Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอน การบัญชีชั้นกลาง 2

เอกสารประกอบการสอน การบัญชีชั้นกลาง 2

Published by kitthanachon01, 2022-06-14 00:34:41

Description: เอกสารประกอบการสอน การบัญชีชั้นกลาง 2

Search

Read the Text Version

150 แบบฝกหดั ทายบท 1. การเลิกหางหุนสว น หมายถงึ อะไรทาํ ไดก ว่ี ิธอี ะไรบาง 2. ผูชําระบัญชีเก่ียวขอ งกับการเลิกหา งหนุ สว นอยางไร 3. ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1055 1056 และ 1057 กลาวถึงเหตุผลในการ เลกิ หา งหุนสว นโดยสรปุ มอี ะไรบาง 4. แอน ตาย นก เปนหุนสวนกันรวมกันจัดตั้งเปนหางหุนสวนสามพ่ีนอง แบงกําไรขาดทุน เทากันไดประกอบการคารวมกนมาเปนเวลาหลายป ตอมาเศรษฐกิจของประเทศไมดีทําให หางหุนสวนสามพี่นองประสบกับปญหาขาดทุน จึงตกลงเลิกกิจการเม่ือวันที่ 1 กรกฏาคม 25x1 หลงั จากปดบญั ชคี รึ่งป หาผลการดาํ เนนิ งานแลว งบดลุ ของหางหนุ สว นปรากฏดงั น้ี หา งหุนสวน สามพน่ี อง งบดุล ณ วันท่ี 30 มิถนุ ายน 25x1 (หนว ย:บาท) สินทรพั ย หนส้ี นิ และสว นของผเู ปน หนุ สว น สนิ ทรพั ยหมนุ เวยี น หน้สี ินหมนุ เวยี น เงินสด 60,000 เจาหนี้ 100,000 ลกู หน้ี (สทุ ธิ) 140,000 ต๋ัวเงนิ จาย 40,000 140,000 สนิ คาคงเหลือ 100,000 เงนิ กู – แอน 10,000 ลูกหนีแ้ ละเงินใหกยู ืมแกผเู ปน หุนสว น เงินกู – ตา ย 30,000 40,000 กระแสทุน – นก 20,000 สวนของผเู ปนหุนสว น ทีด่ นิ อาคารและอปุ กรณ ทนุ – แอน 180,000 สนิ ทรพั ยถ าวร (สุทธิ) 400,000 ทนุ – ตาย 180,000 ทนุ – นก 180,000 540,000 720,000 720,000 150

151 ผูชําระบัญชีไดดําเนินการขายสินทรัพยท่ีมีอยูท้ังส้ินในคร้ังเดียวไดเงินสุทธิ 340,000 บาท เสียคาใชจายในการชาํ ระบัญชีจาํ นวน 30,000 บาท ใหทาํ 1. งบชําระบญั ชีของหา งหุนสวนสามพ่ีนอง ณ วนั ที่ 1 กรกฎาคม 25x1 2. บันทึกรายการเก่ยี วกบั การชําระบญั ชใี นสมุดรายวันทว่ั ไป 5. ดี จัง และเลย เปนหุนสวนกัน แบงกําไรขาดทุนกัน 50% 30% และ20% ตามลําดับ หางหุนสวน ไดปดบัญชีทุกวันท่ี 31 ธันวาคมของทุกป ตอมาทั้งสามคนมีความเห็นสอดคลองกันที่จะเลิก กจิ การหางหุนสวนรวมการคา ในวันท่ี 31 กรกฎาคม 25x2 งบดุลในวนั นป้ี รากฏดังนี้ หางหุนสวน สามการคา งบดุล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 25x2 (หนว ย : บาท) สินทรัพย หนี้สนิ และสว นของผูเปน หนุ สวน เงนิ สด 37,500 เจาหนี้ 54,000 สินทรพั ย (สทุ ธิ) 500,000 คา ใชจา ยคา งจา ย 3,500 เงินกู – ดี 24,000 เงินกู – จัง 16,000 ทุน – ดี 120,000 ทนุ – จัง 150,000 ทนุ – เลย 170,000 537,500 537,500 หางหุนสวนไดดําเนินการขายสินทรัพยที่มีอยูท้ังหมดได 370,000 บาท โดยเสีย คาใชจ ายในการเลกิ กิจการเปน เงนิ 13,000 บาท ใหทํา 1. งบชาํ ระบัญชี วันท่ี 31 กรกฎาคม 25x1 2. บนั ทึกรายการในสมดุ รายวนั ท่วั ไปเกี่ยวกบั การชําระบัญชี 151

152 7. เจ พลอย พี เปนหุนสวนกันแบงกําไรขาดทุนกันในอัตราสวน 3 : 2 : 5 ไดรวมกันจัดต้ังหาง หุนสวนสามหลาน มาเปนเวลาหลายป การดําเนินงานในระยะหลัง ๆ ไมประสบผลสําเร็จ เทา ทีค่ วร จึงไดต กลงรว มกันทจ่ี ะเลกิ กิจการในวนั ท่ี 31 ธันวาคม 25x3 โดยมีงบดุลปรากฏดงั น้ี หางหนุ สว น สามหลาน งบดุล ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 25x3 (หนว ย : บาท) สินทรัพย เงินสด 30,000 ต๋ัวเงนิ รบั 120,000 ลูกหนี้ 90,000 หกั คาเผอ่ื หนส้ี งสยั จะสญู 9,000 81,000 สินคา 129,000 อาคาร 550,000 หัก คาเสื่อมราคาสะสม - อาคาร 110,000 440,000 800,000 หนสี้ นิ และสวนของผูเ ปน หนุ สวน เจาหนี้การคา 86,000 เจาหนี้เงนิ กู 300,000 เงินกู – พลอย 14,000 ทนุ - เจ 100,000 ทุน - พลอย 60,000 ทุน - พี 240,000 400,000 800,000 152

153 หางหุนสวนไดดําเนินการขายสินทรัพยท่ีมีอยูทั้งหมดภายในวันเดียวไดเงินสด ทั้งสิ้น 400,000 บาท จึงไดดําเนินตามข้ันตอนของการชําระบัญชี มีคาใชจายเกิดข้ึนจํานวน 20,000 บาท ปรากฏวา พลอยสามารถนําเงินสดมาชําระสวนขาดของตนได แต เจ ไมสามารถนํา เงนิ มาชาํ ระสวนขาดได เพราะเปนบคุ คลมหี นส้ี ินลนพนตัว ใหท าํ 1. งบชาํ ระบัญชีในวนั เลกิ กจิ การหา งหุน สว น 2. บันทึกรายการในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป 8. ตอ ไปนเ้ี ปนงบดลุ กอ นการเลิกหา งหนุ สวนสามตอ ณ วนั ท่ี 31 มนี าคม 25x3 ซง่ึ มนี ายตอ นายแตน และนายเตา เปนหุนสวนกันแบง กาํ ไรขาดทนุ ในอัตราสว น 2 : 3 : 4 หา งหุนสวน สามตอ งบดลุ ณ วันที่ 31 เมษายน 25x3 (หนว ย : บาท) สินทรพั ย หน้ีสินและสว นของผูเปน หนุ สว น เงนิ สด 100,000 เจา หน้ี 180,000 สินทรพั ยอ่นื ๆ (สุทธิ) 400,000 เงินกู – นายแตน 20,000 ทุน – นายตอ 20,000 ทุน – นายแตน 120,000 ทุน – นายเตา 160,000 300,000 500,000 500,000 ผูเปนหุนสวนท้ังสามไดตกลงเลิกกิจการเมื่อวันที่ 3 เมษายน 25x3 โดยการขาย สินทรัพยและจายคืนทุนเปนงวดและกรณีที่หุนสวนคนใดมียอดทุนคงเหลือทางดานเดบิต สามารถนําเงินมาชาํ ระสวนขาดได การขายสินทรัพยม ีดังน้ี วนั ที่ 5 พฤษภาคม ขายสนิ ทรพั ยม ูลคา 100,000 บาท ไดเ งิน 118,000 บาท วนั ท่ี 20 พฤษภาคม ขายสินทรพั ยทีเ่ หลอื ไดเ งิน 274,000 บาท 153

154 ใหทํา 1. งบแสดงการชําระบัญชี 2. แสดงการคํานวณการจายคืนทนุ 3. บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ทัว่ ไป 9. เริง ราญ รวย รอง เปนหุนสวนกัน ดําเนินกิจการคาเปนหางหุนสวน รํ่ารวย โดยประสบ ผลสําเร็จในการคาดวยดีเสมอมา ตอมาปรากฏวาเริง และ ราญ ไมสามารถรวมดําเนินการคาใน หางหุนสวนไดอีกตอไป หุนสวนทั้งสี่จึงไดตกลงเลิกกิจการหางหุนสวนในวันที่ 1 กันยายน 25x3 โดยมยี อดคงเหลอื ของบัญชสี นิ ทรัพย หน้ีสนิ และทุน ดงั น้ี สินทรัพยส ุทธิ 348,000 หนีส้ นิ 100,000 เงนิ กู - เรงิ 20,000 ทนุ – เริง 54,000 ทุน – ราญ 100,000 ทุน - รวย 42,000 ทุน - รอง 44,000 หางหนุ สวนไดดาํ เนินการขายสินทรพั ยท ีม่ ีอยทู ้ังหมด ยกเวนเงินสด จํานวน 12,000 บาท ทุกครั้งที่มีการขายสินทรัพยไดดําเนินการคืนทุนใหแกผูเปนหุนสวนเทาท่ีมีเงินสดอยู โดยมี รายละเอียดของการขายสนิ ทรัพยในแตละครง้ั ดงั นี้ วนั ทขี่ ายสินทรัพย ราคาสนิ ทรพั ยต ามบัญชี จาํ นวนเงนิ ทข่ี ายได 1 ก.ย. 25x3 168,000 108,000 20 ต.ค. 25x3 140,000 100,000 7 พ.ย. 25x3 32,000 24,000 31 ธ.ค. 25x3 8,000 2,000 154

155 ผูเปนหุนสวนท้ังหมดไดตกลงแบงกําไรขาดทุนกันดังน้ี คือ เริง 20% ราญ 40% รวย 10% และ รอง 30% ใหทาํ : 1. งบชาํ ระบญั ชี ในการเลกิ กิจการของหา งหุน สว น 2. แสดงการคํานวณการจา ยคืนทุนในแตล ะคร้งั 3. บนั ทกึ รายการเลิกกิจการหา งหุนสวนในสมุดรายวันทว่ั ไป 10. แด จัง กึม เปนหุนสวนกันแบงกําไรขาดทุน ในอัตรา 1 : 2 : 2 ไดตกลงที่จะเลิกกิจการเม่ือ วนั ท่ี 1 ตุลาคม 25x3 งบดลุ กอนเลกิ กจิ การมดี งั นี้ หางหนุ สวนเกาหลี งบดุล ณ วนั ที่ 1 ตลุ าคม 25x3 (หนว ย : บาท) สนิ ทรพั ย หน้สี นิ และสว นของผเู ปน หนุ สว น เงนิ สด 114,000 เจาหนกี้ ารคา 51,400 ลูกหน้ี 50,000 คา ใชจ ายคางจา ย 8,600 หกั คาเผอ่ื หนสี้ งสัยจะสญู 10,000 40,000 กระแสทนุ – แด 40,000 สนิ คา คงเหลอื 89,000 กระแสทนุ – จงั 32,000 ทีด่ ิน 180,000 กระแสทุน – กึม 48,0000 120,000 อาคาร 250,000 ทุน – แด 110,000 หัก คา เสอื่ มราคาสะสม 75,000 175,000 ทนุ – จงั 180,000 อปุ กรณส าํ นักงาน 70,000 ทุน – กมึ 170,000 460,000 หกั คาเส่อื มราคาสะสม 28,000 42,000 640,000 640,000 ผูเปนหุนสวนไดแตงต้ังผูชําระบัญชีเสียคาใชจายในการชําระบัญชีจํานวน 4,000 บาท โดยดําเนนิ การขายสนิ ทรัพยและจายคนื ทุนทกุ ครัง้ ที่มีการขายสนิ ทรัพยด งั นี้ พ.ค. 5 ขายท่ีดนิ อาคารและอุปกรณไ ดเงนิ 220,000 บาท เสียคา นายหนา 5% 155

156 ม.ิ ย. 25 จา ยชาํ ระหนี้ภายนอก ก.ค. 11 เก็บเงนิ จากลูกหนไ้ี ดทัง้ หมดสวนสนิ คา ขายไดเ งนิ 30,000 บาท ใหทํา 1. งบชาํ ระบญั ชี 2. แสดงการคาํ นวณการจา ยคนื ทุนในแตล ะงวด 3. บันทกึ รายการในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป 156

บทท่ี 5 บรษิ ัทจาํ กัด การดําเนินงานของธุรกิจอีกรูปแบบหน่ึงที่มีการระดมทุนไดมากกวาหางหุนสวน คือ บริษัท ซึ่งมีสวนของเจาของ เรียกวา สวนของผูถือหุน โดยแบงทุนเปนออกเปนหุน แตละหุนมี มูลคาเทา ๆ กัน หุนในบริษัทสามารถโอนเปล่ียนมือไดงายแมจะมีการเปลี่ยนตัวผูถือหุนซึ่งเปน เจาของบริษทั เน่ืองจากผูถือหุนตางรับผิดจํากัดจํานวนเพียงไมเกินจํานวนเงินท่ีตนยังสงใชไมครบ มูลคาของหุนที่ตนถือ นอกจากน้ีบริษัทยังสามารถควบเขากับบริษัทอื่นเพื่อขยายธุรกิจไดงายกวา โดยใชเสียงขางมากซึ่งนับตามจํานวนหุนท่ีผูถือหุนถืออยูมิใชนับจากจํานวนผูถือหุนดังหาง หนุ สวน แตบริษัทมีขอเสียคือมีกฎเกณฑ ขอบังคับยุงยากซับซอนมากกวาหางหุนสวน โดยท่ัวไป บริษัทจะถูกจัดต้ังในลักษณะเปนบริษัทจํากัด หรือบริษัทมหาชนจํากัด ซึ่งมีรายละเอียดในการ จัดต้งั และการบันทึกบัญชดี ังน้ี ประเภทของบรษิ ทั จาํ กดั ตามกฎหมายไดจาํ แนกประเภทของบรษิ ัทจาํ กัดไวเปน 2 ประภท ดงั น้ี 1. บริษัทจํากัด (company limited) ถูกจัดตั้งและกํากับโดยประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย มีผูเร่ิมจัดตั้ง 7 คนข้ึนไป และตองรวมกันซื้อหุนของบริษัทที่จัดตั้งข้ึนอยางนอยคน ละ 1 หนุ ทงั้ นี้การเสนอขายหนุ ตอประชาชนจะลงโฆษณาช้ชี วนไมไ ด 2. บรษิ ัทมหาชน (public company limited) ถูกจัดต้ังและกํากับโดยพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2544 มีผูเริ่มจัดต้ัง 15 คนขึ้นไป และตอง รวมกันจองหุนของบรษัทโดยหุนท่ีจองท้ังหมดตองเปนหุนที่ชําระคาหุนเปนมูลคารวมไมนอย กวา 5% ของทุนจดทะเบียน ซึ่งไมมีการกําหนดจํานวนทุนจดทะเบียนขั้นตํ่าไว และมี วัตถุประสงคท่ีจะโฆษณาเสนอขายหุนตอประชาชนได ทั้งน้ีมูลคาหุนและการชําระเงินคาหุน หุนของบริษัทมหาชนจํากัดแตละหุนจะตองมีมูลคาเทากัน และตองชําระคาหุนครั้งเดียวเต็ม มลู คา หนุ 157

