Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอน การบัญชีชั้นกลาง 2

เอกสารประกอบการสอน การบัญชีชั้นกลาง 2

Published by kitthanachon01, 2022-06-14 00:34:41

Description: เอกสารประกอบการสอน การบัญชีชั้นกลาง 2

Search

Read the Text Version

49 2.2 งบกําไรขาดทนุ แบบหลายข้ัน ซ่งึ แสดงไดด งั นี้ (หนว ย:บาท) 25x1 หางหุนสว นจดทะเบียน งบกําไรขาดทนุ แบบหลายขนั้ สาํ หรบั ปส ิน้ สดุ วันท่ี 31 ธนั วาคม พ.ศ. 25x1 1. รายไดจากการขายและหรอื การใหบ รกิ าร 2. ตนทนุ ขายและหรือตนทนุ การใหบรกิ าร 3. กําไรขนั้ ตน 4. คาใชจ า ยในการขายและบริหาร 5. กาํ ไร(ขาดทนุ )จากการขายและหรอื การใหบรกิ าร 6. รายไดอ ่นื 7. คา ใชจา ยอ่ืน 8. กําไร(ขาดทนุ )กอ นดอกเบี้ยและภาษีเงินได 9. ดอกเบ้ียจาย 10. ภาษีเงินได 11. กาํ ไร(ขาดทุน)จากกิจกรรมตามปกติ 12. กาํ ไร(ขาดทุน)สทุ ธิ 3. หมายเหตุประกอบงบการเงิน ควรแสดงขอมูลเกี่ยวกับเกณฑในการจัดทํา งบการเงิน และนโยบายบญั ชีทีก่ จิ การเลือกใชส าํ หรับรายการและเหตกุ ารณทมี่ ีนยั สาํ คญั เปดเผย ขอมูลที่มาตรฐานบัญชีกาํ หนดซ่ึงไมไดแสดงไวในสวนอ่ืนของงบการเงิน ใหขอมูลเพ่ิมเติมจาก ท่ีแสดงไวในงบการเงิน ซ่ึงไมไดแสดงไวในสวนอื่นของงบการเงิน แสดงขอมูลอยางมีระบบ ทง้ั นีอ้ าจแบง ได 2 สวน ดังนี้ 3.1 สรุปนโยบายการบัญชีท่ีสําคัญ กอนอ่ืนควรทําความเขาใจถึงนโยบายการ บัญชี ซึ่งมนี กั วชิ าการไดใหค วามหมายของนโยบายการบัญชี ไวห ลายทัศนะ ดงั น้ี นโยบายการบัญชี หมายถึง หลักการโดยเฉพาะ หลักเกณฑ ประเพณีปฏิบัติ กฎเกณฑ หรือวิธีปฏิบัติท่ีกิจการใชในการจัดทํา และนําเสนองบการเงิน กิจการควรเปดเผย นโยบายการบญั ชี (สมาคมนกั บญั ชีและผสู อบบญั ชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย, 2542, หนา ) 50

50 นโยบายการบัญชี หมายถึง หลักเกณฑ ประเพณีปฏิบัติ กฎ และวิธีปฏิบัติ เฉพาะท่ีกิจการใชในการจัดทําและนําเสนองบการเงินซ่ึงกิจการควรเปลี่ยนแปลงนโยบายการ บญั ชเี มือ่ มาตรฐานการบญั ชใี หมก ําหนดใหเ ปลี่ยน หรือเมื่อมีการเปลีย่ นแปลงทาํ ใหงบการเงนิ ของ กิจการแสดงรายการหรอื เหตุการณทางบัญชีเหมาะสมยิ่งขน้ึ (นุชจรี พิเชฐกลุ , 2547, หนา 145) จากความหมายของนโยบายการบัญชีดังกลาวขางตนสรุปไดวา นโยบายการ บญั ชี หมายถึง หลักการโดยเฉพาะ หลักเกณฑ ประเพณีปฏิบัติ กฎเกณฑ หรือวิธีปฏิบัติท่ีกิจการ ใชในการจัดทํา และนําเสนองบการเงิน ตามมาตรฐานการบัญชีที่มีกําหนด หรือมีการ เปล่ียนแปลงเพ่ือใหงบการเงินแสดงรายการที่ถูกตองเหมาะสมมากข้ึน นโยบายการบัญชีท่ีควร เปดเผย เชน วิธีการรับรูรายได เกณฑในการจัดทํางบการเงิน การตีราคาสินคาคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอปุ กรณ สาํ รองตามกฎหมาย การเปลยี่ นแปลงทางบญั ชี เปนตน 3.2 ขอมูลเพิ่มเติมอ่ืน เปนขอมูลที่ใหรายละเอียดเพ่ิมเติมเพื่อใหผูใชงบการเงิน ใชขอมูลในการตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน ขอจํากัดตาง ๆ ในสิทธิเหนือสินทรัพย หลักประกันหน้ีสิน นโยบายบัญชีท่ีใชสําหรับโครงการเงินบําเหน็จบํานาญ และเงินกองทุน สํารองเลี้ยงชีพ สนิ ทรพั ยหรอื หน้สี นิ ทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ เปน ตน การกําหนดรายการยอท่ีตองมใี นงบการเงนิ กรมทะเบียนการคาไดออกประกาศกรมทะเบียนการคา เร่ือง กําหนดรายการยอท่ี ตองมีในงบการเงิน พ.ศ. 2544 ซ่ึงประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2544 ออกตามความใน มาตรา 11 วรรคสาม ของพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 กําหนดใหงบการเงินของผูมี หนาที่จดั ทาํ บัญชีตอ งมรี ายการยอ ดงั น้ี งบดุล สนิ ทรัพย 1. สินทรัพยห มุนเวียน (current assets) 1.1 เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน (cash and deposits at financial institutions) เงินสด หมายถึง เงินสดในมือและเงินฝากธนาคารทุกประเภท แตไมรวมเงินฝาก ประเภทท่ตี องจายคนื เมื่อสิ้นระยะเวลาทีก่ าํ หนด ไดแก 1.1.1 ธนบัตรและเหรียญกษาปณที่หางหุนสวนจดทะเบียนมีอยู รวมทั้ง เงินสดยอ ย ธนาณัติ ตัว๋ แลกเงินไปรษณยี  51

51 1.1.2 เงินฝากธนาคารกระแสรายวันและออมทรัพย ท้ังน้ี ไมรวมเงินฝาก ธนาคารประเภทจายคืนเมื่อส้ินระยะเวลา (เงินฝากประจํา) รวมทั้ง บัตรเงินฝากที่ออกโดยธนาคารและสถาบันการเงิน ซึ่งกําหนดให แสดงไวในรายการท่ี 1.2 และ 2.1 แลว 1.1.3 เช็คท่ีถึงกําหนดชําระแตยังมิไดนําฝาก เช็คเดินทาง ดราฟตของ ธนาคาร 1.2 เงินลงทุนช่ัวคราว (current investments) หมายถึง เงินลงทุนช่ัวคราวตามที่ กําหนดในมาตรฐานการบัญชีเงินลงทุนดังกลาวใหแสดงมูลคาสุทธิหลังจากหักคาเผ่ือการปรับ มูลคาเงินลงทุนและคาเผื่อการดอยคาเงนิ ลงทุน 1.3 ลกู หนกี้ ารคาสุทธิ (trade account receivables, net) หมายถึง เงินที่ลูกคาคาง ชําระคาสินคาหรือคาบริการที่หางหุนสวนจดทะเบียน ไดขายไปตามปกติและลูกหน้ีตามตั๋วเงินรับ อันเกิดจากคาสินคาหรือบริการดังกลาว ทั้งนี้ ใหรวมถึงลูกหนี้และตั๋วเงินรับการคาท่ีเปน กรรมการ พนักงาน ลูกจางและกิจการที่เกี่ยวของกันดวยลูกหน้ีการคาดังกลาว ใหแสดงมูลคา สทุ ธหิ ลงั จากหกั คาเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญ 1.4 เงินใหก ยู มื ระยะส้ันแกบ ุคคลหรือกิจการที่เก่ียวของกัน (short-term loans to related parties) หมายถึง เงินใหกูยืมระยะส้ันแกบุคคลหรือกิจการท่ีเกี่ยวของกัน รวมท้ังลูกหนี้ ในลักษณะอ่ืนใดซึ่งจัดเปนสินทรัพยหมุนเวียน นอกจากลูกหน้ีท่ีเกิดจากการซื้อสินคาหรือ บริการ ซง่ึ กาํ หนดใหแสดงไวใ นรายการท่ี 1.3 ทั้งนี้ ความหมายของบุคคลหรือกิจการที่เก่ียวของกันใหเปนไปตามที่กําหนดใน มาตรฐานการบญั ชี 1.5 เงินใหกูยืมระยะส้ันอ่ืน (other short-term loans) หมายถึง เงินใหกูยืม ระยะส้ันอ่ืนท่ไี มส ามารถจัดเขารายการที่ 1.4 ได 1.6 สินคาคงเหลือ (inventories) หมายถึง สินคาสําเร็จรูป งานหรือสินคา ระหวางทํา วัตถุดิบและวัสดุท่ีใชในการผลิตเพ่ือขายหรือใหบริการตามปกติของหางหุนสวน จดทะเบียน 1.7 สินทรัพยหมุนเวียนอ่ืน (other current assets) หมายถึง คาใชจายลวงหนา รายไดคางรับ และสินทรัพยหมุนเวียนอ่ืนใด นอกจากท่ีกําหนดใหแสดงไวในรายการท่ี 1.1 ถึง รายการที่ 1.6 52

52 2. สนิ ทรพั ยไมหมุนเวยี น (non-current assets) 2.1 เงินลงทุนระยะยาว (long-term investments) หมายถึง เงินลงทุนระยะยาว ตามท่ีกําหนดในมาตรฐานการบัญชีเงินลงทุนดังกลาว ใหแสดงมูลคาสุทธิหลังจากหักคาเผื่อ การปรบั มลู คาหรอื คา เผือ่ การดอยคาของเงนิ ลงทุน 2.2 เงินใหกูยืมระยะยาวแกบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (long-term loans to related parties) หมายถงึ เงนิ ใหกูยมื แกบุคคลหรือกิจการท่ีเกย่ี วขอ งกันตามคํานิยามในรายการท่ี 1.4 ซง่ึ ไมจัดเปนสนิ ทรพั ยห มนุ เวียน 2.3 เงินใหกูยืมระยะยาวอื่น (other long-term investments) หมายถึง เงินใหกูยืม แกบุคคลอื่นหรือกิจการอื่นที่มิใชบุคคลหรือกิจการท่ีเก่ียวของกันนอกจากท่ีกําหนดใหแสดงไว ในรายการท่ี 2.2 2.4 ท่ีดิน อาคารและอุปกรณสุทธิ (property, plant and equipment, net) หมายถึง สินทรัพยท่ีมีตัวตนที่กิจการมีไวเพื่อใชประโยชนในการผลิต เพื่อใชในการจําหนาย สินคาหรือใหบริการ เพื่อใหเชาหรือเพ่ือใชในการบริหารงาน โดยกิจการคาดวาจะใชประโยชน มากกวา หนึง่ รอบปบ ัญชี สินทรัพยดังกลาวใหแสดงมูลคาสุทธิหลังจากหักคาเสื่อมราคาสะสม และ คาเผ่อื การดอ ยคาของสินทรพั ย 2.5 สินทรัพยไมมีตัวตน (intangible assets) หมายถึง สินทรัพยที่ไมมีรูปรางซ่ึง กอใหเกิดประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตแกกิจการ เชน ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร สัมปทาน หรือ คา ความนยิ ม เปนตน 2.6 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น (other non-current assets) หมายถึง สินทรัพย ไมห มุนเวียนอนื่ ใดนอกจากทก่ี าํ หนดใหแ สดงไวใ นรายการท่ี 2.1 ถึงรายการที่ 2.5 หนสี้ นิ และสวนของผเู ปนหนุ สวน 3. หน้สี นิ หมนุ เวยี น (current liabilities) 3.1 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะส้ันจากสถาบันการเงิน (bank overdrafts and short-term loans from financial institutions) หมายถึง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร หน้ีสิน ที่เกิดขึ้นจากการกูยืมระยะส้ันจากธนาคารพาณิชยหรือสถาบันการเงินอ่ืน รวมท้ังการขายหรือ ขายชว งลดต๋ัวเงินกับสถาบันการเงนิ ซ่งึ จัดเปน หนี้สนิ หมนุ เวียน 3.2 เจาหน้ีการคา (trade account payables) หมายถึง เงินที่หางหุนสวน จดทะเบียนคางชําระคาสินคาหรือคาบริการท่ีซ้ือมาเพ่ือขายหรือเพ่ือใชในการผลิตสินคาหรือ 53

53 บริการตามปกติธุระ และต๋ัวเงินจายที่หางหุนสวนจดทะเบียนออกใหเพื่อชําระคาสินคาหรือ บริการดังกลาว ท้ังน้ี ใหรวมถึงเจาหนี้และต๋ัวเงินจายการคาที่เปนกรรมการ พนักงาน ลูกจาง และกจิ การทเี่ กย่ี วขอ งกันดวย 3.3 เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป (current portion of long- term loans) หมายถงึ เงนิ กูย ืมระยะยาวท่ีจะถงึ กาํ หนดชาํ ระคืนในรอบระยะเวลาบัญชถี ดั ไป 3.4 เงินกูยืมระยะส้ันจากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (short-term loans from related parties) หมายถึง เงินกยู ืมระยะสั้นและเงนิ ทดรองจากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน รวมท้ังหน้ีสินในลักษณะอ่ืนใดซ่ึงจัดเปนหนี้สินหมุนเวียน นอกจากหนี้สินที่เกิดจากการซื้อ สินคา หรือบริการ ซงึ่ กําหนดใหแ สดงไวในรายการที่ 3.2 3.5 เงินกูยืมระยะสั้นอ่ืน (other short-term loans) หมายถึง เงินกูยืมระยะสั้นอ่ืน นอกจากทก่ี าํ หนดใหแสดงไวในรายการที่ 3.3 ถงึ รายการท่ี 3.4 3.6 หนี้สินหมุนเวียนอ่ืน (other current liabilities) หมายถึง คาใชจายคางจาย รายไดรับลวงหนา และหนี้สินหมุนเวียนอื่นใด นอกจากที่กําหนดใหแสดงไวในรายการท่ี 3.1 ถงึ รายการที่ 3.5 4. หน้ีสินไมหมนุ เวยี น (non-current liabilities) 4.1 เงินกูยืมระยะยาวจากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (long-term loans from related parties) หมายถึง เงินกูยืมระยะยาวที่หางหุนสวนจดทะเบียนกูยืมจากบุคคลหรือ กจิ การท่เี กยี่ วของกนั รวมท้งั หนี้สินในลักษณะอืน่ ใด ซ่งึ จดั เปน หนี้สนิ ไมห มุนเวียน 4.2 เงินกูยืมระยะยาวอ่ืน (other long-term loans) หมายถึง เงินกูยืมจากบุคคล ธรรมดาหรือนิติบุคคลอื่น รวมทั้งจากธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงินที่ถึงกําหนดชําระคืน เกนิ กวาหนึง่ ปน บั จากวันทใ่ี นงบการเงิน ทัง้ นไ้ี มรวมหนส้ี ินทกี่ ําหนดใหแสดงไวในรายการที่ 4.1 4.3 ประมาณการหนี้สิน (provisions) หมายถึง หน้ีสินท่ีมีความไมแนนอน เกี่ยวกับจังหวะเวลาหรือจํานวนเงินที่ตองจายชําระซึ่งหางหุนสวนจดทะเบียนสามารถประมาณ มูลคาหน้ีสินน้ันไดอยางนาเชื่อถือ และเปนภาระผูกพันในปจจุบันซึ่งมีความเปนไปไดคอนขาง แนท่ีจะทําใหหางหุนสวนจดทะเบียนสูญเสียทรัพยากรท่ีมีประโยชนเชิงเศรษฐกิจตอ หางหนุ สว นจดทะเบยี นเพอ่ื จายชาํ ระภาระผกู พนั ดังกลาว 4.4 หน้ีสินไมหมุนเวียนอ่ืน (other non-current liabilities) หมายถึง หนี้สิน ไมห มนุ เวยี นอน่ื นอกจากท่กี าํ หนดใหแสดงไวใ นรายการที่ 4.1 ถึงรายการที่ 4.3 54

54 5. สวนของผเู ปน หุนสว น (partners’ equity) 5.1 ทุนของผูเปนหุนสวนแตละคน (partners’ capital) หมายถึง เงินลงทุนของผู เปนหุนสวนไมวาจะลงทุนดวยเงินสด หรือสินทรัพยอ่ืนก็ตาม ทั้งนี้ตองแสดงเงินทุนของผูเปน หนุ สวนแตละคน 5.2 สวนเกินทุนอ่ืน (other surpluses) หมายถึง สวนเกินทุนที่เกิดจากรายการ ตาง ๆ เชน สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพยเพิ่ม สวนเกินของราคาตามบัญชีกับมูลคา ยุตธิ รรมของเงนิ ลงทุน เปน ตน ทัง้ นี้ตองเปน ไปตามเกณฑทม่ี าตรฐานการบัญชกี ําหนด 5.3 สวนตา่ํ กวา ทุนอ่ืน (other deficits) หมายถึง สว นตา่ํ กวา ทุนที่เกดิ จากรายการ ตาง ๆ เชน สวนตํ่าระหวางราคาตามบัญชีกับมูลคายุติธรรมของเงินลงทุน เปนตน ทั้งนี้ตอง เปนไปตามเกณฑม าตรฐานการบัญชีกําหนด 5.4 กําไร (ขาดทุน) สะสมยังไมไดแบง (unappropriated retained earnings) หมายถึง กําไรสะสมและกําไรสุทธิของรอบระยะเวลาบัญชีปจจุบันคงเหลือที่ยังไมไดแบงใหผู เปน หนุ สว นในกรณีที่มียอดดุลสุทธิเปนผลขาดทุนสะสม ใหแสดงจํานวนเงินไวในเคร่ืองหมาย วงเลบ็ และเรียกเปน ขาดทนุ สะสม งบกําไรขาดทนุ แสดงแบบขนั้ เดยี ว 1. รายได (revenues) 1.1 รายไดจากการขายและหรือการใหบริการ (revenues from the sale of goods and the rendering of services) หมายถึง รายไดที่เกิดจากการขายสินคา สิทธิ หรือบริการ ซึ่งเปน ธุรกิจหลักของหางหุนสวนจดทะเบียน เพ่ือแลกเปล่ียนกับเงินสด สิทธิเรียกรองใหชําระเงิน หรือส่ิงอื่นท่ีมีมูลคาคิดเปนเงินได ท้ังน้ีใหแสดงเปนยอดสุทธิหลังหักรายการรับคืนและสวนลด แลว โดยแยกแสดงเปนรายไดแตละประเภท เชน รายไดจากการขายสินคา รายไดจากการ ใหบ รกิ าร 1.2 รายไดอ่ืน (other incomes) หมายถึง รายไดจากการดําเนินงานนอกจากท่ี กําหนดใหแ สดงไวในรายการท่ี 1.1ทั้งน้ีใหรวมกําไรอ่ืนที่ไมจัดเปนรายการพิเศษ เชน กําไรจาก การขายเงินลงทุน ท่ีดิน อาคาร อุปกรณ และสินทรัพยอื่น เปนตน ในกรณีที่มีคาใชจายในการ ขายสินทรัพยดังกลาวใหนํามาหักจากรายการน้ีเพื่อแสดงยอดสุทธิ กรณีที่ยอดสุทธิเปนผล ขาดทุนใหแ สดงไวในรายการท่ี 2.3 55

55 2. คาใชจ าย (expenses) 2.1 ตนทุนขายและหรือตนทุนการใหบริการ (costs of the sale of goods and the rendering of services) หมายถึง ตนทนุ ของสนิ คา สทิ ธิ หรือบริการท่ีขาย รวมถึงราคาซื้อ ตนทุน การผลิต และคาใชจายตาง ๆ ที่จายไปเพ่ือใหสินคาอยูในสภาพพรอมที่จะขาย โดยแยกแสดง เปนตนทุนตามประเภทของธุรกิจหลักของกิจการตามที่ไดแสดงไวในรายการที่ 1 เชน ตนทุน ของสินคาทขี่ าย ตน ทนุ ของการใหบริการ เปนตน 2.2 คาใชจายในการขายและบริหาร (selling and administrative expenses) หมายถึง คาใชจายที่เกิดข้ึนอันเนื่องมาจากการขาย และคาใชจายทั่วไปท่ีเกิดขึ้นในการ ดาํ เนินงานอันเปนสวนรวม ทั้งนี้ ไมรวมคาใชจายอื่นและดอกเบ้ียจาย ซึ่งกําหนดใหแสดงไวใน รายการที่ 2.3 และรายการท่ี 4 2.3 คาใชจายอื่น (other expenses) หมายถึง คาใชจายในการดําเนินงานนอกจาก ที่กําหนดใหแสดงไวในรายการท่ี 2.1 ถึง 2.2ทั้งน้ีใหรวมถึงขาดทุนอ่ืนที่ไมจัดเปนรายการพิเศษ เชน ขาดทุนจากการขายเงินลงทุน ท่ีดินอาคาร อุปกรณ และสินทรัพยอื่น และขาดทุนจากการ หยุดงานของพนักงาน เปนตน ในกรณีท่ีมีรายไดจากการขายสินทรัพยดังกลาว ใหนํามาหักจาก รายการนี้เพื่อแสดงยอดสุทธิ 3. กําไร (ขาดทุน) กอนดอกเบ้ียจายและภาษีเงินได (profit (loss) before interest and income tax expenses) หมายถงึ ยอดรวมรายไดหักดว ยยอดรวมคา ใชจาย แตกอ นหกั ดอกเบ้ียจาย และกอ นภาษีเงินได หากมผี ลขาดทุนใหแสดงจํานวนเงนิ ไวในเครอ่ื งหมายวงเลบ็ 4. ดอกเบ้ียจาย (interest expenses) หมายถึง ดอกเบ้ียหรือคาตอบแทนเน่ืองจากการ ใชป ระโยชนจากเงนิ หรอื เงินทุน 5. ภาษเี งนิ ได (income tax expenses) หมายถึง ภาษเี งนิ ไดนิตบิ ุคคลท่ีคํานวณข้ึนตาม วิธกี ารบญั ชีหรือตามบทบญั ญัติแหงประมวลรัษฎากร 6. กําไร (ขาดทุน) จากกิจกรรมตามปกติ (profit (loss) from ordinary activities) หมายถึง กําไร (ขาดทุน) จากกิจกรรมซึ่งเปนสวนหน่ึงของการประกอบธุรกิจของหางหุนสวน จดทะเบยี น หรอื เกิดขนึ้ จากการดาํ เนินงานตามปกติของหางหนุ สวนจดทะเบยี น รวมทงั้ กจิ กรรม อื่นซ่งึ เก่ียวเนอ่ื งกบั การประกอบธุรกจิ หรือการดําเนินงานดงั กลาว 7. รายการพิเศษสุทธิ (extraordinary items, net) หมายถึง รายไดหรือคาใชจายท่ีเกิด จากรายการหรือเหตุการณทางบัญชีที่มีความแตกตางอยางชัดเจนจากการดําเนินงานตามปกติ ของกิจการ และไมคาดวาจะเกิดขึ้นเปนประจําหรือเกิดข้ึนไมบอย เชน คาเสียหายที่เกิดจากไฟไหม 56

56 นํ้าทวม หรือภัยธรรมชาติอยางอื่น เปนตน รายการพิเศษน้ีใหแสดงเปนยอดสุทธิจากภาษีเงินไดท่ี เก่ียวขอ งในกรณที ี่รายการพิเศษเปนผลขาดทนุ ใหแ สดงจาํ นวนเงนิ ไวในเครื่องหมายวงเลบ็ 8. กําไร (ขาดทุน) สุทธิ (net profit (loss)) หมายถึง กําไรหรือขาดทุนหลังจากหัก หรอื รวมรายการพเิ ศษแลว หากมผี ลขาดทุนสทุ ธิใหแสดงจาํ นวนเงินไวใ นเครอื่ งหมายวงเล็บ งบกําไรขาดทุน แสดงแบบหลายขนั้ 1. รายไดจากการขายและหรือการใหบริการ (revenues from the sale of goods and the rendering of services) หมายถึง รายไดที่เกิดจากการขายสินคา สิทธิ หรือบริการ ซึ่งเปน ธุรกิจหลกั ของหางหนุ สว นจดทะเบยี นเพอื่ แลกเปลย่ี นกบั เงินสด สิทธิเรียกรองใหชําระเงิน หรือ สิ่งอื่นที่มีมูลคาคิดเปนเงินได ท้ังน้ีใหแสดงเปนยอดสุทธิหลังหักรายการรับคืนและสวนลดแลว โดยแยกแสดงเปนรายไดแตล ะประเภท เชน รายไดจ ากการขายสนิ คา รายไดจากการใหบรกิ าร 2. ตนทุนขายและหรือตนทุนการใหบริการ (costs of the sale of goods and the rendering of services) หมายถึง ตนทุนของสินคา สิทธิ หรือบริการท่ีขาย รวมถึงราคาซื้อ ตนทุนการผลิต และคาใชจายตาง ๆ ที่จายไปเพื่อใหสินคาอยูในสภาพพรอมท่ีจะขาย โดยแยก แสดงเปนตนทุนตามประเภทของธุรกิจหลักของกิจการตามที่ไดแสดงไวในรายการที่ 1 เชน ตนทนุ ของสนิ คา ทขี่ าย ตน ทุนของการใหบ รกิ าร เปนตน 3. กําไรขั้นตน (gross profit) หมายถึง สวนของรายไดจากการขายสินคาและหรือ บริการสทุ ธทิ ่ีสูงกวา ตนทนุ ขายและหรอื ตน ทุนของการใหบริการ 4. คาใชจายในการขายและบริหาร (selling and administrative expenses) หมายถึง คาใชจายท่ีเกิดข้ึนอันเนื่องมาจากการขาย และคาใชจายทั่วไปท่ีเกิดขึ้นในการดําเนินงานอันเปน สวนรวม ทั้งนี้ ไมร วมคา ใชจายอนื่ และดอกเบีย้ จา ย ซึ่งกําหนดใหแสดงไวใ นรายการที่ 7 และ 9 5. กําไร (ขาดทุน) จากการขายและหรือการใหบริการ (profit (loss) from the sale of goods and the rendering of services) หมายถึง กําไร (ขาดทุน) จากการขายและหรือการ ใหบริการซึ่งไมรวมรายไดอ ืน่ และคาใชจ ายอน่ื ท่กี าํ หนดใหแ สดงในรายการที่ 6 และ 7 6. รายไดอ่ืน (other incomes) หมายถึง รายไดจากการดําเนินงานนอกจากท่ี กําหนดใหแสดงไวในรายการที่ 1ทั้งนี้ใหรวมกําไรอื่นที่ไมจัดเปนรายการพิเศษ เชน กําไรจาก การขายเงินลงทุน ท่ีดิน อาคาร อุปกรณ และสินทรัพยอ่ืน เปนตน ในกรณีที่มีคาใชจายในการ ขายสินทรพั ยด งั กลาวใหนาํ มาหกั จากรายการนเ้ี พ่ือแสดงยอดสุทธิ 57

57 7. คาใชจายอื่น (other expenses) หมายถึง คาใชจายในการดําเนินงานนอกจากที่ กําหนดใหแสดงไวใ นรายการท่ี 2 และ 4ท้ังนใี้ หรวมถึงขาดทุนอื่นที่ไมจัดเปนรายการพิเศษ เชน ขาดทุนจากการขายเงินลงทุน ท่ีดินอาคาร อุปกรณ และสินทรัพยอื่น และขาดทุนจากการหยุด งานของพนักงาน เปนตน ในกรณีที่มีรายไดจากการขายสินทรัพยดังกลาว ใหนํามาหักจาก รายการนี้เพื่อแสดงยอดสุทธิ 8. กาํ ไร (ขาดทนุ ) กอนดอกเบ้ียจายและภาษีเงินได (profit (loss) before interest and income tax expenses) หมายถงึ ยอดรวมรายไดห ักดว ยยอดรวมคาใชจาย แตก อ นหกั ดอกเบ้ียจาย และกอ นภาษเี งนิ ไดหากมีผลขาดทุนใหแสดงจํานวนเงนิ ไวในเครื่องหมายวงเลบ็ 9. ดอกเบ้ียจาย (interest expenses) หมายถึง ดอกเบ้ียหรือคาตอบแทนเนื่องจากการ ใชประโยชนจ ากเงินหรอื เงินทุน 10. ภาษีเงินได (income tax expenses) หมายถึง ภาษีเงินไดนิติบุคคลที่คํานวณขึ้น ตามวิธกี ารบญั ชหี รอื ตามบทบัญญัติแหง ประมวลรัษฎากร 11. กําไร (ขาดทุน) จากกิจกรรมตามปกติ (profit (loss) from ordinary activities) หมายถึง กําไร (ขาดทุน) จากกิจกรรมซ่ึงเปนสวนหนึ่งของการประกอบธุรกิจของหางหุนสวน จดทะเบยี น หรือเกิดขน้ึ จากการดาํ เนนิ งานตามปกติของหางหุนสวนจดทะเบียน รวมทั้งกิจกรรมอ่ืน ซึ่งเกีย่ วเน่ืองกบั การประกอบธรุ กจิ หรอื การดําเนนิ งานดังกลาว 12. รายการพิเศษ-สุทธิ (extraordinary items, net) หมายถึง รายไดหรือคาใชจายที่เกิด จากรายการหรือเหตุการณทางบัญชีท่ีมีความแตกตางอยางชัดเจนจากการดําเนินงานตามปกติของ กิจการ และไมคาดวาจะเกิดข้ึนเปนประจําหรือเกิดข้ึนไมบอย เชน คาเสียหายที่เกิดจากไฟไหม นํ้าทวม หรือภัยธรรมชาติอยางอื่น เปนตน รายการพิเศษนี้ ใหแสดงเปนยอดสุทธิจากภาษีเงินไดที่ เกย่ี วขอ งในกรณีทีร่ ายการพิเศษเปน ผลขาดทุน ใหแ สดงจํานวนเงินไวใ นเครอ่ื งหมายวงเล็บ 13. กําไร (ขาดทุน) สุทธิ (net profit (loss)) หมายถึง กําไรหรือขาดทุนหลังจากหัก หรือรวมรายการพิเศษแลว หากมผี ลขาดทนุ สทุ ธใิ หแสดงจํานวนเงนิ ไวใ นเคร่อื งหมายวงเลบ็ ความแตกตางในการแสดงสวนทนุ ของหางหุนสวนและบรษิ ัท การแสดงสวนทุนในงบการเงินของหางหุนสวนจดทะเบียนและบริษัทจํากัดตอง จัดทําใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีและประกาศของกรมพัฒนาธุรกิจการคา เร่ือง กําหนด รายการยอท่ีตองมีในงบการเงิน พ.ศ. 2544 สําหรับงบการเงินท่ีมีรอบปบัญชีเร่ิมตนในหรือหลัง 58

58 วันท่ี 1 มกราคม 2545 เปนตนไป แบบรายการยอดังกลาวจะเปนแนวทางที่กําหนดใหแสดง รายการแยกเปนแตละบรรทัดพรอมจํานวนเงินหากมีรายการตามที่กําหนดตองแสดงไวในงบ การเงินตามประเภทและลักษณะของรายการน้ัน แตหากรายการใดไมมีก็ไมตองแสดง หรือหาก รายการใดท่ีตองการแสดงรายการเพ่ิมจากประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคาก็สามารถนํามาแสดง เพิ่มเติมไดต ามความจําเปน ท้ังน้ีความแตกตางในการแสดงสวนทุนของหางหุนสวนและบริษัทจะมีความ แตกตางกันโดยหางหุนสวนจะระบุชื่อบัญชีทุนของหุนสวนแตละคนท่ีนํามาลง แตบริษัทจะ แสดงทุนโดยการแบงทุนเปนหุน ๆ มูลคาหุนละเทา ๆ กัน และมิไดระบุวาเปนของผูใดในงบ การเงนิ ซงึ่ อาจแสดงไดดังนี้ ตารางที่ 4.1 เปรยี บเทยี บการแสดงสว นทนุ ของหา งหุนสว นและบริษทั หางหนุ สว นจดทะเบยี น บริษทั จํากัด สว นของผูเปนหนุ สว น สว นของผถู ือหนุ 1. ทนุ ของผูเปน หนุ สวนแตล ะคน 1. ทนุ เรอื นหนุ ทนุ – นาย ก 1.1 ทนุ จดทะเบยี น ทนุ – นาย ข 1.1.1 หุน บรุ ิมสิทธิ 2. สวนเกินทนุ อืน่ 1.1.2 หุน สามัญ 3. สวนต่าํ กวา ทนุ อืน่ 1.2 ทุนที่ออกและชาํ ระแลว 4. กาํ ไร(ขาดทุน)สะสมยังไมไ ดแ บง 1.2.1 หุนบรุ ิมสทิ ธิ รวมสว นของผูเปนหุนสว น 1.2.2 หุนสามญั 2. สว นเกนิ (ต่าํ กวา ) ทุน 2.1 สวนเกนิ มลู คา หุน บุรมิ สิทธิ 2.2 สว นเกนิ มลู คาหุนสามัญ 2.3 สว นเกนิ ทุนอนื่ 2.4 สวนตา่ํ กวาทนุ อนื่ 3. กาํ ไร (ขาดทุน) สะสม 3.1 จัดสรรแลว 3.2 ยงั ไมไ ดจดั สรร รวมสวนของผูถ อื หนุ 59

59 สรุป การบันทึกบัญชีของหางหุนสวน มี 2 วิธี คือ วิธีทุนคงท่ี และวิธีทุนเปล่ียนแปลง โดยวิธีทุนคงที่ จะบันทึกเฉพาะทุนที่นํามาลงเทานั้น มีบัญชีที่เกี่ยวของ ไดแก บัญชีทุน และ บัญชีเงินถอน ซ่ึงบัญชีทุน ใชบันทึกเกี่ยวกับการลงทุนคร้ังแรก การเพ่ิมทุน การลดทุน บัญชี กระแสทุน ใชบันทึกรายการที่ทําใหสวนไดเสียของหุนสวนเปล่ียนแปลง และบัญชีเงินถอน ใช บันทกึ การถอนกําไรไปใชล วงหนา สวนวิธีทุนเปลี่ยนแปลง จะบันทึกเงินทุนของหุนสวนแตละ คนเพียงบญั ชเี ดียว มบี ญั ชที เ่ี กี่ยวขอ งไดแก บัญชีทุน และบัญชีกระแสทุน ซึ่งบัญชีทุน ใชบันทึก เก่ียวกับการลงทุนครั้งแรก การเพ่ิมทุน การลดทุน รายการที่ทําใหสวนไดเสียของหุนสวน เปลยี่ นแปลง และบัญชเี งินถอน ใชบ ันทกึ การถอนกําไรไปใชลว งหนา การแบงกําไรขาดทุน ที่นิยมปฎิบัติ ไดแก แบงเทากัน แบงตามอัตราสวนที่ตกลง แบงตามอตั ราสวนทนุ แบง กาํ ไรขาดทุนโดยใหเงินเดือน และกําไรหรือขาดทุนสวนท่ีเหลือแบง ในอัตราท่ีตกลง แบงกําไรขาดทุนโดยใหเงินเดือน ดอกเบ้ียทุนและกําไรหรือขาดทุนสวนท่ี เหลือแบงในอัตราท่ีตกลง แบงกําไรขาดทุนโดยใหเงินเดือน ดอกเบ้ียทุน โบนัส และกําไรหรือ ขาดทุนสวนท่ีเหลือแบงในอัตราท่ีตกลง นอกจากนี้หากมิไดมีการตกลงไวในสัญญาจัดต้ังหาง หุนสวนตามกฎหมายใหแ บง กําไรตามสว นทลี่ งหนุ งบการเงินของหางหุนสวนท่ีตองจัดทําข้ึนในวันสิ้นสิ้นงวดบัญชี ไดแก งบดุล งบกําไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูเปนหุนสวนหรืองบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน 60

60 แบบฝกหดั ทา ยบท 1. การบันทกึ บัญชีของหา งหนุ สว นมีก่วี ธิ ี อะไรบาง และแตกตางกันอยา งไร 2. การแบงกาํ ไรขาดทนุ มีกี่วธิ ี อะไรบา ง 3. การแบงกาํ ไรตามวิธอี ัตราสวนทุนมกี ่วี ธิ ี อะไรบา ง 4. หางหุน สวนตองจัดทํางบการเงินใดบา ง 5. งบการเงนิ ของหา งหนุ สว นกบั กจิ การเจาของคนเดยี วแตกตา งกันอยางไร 6. ชวลิต สเุ ทพ และวเิ ศษ ตกลงกันจดั ตงั้ หา งหนุ สว น โดยผูเปนหุนสวนนําสินทรัพยมาลงทุน ดงั น้ี ชวลติ เงนิ สด 240,000 บาท รถยนตม ลู คา 400,000 บาท คาเสือ่ มราคาสะสม-รถยนต 16,000 บาท อปุ กรณ 480,000 บาท สเุ ทพ เงนิ สด 560,000 บาท อาคาร 640,000 บาท คาเสอื่ มราคาสะสม-อาคาร 360,000 บาท วเิ ศษ นาํ แรงงานมาลงทนุ ในฐานะผจู ัดการ โดยประเมนิ มูลคาของแรงงานในราคา 1,000,000 บาท และผเู ปนหุนสวนตกลงกนั วา จะไมม ีการคืนทนุ สําหรบั มลู คาของ แรงงานทม่ี าลงน้ี ใหทํา บนั ทกึ รายการขา งตน ในสมดุ รายวนั ทัว่ ไป 7. หางหุนสวนอนสุ าร มรี ายการเกยี่ วกับทุนในระหวา งป 25x3 ดังตอ ไปน้ี 25x3 ม.ค. 1 นายอนุ และนายสาระ ไดตกลงรว มกนั จดั ตง้ั หางหนุ สว นอนุสาร โดยนาํ เงินสด มาลงทนุ 10,000 บาท และ 20,000 บาท ตามลาํ ดับ และแบง ผลกาํ ไรขาดทุนใน อตั ราสว นทนุ เมอื่ เรมิ่ ดาํ เนนิ กิจการ มี.ค. 13 นายสาระนาํ อปุ กรณมาลงทนุ เพมิ่ 100,000 บาท ม.ิ ย. 22 นายอนนุ าํ รถยนตม ูลคา 200,000 บาท มาลงทุนเพม่ิ ก.ย. 18 นายอนุถอนเงนิ ไปใชสวนตวั 10,000 บาท 61

61 พ.ย. 9 นายสาระถอนเงนิ ทุนคนื ไป 20,000 บาท ธ.ค. 31 หา งหนุ สวนมกี ําไรสทุ ธิ 54,000 บาท ผเู ปน หนุ สว นไดน าํ กําไรสทุ ธิจํานวน 40,000 บาทแบงกนั ตามขอ ตกลง กาํ ไรสทุ ธทิ ่ีเหลือใหแบง เทากนั ใหท ํา บนั ทึกรายการขา งตนในสมุดรายวนั ท่วั ไป 8. บัญชที ุนของหนุ สวน ตกุ และตา ประกอบดวยรายละเอียดดังตอ ไปน้ี ม.ค. 1 นาย ตุก นาย ตา 19,800 มี.ค. 30 ยอดยกมาตนงวด 31,200 ม.ค. 1 ยอดยกมาตนงวด 6,000 พ.ค. 10 ลงทนุ เพ่มิ 3,600 พ.ค. 18 ลงทุนเพ่มิ 2,400 ก.ค. 25 ลงทนุ เพ่มิ 8,400 ส.ค. 24 เงนิ ถอน 23,400 ธ.ค. 31 เงนิ ถอน 4,800 ธ.ค. 31 ยอดยกไป ณ สน้ิ งวด ยอดยกไป ณ ส้นิ งวด 38,400 เม่อื วนั ที่ 31 ธนั วาคม บญั ชกี าํ ไรขาดทนุ แสดงยอดเครดติ 28,560 บาท ใหท าํ บนั ทกึ รายการในสมดุ รายวันท่วั ไปเพื่อแบงผลกาํ ไรขาดทุนตามเงอื่ นไขดงั ตอ ไปนี้ 1. แบง ตามอตั ราสวนของทนุ ณ วันตนงวดบัญชี 2. แบงตามอัตราสวนทุนถัวเฉล่ีย (การลงทุนเพ่ิมและการถอนทุนนั้น รายการใดที่ เกิดขนึ้ ระหวางครง่ึ เดือนหลงั ใหถ ือเปนวนั ปลายเดอื น และรายการใดทีเ่ กดิ ขน้ึ ระหวางคร่ึงเดือน แรก ใหถือเปนวนั ตนเดือน) 3. คิดดอกเบ้ีย 5% ใหแกเงินทุนถัวเฉลี่ย และคิดเงินเดือนให ตุก และตา ปละ 18,000 บาท และ12,000 บาท ตามลาํ ดับ กําไรขาดทุนสวนท่เี หลือใหแ บง เทากัน (เง่ือนไขในการ ลงทนุ เพิ่มและถอนทุนใหคิดเชน เดยี วกบั ขอ 2) 4. ใหคิดโบนัสใหกับนาย ตุก 20% ของกําไรสุทธิหลังจากหักโบนัส และให ดอกเบี้ย 5% ของเงินทุนถัวเฉล่ียของผูเปนหุนสวนท่ีเกินกวาเงินทุนถัวเฉล่ียของหุนสวนอีกคน หนึ่ง กําไรขาดทนุ ทเี่ หลือใหแบง ใหก บั ตกุ และ ตา ในอตั ราสว น 3 : 2 ตามลาํ ดบั 5. คดิ เงนิ เดอื นใหแ กผูเปน หนุ สวน ตกุ และ ตา เดอื นละ 1,800 บาท และ 1,200 บาท ตามลาํ ดับ ถา หากหนุ สวนมีกําไรหรือขาดทนุ ใหแ บงกาํ ไรหรือขาดทุนที่เหลือเทากนั 62

62 9. หางหุนสวน เอนกไพศาล ไดจัดตั้งขึ้นเม่ือวันที่ 1 สิงหาคม 25x2 โดยผูเปนหุนสวนนําเงินมา ลงทุนดงั นี้ นาย เอ 150,000 บาท นาย นก 75,000 บาท นายไพ 75,000 บาท นาย ศาล 60,000 บาท ผูเปนหุนสวนตกลงกันวา หุนสวนแตละคนจะไดรับดอกเบ้ีย 4% โดยคิดจากเงิน ลงทุน ณ วันเริ่มต้ังกิจการ นอกจากนี้ นาย เอ ยังไดรับเงินเดือน ปละ 15,000 บาท และนาย นก ไดรับเงินเดือนปละ 9,000 บาท กําไรสวนท่ีเหลือจะแบงกันในอัตราสวนดังน้ี เอ นก ไพ และศาล เทากบั 30% : 30% : 20% : 20% ตามลาํ ดับ ใหท ํา คาํ นวณสว นแบง กําไรขาดทนุ และบนั ทกึ ในสมดุ รายวนั ทั่วไป 10. เอม และอร ตกลงรวมกนั จดั ต้ังหา งหนุ สว น โดยมขี อ ตกลงในการแบงกําไรขาดทุนกนั ดงั นี้ 1. คดิ เงนิ เดือนใหแกห ุนสว นคนละ 1,000 บาท ตอเดือน 2. ใหคิดโบนสั แกหุน สว นคนละ 5% ของกําไรหลงั หกั เงนิ เดือน 3. กาํ ไรที่เหลอื แบง กนั ในอตั ราสว น 2 : 3 - รายการเกยี่ วกบั หา งหนุ สว น เอมอร มีดงั นค้ี ือ หนุ สวน เอม ลงทุนดว ยเงินสด 450,000 บาท หุนสว น อร ลงทนุ ดว ยเงินสด 300,000 บาทและรถบรรทกุ สนิ คา ตีราคาไว 300,000 บาท - สิน้ ปมกี าํ ไรสทุ ธิ 240,000 บาท ใหท าํ 1. คาํ นวณสว นแบงกาํ ไรทห่ี นุ สว นแตละคนจะไดรับ 2. บันทึกรายการในสมดุ รายวันทัว่ ไป 3. แสดงงบแสดงการเปล่ยี นแปลงเงินทนุ 63

บทท่ี 3 การเปลยี่ นแปลงสวนของผูเปน หุน สว น การเปลี่ยนแปลงสวนของผูเปนหุนสวน อาจเน่ืองมาจากหางหุนสวนประสบ ความสําเรจ็ ในการดําเนนิ งาน ตอ งการขยายกิจการเพอ่ื รองรับการเติบโตของธุรกิจจึงกอใหเกิดการ เปล่ียนแปลงจํานวนผูเปนหุนสวน หรือเงินทุนของหางหุนสวน การเปลี่ยนแปลงสวนของผูเปน หุนสวนเกิดขึ้นจากการรับหุนสวนใหม การลาออกของผูเปนหุนสวน และการตายของผูเปน หุนสวน ในทางกฎหมายการเปลี่ยนแปลงดังกลาวอาจทําใหตองเลิกกิจการแลวทําการจัดต้ัง หางหุนสวนใหมทันที แตในทางปฏิบัติอาจเกิดการประกอบกิจการใหมหรือไมก็ได แตท้ังน้ีตอง ไดรับความยินยอมจากผูเปนหุนสวนทุกคน หลังการเปล่ียนแปลงสวนของผูเปนหุนสวนแลวเมื่อ หางหุนสวนยังคงดําเนนิ กิจการตอ ไปตอ งมีการเปลี่ยนแปลงสัญญาการจัดตั้งหางหุนสวนท่ีมีอยูเดิม โดยมีการปรังปรุงเปลี่ยนขอสัญญาใหม เพื่อใหเกิดความเปนธรรมในการกําหนดรายละเอียด เก่ียวกบั เงินทุน และการแบง ผลกําไรขาดทุน การรับหนุ สว นใหม ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย มาตรา 1040 บัญญัติวา หามมิใหชักนําเอา บุคคลผูอื่นเขามาเปนหุนสวนโดยมิไดรับความยินยอมของผูเปนหุนสวนหมดดวยกันทุกคน เวนแตจะไดตกลงไวเปนอยางอ่ืน (สุรศักด์ิ วาจาสิทธ์ิ, และคนอ่ืน ๆ, 2548, หนา 333) ดังน้ันใน การรับหุนสวนใหมจึงตองไดรับความยินยอมจากผูเปนหุนสวนทุกคนซึ่งควรปรับปรุงสินทรัพย และหนส้ี ินใหม ีมูลคา ยตุ ธิ รรม ผลตา งทีเ่ กิดจากราคาตามบัญชี และมูลคายุติธรรมจะถูกโอนปดไป ยังบัญชีของผูเปนหุนสวนเดิม เนื่องจากผูเขาเปนหุนสวนใหมจะตองรับผิดในหนี้สินซึ่งหาง หุน สวนไดก อ ใหเกดิ ขน้ึ กอ นจะเขา มาเปน หนุ สวนดวย วิธีการรับหุนสว นใหมท าํ ได 2 วิธี ดังน้ี 1. ผูเปนหุนสวนใหมซ้ือสิทธิสวนไดเสียบางสวนหรือท้ังหมดจากผูเปนหุนสวนเดิม คนเดียวหรือหลายคน (admission by purchased interest) การบันทกึ บญั ชตี ามวิธีน้ีจะบันทึกเฉพาะ ทุนของผูเปนหนุ สวนเดิมท่ีโอนไปใหกับผูเปนหุนสวนใหมตามสิทธิสวนไดเสียท่ีซ้ือขายกัน โดย ถือวาการซื้อขายสิทธิสวนไดเสียเปนการตกลงกันระหวางผูเปนหุนสวนดวยกันไมเกี่ยวของกับ หางหุนสวน ดังน้ันหางหุนสวนจึงไมตองบันทึกการรับรูเงินสดหรือสินทรัพยท่ีจายใหกัน และ 64

64 หลังการรับหุนสวนใหมสินทรัพยสุทธิของหางหุนสวนหรือสวนของผูเปนหุนสวนทั้งหมดของ หางหุนสวนจะไมเปลี่ยนแปลง แตสิทธิสวนไดเสียอาจไมจําเปนตองเทากับอัตราสวนแบงกําไร ขาดทุน หางหุน สวนจึงควรกาํ หนดอตั ราสว นแบง กําไรขาดทุนใหช ัดเจนเปน ลายลกั ษณอ กั ษร และ หากไมไ ดก าํ หนดไวใ หปฏบิ ัติตามกฎหมาย โดยแบงตามอัตราสว นของทุนทน่ี ํามาลง การบนั ทกึ บญั ชเี มื่อมกี ารซอ้ื สทิ ธิสว นไดเ สยี มี 2 ลกั ษณะ ดังนี้ 1.1 การซ้ือสิทธิสวนไดเสียจากผูเปนหุนสวนเดิมเพียงคนเดียว ซ่ึงสามารถแยก พจิ ารณาไดด ังนี้ 1.1.1 ซ้ือสิทธิสวนไดเสียในราคาตามบัญชี ผูเปนหุนสวนใหมจะซื้อสิทธิ สวนไดเสยี โดยจา ยซ้ือเทา กับสทิ ธสิ ว นไดเ สยี ที่จะไดร ับจากหุนสวนเดิมคนใดคนหนึ่งเพียงคนเดียว และหา งหุนสวนจะบันทึกบญั ชีเฉพาะการโอนทุนของผเู ปนหุนสว นเดิมไปใหผ เู ปนหุนสวนใหม ตวั อยางที่ 3.1 แตน และแอน เปนหุนสวนกัน แบงกําไรขาดทุนในอัตราสวน 5 : 2 : 3 ตามลําดับ งบดลุ ของหา งหนุ สวนกอ นทีจ่ ะรับหนุ สว นใหมเปนดงั นี้ หา งหนุ สว น เพื่อน งบดลุ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 (หนว ย:บาท) สินทรพั ย หนส้ี นิ และสวนของผูเปนหนุ สวน สนิ ทรัพยห มนุ เวยี น หนส้ี ินหมุนเวยี น เงินสด ลูกหนี้ 10,000 เจาหน้ี 40,000 สินคา คงเหลือ สนิ ทรพั ยไมหมุนเวียน 20,000 ตัว๋ เงินจา ย 10,000 50,000 - ที่ดิน อาคาร 20,000 50,000 - สว นของผูเปน หุนสวน อปุ กรณ รวมสนิ ทรพั ย ทนุ – แตน 31,000 50,000 ทนุ – แนน 21,500 30,000 ทนุ – แอน 37,500 90,000 - 10,000 90,000 - 140,000 - รวมหน้สี ินและสว นของผเู ปนหนุ สวน 140,000 - แจนซ้ือสทิ ธสิ วนไดเ สยี จากแอน เพ่อื จะไดรบั สิทธิสวนไดเสีย 25% ในหางหุนสวน โดยจา ยเงนิ 22,500 บาท 65

65 การคํานวณ = 22,500 บาท จํานวนเงนิ ที่จายซอื้ = 22,500 บาท สทิ ธิสว นไดเ สียที่ไดร ับ (90,000 x 25%) ดงั น้นั แจนจายซือ้ ในราคาเทา กับสิทธสิ ว นไดเสยี ทไี่ ดร ับ เดบติ เครดติ 22,500 - การบันทกึ บญั ชีเปน ดังน้ี สมดุ รายวนั ท่วั ไป 22,500 - วนั ท่ี รายการ เลขที่ บญั ชี ทนุ – แอน ทนุ – แจน บนั ทึกการรับแจนเขา มาเปนหุนสว นใหม จากตัวอยางท่ี 3.1 การบันทึกบัญชีจะบันทึกเฉพาะการโอนทุนของแอน ไปใหกับ แจน จํานวน 22,500 บาท หางหุนสวนไมไดบันทึกรับเงินสด ซ่ึงหลังจากการโอนทุนแลวนํามา จดั ทาํ งบดลุ ไดด ังนี้ หางหุนสว น เพื่อน งบดลุ วันท่ี 31 ธันวาคม 25x1 (หนวย:บาท) สนิ ทรัพย หน้สี นิ และสว นของผูเปน หุนสว น สนิ ทรัพยห มุนเวยี น หน้ีสินหมุนเวยี น เงนิ สด 10,000 เจาหนี้ 40,000 ลกู หนี้ 20,000 ตัว๋ เงินจา ย 10,000 50,000 - สินคา คงเหลอื 20,000 50,000 - สว นของผเู ปน หุน สวน สินทรัพยไมห มนุ เวยี น ทนุ – แตน 31,000 ที่ดิน 50,000 ทุน – แนน 21,500 อาคาร 30,000 ทนุ – แอน 15,000 อุปกรณ 10,000 90,000 - ทุน – แจน 22,500 90,000 - รวมสนิ ทรพั ย 140,000 - รวมหนสี้ นิ และสวนของผูเปน หนุ สว น 140,000 - 66

66 1.1.2 ซื้อสทิ ธสิ วนไดเสยี ในราคาสงู กวาราคาตามบัญชี ผูเปนหุนสวนใหมจะ ซ้ือสิทธิสวนไดเสียโดยจายซ้ือสูงกวาสิทธิสวนไดเสียที่จะไดรับจากหุนสวนเดิมคนใดคนหน่ึง เพียงคนเดียว แตหางหุนสวนจะบันทึกบัญชีเฉพาะการโอนทุนของผูเปนหุนสวนเดิมไปใหผูเปน หุน สวนใหม ตัวอยางท่ี 3.2 จากตัวอยางที่ 3.1 สมมุติใหแจนซื้อสิทธิสวนไดเสียจากแอน เพ่ือจะไดรับสิทธิ สวนไดเสีย 25% ในหา งหนุ สว น โดยจายเงิน 25,000 บาท การคํานวณ จํานวนเงนิ ทจี่ า ยซอ้ื = 25,000 บาท สทิ ธิสว นไดเสยี ท่ีไดรับ (90,000 x 25%) = 22,500 บาท ดงั นน้ั แจนจา ยเงนิ ซอ้ื สิทธสิ ูงกวาราคาตามบญั ชี = 2,500 บาท การบนั ทึกบัญชี สามารถเลอื กปฏิบัติได 2 วธิ ี ดงั น้ี 1.1.2.1 วิธีโบนัส (bonus method) เปนเงินท่ีผูเปนหุนสวนใหมจายซื้อ สิทธสิ ว นไดเสียในหางหนุ สวนสงู กวา สทิ ธิสวนไดเสียที่ไดร ับ จํานวนเงนิ ท่จี ายสงู นี้ เรียกวา โบนัส จากตัวอยางท่ี 3.2 แจนจายเงิน 25,000 บาท ซ่ึงสูงกวาสิทธิสวนไดเสีย ท่ีไดรับ คือ 22,500 บาท จํานวนเงินท่ีแจนจายสูงกวาราคาตามบัญชีมานี้ถือเปนโบนัสใหแก หุนสวนเดิม คือ แอน ซ่ึงเปนผูขาย การบันทึกบัญชีก็เพียงแตโอนบัญชีทุนของแอนไปยังบัญชีทุน ของแจนเทากับสทิ ธิสวนไดเ สียที่ไดรบั การบันทึกบัญชเี ปนดงั น้ี สมดุ รายวนั ท่วั ไป วนั ท่ี รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ บญั ชี ทนุ – แอน 22,500 - ทนุ – แจน 22,500 - บนั ทึกการรับแจนเขา มาเปนหุนสวนใหม จะเห็นไดวาการบันทึกโดยวิธีโบนัสเหมือนกับวิธีซ้ือสิทธิสวนไดเสีย ในราคาตามบัญชี เนื่องจากไมคํานึงถึงจํานวนเงินที่แอนไดรับ ดังน้ันการแสดงรายการในงบดุลก็ จะเปนเชนเดยี วกับวิธีซอื้ สทิ ธสิ วนไดเ สียในราคาตามบัญชี 67

67 1.1.2.2 วิธีคาความนิยม (goodwill method) การดําเนินงานของหาง หุน สว นแตละแหงโดยทว่ั ไปมคี วามสามารถในการหากําไรไมเทากัน ท้ังนี้ข้ึนอยูกับความสามารถ ของผูบริหาร กิจการใดที่สามารถหากําไรไดมากกวากิจการอ่ืน ๆ ท่ีดําเนินกิจการประเภทเดียวกัน กจิ การนั้นจะมีคา ของกิจการมากขึน้ เรยี กวา คา ความนยิ ม (ธารี หิรัญรศั ม,ี 2546, หนา 50) จากตัวอยางที่ 3.2 แจนจายเงิน 25,000 บาท เพื่อจะไดรับสิทธิสวนได เสยี เพยี ง 22,500 บาท เปน การแสดงใหเห็นวา หางหุนสวนมีการบันทึกสินทรัพยท่ีต่ําเกินไป แจน จึงยอมจา ยเงนิ ในจาํ นวนทสี่ ูงกวา สิทธสิ วนไดเสียท่ีไดร บั จากการท่ีแจนจายเงิน 25,000 บาท เพื่อจะไดรับสิทธิสวนไดเสีย 25% ในหางหุนสวน ดังน้ันสินทรัพยสุทธิของหางหุนสวนควรมีมูลคา 100,000 บาท (25,000 ÷ 0.25) นั่นคอื สนิ ทรพั ยส ุทธคิ วรเพมิ่ ขึน้ 10,000 บาท จากยอดตามบัญชีที่มีอยูเดิม 90,000 บาท อยางไรก็ ตามจากข้ันตอนวิธีการบันทึกบัญชีของการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูเปนหุนสวน ไดสมมติวา หางหุนสวนปรับปรุงสินทรัพยที่มีตัวตนใหเปนราคายุติธรรมเรียบรอยแลว จึงถือวามูลคาท่ี เพิ่มข้ึนนี้ควรบันทึกเปนคาความนิยมของผูเปนหุนสวนเดิม และปนสวนไปยังบัญชีทุนของผูเปน หุนสวนเดิมในอัตราสวนแบงกําไรขาดทุนเดิม คาความนิยมน้ีจะตองตัดจําหนายตามอายุการให ประโยชนเชิงเศรษฐกจิ ไมเกิน 20 ป ตามมาตรฐานการบญั ชฉี บับที่ 51 เรอื่ ง สนิ ทรัพยไ มมีตวั ตน การคาํ นวณคา ความนยิ ม อาจคํานวณไดจ ากสูตรดังนี้ คา ความนยิ มของผูเปนหนุ สวนเดิม = โบนสั สิทธิสวนไดเ สยี ของผูเปน หนุ สว นใหม 2,500 = 0.25 ดงั นัน้ คาความนิยมของผูเปน หุน สวนเดิม = 10,000 บาท เนื่องจากการท่ีแจนยอมจายเงินสูงกวาสิทธิสวนไดเสียที่ไดรับ แสดงวาหาง หุนสวนอาจมีช่ือเสียง ทําใหเกิดคาความนิยม และแจนตองการเขามาเปนหุนสวนดวยจึงเกิดคา ความนิยมของผูเปนหุนสวนเดิมท่ีผูเปนหุนสวนใหมคิดใหซึ่งคิดจากสิทธิสวนไดเสียของผูเปน หุนสว นใหมดังนี้ สิทธสิ วนไดเสียของผเู ปนหุน สวนใหม 25% คิดคาความนิยมให = 2,500 บาท สิทธสิ วนไดเสียทั้งหมดของหางหนุ สว น 100% คิดคา ความนยิ ม = 2,500 x 100 25 = 10,000 บาท 68

68 การบันทึกบัญชี ตามวธิ ีนม้ี ี 2 ข้ันตอน ดงั น้ี เดบติ เครดติ 1. บนั ทกึ คา ความนยิ มของผเู ปน หุนสว นเดิม 10,000 - 2. บันทึกการรบั หุนสวนใหม 5,000 - 2,000 - การบนั ทกึ บัญชเี ปน ดงั น้ี 3,000 - สมุดรายวนั ท่วั ไป วนั ที่ รายการ เลขท่ี บญั ชี คาความนยิ ม ทนุ – แตน ทนุ – แนน ทนุ – แอน บันทกึ คา ความนยิ มของผเู ปน หนุ สวนเดิม ดงั นั้นหลังจากบันทึกคา ความนยิ มใหก บั หางหนุ สว นแลว หา งหนุ สว นจะมที นุ เปน (90,000 + 10,000) 100,000 บาท ซง่ึ จะโอนสทิ ธสิ วนไดเสยี ใหก บั แจน 25% ดังนี้ สทิ ธสิ วนไดเสยี ของแจน = 100,000 x 25% = 25,000 บาท การบนั ทกึ บัญชีเปน ดงั นี้ สมุดรายวนั ท่วั ไป วนั ที่ รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ บัญชี ทุน - แอน 25,000 - ทนุ – แจน 25,000 - บนั ทกึ การรับแจนเขา มาเปนหุนสว นใหม ภายหลังจากรับหุนสวนใหม บัญชีทุนรวมมียอดเพิ่มขึ้นเปน 100,000 บาท แตแจนยังคงไดส ิทธสิ วนไดเ สียเทา เดมิ คอื 25 % ดงั นี้ 69

69 แตน แนน แอน แจน รวม ยอดเงนิ ทุนเดิม 31,000 21,500 37,500 90,000 บันทกึ คาความนิยม 5,000 2,000 3,000 . 10,000 โอนทนุ แอนไปใหแจน ยอดเงินทุนใหม 36,000 23,500 40,500 100,000 สิทธิสวนไดเสียตามอตั ราสวนทนุ . . (25,000) 25,000 . 36,000 23,500 15,500 25,000 100,000 36% 23.5% 15.5% 25% จากตัวอยางที่ 3.2 วิธีคาความนิยมจะทําใหหางหุนสวนมีสินทรัพยเพ่ิมข้ึน และสวนของผูเปนหุนสวนก็เพ่ิมข้ึนดวย แตคาความนิยมนี้จะเพิ่มใหกับผูเปนหุนสวนเดิมเทานั้น โดยแสดงงบดลุ ไดด งั นี้ หา งหุน สว น เพือ่ น งบดุล วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 (หนวย:บาท) สินทรัพย หนสี้ นิ และสว นของผูเปน หุนสว น สนิ ทรัพยห มุนเวียน หน้ีสนิ หมุนเวยี น เงินสด ลกู หน้ี 10,000 เจาหน้ี 40,000 สนิ คาคงเหลอื สินทรัพยไมห มนุ เวยี น 20,000 ต๋วั เงนิ จา ย 10,000 50,000 - ทด่ี ิน อาคาร 20,000 50,000 - สวนของผูเ ปน หนุ สว น อปุ กรณ คาความนิยม ทุน – แตน 36,000 รวมสินทรัพย 50,000 ทุน – แนน 23,500 30,000 ทุน – แอน 15,500 10,000 ทนุ – แจน 25,000 100,000 - 10,000 100,000 - 150,000 - รวมหนี้สินและสว นของผูเปนหุนสว น 150,000 - 70

70 1.1.3 ซ้อื สิทธิสวนไดเ สยี ในราคาตาํ่ กวา ราคาตามบัญชี ผูเปน หุนสวนใหมจะ ซ้ือสิทธิสวนไดเสียโดยจายซื้อต่ํากวาสิทธิสวนไดเสียท่ีจะไดรับจากหุนสวนเดิมคนใดคนหนึ่งเพียง คนเดียว แตหางหุนสวนจะบันทึกบัญชีเฉพาะการโอนทุนของผูเปนหุนสวนเดิมไปใหผูเปน หุนสว นใหม ตัวอยางท่ี 3.3 จากตัวอยางที่ 3.1 สมมุติใหแจนซ้ือสิทธิสวนไดเสียจากแอน เพ่ือจะไดรับสิทธิ สว นไดเสยี 25% ในหา งหุนสว น โดยจายเงนิ 21,000 บาท การคํานวณ จาํ นวนเงินทีจ่ า ยซ้ือ = 21,000 บาท สิทธสิ ว นไดเ สียที่ไดรับ (90,000 x 25%) = 22,500 บาท ดงั นนั้ แจนจายเงนิ ซอ้ื สทิ ธิต่าํ กวา ราคาตามบญั ชี = 1,500 บาท การบนั ทึกบญั ชี สามารถเลือกปฏิบตั ิได 2 วธิ ี ดังน้ี 1.1.3.1 วิธีโบนัส จากตวั อยางท่ี 3.3 แจนจายเงิน 21,000 บาท แตไดรับ สิทธิสวนไดเสีย 22,500 บาท จํานวนผลตางน้ีถือเปนโบนัสของผูเปนหุนสวนใหม คือ แจน เนื่องจากแจนอาจจะเปนผูมีช่ือเสียง มีความสามารถทําประโยชนใหแกหางหุนสวนไดมาก จึงทํา ใหผูเปนหุนสวนเดิมขายสิทธิสวนไดเสียของตนในราคาต่ํากวาสิทธิสวนไดเสียท่ีโอนไปใหผู เปนหุนสวนใหม การบันทึกบัญชี และการแสดงรายการในงบดุลจะเหมือนกับการซ้ือสิทธิท่ีใช วิธีโบนสั โดยไมคํานงึ ถึงจาํ นวนเงินทแ่ี อนผูข ายไดรับ การบนั ทกึ บญั ชเี ปนดงั นี้ สมดุ รายวนั ท่วั ไป วนั ท่ี รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ บญั ชี ทุน - แอน 22,500 - ทนุ – แจน 22,500 - บันทึกการรับแจนเขา มาเปนหนุ สว นใหม 71

71 1.1.3.2 วิธีคาความนิยม จากตัวอยางท่ี 3.3 แจนจายเงิน 21,000 บาท เพ่ือจะไดรับสิทธิสวนไดเสีย 22,500 บาท แสดงวาหางหุนสวนมีการบันทึกสินทรัพยที่สูงเกินไป อยางไรก็ตามจากขั้นตอนวิธีการบันทึกบัญชีของการเปล่ียนแปลงในสวนของผูเปนหุนสวนได สมมติวาหางหุนสวนปรับปรุงสินทรัพยที่มีตัวตนใหเปนราคายุติธรรมเรียบรอยแลว ดังนั้นใน กรณีนี้ การที่ผูเปนหุนสวนเดิมยอมรับเงินจํานวนท่ีนอยกวาสิทธิสวนไดเสียท่ีผูเปนหุนสวนใหม ไดรับ แสดงวาในการเขามาเปนหุนสวนใหมของแจน แจนไดนําความรูความสามารถ และ ประสบการณมาใชประโยชนในการดําเนินงานของหางหุนสวนดวย ดังนั้นจึงตองมีการบันทึก คาความนิยมของผูเปนหุนสวนใหม และการที่ผูเปนหุนสวนเดิมมีสิทธิสวนไดเสียใน หา งหนุ สว นใหม 75% น้นั เทา กับวา ผลตา ง 1,500 บาททีผ่ ูเ ปน หุน สวนใหมไดรับมากกวาจํานวนเงิน ท่ีจายซือ้ คือ คาความนิยมทีผ่ เู ปนหุน สวนเดมิ คดิ ใหแ กผ ูเปนหนุ สว นใหม และเมอ่ื สทิ ธสิ ว นไดเ สยี ของผูเปนหุนสวนเดิมรวมกันเทากับ 75% คาความนิยมทั้งจํานวนจะมีมูลคาเทากับ 2,000 บาท (1,500 ÷ 0.75) การคาํ นวณ คาความนิยม อาจคาํ นวณไดจ ากสตู รดงั น้ี คาความนิยมของผเู ปน หนุ สวนใหม = โบนสั สิทธสิ วนไดเสียของผเู ปนหนุ สวนเดมิ 1,500 = 0.75 ดงั นนั้ คา ความนยิ มของแจน = 2,000 บาท หรืออาจคํานวณจากสทิ ธิสว นไดเสียดงั นี้ สทิ ธิสวนไดเ สียของผูเ ปน หุน สวนเดิม 75% คดิ คา ความนิยมให = 1,500 บาท สิทธิสว นไดเสียท้ังหมดของหางหุนสวน 100% คดิ คาความนิยม = 1,500 x 100 75 = 2,000 บาท 72

72 การบนั ทกึ บัญชเี ปนดังน้ี สมดุ รายวันทัว่ ไป เลขท่ี เดบติ เครดติ วนั ท่ี รายการ บัญชี 2,000 - 2,000 - 21,000 - คา ความนยิ ม 21,000 - ทนุ – แจน บนั ทึกคา ความนยิ มของแจน ทุน – แอน ทนุ – แจน บนั ทกึ การรับแจนเขามาเปน หุนสว นใหม ภายหลังจากรับหุนสวนใหม บัญชีทุนรวมมียอดเพ่ิมข้ึนเปน 92,000 บาท แตแ จนยังคงไดส ทิ ธิสวนไดเ สียเทาเดมิ คือ 25% ดังนี้ แตน แนน แอน แจน รวม ยอดเงินทนุ เดิม 31,000 21,500 37,500 90,000 บันทึกคาความนยิ ม . . . 2,000 2,000 โอนทนุ แอนไปใหแจน ยอดเงนิ ทนุ ใหม 31,000 21,500 37,500 2,000 92,000 สทิ ธิสว นไดเสยี ตามอตั ราสวนทนุ . . (21,000) 21,000 . 31,000 21,500 16,500 23,000 92,000 33.07% 23.37% 17.93% 25% จากตัวอยางท่ี 3.3 วิธีคาความนิยมจะทําใหหางหุนสวนมีสินทรัพยเพ่ิมขึ้น และสว นของผเู ปน หนุ สว นก็เพ่ิมขนึ้ ดว ย แตค าความนิยมนี้จะเพ่ิมใหกับผูเปนหุนสวนใหมเทาน้ัน โดยแสดงงบดุลไดดงั นี้ 73

73 หางหุนสวน เพอื่ น งบดลุ วันท่ี 31 ธันวาคม 25x1 (หนว ย:บาท) สินทรัพย หนส้ี ินและสว นของผูเปน หนุ สวน สินทรพั ยหมุนเวียน หนี้สินหมนุ เวียน เงินสด ลกู หน้ี 10,000 เจาหน้ี 40,000 สินคา คงเหลอื สนิ ทรพั ยไ มหมุนเวียน 20,000 ตว๋ั เงนิ จาย 10,000 50,000 - ท่ีดนิ อาคาร 20,000 50,000 - สวนของผูเปนหุนสวน อุปกรณ คาความนยิ ม ทนุ – แตน 31,000 รวมสนิ ทรัพย 50,000 ทนุ – แนน 21,500 30,000 ทนุ – แอน 16,500 10,000 ทุน – แจน 21,000 92,000 - 2,000 92,000 - 142,000 - รวมหนี้สนิ และสว นของผเู ปนหนุ สวน 142,000 - 1.2 การซื้อสิทธิสวนไดเสียจากผูเปนหุนสวนเดิมหลายคน ซึ่งสามารถพิจารณา ไดดังนี้ 1.2.1 ซื้อสิทธิสวนไดเสียในราคาตามบัญชี ผูเปนหุนสวนใหมจะซื้อสิทธิ สวนไดเสียโดยจายซ้ือเทากับสิทธิสวนไดเสียท่ีจะไดรับจากหุนสวนเดิมหลายคน และหางหุนสวน จะบนั ทึกบญั ชเี ฉพาะการโอนทนุ ของผูเปน หนุ สวนเดิมไปใหผ ูเปน หนุ สว นใหม โดยไมร บั รเู งินสด ตัวอยา งท่ี 3.4 จากตัวอยางท่ี 3.1 แจนซื้อสิทธิสวนไดเสียจากผูเปนหุนสวนเดิมทุกคน คนละ 30% เพอื่ จะไดรับสิทธสิ ว นไดเสีย 30% ในหา งหุนสวน โดยจา ยเงิน 27,000 บาท การคํานวณ จาํ นวนเงินท่ีจายซอื้ = 27,000 บาท สทิ ธิสว นไดเ สยี ท่ไี ดรบั (90,000 x 30%) = 27,000 บาท ดงั นนั้ แจนจา ยซื้อในราคาเทากบั สิทธสิ ว นไดเสยี ท่ีไดร บั การบันทึกบัญชีจะเปนการโอนบัญชีทุนของผูเปนหุนสวนเดิมทุกคนมาใหผูเปน หุนสว นใหมคนละ 30% ของสิทธสิ วนไดเ สยี ที่แตละคนมอี ยู 74

74 การบนั ทกึ บญั ชีเปนดงั น้ี สมุดรายวันทัว่ ไป เลขที่ เดบติ เครดติ วนั ท่ี รายการ บญั ชี 27,000 - 9,300 - ทุน – แตน 6,450 - ทุน – แนน 11,250 - ทนุ – แอน ทนุ – แจน บนั ทกึ การรับแจนเขามาเปนหนุ สวนใหม ภายหลังจากรับหุนสวนใหม บัญชีทุนรวมยังคงเทาเดิมคือ 90,000 บาท แต สทิ ธสิ ว นไดเสียในหางหุนสวนเปลี่ยนแปลง และผูเปนหุนสวนเดิมแตละคนจะไดรับเงินจากแจน เทา กับยอดบญั ชีทุนท่โี อนไปใหแจน ดงั นี้ แตน แนน แอน แจน รวม ยอดเงินทนุ เดิม 31,000 21,500 37,500 90,000 โอนทุนไปใหแจน ยอดเงนิ ทนุ ใหม (9,300) (6,450) (11,250) 27,000 . สทิ ธสิ วนไดเ สยี ตามอัตราสวนทุน 21,700 15,050 26,250 27,000 90,000 24.11% 16.72% 29.17% 30% จากตัวอยางท่ี 3.4 วธิ โี บนัสจะไมทาํ ใหห างหนุ สวนมีสินทรัพย และสวนของ ผเู ปนหุน สวนเพม่ิ ขึน้ โดยแสดงงบดุลไดดงั นี้ 75

75 หา งหนุ สว น เพือ่ น งบดุล วนั ที่ 31 ธันวาคม 25x1 (หนว ย:บาท) สินทรพั ย หนีส้ นิ และสวนของผเู ปน หุนสว น สินทรพั ยห มุนเวยี น หนส้ี ินหมุนเวียน เงนิ สด ลกู หน้ี 10,000 เจาหน้ี 40,000 สนิ คา คงเหลอื สนิ ทรัพยไ มหมนุ เวียน 20,000 ต๋วั เงินจาย 10,000 50,000 - ทดี่ ิน อาคาร 20,000 50,000 - สว นของผูเปนหุน สว น อุปกรณ รวมสนิ ทรพั ย ทุน – แตน 21,700 50,000 ทุน – แนน 15,050 30,000 ทนุ – แอน 26,250 10,000 90,000 - ทนุ – แจน 27,000 90,000 - 140,000 - รวมหนสี้ ินและสวนของผูเ ปน หุนสว น 140,000 - 1.2.2 ซ้ือสิทธิสวนไดเสียในราคาสูงกวาราคาตามบัญชี ผูเปนหุนสวนใหม จะซ้ือสิทธิสวนไดเสียโดยจายซ้ือสูงกวาสิทธิสวนไดเสียที่จะไดรับจากหุนสวนเดิมหลายคน แต หา งหุนสวนจะบนั ทกึ บญั ชีเฉพาะการโอนทุนของผูเปนหุนสวนเดมิ ไปใหผ ูเปนหนุ สวนใหม ตัวอยา งที่ 3.5 จากตัวอยางท่ี 3.1 แจนซ้ือสิทธิสวนไดเสียจากผูเปนหุนสวนเดิมทุกคน คนละ 30% เพื่อจะไดรบั สิทธิสวนไดเสีย 30% ในหางหนุ สว น โดยจายเงนิ 30,000 บาท การคาํ นวณ จํานวนเงินทจ่ี า ยซื้อ = 30,000 บาท สทิ ธสิ ว นไดเ สียท่ไี ดร ับ (90,000 x 30%) = 27,000 บาท ดังนนั้ แจนจา ยเงนิ ซ้ือสทิ ธิสูงกวาราคาตามบญั ชี = 3,000 บาท การบนั ทึกบัญชี สามารถเลือกปฏิบตั ไิ ด 2 วิธคี อื 1.2.2.1 วิธีโบนัส วิธีน้ีถือวาผลตางที่แจนจายสูงกวาสิทธิสวนไดเสีย ที่ไดรับ ซ่ึงเทากับ 3,000 บาทเปนโบนัสของผูเปนหุนสวนเดิมซ่ึงจะแบงกันตามอัตราสวนแบง กําไรขาดทุน อยางไรก็ตามหางหุนสวนไมบันทึกการรับจายเงินระหวางผูเปนหุนสวน จะบันทึก เฉพาะการโอนบญั ชที นุ เทา นนั้ ซึ่งเหมอื นกับตวั อยา งที่ 3.4 ดังน้ี 76

76 สมดุ รายวนั ทวั่ ไป เดบติ เครดติ 27,000 - วนั ท่ี รายการ เลขท่ี 9,300 - บญั ชี 6,450 - 11,250 - ทนุ – แตน ทุน – แนน ทุน – แอน ทนุ – แจน บนั ทึกการรับแจนเขา มาเปนหนุ สว นใหม ภายหลังจากรบั หุนสวนใหม บัญชีทุนรวมยังคงเทาเดิมคือ 90,000 บาท แตสทิ ธิสวนไดเสยี ในหางหุนสว นเปลีย่ นแปลงไปเชนเดยี วกับตวั อยางท่ี 3.4 ทง้ั นี้ผูเปน หุนสวนเดิม แตละคนจะไดรับเงินจากแจน ซ่ึงตองนําสวนแบงกําไรในโบนัสท่ีเกิดจากผลตางระหวาง ราคาตามบัญชีและราคาซื้อสิทธิจํานวน 3,000 บาท มาแบงตามอัตราสวนแบงกําไรขาดทุนโดย คํานวณการแบง เงนิ สดท่หี นุ สวนเดิมจะไดรับ ดงั น้ี สว นทุนที่แตล ะคนโอนไปใหแจน แตน แนน แอน รวม สวนแบงกําไรในโบนัสของผูเปนหุนสวนเดิม 9,300 6,450 11,250 27,000 (5:2:3) 1,500 600 900 3,000 จํานวนเงินท่ไี ดร ับ 10,800 7,050 12,150 30,000 จากตัวอยา งท่ี 3.5 วิธโี บนัสจะไมท ําใหห างหุนสวนมีสินทรัพย และสวนของผูเปน หนุ สว นเพม่ิ ขน้ึ โดยแสดงงบดลุ ไดเ ชน เดยี วกับการซือ้ สิทธิสวนไดเ สยี ในราคาตามบัญชี 1.2.2.2 วิธีคาความนิยม วิธีน้ีถือวาการท่ีแจนยอมจายเงิน 30,000 บาท ซ่ึงสูงกวาสิทธิสวนไดเสียที่ไดรับคือ 30% ในหางหุนสวนแสดงใหเห็นวา สินทรัพยสุทธิของหาง หุนสวนตองมีมูลคา 100,000 บาท (30,000 ÷ 0.30) แตสินทรัพยสุทธิของหางหุนสวนมีเพียง 60,000 บาท ดังนั้นผลตางคือ คาความนิยมเทากับ 10,000 บาท ซึ่งเปนของผูเปนหุนสวนเดิมและ จะแบง ในอัตราสว นแบง กาํ ไรขาดทนุ เดิม 77

77 การคํานวณ คา ความนิยม อาจคํานวณไดจากสูตรดงั นี้ = โบนสั คาความนิยมของผเู ปน หุนสว นใหม สิทธิสวนไดเ สียของผูเปนหนุ สวนใหม = 3,000 0.30 ดังน้ัน คา ความนยิ มของผูเปนหนุ สวนเดิม = 10,000 บาท การบนั ทึกบัญชเี ปนดงั นี้ สมุดรายวนั ท่ัวไป วนั ที่ รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ บญั ชี 5,000 - 2,000 - คาความนยิ ม 10,000 - 3,000 - ทนุ – แตน 30,000 - ทนุ – แนน ทนุ – แอน บันทกึ คา ความนยิ มของผูเปนหุน สวนเดมิ ทุน – แตน {0.30 x (31,000 + 5,000)} 10,800 - ทนุ – แนน {0.30 x (21,500 + 2,000)} 7,050 - ทนุ – แอน {0.30 x (37,500 + 3,000)} 12,150 - ทนุ – แจน บนั ทึกการรบั แจนเขา มาเปน หนุ สว นใหม ภายหลังจากรบั หนุ สวนใหม บญั ชที นุ รวมมยี อดเพ่ิมขึน้ เปน 100,000 บาท แต แจนยังคงไดสิทธิสวนไดเสียเทาเดิมคือ 30% และผูเปนหุนสวนเดิมแตละคนจะไดรับเงินจากแจน เทา กบั ยอดบัญชีทุนทโ่ี อนไปใหแ จน ดงั นี้ 78

78 แตน แนน แอน แจน รวม ยอดเงนิ ทนุ เดิม 31,000 21,500 37,500 90,000 บันทกึ คาความนยิ ม 5,000 2,000 3,000 . 10,000 โอนทนุ แอนไปใหแจน ยอดเงนิ ทุนใหม 37,000 23,500 40,500 100,000 สทิ ธสิ ว นไดเสยี ตามอตั ราสวนทนุ (10,800) (7,050) (12,150) 30,000 . 25,200 16,450 28,350 30,000 100,000 25.20% 16.45% 28.35% 30% จากตัวอยางท่ี 3.5 วิธีคาความนิยมจะทําใหหางหุนสวนมีสินทรัพย เพม่ิ ข้นึ และสวนของผเู ปน หนุ สว นก็เพิม่ ขนึ้ ดว ย แตคา ความนิยมน้ีจะเพ่ิมใหกับผูเปนหุนสวนเดิม เทา น้นั โดยแสดงงบดุลไดดงั น้ี หางหนุ สวน เพอื่ น งบดุล วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 (หนวย:บาท) สินทรัพย หนส้ี ินและสวนของผเู ปน หุนสวน สินทรพั ยห มนุ เวียน หน้ีสินหมนุ เวียน เงนิ สด ลกู หน้ี 10,000 เจา หน้ี 40,000 สินคาคงเหลอื สนิ ทรัพยไ มห มนุ เวียน 20,000 ตั๋วเงนิ จาย 10,000 50,000 - ท่ดี ิน อาคาร 20,000 50,000 - สว นของผเู ปน หนุ สว น อุปกรณ คาความนยิ ม ทนุ – แตน 25,200 รวมสนิ ทรัพย 50,000 ทนุ – แนน 16,450 30,000 ทุน – แอน 28,350 10,000 ทนุ – แจน 30,000 100,000 - 10,000 100,000 - 150,000 - รวมหนส้ี นิ และสวนของผเู ปนหุนสวน 150,000 - 79

79 1.2.3 ซ้ือสิทธิสวนไดเสียในราคาต่ํากวาราคาตามบัญชี ผูเปนหุนสวนใหม จะซ้ือสิทธิสวนไดเสียโดยจายซ้ือตํ่ากวาสิทธิสวนไดเสียท่ีจะไดรับจากหุนสวนเดิมหลายคน แต หา งหุนสว นจะบนั ทกึ บญั ชีเฉพาะการโอนทุนของผูเ ปน หุนสวนเดมิ ไปใหผเู ปนหนุ สว นใหม ตัวอยางที่ 3.6 จากตัวอยางที่ 3.1 แจนซื้อสิทธิสวนไดเสียจากผูเปนหุนสวนเดิมทุกคน คนละ 30% เพื่อจะไดรับสิทธิสวนไดเ สยี 30% ในหางหนุ สว น โดยจา ยเงนิ 23,500 บาท การคาํ นวณ จาํ นวนเงินท่ีจายซ้อื = 23,500 บาท สทิ ธสิ วนไดเสยี ที่ไดร ับ (90,000 x 30%) = 27,000 บาท ดังนน้ั แจนจา ยเงินซือ้ สทิ ธติ ่ํากวาราคาตามบญั ชี = 3,500 บาท การบนั ทกึ บัญชี สามารถเลือกปฏิบตั ไิ ด 2 วธิ ี ดังน้ี 1.2.3.1 วธิ โี บนสั วธิ ีน้ถี ือวาผลตางท่แี จนไดร บั สทิ ธสิ วนไดเ สยี สูงกวา จํานวนเงินท่ีจายซ้ือ ซ่ึงเทากับ 3,500 บาท เปนโบนัสของผูเปนหุนสวนใหม อยางไรก็ตาม หางหุนสวนไมบันทึกการรับจายเงินระหวางผูเปนหุนสวน จะบันทึกเฉพาะการโอนบัญชีทุน เทานนั้ ซึง่ เหมือนกับตัวอยางท่ี 3.4 ดงั นี้ การบนั ทึกบัญชีเปน ดงั น้ี สมดุ รายวันท่วั ไป วนั ท่ี รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ บัญชี ทนุ – แตน 9,300 - ทนุ – แนน 6,450 - ทนุ – แอน 11,250 - ทนุ – แจน 27,000 - บันทกึ การรับแจนเขา มาเปน หนุ สวนใหม ภายหลังจากรับหุนสวนใหม บัญชีทุนรวมยังคงเทาเดิมคือ 90,000 บาท แตสทิ ธิสวนไดเ สียในหา งหนุ สว นเปล่ยี นแปลงไปเชนเดียวกบั ตวั อยา งที่ 3.4 ท้งั น้ผี เู ปนหุนสวนเดิม แตละคนจะไดรับเงินจากแจน ซึ่งตองนําสวนแบงขาดทุนในโบนัสท่ีเกิดจากผลตางระหวาง 80

80 ราคาตามบัญชีและราคาซ้ือสิทธิจํานวน 3,500 บาท มาแบงตามอัตราสวนแบงกําไรขาดทุนโดย คํานวณการแบงเงนิ สดที่หุนสวนเดมิ จะไดร ับ ดังน้ี แตน แนน แอน รวม สวนทุนที่แตละคนโอนไป 9,300 6,450 11,250 27,000 สวนแบงขาดทุนในโบนัสของผูเปนหุนสวนใหม (1,750) (700) (1,050) (3,500) (5:2:3) จํานวนเงนิ ท่ไี ดรบั 7,550 5,750 10,200 23,500 1.2.3.2 วธิ คี าความนิยม วธิ นี ้ถี อื วา การที่ผูเปนหุนสวนเดิมยอมใหแจน จายเงินต่ํากวาสิทธิสวนไดเสียที่ไดรับ เน่ืองจากแจนเปนผูมีความรูความสามารถ จึงตองมี การบนั ทึกคาความนยิ มของผูเปน หุนสวนใหม การคาํ นวณ คา ความนยิ ม อาจคาํ นวณไดจากสูตรดงั น้ี คาความนิยมของผูเปน หุนสว นใหม = โบนสั สิทธสิ วนไดเ สียของผูเ ปน หุน สวนเดิม 3,500 = 0.70 ดงั นัน้ คา ความนิยมของแจน = 5,000 บาท การบนั ทึกบญั ชีเปนดงั นี้ สมุดรายวันทัว่ ไป วนั ที่ รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ บญั ชี คา ความนยิ ม 5,000 - ทนุ – แจน 5,000 - บันทกึ คา ความนิยมของแจน ทุน – แตน 7,550 - ทนุ – แนน 5,750 - ทุน – แอน 10,200 - ทนุ – แจน 23,500 - บันทกึ การรับแจนเขามาเปน หุนสว นใหม 81

81 ภายหลังจากรับหุนสวนใหม บัญชีทุนรวมมียอดเพ่ิมขึ้นเปน 95,000 บาท แตแจน ยังคงไดสิทธิสวนไดเสียเทาเดิมคือ 30% และจํานวนเงินที่ผูเปนหุนสวนเดิมแตละคนไดรับจะ เทากับยอดบัญชีทุนท่ีแตละคนโอนไปใหแจนการคํานวณยอดบัญชีทุนที่ผูเปนหุนสวนเดิมแตละ คนโอนไปใหแ จน ดังนี้ แตน แนน แอน แจน รวม ยอดเงินทุนเดิม 31,000 21,500 37,500 90,000 บนั ทึกคา ความนิยม . . . 5,000 5,000 โอนทุนแอนไปใหแ จน ยอดเงินทุนใหม 31,000 21,500 37,500 5,000 95,000 สิทธสิ ว นไดเ สียตามอตั ราสวนทุน (7,550) (5,750) (10,200) 23,500 . 23,450 15,750 27,300 28,500 95,000 24.68% 16.58% 28.74% 30% การบนั ทึกคาความนิยมของแจน 5,000 บาท ทําใหแ จนไดรับการเครดติ ในบญั ชที นุ แลว 5,000 บาท ดังนั้นหากคํานวณยอดบัญชีทุนท่ีผูเปนหุนสวนเดิมแตละคนโอนไปเทากับสิทธิ สวนไดเสียของแจนคือ 30% จะทําใหยอดเครดิตในบัญชีทุนของแจนมีมากกวาสิทธิสวนไดเสียท่ี ไดรับ ดังน้ันในการคํานวณยอดบัญชีทุนที่ผูเปนหุนสวนเดิมแตละคนโอนไปใหแจนจึงตองนําคา ความนิยม 5,000 บาท บวกเขาไปใหกับทุนของผูเปนหุนสวนเดิมตามอัตราสวนแบงกําไรขาดทุน กอน เน่ืองจากเปนคาความนิยมที่ผูเปนหุนสวนเดิมคิดใหกับผูเปนหุนสวนใหม เม่ือคํานวณ สวนทุนท่ีโอนตามสิทธิสวนไดเสียแลว จึงนําคาความนิยมไปหักออกตามอัตราสวนแบง กําไรขาดทุน จะไดยอดบญั ชที ุนทผ่ี เู ปนหุนสวนเดมิ แตละคนโอนไปใหแ จนดังน้ี ยอดเงนิ ทุนเดิม แตน แนน แอน บวก คาความนิยม 31,000 21,500 37,500 ยอดเงินทุนกอ นโอนคา ความนยิ ม 2,500 1,000 1,500 โอนทุนไปใหแจนตามสทิ ธิสวนไดเสีย 33,500 22,500 39,000 หัก คาความนยิ ม 10,050 6,750 11,700 ยอดบญั ชที ุนทโ่ี อนไปใหแ จน 2,500 1,000 1,500 7,550 5,750 10,200 82

82 จากตัวอยางที่ 3.6 วิธีคาความนิยมจะทําใหหางหุนสวนมีสินทรัพย เพ่ิมข้ึน และสวนของผูเปนหุนสวนก็เพ่ิมขึ้นดวย แตคาความนิยมน้ีจะเพ่ิมใหกับผูเปนหุนสวน ใหมเ ทานั้น โดยแสดงงบดลุ ไดดังน้ี หา งหนุ สว น เพอ่ื น งบดลุ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25x1 (หนว ย:บาท) สนิ ทรัพย หน้สี ินและสวนของผเู ปน หนุ สว น สินทรพั ยหมนุ เวียน หนี้สินหมุนเวียน เงนิ สด ลกู หน้ี 10,000 เจาหนี้ 40,000 สนิ คา คงเหลอื สนิ ทรัพยไ มหมุนเวียน 20,000 ตว๋ั เงินจา ย 10,000 50,000 - ทด่ี นิ อาคาร 20,000 50,000 - สว นของผูเปนหนุ สว น อปุ กรณ คา ความนยิ ม ทนุ – แตน 23,450 รวมสนิ ทรพั ย 50,000 ทนุ – แนน 15,750 30,000 ทุน – แอน 27,300 10,000 ทนุ – แจน 28,500 95,000 - 5,000 95,000 - 145,000 - รวมหน้ีสินและสวนของผูเ ปน หนุ สว น 145,000 - 2. ผูเปนหุนสวนใหมนําสินทรัพยมาลงทุนในหางหุนสวน (admission by investment) ผูเปนหุนสวนใหมนําสินทรัพยมาลงทุนโดยตรงในหางหุนสวน สินทรัพยน้ันอาจเปนเงินสด สินทรัพยอื่น หรือบริการใหแกหางหุนสวนตามจํานวนท่ีตกลงกัน โดยทั่วไปสินทรัพยท่ีนํามา ลงทุนนน้ั จะตอ งบนั ทกึ ดวยราคายตุ ิธรรม และบันทึกทุนของผูเปนหุนสวนใหมเทากับสินทรัพยที่ ผเู ปนหนุ สว นใหมนํามาลงทนุ ในกรณที ่ไี มมีเง่อื นไขระบุไวเ ปน อยางอนื่ การบนั ทกึ บัญชเี ม่ือมีการบั เขาเปนหุนสว นใหมด วยการลงทนุ แบง เปน 3 ลักษณะ ดงั นี้ 2.1 จํานวนเงินลงทุนเทากับสิทธิสวนไดเสียที่ไดรับ ผูเปนหุนสวนใหมจะนํา สินทรัพยมาลงทุนมูลคาเทากับสิทธิสวนไดเสียที่จะไดรับจากหุนสวนเดิม และหางหุนสวนจะ บันทึกรบั สนิ ทรพั ยข องผูเปนหนุ สวนใหมตามท่ีนํามาลงทนุ 83

83 ตัวอยางท่ี 3.7 จากตัวอยางท่ี 3.1 สมมุติวาแจนนําเงินสดมาลงทุน 10,000 บาท เพ่ือใหมีสิทธิสวน ไดเ สีย 10% ในหา งหนุ สว น การคาํ นวณ เงนิ ทุนทแี่ จนนาํ มาลงทุน = 10,000 ยอดเครดติ บัญชีทนุ ของแจน = (90,000 + 10,000) x 10% = 10,000 บาท การบนั ทึกบัญชเี ปนดงั น้ี สมุดรายวนั ทวั่ ไป วนั ท่ี รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ บญั ชี เงินสด 10,000 - ทนุ – แจน 10,000 - บนั ทกึ การลงทนุ ของแจน จากตัวอยางที่ 3.7 หางหุนสวนมีสินทรัพย คือเงินสดเพิ่มขึ้น และสวนของผูเปน หุนสวนกเ็ พิม่ ขน้ึ ดวย โดยแสดงงบดลุ ไดดงั นี้ หางหุนสวน เพ่ือน งบดุล วันที่ 31 ธนั วาคม 25x1 (หนวย:บาท) สินทรัพย หน้สี นิ และสวนของผเู ปนหนุ สว น สินทรัพยห มุนเวียน หนี้สนิ หมนุ เวียน เงินสด(10,000+10,000) 20,000 เจาหนี้ 40,000 ลูกหน้ี 20,000 ต๋วั เงินจาย 10,000 50,000 - สนิ คาคงเหลือ 20,000 60,000 - สวนของผูเปน หุนสวน สินทรัพยไมห มุนเวียน ทุน – แตน 31,000 ท่ดี ิน 50,000 ทุน – แนน 21,500 อาคาร 30,000 ทนุ – แอน 37,500 อปุ กรณ 10,000 90,000 - ทุน – แจน 10,000 100,000 - รวมสนิ ทรัพย 150,000 - รวมหน้ีสินและสว นของผเู ปน หุน สว น 150,000 - 84

84 2.2 จํานวนเงินลงทุนสูงกวาสิทธิสวนไดเสียท่ีไดรับ ผูเปนหุนสวนใหมจะนํา สินทรัพยมาลงทุนมูลคาสูงกวาสิทธิสวนไดเสียท่ีจะไดรับจากหุนสวนเดิม และหางหุนสวนจะ บนั ทึกรับสนิ ทรพั ยของผเู ปน หนุ สวนใหมต ามที่นาํ มาลงทนุ ดังตัวอยา งตอไปนี้ ตัวอยางที่ 3.8 จากตัวอยางที่ 3.1 สมมติวาแจนนําเงินสดมาลงทุน 12,000 บาท เพ่ือใหมีสิทธิ สวนไดเสีย 10% ในหางหุนสว น การคํานวณ เงนิ ทุนที่แจนนาํ มาลงทนุ = 12,000 ยอดเครดิตบัญชที ุนของแจน = (90,000 +12,000) x 10% = 10,200 บาท จะเห็นไดวา เงินทุนท่ีแจนนํามาลงทุนมากกวายอดเครดิตบัญชีทุนของแจน แสดง วามีการคิดคาความนิยมหรือโบนัสใหผูเปนหุนสวนเดิมซึ่งโดยทั่วไปแลวในขอตกลงการับผูเปน หุน สวนใหมจ ะระบุไวว า ใชวธิ ีโบนสั หรอื วิธีคาความนยิ ม ดงั นี้ 2.1.1 วิธีโบนัส วิธีน้ีถือวาเงินทุนของหางหุนสวนใหมเทากับเงินทุนของ หา งหนุ สวนเดมิ บอกดวยเงนิ ทนุ ทีผ่ ูเ ปน หนุ สว นใหมนาํ มาลงทนุ เหตผุ ลทท่ี าํ ใหผ เู ปน หนุ สว นใหม จายเงินลงทุนสูงกวาสิทธิสวนไดเสียที่ไดรับคือ หางหุนสวนมีศักยภาพในการทํากําไรสูงกวา กิจการอื่น ๆ เม่ือรับแจน แจนตองจายไมเพียงแตสิทธิสวนไดเสียสวนที่ไดรับเทาน้ันยังตองจาย สวนเพิ่ม(12,000 – 10,200) เทากับ 1,800 บาทดวย ซึ่งเงินจํานวนนี้ถือเปนโบนัสใหผูเปนหุนสวนเดิม และจะเครดิตไปยังบัญชที ุนของผเู ปน หุนสวนเดมิ ในอัตรสว นแบง กําไรขาดทุน การบันทึกบัญชีเปน ดังน้ี สมุดรายวนั ท่วั ไป เลขท่ี เดบติ เครดติ วนั ท่ี รายการ บัญชี 12,000 - 12,000 - เงินสด ทนุ – แจน บนั ทึกการลงทุนของแจน 85

85 สมดุ รายวนั ท่ัวไป เดบติ เครดติ 1,800 - วนั ที่ รายการ เลขที่ 900 - บัญชี 360 - 540 - ทนุ - แจน ทนุ – แตน ทนุ – แนน ทนุ – แอน บันทกึ โบนัสใหผเู ปนหนุ สวนเดมิ จากตัวอยางท่ี 3.8 วิธีโบนัสหางหุนสวนมีสินทรัพย คือเงินสดเพ่ิมขึ้น และสวน ของผเู ปน หุนสวนก็เพ่มิ ขึ้นดว ย โดยแสดงงบดุลไดดงั นี้ หา งหุน สว น เพือ่ น งบดุล วันท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 (หนวย:บาท) สินทรพั ย หนสี้ ินและสว นของผเู ปนหุน สว น สนิ ทรัพยห มุนเวียน หนส้ี นิ หมุนเวียน เงินสด(10,000+12,000) 22,000 เจาหนี้ 40,000 ลูกหนี้ 20,000 ต๋ัวเงินจา ย 10,000 50,000 - สินคา คงเหลือ 20,000 62,000 - สวนของผูเปน หนุ สว น สนิ ทรัพยไ มห มนุ เวยี น ทนุ – แตน(31,000+900) 31,900 ที่ดิน 50,000 ทนุ – แนน(21,500+360) 21,860 อาคาร 30,000 ทุน – แอน(37,500+540) 38,040 อุปกรณ 10,000 90,000 - ทุน – แจน 10,200 102,000 - รวมสินทรพั ย 152,000 - รวมหนส้ี นิ และสว นของผูเปนหนุ สวน 152,000 - 2.1.2 วิธีคาความนิยม วิธีนี้ถือวาความไมเทากันระหวางเงินทุนของผูเปน หุนสวนใหมกับสิทธิสวนไดเสียเปนผลมาจากการที่หางหุนสวนมีคาความนิยมท่ียังไมไดบันทึก บญั ชี 86

86 การคาํ นวณ คาความนยิ ม มขี ัน้ ตอนดงั น้ี 1) คาํ นวณเงนิ ทนุ ของหางหุนสวนใหมจากเงินทุนทผ่ี ูเปน หนุ สวนใหมน าํ มาลงทนุ แจนนําเงนิ สดมาลงทนุ 12,000 บาท เพอื่ ใหม สี ิทธนิ สวนไดเ สีย 10% 12,000 ดงั นัน้ คา ความนิยมของแจน = 0.10 = 120,000 บาท 2) คํานวณคาความนยิ ม เงินทนุ ของหา งหนุ สว นใหม 120,000 บาท หกั เงนิ ทนุ ของหา งหนุ สวนเดมิ 90,000 เงินทนุ ที่ผเู ปนหนุ สวนใหมนํามาลงทุน 12,000 102,000 บาท คา ความนยิ ม 18,000 บาท การบันทกึ บัญชีเปนดังน้ี สมดุ รายวันทั่วไป วนั ที่ รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ บัญชี เงนิ สด 12,000 - ทนุ – แจน 12,000 - บันทึกการลงทุนของแจน คา ความนยิ ม 18,000 - ทนุ – แตน 9,000 - ทนุ – แนน 3,600 - ทนุ – แอน 5,400 - บันทกึ คา ความนยิ มใหผเู ปน หนุ สว นเดมิ 87

87 จากตัวอยางที่ 3.8 วิธีคาความนิยม หางหุนสวนมีสินทรัพย คือเงินสด และ คาความนยิ มเพิม่ ขึน้ และสวนของผูเปน หุนสว นกเ็ พ่มิ ขึน้ ดว ย โดยแสดงงบดุลไดดงั นี้ หางหนุ สวน เพ่อื น งบดลุ วันที่ 31 ธนั วาคม 25x1 (หนว ย:บาท) สินทรัพย หนี้สนิ และสว นของผูเปน หุนสวน สนิ ทรพั ยหมนุ เวยี น หนส้ี นิ หมุนเวียน เงนิ สด(10,000+12,000) ลูกหน้ี 22,000 เจาหนี้ 40,000 สนิ คา คงเหลือ สนิ ทรัพยไ มห มนุ เวียน 20,000 ต๋ัวเงนิ จา ย 10,000 50,000 - ทีด่ นิ อาคาร 20,000 62,000 - สว นของผเู ปนหุน สว น อปุ กรณ คาความนิยม ทุน – แตน(31,000+9,000) 40,000 รวมสินทรพั ย 50,000 ทุน – แนน(21,500+3,600) 25,100 30,000 ทนุ – แอน(37,500+5,400) 42,900 10,000 18,000 108,000 - ทนุ – แจน 12,000 120,000 - 170,000 - รวมหนส้ี นิ และสว นของผูเ ปน หนุ สว น 170,000 - ในบางกรณีสัญญาการรับหุนสวนใหมมีการกําหนดเงินทุนของหางหุนสวน ใหมไวแ นนอน ดงั นน้ั การคํานวณยอดเครดิตบญั ชีทนุ ของผเู ปน หุน สวนใหมจ ะคาํ นวณจากเงนิ ทนุ ของหา งหุนสวนใหมที่กําหนดให และกรณีท่ีจํานวนเงินลงทุนของผูเปนหุนสวนใหมสูงกวาสิทธิ สวนไดเสยี ทีไ่ ดรับจะทาํ ใหมีทัง้ คา ความนิยม และโบนัสดังตัวอยางตอไปนี้ สมมติวาแจนนําเงินสดมาลงทุน 12,000 บาท เพื่อใหมีสิทธิสวนไดเสีย 10% ของ เงินทุนทง้ั หมดที่กําหนดใหเทา กบั 110,000 บาท การคาํ นวณ เงินทุนทแี่ จนนํามาลงทุน = 12,000 ยอดเครดิตบัญชที นุ ของแจน = 110,000 x 10% = 11,000 บาท 88

88 จะเหน็ ไดวา เงนิ ทุนที่แจนนํามาลงทุนมากกวายอดเครดิตบัญชีทุนของแจน แสดงวามี การคิดโบนัสใหผูเปนหุนสวนเดิมเทากับผลตาง คือ 1,000 บาท นอกจากน้ีแลวยังมีคาความนิยม ของผูเปน หุนสวนเดมิ ดวย ดงั น้ี เงนิ ทนุ ของหา งหนุ สว นใหมท ่กี ําหนดให 110,000 บาท หัก เงินทนุ ของหา งหนุ สวนเดิม 90,000 102,000 บาท 8,000 บาท เงินทนุ ทผี่ ูเปนหนุ สว นใหมน ํามาลงทุน 12,000 คาความนยิ ม การบนั ทกึ บญั ชเี ปนดงั น้ี สมดุ รายวันทว่ั ไป วนั ท่ี รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ บัญชี เงนิ สด 12,000 - 12,000 - ทนุ – แจน บันทกึ การลงทนุ ของแจน ทนุ - แจน 1,000 - ทนุ – แตน 500 - 200 - ทนุ – แนน 300 - ทนุ – แอน บันทกึ โบนัสใหผเู ปน หนุ สว นเดิม คาความนยิ ม 8,000 - ทนุ – แตน 4,000 - 1,600 - ทนุ – แนน 2,400 - ทนุ – แอน บนั ทกึ คา ความนิยมใหผเู ปน หุนสว นเดมิ 2.2 จํานวนเงินลงทุนต่ํากวาสิทธิสวนไดเสียท่ีไดรับ ผูเปนหุนสวนใหมจะนํา สินทรัพยมาลงทุนมูลคาตํ่ากวาสิทธิสวนไดเสียที่จะไดรับจากหุนสวนเดิม และหางหุนสวนจะ บันทึกรบั สินทรัพยของผูเปน หนุ สวนใหมต ามทนี่ ํามาลงทุน ดงั ตัวอยา งตอไปนี้ 89

89 ตัวอยางท่ี 3.9 จากตัวอยางท่ี 3.1 สมมติวาแจนนําเงินสดมาลงทุน 9,000 บาท เพื่อใหมีสิทธิ สวนไดเ สีย 10% ในหางหนุ สว น การคาํ นวณ เงินทนุ ทแี่ จนนาํ มาลงทุน = 9,000 ยอดเครดิตบญั ชีทนุ ของแจน = (90,000 + 9,000) x 10% = 9,900 จะเห็นไดวา เงินทุนท่ีแจนนํามาลงทุนนอยกวายอดเครดิตบัญชีทุนของแจน แสดง วามีการคิดคาความนิยมหรือโบนัสใหผูเปนหุนสวนใหม ซึ่งโดยท่ัวไปแลวในขอตกลงการรับ หนุ สวนใหมจะระบไุ ววา ใชว ธิ ีโบนสั หรอื วิธคี า ความนยิ ม ดงั น้ี 2.2.1 วิธีโบนัส เหตุผลท่ีทําใหผูเปนหุนสวนเดิมรับแจนเขามาโดยจายเงิน ลงทุนตํ่ากวาสทิ ธิสวนไดเ สียที่ไดร ับคือ แจนอาจจะนาํ ความสามารถพเิ ศษหรือทรัพยากรอ่ืน ๆ เขา มาในหางหุนสวน และเพ่ือเปนการจูงใจ ผูเปนหุนสวนเดิมจึงเต็มใจท่ีจะใหโบนัสแกแจน โดยให แจนจายเงินลงทุนเพียง 9,000 บาท เพ่ือไดรับสิทธิสวนไดเสีย 9,900 บาท ผลตาง 900 บาท ถือเปน โบนสั ท่ีโอนออกจากบัญชีทุนของผเู ปน หุน สวนเดมิ ตามอัตราสวนแบง กําไรขาดทุนไปใหแ กแ จน การบนั ทกึ บัญชีเปน ดงั นี้ สมุดรายวนั ท่วั ไป เลขท่ี เดบติ เครดติ วนั ที่ รายการ บัญชี 9,000 - 9,000 - เงนิ สด 900 - ทนุ – แจน 450 - 180 - บันทกึ การลงทุนของแจน 270 - ทุน – แตน ทุน – แนน ทนุ – แอน ทนุ - แจน บันทกึ โบนสั ใหผ ูเปน หนุ สวนใหม 90

90 จากตัวอยางท่ี 3.9 วิธีคาโบนัส หางหุนสวนมีสินทรัพย คือเงินสด และ คา ความนิยมเพ่ิมขนึ้ และสวนของผเู ปนหุนสวนก็เพิ่มข้นึ ดว ย โดยแสดงงบดุลไดดังนี้ หา งหนุ สว น เพอ่ื น งบดุล วันท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 (หนว ย:บาท) สินทรัพย หนีส้ ินและสวนของผูเปน หนุ สวน สนิ ทรัพยห มนุ เวยี น หน้ีสนิ หมุนเวยี น เงนิ สด(10,000+9,000) ลกู หน้ี 19,000 เจาหน้ี 40,000 สินคา คงเหลอื สนิ ทรพั ยไมห มนุ เวียน 20,000 ตั๋วเงินจาย 10,000 50,000 - ทีด่ นิ อาคาร 20,000 59,000 - สว นของผูเ ปนหุนสว น อุปกรณ รวมสินทรพั ย ทุน – แตน(31,000 - 450) 30,550 50,000 ทุน – แนน(21,500 - 180) 21,320 30,000 ทนุ – แอน(37,500 - 270) 37,230 10,000 90,000 - ทุน – แจน 9,900 99,000 - 149,000 - รวมหน้สี ินและสวนของผูเ ปน หนุ สว น 149,000 - 2.2.2 วิธีคาความนิยม เหตุผลที่แจนจายเงินลงทุนตํ่ากวาสิทธิสวนไดเสียที่ ไดรับคือ แจนจะตอ งนาํ บางสิ่งมาใหหา งหนุ สวนมากกวาเงนิ สด 9,000 บาท บางทีอาจจะเปนความ ชํานาญหรอื ความสามารถพเิ ศษจนทาํ ใหผ ูเปนหนุ สว นเดิมเตม็ ใจทีจ่ ะรับแจนเขา มาเปน หนุ สว น จงึ กลาวไดว าแจนลงทุนดว ยคา ความนยิ มนอกเหนอื จากเงนิ สด ดังนั้น เงินทนุ ทีผ่ ูเ ปน หนุ สว นใหมนาํ มาลงทุน = เงนิ สด + คา ความนิยม การคาํ นวณ คาความนยิ ม มีขั้นตอนดังน้ี 1) คํานวณเงนิ ทุนของหางหนุ สวนใหมจ ากเงินทนุ ของผเู ปน หนุ สว นเดิม เงินทนุ ของหางหนุ สว นเดิม = 90,000 บาท และผเู ปนหนุ สว นเดิมมีสิทธิสวนไดเ สีย 90% ของเงินทนุ ของหางหนุ สว นใหม ดงั นั้น เงนิ ทุนของหา งหุนสวนใหม = 90,000 = 0.90 100,000 บาท 91

91 2) คํานวณคา ความนิยม 90,000 100,000 บาท เงินทนุ ของหางหุน สวนใหม 9,000 หกั เงินทนุ ของหา งหนุ สว นเดิม 99,000 บาท 1,000 บาท เงนิ ทุนท่ีผูเ ปน หนุ สวนใหมน ํามาลงทุน คาความนิยม การบนั ทึกบญั ชเี ปน ดังน้ี สมดุ รายวันทัว่ ไป เลขท่ี เดบติ เครดติ วนั ท่ี รายการ บญั ชี 9,000 - 9,000 - 1,000 - เงินสด 1,000 - ทนุ – แจน บนั ทึกการลงทุนของแจน คาความนยิ ม ทนุ – แจน บันทกึ คา ความนิยมใหแจน จากตัวอยางที่ 3.9 วิธีคาความนิยม หางหุนสวนมีสินทรัพย คือเงินสด และ คา ความนยิ มเพ่มิ ขน้ึ และสว นของผเู ปน หุนสวนกเ็ พ่มิ ขนึ้ ดว ย โดยแสดงงบดุลไดด ังนี้ 92

92 หางหนุ สวน เพ่ือน งบดุล วนั ที่ 31 ธันวาคม 25x1 (หนว ย:บาท) สนิ ทรัพย หนีส้ ินและสว นของผเู ปนหนุ สว น สนิ ทรัพยหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวยี น เงินสด(10,000+9,000) 19,000 เจาหนี้ 40,000 ลกู หนี้ 20,000 ต๋วั เงนิ จาย 10,000 50,000 - สนิ คา คงเหลือ 20,000 59,000 - สวนของผูเปน หุนสวน สนิ ทรพั ยไมหมุนเวยี น ทุน – แตน 31,000 ทด่ี นิ 50,000 ทนุ – แนน 21,500 อาคาร 30,000 ทุน – แอน 37,500 อปุ กรณ 10,000 ทนุ – แจน 10,000 100,000 - คา ความนยิ ม 1,000 91,000 - รวมสนิ ทรัพย 150,000 - รวมหนีส้ นิ และสวนของผูเปนหนุ สวน 150,000 - ในกรณีที่มีการกําหนดเงินทุนของหางหุนสวนใหมไวแนนอน และจํานวนเงิน ลงทุนของผูเปน หุนสว นใหมต า่ํ กวา สทิ ธิสว นไดเ สียทไี่ ดรับ จะทําใหมีทั้งคาความนิยม และโบนัส ดังตวั อยางตอ ไปนี้ สมมติวา แจนนําเงินสดมาลงทุน 9,000 บาท เพ่ือใหมีสิทธิสวนไดเสีย 10% ของ เงินทนุ ท้งั หมดที่กาํ หนดใหเทา กับ 99,500 บาท การคํานวณ เงนิ ทุนที่แจนนาํ มาลงทุน = 9,000 ยอดเครดิตบญั ชีทนุ ของแจน = 99,500 x 10% = 9,950 จะเห็นไดวา เงินทุนท่ีแจนนํามาลงทุนนอยกวายอดเครดิตบัญชีทุนของแจน มีการ คิดโบนัสใหผูเปนหุนสวนใหม นอกจากน้ีแลวยังมีคาความนิยมของผูเปนหุนสวนใหมซึ่งถือเปน เงนิ ทุนของผูเปน หนุ สว นใหมจ ึงตอ งคํานวณคา ความนยิ มกอน ดังนี้ เงินทนุ ของหางหนุ สว นใหมท ี่กาํ หนดให 99,500 บาท หกั เงนิ ทุนของหา งหนุ สวนเดมิ 90,000 เงนิ ทุนทผ่ี เู ปนหนุ สว นใหมนํามาลงทุน 9,000 99,000 บาท คาความนยิ ม 500 บาท 93

93 สวนโบนสั จะเทากับยอดเครดติ บญั ชีทุนของแจน หกั ดวยเงนิ ทนุ ท่ีแจนนาํ มาลงทุน ซึง่ ในจาํ นวนนไ้ี ดร วมคาความนยิ มของแจนแลว ซึ่งคาํ นวณไดดงั น้ี โบนัส = ยอดเครดิตบัญชที นุ ของแจน – (เงนิ ทนุ ทแ่ี จน นาํ มาลงทุน + คา ความนิยมของแจน) = 9,950 – (9,000 + 500) = 450 บาท การบนั ทึกบญั ชเี ปนดังน้ี สมดุ รายวนั ท่วั ไป วนั ท่ี รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ บญั ชี เงินสด 9,000 - ทนุ – แจน 9,000 - บนั ทกึ การลงทุนของแจน คา ความนยิ ม 500 - ทนุ – แจน 500 - บนั ทกึ คาความนยิ มใหแจน ทนุ – แตน 225 - ทนุ – แนน 90 - ทุน – แอน 135 - ทนุ - แจน 450 - บนั ทึกโบนสั ใหแจน อยางไรก็ตามในบางคร้ังการกําหนดเงินทุนของหางหุนสวนใหมไวแนนอน อาจ เกิดคาความนยิ มของผูเปน หนุ สว นใหมแตโ บนสั เปนของผูเปน หนุ สวนเดิม ดงั ตวั อยางตอ ไปนี้ สมมติวา แจนนําเงินสดมาลงทุน 9,000 บาท เพ่ือใหมีสิทธิสวนไดเสีย 10% ของ เงินทนุ ทงั้ หมดท่ีกาํ หนดใหเทา กับ 105,000 บาท การคํานวณ เงนิ ทนุ ทแ่ี จนนํามาลงทุน = 9,000 ยอดเครดิตบญั ชที ุนของแจน = 105,000 x 10% = 10,500 94

94 จะเหน็ ไดว า เงินทนุ ทแี่ จนนํามาลงทนุ นอ ยกวา ยอดเครดติ บญั ชีทุนของแจน แสดง วา อาจมีการคิดโบนัสใหผูเปนหุนสวนใหม นอกจากน้ีแลวยังมีคาความนิยมของผูเปนหุนสวน ใหมซึง่ ถือเปนเงนิ ทนุ ของผูเปนหุนสวนใหม จึงตองคํานวณคาความนิยมกอนดังน้ี เงนิ ทุนของหางหุนสว นใหมท ีก่ ําหนดให 105,000 บาท หกั เงนิ ทุนของหางหนุ สวนเดมิ 90,000 เงินทนุ ทผี่ เู ปนหุนสว นใหมน าํ มาลงทุน 9,000 99,000 บาท คา ความนิยม 6,000 บาท สวนโบนัสเทากับยอดเครดิตบัญชีทุนของแจน – (เงินทุนที่แจนนํามาลงทุน + คา ความนิยมของแจน) เทากับ – 4,500 บาท โบนัสติดลบแสดงวาเปนโบนัสของผูเปนหุนสวนเดิม ดังนน้ั ในกรณนี จ้ี ึงมกี ารคิดคาความนยิ มใหผเู ปนหนุ สว นใหมเ ทา น้นั การบนั ทกึ บญั ชเี ปนดังน้ี สมดุ รายวันท่ัวไป เลขท่ี เดบติ เครดติ วนั ท่ี รายการ บญั ชี 9,000 - 9,000 - เงินสด 6,000 - ทนุ – แจน 4,500 - 6,000 - บันทกึ การลงทนุ ของแจน 2,250 - คา ความนยิ ม 900 - 1,350 - ทนุ – แจน บนั ทึกคาความนิยมใหแ จน ทุน - แจน ทนุ – แตน ทนุ – แนน ทนุ – แอน บันทกึ โบนัสจากแจนใหผ ูเปนหุนสวนเดิม 95

95 การคาํ นวณหาอัตราสว นแบงกําไรขาดทนุ หลังรบั หุน สว นใหม เม่ือหางหุนสวนรับหุนสวนใหมเขามามีผลทําใหสวนแบงกําไรขาดทุนมีการ เปลี่ยนแปลงไปตามการตกลงแบงกําไรขาดทุนหรือสิทธิสวนไดเสียตามเง่ือนไขใหมซ่ึงอาจไมได แบงตามอัตราสวนทุน ท้ังนี้เพื่อใหเกิดความเปนธรรมและมีความเหมาะสมหางหุนสวนอาจ คาํ นวณการเปล่ยี นแปลงอัตราสวนแบงกาํ ไรขาดทนุ ใหม ดังนี้ ตัวอยางที่ 3.10 เอ และเจเปนหุนสวนกันแบงกําไรขาดทุนในอัตราสวน 2:3 ตอมาไดตกลงรับ เร เขามาเปนหุนสวนใหม โดยให เร มีสิทธิสวนไดเสีย และอัตราสวนแบงกําไรขาดทุนเปน 25% จะ คาํ นวณหาสวนแบงกาํ ไรขาดทนุ ใหมระหวา ง เอ : เจ : เร ไดด งั น้ี อตั ราสวนแบง กําไรขาดทุนทงั้ หมด = 1 อัตราสว นแบง กาํ ไรขาดทนุ ของ เร = อตั ราสว นแบง กาํ ไรขาดทนุ ของ เอ และ เจ = 25% อตั ราสว นแบงกําไรขาดทนุ ของ เอ = 100% - 25% = 75% อัตราสวนแบงกําไรขาดทนุ ของ เจ = 2 75% x 35 = 30% อัตราสวนแบงกําไรขาดทุนของ เอ : เจ : เร = 75% x 5 = 45% = 30% : 45% : 25% 6:9:5 การลาออกของผเู ปน หุนสวน การลาออกของผูเปนหุนสวน (withdrawal of a partner) ผูเปนหุนสวนสามารถลาออก จากการเปนหุนสวนเม่ือใดก็ไดโดยไมมีผูใดผูหน่ึงสามารถขัดขวางได แตจะตองคํานึงถึงวาการ ลาออกน้นั กระทําตามขอ ตกลงในสญั ญาจดั ตง้ั หางหนุ สวนหรอื ไมซึง่ โดยปกติแลวจะมกี ารกาํ หนด เง่อื นไขในการลาออกและขอ กําหนดในการคํานวณจํานวนเงินชําระคืนทุนใหแกหุนสวนผูลาออก ถาการลาออกนั้นไดกระทําตามขอตกลงในสัญญา หุนสวนผูลาออกก็จะไดรับจํานวนเงินชําระคืน ทุนตามสิทธิสวนไดเสียที่มีอยู แตถาการลาออกไมไดกระทําตามขอตกลงในสัญญาและไมไดรับ 96

96 ความยินยอมจากผูเปนหุนสวนคนอื่น หุนสวนผูลาออกจะตองรับผิดชอบผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้น จากการลาออกของตน และจํานวนเงนิ ชําระคืนทุนอาจจะถูกลดลงเพียงบางสว นหรอื ท้ังหมดก็ได การลาออกของผูเ ปนหุนสวนสามารถกระทาํ ได 2 วธิ ี คือ 1. หุนสวนผูลาออกขายสิทธิสวนไดเสียของตนใหแกบุคคลภายนอกหรือผูเปน หุนสวนที่เหลอื อยู วิธกี ารบันทึกบัญชี คอื การโอนเงินทุนของหุนสวนผูลาออกไปยังบัญชีทุนของ ผูเปนหุนสวนใหม หรือบัญชีทุนของผูเปนหุนสวนเดิมที่รับซื้อไว สําหรับการชําระเงินในการซ้ือ ขาย ถอื เปนรายการสว นตัวระหวา งกนั หางหนุ สว นไมตองบันทึกบัญชี 2. หางหุนสว นชําระคืนทุนดวยเงินสดหรือสินทรัพยใหแกหุนสวนผูลาออก วิธีน้ีจะมี ผลทําใหสินทรพั ยข องหา งหนุ สวนลดลง และบัญชที ุนของหุนสวนผูลาออกจะถูกปดไปในสัญญา จัดต้ังหางหุนสวนควรมีขอกําหนดที่ชัดเจนเกี่ยวกับการวัดมูลคาสิทธิสวนไดเสียของหุนสวนที่ ลาออก ซึง่ โดยสว นใหญแ ลวบัญชที ุนของผเู ปน หุนสว นไมไ ดแสดงในมลู คา ปจ จบุ นั ของสทิ ธสิ ว น ไดเสียของผูเปนหุนสวน ดังนั้นเพื่อความเปนธรรมจึงตองมีการปรับปรุงสินทรัพย และหนี้สินให เปนราคายุติธรรม ซ่ึงอาจจําเปนตองปรับปรุงมูลคาของสินทรัพยเพ่ิมข้ึน แกไขขอผิดพลาดหรือ เปลีย่ นแปลงประมาณการทางบัญชี การปรับปรุงสินทรัพย และหนี้สินใหมนี้จะมีผลทําใหไดสิทธิ สวนไดเ สยี ทถี่ ูกตองของผูเปนหุนสวนทุกคน การลาออกของผูเปนหุนสวนทําใหหางหุนสวนเดิม เลิกลมไป และทําใหเกิดหางหุนสวนใหมจึงควรมีสัญญาขอตกลงกันใหมโดยเฉพาะอยางยิ่ง อตั ราสวนแบง กําไรขาดทุน การชําระคืนทุนใหแกหนุ สว นผูล าออกพิจารณาออกเปน 3 ลักษณะ ดังนี้ 2.1 การชาํ ระคนื ทุนใหแกห นุ สว นผูลาออกดว ยจาํ นวนท่เี ทากบั สิทธสิ วนไดเ สีย ตัวอยางที่ 3.11 ระริน มลฑล และไตร เปนหุนสวนกันมียอดคงเหลือในบัญชีทุนของระริน มลฑล และไตร เทากับ 15,000 บาท 20,000 บาท และ15,000 บาท ตามลําดับ แบงกําไรขาดทุนใน อัตราสวน 5 : 3 : 2 หา งหุน สว นไดปรบั ปรงุ สนิ ทรัพย และหน้สี นิ เรยี บรอยแลว ตอ มาระรนิ ลาออก จากหางหุนสวน ผูเปนหุนสวนทุกคนตกลงวาระรินควรจะไดรับเงินสด 15,000 บาท ซ่ึงเทากับ สทิ ธิสว นไดเสยี ของระรนิ 97

97 การบันทกึ บัญชเี ปน ดงั นี้ สมุดรายวนั ทวั่ ไป เลขท่ี เดบติ เครดติ วนั ท่ี รายการ บญั ชี 15,000 - 15,000 - ทุน - ระรนิ เงนิ สด บันทกึ รายการชาํ ระคืนทุนของระริน 2.2 การชําระคืนทนุ ใหแกห นุ สวนผลู าออกดวยจาํ นวนทสี่ ูงกวาสทิ ธิสวนไดเ สยี หางหนุ สวนอาจจะตกลงใหใ ชวิธโี บนสั หรอื วธิ คี า ความนยิ มในการบันทกึ บญั ชดี ังน้ี 2.2.1 วิธีโบนัส วิธีนี้ถือวาจํานวนสวนเกินที่จายนั้นเปนโบนัสใหแกหุนสวน ผูลาออก ซ่ึงจะนําไปลดบญั ชที นุ ของผูเปนหุน สว นทีเ่ หลอื ตามอัตราสว นแบงกําไรขาดทุนคงเหลือ ระหวา งกัน การบันทกึ บัญชีตามวิธนี ้ีเปนไปตามหลกั ราคาทนุ (cost principle) ตัวอยางท่ี 3.12 จากตัวอยางท่ี 3.11 สมมติวาระรินลาออกจากหางหุนสวน ผูเปนหุนสวนทุกคน ตกลงวา ระรนิ ควรจะไดรบั เงินสด 20,000 บาท การคาํ นวณ โบนัส จาํ นวนเงินชําระคืนทนุ ใหแ กห นุ สวนผูลาออก = 20,000 บาท ยอดบญั ชที ุนของหนุ สวนผลู าออก = 15,000 บาท ดังนั้น โบนัสของหนุ สวนผลู าออก = 5,000 บาท การบันทึกรายการชําระคืนทุนของระรินจํานวน 20,000 บาท ซึ่งมีโบนัสจํานวน 5,000 บาท โดยจะนําโบนัสไปลดบญั ชีทุนมลฑล และไตรในอตั ราสว น 3 : 2 98

98 การบนั ทกึ บัญชีเปน ดงั นี้ สมดุ รายวันท่ัวไป เลขที่ เดบติ เครดติ วนั ท่ี รายการ บญั ชี 20,000 - 15,000 - ทนุ - ระรนิ 3,000 - ทนุ – มลฑล 2,000 - ทุน – ไตร เงนิ สด บันทึกรายการชําระคนื ทุนของระริน 2.2.2 วิธีคาความนิยม ถาหางหุนสวนประสบความสําเร็จในการดําเนินงาน มูลคาของกิจการอาจจะมีมากกวาราคายุติธรรม สินทรัพยท่ีควรบันทึกเพิ่มคือ คาความนิยม ทั้งนี้ หา งหนุ สวนอาจบนั ทึกบัญชีคาความนยิ มเนอื่ งจากสาเหตุตาง ๆ ดังน้ี 2.1.2.1 ผูเปนหุนสวนท่ีเหลืออยูไมตองการใหหางหุนสวนบันทึก ลดบัญชที นุ ของตนเอง หรอื 2.1.2.2 หา งหนุ สว นไดก ําหนดในสัญญาวาใหใชวิธีนี้ หรอื 2.1.2.3 ผเู ปนหางหนุ สวนตกลงกันวา ควรจะมกี ารบันทกึ คา ความนยิ ม ตัวอยางที่ 3.13 จากตัวอยางท่ี 3.11 สมมติวาระรินไดรับเงินจายชําระคืนทุน 20,000 บาท ซึ่งมี สวนเกินกวาทุนจํานวน 5,000 บาท จึงถือวาสวนเกินน้ีเปนคาความนิยมสวนหน่ึงของกิจการท่ียัง ไมไดบันทึกบัญชี และเน่ืองจากระรินมีสิทธิไดรับสวนแบงจากการเพ่ิมขึ้นของสินทรัพยสุทธิใน อตั รา 50% จึงคํานวณไดด ังนี้ การคาํ นวณ คา ความนยิ ม จากจํานวนเงนิ ที่จา ยชาํ ระคืนทนุ ใหแ กห ุนสวนผลู าออก คา ความนยิ ม 50% = 5,000 บาท คาความนยิ ม 100% = 10,000 บาท ดงั น้นั คาความนยิ มของทง้ั กิจการ = 10,000 บาท 99


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook