พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 351หนอ ธรรมสงั เวชกเ็ กดิ ขึน้ . เมอื่ ราตรสี วางแลว พระองคจงึ รบั สง่ั ใหภิกษุสงฆประชุมกนั แลว สอบถามภิกษุทง้ั หลายวา ดกู อ นภิกษุท้งั หลาย ไดย นิ วาภกิ ษุฉพั พัคคียลว งหนาไปเกียดกนั เสนาสนะ ของภิกษุทง้ั หลายผูเ ปน เถระจริงหรือ ? ภิกษทุ ้ังหลายกราบทลู วา ขา แตพ ระผูม พี ระภาคเจา จรงิ พระเจา ขาแตน ัน้ พระองคจ งึ ทรงตเิ ตยี นพระฉพั พคั คียแลวตรสั ธรรมกถา ตรสั เรยี กภกิ ษุท้ังหลายมาวา ดกู อนภกิ ษทุ ้ังหลาย ใครหนอยอ มควรแกอาสนะอันเลิศ นาํ้อนั เลศิ กอนขา วอันเลศิ . ภกิ ษุบางพวกกราบทูลวา ผบู วชจากขตั ติยตระกลู .บางพวกกราบทูลวา ผบู วชจากตระกลู พราหมณ. บางพวกกราบทลู วา ผบู วชจากตระกลู คฤหบด.ี ภกิ ษุอกี พวกหนง่ึ กราบทลู วา พระวนิ ัยธร พระธรรมกถึกทา นผไู ดป ฐมฌาน ทา นผูไดท ุติยฌาน ตติยฌาน จตตุ ถฌาน. อกี พวกหนง่ึกราบทลู วา พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี พระอรหนั ต ทา นผมู ีวชิ ชา ๓ ทา นผูมอี ภญิ ญา ๖ ยอ มควรแกอ าสนะเลิศ นา้ํ เลศิ กอ นขาวเลศิ .ในเวลาท่ภี ิกษุท้ังหลายกลาวถงึ ทา นผคู วรแกอ าสนะเลิศเปนตน ตามความชอบใจของตน ๆ อยางนน้ั พระศาสดาจึงตรสั วา ดกู อนภกิ ษทุ ง้ั หลาย ผถู ึงอาสนะเลิศเปนตน ในศาสนาของเราจะตอ งเปน ผบู วชจากตระกูลกษตั ริย หาเปนประ-มาณไม ผูบวชจากตระกูลพราหมณ ตระกลู คฤหบดี พระวินัยธร พระนกัพระสตู ร พระนักอภิธรรม ทา นผูไ ดปฐมฌานเปนตน พระโสดาบัน เปนตนหาเปนประมาณไม. ดกู อ นภิกษทุ ั้งหลาย โดยทแี่ ทใ นศาสนาน้ี ควรกระทาํการอภวิ าท การลกุ รับ อัญชลีกรรม สามจี ิกรรม ตามผแู กกวา ควรไดอาสนะเลิศ นํ้าเลศิ กอ นขา วเลศิ ตามผูท่ีแกกวา นี้เปนประมาณในศาสนาน้ีเพราะฉะนั้น ภกิ ษุผแู กก วาเปน ผูส มควรแกอาสนะเลศิ เปน ตนเหลา นนั้ ดูกอนภิกษทุ งั้ หลาย กบ็ ดั นี้แล สารบี ุตรอัครสาวกของเรา ผปู ระกาศธรรมจกั รตามไดควรไดเสนาสนะติดกับเรา สารีบุตรน้นั เม่ือไมไ ดเสนาสนะ จึงยบั ยั้งอยูท่ีโคนไม
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 352ตลอดราตรีน้ี บัดนี้แหละ เธอทงั้ หลายไมเ คารพ ไมย าํ เกรง มคี วามประพฤติไมเ ปนสภาคกนั อยา งน้ี เมือ่ เวลาลวงไป ๆ จกั กระทาํ ช่ือวาอะไรอยู. ลําดับนน้ัเพอ่ื ตอ งการจะประทานโอวาทแกภ กิ ษุเหลานน้ั จงึ ตรสั วา ดกู อ นภิกษทุ ้งั หลายในกาลกอน แมสัตวด ริ ัจฉานทง้ั หลาย ก็พากันคิดวา กข็ อท่ีพวกเราไมเ คารพไมย ําเกรง มีความประพฤติไมเ ปนสภาคกนั และกนั น่นั ไมสมควรแกพวกเราบรรดาเราท้ังหลาย พวกเราจักรผู ทู ี่แกกวา แลว กระทาํ อภวิ าทเปนตน แกผแู กกวา นัน้ จึงพจิ ารณากันอยางถีถ่ วนแลวรวู า บรรดาเราทงั้ หลาย ทา นผูนเ้ี ปนผแู กกวา จึงกระทาํ อภวิ าทเปน ตน แกผ แู กก วาน่นั ยังทางไปเทวโลกใหเ ต็มอยูแลว ทรงนาํ อดตี นิทานมา ดังตอ ไปน้.ี ในอดตี กาล มีสหายทัง้ สาม คือนกกระทา ลงิ ชาง อาศยั ตนไทรใหญตนหน่ึงอยใู นหมิ วันประเทศ. สหายทง้ั สามนน้ั ไดเปน ผไู มเคารพ ไมย าํเกรง มคี วามประพฤติไมเ ปนสภาคกนั และกัน. ลาํ ดบั น้นั สหายทั้งสามน้ันไดม คี วามคิดดังนวี้ า การท่ีเราท้ังหลายอยูก ันอยา งนไี้ มส มควร ถา กระไร พวกเราพึงกระทาํ อภวิ าทเปน ตน แกบ รรดาพวกเราผแู กกวา อยู. สหายทงั้ สามคิดกนัอยูวา บรรดาพวกเรา กใ็ ครเลา เปนผูท ่ีแกก วา วันหน่ึงคิดกนั วา อบุ ายน้ีมีอยู จึงทัง้ ๓ สัตว น่งั อยทู ่ีโคนตน ไทร นกกระทาํ และลิงจึงถามชา งวา ดูกอนชา งผูสหาย ทานรจู ักตนไทรน้ี ตง้ั แตกาลมีประมาณเพียงไร ? ชางน้ันกลาววา ดกู อ นสหายทั้งหลาย ในเวลาเปนลูกชางรนุ เราเดนิ ทําพมุ ตนไทรนไ้ี วในระหวา งขาออน ก็แหละในเวลาทเี่ รายืนครอ มอยู ยอดของมนั ระทอ งเราเมอื่ เปน อยางนี้ เราจึงรจู กั ตน ไทรน้ี ตงั้ แตเ วลายงั เปนพุม . สหายแมทงั้ สองจึงถามลงิ โดยนัยกอนน่นั แหละอีก. ลงิ นน้ั กลาววา สหายท้ังหลายเราเปน ลูกลงินงั่ อยูทภ่ี าคพนื้ ไมตองชะเงอคอเลย เคย้ี วกินหนอ ของไทรออ นน้ี เม่อื เปนอยางน้ี เราจึงรูจกั ตน ไทรน้ี ต้งั แตเ วลายังเปนตนเล็ก ๆ ลาํ ดับน้ัน สหาย
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 353แมท ง้ั สองนอกนจ้ี งึ ถามนกกระทาํ โดยนัยกอนนนั่ แหละ. นกกระทาน้ันกลาววา สหายทง้ั หลาย เมื่อกอ น ตน ไทรใหญไ ดม อี ยใู นท่ีชือ่ โนน เรากินผลของมนั แลว ถา ยอุจจาระลงในทีน่ ้ี แตนัน้ ตนน้ีจึงเกิดเปนอยางนั้น เราจึงรจู กั ตนไทรนี้ ต้ังแตมันยงั ไมเ กดิ เพราะฉะนัน้ เราจึงเปน ผแู กก วา ทา นทัง้ หลายโดยกาํ เนดิ . เม่ือนกกระทาํ กลา วอยางนี้ ลงิ และชางจงึ กลา วกะนกกระทําผูเปนบัณฑิตวา สหาย ทา นเปนผแู กกวา เราทัง้ หลาย จาํ เดิมแตนไี้ ป พวกเราจกักระทาํ สกั การะ การเคารพ การนับถอื การไหว การบูชา และการอภวิ าทการลกุ รับ อญั ชลีกรรม สามจี กิ รรม แกทา น และจกั ต้ังอยูใ นโอวาทของทา น อนง่ึ ต้ังแตน้ไี ป ทา นพึงใหโ อวาทและอนศุ าสนแี กเ ราทัง้ หลาย ตง้ั แตนัน้ มา นกกระทาไดใหโ อวาทแกลิงและชา งเหลานั้นใหตง้ั อยใู นศลี แมใ นเองกส็ มาทานศีล. สหายแมท ้งั สามนีน้ ่งั อยใู นศลี ๕ มคี วามเคารพยาํ เกรงกันและกัน มีความประพฤตเิ ปน สภาคกัน ในเวลาสิ้นชวี ติ ไดเปนผูมีเทวโลกเปน ที่ไปในเบอ้ื งหนา. การสมาทานของสหายทงั้ สามนนั้ ไดช ือ่ วาตติ ตริ พรหมจรรย พระศาสดาตรสั วา ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย กช็ อ่ื วาสัตวดริ ัจฉานเหลานั้น ยงั มีความเคารพ มคี วามยําเกรงกนั และกันอยู ฝายเธอทั้งหลายกบ็ วชในพระธรรมวินัยท่ีเรากลาวดีแลว อยางน้ี เพราะเหตไุ ร จงึ ไมเคารพยาํ เกรงกนัและกนั อยู ดกู อ นภกิ ษทุ งั้ หลาย ตงั้ แตน้ไี ป เราอนุญาตการอภวิ าท การลุกรบัการอัญชลกี รรม สามจี กิ รรม ตามผทู ีแ่ กกวา อาสนะเลศิ นํ้าเลิศ กอนขา วเลิศ ตามผูทแ่ี กกวา แกเ ธอทง้ั หลาย ท้ังแตน้ไี ปผใู หมก วาไมพึงหา มเสนาสนะผแู กกวา ภกิ ษุใดหาม ภิกษนุ น้ั ตอ งอาบัติทกุ กฏดงั น้ี ครั้นทรงนําพระธรรมเทศนานีม้ าอยางนแ้ี ลว ทรงเปน ผตู รสั รูพรอ มเฉพาะแลว จึงตรสั พระคาถาน้ีวา นรชนเหลาใด ฉลาดในธรรม นอบนอ มคนผู ใหญ นรชนเหลา น้ัน เปนผไู ดร บั ความสรรเสรญิ ใน ปจจบุ นั นี้ และมสี คุ ติเปนที่ไปในเบ้อื งหนา.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 354 บรรดาบทเหลา นนั้ บทวา เย วุฑฒฺ มปจายนฺติ ความวา ผูใ หญ๓ จําพวก คือ ผใู หญโดยชาติ ๑ ผใู หญโดยวัย ๑ ผใู หญโ ดยคุณ ๑ บรรดาผูใหญ ๓ พวกนนั้ ผูสมบรู ณด วยชาติชื่อวา ผใู หญโดยชาติ. ผูต งั้ อยูในวัยชือ่ วาผูใหญโ ดยวยั ผสู มบรู ณด ว ยคณุ ชอ่ื วาผูใ หญโดยคณุ . บรรดาผูใหญ ๓พวกนนั้ ผเู จรญิ ดว ยวยั สมบูรณดว ยคณุ ทานประสงควา ผใู หญในทีน่ ี.้ บทวา อปจายนตฺ ิ ความวา บชู าดว ยกรรมคอื การออ นนอ มตอทานผูเจริญ. บทวา ธมมฺ สสฺ โกวทิ า ไดแก ผูฉลาดในธรรมคือการประพฤติออ นนอ มตอผเู จริญ. บทวา ทฏิ เ ธมฺเม ไดแก ในอตั ภาพนีเ้ อง. บทวาปาส สา แปลวา ควรแกก ารสรรเสรญิ . บทวา สมปฺ ราโย จ สคุ ฺคติความวา ช่ือวา เปนท่ีไปในเบ้ืองหนา เพราะจะตองไปในเบือ้ งหนา คอื จะพึงละโลกนี้ไป ดวยวา โลกหนา ยอมเปนสุคติของนรชนเหลา นั้นทีเดยี ว. ก็ในทนี่ ้มี ีความหมายทป่ี ระมวลมาดังนี้ ดูกอนภิกษทุ ัง้ หลาย จะเปนกษตั รยิ พราหมณ แพศย ศูทร คฤหัสถ บรรพชิตหรอื สตั วด ิรจั ฉานก็ตาม สตั วเหลา ใดเหลา หนง่ึ เปนผเู ฉลียวฉลาดในธรรมคอื การออ นนอมตอผูใ หญ กระทําการนอบนอมตอ ผูใหญโดยวัยทัง้ หลาย ผูสมบรู ณดวยคุณ สตั วเหลา น้ันยอมไดการสรรเสรญิ คือพรรณนา ชมเชยในอตั ภาพน้แี หละวา เปน ผอู อนนอมตอผเู จรญิ ทสี่ ดุ เพราะกายแตกไปแลว ยอ มบังเกดิ ในสวรรค. พระศาสดาตรสั คณุ ของธรรม คอื การออ นนอ มตอผูเจรญิ อยา งนี้แลวทรงสืบอนุสนธปิ ระชุมชาดกวา ชา งผูประเสริฐในกาลน้นั ไดเ ปนพระโมคคลั ลานะ ลงิ ในกาลน้ัน ไดเปน พระสารีบตุ ร สวนนกกระทาผูเปน บัณฑติ ในกาลนน้ั ไดเ ปน เราเองแล. จบติตติรชาดกที่ ๙
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 355 ๘. พกชาดก วา ดว ยผูฉลาดแกมโกง [๓๘] บคุ คลผใู ชป ญญาหลอกลวงคนอืน่ ยอมไม ไดค วามสุขเปนนิตย เพราะผใู ชป ญญาหลอกลวงคน อนื่ ยอ มประสบผลแหง บาปกรรมทีต่ นทาํ ไว เหมือน นกยางถกู ปูหนบี คอฉะนนั้ . จบพกชาดกท่ี ๘ ๘. อรรถกถาพกชาดก พระศาสดาเมอื่ ประทบั อยูใ นพระวิหารเชตวัน ทรงปรารภภกิ ษุผูเ จรญิดว ยจวี รจงึ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคําเรมิ่ ตนวา นาจจฺ นฺต นกิ ตปิ ปฺ โฺ ดงั น.ี้ ไดย ินวา ภกิ ษุผูอยูในพระเชตวันวหิ ารรูปหนึ่ง เปนผฉู ลาดในกรรมอยางใดอยางหนึ่ง มีการคดั การชัด การจดั และการเย็บผา ท่จี ะพงึ ทาํ ในจีวรภกิ ษุนั้นยอ มเพิ่มจีวรดวยความเปนผูฉ ลาดน้นั เพราะฉะนน้ั จึงปรากฏชอ่ื วาจวี รวฑั ฒกะ ผูเ จริญดว ยจีวร. ถามวา ก็ภกิ ษุน้ีกระทาํ อยา งไร ? ตอบวาภกิ ษุน้ีเอาผา เกาทีค่ รํา่ ครา มาแสดงหตั ถกรรมคอื ทาํ ดวยมือ กระทาํ จีวรสมั ผสัไดด ี นาพอใจ ในเวลาเสรจ็ การยอม ไดยอ มดวยน้ําแปง ขัดดว ยหอยสงั ขกระทาํ ใหขึ้นเงาเปน ท่พี อใจแลว เก็บไว. ภกิ ษุท้งั หลายผไู มรจู ักทาํ จวี รกรรม
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 356จึงถอื เอาผาสาฎกท้ังหลายใหม ๆ ไปยังสาํ นกั ของภกิ ษุนัน้ จึงกลา ววา พวกผมไมร ูจกั ทาํ จีวร ขอทานจงทําจวี รใหแ กพวกผม. ภิกษนุ ั้นกลา ววา ทานผมู ีอายุทั้งหลาย จีวรเมอ่ื กระทํายอมสําเรจ็ ชา จวี รทเ่ี ราทําไวเทา นัน้ มีอยู ทานท้งั หลายจงวางผา สาฎกเหลา นัน้ ไว แลว จงถือเอาจวี รที่ทาํ ไวแลวนัน้ ไปเถอะกลาวแลวจึงนําออกมาใหดู. ภิกษุเหลา น้ันเหน็ วรรณสมบัติของจวี รนัน้ เทานน้ัไมรถู งึ ภายใน สาํ คญั วา มั่นคงดี จงึ ใหผ า สาฎกใหมท งั้ หลายแกพระจวี รวัฑฒกะแลวถอื เอาจีวรน้ันไป. จวี รนั้นอนั ภกิ ษุเหลานั้นซักดวยนํ้ารอนในเวลาเปอ นเปรอะนิดหนอ ย มนั จงึ แสดงปรกติของตน. ทีท่ ีเ่ กาคร่ําครา ปรากฏในที่นนั้ ๆภกิ ษุเหลาน้นั ตา งมคี วามวปิ ฏิสารเดือดรอนใจ ภกิ ษนุ น้ั เอาผา เกาลวงภกิ ษุทัง้ หลายท่มี าแลว ๆ ดวยอาการอยา งน้ี จนปรากฏไปในท่ีทงั้ ปวง แมใ นบานแหง หนึง่ ก็มีพระจวี รวฑั ฒกะรปู หน่งึ ลอลวงชาวโลก เหมอื นพระจีวรวัฑฒกะรปู นี้ในพระเชตวนั วหิ ารฉะนั้น. ภกิ ษุทัง้ หลายผูเปนเพ่ือนคบของภกิ ษนุ น้ั จงึบอกวา ทา นผูเจรญิ ไดย นิ วา พระจีวรวฑั ฒกะรปู หนง่ึ ในพระเชตวัน ลอลวงชาวโลกอยา งน.้ี ลําดับนน้ั พระจวี รวัฑฒกะบา นนอกน้นั ไดม ีความคดิดงั นี้วา เอาเถอะ เราจะลวงพระจวี รวฑั ฒกะชาวกรุงรูปนนั้ แลวกระทาํ จวี รเกาใหเปน ที่นาพอใจยง่ิ แลวยอ มอยางดี ไดหมจวี รน้นั ไปยังพระเชตวันวิหารฝา ยพระจวี รวฑั ฒกะชาวกรงุ พอเห็นจีวรนน้ั เทา นั้นเกิดความโลภอยากไดจึงถามวา ทา นผูเจรญิ จวี รนท้ี านทําเองหรือ ? พระจวี รวัฑฒกะบา นนอกกลา ววา ขอรับทา นผมู อี ายุ ผมทําเอง. พระจีวรวฑั ฒกะชาวกรงุ กลา ววาทานผูเ จริญ ทานจงใหจ วี รผนื นีแ้ กผมเถดิ ทานจกั ไดผ ืนอืน่ . พระจีวรวฑั ฒกะบานนอกกลาววา ทา นผมู ีอายุ พวกผมเปนพระบานนอก หาปจ จัยไดยาก ผมใหจีวรผืนนี้แกทา นแลว ตวั เองจกั หม อะไร. พระจีวรวฑั ฒกะชาวกรงุ กลาววา ทานผูเจรญิ ผาสาฎกใหม ๆ ในสํานกั ของผมมอี ยู ทา นจง
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 357ถือเอาผาสาฎกเหลานั้นกระทาํ จีวรของทา นเถดิ . พระจีวรวัฑฒกะบา นนอกกลา ววา ทา นผมู อี ายุ ผมแสดงหัตถกรรมในจวี รน้ี กเ็ มอ่ื ทา นพดู อยา งน้ีผมจะอาจทาํ ไดอยางไร ทา นจงถือเอาจวี รผนื น้ัน แลวใหจ วี รทีท่ าํ ดว ยผา เกาแกพ ระจวี รวฑั ฒกะชาวกรุงนน้ั แลวถอื เอาผาสาฏกใหม ๆ ลวงพระจีวรวฑั ฒกะชาวกรุงนนั้ แลว หลกี ไป. ฝายพระจวี รวฑั ฒกะผอู ยูในพระเชตวัน กห็ มจวี รนั้น พอลวงไป ๒-๓ วนั จึงซกั ดว ยนํา้ รอ น เหน็ วาเปนผาเกา ครํา่ ครากล็ ะอาย.ความท่ีพระจวี รวัฑฒกะชาวกรงุ น้นั ถูกลวง เกิดปรากฏไปในทามกลางสงฆว าเขาวาพระจวี รวฑั ฒกะผอู ยูในพระเชตวนั ถูกพระจวี รวัฑฒกะบา นนอกลวงเอาแลว . อยูมาวันหนง่ึ ภกิ ษุท้ังหลายพากันนง่ั กลาวเร่ืองนั้น ในโรงธรรมสภาพระศาสดาเสด็จมาแลวตรสั ถามวา ภิกษุท้ังหลาย บดั น้ี พวกเธอนงั่ สนทนากนั ดว ยเรือ่ งอะไรหนอ ? ภกิ ษเุ หลานน้ั พากนั กราบทลู เร่อื งนน้ั ใหท รงทราบ.พระศาสดาตรัสวา ดกู อ นภิกษทุ ง้ั หลาย พระจวี รวฑั ฒกะผูอยใู นพระเชตวนัยอมลอลวงภกิ ษุอ่นื ในบดั น้เี ทาน้นั หามิได แมใ นกาลกอ น ก็ลอ ลวงมาแลวเหมือนกนั ฝา ยพระจีวรวฑั ฒกะชาวบานนอก ไดลอลวงพระจีวรวฑั ฒกะผูอยูในพระเชตวนั รปู น้ี ในบดั นเี้ ทา น้นั ก็หามไิ ด แมใ นกาลกอ น ก็ไดล อ ลวงแลวเหมือนกัน แลวทรงนําอดตี นิทานมา ดงั ตอ ไปน้ี ในอดตี กาล พระโพธิสัตวบ ังเกิดเปนรุกขเทวดาอยูท ต่ี น ไมซ ึ่งต้งั อาศยัสระปทุมแหง หนง่ึ อยใู นราวปา แหง หนง่ึ . ในกาลน้นั คราวฤดูรอน นาํ้ ในสระแหงหน่ึงซึ่งไมใ หญน ัก ไดน อ ยลง แตใ นสระนั้นมปี ลาเปนอนั มาก. ครัง้ น้นันกยางตัวหนงึ่ เหน็ ปลาทั้งหลายแลว คิดวา เราจักลวงกินปลาเหลาน้นั ดวยอบุ ายสกั อยา ง จงึ ไปน่ังคดิ อยทู ี่ชายนาํ้ . ลาํ ดับนนั้ ปลาทั้งหลายเหน็ นกยางนน้ั จึงถามวา เจานาย ทานนั่งคดิ ถงึ อะไรอยหู รอื ? นกยางกลาววา เรานัง่ คิดถึงพวกทาน. ปลาทัง้ หลายถามวา เจา นาย ทานคดิ ถงึ เราอยางไร. นกยาง
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 358กลา ววา เรานัง่ คดิ ถงึ พวกทา นวา นํ้าในสระน้ีนอย ทเี่ ท่ยี วก็นอ ย และความรอนมีมาก บดั น้ี ปลาเหลา นจี้ ักกระทาํ อยางไร. ลําดบั นนั้ พวกปลาจึงกลา ววา เจา นาย พวกเราจะการทําอยางไร. นกยางกลาววา ถา ทา นทง้ั หลายจะกระทําตามคําของเรา เราจะเอาจงอยปากคาบบรรดาพวกทา นคราวละตวั นาํไปปลอ ยยังสระใหญแหงหน่ึง ซึ่งดารดาษดว ยปทุม ๕ ส.ี ปลาทง้ั หลายกลาววา เจานาย ตัง้ แตป ฐมกปั มา ช่อื วานกยางผคู ดิ ดีตอพวกปลา ยอมไมมีทา นประสงคจะกินบรรดาพวกเราทีละตัว พวกเราไมเ ช่อื ทา น. นกยางกลาววาเราจกั ไมกิน ก็ถาพวกทา นไมเ ชื่อเราวาสระน้าํ มี พวกทานจงสงปลาตัวหนง่ึไปดูสระนํ้าพรอมกับเรา. ปลาท้ังหลายเชอื่ นกยางนั้น คดิ วา ปลาตัวน้ีสามารถท้งั ทางนํา้ และทางบก จงึ ไดใหป ลาทั้งใหญทง้ั คําตัวหนง่ึ ไปดว ยคาํ วา ทานจงเอาปลาตัวนีไ้ ป. นกยางน้ันดาบปลาตัวนัน้ นําไปปลอ ยในสระ แสดงสระท้งัหมดแลว นาํ กลบั มาปลอยในสํานกั ของปลาเหลานน้ั . ปลานนั้ จงึ พรรณนาสมบัติของสระแกปลาเหลา นน้ั . ปลาเหลา น้นั ไดฟ ง ถอ ยคําของปลาตวั นน้ั เปนผอู ยากจะไป จึงพากนั กลาววา ดีละ เจานาย ทา นจงคาบพวกเราไป นกยางคาบปลาตวั ทัง้ ดําทั้งใหญตวั แรกนนั้ นัน่ แหละ แลวนําไปยังฝง ของสระน้ําแสดงสระน้ําใหเ หน็ แลวชอนทีต่ น กมุ ซึ่งเกดิ อยรู มิ สระนํา้ แลวสอดปลานัน้ เขาในระหวา งคา คบ จิกดวยจะงอยปากใหต ายแลวกนิ เนอ้ื ทงิ้ กา งใหตกลงท่โี คนตนไมแลว กลบั ไป พดู วา ปลาตัวนน้ั เราปลอ ยไปแลว ปลาตวั อนื่ จงมา แลวคาบเอาทลี ะตัวโดยอบุ ายนนั้ กินปลาหมด กลบั มาอกี แมป ลาตัวหน่ึงกไ็ มเหน็ . กใ็ นสระนมี้ ปี ูเหลอื อยูต ัวหนง่ึ นกยางเปน ผอู ยากจะกนิ ปูแมตัวนั้นจึงกลา ววา ปผู เู จริญ เรานาํ ปลาทงั้ หมดนัน้ ไปปลอยในสระใหญอ นั ดารดาษดวยปทุม มาเถดิ ทาน แมทา นเราก็จักนําไป. ปถู ามวา ทานเม่ือจะพาเราไปจักพาไปอยา งไร ?. นกยางกลาววา เราจกั คาบพาเอาไป. ปูกลา ววา ทานเมื่อ
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 359พาไปอยา งนี้ จกั ทาํ เราใหต กลงมา เราจกั ไมไ ปกับทา น. นกยางกลา ววาอยากลวั เลย เราจักคาบทา นใหด แี ลวจงึ ไป. ปคู ิดวา ชือ่ วาการคาบเอาปลาไปปลอ ยในสระ ยอมไมม แี กน กยางนี้ กถ็ านกยางจักปลอยเราลงในสระ ขอ น้ีเปนการดี หากจักไมปลอย เราจักตดั คอนน้ั เอาชวี ติ เสีย. ลาํ ดบั นนั้ ปจู ึงกลา วกะนกยางนนั้ อยางนว้ี า ดกู อนนกยางผูส หาย ทา นจักไมอ าจคาบเอาเราไปใหดไี ด ก็เราคาบดวยจึงจะเปน การคาบที่ดี ถา เราจกั ไดเ อากา มคาบคอทา นไซรเราจกั กระทาํ คอของทานใหเ ปน ของอนั เราคาบดีแลว จงึ จกั ไปกบั ทา น. นกยางน้ันคิดแคจะลวงปนู ั้น หารไู มว า ปนู ้ีลวงเรา จึงรับคําวาตกลง. ปูจงึเอากา มทง้ั สองของมนั คาบคอนกยางนนั้ ไวแนน ประหน่งึ คีบดว ยคมี ของชางทอง แลวกลาววา ทา นจงไปเดีย๋ วน.ี้ นกยางนั้นนําปูนนั้ ไปใหเหน็ สระแลวบา ยหนาไปทางตน กมุ . ปูกลา ววา ลงุ สระนอ้ี ยูขา งโนน แตท า นจะนาํ ไปขางน้ี. นกยางกลา ววา เราเปนลงุ ท่นี า รัก แตเจาไมไ ดเปนหลานเราเลยหนอแลว กลา ววา เจาเห็นจะทาํ ความสาํ คัญวา นกยางนีเ้ ปน ทาสของเรา พาเราเทีย่ วไปอยู เจา จงดกู างปลาท่โี คนตน กมุ นัน่ แมเจา เรากจ็ ักกินเสีย เหมอื นกินปลาทัง้ หมดน้นั . ปูกลาววา ปลาเหลา นั้น ทานกินได เพราะความทีต่ นเปน ปลาโง แตเราจักไมใหท า นกินเรา แตท า นนน่ั แหละจัก ถงึ ความพินาศดว ยวา ทา นไมรูวา ถกู เราลวง เพราะความเปนคนโง เราแมทง้ั สอง เมอ่ื จะตายก็จกั ตายดวยกนั เรานั่นจักตัดศีรษะของทา นใหกระเดน ลงบนภาคพืน้ กลา วแลวจึงเอากามปานประหนง่ึ คมี หนบี คอนกยางนัน้ . นกยางน้ันอาปาก น้าํ ตาไหลออกจากนัยนต าทงั้ สองขา ง ถูกมรณภยั คุกคาม จงึ กลา ววา ขา แตน ายเราจกั ไมกนิ ทา น ทานจงใหช วี ิตเราเถดิ . ปกู ลา ววา ถาเมื่อเปน อยา งนน้ั ทา นรอนลงแลว ปลอยเราลงในสระ. นกยางนัน้ หวนกลบั มารอ นลงยังสระน่ันแหละแลว วางปูไวบ นหลงั เปอกตม ณ ทีร่ มิ สระ. ปตู ัดคอนกยางนน้ั ขาดจมลงไป
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 360ในน้าํ เหมอื นตัดกานโกมทุ ดว ยกรรไกรฉะนนั้ . เทวดาผูสิงอยูท่ีตน กมุ เหน็ ความอศั จรรยน นั้ เมื่อจะใหสาธุการทาํ ปาใหบ ันลอื ลั่น จึงกลาวคาถานด้ี ว ยเสียงอันไพเราะวา บคุ คลผใู ชป ญญาหลอกลวงผอู ืน่ ยอ มไมไ ด ความสุขเปนนิตย เพราะผใู ชป ญ ญาหลอกลวงคนอน่ื ยอ มประสบผลแหงบาปกรรมทต่ี นทําไว เหมอื นนก ยางถกู ปูหนบี คอฉะนั้น. บรรดาบทเหลาน้นั บทวา นาจฺจนฺต นิกติปฺปฺโ นกิ ตยฺ าสขุ เมธติ ความวา การหลอกลวง เรียกวา นิกติ บคุ คลผูม ปี ญ ญาชอื่ วานกิ ติ คอื ผูมปี ญ ญาหลอกลวง ยอ มไมถ งึ ความสุขโดยสว นเดยี ว คอื ไมอ าจดํารงอยู ในความสุขน้ันแหละ ตลอดกาลเปนนิตย เพราะการลวง คือการหลอกลวงนั้น แตวายอ มถึงแตความพนิ าศโดยสว นเดียวเทา นน้ั . บทวาอาราเธติ แปลวา ยอ มไดเฉพาะ อธิบายวา บุคคลผูลามกมปี ญญาหลอกลวง คอื มปี ญ ญาอันสาํ เหนยี กความเปนคนคดโกง ยอ มไดเฉพาะคอื ยอมประสบผลแหงบาปที่คนไดก ระทาํ ไว. ยอมประสบผลบาปอยา งไร ? ยอมประสบผลบาป เหมอื นนกยางคอขาดเพราะปฉู ะนัน้ อธบิ ายวา บาปบคุ คลยอ มประสบ คอื ยอ มไดเฉพาะภยั ในปจ จบุ ันหรือในโลกหนา เพราะบาปที่ตนทาํ ไว เหมอื นนกยางถึงการถกู ตัดคอขาดเพราะปูฉะน้ัน. มหาสตั วเ มื่อจะประกาศเน้อื ความน้ี จึงแสดงธรรมยงั ปา ใหบนั ลือลนั่ . พระศาสดาตรสั วา ดกู อนภกิ ษุท้งั หลาย ภิกษุจวี รวัฑฒกะชาวกรุงถูกภิกษุจีวระวัฑฒกะชาวบานนอกนน้ั นัน่ แหละ ลวงเอาแลว ในบัดนเ้ี ทา นั้นหามิได แมใ นอดตี กาลก็ถกู ลวงมาแลวเหมอื นกนั ครน้ั ทรงนาํ พระธรรม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376