158 การดาํ เนินการจดั ตั้งบริษทั จาํ กดั ในการจดั ต้งั บริษทั จาํ กัดนัน้ จะตอ งดาํ เนินการตามลําดับข้ันตอน ดงั นี้ 1. ตองมีผเู ร่มิ กอ การตัง้ แต 7 คนข้นึ ไป เขาชือ่ กนั ทําหนังสือบริคณหสนธิขน้ึ แลว ไปจดทะเบยี น โดยหนงั สือบรคิ ณหส นธิ ตอ งมีรายการตอ ไปนี้ 1.1 ชอ่ื บริษทั ซึง่ ตองมคี าํ วา จํากดั ไวปลายชือ่ นั้นเสมอ 1.2 ทอี่ ยขู องสํานักงานของบรษิ ัทซึ่งบอกทะเบยี นนั้นจะตัง้ อยู ณทใ่ี ดในราชอาณาจักร 1.3 วตั ถปุ ระสงคท ั้งหลายของบรษิ ัท 1.4 ถอ ยคําที่แสดงวา ความรบั ผดิ ของผูถอื หนุ จะมจี ํากัด 1.5 จาํ นวนทนุ เรือนหุน ซง่ึ บริษัทคดิ กาํ หนดจะจดทะเบยี นแบง ออกเปนหุนมมี ลู คา กําหนดหนุ ละเทาใด 1.6 ชื่อ สาํ นกั อาชีวะ และลายมือชือ่ ของบรรดาผูเริ่มกอการท้ังจํานวนหุน ซงึ่ ตางคนตางเขา ชอื่ ไวค นละเทา ใด หนังสอื บริคณหสนธติ องจดั ทําไวอยางนอย 2 ฉบับ และใหล งลายมอื ช่ือของผู เริ่มกอ การ และพยานลงชือ่ รับรองดว ย 2 คน หนงั สอื บรคิ ณหสนธฉิ บับหน่ึงใหไปจดทะเบยี น และมอบไวใหท ่ี ณ สาํ นกั งานทไ่ี ปจดทะเบยี นซึง่ บอกทะเบยี นท่ีตั้งสาํ นกั งานของบรษิ ัทนัน้ 2. เมื่อไดจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิแลว ผูเริ่มกอการตองจัดใหหุนของ บรษิ ัทที่จะตง้ั ข้ึนน้นั มีผเู ขา ชื่อจองซอ้ื หุนจนครบ 3. ดําเนินการประชุมต้ังบริษัท โดยตองสงคําบอกกลาวนัดประชุมใหผูจองทราบ ลวงหนา อยา งนอ ย 7 วัน กอนวันประชุม 4. เม่ือไดประชมุ ต้ังบริษทั และที่ประชุมไดแ ตงตั้งกรรมการบรษิ ทั แลว ผูเร่ิมกอการ ตองมอบหมายกจิ การใหกรรมการบรษิ ทั รบั ไปดาํ เนนิ การตอ ไป 5. กรรมการบริษัทเรียกใหผูเร่ิมกอการและผูจองหุนชําระคาหุนอยางนอยรอยละ 25 ของมูลคาหุน (ทุนของบรษิ ัทจะแบง เปน กห่ี นุ กไ็ ด แตต อ งไมต ํา่ กวา หุนละ 5 บาท) 6. เมื่อไดรับเงินคาหุนแลว กรรมการตองไปจดทะเบียนเปนบริษัทภายใน 3 เดือน ภายหลังจากการประชุมตั้งบริษัท โดยคําขอและขอความที่ลงในทะเบียนนั้น ใหระบุรายการ ดังตอ ไปนี้ 6.1 จํานวนหุนท้ังสิ้นซ่ึงไดมีผูเขาช่ือซ้ือ หรือไดจัดออกใหแลว แยกใหปรากฎ วาเปน ชนิดหนุ สามัญเทา ใด หุน บรุ มิ สทิ ธเิ ทาใด 158

159 6.2 จํานวนหุนสามัญหรือหุนบุริมสิทธิ ซ่ึงออกใหเหมือนหนึ่งวาไดใชเต็มคา แลวหรือไดใชแตบางสวนแลว นอกจากท่ีใชเปนตัวเงินและหุนที่ไดใชแตบางสวนนั้น ใหบอก วา ไดใชแลว เพียงใด 6.3 จํานวนเงนิ ที่ไดใ ชแ ลวหนุ ละเทาใด 6.4 จาํ นวนเงนิ ทีไ่ ดร ับไวเ ปน คา หุน รวมทง้ั ส้นิ เทา ใด 6.5 ช่ือ อาชีวะ และท่สี าํ นักของกรรมการทกุ คน 6.6 ถาใหกรรมการตางมีอํานาจจัดการงานของบริษัทโดยลําพังตัว ใหแสดง อาํ นาจของกรรมการนั้น ๆ วา คนใดมเี พยี งใด และบอกจํานวนหรือช่ือกรรมการ ซึ่งจะลงชื่อเปน สาํ คญั ผูกพันบริษัทไดน น้ั ดว ย 6.7 ถาตั้งบริษัทขึ้นชั่วคราวตามกําหนดระยะเวลาหนึ่ง ใหบอกกําหนด ระยะเวลานน้ั ดวย 6.8 ท่ตี ัง้ สาํ นักงานแหงใหญแ ละสาขาทง้ั หมด หนาทีข่ องบริษัทจํากัด บรษิ ัทเมื่อจดทะเบยี นเปน นติ บิ ุคคลจึงมีหนาที่ตามกฎหมายดงั นี้ 1. บริษัทจํากัด ตองทํางบการเงินอยางนอยครั้งหนึ่งทุกรอบสิบสองเดือน โดยมีผูสอบ บัญชีอยางนอยหน่ึงคนตรวจสอบ แลวนําเสนอที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนอนุมัติงบการเงิน ภายใน 4 เดือน นับแตวันปดรอบปบัญชี พรอมท้ังย่ืนงบการเงินตอสํานักบริการขอมูลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการคา หรือท่ีสํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาจังหวัด ภายใน 1 เดือน นับต้ังแตวัน อนมุ ตั งิ บการเงิน ทง้ั น้ีรวมถึงบริษัทที่แมวาจะยังมิไดประกอบกิจการก็ตาม จะตองสงงบการเงิน ดว ย มฉิ ะนน้ั มคี วามผิดตอ งระวางโทษปรบั ไมเ กินหาหมืน่ บาท 2. จัดทําบัญชีรายช่ือผูถือหุน ณ วันที่ที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนและใหนําสงตอ สํานักงานทะเบียนหุนสวนบริษัทกรุงเทพมหานคร หรือท่ีสํานักงานทะเบียนหุนสวนบริษัท จังหวัดแลวแตกรณี ภายใน 14 วัน นับจากวันที่ประชุม มิฉะนั้นมีความผิดตองระวางโทษปรับ ไมเกินหน่งึ หมืน่ บาท 3. ตองจัดใหมีการประชุมใหญสามัญ ภายหลัง 6 เดือน นับแตวันจดทะเบียน เปนนิติ บุคคล และจัดประชุมครง้ั ตอไปอยางนอ ย 1 ครัง้ ทุกระยะเวลา 12 เดอื น 159

160 4. ตองจัดทําใบหุนมอบใหผูถือหุนของบริษัท มิฉะนั้นมีความผิดตองระวางโทษปรับ ไมเกนิ หนง่ึ หม่นื บาท 5. ตองจัดทําสมุดทะเบียนผูถือหุนของบริษัท มิฉะนั้นมีความผิดตองระวางโทษ ปรับ ไมเกนิ สองหมน่ื บาท การดาํ เนนิ การจัดตงั้ บรษิ ทั มหาชน ในการจดั ต้ังบรษิ ทั มหาชนนน้ั จะตอ งดาํ เนนิ การตามลาํ ดบั ข้ันตอน ดังนี้ 1. ตองมีผูเร่ิมกอการต้ังแต 15 คนขึ้นไป เขาชื่อกันทําหนังสือบริคณหสนธิข้ึน แลว ใหผูเริ่มจัดตั้งบริษัทมหาชนทุกคนลงลายมือช่ือและนําไปขอจดทะเบียนตอนายทะเบียน โดย หนังสือบริคณหสนธิ ตอ งมรี ายการตอไปน้ี 1.1 ชื่อบริษัทมหาชน ซึ่งตองมีคําวา บริษัท นําหนา และ จํากัด (มหาชน) ตอทายหรือใชอักษรยอวา บมจ. นําหนา แทนคําวา บริษัท และจํากัด (มหาชน) ก็ได แตในกรณี ที่ใชชื่อเปนอักษรภาษาตางประเทศ จะใชคําซ่ึงมีความหมายวาเปน บริษัทมหาชนจํากัด ตามที่ กาํ หนดในกฎกระทรวงแทนกไ็ ด ท้ังน้ี ชื่อบริษัทมหาชนตองมีลักษณะตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติบรษิ ัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 ดังตอไปนี้ (สุรศักด์ิ วาจาสิทธ์ิ, และคนอื่น ๆ, 2547, หนา 136 – 138) 1.1.1 บริษัทมหาชนตองไมใชช่ือดังตอไปน้ี เปนชื่อหรือสวนหนึ่งของช่ือ บริษัทมหาชนโดยมไิ ดรบั พระบรมราชานุญาต หรือมิไดร บั อนญุ าตจากรฐั มนตรที ีเ่ กยี่ วขอ ง 1.1.1.1 พระนามของพระเจาแผนดิน พระมเหสี หรือรัชทายาท หรอื พระบรมวงศานวุ งศในราชวงศป จจบุ นั 1.1.1.2 ช่ือประเทศ กระทรวง ทบวง กรม สวนราชการ ราชการ สวนทอ งถ่นิ หนว ยงานของรฐั หรือองคการของรฐั 1.1.1.3 ช่ือที่ความหมายแสดงวา บริษัทมหาชนหรือกิจการของ บริษัทมหาชนเปนบริษัทมหาชนหรือกิจการท่ีรัฐบาล กระทรวง ทบวง กรม สวนราชการ ราชการสวนทองถ่ิน หนวยงานของรัฐหรือองคการของรัฐท้ังของประเทศไทยหรือตางประเทศ รวมทัง้ องคการระหวางประเทศ เปนเจาของหรอื ผูดําเนินกิจการ 160

161 1.1.2 บริษัทมหาชนตองไมใชชื่อ คํา หรือขอความท่ีมีลักษณะอยางหน่ึง อยางใดดังตอไปนี้ เปน ชอ่ื หรือสว นหนงึ่ ของช่ือบริษทั มหาชน 1.1.2.1 ขัดตอแนวนโยบายแหงรัฐ หรือขัดตอความสงบเรียบรอย หรือศีลธรรมอันดขี องประชาชน 1.1.2.2 อาจกอใหเกิดความสําคัญผิด หรือการหลอกลวงประชาชน เก่ยี วกบั ความเปนเจา ของ ลกั ษณะ วัตถุประสงค หรอื ฐานะของกจิ การ หรือในประการอืน่ 1.1.3 ในกรณีที่ใชชื่อเปนภาษาตางประเทศ บริษัทมหาชนตองเขียนชื่อ ภาษาตางประเทศนั้นเปนภาษาอังกฤษ ใหมีการออกเสียงตรงกันหรือมีความหมายตรงกับชื่อ ภาษาไทย โดยมคี าํ วา public company limited ตอทา ยชือ่ 1.1.4 ในกรณีท่บี รษิ ทั มหาชนประกอบกจิ การธนาคาร บริษัทมหาชนจะไม ใชค ําวา บริษทั นาํ หนา ชือ่ ก็ได 1.2 ความประสงคของบริษทั มหาชนทีจ่ ะเสนอขายหนุ ตอ ประชาชน 1.3 วตั ถุประสงคของบริษทั มหาชน ซ่ึงตอ งระบุประเภทของธุรกจิ โดยชัดแจง 1.4 ทนุ จดทะเบยี นซง่ึ ตองแสดงชนดิ จาํ นวน และมูลคาของหนุ 1.5 ทต่ี ้งั สาํ นักงานใหญซ ึ่งตองระบุวา จะตง้ั อยู ณ ทองท่ีใดในราชอาณาจักร 1.6 ช่ือ วันเดือนปเกิด สัญชาติ และที่อยูของผูเร่ิมจัดตั้งบริษัทมหาชน และ จาํ นวนหนุ ท่แี ตละคนจองไว 2. เม่ือไดจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิแลว ใหผูเร่ิมจัดตั้งบริษัทมหาชนหรือ บริษัทมหาชนจัดสงเอกสารเก่ียวกับการเสนอขายหุนตอประชาชนที่ตองจัดทําและสงให หนวยงานตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย โดยสงใหนายทะเบียนหนึ่งชุด ภายใน 15 วันนบั แตวันทีส่ ง ใหแกห นว ยงานดงั กลาวแกน ายทะเบียนตามหลักเกณฑ วิธกี าร และ เงื่อนไขทน่ี ายทะเบยี นกาํ หนด 3. ดําเนินการประชุมต้ังบริษัทมหาชน โดยผูเร่ิมจัดต้ังบริษัทมหาชนตองเรียก ประชุมจัดตั้งบริษัทมหาชนเมื่อมีการจองหุนครบตามจํานวนที่กําหนดไวในหนังสือชี้ชวน หรือ เอกสารเกี่ยวกับการเสนอขายหุนตอประชาชน ซึ่งตองไมนอยกวารอยละ 50 ของจํานวนหุนท่ี กําหนดไวในหนังสือบริคณหสนธิ โดยการเรียกประชุมดังกลาวตองกระทําภายใน 2 เดือนนับ แตวันท่ีมีการจองหนุ ครบตามจํานวนทก่ี ําหนดไวแตตองไมเกิน 6 เดือนนับแตวันที่นายทะเบียน รบั จดทะเบียนหนงั สือบริคณหสนธิ 4. เม่ือไดประชุมตง้ั บริษทั มหาชน และท่ีประชุมไดเลือกตั้งกรรมการบริษัทมหาชน แลว ผูเริ่มจัดต้ังบริษัทมหาชนตองมอบกิจการและเอกสารท้ังปวงของบริษัทมหาชนแก 161

162 คณะกรรมการภายใน 7 วันนับแตวันท่ีเสร็จส้ินการประชุมจัดต้ังบริษัทมหาชนใหกรรมการ บรษิ ทั มหาชนรบั ไปดาํ เนนิ การตอ ไป ทงั้ นี้จาํ นวนกรรมการ ตองมีจํานวนไมนอยกวา 5 คน และ กรรมการไมนอ ยกวา กึง่ หน่งึ ตองมีท่ีอยูในประเทศไทย 5. เม่ือไดรับมอบกิจการและเอกสารแลว ใหคณะกรรมการมีหนังสือแจงใหผูจองหุน ชําระเงนิ คาหุนเตม็ จาํ นวนภายในเวลาทก่ี ําหนดไวในหนังสอื แจง ซง่ึ ตอ งไมนอ ยกวา 40 วนั นับแต วันท่ีไดรับหนังสือแจงพรอมกับเรียกใหผูจองหุนท่ีชําระคาหุนดวยทรัพยสินอ่ืนท่ีมิใชตัวเงินโอน กรรมสทิ ธทิ รพั ยส ินนนั้ หรอื ทําเอกสารหลกั ฐานการใชสทิ ธิตา ง ๆ ใหแกบริษทั มหาชนตามวิธีการ และภายในเวลาที่กําหนดไวในหนังสือแจงน้ันซ่ึงตองไมนอยกวา 1 เดือนนับแตวันจดทะเบียน บริษทั มหาชน ในการรับชําระคาหนุ จะหกั กลบลบหนกี้ ับผเู รม่ิ จดั ตั้งบรษิ ทั มหาชนไมไ ด หากผูจ องหุนคนใดไมสามารถชาํ ระเงนิ คาหนุ หรือไมโ อนกรรมสิทธทิ รพั ยส นิ ใหแ ก บริษัทมหาชน ใหคณะกรรมการมีหนังสือเตือนใหชําระคาหุนใหเสร็จส้ิน หรือดําเนินการโอน กรรมสิทธิ์ทรพั ยสนิ หรือทาํ เอกสารหลักฐานการใชสิทธิตาง ๆ ใหแกบริษัทมหาชนภายใน 14 วัน นับแตวันท่ีมีหนังสือเตือนพรอมกับแจงไปดวยวาถาไมดําเนินการตามวิธีการ และภายใน กําหนดเวลาดงั กลาว คณะกรรมการจะนาํ หนุ น้ันออกขายทอดตลาดตอไป 6. เม่ือไดรับชําระเงินคาหุนครบตามขอ 3 แลว ใหคณะกรรมการดําเนินการขอจด ทะเบียนเปนบริษัทมหาชนภายใน 3 เดือน นับแตวันประชุมจัดตั้งบริษัทมหาชนโดยแสดง ดังตอ ไปนี้ 6.1 ทนุ ชาํ ระแลว ซงึ่ ตอ งระบุวา เปน เงินทงั้ สนิ้ เทา ใด 6.2 จํานวนหนุ ที่จําหนา ยไดท งั้ หมดโดยแยกออกเปน 6.2.1 หุนสามญั และหนุ บรุ ิมสิทธิ (ถาม)ี ท่ีชาํ ระคาหนุ เปนตัวเงนิ 6.2.2 หุนสามัญและหุนบุริมสิทธิ (ถามี) ท่ีชําระคาหุนดวยสินทรัพยอื่น นอกจากตัวเงนิ และแสดงเกณฑในการตรี าคาทรพั ยสนิ ดว ย 6.2.3 หุนสามัญและหุนบุริมสิทธิ (ถามี) ท่ีชําระคาหุนดวยทรัพยสินอ่ืน หรือใหใชลิขสิทธิในงานวรรณกรรม ศิลปะ หรือวิทยาศาสตร สิทธิบัตร เครื่องหมายการคา แบบหรอื หนุ จําลอง แผนผัง สตู ร หรอื กรรมวิธีลับใด ๆ หรือใหขอสนเทศเก่ียวกับประสบการณ ทางอตุ สาหกรรม การพาณิชย หรือวทิ ยาศาสตร และแสดงรายการโดยสงั เขปไวด ว ย 6.3 ชอ่ื วนั เดือนปเ กิด สัญชาติ และทีอ่ ยูของกรรมการ 6.4 ชื่อและจํานวนกรรมการซึ่งมีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทมหาชนและ ขอ จํากดั อํานาจ (ถา ม)ี ตามท่รี ะบไุ วในขอ บังคับ 6.5 ท่ีตั้งสาํ นักงานใหญแ ละสํานักงานสาขา (ถาม)ี 162

163 หนาที่ของบริษัทมหาชนจํากัด บริษทั มหาชนเปน นิตบิ คุ คลเชน เดยี วกบั บรษิ ัทจํากัด ซึง่ มีหนาทด่ี งั นี้ 1. บริษัทมหาชนตองย่ืนบัญชีรายชื่อผูถือหุน วันประชุมสามัญประจําปตอนาย ทะเบียนภายใน 1 เดอื น นับแตว นั เสรจ็ สนิ้ การประชุม 2. บริษัทมหาชนตองจัดสงรายงานประจําป สําเนางบการเงิน สําเนารายงานการ ประชุมผูถือหุนเก่ียวกับ อนุมัติงบการเงิน การจัดสรรกําไร และการแบงเงินปนผลไปยัง นายทะเบียนภายใน 1 เดือน นับแตวันที่ ที่ประชุมผูถือหุนอนุมัติงบการเงินน้ันและตองโฆษณา ทางหนงั สือพิมพอ ยา งนอ ย 1 วนั 3. บริษัทมหาชนตองจัดทําปายชื่อไวหนาสํานักงานแหงใหญและสํานักงานสาขา 4. บริษัทมหาชนตองแสดงช่ือ ท่ีตั้งสํานักงาน และเลขทะเบียนไวในจดหมาย ประกาศใบแจง ความ ใบสงของและใบเสรจ็ รับเงนิ 5. บริษัทมหาชนตองจัดทําใบหุนมอบแกผูถือหุนภายใน 2 เดือน นับแตวันที่ไดรับ จดทะเบียนเปน บริษัทมหาชนจํากดั หรือนบั แตวนั ทไี่ ดร ับเงนิ คา หนุ ครบและไดจ ดทะเบยี นเพม่ิ ทนุ แลว 6. บริษทั มหาชนตองจดั ทาํ ทะเบยี นผถู อื หุน ทะเบียนกรรมการ รายงาน การประชุม คณะกรรรมการ และรายงานการประชุมผูถือหุนของบริษัทมหาชน เก็บไว ณ สํานักงานแหงใหญ หรือเกบ็ ไวทบี่ ุคคลอน่ื ทไี่ ดแจง ใหน ายทะเบยี นทราบแลว 7. บรษิ ทั มหาชนตองจัดทาํ และเกบ็ รกั ษา บัญชี งบดุล บัญชีกําไรขาดทุน รวมท้ังให ผูส อบบัญชี ตรวจสอบ และนําเสนอตอท่ปี ระชุมผูถอื หนุ เพ่ือพิจารณาอนมุ ัติ 8. บริษัทมหาชนตองจัดสงรายงานประจําปของคณะกรรมการ งบดุล บัญชีกําไร ขาดทุนท่ีผูสอบบัญชีตรวจสอบแลว ใหผูถือหุนพรอมหนังสือนัดประชุมสามัญประจําป 9. บริษัทมหาชนตองโฆษณาทางหนังสือพิมพเก่ียวกับเอกสารดังตอไปนี้ 9.1 หนงั สอื นดั ประชมุ ตงั้ บริษัทมหาชน 9.2 หนงั สือนดั ประชมุ ผถู ือหุน 9.3 การจายเงินปนผล 9.4 งบดุลทีผ่ ูถ ือหนุ อนุมตั ิ 9.5 การเพิ่มทุนและลดทุน ภายหลงั ไดร บั จดทะเบยี นแลว 163

164 วิธกี ารจดทะเบยี น การจดทะเบียนบริษัทมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. ในกรณีจดทะเบียนจัดต้ังบริษัทหรือแกไขเปล่ียนแปลงช่ือบริษัท ใหผูเร่ิมกอการ หรือกรรมการของบริษัทจะตองขอตรวจและจองช่ือบริษัทเสียกอนวา ชื่อท่ีจะใชนั้นจะซ้ําหรือ คลายกับคนอ่ืนที่จดทะเบียนไวกอนหรือไม เมื่อจองช่ือไดแลวจะตองขอจดทะเบียนหนังสือ บรคิ ณหสนธิ ภายใน 30 วนั 2. ซื้อคําขอและแบบพิมพจากกรมพัฒนาธุรกิจการคา หรือสํานักงานบริการจด ทะเบยี นธุรกจิ ทัง้ 7 แหง หรอื สาํ นักงานพัฒนาธรุ กิจการคาจังหวัด 3. จัดทําคําขอจดทะเบียนและเอกสารประกอบคําขอยื่นตอนายทะเบียนเพื่อตรวจ พิจารณา 4. ชําระคาธรรมเนียมตามใบส่งั ของเจาหนาท่ี 5. ถาประสงคจะไดหนังสือรับรองรายการในทะเบียนใหยื่นคําขอและชําระ คาธรรมเนียมตอเจา หนาที่ 6. รบั ใบสําคัญแสดงการจดทะเบียนและหนงั สอื รบั รองรายการในทะเบยี นได สถานที่รับจดทะเบียน สถานท่รี ับจดทะเบยี นสามารถย่ืนจดทะเบยี นดว ยตนเองหรือทางอนิ เทอรเน็ตไดด งั น้ี 1. สํานักงานแหงใหญต้ังอยูในกรุงเทพมหานคร สามารถย่ืนจดทะเบียนไดที่ สํานักงานบริการจดทะเบียนธุรกิจ 1-7 และสวนจดทะเบียนกลาง กรมพัฒนาธุรกิจการคา ถนน นนทบรุ ี 1 จงั หวดั นนทบุรี หรอื ทางอินเทอรเ น็ตเวบ็ ไซต www.dbd.go.th 2. สํานักงานแหงใหญตั้งอยูในเขตภูมิกาค สามารถย่ืนจดทะเบียนไดที่สํานักงาน พัฒนาธรุ กิจการคาจงั หวดั น้นั ๆ ยกเวน จงั หวัดนนทบรุ ี สมุทรปราการ และปทมุ ธานี สามารถขอ จดทะเบยี นไดท างอินเทอรเ น็ตเว็บไซต www.dbd.go.th อกี ทางหนึ่ง 164

165 ตารางท่ี 5.1 สรุปกฎหมายทเ่ี ก่ียวของกบั การบญั ชีบริษัท บรษิ ทั จาํ กดั บรษิ ทั มหาชนจํากดั ความหมาย คอื บรษิ ทั ประเภทซึ่งตั้งขึ้นดวยแบง คือ บริษัทประเภทซึ่งตั้งข้ึนดวยความ ทุนเปนหุนมีมูลคาเทา ๆ กัน โดยผู ประสงคที่จะเสนอขายหุนตอประชาชน ถือหุนตางรับผิดจํากัดเพียงไมเกิน โดยผูถือหุนมีความรับผิดจํากัดไมเกิน จํานวนเงินท่ีตนยังสงใชไมครบ จํานวนเงินคาหุนท่ีตองชําระ และ มูลคาของหุนท่ีตนถือ (มาตรา บริษัทดังกลาวไดระบุความประสงค 1094) เชนน้นั ไวในหนังสือบริคณหสนธิ ผเู รมิ่ จะตองมีผูเร่ิมการการจํานวนตั้งแต จะตองมีผูเร่ิมจัดตั้งไมนอยกวา 15 คน 7 คนข้ึนไป ทุกคนจะตองลงช่ือซ้ือ และตองจองซ้ือหุนของบริษัทและหุน หุนอยางนอยคนละ 1 หุน (มาตรา ที่จองตองเปนหุนท่ีชําระคาหุนดวย 1096) เงินรวมกันไมนอยกวารอยละ 5 ของ ทุนจดทะเบยี น (มาตรา 17) ลักษณะของหนุ 1. มลู คา หุนแตล ะหนุ จะตองเทากัน ทํานองเดียวกนั ยกเวน มลู คา หนุ จะมี (มาตรา 1096) มูลคาเทา ใดกไ็ ดแตต อ งมมี ลู คา (แกไข 2. มูลคา หุนจะต่าํ กวา 5 บาทไมไ ด ตามมาตรา 50) (มาตรา 1117) 3. หนุ แบงแยกไมไ ด (มาตรา 1118) 4. การชําระคาหุน ตองใชเ ปน เงนิ จนเตม็ คา หนุ (มาตรา 1119) 5. หุนสามารถโอนกนั ได (มาตรา 1129 วรรคแรก) การออกหนุ บรษิ ทั จะออกหนุ ใหมรี าคาตา่ํ กวา บริษทั ทด่ี ําเนนิ การมาแลว ไมนอ ยกวา มลู คา ของหนุ ท่ตี ัง้ ไวไมไ ด แต 1 ป ถามผี ลขาดทนุ จะเสนอขายหนุ ต่ํา สามารถออกใหมีมูลคาสูงกวา ทตี่ ัง้ กวามลู คา หุน ก็ไดแ ตตองไดร ับความ ไวไ ดถ า หากวา หนงั สอื บรคิ ณห เห็นชอบจากทป่ี ระชมุ ผูถือหนุ กําหนด สนธใิ หอํานาจไว (มาตรา 1105 อตั ราสว นลดไวอยางแนน อนและระบุ วรรคแรกและวรรคสอง) ไวใ นหนงั สอื ช้ีชวนดว ย 165

166 ตารางที่ 5.1 สรปุ กฎหมายทเ่ี กย่ี วของกบั การบัญชีบริษทั (ตอ) บรษิ ัทจาํ กดั บริษัทมหาชนจาํ กดั การเรยี กให การเรียกใหชําระคาหุนคร้ังแรก การเรียกใหชําระคาหุน ใหชําระคา ชาํ ระคาหนุ จะตองไมนอยกวารอยละ 25 หากมี หุนเต็มจํานวน ภายในเวลาท่ีกําหนด ผลของการผิด นดั ไมช าํ ระ การออกหนุ ในราคาที่สูงกวามูลคาที่ (มาตรา 37) คาหนุ กําหนด ในสวนที่ลํ้ามูลคาจะตอง สงใชพรอมกับการสงใชเงินคราว แรก (มาตรา 1110 วรรคสอง) 1. ถา ผถู อื หนุ ชําระคาหุนชากวาเวลา ห า ก ผู จ อ ง หุ น ไ ม ชํ า ร ะ ค า หุ น ที่กําหนดใหชําระ ผูถือหุนจะตอง กรรมการบริษัทก็จะดําเนินการนําหุน เสียดอกเบ้ียนับแตวันที่กําหนดให ของผูน้ันออกขายทอดตลาดข้ันตอนที่ สงเงินคา หนุ จนถงึ วนั ท่สี งเงินคาหุน กฎหมายกาํ หนด (มาตรา 38) เสร็จเรียบรอย อัตราดอกเบ้ีย เปนไปตามขอบังคับของบริษัท ห า ก ไ ม ไ ด ระ บุ ไ ว ใ ห ถื อ อั ต ร า ดอกเบ้ียตามที่กฎหมายกําหนด คือ 7.5% ตอ ป (มาตรา 1122) 2. ถาผูถือหุนคนใดละเลยไมชําระ คาหุนตามวันที่กําหนด กรรมการ บริษัทไดสงจดหมายลงทะเบียน ไปรษณียเปนครั้งท่ีสอง และมี ขอความถึงการริบหุนดวย หากผูถือ หุนยังละเลยไมชําระเงินคาหุนอยู อีกกรรมการบริษัทจะบอกริบหุน เมื่อใดก็ได (มาตรา 1123 และ มาตรา1124) 166

167 ตารางท่ี 5.1 สรปุ กฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ งกบั การบัญชีบริษทั (ตอ) บรษิ ทั จํากัด บริษัทมหาชนจํากัด การรบิ หุน หลังจากริบหุนไปผูถือหุนคางชําระ ทํานองเดยี วกัน คาหุนแลวกรรมการบริษัทจะตอง เอาหุนท่ีริบออกขายทอดตลาดโดย ไมชักชา เม่ือขายทอดตลาดไดเงิน เทาใดก็ใหหักใชคาหุนท่ีคางรวมท้ัง ดอกเบี้ยหากยังมีเงินเหลืออยูก็ตอง คนื ใหผถู อื หนุ ถ า บ ริ ษั ท ริ บ หุ น อ อ ก ข า ย ทอดตลาดไดเงินมาไมพอกับคาหุน ที่คางชําระและดอกเบ้ีย ผูถือหุนที่ ถกู รบิ ตองรับผดิ ชอบ (มาตรา 1125) การถือหุนของ กฎหมายหามบริษัทจํากัดเปน บริษัทอาจซื้อหุนคืนได (แกไขตาม ตนเอง เจาของหุนของตนเองหรือรับจํานํา มาตรา 66/1) หุนของตน (มาตรา 1143) ความหมายของ เงินปนผล คือ เงินจากผลกําไรที่ ทํานองเดียวกัน เงินปนผล บริษัทจายใหแกผูถือหุนโดยคิดตาม สวนจํานวนซึ่งผูถือหุนไดสงใชแลว ในหนุ หน่งึ ๆ (มาตรา 1200) หลักเกณฑใน 1. หามมิใหจายเงินปนผลโดยมิได 1. การจายเงินปนผลตองไดรับอนุญาต การจายเงิน รับอนุญาตที่ประชุมใหญผูถือหุน จากท่ีประชุมผถู อื หนุ ปน ผลให (มาตรา 1201 วรรคแรก) 2.จายจากเงินประเภทอ่ืนนอกจากเงิน ผถู ือหนุ 2. หามมิใหจายเงินปนผลจากเงิน กําไรไมได ประเภทอื่นนอกจากกําไร (มาตรา 3. ถาบริษัทมียอดขายทุนสะสม หาม 1201 วรรคสาม) มใิ หจ ายเงินปน ผล 3. หามมิใหจายเงินปนผลจนกวา 4. เงินปนผลใหแบงตามจํานวนหุน บริษัทจะหายขาดทุน ถาบริษัทเคย หุนละเทาๆ กันเวนแตจะมีขอบังคับ ขาดทนุ มาในปกอ น ๆ บรษิ ทั ตอง กาํ หนดไวเ ปนอยา งอน่ื ในเร่ืองหุน 167

168 ตารางที่ 5.1 สรปุ กฎหมายทเี่ กีย่ วขอ งกับการบญั ชีบริษัท (ตอ) บรษิ ัทจํากัด บริษัทมหาชนจํากัด หลักเกณฑใน นาํ กาํ ไรในปปจ จบุ นั ไปชดใชสวนท่ี บุริมสิทธิ โดยการจายเงินปนผลตอง การจายเงนิ ขาดทุนเสียกอนจนกวาจะหาย ไดร ับอนมุ ัตจิ ากท่ีประชุมผูถ ือหุน ปนผลให ขาดทุนจึงจะจายเงินปนผลได 5. บ ริ ษั ท ต อ ง จั ด ส ร ร กํ า ไ ร สุ ท ธิ ผถู ือหนุ (มาตรา 1201 วรรคสาม) ประจําปสวนหน่ึงไวเปนทุนสํารองไม 4. ตองจัดสรรกําไรไวเปนทุน นอยกวารอยละหาของกําไรสุทธิ สํารองกอนจายเงินปนผลทุกคร้ังที่ ประจําปหักดวยยอดเงินขาดทุนสะสม แจกเงินปนผล บริษัทตองจัดสรร ยกมา (ถามี) จนกวาทุนสํารองนี้จะมี กําไรไวเปนทุนสํารองอยางนอย จํานวนไมนอยกวารอยละสิบของทุน รอยละหาของจํานวนผลกําไรซ่ึง ของทุนจดทะเบียนเวนแตบริษัทจะมี บริษัททํามาหาไดจนกวาทุนสํารอง ขอบังคับหรือกฎหมายอันกําหนดให จะมีจํานวนถึงรอยละสิบของ ตอ งมีทนุ สาํ รองมากกวาน้ัน จํานวนทุนของบริษัทหรือมากกวา 6. บริษัทอาจจะจายเงินปนผลท้ังหมด นั้นหากมีขอบังคับของบริษัทได หรือบางสวนโดยออกเปนหุนสามัญ กาํ หนดไวม ากกวา (มาตรา 1202) ใหมใหแกผูถือหุน โดยไดรับความ เห็นชอบจากทปี่ ระชุมผถู อื หุน ก็ได การเพม่ิ ทนุ ของ บริษัทจํากัดอาจเพ่ิมทุนของบริษัท ทาํ นองเดียวกัน บริษทั ขึ้นไดดวยการออกหุนใหมโดยมติ พิเศษของที่ประชุมผูถือหุน การ ออกหุนใหมตองออกใหมีมูลคาหุน เทา เดิม (มาตรา 1220) หลักเกณฑการ 1. ตองเสนอขายใหแกผูถือหุน เสนอขายหุนท้ังหมดหรือบางสวนก็ เสนอขายหุนที่ ทั้งหลายตามสวนท่ถี ืออยกู อ น ไดโดยจะเสนอขายใหแกผูถือหุนตาม ออกใหม (มาตรา 1222 วรรคแรก) สวนจํานวนที่ผูถือหุนแตละคนถืออยู 2. ถาพนกําหนดวันท่ีกําหนดแลว ก อ น แ ล ว ห รื อ จ ะ เ ส น อ ข า ย ต อ หรือผูถือหุนแจงมาวาไมรับซ้ือ ประชาชนหรือบุคคลอื่นไมวาทั้งหมด กรรมการบริษัทจึงมีสิทธิเอาหุนนั้น หรอื บางสว นกไ็ ด ขายใหแ กผูถ อื หุน คนอื่นหรือจะรบั 168

169 ตารางท่ี 5.1 สรุปกฎหมายทเี่ ก่ยี วขอ งกับการบญั ชีบริษทั (ตอ) บรษิ ทั จาํ กัด บริษัทมหาชนจํากดั ซ้อื ไวเ องกไ็ ด (มาตรา 1222 หลักเกณฑการ วรรคสาม) เสนอขายหุนที่ ออกใหม บริษัทสามารถลดทุนของตนเองลง ในกรณีท่ีบริษัทมีขาดทุนสะสมและ การลดทุนของ บรษิ ทั ไดแตจะลดลงไปใหเหลือตํ่ากวา ไดมีการชดเชยผลขาดทุนสะสมจาก วิธกี ารลดทุน รอยละ 25 ของทุนที่ไดจดทะเบียน กําไรสะสมที่มิไดจัดสรรทุนสํารอง ของบริษัท ไวไ มได (มาตรา 1225) ตามกฎหมายและสวนเกินมูลคาหุน แลวก็ยังมีขาดทุนสะสมอยู บริษัท สามารถลดทุนลงไปเกินกวาหน่ึงในสี่ ของทุนได (แกไขตามมาตรา 119 และ มาตรา 139) 1. ลดมูลคา หุนใหตํ่าลง แตจะลดลง 1. ลดมลู คาหนุ ทําใหทุนจดทะเบียนทั้งหมดของ 2. ลดจาํ นวนหนุ บริษัทเหลือตํ่ากวารอยละ 25 ไมได เปนจํานวนเทาใดและวิธีการใดจะ และบริษัทจะลดมูลคาหุนใหเหลือ กระทําไดเมื่อท่ีประชุมผูถือหุนลงมติ ตาํ่ กวา 5 บาทก็ไมได ดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ 2. ลดจาํ นวนหนุ ใหน อ ยลง ของจํานวนเสียงท้ังหมดของผูถือหุน (มาตรา 1224) ที่ ม า ป ร ะ ชุ ม แ ล ะ มี สิ ท ธิ อ อ ก เ สี ย ง ลงคะแนน ที่มา (นุชจรี พเิ ชฐกุล, 2547, หนา 309 - 311) 169

170 เงินทุนของบรษิ ัท เงินทนุ ของบรษิ ัทสามารถจําแนกไดหลายลกั ษณะดงั น้ี 1. เงินทุนจดทะเบียน (authorized capital) หมายถึง มูลคาของหุนท้ังหมดที่ได จดทะเบียนระบุไวใ นหนงั สือบรคิ ณหส นธิ คํานวณไดด ังนี้ เงินทนุ จดทะเบยี น = จาํ นวนหนุ ท่จี ดทะเบยี น x ราคาตามมลู คาหนุ 2. เงินทุนตามกฎหมาย (legal capital) หมายถงึ มลู คา ของหุนทน่ี าํ ออกจําหนายและ เรียกเกบ็ เงินครบแลวหรือไดออกใบหนุ ไปแลว รวมกับมูลคาหุนทใ่ี หจ อง คาํ นวณไดดังน้ี เงนิ ทนุ ตามกฎหมาย = (จาํ นวนหนุ ทอ่ี อกจําหนา ยแลว + จาํ นวนหนุ ท่ีใหจ อง) x ราคาตามมลู คา หุน 3. เงินทุนที่นํามาลง (paid – in capital) หมายถึง มูลคาของหุนที่ออกจําหนายแลว ซ่ึงเทากับเงินทุนตามกฎหมาย รวมดวยสวนเกินมูลคาหุน หรือหักดวยสวนตํ่ากวามูลคาหุน คาํ นวณไดดังน้ี เงนิ ทุนทนี่ ํามาลง = เงนิ ทุนตามกฎหมาย + สว นเกนิ มูลคาหุน หรอื - สว นต่ํากวามลู คา หุน 4. เงินทุนท่ีออกและเรียกชําระแลว (issued capital) หมายถึง มูลคาของหุนทุนท่ี ออกจาํ หนา ยเรียกเกบ็ เงินครบแลว และออกใบหุน ให คาํ นวณไดดงั น้ี เงนิ ทนุ ทอ่ี อกและเรยี กชําระแลว = จาํ นวนหุนท่ีออกจาํ หนา ยแลว x ราคาตามมลู คา หุน ตวั อยางท่ี 5.1 บริษัท กา มใหญ จาํ กัด จดทะเบยี นหุนสามัญ จาํ นวน 1,000 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท นาํ ออกจาํ หนา ยในราคาหุนละ 12 บาท เรียกเก็บเงินครบแลวจํานวน 800 หุน ที่เหลือมีผูจองซ้ือ หุนครบแลว ใหคาํ นวณหาเงินทนุ ของบรษิ ัท เงนิ ทนุ จดทะเบียน = จํานวนหุน ทจี่ ดทะเบยี น x ราคาตามมลู คาหนุ = 1,000 x 10 = 10,000 บาท เงินทนุ ตามกฎหมาย = (จาํ นวนหนุ ท่ีออกจาํ หนายแลว + จํานวนหุนท่ใี หจอง) x ราคาตามมลู คา หนุ = (800 + 200) x 10 = 10,000 บาท 170

171 เงนิ ทุนทน่ี าํ มาลง = เงินทุนตามกฎหมาย + สวนเกินมลู คา หนุ เงนิ ทุนทอ่ี อกและเรยี กชาํ ระแลว = 10,000 + (1,000 x 20) = 12,000 บาท = จาํ นวนหนุ ท่ีออกจําหนา ยแลว x ราคาตามมูลคา หุน = 800 x 10 = 8,000 บาท สว นของผถู ือหุน สว นของผูถอื หนุ ของบริษัท จะถูกแบงออกเปนหุน หุนละเทา ๆ กัน ทั้งนี้สวนของผู ถือหุนเปนสิทธิสวนไดเสียในสินทรัพยที่เหลือหลังจากการจายชําระหนี้แลว เรียกวา สินทรัพย สุทธิ ซ่ึงการแสดงรายการในสวนของเจา ของระหวา งบรษิ ทั จํากัด กบั บรษิ ทั มหาชนจํากัดมีดงั น้ี 171

172 ตารางท่ี 5.2 เปรยี บเทยี บสวนของเจา ของระหวา งบริษทั จํากดั กบั บรษิ ัทมหาชนจาํ กดั บริษัทจํากัด บรษิ ทั มหาชนจาํ กดั ทุนเรือนหุน ทนุ เรอื นหนุ ทุนจดทะเบยี น ทนุ จดทะเบียน หนุ บรุ มิ สทิ ธิ XXX หุนบรุ มิ สทิ ธิ XXX หนุ สามญั XXX XXX หนุ สามัญ XXX XXX ทนุ ทอี่ อกและชําระแลว ทุนทอ่ี อกและชําระแลว หนุ บรุ ิมสิทธิ XXX หนุ บุริมสทิ ธิ XXX หนุ สามัญ XXX XXX หนุ สามัญ XXX XXX ใบสาํ คัญแสดงสิทธิทจี่ ะซื้อหุน สว นเกนิ (ตํา่ กวา)ทนุ สว นเกนิ (ตํ่ากวา)ทุน สวนเกินมลู คา หุน สว นเกินมูลคาหุน บุริมสทิ ธิ XXX บรุ ิมสิทธิ XXX สว นเกนิ มลู คาหุน สามญั XXX สวนเกินมลู คา หนุ สามญั XXX สว นเกินทุนอนื่ XXX สวนเกินทนุ อ่ืน XXX สวนตาํ่ กวาทนุ อืน่ XXX XXX สวนต่ํากวา ทนุ อ่นื XXX XXX กาํ ไรสะสม กําไรสะสม จัดสรรแลว จัดสรรแลว สาํ รองตามกฎหมาย XXX สาํ รองตามกฎหมาย XXX สํารองอนื่ XXX XXX สํารองอนื่ XXX XXX ยังไมไ ดจ ดั สรร XXX ยงั ไมไ ดจ ดั สรร XXX รวมสว นของผูถ ือหนุ XXX รวมสว นของผูถ อื หนุ XXX ทมี่ า (นุชจรี พิเชฐกุล, 2547, หนา 314) 172

173 ชนดิ ของหนุ ทนุ หุนทุนของบริษัทตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย อาจแบงตามชนิดของใบ หุนไดเปน ใบหุนชนิดระบุชื่อผูถือ และใบหุนชนิดไมระบุช่ือผูถือ โดยหุนชนิดระบุช่ือผูถือจะ ระบุชื่อผูถือหุนอยูบนใบหุน ซึ่งจะออกใหกับผูถือถึงแมวาบริษัทจะยังรับชําระเงินไมครบ การ โอนเปลี่ยนมือจะตองแจงใหบริษัททราบเพื่อทําการเปล่ียนแปลงช่ือผูถือหุนในทะเบียนผูถือหุน พรอมออกใบหุนใหม สวนใบหุนชนิดไมระบุชื่อผูถือ จะเปนใบหุนที่ไมระบุช่ือผูถือหุนไว การโอนเปลีย่ นมือจะทําโดยการสงมอบ โดยทั่วไปการแบงหนุ ทนุ จะแบง ตามการจดทะเบียน ดังน้ี 1. หุนสามัญ (common stock) เปนหุนที่ทุกบริษัทตองจดทะเบียน ผูถือหุนสามัญ เปน ผมู คี วามเสี่ยงตอผลกําไรหรือขาดทุนอันเนื่องมาจากความไมแนนอนในการดําเนินธุรกิจ มี สิทธิในการเลือกกรรมการบริหารบริษัท สิทธิในการลงคะแนนเสียงในท่ีประชุม โดย 1 หุน เทากับ 1 เสยี ง 2. หุนบุริมสิทธิ (preferred stock) หุนบุริมสิทธิเปนหุนที่อาจมีหรือไมมีก็ได ผูถือ หุนบุริมสิทธิจะมีสิทธิเหนือหุนสามัญในเร่ืองการรับเงินปนผล และการไดรับคืนทุนกอนผูถือ หนุ สามัญ แตอาจไมไ ดร บั สทิ ธิในการออกเสยี ง ซ่งึ หนุ บุรมิ สิทธิจาํ แนกไดห ลายลักษณะดงั นี้ 2.1 หุนบุริมสิทธิชนิดไมสะสมเงินปนผล (non – cumulative preferred stock) หุนบุริมสิทธิชนิดนี้จะมีสิทธิไดรับเงินปนผลเฉพาะปท่ีมีการประกาศจายเงินปนผลปเดียว เทานั้น ป เชน ป 25x1 บริษัทไมมีการประกาศจายเงินปนผล แตในป 25x2 บริษัทดําเนินธุรกิจ ประสบความสาํ เร็จสามารถจายปนผลใหกับผูถือหุนได ดังน้ันผูถือหุนบุริมสิทธิชนิดน้ีจึงมีสิทธิ ไดร ับเงินปนผลเพยี งปเดียวเทานนั้ คอื ป 25x2 เปน ตน 2.2 หุนบุริมสิทธิชนิดสะสมเงินปนผล (cumulative preferred stock) หุน บรุ ิมสทิ ธิชนิดนี้เปนหุนบุริมสิทธิท่ีมีสิทธิไดรับเงินปนผลของปที่ไมไดมีการประกาศจายเงินปนผล ซ่ึงอาจไดรับเงินปนผลมากกวา 1 ป เชน ป 25x1 บริษัทไมมีการประกาศจายเงินปนผล แตในป 25x2 บริษัทดําเนินธุรกิจประสบความสําเร็จสามารถจายปนผลใหกับผูถือหุนได ดังน้ันผูถือหุน บุริมสิทธชิ นดิ นี้จะไดร บั เงนิ ปน ผลของ ป 25x1 รวมกับ ป 25x2 เปนตน 2.3 หนุ บรุ ิมสิทธชิ นิดไมรวมรับเงินปนผล (non – participating preferred stock) หุนบุริมสิทธิชนิดน้ีจะไดรับเงินปนผลตามอัตราท่ีกําหนด หรือจํานวนที่กําหนดไวเทานั้น หาก เงินปนผลยังมีเหลืออยูภายหลังหักเงินปนผลของหุนบุริมสิทธิแลวจะเปนของผูถือหุนสามัญ ทง้ั หมด 173

174 2.4 หุนบุริมสิทธิชนิดรวมรับเงินปนผล (participating preferred stock) หุน บุริมสิทธิชนิดน้ีจะไดรับเงินปนผลตามอัตรา หรือจํานวนที่กําหนดแลว 1 คร้ัง และยังมีเงินปนผล เหลืออยูใหจายปนผลใหกับหุนสามัญกอน 1 ครั้ง สวนที่เหลือหลังหักเงินปนผลของหุน บุริมสิทธิ และหุนสามัญรอบแรกแลว และยังมีเงินปนผลเหลืออีกจึงทําการแบงใหกับหุน บุริมสิทธิ และหุนสามัญอีกครั้งหน่ึง ทั้งน้ีการจัดสรรเงินปนผลในคร้ังหลังน้ีหุนบุริมสิทธิอาจ รวมรับเต็มท่ี หรือรวมรับเพียงบางสวน ซ่ึงหากรวมรับเต็มท่ี จะรวมรับตามมูลคาหุนของหุน บุริมสิทธิ สําหรับการรวมรับเพียงบางสวนจะรวมรับตามอัตราที่กําหนดและรวมรับเฉพาะสวน ท่ีขาดไปเทา นั้น 2.5 หุนบุริมสิทธิชนิดแปลงสภาพได (convertible preferred stock) หุน บุริมสิทธิชนิดนี้จะตองกําหนดต้ังแตการออกหุนวาเปนหุนบุริมสิทธิชนิดแปลงสภาพเปน หลักทรัพยช นดิ อ่ืนได โดยทวั่ ไปมกั จะแปลงเปนหนุ สามัญ 2.6 หุนบุริมสิทธิชนิดเรียกไถคืนได (redeemable preferred stock) หุนบุริมสิทธิ ชนิดนี้จะสามารถเรียกมาไถคืนไดตามเงื่อนไข และระยะเวลาที่กําหนด ซ่ึงโดยทั่วไปหุน บุรมิ สิทธไิ มม ีกําหนดระยะเวลาไถค ืน การบนั ทึกบญั ชเี ก่ียวกบั การจาํ หนา ยหนุ การออกหุนอาจจําแนกไดเปนหุนท่ีไมมีมูลคา และหุนที่มีมูลคา โดยหุนท่ีไมมี มลู คา เปน หนุ ที่ไมร ะบรุ าคาของหุน ไวในใบหุน หรืออาจมีราคาท่ีกาํ หนดไว (stated value) แทน ราคาตามมลู คา (par value) เมือ่ จําหนายหุน ไดเมอ่ื ใดจงึ จะบันทกึ บัญชีดวยราคาที่จําหนาย แตใน ประเทศไทยกําหนดใหออกหุนท่ีมีมูลคาไดเพียงประเภทเดียวโดยกําหนดมูลคาหุนไวในใบหุน นอกจากนกี้ ารเก็บเงินคา หุนอาจเก็บเงินคร้ังเดียวหรืออาจใหจองหุนกอนจึงเรียกเก็บเงินก็ได ซึ่ง ในบทนีจ้ ะขออธบิ ายเฉพาะหนุ ท่ีมมี ูลคา ตามกฎหมายไทยเทานั้น ดังน้ี 1. การจําหนายหุนเปนเงินสด ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1 การ เรยี กเก็บเงนิ คาหนุ จะตอ งเรยี กเก็บเงนิ ครง้ั เดยี ว และในมาตรา 1105 ไดกําหนดใหบริษัทขายหุน ในราคาต่ํากวามูลคาหุนไมได แตถาเปนบริษัทมหาชนดําเนินธุรกิจมาแลวไมต่ํากวา 1 ป และ ประสบผลขาดทุนสามารถขายหุนในราคาตํ่ากวามูลคาหุนได นอกจากน้ีการจําหนายหุนเปน เงินสดจะสามารถจําหนายหุนในราคาเทากับราคาตามมูลคาหุน ราคาสูงกวามูลคาหุน (at premium) หรือราคาตาํ่ กวามูลคา หุน (at discount) ก็ได ดังนี้ 174

175 ตัวอยางที่ 5.2 วันท่ี 1 เมษายน 25x1 บริษทั สุดทะเล จํากัด จดทะเบียนหุนสามัญจํานวน 10,000 หุน มูลคาหุนละ 100บาท และหุนบุริมสิทธิจํานวน 8,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท ตอมาไดมี การจําหนา ยหุน ออกไปดงั นี้ 25x1 เม.ย. 7 จาํ หนายหุนสามัญ จํานวน 4,000 หุน ในราคาหุนละ 100 บาท 10 จําหนายหุน บรุ มิ สิทธิ จาํ นวน 8,000 หนุ ในราคาหนุ ละ 90 บาท 12 จาํ หนา ยหนุ สามัญ จาํ นวน 6,000 หนุ ในราคาหุนละ 120 บาท การบันทึกบญั ชเี ปน ดังนี้ สมดุ รายวันทว่ั ไป วันท่ี รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต บญั ชี 25x1 1 บนั ทกึ ความทรงจํา : จดทะเบยี นหนุ สามัญ เม.ย. จาํ นวน 10,000 หุน มูลคาหนุ ละ 100 บาท และหนุ บรุ ิมสทิ ธิจํานวน 8,000 หุน มูลคา หนุ ละ 100 บาท 7 เงนิ สด (4,000 x 100) 400,000 - ทนุ หนุ สามัญ (4,000 x 100) 400,000 - ขายหนุ สามญั ในราคาตามมลู คาหนุ 10 เงนิ สด (8,000 x 90) 720,000 - สว นตํ่ากวา มลู คา หนุ บุรมิ สิทธิ (8,000 x 10) 80,000 - ทุนหุน บรุ มิ สทิ ธิ (8,000 x 100) 800,000 - ขายหุน บุริมสทิ ธิในราคาตํ่ากวามลู คา หุน 12 เงนิ สด (6,000 x 120) 720,000 - สว นเกินมูลคาหนุ หนุ สามัญ (6,000 x 20) 120,000 - ทนุ หนุ สามญั (6,000 x 100) 600,000 - ขายหุน สามญั ในราคาสงู กวา มลู คา หุน 175

176 จากตัวอยางท่ี 5.2 การลงบันทึกรายการในวันจดทะเบียนหุนจะบันทึกโดยการ บันทึกเปนความทรงจําไว เนื่องจากในวันจดทะเบียนหุนยังไมมีรายการท่ีกระทบตอการ เปล่ียนแปลงในสินทรัพย หน้ีสิน หรือสวนของผูถือหุน ในกรณีจําหนายหุนจะบันทึกบัญชีทุน หุนสามัญ หรือทุนหุนบุริมสิทธิดวยราคาตามมูลคาหุนเสมอ สวนผลตางที่เกิดจากการจําหนาย หุนในราคาสงู กวา ราคาตามมลู คา หนุ เรยี กวา สวนเกินมลู คาหนุ หนุ ซงึ่ ควรระบวุ า เปน ของหนุ ชนดิ ใด และมยี อดคงเหลอื ดานเดบติ สวนผลตา งท่เี กดิ จากการจาํ หนา ยหุน ในราคาตํ่ากวา ราคาตามบัญชี เรียกวา สวนต่ํากวาราคาตามมูลคาหุน ซ่ึงควรระบุวาเปนของหุนชนิดใด และมียอดคงเหลือดาน เครดิต ซ่ึงจากการบันทกึ บัญชสี ามารถนํามาจดั ทํางบดุลเฉพาะสวนของผถู อื หนุ ไดดังน้ี บริษัท สดุ ทะเล จํากัด (หนว ย:บาท) งบดุล (เฉพาะสว นของผถู อื หนุ ) 800,000 ณ วันที่ 30 เมษายน 25x1 1,000,000 1,800,000 ทุนเรือนหนุ 800,000 ทนุ จดทะเบียน 1,000,000 1,800,000 หุน บรุ มิ สทิ ธิ หุนสามญั (80,000) ทนุ ท่ีออกและชําระแลว 120,000 40,000 หุนบรุ มิ สิทธิ หนุ สามญั 1,840,000 สว นเกิน(ต่ํากวา)มูลคา หุน สวนตา่ํ กวามูลคาหุน บรุ ิมสทิ ธิ สว นเกินมลู คาหุนหนุ สามญั รวมสว นของผถู ือหนุ 176

177 2. การจําหนายหุนโดยใหจอง เปนการนําหุนท่ีจดทะเบียนไวออกจําหนายโดยการ ใหจ องอาจเกิดจากบรษิ ัทมีความตองการท่ีจะเสนอขายหุนใหกับประชาชนท่ัวไปไดใชสิทธิโดย เทาเทียมกัน ซึ่งเปนวิธีท่ีบริษัทมหาชนใชกันเน่ืองจากมีผูตองการซ้ือหุนเปนจํานวนมากจึงเปด ใหมีการจองหนุ โดยกาํ หนดระยะเวลาในการจองไวอยางชัดเจน การจองหุนหากมีผูประสงคซื้อ หนุ จองหนุ มากกวา จํานวนหนุ ทจ่ี ดทะเบียนไวก็อาจใชวิธสี มุ เลือก หรอื อาจใชว ธิ จี ดั ลาํ ดบั เรยี งวา ใครสั่งจองกอนไดกอนก็ได ท้ังน้ีประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไดกําหนดใหผูซื้อหุนตอง จายชําระคาหุนท้ังหมดในคราวเดียวจะแยกจายชําระเปนงวด ๆ ไมได แตในบริษัทจํากัดมิไดมี การระบไุ ว ดังนัน้ ในวนั ท่จี องซอ้ื หนุ อาจลงบันทกึ บัญชีไดในหลายลกั ษณะดังน้ี 2.1 ณ วันที่จองหุนบริษัทไมเรียกชําระเงิน กลาวคือในวันที่จองซ้ือหุนผูจองซ้ือหุน ไมตองจายชําระคาหุนใด ๆ ท้ังสิ้น แตบริษัทจะมีการกําหนดเง่ือนไขในการชําระเงินไวหากผู จองซื้อหุนไดรับเลือกใหเปนผูถือหุนของบริษัทในกรณีท่ีมีผูจองซื้อหุนมากกวาจํานวนหุนที่ จดทะเบยี นไว ทัง้ น้โี ดยการรบั ชําระคาหุนครั้งแรกตองไมใหนอยกวารอยละ 25 ของราคาตามมูลคา หุนรวมกับสวนเกินมูลคาหุนหุน หรือหักดวยสวนตํ่ากวามูลคาหุนท้ังหมดในครั้งแรก และเมื่อ บริษัทยังไมไดรับชําระคาหุนครบตามมูลคาที่ขายจึงยังไมออกใบหุนใหกับผูจองซ้ือหุน ดังนั้น ในการจองหุนจึงต้ังผูซื้อหนุ ไวเ ปน ลกู หนี้ และบันทึกทุนหนุ ใหจ องโดยระบุชนดิ ของหุน ตวั อยางที่ 5.3 ตอ ไปน้ีเปน รายการเกีย่ วกับการจดทะเบยี นและจาํ หนา ยหนุ ของบรษิ ทั สขุ ใจ จํากดั 25x1 ม.ค. 2 จดทะเบยี นหุนสามญั จํานวน 100,000 หุน ราคาตามมูลคา หุน ละ 10 บาท และหุน บรุ ิมสทิ ธจิ าํ นวน 50,000 หนุ ราคาตามมูลคาหนุ ละ 100 บาท 5 เปดใหจองซ้ือหุนสามัญ ในราคาหุนละ 15 บาท และหุนบุริมสิทธิ ในราคาหุนละ 98 บาท โดยยงั ไมร ับชําระคา หุน ซึง่ มผี จู องมาครบตามจํานวน 10 รบั ชาํ ระคา หนุ งวดแรก ท้ังหุนสามญั และหุนบรุ มิ สทิ ธิ 30% ของราคาตามมูลคา หนุ 15 รับชาํ ระคา หุนที่เหลือทั้งหมด พรอมทั้งออกใบหุนใหกับผูถือหุนสามัญและผูถือหุน บุริมสทิ ธิ การคาํ นวณ การเรยี กชาํ ระเงนิ คาหุน สามัญ เรยี กชาํ ระเงินงวดแรก 30% = 30% ของราคาตามมูลคาหนุ + สว นเกนิ มลู คา หนุ หนุ = (30% x 10) + 5 = 8 บาทตอหุน 177

178 เรียกชาํ ระเงินคาหนุ ที่เหลืออีก 70% = 70% ของราคาตามมูลคาหุน = (70% x 10) = 7 บาทตอหุน การคํานวณ การเรียกชําระเงนิ คา หนุ บุรมิ สิทธิ เรียกชาํ ระเงนิ งวดแรก 30% = 30% ของราคาตามมูลคา หุน – สว นตาํ่ กวา มลู คา หนุ = (30% x 100) - 2 = 28 บาทตอ หุน เรียกชําระเงินคา หุน ทเี่ หลืออกี 70% = 70% ของราคาตามมูลคา หุน = (70% x 100) = 70 บาทตอหนุ การบันทกึ บัญชเี ปนดังน้ี สมุดรายวันทวั่ ไป วนั ท่ี รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต บัญชี 25x1 2 บนั ทกึ ความทรงจํา : จดทะเบียนหนุ สามัญ ม.ค. จาํ นวน 100,000 หนุ มูลคาหนุ ละ 10 บาท และหุน บุริมสทิ ธิจํานวน 50,000 หนุ ราคาตามมูลคา หุนละ 100 บาท 5 ลูกหนี้คาจองหนุ สามัญ (100,000 x 15) 1,500,000 - สวนเกินมลู คาหนุ สามัญ (ผลตา ง) 500,000 - ทุนหุน สามัญใหจ อง (100,000 x 10) 1,000,000 - ขายหนุ สามัญในราคาตามมลู คา หนุ ลกู หน้คี าจองหุนบรุ มิ สิทธิ (50,000 x 98) 4,900,000 - สวนตํ่ากวามูลคา หุนบุรมิ สิทธิ(ผลตาง) 100,000 - ทนุ หุน บรุ มิ สิทธิใหจอง(50,000x100) 5,000,000 - ขายหุน บรุ ิมสทิ ธิในราคาตามมูลคา หุน 178

179 สมดุ รายวนั ทว่ั ไป วันท่ี รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต บัญชี 25x1 10 เงนิ สด (100,000 x 8) 800,000 - ม.ค. ลกู หน้ีคา จองหนุ สามัญ 800,000 - เรยี กชาํ ระเงินคาหุนสามัญงวดแรก 30% พรอมสวนเกนิ มูลคา หุน เงินสด (50,000 x 28) 1,400,000 - ลูกหนีค้ า จองหนุ บรุ ิมสทิ ธิ 1,400,000 - เรียกชําระเงินคาหุนบุริมสทิ ธงิ วดแรก 30% พรอมสว นเกนิ มลู คา หุน 12 เงินสด (100,000 x 7) + (50,000 x 70) 4,200,000 - ลูกหน้ีคาจองหนุ สามัญ 700,000 - ลูกหนค้ี าจองหนุ บุรมิ สิทธิ 3,500,000 - เรยี กชาํ ระเงินคาหุนทเ่ี หลืออกี 70% ทุนหนุ สามัญใหจอง 1,500,000 - ทนุ หนุ บรุ ิมสทิ ธิใหจ อง 5,000,000 - ทนุ หุน สามัญ 1,500,000 - ทุนหุนบรุ ิมสทิ ธิ 5,000,000 - ออกใบหนุ ใหผซู ื้อหนุ ทจ่ี า ยชําระคา หุน ครบแลว จากตัวอยางท่ี 5.3 การลงบันทึกบัญชีเก่ียวกับการรับชําระเงินคาหุนอาจบันทึก รายการแยกกันระหวางหุนสามัญกับหุนบุริมสิทธิตามรายการวันท่ี 5 มกราคม หรืออาจลงการ รับชําระเงินคาหนุ รวมกันกไดต ามรายการวนั ท่ี 12 มกราคมก็ได 2.2 ณ วันท่ีจองซื้อหุนบริษัทเรียกชําระเงินบางสวน การเรียกชําระคาหุน ณ วันท่ี จองซ้ือหุนถือเปนการชําระคาหุนงวดแรก ซึ่งตองเรียกเก็บไมต่ํากวา 25% รวมสวนเกินหรือหัก ดวยสว นตํ่ากวามลู คา หุน โดยแยกเปน 2 ลักษณะ ดังน้ี 2.2.1 เงินท่ีเรียกชําระถือเปนการชําระคาหุนบางสวน ณ วันท่ีจองซื้อหุน บริษัทไดเรียกชําระคาหุนบางสวนโดยถือวาเปนการรับชําระเงินคาหุนงวดแรก ดังน้ันในการ 179

180 บันทึกบัญชีจะรับรูเงินสด และสิทธิในการจองหุน ซ่ึงต้ังเปนบัญชีลูกนี้คาจองหุนไวจนกวาจะ เกบ็ เงินครบจึงจะออกใบหุนใหผูจ องซ้ือหุนดังตวั อยางตอไปนี้ ตัวอยางท่ี 5.4 ตอไปน้ีเปนรายการเกยี่ วกบั การจดทะเบยี นและจําหนายหุนของบรษิ ัท สบาย จํากัด 25x1 ม.ค. 2 จดทะเบียนหนุ สามัญจํานวน 10,000 หุน ราคาตามมลู คา หุน ละ 100 บาท 5 เปดใหจองซื้อหุนสามัญ ในราคาหุนละ 120 บาท โดยเรียกรับชําระคาหุนในวันนี้ 25% ของราคาตามมลู คา หนุ พรอ มสวนเกินมูลคาหนุ 10 รบั ชาํ ระคาหนุ งวดที่ 2 อีก 40% ของราคาตามมูลคาหนุ 15 รับชาํ ระคา หุนที่เหลือทงั้ หมด พรอ มทง้ั ออกใบหนุ ใหกับผูถอื หุนสามัญ การคํานวณ การเรียกชาํ ระเงนิ คาหนุ สามัญ เรยี กชําระเงินงวดแรก 25% = 25% ของราคาตามมลู คาหุน + สว นเกนิ มลู คา หนุ หุน = (25% x 100) + 20 = 45 บาทตอหนุ เรยี กชําระเงินคา หุนงวดท่ี 2 อีก 40% = 40% ของราคาตามมลู คา หนุ = (40% x 100) = 40 บาทตอหุน เรียกชาํ ระเงนิ คา หนุ งวดสุดทาย 35% = 35% ของราคาตามมลู คาหนุ = (35% x 100) = 35 บาทตอหนุ 180

181 การบันทกึ บญั ชีเปนดงั น้ี สมดุ รายวันทวั่ ไป วนั ที่ รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต บญั ชี 25x1 2 บนั ทึกความทรงจาํ : จดทะเบยี นหนุ สามัญ ม.ค. จํานวน 10,000 หนุ มูลคา หนุ ละ 100 บาท 5 เงนิ สด (10,000 x 45) 450,000 - ลกู หนี้คา จองหุนสามัญ (10,000 x 75) 750,000 - สวนเกินมูลคา หนุ สามัญ (ผลตาง) 200,000 - ทนุ หนุ สามญั ใหจ อง (10,000 x 100) 1,000,000 - ใหจ องหนุ สามญั ในราคาหนุ ละ 120 บาท โดยเรยี กเก็บเงนิ คาหนุ 25% 10 เงนิ สด (10,000 x 40) 400,000 - ลกู หนค้ี าจองหนุ สามัญ 400,000 - เรียกชาํ ระเงนิ คาหนุ สามัญงวดที่ 2 อีก 40% 12 เงนิ สด (10,000 x 35) 350,000 - ลูกหนคี้ า จองหนุ สามัญ 350,000 - เรียกชาํ ระเงินคา หนุ ทีเ่ หลืออกี 35% ทนุ หุนสามญั ใหจ อง 1,000,000 - ทนุ หนุ สามัญ 1,000,000 - ออกใบหุนใหผ ซู ้ือหนุ ท่จี ายชําระคา หนุ ครบแลว จากตัวอยางที่ 5.4 ณ วันจองซ้ือหุนมีการเรียกรับชําระเงินคาหุนบางสวน ซ่ึงการ บันทึกบัญชีจะบันทึกรับเงินสดตามที่ไดรับเงินสดจริง และตองต้ังลูกหน้ีคาหุนตามยอดท่ียังคง คางอยู หลังจากนัน้ จึงบนั ทกึ การออกใบหนุ ใหผ จู องซ้อื หนุ เมือ่ บรษิ ทั ไดรับชําระคา หนุ ครบแลว 181

182 2.2.2 เงินท่ีเรียกชําระถือเปนเงินมัดจําในการจองหุน ณ วันที่จองซ้ือหุน บริษัทไดเรียกชําระเงินคาหุนบางสวนโดยใหถือเปนเงินมัดจําในการจองหุน ดังนั้นในการเรียก เก็บเงินมัดจําคาหุนจะเรียกเก็บเงินมัดจําเทาใดก็ไดไมจําเปนตองเรียกเก็บครั้งแรกไมนอยกวา 25% เพราะไมใชคาหุน เงินมัดจําที่เรียกเก็บนี้เปนหน้ีสินของบริษัทจะถูกโอนไปเปนเงินคาหุน เมือ่ บริษทั เรียกชาํ ระเงนิ คาหุนงวดที่ 1 และในกรณที มี่ ีผจู องซ้ือหุนจองซื้อหุนและจายเงินคาจอง หนุ เกินกวาจํานวนทจ่ี ดทะเบยี นไว บรษิ ัทจะทําการคืนเงินคาจองหุนใหกับผูจองท่ีไมไดสิทธิใน การถือหนุ ดังตัวอยา งตอ ไปน้ี ตวั อยา งที่ 5.5 ตอไปนเี้ ปน รายการเกีย่ วกับการจดทะเบียนและจําหนายหุนของบริษทั สะดวก จาํ กดั 25x1 ม.ค. 2 จดทะเบียนหุน สามญั จํานวน 10,000 หุน ราคาตามมูลคาหนุ ละ 100 บาท 5 เปดใหจองซื้อหุนสามัญ ในราคาหุนละ 120 บาท โดยเรียกรับชําระเงินมัดจําคาหุนใน วันนี้ หุนละ 20 บาท มีผจู องซ้อื หุนมาท้ังหมด 11,000 หนุ 10 รบั ชําระคาหนุ งวดแรก 50% ของราคาตามมูลคา หนุ 15 รบั ชําระคา หนุ ทเี่ หลือทงั้ หมด พรอมทั้งออกใบหนุ ใหกบั ผถู ือหุนสามญั การคํานวณ การเรียกชาํ ระเงนิ คาหุน สามญั เรยี กชําระเงินงวดแรก 50% = 50% ของราคาตามมลู คาหุน + สวนเกนิ มลู คา หุนหุน = (50% x100) + 20 = 70 บาทตอหนุ เรียกชําระเงนิ คาหุนงวดสุดทาย 50% = 50% ของราคาตามมลู คาหนุ = (50% x 100) = 50 บาทตอหนุ 182

183 การบันทกึ บัญชเี ปนดงั นี้ สมดุ รายวนั ทวั่ ไป วันท่ี รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ บญั ชี 25x1 2 บันทึกความทรงจาํ : จดทะเบยี นหนุ สามญั ม.ค. จาํ นวน 10,000 หุน มลู คาหุนละ 100 บาท 5 เงินสด (11,000 x 20) 220,000 - เงนิ มดั จาํ คาจองหนุ สามญั 220,000 - ใหจ องหนุ สามญั ในราคาหนุ ละ 120 บาท โดย เรียกเกบ็ เงนิ คา จองหนุ ๆ ละ 20 บาท ลกู หน้คี า จองหนุ สามญั (10,000 x 120) 1,200,000 - สวนเกินมลู คา หนุ สามญั (ผลตาง) 200,000 - ทุนหนุ สามญั ใหจ อง (10,000 x 100) 1,000,000 - ใหจองหุนสามัญในราคาหนุ ละ 120 บาท เงนิ มัดจําคาจองหนุ สามญั (1,000 x 20) 20,000 - เงนิ สด 20,000 - คืนเงินมดั จาํ คา จองหุน ใหผ ูจองซ้ือหนุ ท่ี ไมไดรบั สิทธิเปนผูถอื หนุ 10 เงินมดั จาํ คาจองหนุ สามญั (10,000 x 20) 200,000 - เงินสด [(10,000 x 70) – 200,000] 500,000 - ลูกหน้คี า จองหนุ สามัญ 700,000 - เรยี กชําระเงนิ คา หนุ สามญั งวดแรก 50% 12 เงนิ สด (10,000 x 50) 500,000 - ลูกหนีค้ าจองหนุ สามัญ 500,000 - เรียกชําระเงินคา หุนทเ่ี หลอื อกี 50% ทนุ หุน สามัญใหจ อง 1,000,000 - ทุนหนุ สามญั 1,000,000 - ออกใบหุนใหผ ซู ื้อหุนท่ีจา ยชาํ ระคา หุน ครบแลว 183

184 3. การจําหนายหุนเปนหนวยรวม เปนการจําหนายหุน 2 ชนิดท่ีนํามารวมกันใน ราคาทีก่ าํ หนด โดยทไี่ มสามารถแยกหนุ แตละชนดิ ออกจําหนา ยจากกนั ได เชน การนําหุนสามัญ 2 หุน กับหนุ บุรมิ สิทธิ 1 หุน รวมกันเปน 1 หนว ยรวม หรอื อาจนําหนุ สามัญ 1 หุนกับหุนกู 1 หุน รวมกันเปน 1 หนวยรวม เปนตน การบันทึกบัญชีตองบันทึกราคาของหุนแตละชนิดดวยมูลคา ยุติธรรมซึ่งมูลคายุติธรรม เปนจํานวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพยกันใน ขณะที่ทั้งสองฝายมีความรอบรูและเต็มใจในการแลกเปลี่ยน และสามารถตอรองราคากันได อยางเปนอิสระในลักษณะของผูท่ีไมมีความเก่ียวของกัน ปญหาการบันทึกบัญชี สําหรับการ จําหนายหุนเปนหนวยรวมโดยกําหนดราคาเดียว คือ การแบงมูลคาของหุนท้ัง 2 ชนิดซึ่งอาจทํา การแบง มลู คา ของหนุ โดยพจิ ารณาไดดังนี้ 3.1 ถาทราบมูลคายุติธรรมของหุนท้ัง 2 ชนิด ใหแบงมูลคาของการจําหนายหุน โดยใชส ดั สวนของมลู คา ยุติธรรมของหุนทั้ง 2 ชนิดเปน เกณฑใ นการคาํ นวณ ตัวอยางที่ 5.6 บริษัท รัศมี จํากัด จําหนายหุนเปนหนวยรวม โดย 1 หนวยรวมประกอบดวย หุนสามัญ 2 หุน ราคาตามมูลคาหุนละ 100 บาท และหุนบุริมสิทธิ 1 หุน ราคาตามมูลคาหุนละ 50 บาท บริษัทจําหนายไป 200 หนวย ในราคาหนวยละ 270 บาท ถาหุนสามัญมีมูลคายุติธรรม หนุ ละ 120 บาท และหนุ บุริมสทิ ธมิ ีมลู คา ยตุ ธิ รรมหุน ละ 60 บาท การคาํ นวณ มลู คายตุ ธิ รรมรวม มลู คา ยุตธิ รรมของหุน สามัญ (200 x 2 x 120) = 48,000 บาท มูลคายุตธิ รรมของหนุ บรุ มิ สิทธิ (200 x 1 x 60) = 12,000 บาท มูลคา ยตุ ธิ รรมรวม = 60,000 บาท หาเงินสดจากการจาํ หนา ยหนุ เปน หนว ยรวม (200 x 270) = 54,000 บาท แบงมลู คาขายโดยใชส ัดสว นของมูลคายตุ ิธรรมเปนเกณฑ 48,000 มูลคา ของหุนสามัญ (54,000 x 60,000 ) = 43,200 บาท = 10,800 บาท มูลคา ของหุนบุรมิ สิทธิ (54,000 x 12,000 ) 60,000 184

185 การบันทึกบญั ชีเปนดงั นี้ เดบติ เครดติ 54,000 - สมดุ รายวนั ทวั่ ไป 40,000 - 3,200 - วันที่ รายการ เลขที่ บญั ชี 10,000 - 800 - เงินสด ทนุ หนุ สามัญ (200 x 2 x 100) สว นเกนิ มลู คาหนุ สามัญ (43,200 – 40,000) ทุนหุนบุริมสิทธิ (200 x 1 x 50) สวนเกินมูลคา หนุ บุริมสิทธิ (10,800 – 10,000) จาํ หนา ยหนุ เปน หนว ยรวม 3.2 ถาทราบมลู คายุตธิ รรมของหุนเพียงชนิดเดียว ใหใชมูลคายุติธรรมของหุนท่ี ทราบมูลคายุติธรรมเปน ราคาของหุนชนิดน้นั ตัวอยา งท่ี 5.7 จากตัวอยา งท่ี 5.6 สมมติวา มูลคายตุ ิธรรมของหุน สามญั ราคาหุนละ 120 บาท แต ไมทราบมลู คา ยุติธรรมของหุนบรุ ิมสิทธิ การคาํ นวณ หามูลคา จําหนา ยหุน บรุ มิ สิทธิ มูลคาจําหนายหนุ รวม(200 x 270) = 54,000 บาท หกั มูลคา ยุติธรรมของหนุ สามัญ (200 x 2 x 120) = 48,000 บาท มลู คา จาํ หนา ยหุนบรุ ิมสทิ ธิ = 6,000 บาท 185

186 การบนั ทกึ บัญชีเปน ดงั น้ี สมุดรายวนั ทวั่ ไป วันท่ี รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต บญั ชี 54,000 - 40,000 - 4,000 - 8,000 - เงินสด 10,000 - สวนตํา่ กวามลู คา หุนบุรมิ สิทธิ ทนุ หุนสามญั (200 x 2 x 100) สวนเกินมลู คา หนุ สามัญ (48,000 – 40,000) ทนุ หุนบุริมสิทธิ (200 x 1 x 50) จาํ หนายหนุ เปน หนว ยรวม 3.3 ถาไมทราบมูลคายุติธรรมของหุนทั้ง 2 ชนิด ใหแบงมูลคาของการจําหนาย หุน โดยใชสัดสวนของมูลคาราคาตามมูลคาหุนของหุนท้ัง 2 ชนิดเปนเกณฑในการคํานวณ ตอมาเม่ือทราบมูลคายุติธรรมของหุนชนิดใดชนิดหนึ่งจึงปรับสวนเกินมูลคาหุนหุนหรือ สวนต่าํ กวา มูลคา หนุ ใหถกู ตอง ตัวอยา งท่ี 5.8 จากตวั อยางที่ 5.6 สมมตวิ า ไมท ราบมลู คา ยตุ ธิ รรมของหุน ทัง้ 2 ชนดิ การคํานวณ หาราคาตามมูลคา หุนรวม ราคาตามมูลคาหนุ ของหนุ สามญั (200 x 2 x 100) = 40,000 บาท ราคาตามมลู คาหนุ ของหุน บรุ ิมสทิ ธิ (200 x 1 x 50) = 10,000 บาท ราคาตามมูลคา หนุ รวม = 50,000 บาท หาเงินสดจากการจาํ หนายหุนเปนหนว ยรวม (200 x 270) = 54,000 บาท แบง มูลคาขายโดยใชส ัดสว นของมลู คา ยตุ ิธรรมเปน เกณฑ 40,000 มลู คา ของหนุ สามญั (54,000 x 50,000 ) = 43,200 บาท = 10,800 บาท มูลคาของหุนบุริมสิทธิ (54,000 x 10,000 ) 50,000 186

187 การบนั ทึกบัญชีเปน ดังน้ี เดบติ เครดติ 54,000 - สมดุ รายวันทวั่ ไป 40,000 - 3,200 - วนั ที่ รายการ เลขที่ 10,000 - บัญชี 800 - เงนิ สด ทุนหุนสามญั (200 x 2 x 100) สวนเกินมูลคาหนุ สามญั (43,200 – 40,000) ทนุ หุนบรุ มิ สิทธิ (200 x 1 x 50) สวนเกนิ มลู คา หนุ บุริมสทิ ธิ (10,800 – 10,000) จาํ หนายหนุ เปน หนว ยรวม 4. การนําหุนแลกเปลี่ยนสินทรัพยอื่นที่มิใชเงินสด การบันทึกรายการนําหุน ออกจาํ หนา ยโดยไดร ับคาหุนเปน สนิ ทรัพยอนื่ ที่มใิ ชเงินสดตอ งพิจารณาวาจะใชมูลคาตลาดของ สินทรัพยหรือมูลคายุติธรรมของหุนในการบันทึกบัญชี ท้ังน้ีขึ้นอยูกับความนาเชื่อถืออยาง สมเหตสุ มผล โดยมแี นวทางปฏิบตั ิดังนี้ 4.1 ถาทราบราคาตลาดของสินทรัพยใหใชราคาตลาดของของสินทรัพยในการ บันทึกบัญชี ตัวอยางท่ี 5.9 บริษัท อาญา จํากัด นําหุนสามัญจํานวน 1,000 หุน ราคาตามมูลคาหุนละ 100 บาท เพอ่ื แลกเปลย่ี นกับเคร่อื งจกั ร ซึ่งมีราคาตลาด 125,000 บาท 187

188 การบันทกึ บญั ชีเปน ดงั น้ี สมุดรายวันทวั่ ไป วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต 125,000 - บัญชี 100,000 - 25,000 - เครอื่ งจักร ทนุ หนุ สามญั (1,000 x 100) สว นเกนิ มลู คา หนุ สามญั (ผลตาง) นําหุน สามัญแลกเปลีย่ นกับเคร่ืองจกั ร 4.2 ถาทราบราคาตลาดของหุน ใหใ ชราคาตลาดของหุนในการบันทึกบญั ชี ตัวอยางท่ี 5.10 จากตัวอยางท่ี 5.9 สมมติวาไมทราบราคาตลาดของเคร่ืองจักร แตในวันนี้ หนุ สามัญมีราคาตลาดหุนละ 110 บาท การบนั ทกึ บัญชเี ปนดังนี้ สมุดรายวนั ทวั่ ไป วนั ท่ี รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ 110,000 - บญั ชี 100,000 - 10,000 - เคร่อื งจักร ทนุ หนุ สามัญ (1,000 x 100) สวนเกนิ มลู คาหนุ สามญั (1,000x10) นําหุน สามญั แลกเปลี่ยนกบั เครื่องจกั ร 4.3 ถาไมทราบราคาตลาดของสินทรัพยและราคาตลาดของหุน ใหบริษัทวาจาง ผูประเมนิ ราคาอิสระจากภายนอกเปน ผูประเมินมลู คา ยตุ ธิ รรมเพอ่ื ใชในการบนั ทกึ บญั ชี ตัวอยางที่ 5.11 จากตัวอยางที่ 5.9 สมมติวาไมทราบราคาตลาดของเคร่ืองจักรและราคาตลาด ของหุน แตผูประเมินอิสระไดประเมินราคาเครื่องจักรเทากับ 105,000 บาท และคณะกรรมการ บรษิ ัทเหน็ ชอบดวย 188

189 การบนั ทึกบัญชีเปนดังนี้ เดบิต เครดติ สมดุ รายวนั ทว่ั ไป 105,000 - 100,000 - วนั ท่ี รายการ เลขที่ 5,000 - บญั ชี เคร่ืองจักร ทุนหุนสามัญ (1,000 x 100) สว นเกินมูลคา หนุ สามัญ(1,000x10) นําหุนสามัญแลกเปลี่ยนกับเคร่อื งจักร 5. การชาํ ระคาบริการดว ยหุน การนําหนุ ออกชาํ ระคาบริการ เชน คา จดั ตงั้ บริษทั คา ทนายความ เปนตน ดังนั้นคาบริการที่เกิดข้ึนไดมีการตกลงคาบริการอยางชัดเจนจึงใหใชราคา คาบริการเปนเกณฑการบนั ทึกบัญชี ตัวยางท่ี 5.12 บริษัท กุศล จํากัด นําหุนสามัญจํานวน 1,000 หุน ราคาตามมูลคาหุนละ 50 บาท มาชําระคาทนายความกอต้ังบริษัท ราคา 54,000 บาท ในวันน้ีราคาตลาดของหุนสามัญมีมูลคา หนุ ละ 60 บาท การบันทกึ บญั ชีเปนดงั น้ี เดบติ เครดิต สมุดรายวันทวั่ ไป 54,000 - 50,000 - วันท่ี รายการ เลขที่ 4,000 - บญั ชี คาใชจ ายในการจัดตั้งบริษัท ทุนหุนสามญั (1,000 x 50) สว นเกนิ มูลคาหนุ สามัญ(ผลตาง) นาํ หนุ สามญั แลกเปล่ียนกบั เครื่องจักร 189

190 คาใชจา ยในการจาํ หนายหนุ การออกหุนจําหนายจะมีคาใชจายตาง ๆ เกิดข้ึนจํานวนมาก ไดแก คาธรรมเนียม จดทะเบียนทุน คาธรรมเนียมทนายความ คานายหนาและคาใชจายในการประกันการขาย คาใชจายในการพิมพและจัดสงเอกสารที่เก่ียวของ คาใชจายในการจัดเตรียมการออกหุน คาใชจายในการโฆษณาหุน ในกรณีที่มีการขายหุนโดยใหบริษัทอื่นท่ีทําหนาท่ีค้ําประกันการขาย หุน คาสงเสริมการขายหุนท้ังหมดถือเปนคาใชจายในการจําหนายหุน (stock issue cost) คา ใชจายในการจําหนายหุนเปนจํานวนเงินไมมากนักเมื่อเปรียบเทียบกับจํานวนทุนที่ไดรับเขามา การปฏิบัติในทางบัญชีในสวนท่ีเกี่ยวกับคาใชจายในการจําหนายหุนสามารถทําได 3 วิธี ดังนี้ (ธารี หิรัญรัศมี, 2546, หนา 177) 1. นําคาใชจายในการจําหนายหุนไปหักกลบกับเงินทุนที่ไดรับ ผูท่ีเห็นดวยกับวิธีน้ี ใหความเห็นวาคาใชจายเชนนี้เปนคาใชจายท่ีเกิดขึ้นเพียงคร้ังเดียว แตยากที่จะแบงไปเปน คาใชจายเพื่อหักกับรายไดในอนาคต นอกจากน้ี เงินสดรับสุทธิจากการจําหนายหุนนาจะเปน ราคาที่แทจริงของทุนที่ออกจําหนาย ดังนั้นตามวิธีน้ีจะนําคาใชจายในการจําหนายหุนไปหัก กลบกับสวนเกินมูลคาหุน แตวิธีนี้อาจมีปญหาหากการจําหนายหุนมิไดมีสวนเกินมูลคาหุน หรอื สวนเกนิ มูลคา หนุ มีจํานวนตํา่ กวา คา ใชจ ายในการจาํ หนา ยหุน 2. ถือคาใชจายในการจําหนายหุนเปนคาใชจายตั้งพักเพื่อตัดจําหนาย สําหรับ ชวงเวลาหนึ่งท่ีเหมาะสม ผูเห็นดวยกับวิธีนี้ใหความเห็นวาคาใชจายเชนนี้กอใหเกิดสินทรัพย ไมมีตัวตนอยางหนึ่งข้ึนมาซ่ึงสามารถตัดจําหนายเปนคาใชจายไปหักจากรายไดท่ีจะมีมาใน อนาคตตามหลกั การจบั คูรายไดกับคา ใชจ าย 3. บันทึกคาใชจายในการจําหนายหุนเปนคาใชจายในงวดท่ีมีรายการน้ันเกิดข้ึน ผูเห็นดวยกับวิธีนี้ใหความเห็นวาคาใชจายเชนน้ีมิไดกอใหเกิดประโยชนในอนาคต จึงไมควร ตั้งพักเพื่อตัดจําหนายเปนคาใชจายในอนาคต สวนการบันทึกหักจากเงินรับคาหุนก็มีความไม สะดวกบางประการหากมีการจําหนายหุน โดยไมม ีสวนเกินมลู คา หุน หรือมีสวนเกินมูลคาหุนแต จํานวนดงั กลา วนอ ยกวา คาใชจ ายในการออกหนุ 190

191 การรบิ หุน การเรียกชาํ ระคา หุนในงวดแรกตองไมนอยกวารอยละ 25 ของราคาตามมูลคาหุนจึง จะทําการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทได หลังจากน้ันการรับชําระคาหุนก็จะมีเฉพาะเงินคาหุน ท่ียังสงใชไมครบราคาตามมูลคาหุนซึ่งเปนสวนท่ีที่ประชุมใหญจะไดกําหนดใหสงใชตอไป หากท่ีประชุมใหญมิไดกําหนดวางเง่ือนไขใด ๆ ไว กรรมการบริษัทก็มีสิทธิท่ีจะเรียกใหผูถือหุน ชาํ ระคา หุนเม่อื ใดกไ็ ดที่ตองการเงนิ ทนุ เพิ่มเตมิ ถาเงินสงใชคาหุนตามเรียกนั้นผูถือหุนคนใดมิไดสงใชตามวันท่ีกําหนด ซ่ึงตาม ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา 1123 บัญญัติวา ถาผูถือหุนคนใดละเลยไมสงใชเงิน ที่เรียกคาหุนตามวันกําหนด กรรมการจะสงคําบอกกลาวดวยจดหมายลงทะเบียนไปรษณียไป ยงั ผูน้ันใหส ง ใชเงินท่เี รยี กกบั ท้ังดอกเบี้ยดวยก็ได คําบอกกลาวอันน้ีใหกําหนดเวลาไปพอสมควรเพื่อใหใชเงินที่เรียกกับท้ังดอกเบ้ีย และตองบอกไปดวยวาใหสงใช ณ สถานท่ีใด อน่ึง ในคําบอกกลาวน้ันจะแจงไปดวยก็ไดวา ถาไมใชเ งนิ ตามเรยี ก หุน นน้ั อาจจะถกู ริบ กฎหมายใหคิดดอกเบี้ยไดไมเกินรอยละ 15 ตอปแตถามิไดกําหนดไวก็ตองเปนไป ตามท่กี ฎหมายกาํ หนดคอื รอยละ 7.5 ตอ ปทั้งนหี้ ากผถู ือหุน ไมสามารถสงใชคาหุนไดบริษัทตอง สงคําบอกกลาวดวยจดหมายสงทางไปรษณียลงทะเบียนสองคร้ัง คร้ังแรกตองบอกลวงหนาไม นอ ยกวา 21 วัน และมีคาํ เตือนเรอ่ื งการสงเงนิ คา หนุ และดอกเบี้ย สําหรบั ครง้ั หลงั ไมจําเปนตอง บอกกลาวลวงหนา 21 วัน แตใหเวลาตามสมควร ซึ่งควรข้ึนกับจํานวนเงิน และควรมีคําเตือน ระบุไปพรอมกับจดหมายเรื่องการรบิ หุน มาตรา 1124 บัญญัติวา ถาในคําบอกกลาวมีขอแถลงความถึงการริบหุนดวยแลว หากเงินคาหุนท่ีเรียกกับท้ังดอกเบี้ยยังคงคางชําระอยูตราบใด กรรมการจะบอกริบหุนนั้น ๆ เมื่อใดกไ็ ด มาตรา 1125 บัญญัติวา หุนท่ีถูกริบแลวน้ันใหเอาออกขายทอดตลาดโดยไมชักชา ไดจํานวนเงินเทาใดใหเอาหักใชคาหุนที่เรียกกับดอกเบี้ยคางชําระ ถายังมีเงินเหลือเทาใดตอง สงคืนใหแกผถู อื หนุ นั้น (สุรศกั ดิ์ วาจาสทิ ธิ์, และคนอืน่ ๆ, 2548, หนา 358) ดังนน้ั หุน ท่ีริบมานน้ั ตองมกี ารนําออกจําหนาย เน่ืองจากตามกฎหมายในประเทศไทย หามมิใหบริษัทรับซื้อหุนของตนเองไว เพราะการทําเชนนั้นก็คือการลดทุนวิธีหนึ่ง ถาการนํา หุนออกจําหนายไดเงินไมพอกับคาหุนที่เรียกใหชําระพรอมทั้งดอกเบ้ียก็สามารถเรียกสวนที่ 191

192 ขาดจากผูถือหุนท่ีถูกริบ และในทางตรงขาม ถามีเงินเหลือก็ควรสงคืนแกผูถือหุนที่ถูกริบ น้ันดว ย ตัวอยางท่ี 5.13 บริษัท โกศล จํากัด นําหุนสามัญจํานวน 1,000 หุน ราคาตามมูลคาหุนละ 100 บาท ออกจําหนายในราคาหุนละ 110 บาท มีการเรียกเก็บเงินคาหุน 3 งวด ๆ ละ 50% 20% และ 30% ตามลําดับ หลังจากผูถือหุนชําระมูลคาหุนงวดแรกแลว ไดมีการเรียกชําระคาหุนงวดที่ 2 ปรากฏวามีผูถือหุนจํานวน 100 หุน ไมสามารถชําระคาหุนได บริษัทมีมติใหริบหุนดังกลาวแลวนํา ออกขายทอดตลาดในราคาหุนละ 104 บาท เสียคาใชจายในการขายทอดตลาด 120 บาท เงินที่เหลือ ทัง้ หมดหลงั หักผลขาดทนุ และคา ใชจายแลวถามีเงนิ เหลือบริษทั จะไดคืนใหแกผูถอื หุน ทถ่ี ูกริบ การบนั ทึกบัญชเี ปนดงั น้ี สมดุ รายวันทวั่ ไป วันที่ รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต บัญชี 25x2 30 ทุนหนุ สามญั ใหจ อง (100 x 100) 10,000 - ม.ี ค. สว นเกนิ มูลคาหนุ หนุ สามัญ (100 x 10) 1,000 - ลกู หนี้คา จองหนุ สามัญ (100 x 50) 5,000 - เจาหนีผ้ ถู ือหนุ ทถี่ กู รบิ (100 x 60) 6,000 - ยกเลกิ หนุ ทถ่ี กู ริบจํานวน 100 หุน 30 เงนิ สด (100 X 104) 10,400 - เจา หนี้ผถู ือหนุ ท่ีถูกรบิ [100 x (110 – 104)] 600 - ทุนหุนสามัญ (100 x 100) 10,000 - สวนเกนิ มลู คาหนุ สามัญ(100 x 10) 1,000 - ขายหนุ ทีถ่ ูกรบิ และหกั สว นขาดจากผูถ ือหนุ ทีถ่ กู รบิ เจา หนี้ผูถอื หนุ ทีถ่ ูกริบ 120 - เงินสด 120 - จายคา ใชจ ายในการริบหุน เจา หนผ้ี ูถ อื หนุ ท่ีถกู ริบ (6,000 - 600 - 120) 5,280 - เงินสด 5,280 - คืนเงินท่ีเหลือใหผ ถู ือหนุ ท่ถี กู ริบ 192

193 การเปลี่ยนจากหา งหนุ สว นเปน บริษัท หางหุนสวนที่ดําเนินกิจการประสบความสําเร็จอาจจะเลือกท่ีจะขยายกิจการไปเปน บริษัทเน่ืองจากสามารถระดมเงินทุนไดมากกวาและความรับผิดในหนี้สินของบริษัทมีจํานวน จํากัด ดังน้ันในการเปล่ียนจากหางหุนสวนเปนบริษัทตองดําเนินการจัดตั้งใหถูกตองตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยตามที่กลาวไว และรับโอนสินทรัพย หน้ีสินของหางหุนสวน โดยชําระการโอนดวยหุนทุนของบริษัท ซ่ึงผูเปนหุนสวนจะนําไปแบงกันตามสิทธิสวนไดเสีย ของผูเ ปน หนุ สวนเปน การส้ินสดุ ของหางหนุ สวน และผเู ปน หนุ สวนจะมีสถานภาพเปนผูถือหุน ของบริษัท ทงั้ นกี้ ารบันทกึ บญั ชเี กี่ยวกับการเปลีย่ นจากหา งหนุ สวนเปน บริษัทมดี ังนี้ 1. การใชส มุดบญั ชีชดุ ใหมเ ปนสมุดบญั ชีของบริษทั มขี ้ันตอนการปฏิบัติดังนี้ 1.1 ดา นหา งหนุ สวน มขี น้ั ตอนการปฏิบตั ทิ างบญั ชี ดงั น้ี 1.1.1 ปรับปรุงสินทรัพยและหนี้สิน ตามราคาท่ีบริษัทจะรับโอนไป ผลตางจากการปรับปรุงใหโอนเขาบัญชีทุนของผูเปนหุนสวน โดยแบงตามอัตราสวนแบง กาํ ไรขาดทุน 1.1.2 คํานวณหาคาความนิยมหรือเงินที่จะคืนใหแกผูเปนหุนสวน โดย คํานวณมูลคาหุนที่โอนตามราคาตลาดของหุนทุน ณ วันใด เปรียบเทียบกับมูลคาของกิจการท่ี รับโอนมา ถามูลคาหุนท่ีโอนน้ีสูงกวามูลคาของกิจการที่รับโอนมาจะถือเปนคาความนิยมที่ เกิดข้ึน แตถามูลคาหุนที่โอนนี้ตํ่ากวามูลคาของกิจการท่ีรับโอนมา สวนตางในกรณีนี้จะถือเปน การคืนเงินใหกับหุนสวนแตละคนตามอัตราสวนแบงกําไรขาดทุน แตในกรณีท่ีการรับโอนหุน ของบรษิ ัทใหแ กหุนสวนในราคามูลคาก็ตองใชมูลคาเปรียบเทียบกับมูลคาของกิจการที่รับโอนมา แลวแบง ใหแ กผ ูเปน หนุ สวนตามอตั ราสว นแบง กําไรขาดทนุ การคาํ นวณสามารถทาํ ไดดงั น้ี ถาสงู กวา มูลคาหุนท่โี อน (ราคาตลาด) = XX หกั ทนุ เดิมของหา งหุนสว น ± ทุนทีป่ รับปรุงเพม่ิ ขึน้ = XX หรอื ลดลง – เงินสดทหี่ างไมไดโ อนไป = XX คา ความนิยม = XX ถาต่าํ กวามลู คา หนุ ทโี่ อน (ราคาตลาด) หกั ทุนเดิมของหา งหุน สว น ± ทนุ ทป่ี รับปรงุ เพ่ิมข้นึ = XX = XX หรือลดลง – เงินสดทห่ี างไมไ ดโ อนไป เงินสด 193

194 1.1.3 ปด บญั ชีสนิ ทรัพย และหนี้สนิ หลงั ปรับปรงุ แลว เพอ่ื แลกกับใบหุน 1.1.4 นําใบหุนท่ีไดรับจายคืนทุนใหแกผูถือหุนสวน (ในกรณีท่ีมีการโอน สินทรัพย และหน้ีสินท้ังหมด ทุนของผูเปนหุนสวนเหลืออยูเทาใดก็ใหคืนตามน้ัน แตในกรณีที่ ไมไดโอนสินทรัพย และหนี้สินท้ังหมด โดยยกเวนเงินสดจะแบงตามอัตราสวนแบงกําไร ขาดทนุ ) 1.2 ดานบรษิ ทั จํากดั มีข้ันตอนการปฏบิ ัติทางบญั ชี ดังนี้ 1.2.1 รับโอนกิจการจากหางหุนสวน โดยออกเปนหุนสามัญหรือหุน บุรมิ สทิ ธใิ ห 1.2.1 นาํ หนุ ทีเ่ หลอื ออกขายตอ ไป ตวั อยางที่ 5.14 ใชส มุดบัญชีชุดเดิมของหางหุนสวนเปนสมุดบัญชีของบริษัท จา และ มร เปน หุนสวนกัน แบงกําไรขาดทุนกันในอัตราสวน 3:2 ตอมาในวันที่ 31 ธันวาคม 25x2 ทั้งสองได ตกลงขยายกิจการจากหา งหนุ สวน จา มร ใหเ ปนบริษัทเทพสนิ จาํ กัด งบดลุ ของหา งหนุ สวน จามร มดี งั นี้ หา งหุน สวน จามร งบดุล ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x2 สินทรัพย (หนว ย:บาท) เงินสด 40,000 ลูกหนี้ 140,000 หกั คา เผ่อื หนส้ี งสัยจะสญู 10,000 130,000 สินคาคงเหลือ 60,000 ทด่ี นิ 100,000 330,000 หนสี้ ินและสวนของผเู ปน หนุ สวน เจา หนี้ 40,000 ทุน – จา 160,000 ทุน – มร 130,000 290,000 330,000 194

195 ในการเปลี่ยนกิจการครั้งนี้ไดมีการปรับปรุงสินทรัพย และหนี้สินใหม ดังนี้ สินคา ใหมีราคาเหลือเพียง 50,000 บาท และที่ดินใหมีราคาเพิ่มข้ึนอีก 60,000 บาท บริษัทไดรับโอน สินทรพั ย และหนีส้ ินทั้งหมดยกเวนเงนิ สด (โดยมีสนิ ทรพั ย และหนี้สินอืน่ รับโอนในราคาทุน) บริษัทเทพสินจํากัด มีทุนจดทะเบียนเปนหุนสามัญทั้งหมด จํานวน 6,000 หุน ๆ ละ 100 บาท ในการรับโอนกิจการจากหางหุนสวนมาเปนบริษัทนี้ กิจการไดออกหุนสามัญให จาํ นวน 4,000 หุน ในราคามลู คา หนุ ทเี่ หลอื บรษิ ทั ไดน ําออกขายในราคาหนุ ละ 120 บาท การคํานวณหาคาความนิยมทําไดด ังนี้ มูลคาหุน ทร่ี ับโอน (4,000 x 100) = 400,000 หกั ทนุ เดมิ (290,000) + ทุนท่ีปรบั ปรุง (50,000) - เงนิ สดทไ่ี มไ ดโ อน (40,000) = 300,000 คา ความนยิ ม = 100,000 การบันทกึ บัญชเี ปนดังนี้ สมดุ รายวันทวั่ ไป วนั ที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต บัญชี 25x2 31 ทด่ี ิน 60,000 - ธ.ค. สินคา คงเหลอื 10,000 - ทนุ - จา (50,000 x 3/5) 30,000 - ทนุ - มร (50,000 x 2/5) 20,000 - ปรับปรุงสนิ ทรัพย และหน้ีสนิ กอนเปลย่ี น กจิ การเปน บรษิ ัทจํากดั คาความนิยม 100,000 - ทุน – จา 60,000 - ทนุ – มร 40,000 - บนั ทึกคาความนิยม โดยแบง เขา บัญชีทนุ จา และทุน มร 195

196 สมุดรายวนั ทว่ั ไป วันที่ รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ 240,000 - บญั ชี 160,000 - 400,000 - 25x2 31 ทนุ - จา (400,000 x 3/5) 10,000 - 40,000 - 30,000 - 200,000 - ธ.ค. ทนุ - มร (400,000 x 2/5) 40,000 - 240,000 - ทนุ เรือนหนุ (40,000 x 100) เปลยี่ นบัญชที นุ ผเู ปน หนุ สว นใหเ ปน หนุ สามัญ ทุน – จา (160,000 + 90,000 – 240,000) ทุน – มร (130,000 + 60,000 – 160,000) เงนิ สด จายเงนิ สดคืนทุนที่เหลอื ใหแ กผเู ปนหนุ สว น เงนิ สด (2,000 x 120) ทนุ เรอื นหนุ (2,000 x 100) สวนเกนิ มูลคา หุน (2,000 x 20) นาํ หนุ ทเ่ี หลอื ออกขายในราคาหุนละ120บาท 196

197 บรษิ ัท เทพสิน จํากดั งบดลุ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x2 (หนว ย:บาท) สินทรพั ย เงนิ สด (40,000 – 40,000 + 220,000) 140,000 220,000 ลูกหนี้ 10,000 หกั คา เผื่อหน้ีสงสัยจะสญู 130,000 สินคา คงเหลือ (60,000 – 10,000) 50,000 ทด่ี ิน (100,000 + 60,000) 160,000 คา ความนิยม 100,000 660,000 หน้สี นิ และสว นของผูเ ปน หนุ สว น 600,000 40,000 เจาหน้ี 20,000 ทุนเรอื นหนุ (400,000 + 200,000) 620,000 สวนเกินมูลคาหุน 660,000 2. การใชสมุดบัญชีของหางหุนสวนเปนสมุดบัญชีของบริษัทตอไป มีข้ันตอนการ ปฏิบตั ิทางบญั ชี ดงั นี้ 2.1 ปรับปรงุ บัญชีสินทรัพย และหนี้สินตามราคาที่บริษัทจะรับโอน ผลตางจาก การปรับปรงุ ใหน ําไปเขาบญั ชที ุนของผเู ปน หุนสวน โดยแบง ตามอัตราสวนแบง กําไรขาดทุน 2.2 คํานวณหาคาความนิยมหรือเงินที่จะคืนใหแกผูเปนหุนสวนเหมือนกับวิธีท่ี 1 แลว แบงใหแกผ ูเ ปนหนุ สว นตามอตั ราสวนแบงกาํ ไรขาดทุน 2.3 โอนปดบัญชีทุนของผูเปนหุนสวนทุกคนไปยังบัญชีทุนหุนสามัญ หรือ บญั ชที ุนหุนบุริมสทิ ธิ ตามราคาตลาดของหนุ ทุนในวันทรี่ บั โอน 2.4 เงินสดที่กิจการมีอยูตองคืนใหแกผูเปนหุนสวนตามยอดบัญชีทุนแตละคน เทาท่ีเหลืออยู แตถามีความจําเปนตองเรียกเงินสดคืนจากหุนสวน เพ่ือใหการปดบัญชีทุนของ หนุ สว นแตล ะคนหมดไป 2.5 บรษิ ทั นาํ หนุ ท่เี หลือออกขายใหแกบคุ คลภายนอกตอไป 197

198 ตัวอยางท่ี 5.15 จากตัวอยางท่ี 5.14 ใชสมุดบัญชีชุดเดิมของหางหุนสวนเปนสมุดบัญชีของ บริษัท จา และ มร เปนหุนสวนกัน แบงกําไรขาดทุนกันในอัตราสวน 3:2 ตอมาในวันท่ี 31 ธันวาคม 25x2 ทั้งสองไดตกลงขยายกิจการจากหางหุนสวน จา มร ใหเปนบริษัทเทพสินจํากัด งบดลุ ของหา งหนุ สว น จา มร มดี งั น้ี ดานหา งหุนสว น การบนั ทกึ บัญชีเปนดงั นี้ สมุดรายวันทวั่ ไป วันท่ี รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต บญั ชี 25x2 31 ทดี่ นิ 60,000 - ธ.ค. สินคา คงเหลือ 10,000 - ทุน - จา 30,000 - ทุน - มร 20,000 - ปรบั ปรุงสนิ ทรัพย และหนส้ี นิ กอนเปล่ยี น กิจการเปน บริษัทจาํ กดั คา ความนิยม 100,000 - ทุน – จา 60,000 - ทุน – มร 40,000 - บนั ทึกคาความนยิ ม โดยแบง เขา บัญชที นุ จา และทุน มร คาเผือ่ หนี้สงสยั จะสญู 10,000 - เจา หน้ี 40,000 - ทุนเรอื นหุน (4,000 x 100) 400,000 - ลกู หน้ี 140,000 - สนิ คา คงเหลือ 50,000 - ที่ดนิ 160,000 - คาความนิยม 100,000 - โอนสินทรพั ย และหนสี้ นิ เพอื่ แลกกับ หนุ สามญั จาํ นวน 4000 หนุ ๆ 100 บาท 198

199 สมุดรายวันทว่ั ไป วนั ท่ี รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ 240,000 - 400,000 - บญั ชี 160,000 - 40,000 - 25x2 31 ทนุ - จา (400,000 x 3/5) 10,000 - 30,000 - ธ.ค. ทนุ - มร (400,000 x 2/5) ทุนเรือนหนุ แบง หุน สว นใหแ กห ุนสวนตามอัตรา สว นแบงกาํ ไรขาดทนุ ทนุ – จา (160,000 + 90,000 – 240,000) ทุน – มร (130,000 + 60,000 – 160,000) เงินสด จายเงนิ สดคนื ทุนที่เหลือใหแ กผ ูเปนหนุ สว น ทางดานบริษทั การบนั ทกึ บัญชเี ปนดังน้ี สมดุ รายวันทวั่ ไป วันท่ี รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ บัญชี 140,000 - 10,000 - 50,000 - 40,000 - 25x2 31 160,000 - 400,000 - 100,000 - ธ.ค. ลูกหน้ี สินคาคงเหลือ ทด่ี ิน คา ความนยิ ม คาเผ่อื หนส้ี งสยั จะสูญ เจา หน้ี ทุนเรือนหนุ (4,000 x 100) ออกหนุ สามญั 4,000 หนุ ๆ ละ 100 บาท เพื่อแลกกับสนิ ทรพั ย และหนีส้ นิ ของหางหนุ สว น 199


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook