทรียชาดก อัฏฐกนบิ าต. กพ็ ระ-ผมู ีพระภาคเจา ไดต รสั พระดํารัสนี้กะภิกษุนัน้ วา ดกู อ นภกิ ษุ แมใ นกาลกอนเธออาศัยมาตคุ ามน้ี ถงึ ความสิ้นชวี ติ รอ งเรียกอยทู ่ีพ้ืนถานเพลงิ อันปราศจากเปลว ภิกษทุ ั้งหลายทลู ออ นวอนพระผูมพี ระภาคเจา เพ่อื ทรงประกาศเรื่องน้นัใหแจม แจง พระผมู พี ระภาคเจาไดท รงกระทําเหตอุ นั ระหวา งภพปกปด ใหปรากฏแลว. กเ็ บอื้ งหนาแตนไี้ ป เราจักไมก ลา วถงึ การท่ีภกิ ษุทง้ั หลายทูลออนวอน และความที่เหตถุ ูกระหวา งภพปกปด จักกลา วเฉพาะคาํ มปี ระมาณเทา น้ี

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 247วา อตตี  อาหริ แปลวา ทรงนาํ อดีตนทิ านมาวา ดังนีเ้ ทา นนั้ . แมเ มือ่กลา วคาํ มปี ระมาณเทา น้ี กพ็ ึงประกอบเหตุการณน้ีทงั้ หมด คือ การทูลอาราธนาการเปรยี บเทยี บเหมือนนําพระจนั ทรออกจากกลุมเมฆ และความท่ีเหตุถกูระหวางภพปกปดไว โดยนัยดังกลาวไวใ นหนหลงั น่นั แหละ แลว พึงทราบไว. ในอดีตกาล เม่อื พระเจามคธครองราชสมบตั อิ ยใู นพระนครราชคฤหแควนมคธ ในสมยั ขา วกลาของชนชาวมคธ พวกเน้อื ทัง้ หลายมอี ันตรายมากเนื้อเหลา นนั้ จึงเขา ไปยังเนนิ เขา. เนอื้ ภูเขาทอ่ี ยใู นปาตัวหน่งึ ทาํ ความสนทิสนมกบั ลกู เนื้อตัวเมยี ชาวบานตัวหนึ่ง ในเวลาทีพ่ วกเนื้อเหลา นั้น ลงจากเชิงเขากลบั มายงั ชายแดนบานอกี ไดลงมากบั เนอื้ เหลานั้นนั่นแหละ. เพราะมจี ติปฏิพัทธในลูกเนอ้ื ตวั เมียน้ัน. ลําดับน้นั ลูกเนอ้ื ตัวเมียนนั้ จงึ กลาวกะเน้อืภเู ขาน้นั วา ขาแตเจา ทา นแลเปนเน้อื ภูเขาทีเ่ ขลา กธ็ รรมดาชายแดนของบา น นาระแวง มภี ัยเฉพาะหนา ทานอยา ลงมากับพวกเราเลย. เน้ือภเู ขานัน้ ไมก ลบั เพราะมจี ิตปฏิพทั ธตอ ลกู เนอ้ื ตวั เมียนัน้ ไดมากับลกู เน้ือตวั เมยี นัน้นัน่ แหละ. ชนชาวมคธรูวา บดั น้ี เปนเวลาทพี่ วกเน้ือลงจากเนนิ เขา จงึ ยืนในซมุ อนั มิดชิดใกลหนทาง ในหนทางท่เี นื้อทง้ั สองแมน ั้นเดนิ มา มพี รานคนหนงึ่ ยืนอยูใ นซมุ อันมิดชดิ . ลกู เนอ้ื ตวั เมียไดกล่ินมนษุ ย จึงคดิ วา จักมีพรานคนหน่งึ ยืนอยู จงึ ทาํ เนื้อเขลาตัวน้ัน ใหอยูขา งหนา สวนตนเองอยขู า งหลัง. นายพรานไดทา เนื้อตวั นน้ั ใหลม ลงตรงนน้ั นนั่ เอง ดว ยการยิงดว ยลูกศรครง้ั เดยี วเทา นนั้ . ลกู เนือ้ ตัวเมยี รูว า เน้อื นั้นถูกยงิ จงึ โดดหนไี ปโดยการไปดวยกําลังเร็วปานลม. นายพรานออกจากซมุ ชําแหละเนื้อกอ ไฟ ปงเนอื้ อรอยบนถานไฟอันปราศจากเปลว เคี้ยวกินแลวดื่มนํา้ หาบเนือ้ ที่เหลอื ไปดว ยไมคานมหี ยาดเลอื ดไหล ไดไปยังเรือน ใหพ วกเดก็ ๆ ยินดีแลว .

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 248 ในกาลน้ัน พระโพธิสัตวบ ังเกดิ เปนเทวดาอยใู นปา ชฏั แหง นน้ั พระ-โพธิสัตวน น้ั เห็นเหตุการณน น้ั จงึ คิดวา เนอ้ื โงตัวน้ีตาย เพราะอาศัยมารดาเพราะอาศัยบิดากห็ าไม โดยท่แี ทต ายเพราะอาศัยกาม จรงิ อยู เพราะกามเปน นิมิตเหตุ สัตวทง้ั หลายจงึ ถงึ ทกุ ขน านปั การมกี ารตดั มือเปนตน ในสุคติและการจองจํา ๕ ประการเปนตนในทุคติ ชอ่ื วา การทําทุกขค ือความตายใหเกิดข้ึนแกผ ูอนื่ ก็ถกู ตเิ ตียนในโลกน้ี แมช นบทใดมสี ตรีเปนผนู าํ จัดแจงปกครอง ก็ถกู ติเตยี น เหลาสัตวผตู กอยใู นอาํ นาจของมาตุคาม กถ็ กู ตเิ ตยี นเหมือนกนั แลว แสดงเรอ่ื งสําหรับติเตียน ๓ ประการ ดว ยคาถา ๑ คาถาเมอื่ เทวดาท้งั หลายในปาไหส าธกุ ารแลวบชู าดว ยของหอมและดอกไมเปน ตนเม่อื จะยงั ไพรสณฑน ัน้ ใหบ ันลือข้ึนดวยเสียงอนั ไพเราะ จงึ แสดงธรรมดวยคาถาน้ีวา เราตเิ ตยี นบุรษุ ผมู ีลูกศรเปนอาวุธ ผูยิ่งไปเต็ม กําลงั เราติเตียนชนบททมี่ หี ญิงเปนผนู าํ อนง่ึ สตั ว เหลาใดตกอยูใ นอํานาจของหญงิ ทั้งหลาย สตั วเหลา น้นั บัณฑิตกต็ เิ ตยี นแลวเหมอื นกัน. ศัพทวา ธิรตฺถุ ในคาถาน้ัน เปน ศัพทนิบาต ใชในความหมายวา .ตเิ ตียน. ในทน่ี ี้ ศัพทวา ธิรตั ถุ นี้นน้ั พงึ เหน็ วา ใชใ นการติเตยี น ดวยอํานาจความสะดุง และความหวาดเสยี วจรงิ อยู พระโพธสิ ัตวเปนผทู ง้ั สะดงุ และหวาดเสยี ว จงึ กลาวอยางนนั้ คนทชี่ ่ือวา กัณฑี เพราะมีลูกศร. ซง่ึ คนผูมลี ูกศรนน้ั . ก็ลกู ศรนั้นเขาเรียกวา สัลละ เพราะอรรถวา เสียบเขา ไปเพราะฉะนน้ั ในคําวา กณฑฺ นิ  สลลฺ  จึงมีความหมายวา ผมู ีลกู ศรอีกอยางหน่ึง ช่ือวา ผมู ีสัลละเพราะมลี ูกศร. ผมู ลี ูกศรนนั้ . ชื่อวา คาฬทเวธีผยู งิ ไปเตม็ แรง เพราะเมื่อจะใหการประหารอยา งแรงจึงยิงอยา งเตม็ ท่ี โดย

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 249กระทาํ ใหมีปากแผลใหญ ผูย งิ ไปอยา งเต็มทนี่ ้ัน ในขอ นมี้ ีอธบิ ายดังน้ีวาเราตเิ ตียนคนผูป ระกอบดว ยอาวุธมปี ระการตา ง ๆ ช่ือวา สัสละ ลูกศร เพราะวิง่ ไปตรง ๆ โดยมสี นั ฐานดังโบโกมุทเปนผล ผยู งิ ไปอยา งเต็มแรง. บทวาปรณิ ายิกา ไดแก เปนใหญ คือ เปน ผูจ ดั แจง. บทวา ธิกฺกติ า แปลวาติเตียนแลว. คําทเี่ หลือในคาถานง้ี า ยทัง้ นนั้ . ก็เบ้ืองหนา แตน้ไี ป ขาพเจา จกั ไมก ลา วคาํ แมม ีประมาณเทานี้ จักพรรณนาคําทไี่ มง ายน้นั ๆ เทานน้ั . พระโพธิสัตวครนั้ แสดงเรื่องสาํ หรบั ตเิ ตียน๓ ประการ ดวยคาถาเดียวอยางนแ้ี ลว ทาํ ปา ใหบนั ลือขน้ึ แลว แสดงธรรมดว ยการเยอ้ื งกรายดงั พระพทุ ธเจา . พระศาสดาครั้นทรงนําพระธรรมเทศนานม้ี าแลว จึงทรงประกาศสัจจะทัง้ หลาย. ในเวลาจบสจั จะ ภกิ ษผุ กู ระสันจะสกึ ตง้ั อยูใ นโสดาปตติผลพระศาสดาตรัสเรอ่ื ง ๒ เรอื่ ง สบื ตอ อนุสนธิกันแลว ทรงประชมุ ชาดก ก็เบื้องหนา แตน ไี้ ป ขาพเจาจะไมกลา วคําวา ตรสั เรื่องสองเร่ือง น้ี จะกลาวเฉพาะคาํ มปี ระมาณเทา น้วี า ทรงสืบตอ อนุสนธ.ิ กค็ ําน้ีแมจะไมก ลา วไว ก็พงึ ประกอบถือเอาโดยนัยดงั กลาวไวในหนหลังนนั่ แล. เนือ้ ภเู ขาในครั้งนัน้ ไดเ ปน ภิกษุกระสันจะสึกในบดั นี้ ลูกเนื้อตัวเมยี ในคร้งันัน้ ไดเ ปน ภรรยาเกา ในบดั นี้ สว นเทวดาผเู หน็ โทษในกามท้ังหลายในครงั้ นนั้ ไดเ ปน เราแล. จบกณั ฑินชาดกที่ ๓

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 250 ๔. วาตมิคชาดก วาดว ยอาํ นาจของรส [๑๔] ไดย นิ วา ส่ิงอืน่ ทจ่ี ะเลวย่ิงไปกวา รสทัง้ หลาย ไมม ี รสเปนสภาพเลวแมกวาถน่ิ ที่อยู แนกวา ความ สนทิ สนม นายสัญชัยอุยยานบาล นาํ เน้ือสมนั ซ่ึงอาศัย อยใู นปาชฏั มาสอู ํานาจของตนไดดวยรสทง้ั หลาย. จบวาตมคิ ชาดกท่ี ๔ ๔. อรรถกถาวาตมคิ ชาดก พระศาสดาเมือ่ ประทับอยูใ นพระเชตวนั มหาวิหาร ทรงปรารภพระ-จฬู ปณฑปาตกิ ตสสเถระ จงึ ตรัสพระธรรมเทศนาน้ี มีคําเริ่มตนวา น กิรตถฺ ิเรเสหิ ปาปโ ย ดังน้.ี ไดย นิ วา เมื่อพระศาสดาทรงอาศัยพระนครราชคฤห ประทับอยูในพระวหิ ารเวฬวุ นั . วันหน่งึ บุตรของตระกูลเศรษฐผี ูม ที รพั ยมาก ชือ่ วา ตสิ สกุมารไปพระวหิ ารเวฬวุ นั ฟงพระธรรมเทศนาของพระศาสดาแลว ประสงคจะบวชจงึ ทูลขอบรรพชา แตบิดามารดายังไมอ นุญาต จงึ ถกู ปฏเิ สธ ไดก ารทาํการอดอาหาร ๗ วนั แลวใหบ ดิ ามารดาอนญุ าต เหมือนดังพระรัฐบาลเถระไดบ วชในสาํ นกั ของพระศาสดาแลว. พระศาสดาคร้ันทรงใหต ิสสกมุ ารนั้นบวช


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook