Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore LK010-หนังสือประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง

LK010-หนังสือประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง

Description: LK010-หนังสือประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง

Search

Read the Text Version

ความเชื่อ พิธีกรรมและประเพณี 237 44 Cv., 87. 10-13; Cv., Tr. II, p. 178. 45 Cv., 74. 239, 240; Mahavamsa, Tr. Pt. II, L.C. Wijesinha, Colombo, 1889, p.210; UHC., I, pt. II, p.573. 46 See above, pp.317-19. 47 See above, p.318, n.3. Ds., p.54. 48 Ds., p.44; also cf. Cv., 83. 39. 49 See above, p.318. ไกเกอร์ต้ังข้อสังเกตว่าเกาะลังกาเหมือนวัดในอียิปต์ท่ีมีพิธีกรรมทุกวัน เหมือนพระเข้ียวแก้วได้รับการปฏิบัติเหมือนพระพุทธเจ้าทรงมีพระชนมายุคล้ายเป็นพระพุทธเจ้า ในปัจจุบัน Cv., Tr. II, p. 207, v.79, n.4. 50 Ds., pp. 49-54; แปลโดยปรณวิตานะและขยายโดยโฮคาร์ท กฎระเบียบเหล่าน้ีตีพิมพ์ใน MASC., IV, (pp. 34-37. An account of these regulations is also found UHC., Vol. I, pt. II, pp.759-61 and B.C. Law, Buddhistic Studies, Calcatta, 1931, p.532f. รายระเอียดต่อไปน้ีมีการวิเคราะห์พร้อมต้ังข้อสังเกตตรงที่เห็นว่าจ�าเป็น 51 ห้องโถงหรือห้องถอดมงกุฎ see MASC., IV, p.34, n.5. 52 ประตาปปยิบ่งถึงตะกร้าชนิดหนึ่ง อาจจเป็นไปได้ว่าตะกร้าเหล่าน้ีมีการน�ามาด้วยการผูกรัดตามวิธี ของประเพณี 53 See below, p. 348f. 54 ความหมายของเสสัตด้านวรรณคดีคือธงขาว ผู้ถือธงขาวในพิธีแห่แหนยืนอยู่ด้านข้างรถที่อัญเชิญ พระเขี้ยวแก้ว ในขบวนแห่งทางศาสนาในศรีลังกา เสสัตควรมีรายการประดับตกแต่ง เสสัตมีเสา ยาวด้านหัวมีรูปร่างพระจันทร์ประดับด้วยลายดอกไม้ อาจเป็นไปได้ว่ามีความคล้ายคลึงกับเสสัต ในปัจจุบัน 55 Cf. dhuraya (Ds., p.52; MASC., IV, p.34, n.8) หมายถึงวงดนตรี จารึกแปปิลิยานะ ระบุถึงปัญจธุรยะ ดนตรีรวมถึงเคร่ืองดนตรีห้าชนิด (Ks., p.43) และกัณฑวุรุสิริตะอ้างถึง สักปัญจธุรยะ วงดนตรีแห่งเครื่องดนตรีห้าอย่างรวมถึงสังข์ (Kandavurusirita, Br. Mus. Ms. Or. 6607 (15), folio, kl). ปรณวิตานะแปลมหาธุรยะว่าวงดนตรีหลวง (UHC., I, pt. II, p.759). อาจเป็นได้ว่าวัดพระเข้ียวแก้วมีวงดนตรีขนาดใหญ่ท่ีมีคนรับจ้างบริการแต่ละ วันและน้ีคงเป็นช่ือมหาธุรยะในอรรถาธิบายน้ี 56 งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเป็นขโมย การผิดประเวณี การกล่าวเท็จ และการเสพเคร่ืองมึนเมา 57 ศัพท์นี้บ่งถึงการถวายที่ท�าในวันเพ็ญ 58 UHC., Vol. I, pt. II, p.759. 59 กฎระเบียบที่ให้ในที่น้ีและในหน้าต่อไปพบในคัมภีร์ดาฬดาสิริตะเรียบเรียงโดย W. Sorata. 60 Pv., p.123; Cv., 85. 78f. 61 พระธาตุของพระมหากัสสปเถระมีการอ้างถึงในต�านานว่ามีการประดิษฐานภายในวิหารที่เบนโตฏะ (Pv., p.123; Cv., 85. 80-81). 62 Si-Yu-Ki, Buddhist Records of the Western World, Vol. II, S. Beal, p.248.

238 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง 63 Alutnuvaradevalayakaravima, Br. Mus. Ms. Ord 6606 (145) folio, ki; SSL., p.71. 64 Itihasaya, Vol. 2, pt. 2, 1960, May-August, pp. 105, 107-115. 65 Paranavitana แปลศัพท์นี้ว่ากลุ่มผู้ฟัง UCR., XVIII, Nos. 1&2, p.12. 66 Cv., 85. 1f. 67 ช่ือนี้เป็นนัยส่งถึงพระสงฆ์ผู้รั้งต�าแหน่งอุตุรุมุละ ซึ่งมีก�าเนิดจากสถาบันแห่งหนึ่ง ซึ่งช่ือน้ีเป็นของ ส�านักอภัยคิรีวิหารสมัยอนุราธปุระ see chapter two, p.93f. 68 See above, p.124f. 69 Ds., pp. 51-52. 70 MASC., IV, p.36, n.3. 71 Smp., (PTS), Vol. I, p.96. 72 Mv., XIX, 2. 73 Mv., Tr. P.128, v.2, n.2. 74 Mbv., p. 102. 75 Sbv., p.216. 76 Sbv., p. 216. 77 Ds., p. 52. 78 Ds., pp.118-119. Cf. ดูแบบที่ไม่เหมือนกันเพียงเล็กน้อย (SSSK., pt. I, p.233). 79 Ds., pp. 118-19. 80 Dambadeniasna, D.D. Ranasinghe, Colombo, 1928, p. 2; โฮคาร์ทบอกว่าปามุลเปฏฏิยะ มีใช้ในนิทานพื้นบา้ นภาษาสงิ หล หมายถึงหีบบรรจุทรัพย์สินของกษตั รยิ ์ เมือ่ เก่ยี วขอ้ งกบั กษตั ริย์ก็ หมายถึงกล่องปลายพระบาทของกษัตริย์ (MASC., IV, p.36, n.5). 81 Ds., p. 119. 82 See p. 483f, appendix., iv. 83 Ds., p. 52. 84 ปกติแปงท�าจากไม้จันทร์หอม Cf. MASC., IV,p.36, n.6. ส�าหรับแปงจันทร์หอมที่แจกแก่ผู้ มีศรัทธาในเทวาลัยของฮินดู see S. Pathamanathan, The Kingdom of Jaffna, Ph.D. 1969, p.18. 85 Ds., p. 53. 86 Ds., p. 53. 87 Ds., pp. 52-54. For details see chapter three, pp.160-161. 88 See chapter three, p.159. 89 See chapter four, pp. 139, 240, 245. 90 Ds., p. 50. 91 Ds., pp. 114-115.

ความเช่ือ พิธีกรรมและประเพณี 239 92 MASC., IV, p.35. 93 Kandavurusirita, Br. Mus. Ms. Or. 6607 (15), folios, kl, kl. 94 Inl. As. Stds., Vol. 19. pp. 172-73. 95 Cf. EZ., I, pp. 96, 110-111. 96 EZ., IV, pp. 257-59. 97 Cv., 85. 31-36. 98 Ds., p. 50. 99 โอคาร์ทประเมินรายการอาหารที่มีการถวายในสมัยแห่งตน see MASC., IV, p. 28. 100 UCR., xviii, Nos. 1&2, 1960, pp. 5, 8. 101 JRASCB., VII, pt. III, p. 201. หลักฐานอ้างอิงเกี่ยวกับเทวาลัยไม่พบเห็นในเน้ือหาแห่งจารึก ท่ีตีพิมพ์ในกติกาวัตสังคระ (p.41). 102 EZ., III, p.189f. 103 B. Stein, ‘The Economic Function of a Medieval South Indian Temple’, Journal of Asian Studies, Vol. 19, 1959, 1960, p.172; K.K. Pillai, The Sucindram Temple, Kalakshetra Publications, Adyar Madras 20, 1953, p. 149f; V.G. Ramakrshma Aiyer, The Ecomony of a South Indian Temple, pub. Annamalai University, 1946, p.53. 104 Cv., 90. 78-80. 105 Cf., XVIII, Nos. 1&2, 1960, pp. 5-8. 106 UCR., op. cit., pp.6-9. 107 Mv., 31. 78-82. 108 Mv., 31. 83-84. 109 EZ., iv, p.257. 110 Cv., 89. 31-35; Tr. II, p.196. 111 Cv., 85. 42-45; Tr. II, p.163. 112 Ds., p. 49. 113 บางศัพท์มีต้นก�าเนิดมาจากอินเดีย บรรดาศัพท์เหล่าน้ัน เคร่ืองดนตรีประเภทกัมสุตลัมและสินนัม (แตรเด่ียว) มีการแยกเป็นกลุ่มขณะท่ีตันติริและดัณฑิ ซ่ึงถูกใช้ในความหมายถึงไวโอลิน อาจจะ เป็นชนิดอย่างอื่น ดฬหัม รันริดิดหระและเครื่องดนตรีท่ีเร่ิมต้นด้วยกหระถึงวัสกุลันเป็นชนิดเดียว กับแตร ส่วนรายชื่อท่ีเหลือเป็นชนิดกลองหลายแบบ 114 Ds., p. 49. 115 Ds., p.50. 116 See above, p.349, n.1. 117 (Ibn-Batuta), Travels in Asia and Africa, Tr. by H.A.R. Gibb, London, 1929, p.260.

240 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง 118 SSS., p. 26. 119 L.A. Waddell, ‘The Evolution of the Buddhist Cult its gods images and Art’, The Imperial and Asiatic Quarterly Review, Vol. XXXIII, No. 65, January, 1912, p.105f. 120 M.M.I. Marasinghe, Ph.D. Thesis, University of Birmingham, 1967, p.IV. 121 CJSG., II, p. 53. ไกเกอร์สืบค้นหาก�าเนิดของเทพนาถะย้อนหลังไปว่าเป็นเทพโลกนาถะ ผู้เป็น ใหญ่แห่งโลกมีนัยหมายถึงเทพเมตไตรยะ (CCMT., p.171). also Cf. Pali Proper Names, Vol. II, s.v. (G.P. Malalasekara); เทพนาถะน้อยมากที่จะรู้จักกันในนามเมตไตรยนาถะ (Jinalankara, p. 90, v. 207; EZ., V. pt., 3, p. 475) ซึ่งดูเหมือนว่าจะนิยมตามทัศนะ ของไกเกอร์ แต่เทพนาถะมีใช้ต่อท้ายชื่อของเทพอีกเป็นจ�านวนมาก คัมภีร์สารีปุตรประการณยะ กล่าวถึงเทพนาถะ ๘ ชื่อ กล่าวคือ ศิวนาถะ พรหมนาถะ วิษณุนาถะ เคารีนาถะ มัตสเยนทรนาถะ ภัทรนาถะ เบาธนาถะ และคนนาถะ ความคิดเก่ียวเทพนาถะ ๘ ชื่อ ยังพบเห็นในปริตรชื่อว่า ชินปัญชรยะ (Lakdiva Mahayana Adahas, M. Sasanaratana, p. 428). การใช้ชื่อ นาถะในฐานะเป็นส่วนหน่ึงของเช่ือเมตไตรยะและพระเจ้าเหล่าอื่นไม่มีนัยบ่งบอกว่าไม่มีเทพเจ้า นามว่านาถะบนเกาะลังการะหว่างยุคกลางเลย 122 EZ., IV, p.157f; S. Paranavitana, ‘Bodhisatta Avalokitesvara in Ceylon’, B.C. Law. Vol. II, Calcutta, 1945, p. 15f. 123 Bronzes From Ceylon, (A.K. Coomrasvamy), p. 7; Mahayana Monument in Ceylon, N. Mudiyanse, Colombo, 1967, pp. 38, 41, 45f; CJSG., II, p. 50f. 124 Cv., 37. 242. 125 Cv., 38. 68. ส�าหรับรายละเอียดเรื่องพระโพธิสัตว์และรูปปั้นในยุคต่อมา see CCMT., pp. 102, 210-211. 126 See above n. 1. 127 Cv., 87. 1f. 128 Itihasaya, Vol. 2, pt. 2, 1960, May-August, p. 105. 129 EZ., IV, pp.103-4. 130 UCR., XVIII, Nos. 1&2, 1960, pp.5-7. 131 EZ., IV, pp. 308-9; CJSG., II, pp.57-58. 132 AAGP., p.41. 133 Ks., p. 41. 134 EZ., V, pt. 3, p. 475f; CJSG., II, p. 52. 135 Tisarasandesaya, M. Kumaranatuga, pub. K.D. Perera and sons, Vidyadarsa Press, 247 B.E., v.128 (hereafter referred to as Tisara.,). 136 CJSG., II, pp. 53-54. 137 Gira., v.230; Kokila., v.80; Kavyasekhara, Dharmarama, canto, XV., 24.

ความเชื่อ พิธีกรรมและประเพณี 241 138 Srtnk., p.298. 139 See chapter five, p.251f. 140 CJSG., II, p. 55; Mayura, V, 148; Har Dayal, The Bodhisattva Doctrine in Buddhist Sanskrit Literature, London, 1932, p. 17. 141 Gira., vv. 251-2. 142 Kokila., v.80. 143 EZ., IV, pp. 308-9. 144 EZ., IV, pp.308-9. 145 C. Pridham, Ceylon and its Dependence,Vol. I, p.342; CJSG., II, pp. 58-59. 146 CJSG., II, p.59. 147 Pridham, op. cit., p. 334; CJSG., II, p. 59. 148 Encylopaedia of Religion and Ethics, Vol. 2, p. 256f; CJSG., II, p. 52f. 149 Dighanikaya, (PTS), Vol. III, p. 75f; Anagatavamsa, in the JPTS., 1886, v. 57, Mv., XXXII, 73. 8. 150 Dighanikaya, (PTS), Vol. III, p. 75f. 151 JPTS., (ed. T.W. Rhys Davids), London, 1886, p. 41f; Gandhavamsa บอกว่า คัมภีร์เล่มนี้เป็นผลงานของพระเถระนามว่ากัสสปะ (JPTS., op. cit., pp. 60-61) และคัมภีร์ สาสนวังสทีปะ (v.1204) บอกว่าท่านอาศัยอยู่ที่แคว้นโจละ ระยะเวลาของคัมภีร์เล่มนี้ยังไม่ ก�าหนดชัดเจน 152 Cf., Anagatavamsa, (Sinhalese), Medhananda, Colombo, 1934, p. 183. 153 Pv., p. 268f; Sdlk., pp. 744-776; Srtnk., p.143f. 154 Sdlk., p.747; EZ., V., pt. 3, p.475; CCMT., p.210. 155 Anagatavamsa, (Sinhalese), op. cit., p. 1f, 20f; Sdlk., pp. 744, 774f. 156 Sdlk., pp. 744-76. 157 Than Tun, Ph.D. Thesis, p. 140f; Than Tun, ‘Religion in Burma’ A.D. 1000- 13000, JBRS., XLII, II, Dec., 1959, p.53. 158 Cf. Sdlk., pp. 420-21; SSL., p. 70. 159 Sdlk., pp. 749-50. 160 Pv., p. 125; Cv., 86. 6-7. 161 Pv., pp. 13, 46. 162 Jinalankara, pp. 90-91. V. 267f; Pv., pp. 145, 146; Anagatavamsa, pp. 179-82; Sbv., pp. 221, 222; Sdlk., p. 744. 163 Pv., colophon, pp. 145-6. 164 Sin. Lit., p. 334. 165 Anagatavamsaya, pp. 179-82; Sbv., pp. 221-22.

242 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง 166 Sdlk., p. 744. 167 Cv., 36. 90 and Tr. P.263, v. 90, n.2; Cv., 37. 109; EZ., I, pp. 234, 237; Cv., 80. 12; Cv., 88. 35 and 90. 48. Aggabhodhi I (Cv., 42. 1) and Sena I (Cv., 50. 65) แสดงความปรารถนาบรรลุภาวะแห่งพุทธะ also see above, p. 27,n.2. 168 CJSG., II, p.59. 169 เปรียบเทียบกับกษัตริย์ผู้ปฏิบัติตนเช่นพระโพธิสัตว์ 170 EZ., I, pp. 234, 237; HBC., p. 62. 171 Cf. Anguttaranikaya, (PTS), II, R. Morris, London, 1888, pp. 74-5; Sdlk., pp. 398-453. 172 NS., p. 92; กิริแรละบางครั้งเรียกว่ากิริเรลิเป็นชื่อของเทพอุบลวัน หลักนิรุกติศาสตร์ท่ี รู้จักสองศัพท์นี้มีการเสนอเพ่ืออธิบยช่ือดังกล่าวน้ี หน่ึงในน้ันกล่าวว่าธรณีประตู (เดหลิ) แห่ง เทวาลัยของเทพเจ้าองค์น้ีท�าด้วยขดิระ (ภาษาสิงหลคือกิหิริ) ซ่ึงเป็นไม้เรียกว่า Acesia catechu (Parevi, Kumaranatunga, p. 261) กิริแรลิมีรากศัพท์มาจากการรวมศัพท์ขดิรเดหลิ หมายถึง ธรณีประตูท�าจากไม้ขดิระ หลักเกณฑ์ด้านภาษาที่สองยืนยันว่ารูปปั้นของเทพเจ้าองค์น้ี ท�ามาจากไม้ขทิระ (กิหิริ) และกิหิแรลิจึงกลายเป็นช่ือของเทพเจ้า (Parevi, p. 261; Kokila, v. 23; Devundara Itihasaya, P.D.S. Weerasuriya, Colombo, 1962, pp. 90- 93). ไม้ขทิระเป็นสิ่งศักด์ิสิทธ์ิส�าหรับอวโลกิเตศวรและนางตารา (CJSG., II, p. 67) และเป็น ชื่อของเทพอินทระ (Skt. Eng. Dict., s.v.). คลักบอกว่ากิหิแรลิเป็นชื่อของวรรณะหรือเชื้อสาย ของเทพทั้ง ๔ ไดแ้ ก่ วษิ ณุ สมัน กตรคมาเทโย และวิภศี ะณะ (Sinhalese English Dictionary, p. 126). ตามความคิดน้ีอาจมีความเป็นไปได้ว่าการระบุดังกล่าวเก่ียวข้องกับขทิระ และต้องมี ความจริงบางอย่างในการอธิบายเชิงนิรุกติศาสตร์ดังกล่าวเบ้ืองต้น 173 Ns., p. 92; ปรณวิตานะตีความของศัพท์ว่าโบกแสลด้วยภาษาสันสกฤตว่าโพคสาลินี อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพย์สมบัติและความม่ังค่ัง GAP., p.38. 174 Ns., p. 92; สมควรบันทึกไว้ว่าเทพเจ้าเหล่านี้มีความแตกต่างจากผู้คุ้มครองทิศท้ังส่ีของโลก กล่าวคือ ธตรัฏฐะ วิรุฬหกะ วิรูปักขะ และกุเวร (Dighanikaya, Vol. II, Rhys Davids and J.E. Carpenter, p. 207f; Ibid., Vol. III, J.E. Carpenter, p. 194f; also see Bronzes from Ceylon, A.K. Coomarasvamy, p. 8). 175 UCR., XVIII, Nos., 1&2, pp. 5-7; also see below, pp. 394-5. 176 Jinakalamali, A.P. Buddhadatta, Colombo, 1956, p.72. 177 See below, p.387. 178 S. Paranavitana, The Shrine of Upulvan at Devundara, (Memoirs of Archaeological Survey of Ceylon, Vol. VI), Government Press, Colombo, 1953, p. 42 (hereafter referred to as MASC., VI). 179 A.K. Coomarasvamy, Bronzes from Ceylon, 1914, p.8.

ความเชื่อ พิธีกรรมและประเพณี 243 180 Mv., VII, 5. 181 Vidyodaya, Vol. 5, No. 5, 1930, pp. 39-40. 182 CZLR., II, pt. I, p. 36. 183 Mv., VII, 5; G.P. Malalasekera, Pali Proper Names, p. 958. 184 Cf., SSL., p. 71; UCR., Vol. XVIII, Nos. 1&2, p. 7. 185 For the date of this work see Sin. Lit., p. 222. 186 Parakumbasirita, K.D.P. Wickramasingha, Colombo, 1954, p.38, v. 24. 187 Parevi., v. 147. 188 See below, p. 394f. 189 Cv., 83. 48, 49. 190 Parevi., v. 210f. 191 Hamsa., vv. 201, 202. 192 Kokila., v. 287. 193 Mayurasandesaya, W.F. Dharma Wardhana, pub. M.D. Gunasena & Co. Wellampitiya, 1949, vv. 153-55, 157-63. (hereafter referred to as Mayura.,); Parevisandesaya, M. Kumaranatunge, Maradana, Anula Press, 2502, B.E. vv. 210f (hereafter referred to as Parevi.,); Hamsa., vv. 201, 202. 194 SSL., pp.71-72; see below, p.467. 195 Parevi., v. 201; หลักฐานส่วนนี้ชวนให้ร�าลึกถึงต�านานซึ่งบอกว่าพระพุทธเจ้าทรงพยากรณ์ว่า ค�าสอนของพระองค์จะรุ่งเรืองบนเกาะลังกาและจากนั้นท้าวสักกะได้ยืนยันการปกปองคุ้มครอง (Cf., Mv., VII, 4f; CJSG., II, p.67). 196 Kokila., v. 23. 197 Mayura., v.156. 198 Cf. เทพเจ้าและจักรวาลมิได้สร้างปัญหาแก่ชาวพุทธผู้รู้เพียงหนึ่งค�าถาม เราผู้อยู่ในโลกแห่งความ ทุกข์จะหลุดพ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร (H. Oldenberg, Buddha, London, 1882, p. 130; Aslo cf. H. Odenberg, Buddha, Berlin, p. 132); Jataka Pali, pt. I (SSB), W. Piyatissa, Colombo, 1926, p. 223. 199 SSS., pp.18-19; Tisara., v. 184f. 200 Parevi., v. 203; SSS., pp. 20-21. 201 SSS., p. 190. 202 Cv., 90. 100-103. 203 UHC., I, pt. II, p. 578. 204 UCR., XVIII, Nos. I&2, 1960, p. 7. 205 Ns., p. 92.

244 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง 206 UHC., I, pt. II, p. 766; CCMT., p. 170. ในตอนอธิบายท้ายบท Cv., 83. 49 ไกเกอร์ แปลเทพอุบลวันว่ามีผิวสีฟา เหมือนช่ือของเทพวิษณุ (Cv., Tr. II, p. 152, n.3). in this CCMT., ไกเกอร์บอกว่าการพิสูจน์เทพวิษณุว่าเป็นเทพอุบลวันเกิดพัฒนการยุคหลัง ต่อมา (p. 170). 207 Kokila., v. 23; see also Tisara., v.16. 208 H. Pannasiha แย้งว่าคาถาดังตัวอย่างแห่งส�านวนสละสลวยเรียกว่าอนันวยาลังการะ โดย คนหน่ึงถูกเปรียบกับอีกคนหน่ึง กรณีน้ีเทพวิษณุกลายเป็นเทพวิษณุเสียเอง (Kokila., p.51). 209 UCR., vol. XVIII, Nos. 1&2, 1960, pp. 5-7. 210 Tisara., v. 21. 211 CJSG., II, p. 67. 212 MASC., VI, p. 22. 213 MASC., VI, p. 47f; cf. Parevi., v. 147; Parakumbasirita, O. de Silva, Co lombo, 1954, v.24. 214 MASC., VI, pp. 22-25, 57. 215 MASC., VI, p. 57; Dowson, A Classical Dictionary of Hindu Mythology and Religion, Geography, History and Literature, London, 1950, s.v.; เคารียังเป็นช่ือ ของมเหสีของเทพศิวะด้วย 216 MASC., VI, pp. 52, 58. 217 MASC., VI, pp. 32f, 57-58. 218 Parakumbasirita, C. de Silva, Colombo, 1954, v. 24; Parevi., v. 147; MASC., VI, คัมภีร์แปรกุมบสิริตะเสนอการอ่านสองวิธี หน่ึงน้ันพูดถึงการมาของเทวรูป (piliruva, Cf. C. de Silva edition, K.D.P. Wikramasinha edition, and the D.G. Abhayagunaratna edition). การพูดถึงเทพอีกทางหนึ่งดูใน (devi maharajanan, Cf. the edition by Apa Appuhami). 219 MASC., VI, pp. 47, 57-59. 220 Cf. MASG., VI, pp. 67-68. 221 See above, p.374. 222 CALR., IV, pt. III, p.157f. 223 G. Jobes, Dictionary of Mythology, Folklore and Symbols, New York, 1961, s.v. see also p.33. 224 Cf. CALR., II, pt. I, p.36. 225 See above, p. 366f. 226 Tisara., v. 18; Kokila., vv. 25, 27,32; Mayura., v. 152. 227 Harivamsa., Tr. Part I, ed. D.N. Bose, Datta bose and Co. (Bengal) p. 561.

ความเช่ือ พิธีกรรมและประเพณี 245 228 Ibid., part, I, pp. 545-46. 229 See above, pp. 272-73. 230 Cf. UCR., Vol. XVIII, Nos. 1&2, pp. 5, 7; Parevi., v. 201; Ns., p.92; SSL., p.7. 231 Cf. MASC., VI, pp. 67-8; อิบันบาตูตะอ้างถึงพราหมณ์พันคนและนางพราหมณีอีกห้าร้อย คนเก่ียวข้องกับเทวาลัยที่เดวุนดะระ (Ibn Batuta), Travels in Asia and Africa, Tr. By H.A.R. Gibb, London, 1929, p.260. 232 See above, p. 366f. 233 See above, p. 377f. 234 Tisara., v. 21; Dictionary of Mythology Folklore and Symbols, s.v. 235 See below, p. 386, n.4. 236 Cf. Tisara., v. 21. 237 CJSG., II, p.67. 238 CJSG., II, p.67. 239 See above, p.375. 240 Cf., UHC., Vol. I, pt. II, p. 766; also see CCMT., p. 170. 241 See above, p. 377f. 242 See above, p. 401f. 243 (Ibn Batuta), Travels in Asia and Africa (1325-1354), Tr. And ed. by H.A.R. Gibb, London, 1929, p.260. 244 MASC., VI, p.43. 245 ไกเกอร์เห็นว่าเทพอุบลวันเป็นเทพผู้มีลักษณะอันโด่งดังต้ังแต่แรกเริ่ม (CCMT., p. 170). 246 UHC., I, pt. II, p. 766; CCMT., p. 170. 247 Ns., p. 92. 248 Mv., 1. 31f. 249 Mv., 1. 77. 250 Cv., 86. 21-36. 251 CALR., Vol. II, pt. I, p. 43. 252 P.E. Pieris, Ceylon: The Portuguese Era, Vol. I, Colombo, 1913, pp. 315-16, 569f; คัมภีร์ราชวลิยะบอกว่าหลักฐานไม่พบเห็นจากแหล่งอื่น พระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๑ เสด็จประพาสสมโนละและสร้างเทวาลัยถวายเทพสมัน สถานท่ีเทวาลัยแห่งนี้ไม่ระบุไว้ชัดเจน (Rajavaliya, p. 43.) 253 P.E. Pieris, op. cit., pp. 369-70. 254 P.E. Pieris, op. cit., pp. 369, 570. 255 Cf. CALR., Vol. II, pt. I, p. 43; also see note, 1, above. กลุ่มท่ีสองไม่สมบูรณ์ ตามเร่ืองรายที่อธิบายโดยเปริส

246 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง 256 Pv., p. 135. 257 S. Paranavitana, The God of Adam’s Peak, Artibus Asiae Pubishers, Switzerland, 1957, p. 11f; (hereater referred to ass GAP.,). K. Nanavimala, Saparagamuveparaniliyavili, Colombo, 1946, p. 17f. Manimekhalai, ch. 11, pp. 122-23. 258 See above, p. 382f. 259 Vamsatthappakasini, Vol. I, (PTS), G.P. Malalasekara, London, 1935, p. 81. 260 GAP., pp. 53-54. 261 GAP., p. 53; Savulasna, P. Aggavamsa, pub. T.L. Hendrik, Colombo, 1925, v. 188. 262 See above, p. 382f. 263 CALR., II, pt. I, pp. 43-44. 264 Ramayana, Conto, IV, v. 25. p.23. 265 M. Sasanaratana, Lakdiva Mahayana-adahas, Colombo, 1962, p.433. 266 CJSG., II, p. 65. ส�าหรับหลักนิรุติกศาสตร์แล้วชื่อว่าลักษมณะซ่ึงปรากฏย่อมไกลจาก ความเป็นจริง see GAP., p.28. 267 GAP., p. 48; UHC., I, pt. II, p. 578. 268 UCR., XVIII, Nos. 1&2, 1960, p. 7. 269 Hamsa., vv. 201-202. 270 Ez., V., pt. 3, p. 47. 271 CJSG., II, pp. 64-65. 272 GAP., p. 27. 273 GAP., p. 28f; ibid., p. 24; see below, p.390, n.1. 274 Dhammapadatthakatha, (PTS), I, p.50. 275 GAP., p. 29. 276 Rasavahini, K. Nanavimala, Colombo, 1961, pp. 120-121; Sdlk., pp. 427, 428, 430. 277 GAP., p. 29. 278 GAP., p. 24. ปรณวิตานะอ้างว่าได้ตรวจสอบเอกสารส�าเนา ๘ ชิ้น เพ่ือยืนยันความน่าเช่ือถือ แหง่ การอา่ นคา� วา่ สมุ นะ ในคมั ภรี ป์ นั สยิ ปนสั ชาตกโปตะ และยนื ยนั วา่ คนสว่ นใหญท่ อี่ า่ นตา่ งยอมรบั ว่าเป็นเทพสุมนะ also see Pansiyapanasjatakapota, Jinalankara Press, Colombo, 1929, p. 1499; Jatka, V. Fausboll, Vol. VI, p.201. 279 Cv., 86. 19; GAP., pp. 47-48 (figure 8). 280 GAP., p. 48. 281 Cv., 86. 19.

ความเช่ือ พิธีกรรมและประเพณี 247 282 GAP., op. cit., p. 43, 48. 283 GAP., p. 48. 284 Dictionary of Mythology Folklore and Symbols, Vol. II, p. 1999; GAP., pp. 47-48. 285 GAP., p. 45; เบลล์บอกว่ารูปปั้นของเทพสุมนะปกติมักทาด้วยสีเหลือง (CALR., II, pt. I, p. 36). 286 Dictionary of Mythology Folklore and Symbols, Vol. II, p. 1699. 287 Vidyodaya, Vol. 5, No. 5, 1930, pp. 39-40. 288 UCR., XVIII, Nos. 1&2, p. 7. 289 Cf. Ns.,p. 92. 290 Tisara., vv. 104-5; Hamsa., v. 105f; Kokila., v. 165. 291 Salalihinivivaranaya, M. Kumaranatunga, pub. K.D. Perera and Sons, Vidyasagara Press, 2474 B.E. vv. 101-102 (hereafter referred to as Sala.,). 292 UHC., I, part, II, p. 764. 293 Cv., 62. 11f. 294 Cv., Tr. I, p. 233, n.2 (Cv., 62. 11). 295 Cf. Mayura, vv. 134, 148, 153, 156; Tisara., vv. 17, 19, 233, 24, (Upulvan); Vap., vol. I, p. 81 (Sumana); Hamsa., v. 201 (four guardian gods). 296 See above., p. 366. 297 SSS., p. 190; Jinakalamali, p. Buddhadatta, Colombo, 1956, p. 72. 298 SSS., p. 190. 299 EZ., V. part, 3, pp. 398-99. 300 Ibid., V. part 3, p. 401. 301 Ns., p. 92. 302 ‘Ambakkevarnanava’, quoted from, JRASCB., XXXII, No. 86, pp. 272-73; AAGP., pp. 40-1. 303 Sala., v. 25. 304 Parevi., v. 208. 305 SSS., p. 190. 306 UCR., XVIII, Nos. 1&2, pp. 5-7; AAGP., pp. 82-3. 307 C.E. Godakumbure, ‘Bronzes from Polonnaruwa’, JRASCB., (NS), VII, pt. 2, p. 242; for Vahalkadas, see J. Smither, Architectural Remains, Anuradhapura, Ceylon, plate, XXXII, S. Paranavitana, The Stupa in Ceylon, MASC., V, Colombo, 1946, p.51f. 308 H.D. Bhattacharya, ‘Minor Religious Sects’, The Age of Imperial Kanauj, ed. R.C. Majumdar, Vidyabhavan Series, Bombay, 1955, p. 328.

248 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง 309 JRASCB., op. cit., p.242. 310 Tisara., v. 28; Parevi., vv. 134, 145; Kokila., vv. 42, 101. 311 Dictionary of Mythology Folklore and Symbols, pt. I, p. 627. 312 Ganadevihalla Saha Vadankavipota, pub. A. Cooray, Colombo, 1891, vv. 39-49. 313 S. Paranavitana, ‘Mahiyangana’, ASCAR., 1951, p.18; UHC., I, pt. II, p.578. 314 UCR., XVIII, Nos. 1&2, 1960, pp. 5-7; UHC., op. cit., p. 578. 315 EZ., IV, pp. 101-4. 316 Ibid., pp. 101-4. 317 Mv., 31. 75f. 318 G.P. Malalasekara, Dictionary of Pali Proper Names, I, pp. 108-9; II, pp. 917-8. 319 Ns., p. 92. 320 HBC., p. 51f; UHC., Vol. I, pt. I, p.125f. 321 UHC., op. cit., p. 85f; A.L. Basham, ‘Prince Vijaya and the Aryanization of Ceylon’, CHJ., Vol. I, Jan. 1952, p. 163f. 322 E.W. Adikaram, Early History of Buddhism in Ceylon, p.43f; HBC., p. 34f. 323 Cf. EZ., IV, pp. 193f; CCMT., pp. 128-9, 177; UHC., I, pt. II, p. 434. 324 CCMT., p. 177; UHC., I, pt. I, p.387. 325 Cv., 64. 3. 326 Cv., 73. 71. 327 EZ., II, pp. 178, 287-8, 290; UHC., I, pt. II, p. 578. 328 EZ., IV, pp. 256-7. 329 P.E. Pieris, Ceylon: Portuguese Era, Vol. I, p. 315. 330 Dpv., p.64. 331 Ns., p. 94; Tr. p.29. 332 (Iba-Batuta), Travels in Asia and Africa, London, 1929, H.A.R. Gibb, p. 260; UHC., I, pt. II, p. 766. 333 Sdlk., pp. 434, 568. 334 UHC., op. cit., p. 767. 335 CCHT., p. 128f. 336 UHC., I, pt. II, p.427. ความยาวของยุคน้ีเป็นการให้ข้อมูลของฝ่ายลังกาอย่างหลากหลาย KPPD., p.31f. 337 CCHT., p. 176; Paranavitana, ‘The Art and Architecture of the Polonnaruwa Period’, Ceylon Historical Journal, Vol. 4, Nos. 1-4, 1954-55, p. 71.

ความเช่ือ พิธีกรรมและประเพณี 249 338 A.K. Coomarasvamy, Bronzes from Ceylon, (Memoirs of the Colombo Museum, Series A. No. 1), 1914, p. 13f; C.E. Godakumbura, ‘ Bronzes from Polonnaruwa’, JRASCB., (NS), pt. 2, p. 240; UHC., op. cit., p. 578. 339 Pv., p. 108. 340 CALR., III, pt. I, p.13. 341 For examples of the early period see UHC., I, pt. II, p.386. 342 UCR., XVIII, Nos. 1&2, 1960, pp. 48-9. 343 EZ., IV, pp. 100-3. 344 EZ., IV, pp. 206-7. 345 Cf. UHC., I, pt. II,pp. 777-8. 346 HBC., pp. 85, 89, 136. 347 Ns., p. 82. นิกายน้ีชื่อว่าวัชรปรวตนิกายในคัมภีร์นิกายสังครหยะ 348 KPPD., p. 198f. 349 Ns., p. 87; Srtnk., p. 291; Dpv., p. 61; Rjrtn., p. 32. 350 See chapter one p.19. 351 CJSG., II, pp. 50-1; see above, p. 351. 352 See above, p. 351f. 353 Har Dayal, ‘The Bodhisattva Doctrine in Buddhist Sanskrit Literature’, London, 1932, p. 17. 354 See above, p. 351f; Encyclopaedia of Religion and Ethics, Vol. II, p. 258. 355 Sdlk., pp. 745-7. 356 See above, p. 366f. 357 Ns., p. 92. 358 Cv., 80. 54-56; Tr. II, p. 132. 359 Mv., VII. 5. 360 Ns., p. 92. 361 SSS., p. 190. 362 Cv., 80. 55.



๘ ปฏิรปู การพระศาสนา

เหตุแห่งการปฏิรูปพระศาสนา ครั้นสัญญาณแห่งความเส่ือมโทรมของการพระศาสนาเกิดขึ้น ย่อมเป็น หน้าท่ีของอาณาจักรและพุทธจักรต้องรีบหามาตรการปฏิรูปพระศาสนา เพื่อให้เป็นไป ตามแบบประเพณีเก่าดั้งเดิม เหตุแห่งการปฏิรูปพระศาสนาน้ันส่วนใหญ่เน้นไปท่ี ความประพฤติผิดและวัตรปฏิบัติอันเสียหายของพระสงฆ์ และความแตกร้าวระหว่าง คณะสงฆ์ด้วยกันเอง สาเหตุสองประการน้ีล้วนสร้างความวุ่นวายท�ำลายความสงบสุข แห่งพระศาสนาตลอดมา การปฏิรูปการพระศาสนามี ๓ หลักการใหญ่ คือ ๑) การ ตรากฎระเบียบหรือกติกาวัตร ๒) การสร้างความปรองดองระหว่างสองนิกายใหญ่ และ ๓) การช�ำระพระศาสนา การฟื้นฟูพระศาสนาคร้ังแรกของยุคน้ีเกิดขึ้นสมัยพระเจ้าวิชัยพาหุท่ี ๓ เม่ือพระองค์สถาปนาศูนย์กลางการปกครองที่เมืองดัมพเดณิยะบริเวณเขตมายาระฏะ พระองคม์ งุ่ มนั่ ทจี่ ะฟน้ื ฟพู ระศาสนา อนั เนอ่ื งมาจากความทรดุ โทรมเสอื่ มถอย ดมั พเดณิ กติกาวัตรระบุว่าสถานการณ์ทางพระศาสนาน่าเวทนานัก เหตุเพราะพระสงฆ์ผู้ปฏิบัติ ผิดมีจ�ำนวนเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งพระศาสนาไม่เคยประสบกับความเสียหายเช่นนี้ มาก่อน๑ คณะสงฆ์ทรุดโทรมย่�ำแย่มีแต่ความแตกร้าวทุกแห่งหน คัมภีร์จุลวงศ์ระบุว่าพระเจ้าแผ่นดินโปรดให้ประชุมพระสงฆ์ทั้งหมดบนเกาะ (ติสีหละ) ทั้งพระปูนเถระ ปูนมัชฌิมะ ปูนนวกะ และสามเณรแล้วปฏิรูปพระศาสนา๒ ดัมพเดณิกติกาวัตรช้ีว่าพระเจ้าวิชัยพาหุโปรดให้ระงับข้อพิพาทระหว่างมหาสังฆะผู้ หลบหนีออกจากเมืองหลวงเก่านามว่าปุลัสติปุระ (โปโฬนนารุวะ) เพื่อหลบภัยมาอาศัย

ปฏิรูปการพระศาสนา 253 บรเิ วณมายาระฏะ๓ แตห่ ลกั ฐานเพยี งเทา่ นไี้ มส่ ามารถระบไุ ดว้ า่ เกดิ ความแตกรา้ วภายใน คณะสงฆ์ได้อย่างไร หลักฐานอ้างอิงหลายแห่งซ่ึงระบุถึงการปฏิรูปพระศาสนาของพระเจ้าวิชัยพาหุ มิได้ช้ีชัดว่าพระองค์ทรงแสดงมาตรการอันรุนแรง ดังเช่น การขับไล่พระสงฆ์ผู้ไม่เป็น ที่เคารพและไร้ระเบียบวินัย หรือการปราบปรามผู้มีความเห็นผิด เป็นต้น ดังเคย กระท�าเหมือนการปฏิรูปพระศาสนาทุกคร้ัง๔ พระสังฆรักขิตมหาสามีได้กล่าวอ้างไว้ใน คมั ภรี ข์ ทุ ทสกิ ขาฎกี าและคมั ภรี ส์ มั พนั ธจนิ ตาวา่ ตวั ทา่ นไดเ้ พยี รพยายามชา� ระพระศาสนา ด้วยความช่วยเหลือของศิษย์นามว่าเมธังกรเถระแห่งส�านักทิมบุลาคละ๕ ความจริงคือ การปฏริ ปู พระศาสนาสมยั นนั้ ไมม่ มี าตรการเดด็ ขาด ดงั เชน่ การขบั ไลพ่ ระสงฆผ์ ปู้ ระพฤติ เสียหายออกจากคณะสงฆ์ ส่วนการอ้างของพระสังฆรักขิตมหาสามีน่าจะหมายถึง การตรากฎระเบียบส�าหรับควบคุมความประพฤติของพระสงฆ์ แต่ตราบใดยังไม่มี หลักฐานเกี่ยวกับกฎระเบียบดังกล่าว ย่อมเป็นเรื่องยากต่อการก�าหนดมาตรการ มาตรการสา� หรบั ปฏริ ปู พระศาสนาสมยั พระเจา้ วชิ ยั พาหไุ มถ่ อื วา่ สมบรู ณพ์ รอ้ ม เพราะสองทศวรรษถัดมาพระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๒ ต้องฟื้นฟูพระศาสนาอีกคร้ัง เหตุเพราะเกิดความวุ่นวายและความเส่ือมโทรมข้ึนอีกครั้งหนึ่ง โดยเฉพาะเรื่อง เกี่ยวกับอ�านาจหน้าท่ีของพระสงฆ์ พระองค์จึงทรงตรวจสอบพระสงฆ์ผู้ต้องสงสัย อย่างละเอียด หลักฐานดังกล่าวสามารถสืบค้นหาในคัมภีร์ปูชาวลิยะและคัมภีร์จุลวงศ์ เพราะเป็นงานเขียนร่วมสมัยกษัตริย์พระองค์นี้ คัมภีร์จุลวงศ์บรรยายไว้ว่า ระหว่าง หัวเลี้ยวหัวต่อการครองราชย์ (ราชันตระ) พระสงฆ์พากันประพฤติผิดพระวินัย ตามความปรารถนาแห่งตนและต่างเป็นอยู่ด้วยการประพฤติมิจฉาชีพ พระองค์ได้ ขับไล่พระสงฆ์อลัชชีเหล่าน้ันออกจากคณะสงฆ์ จากนั้นโปรดให้ช�าระพระสัทธรรม ค�าสอนขององค์พระศาสดาเจ้า๖ ระยะเวลาดังกล่าวหมายถึงระหว่างการปกครองอันโหดร้ายของพระเจ้ามาฆะ กับการข้ึนครองราชย์ของพระเจ้าวิชัยพาหุบริเวณมายาระฏะ๗ หลักฐานดังกล่าวแสดง ให้เห็นว่ากติกาวัตรของพระเจ้าวิชัยพาหุไม่ได้ยาวนาน ส่วนคัมภีร์นิกายสังครหยะได้ อ้างถึงการขับไล่พระสงฆ์ผู้ประพฤติผิดพระธรรมวินัยและวางตัวไม่เหมาะสมให้ออก

254 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง จากต�าแหน่งเป็นจ�านวนมาก๘ วิธีการเช่นนี้ถือว่าเป็นการแยกพระสงฆ์ผู้ประพฤติผิด พระธรรมวินัยออกจากหมู่คณะ ส่วนการช�าระพระศาสนาสมัยพระเจ้าปรากรมพาหุที่ ๒ นอกจากขับไล่ พระสงฆ์ผู้ประพฤติผิดพระวินัยแล้ว พระองค์ทรงรวมคณะสงฆ์สองกลุ่มให้เป็น หน่ึงเดียว ประเด็นหลังอาจเกิดภายหลังการช�าระพระศาสนาแล้ว คัมภีร์จุลวงศ์ ระบุว่าพระองค์โปรดให้ส่งเคร่ืองไทยทานเป็นจ�านวนมากไปยังแคว้นโจฬะและแคว้น ตัมพปัณณิ๙ เพื่อน้อมถวายแด่พระสงฆ์นามอุโฆษหลายรูปชาวโจฬะ ซึ่งเป็นผู้งดงาม ด้วยศีลาจารวัตรและแตกฉานในพระไตรปิฎก นอกจากนั้น พระองค์โปรดให้สร้าง ความปรองดองระหว่างคณะสงฆ์สองนิกายด้วย (อุภยสาสนะ)๑๐ คัมภีร์จุลวงศ์ระบุว่าพระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๒ ทรงยืนยันว่าพระองค์มีประสูติ กาลจากพระราชบิดา จึงสามารถช�าระพระศาสนาให้เป็นหนึ่งเดียวจนเกิดผลส�าเร็จ๑๑ หลักฐานส่วนนี้ช้ีให้เห็นว่าการครองราชย์ระยะส้ันของพระเจ้าวิชัยพาหุ ย่อมมีผล กระทบต่อการปฏิรูปพระศาสนาเป็นแน่ อันเน่ืองจากพระองค์มิได้ช�าระคณะสงฆ์ ก่อนปฏิรูปพระศาสนา จึงเป็นเหตุให้คณะสงฆ์สองคณะเกิดความบาดหมางกัน คร้ันล่วงเข้าสมัยพระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๒ พระองค์จึงโปรดให้รวบรวมคณะสงฆ์ จนปรากฏเห็นผลอย่างแท้จริง กล่าวกันว่าการปฏิรูปการพระศาสนาคร้ังนี้ประสบ ความส�าเร็จอย่างย่ิงใหญ่เฉกเช่นสมัยพระเจ้าปรากรมพาหุมหาราช ความส�าเร็จครั้งนี้มีพระสงฆ์หลายรูปช่วยเหลือสนับสนุน รวมถึงพระสงฆ์ ต่างชาติด้วย คัมภีร์จุลวงศ์อ้างว่าพระสงฆ์จากแคว้นโจฬะเป็นผู้ท�าหน้าที่ช�าระคณะ สงฆ์ทั้งสองคณะ๑๒ หลักฐานดังกล่าวยังขาดความชัดเจน แม้เน้ือหาในคัมภีร์จุลวงศ์ จะอ้างว่าพระสงฆ์จากแคว้นโจฬะมีบทบาทส�าคัญในการช�าระพระศาสนา สันนิษฐาน ว่าพระสงฆ์เหล่านี้ไม่มีอคติและไร้ความอิจฉาริษยา เนื่องจากท่านมิได้มีส่วนร่วมกับ พระสงฆ์ศรีลังกา อีกทั้งมีการศึกษาสูงข้ึนชื่อด้านผู้ทรงศีลาจารวัตร จึงเช่ือว่าเป็น ผู้บทบาทส�าคัญด้วยการช่วยเหลือพระเจ้าปรากรมพาหุปฏิรูปพระศาสนาจนประสบ ความส�าเร็จ ผลจากการช�าระพระศาสนาครั้งน้ีมีผลสืบทอดยาวนานอย่างน้อยเกือบ หนึ่งศตวรรษ

ปฏิรูปการพระศาสนา 255 การช�าระพระศาสนาเกิดขึ้นอีกครั้งสมัยพระเจ้าภูวเนกพาหุท่ี ๔ พระองค์ ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกแห่งอาณาจักรคัมโปละหรือคังคสิริปุระ ส่วนผู้ท�าหน้าท่ี คอื เสนาบดนี ามวา่ เสนาลงั กาธกิ าระ หลกั ฐานระบวุ า่ ครน้ั เสนาบดที ราบถงึ ความประพฤติ เสียหายของพระสงฆ์ จึงรวบรวมพระสงฆ์ทั้งสองคณะให้เป็นหน่ึงเดียวภายใต้การน�า ของพระสังฆราชนามว่าพระวนรัตนะแห่งอมรคิริวาสะ โดยการไต่สวนรายละเอียด และสามารถช�าระคณะสงฆ์๑๓ รายละเอียดเกี่ยวกับการฟื้นฟูพระศาสนาสมัยของ พระเจ้าภูวเนกพาหุที่ ๔ มีน้อยนัก โดยเฉพาะมาตรการควบคุมพระสงฆ์อลัชชี และ การตรากฎระเบียบส�าหรับควบคุมพระสงฆ์ คัมภีร์สุลุปูชาวลิยะระบุว่าการช�าระ พระศาสนาครั้งน้ันตามมาด้วยการรวบรวมคณะสงฆ์อีกคร้ัง๑๔ ความพยายามปฏิรูปพระศาสนาเกิดข้ึนอีกคร้ัง โดยเสนาบดีนามว่านิสสังกะ อะละคักโกนนาระแห่งอมรคิริ ซึ่งเป็นเสนาบดีผู้มากบารมีสมัยพระเจ้าวิกรมพาหุท่ี ๓ ท่านได้ช�าระคณะสงฆ์และปฏิรูปพระศาสนาส�าเร็จตรงกับปีพุทธศักราช ๑๙๑๒ หรือ สองทศวรรษหลังการปฏิรูปพระศาสนาคร้ังก่อน คัมภีร์นิกายสังครหยะบรรยายไว้ว่า หลังจากทราบถึงพฤติกรรมอันไม่เหมาะสมของพระสงฆ์อลัชชี เสนาบดีได้พยายามหา วิธีแก้ไข ด้วยการเพ็ดทูลกษัตริย์ให้เป็นศาสนูปถัมภกและช้ีแจงเหล่าอ�ามาตย์ให้ ทราบถึงสถานการณ์แห่งพระศาสนา จากน้ันได้น�าความไปปรึกษาพระธรรมกีรติ มหาสามี เพ่ือหาแนวทางช�าระคณะสงฆ์ แล้วนิมนต์พระสงฆ์ทั้งสองคณะให้พร้อมหน้า กัน คราวน้ันเสนาบดีเป็นผู้ท�าหน้าที่เสมือนหนึ่งตัวแทนของกษัตริย์ โดยมอบภาระ ใหแ้ กพ่ ระสงฆผ์ งู้ ดงามดว้ ยศลี าจารวตั ร เปน็ ผทู้ า� หนา้ ทสี่ อบทานสถานการณพ์ ระศาสนา ภายหลังการสอบทานไต่สวนอธิกรณ์ส้ินสุดแล้ว ได้บังคับให้พระสงฆ์อลัชชีลาสิกขา เปน็ จา� นวนมาก ดว้ ยเหตนุ น้ั การปฏริ ปู พระศาสนาไดม้ เี กดิ สนั ตสิ ขุ อกี ครงั้ หนงึ่ เหตกุ ารณ์ ครั้งน้ีตรงกับพุทธศักราช ๑๙๑๒๑๕ การปฏิรูปพระศาสนากลายเป็นสงบสุขซ่ึงถือว่า คุ้มครองพระศาสนา สอดคล้องกับเหตุการณ์ท่ีกล่าวถึงในคัมภีร์สุลุปูชาวลิยะ๑๖ การฟื้นฟูพระศาสนาครั้งสุดท้ายของยุคนี้เกิดขึ้นสมัยพระเจ้าภูวเนกพาหุที่ ๕ โดยเสนาบดีนามว่าวีรพาหุผู้ร้ังต�าแหน่งเช้ือพระวงศ์ซึ่งเป็นหัวเร่ียวหัวแรง คัมภีร์ นิกายสังครหยะระบุว่าคร้ันเสนาบดีทราบถึงพฤติกรรมอันเสียหายของพระสงฆ์ตาม

256 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง หัวเมืองห่างไกล ได้นิมนต์คณะสงฆ์ท้ังสองคณะมารวมตัวกัน โดยมีพระธรรมกีรติ มหาสามีท่ี ๒ กับพระเถระผู้ใหญ่นามว่าคลตุรุมูละเป็นต้นเป็นประธาน เพ่ือด�าเนิน ตามประเพณีอันโบราณ เสนาบดีจึงมอบหมายให้พระเถระผู้ใหญ่ท�าการสอบสวน ท้ังนี้เพ่ือเห็นแก่กิจการพระศาสนาแล้วช�าระพระศาสนา คราวน้ันได้ขับไล่พระสงฆ์ อลชั ชอี อกจากคณะสงฆเ์ ปน็ จา� นวนมาก ถอื วา่ เสนาบดไี ดส้ รา้ งชอื่ เสยี งใหแ้ กพ่ ระศาสนา ของพระศาสดาเจ้า เหตุการณ์คร้ังนี้เกิดข้ึนพุทธศักราช ๑๙๓๙๑๗ เป็นที่น่าสังเกตว่าการฟื้นฟูพระศาสนาสมัยพระเจ้าปรากรมพาหุที่ ๒ พระเจ้า วิกรมพาหุที่ ๓ และพระเจ้าภูวเนกพาหุท่ี ๕ ล้วนเน้นเร่ืองการขับไล่พระสงฆ์อลัชชี ผู้น�าความเส่ือมเสียมาแก่พระศาสนา แต่วิธีการเช่นน้ีไม่ปรากฏมีในสมัยของพระเจ้า วิชัยพาหุที่ ๓ และสมัยพระเจ้าภูวเนกพาหุท่ี ๔ ส่วนการปฏิรูปพระศาสนาสมัยพระเจ้า วิชัยพาหุท่ี ๓ และพระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๒ มีการตรากฎระเบียบเพ่ือควบคุม คณะสงฆ์ แตก่ ารชา� ระพระศาสนาสมยั เสนาบดวี รี พาหกุ ลบั แตกตา่ งจากครงั้ อนื่ ทงั้ หมด เพราะไม่เน้นให้คณะสงฆ์เป็นผู้มีบทบาทด้านการบริหารคณะสงฆ์ ความพยายามช�าระพระศาสนาท้ังส่ีครั้ง มีเจตนาคุ้มครองรักษาความบริสุทธิ์ แห่งพระศาสนา การฟื้นฟูสามคร้ังล่าสุดประสบความส�าเร็จในระยะเวลาอันส้ัน ประมาณส่ีทศวรรษ การฟื้นฟูส่ีครั้งแรกช่ือว่าเป็นการรวมคณะสงฆ์ ความเส่ือมโทรม ของพระศาสนาและการขัดแย้งเป็นเหตุให้มีการปฏิรูปพระศาสนา ต�านานบอกว่า การปฏริ ปู หลายครงั้ อยใู่ นชว่ งหวั เลย้ี วหวั ตอ่ กลา่ วคอื ยคุ สมยั พระเจา้ มาฆะผโู้ หดรา้ ย๑๘ หลักฐานอีกด้านหน่ึงช้ีว่าความวุ่นวายทางการเมืองมีส่วนท�าให้คณะสงฆ์ประพฤติ ตัวเสียหาย ดังตัวอย่างเช่น หลังการสวรรคตของพระเจ้าปรากรมพาหุที่ ๒ เกิดความ วุ่นวายครั้งหน่ึง สมัยพระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๔ แห่งอาณาจักรกุรุแณคะละก็คราวหน่ึง แม้จะเกิดสันติสุขตามมาแต่ความวุ่นวายทางการเมืองก็ท�าลายความสุขเสีย สันนิษฐานว่ายุคสมัยแห่งความวุ่นวายทางการเมืองน้ัน วิถีชีวิตแห่งพระสงฆ์ ตามอารามวิหารน่าจะเปลี่ยนแปลงกลายเป็นความแตกแยกแบ่งนิกาย และเป็นเหตุ สรา้ งความแตกรา้ วภายในคณะสงฆ์ เหตเุ พราะพระสงฆข์ าดราชปู ถมั ภ์ ความเสอ่ื มโทรม ทางพระวินัย การละเลยหน้าที่ การละท้ิงวัตรปฏิบัติและพิธีกรรมจึงเกิดมีดาษดื่น ไม่ช้านานกลายเป็นส่วนหน่ึงของวิถีชีวิตของพระสงฆ์ตามอารามวิหาร

ปฏิรูปการพระศาสนา 257 การตรากติกาวัตร การปฏิรูปพระศาสนาแต่ละครั้งต่างอ้างถึงความเส่ือมเสียภายในคณะสงฆ์ แต่มิได้ให้รายละเอียดที่ชัดเจน คัมภีร์ดัมพเดณิกติกาวัตรอ้างถึงความเสื่อมโทรม ของคณะสงฆ์สมัยพระเจ้าปรากรมพาหุที่ ๒ จนเป็นเหตุให้พระองค์ทรงปฏิรูป พระศาสนา กฎระเบียบข้อหน่ึงในกติกาวัตรระบุว่าเพื่อรักษาความดีงามแห่ง พระศาสนา๑๙ ไม่สามารถทราบชัดว่าผู้ตรากฎระเบียบกติกาวัตรได้ค�านึงถึงสภาพ ความเส่ือมโทรมสมัยอดีตหรือไม่ แต่รายละเอียดของกติกาวัตรน่าจะชี้ให้เห็นถึง สภาพความเสื่อมโทรมของคณะสงฆ์ก่อนการฟื้นฟูพระศาสนาเป็นแน่ ต�านานอ้างว่า ความเส่ือมโทรมของคณะสงฆ์เกิดข้ึนในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ และสืบเนื่องมาจนกระท่ัง การตรากฎระเบยี บในดมั พเดณิกตกิ าวตั ร๒๐ แต่รายละเอยี ดในกติกาวัตรเปน็ เพยี งการ หยิบยกข้ึนมาเพ่ือบรรยายสภาพคณะสงฆ์ เฉพาะสมัยของพระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๒ โดยเฉพาะส่วนที่เก่ียวเนื่องกับพระราชบิดาของพระองค์กล่าวคือพระเจ้าวิชัยพาหุท่ี ๓ กฎระเบียบในดัมพเดณิกติกาวัตรเปิดเผยว่ามีพระสงฆ์เป็นจ�านวนมากเล้ียงชีพด้วย วิธีการอันผิดจากพระธรรมวินัย กฎระเบียบข้อหนึ่งในกติกาวัตรคือการประณาม พระสงฆ์ผู้บิดเบือนคุณค่าแห่งศรัทธาของญาติโยม ด้วยการแต่งกลอนสรรเสริญ ความดีแห่งตนและเชิญชวนพระสงฆ์ให้ยอมรับผ้าอันเลิศ ว่าเป็นไทยธรรมอันเกิดจาก ผู้ศรัทธาที่ช่ืนชอบคุณธรรมแห่งตน พระสงฆ์เช่นนี้มิใช่ท�าให้ตนเส่ือมเท่าน้ันแต่น�าพา ศรัทธาญาติโยมไปสู่หนทางที่ผิดด้วย๒๑ กฎระเบียบอีกข้อหน่ึงระบุว่าภิกษุผู้เรียก ภิกษุภิกษุณีอุบาสกหรืออุบาสิกาว่าเปรียบเหมือนมหาสมุทรแห่งคุณธรรมและเป็น ผู้ประเสริฐแห่งการให้ ด้วยเจตนาว่าผลแห่งการแสร้งกล่าวเช่นนี้จะบังเกิดแก่ตน ในอนาคต พฤติกรรมเช่นน้ีช่ือว่าท�าลายท้ังตัวเองและญาติโยม๒๒ กติกาวัตรระบุว่ามีภิกษุจ�านวนมากท�าการซื้อขายเคร่ืองไทยทานซึ่งมีจ�านวน มากจนเหลือเฟือ ชื่อว่าสามารถท�าลายตัวเองและหมู่คณะ๒๓ พระสงฆ์บางรูป หลอกลวงครอบครัวท่ีมากด้วยศรัทธา กล่าวคือผู้เขลาไม่เข้าใจวินัยแห่งสงฆ์ ด้วยการ อนุญาตให้บุตรออกบวชเป็นภิกษุสามเณร แต่กลายเป็นความล�าบากเพราะต้องถวาย ส่ิงของเคร่ืองใช้แก่พระสงฆ์จ�านวนมาก๒๔

258 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง ดัมพเดณิกติกาวัตรช้ีว่าปัจจัยท้ังหลายท่ีได้มาด้วยการสรรเสริญคุณความดี ของเพ่ือนพรหมจรรย์ต่อหน้าญาติโยม เช่น กษัตริย์ ยุวกษัตริย์ เป็นต้น ถือว่า ไม่สมควร คร้ันทราบเช่นนั้นแล้วพระสงฆ์ไม่ควรใช้ปัจจัยเหล่าน้ัน๒๕ เนื้อหาเช่นนี้ พบเห็นในอาบัติปาราชิก ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ว่าการหลอกลวงชาวบ้านด้วย การอ้างตนว่าเป็นผู้มีฤทธ์ิ เพ่ือหวังไทยทานเป็นความผิดร้ายแรง๒๖ การสรรเสริญ คุณความดีเช่นน้ัน รวมถึงคุณสมบัติเหนือธรรมชาติ กติกาวัตรระบุเพ่ิมเติมอีกว่า สมัยน้ันพระสงฆ์หลายรูปพากันส่ังสอนศิษย์เพ่ือหวังไทยทาน๒๗ ยงั มกี ฎระเบยี บในกตกิ าวตั รซงึ่ ควบคมุ พฤตกิ รรมพระสงฆด์ า้ นศลิ ปะ ตวั อยา่ ง เช่นห้ามเรียนห้ามสอนกวีนิพนธ์และละคร๒๘ กล่าวเฉพาะละครนั้นถูกบังคับห้ามสอน ต้ังแต่ยุคแรกเร่ิม พรหมชาลสูตรแห่งทีฆนิกายได้แสดงรายชื่อ ดังเช่น การเต้นร�า การขับร้อง ดนตรี เป็นต้น ว่าเป็นการแสดงตลกขบขัน (วิสูกทัสสนะ)๒๙ หลักฐาน ดังกล่าวนี้น่าจะหมายถึงละครดังตราไว้เป็นกฎระเบียบตามดัมพเดณิกติกาวัตร นอกจากนั้น มีกฎระเบียบห้ามพูดพาดพิงถึงชีวิตของชาวบ้าน (แอตคัมหิ) โดยเฉพาะเร่ืองปัจจัย (ปะสะ) หรือการพูดเรื่องอื่นอีก (ปิฏัตกถาทะ) แต่ไม่มีการระบุ รายละเอียด๓๐ ปัจจัยดังกล่าวน่าจะหมายถึงชนิดของอาหาร (อันนกถา) ซ่ึงทีฆนิกาย ช้ีว่าเป็นชนิดของการพูดอันต�่าอย่างหน่ึง (ติรัจฉานกถา)๓๑ กฎระเบียบข้อน้ีน่าจะ ตราขึ้นเลียนแบบค�าพูดต้องห้ามตามพุทธบัญญัติ อีกแห่งหน่ึงช้ีว่าห้ามพระสงฆ์เป็น เจ้าพิธี เช่น ระบ�าปีศาจ (ยคุน-เกลวิม) และบูชายัญ (พาบิติบิมและพาลิพัตติกวิม)๓๒ คัมภีร์ทีฆนิกายชี้ว่าพิธีกรรมเช่นนี้เรียกว่าภูตวิชชาซ่ึงพระพุทธเจ้าทรงประณาม๓๓ คัมภีร์อรรถกถาอธิบายศัพท์เพิ่มเติมว่าหมายถึงการประกอบพิธีกรรมอันลึกลับ เกี่ยวกับภูตผี๓๔ ส่วนศัพท์ว่าพาลิติพิมะน้ันหมายถึงพิธีถวายเป็นพลี ซึ่งสมัยปัจจุบัน เป็นพิธีกรรมขอพรส�าหรับคนป่วย๓๕ ส�าหรับศัพท์ว่าพาลิกิยวิมะอาจจะเกี่ยวกับคิรห บูชาซ่ึงมีจุดประสงค์เพ่ือขอพรเช่นกัน คัมภีร์ทีฆนิกายอธิบายศัพท์ว่าทัพพิโหมะ หมาย ถงึ การถวายภตั ตาหารและเนยใส เปน็ ตน้ แกเ่ ทพเจา้ หา้ องค์ ซง่ึ ถอื วา่ เปน็ วชิ าทปี่ ระณาม ตามพุทธบัญญัติ๓๖ สันนิษฐานว่าทัพพิโหมะอาจเป็นต้นแบบพิธีพาลิพัตกิยวิมะของ ศรีลังกาก็เป็นได้

ปฏิรูปการพระศาสนา 259 กฎระเบยี บทตี่ ราไวใ้ นดมั พเดณกิ ตกิ าวตั รแมจ้ ะมขี อ้ หา้ มมากมาย แตก่ ย็ กเวน้ บางกรณี เช่น การขอเภสัชและการสวดพระปริตร ซึ่งมีการเตรียมการไว้นาน กฎระเบียบอีกข้อหน่ึงคือห้ามพระสงฆ์เข้าบ้านในเวลาไม่เหมาะสม (วิกาล)๓๗ อีกข้อหนึ่งว่าห้ามพระสงฆ์เจรจากับสตรีในที่ลับหรือระเบียงแม้สนทนากับมารดา แห่งตนในสถานท่ีเช่นนั้นก็ไม่ควร๓๘ อีกข้อหนึ่งว่าห้ามพระสงฆ์พักอาศัยในบ้าน แม้ราตรีเดียว๓๙ เหตุที่ห้ามเช่นนั้นเพราะต้องการช้ีบอกว่าหากพระสงฆ์ช่ืนชมความ เป็นชาวบ้าน (หีนเพศ) ยินดีปัจจัยท่ีชาวบ้านถวายอย่างไร้ความละอาย แม้จะด�ารง เพศเป็นสามเณรก็ถือว่าไม่สามารถหลุดจากอาบัติได้ หากประพฤติเช่นนี้เป็นเวลานาน ย่อมไม่มีสิทธิในเพศสมณภาวะ๔๐ อีกข้อหน่ึงระบุว่าสังฆกรรมอันใดอันเกิดจาก พระสงฆ์จตุวรรคควรแจ้งแก่พระสงฆ์ทสวรรค ส่วนสังฆกรรมที่ด�าเนินการโดยพระ สงฆ์วีสติวรรคควรแจ้งแก่พระสงฆ์ติงสวรรคหรือปัญจติงสวรรค เหตุที่เพิ่มจ�านวน พระสงฆ์มากขึ้น เพราะปวารณกรรมบางครั้งมีพระจ�านวนน้อยประพฤติผิดพระ ธรรมวินัย หากปล่อยให้สังฆกรรมด�าเนินไปเกรงว่าจะท�าให้พระวินัยเสียหาย เป็นผล ให้ศาสนาเสื่อมโทรมเสียหาย๔๑ กฎระเบียบอีกข้อหน่ึงระบุว่าห้ามพระสงฆ์ด่าทอฆราวาสด้วยการเอ่ยถึงลูก หลานหรือวรรณะ หรือแม้แต่พาดพิงถึงคนรับใช้ (อภิยุกตะ) หากมีการตัดสินอธิกรณ์ ว่าพระสงฆ์เป็นผู้ผิดวิธีแก้ไขคือพระสงฆ์จะต้องขอโทษฆราวาส (คิหิปฏิสัมยุตตะ)๔๒ พุทธบัญญัติน้ีเกี่ยวกับพระสุธัมมเถระผู้กล่าวหาจิตตคฤหบดี๔๓ อีกข้อหนึ่งคือ ขณะพระสงฆ์ผู้ใหญ่ (นายกแตนะ) ก�าลังให้โอวาท พระภิกษุไม่ควรพูดสอดแทรก หรือส่งเสียงเพ่ือขัดจังหวะ๔๔ พระหนุ่มควรส�ารวมสงบเสง่ียมทุกอิริยาบถแม้กระทั่ง การเดิน๔๕ การหัวเราะด้วยการเปิดปากกว้างก็ไม่ควร แสดงอาการได้เพียงแค่เผยอ ริมฝีปากเท่าน้ัน๔๖ อีกข้อหน่ึงเป็นการห้ามพระสงฆ์ใช้กล่องหมาก (คิลโลฏะ) กล่องพลู (อัณฑุกรัณฑุ) เป็นต้น ซึ่งสลักเสลาด้วยลวดลายหลายอย่าง ร้องเท้าหุ้มด้วยขน นกยูงก็ห้ามสวมใส่ แม้กล่องพลูท่ีตกแต่งเป็นรูปสตรี รูปบุรุษ รูปสัตว์สี่เท้า หรือ รูปนก เป็นต้นก็ห้ามเช่นกัน๔๗ อีกข้อหนึ่งระบุว่าห้ามพระสงฆ์ตกแต่งร่างกายและ

260 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง ปลุกเร้าจิตใจให้เกิดอารมณ์๔๘ อีกข้อหนึ่งระบุว่าหากประสงค์สละสมบัติส่วนตน ควรได้รับการอนุญาตจากพระเถระผู้ใหญ่เสียก่อน๔๙ เหตุท่ีตรากฎระเบียบข้อนี้เพราะ พระสงฆ์หลายรูปได้มอบทรัพย์สินของวัดแก่ชาวบ้าน ว่าตามพระวินัยแม้การให้ไม้ไผ่ ดิน ดอกไม้ เป็นต้นแก่ญาติโยม ย่อมเป็นอาบัติข้อประทุษร้ายตระกูล (กุลทูสณะ) หมายถึงท�าให้ผู้มีศรัทธาต่อพระศาสนาเกิดทุกข์๕๐ อีกข้อหน่ึงคล้ายกันระบุว่า พระสงฆ์ไม่ควรเป็นเหตุให้ผู้มีศรัทธาเป็นทุกข์ ด้วยการให้ยาหรือการทายา เป็นต้น (ปิลิยัม อาทิ อาวระ เมวะระ โกฎะ)๕๑ ศัพท์ว่าปิลิยัม อาทิ อาวระ เมวะระ ไม่ชัดเจน ค�าว่าปิลิยัมน่าจะบ่งถึงยา ส่วนค�าว่าอาวรเมวะระ น่าจะหมายถึงวิธีการท�าให้พอใจหรือ ปลอบโยนหรือปราศจากการสงสาร หากเป็นเช่นดังอธิบายเบื้องต้นการให้ยาหรือ การทายาเป็นต้น ก็สามารถจัดเป็นกุลทูสณนะ รายละเอียดเบื้องต้นแสดงให้เห็นความหย่อนยานพระวินัยและพฤติกรรม อันเสียหายของพระสงฆ์ จึงเป็นเหตุให้พระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๒ ตั้งใจที่จะปฏิรูป พระศาสนา เปน็ ทนี่ า่ สงั เกตวา่ การปฏริ ปู พระศาสนายคุ นไี้ มก่ ลา่ วถงึ ความคดิ นอกรตี เหมอื น คราวพระเจ้าปรากรมพาหุที่ ๑๕๒ แม้จะมีบ้างแต่ก็สามารถแก้ไขตามประเพณีแห่ง ส�านักมหาวิหาร เช่นพระโจลิยกัสสปเถระตัดสินอธิกรณ์ว่าหากพระสงฆ์ด่ืมน�้าเมาแล้ว ยอมรบั วา่ มไิ ดเ้ จตนา หากเปน็ พระภกิ ษคุ วรยอมรบั อาบตั ิ หากเปน็ สามเณรควรยอมรบั ความผิด๕๓ ส่วนส�านักอภัยคิรีวิหารเห็นแย้งว่าพระสงฆ์รูปน้ีไม่มีความผิดทางวินัยหาก ยอมรบั ผดิ ๕๔ พระโจลิยะกสั สปเถระแสดงความเหน็ วา่ ความคดิ ของส�านกั อภัยคริ ีวหิ าร เช่นนี้เป็นของพระสารีบุตรมหาสามี๕๕ ความจริงคือแนวความคิดของส�านักอภัยคิรี วิหารยังแทรกซึมอยู่ในส�านักมหาวิหาร ส�านักอภัยคิรีวิหารและส�านักมหาวิหารต่าง นับบุญกริยาวัตถุว่ามี ๑๒ ประการ๕๖ คัมภีร์ธัมปิยาฏวาแคฏปทยะซ่ึงแต่งข้ึนประมาณ พุทธศตวรรษที่ ๑๕ และคัมภีร์สัทธรรมาลังการยะซึ่งแต่งสมัยคัมโปละระบุว่า การท�าบุญมีอยู่ ๑๐ ประการ๕๗ ส่วนคัมภีร์กาวยเสขระของพระโตฏคามุวะศรีราหุล เถระระบุว่ามี ๑๒ ประการ เพราะถือตามข้อตกลงของส�านักอภัยคิรีวิหารและนิกาย มหาสังฆิกะ๕๘

ปฏิรูปการพระศาสนา 261 ส่วนความเช่ือเร่ืองพระโพธิสัตว์ยุคน้ีเป็นท่ีรู้จักแพร่หลายในส�านักมหาวิหาร เพราะได้รับอิทธิพลมาจากมหายาน๕๙ ความจริงคือความเชื่อนอกรีตแทรกซึมในส�านัก มหาวิหารโดยไม่มีการกีดกัน แต่ความเชื่อสุดโต่งกลับไม่เป็นท่ียอมรับและค่อยหาย ไปตามยุคสมัย๖๐ ส่วนความเช่ือท่ีไม่ปะทะขัดแย้งได้มีการรักษาสืบต่อจนแพร่หลาย ซึ่งกลายเป็นอุดมคติแนวพุทธสืบมาจนถึงปัจจุบัน การช�าระพระศาสนาสมัยพระเจ้าวิชัยพาหุที่ ๓ (พ.ศ.๑๗๗๕-๑๗๘๓) พระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๒ (พ.ศ.๑๗๘๓-๑๘๑๓) พระเจ้าภูวเนกพาหุที่ ๔ (พ.ศ. ๑๘๘๘๔-๑๘๙๔) และพระเจ้าวิกรมพาหุที่ ๓ (พ.ศ.๑๙๐๒-๑๙๑๗) ไม่ชี้ชัดถึงสาเหตุ ความแตกร้าวของคณะสงฆ์ พระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๒ ทรงชี้แจงว่า พระราชบิดาของพระองค์ได้ช�าระ พระศาสนา ส่วนพระองค์ทรงท�าหน้าท่ีสานต่อและสามารถฟื้นฟูพระศาสนาจนประสบ ความส�าเรจ็ ๖๑ การฟนื้ ฟพู ระศาสนาหมายถึงการสรา้ งความเปน็ หนึ่งเดยี วของคณะสงฆ์ สองคณะ๖๒ แม้การช�าระพระศาสนาสมัยพระเจ้าวิชัยพาหุที่ ๓ ก็ทรงด�าเนินตามแบบ อย่างพระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๒ ต�าแหน่งทางคณะสงฆ์ กฎระเบียบเกี่ยวกับการแต่งตั้งพระสงฆ์ให้รั้งต�าแหน่งส�าคัญ มีการพิจารณา ตรวจสอบความเหมาะสมเพ่ือปองกันความไม่พอใจ ตลอดจนการท�าหน้าท่ีปกครอง ดูแลผิดพลาด กติกาวัตรข้อหนึ่งระบุว่า กรณีพระสงฆ์จ�านวนมากประพฤติเสียหาย ต่อพระศาสนา พระเถระสองรูปจากสองส�านักกล่าวคือคามวาสีและวนวาสีสมควรรับ ต�าแหน่งพระมหาเถระ๖๓ ความจริงคือพระสงฆ์แห่งสองส�านักดังกล่าวย่อมร้ังต�าแหน่ง นี้ในฐานะตัวแทนคณะแห่งตน ไม่มีส�านักอื่นอีกเลย ส่วนต�าแหน่งมหาสามีซึ่งถือว่า เป็นต�าแหน่งสูงสุดเป็นการพิจารณาคัดเลือกจากสองรูปน๖ี้ ๔ เนื้อหาในดัมพเดณิกติกาวัตร ดังกล่าว อาจเป็นการลดความตึงเครียดทางพิธีกรรมระหว่างคณะสงฆ์สองส�านักก็ เป็นได้๖๕ ดัมพเดณิกติกาวัตรเสริมอีกว่าการแต่งต้ังพระสงฆ์ในต�าแหน่งช้ันสูงน้ัน พิจารณาคัดเลือกมาจากอายตนะและปริเวณะเป็นเบื้องต้น ซ่ึงพระสงฆ์ผู้เป็นเจ้าส�านัก

262 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง และรองเจ้าส�านักแห่งอายตนะ หรือพระสงฆ์ผู้เป็นเจ้าอาวาสแห่งปริเวณะขนาดใหญ่ และขนาดเล็กก็ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน๖๖ หลักฐานระบุว่าสมัยการรุกรานของพระเจ้า มาฆะนั้น การบริหารดูแลอารามวิหารผิดพลาดเสียหายยิ่งนัก๖๗ ด้วยเหตุน้ัน ผู้รั้งต�าแหน่งเหล่านี้จึงไร้ประสิทธิภาพ การแต่งต้ังพระสงฆ์ให้รั้งต�าแหน่งส�าคัญสมัย น้จี ึงต้องพิจารณาคณุ สมบัตอิ ย่างละเอียด เพอื่ ปอ งกนั ความเส่ือมโทรมของพระศาสนา กฎระเบียบว่าด้วยการแต่งตั้งต�าแหน่งมหาสามีและต�าแหน่งมหาเถระ ๒ รูป น่าจะเกี่ยวข้องกับวิชัยพาหุกติกาวัตร เพราะนามของพระเถระผู้ใหญ่สามรูป ซึ่งมี สว่ นรว่ มในการสงั คายนากก็ ลา่ วถงึ เชน่ กนั ๖๘ พระมหาสามผี เู้ ปน็ ประธานในการสงั คายนา นามว่าสังฆรักขิตมาหินิ ซึ่งสังกัดคณะสงฆ์คามวาสี ส่วนพระมหาเถระสองรูปเป็น ตัวแทนของคณะสงฆ์วนวาสีและคามวาสี ท้ังสองรูปนามว่าเมธังกรเถระเหมือนกัน รูปหนึ่งซ่ึงเป็นตัวแทนคณะสงฆ์วนวาสีได้ร้ังต�าแหน่งผู้น�าสูงสุดของคณะสงฆ๖์ ๙ จะเห็น ได้ว่าพัฒนาการองค์กรสงฆ์ปรากฏคร้ังแรกในวิชัยพาหุกติกาวัตร ค�าถามแย้งว่า ต�าแหน่งมหาสามีของพระสารีบุตรเถระแห่งสมัยโปโฬนนารุวะมาจากไหน๗๐ หลักฐาน อกี แหง่ หนง่ึ ระบวุ า่ พระมหาเถระสองรปู พรอ้ มกบั พระมหาสามไี ดช้ ว่ ยกนั ออกกฎระเบยี บ ส�าหรับการบริหารคณะสงฆ์ ซ่ึงพระเถระเหล่านั้นล้วนมีชีวิตก่อนสมัยพระเจ้าวิชัยพาหุ ท่ี ๓ ดัมพเดณิกติกาวัตรบอกว่าการจัดแจงต�าแหน่งปรากฏมีแล้วในกติกาวัตรก่อน หน้านั้น๗๑ หากเป็นดังหลักฐานก็สามารถสรุปได้ว่าวิชัยพาหุกติกาวัตรอาจจะตรา กฎระเบียบเช่นน้ันข้ึน ด้วยเหตุนั้นการตรากฎระเบียบเกี่ยวกับการแต่งตั้งต�าแหน่ง ชั้นสูงของคณะสงฆ์ซึ่งมีก�าเนิดมาจากวิชัยพาหุกติกาวัตร กลา่ วตามหลกั ฐานการตรากฎระเบยี บเกย่ี วกบั ตา� แหนง่ ชน้ั สงู สดุ ของคณะสงฆ์ เป็นสาเหตุความแตกแยกของคณะสงฆ์ท้ังสองคณะในสมัยพระเจ้าวิชัยพาหุที่ ๓ แม้จะพยายามแก้ไขแต่ไม่ประสบความส�าเร็จ๗๒ จึงปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับการ แต่งต้ังต�าแหน่งช้ันสูงสุดในดัมพเดณิกติกาวัตร และปัญหาอันเดียวกันได้ปรากฏตัว อีกคร้ังสมัยพระเจ้าปรากรมพาหุที่ ๒ ไม่มีหลักฐานระบุแน่ชัดว่าการแต่งตั้งเจ้า ส�านักอายตนะและเจ้าอาวาสปริเวณะมีก่อนดัมพเดณิกติกาวัตรหรือไม่ หรือความ แตกแยกของคณะสงฆ์เกิดข้ึนก่อนการแต่งตั้งต�าแหน่งเหล่าน้ี จนกลายเป็นเหตุ ร้าวฉานในสมัยพระเจ้าวิชัยพาหุท่ี ๓

ปฏิรูปการพระศาสนา 263 ส�าหรับด้านคติความเช่ือสมัยน้ัน พระสงฆ์แห่งสองคณะมีเช่ือแตกต่างกัน เก่ียวกับเทพเจ้าน้อยใหญ่ หลักฐานชี้บอกว่าพระสงฆ์คามวาสีต่างช่ืนชอบคติความเช่ือ แบบชาวบา้ นแตค่ ณะสงฆว์ นวาสพี ากนั ตา� หนปิ ระณาม การแยง้ คตคิ วามเชอ่ื เรอ่ื งเทพเจา้ คณะสงฆ์วนวาสีเห็นได้จากวรรณกรรมก่อนยุคน้ีเล็กน้อย หลักฐานดังกล่าวสืบค้น ได้จากเรื่องปีฏหิกายวัตถุแห่งคัมภีร์รสวาหินี ซ่ึงเป็นผลงานของพระเวเทหเถระแห่ง คณะสงฆ์วนวาสี ว่าด้วยการสนทนาระหว่างนักบวชลัทธิไศวนิกายกับอุบาสกชาวพุทธ เกี่ยวกับคุณธรรมของพระสงฆ์ผู้น�า และคุณธรรมของพระศิวะ๗๓ คัมภีร์สัทธรรมา ลงั การยะเสรมิ เนอื้ หาในลกั ษณะเยาะเยย้ พระอศิ วรวา่ พระโอรสของพระองคม์ ลี กั ษณะ ไมเ่ หมอื นพระองคเ์ ลย โอรสองคห์ นง่ึ มรี า่ งเปน็ ไอราพต แขนและสะเอวตา่ งจากพระองค์ โอรสอีกองค์หน่ึงมีถึงสิบสองกร มีหกพักตร์ เสวยสุขกับพระชายา เสพน้�าโสมและ หมกมุ่นกามโลกีย์เป็นนิตย์ และเสพเสวยอาหารจากกะโหลกมนุษย์๗๔ เน้ือหาในปัณฑรันกวัตถุแห่งคัมภีร์รสวาหินีได้เยาะเย้ยผู้ศรัทธาต่อพระอิศวร วา่ นกั บวชนามวา่ ปณั ฑรนั กะซอ่ื สตั ยต์ อ่ พระอศิ วรเจา้ อยา่ งจรงิ ใจ ไดป้ ระกอบพธิ กี รรม เพ่ือเซ่นสังเวยเทพอิศวร กล่าวคือการมีเพศสัมพันธ์ การเสพสุราและปลาเป็นต้น๗๕ ส่วนคัมภีร์สัทธรรมาลังการยะแห่งยุคคัมโปละได้แสดงอาการเยาะเย้ยต่อพระอิศวร เจ้าอย่างรุนแรงยิ่งกว่าคัมภีร์รสวาหินี๗๖ พระวีทาคมไมตรียเถระพระสงฆ์นักปราชญ์ นามอุโฆษแห่งอาณาจักรโกฏเฏ ผู้แต่งคัมภีร์บุดุคุณาลังการยะได้กล่าวดูหม่ินคติความ เชื่อฮินดูและพิธีกรรม โดยผู้เขียนได้สรรเสริญพระพุทธเจ้าว่าทรงอยู่เหนือกเทพ ทั้งปวง และแสดงอาการชิงชังเทพเจ้าฮินดู ดังเช่น พระอิศวร เทพอัคคี เทพวิษณุหรือ เทพอวณิ ฑุ และพิธีกรรมของพวกพราหมณ์ ด้วยการพรรณนาว่า เทพเจ้าผ้ชู ิงชงั มนุษย์ ไม่เคยมาปรากฏตัวต่อหน้ามนุษย์เลย และเทพเหล่านั้นพากันรังเกียจมนุษย์เหมือน อาจม เมื่อเหล่าเทพเจ้ามาสู่มนุษยโลกเพื่อเสพเสวยอาหารอันเป็นเทวตาพลีตาม บ้านน้อยใหญ่ ต่างพากันแสวงหาเสมือนยาจก ช่างน่าละอายย่ิงนักท่ีจะสรรเสริญ เทพเจ้าเหล่าน้ี ส่วนเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ ผู้มีกรถือตรีศูล มีพระศอสีนิล สวมพระจันทร์ คร่ึงซีกท่ีพระเกศา มีอสรพิษเป็นมาลัยรอบคอ และน่ังนิ่งเหมือนวัวแก่ น้ีหรือเรียกว่า เทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่๗๗

264 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง นอกจากจะเยาะเย้ยพระอิศวรแล้ว คัมภีร์น้อยเหล่าน้ันยังดูหม่ินเทวานุภาพ ของเทพสกันดะ เทพคณบดี และเทพวษิ ณดุ ว้ ย (อวณิ ฑ)ุ แตค่ วามเปน็ จรงิ ยคุ นเี้ ทพเจา้ เหล่าน้ีล้วนได้รับการยกย่องว่าเป็นเทพเจ้าของชาวพุทธด้วย๗๘ การเยาะเย้ยดูหมิ่น เทพเจ้าเหล่านั้นจากนักเขียนหลายคน อาจเกิดข้ึนจากคติความเชื่อของลัทธิไวษณพ และลัทธิไศวนิกายซ่ึงเป็นที่รู้จักแพร่หลาย จึงท�าให้ผู้เขียนเหล่านี้แสดงทัศนคติเป็น ปรปักษ์ต่อเทพเจ้าฮินดู เป็นท่ีน่าสังเกตว่าความรุ่งเรืองอันรวดเร็วของเทพฮินดูมี อิทธิพลต่อสังคมศรีลังกาตั้งแต่เร่ิมต้นยุคน้ี การปรับตัวของคติความเชื่อแบบฮินดู เข้ากับสังคมชาวพุทธจึงแสดงออกทางงานเขียนดังกล่าว๗๙ ไม่ทราบได้ว่าคณะสงฆ์ คามวาสีชื่นชอบเทพเจ้าฮินดูหรือไม่ หากเป็นเช่นนั้นจริงการประณามของคณะสงฆ์ วนวาสีน่าจะมุ่งตรงต่อคณะสงฆ์คามวาสีเป็นแน่ จะเห็นได้ว่าทัศนคติของคณะสงฆ์ วนวาสีต่อเทพเจ้าแตกต่างจากคณะสงฆ์ฝ่ายคามวาสีอย่างเห็นได้ชัด จารึกคฑลาเดณิยะระบุว่ามีการประดิษฐานรูปปั้นเทพเจ้าภายในวิหารคฑลา เดณิยวิหารเพ่ือท�าหน้าที่คุ้มครองปองกันพระพุทธเจ้า๘๐ วิหารแห่งน้ีเป็นของคณะสงฆ์ สงั กดั วนวาสี เนอื้ หาในเวนสิ ลวตั ถแุ หง่ คมั ภรี ร์ สวาหนิ รี ะบวุ า่ มเี พยี งพระรตั นตรยั เทา่ นน้ั ท่ีสามารถขจัดปัดเป่าภยันตรายทั้งหลายทั้งปวงได้ ส่วนนอกนั้นไม่ว่าอ�านาจลึกลับ เภสชั หรือเทพเจา้ ผู้มเหศักด์ิเป็นตน้ หาได้มพี ลานภุ าพไม่๘๑ คัมภีร์สัทธรรมรตั นากรยะ ของพระวิมลกีรติ แต่งในปีท่ี ๑๗ แห่งการครองราชย์ของพระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๔ ได้สรรเสริญความเช่ือในการรักษาศีลว่าเหนือกว่าเทพเจ้า๘๒ เพราะเม่ือเรือถึงคราว อับปางกลางมหาสมุทร ผู้ตกทุกข์หากสามารถร�าลึกถึงศีลแห่งตนย่อมสามารถลอยคอ พอเอาชีวิตรอด ส่วนผู้ร�าลึกถึงเทพเจ้าต่างพากันจมน้�าส้ิน๘๓ ผู้แต่งคัมภีร์หังสสันเดสยะ ไดห้ นั เหความเชอ่ื จากเทพเจา้ ผมู้ เหศกั ด์ิ ใหก้ นั มาสรรเสรญิ จตเุ ทพ ซงึ่ ทา� หนา้ ทค่ี มุ้ ครอง รักษาเกาะลังกา ผู้สามารถประทานพรแก่พระเจ้าปรากรมพาหุที่ ๔ และข้าราชบริพาร๘๔ ผู้เขียนชี้ให้เห็นว่าเทพเจ้าเป็นเพียงทาสรับใช้ผู้ท�าตามค�าส่ังเท่านั้น หากความคิด เช่นน้ีเป็นของคณะสงฆ์วนวาสีแล้วไซร้ ก็สันนิษฐานได้ว่าน่าจะเกิดมีก่อนยุคนี้เป็นแน่ ไม่มีหลักฐานยืนยันว่าการยอมรับเทพเจ้าฮินดูและพิธีกรรมของพระสงฆ์สองคณะเกิด ความขัดแย้งยุคน้ีหรือไม่

ปฏิรูปการพระศาสนา 265 สา� หรบั กษตั รยิ แ์ ละเหลา่ ขนุ นางผมู้ สี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมพระศาสนานนั่ พฒั นาการ เช่นน้ีสามารถถอยหลังถึงสมัยพุทธกาล ตัวอย่างเช่น พระเจ้าพิมพิสารผู้มีชีวิตร่วม สมัยพระพุทธเจ้า ได้กราบทูลร้องขอให้พระสงฆ์อยู่จ�าพรรษาในฤดูฝน (จนถึงวันเพ็ญ) คัมภีร์พระไตรปิฎกบอกว่าพระพุทธเจ้าโปรดให้พระสงฆ์รับตามค�าร้องขอของพระเจ้า พิมพิสาร๘๕ คัมภีร์วินยัตถกถาอธิบายเสริมว่าการร้องขอของพระเจ้าพิมพิสารพระสงฆ์ ควรรับพิจารณา แต่สามารถแปรความหมายเป็นอย่างอ่ืนได้๘๖ สันนิษฐานว่ากษัตริย์ มีอ�านาจหน้าท่ีก�าหนดนโยบายดูแลคณะสงฆ์ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อพระศาสนา ดังตัวอย่างเช่น พระเจ้าอโศกมหาราชพิจารณาเห็นว่าพระสงฆ์เพิกเฉยต่อพระวินัย จึงขับไล่พระอลัชชีออกจากหมู่คณะ ๖๐๐๐ รูป ซึ่งล้วนแล้วแต่มีความเห็นผิด ภาระอันหนักคร้ังน้ีพระองค์ได้รับการช่วยเหลือจากพระโมคคัลลีบุตรเถระ๘๗ พระองค์ มีพระราชโองการว่าหากใครพยายามสร้างความแตกร้าวให้เกิดข้ึนภายในคณะสงฆ์ จะต้องถูกเนรเทศออกจากหมู่คณะ๘๘ หลักฐานระบุถึงการคัดเลือกคัมภีร์ ๗ เล่ม จากพระไตรปิฎก เพื่อให้เป็นแนวทางส�าหรับส�าหรับภิกษุและภิกษุณี๘๙ ส�าหรับลังกานั้นมีการออกกฎระเบียบส�าหรับควบคุมพระสงฆ์ประมาณสอง ศตวรรษหลงั ยคุ อนรุ าธปรุ ะ จารกึ ภาษาสนั สกฤตแหง่ สา� นกั เชตวนั วหิ ารอา้ งวา่ ประมาณ คร่ึงแรกแห่งพุทธศตวรรษที่ ๑๔๙๐ อีกแห่งหนึ่งคือจารึกของพระเจ้ากัสสปะที่ ๕ (พ.ศ.๑๔๕๗-๑๔๖๖) สมัยอาณาจักรอนุราธปุระ๙๑ ส่วนจารึกกาลุดิยโปกุณะของ พระเจ้าเสนะที่ ๔ (พ.ศ.๑๕๑๕-๑๕๒๕)๙๒ และจารึก A ของแผ่นจารึกของพระเจ้า มหินทะท่ี ๔ (พ.ศ.๑๔๙๙-๑๕๑๕) ที่มหินตะเล๙๓ ต่างยืนยันเป็นหลักฐาน กตกิ าวตั รตง้ั แตส่ มยั อาณาจกั รโปโฬนนารุวะเป็นตน้ มาน่าจะมีพัฒนาการสมัย หลัง โดยเดินตามธรรมเนียมปฏิบัติเช่นเดียวกัน หลักฐานระบุว่าพระเจ้าปรากรมพาหุ ท่ี ๑ โปรดให้รวบรวมคณะสงฆ์ทั้งสามนิกายให้เป็นหนึ่งเดียว แล้วตราโปโฬนนารุกติ กาวัตรด้วยความช่วยเหลือของพระทิมบุลาคละมหากัสสปเถระ เฉกเช่นเดียวกันกับ พระเจ้าอโศกมหาราช ซึ่งโปรดให้สังคายนาช�าระพระศาสนาด้วยความช่วยเหลือของ พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ๙๔ ความเช่ือว่าหากพระศาสนารุ่งเรืองม่ันคงย่อมช่วยเสริม ส่งให้กษัตริย์ครองราชย์ยาวนาน หลักฐานเช่นน้ีพบเห็นดาษดื่นในวรรณกรรมลังกา๙๕

266 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง หลกั ฐานเหลา่ นแ้ี สดงใหเ้ หน็ วา่ ประเพณคี วามเชอ่ื เรอ่ื งการชา� ระพระศาสนาผกู มดั กษตั รยิ ์ ให้ค�านึงถึงความดีงามของพระศาสนา แต่ความพยายามของกษัตริย์ฝ่ายเดียวย่อมไม่ ประสบความส�าเร็จ จ�าต้องได้รับความช่วยเหลือจากพระเถระผู้ใหญ่ด้วย การปฏิรูปฟื้นฟูพระศาสนาถือว่าเป็นพระราชภารธุระของกษัตริย์ แต่หากขาด ซ่ึงขัตติยานุภาพย่อมเกิดมีการแทรกแซง โดยเฉพาะการไม่เห็นด้วยจากคณะสงฆ์ ตัวอย่างเช่นพระเจ้าปรากรมพาหุที่ ๑ แม้จะรวบรวมคณะสงฆ์เป็นหน่ึงเดียวสร้าง ความเขม้ แขง็ ใหแ้ กพ่ ระศาสนา แตม่ พี ระสงฆบ์ างสว่ นหนไี ปตา่ งประเทศ บางสว่ นละทง้ิ เพศบรรพชิต และยังมีบางส่วนปฏิเสธเข้าร่วมการพิจาณาอธิกรณ๙์ ๖ ภาระการช�าระ พระศาสนาของกษัตริย์เป็นงานอันหนักเปรียบได้กับการเคลื่อนขุนเขาพระสุเมรุ๙๗ เพราะปฏิกิริยาอันไม่พอใจของพระสงฆ์บางกลุ่ม ย่อมสามารถขัดขวางพระเถระผู้ใหญ่ ได้ โดยเฉพาะการตรากฎระเบียบเพื่อควบคุมคณะสงฆ์ ตัวอย่างเช่น พระเจ้าวิชัยพาหุ มีอ�านาจจ�ากัดต่อคณะสงฆ์บริเวณมายาระฏะ และสถานภาพของพระองค์ไม่ปลอดภัย แม้พระเจ้าภูวเนกพาหุที่ ๔ ก็ขาดประสิทธิภาพด้านการบริหาร ด้วยเหตุน้ันการจะ ตรากฎระเบียบอย่างเข้มงวดย่อมเป็นไปได้ยาก

ปฏิรูปการพระศาสนา 267 เชิงอรรถ 1 Ks., p. 7. 2 Cv., 81. 46-47. 3 Ks., p. 7; also see Ns., p. 88. 4 See below, pp. 443-45, KPPD., p. 48f. 5 Khuddhasikkhatika, Sumanajoti, pub. P.D. Pediris, Jinalankara Press, Colombo, 1898, p. 186; Sambandhacinta, Saddhan-gay, 1898, p. 95. 6 Cv., 84. 7-8; also see Pv., p. 118; A Contribution to the History of Ceylon (Translated from Pujavaliya, B. Gunasekara, Colombo, 1895, p. 43; Sulurajavaliya, C.D.S.K. Jayawardhana, Vidyakara Press, Butgamuve, 1914, p.18. 7 Cf., Cv., 81.1. 8 Ns., p.88. 9 ตัมพปัณณิเป็นอีกช่ือหน่ึงของลังกา คัมภีร์ปูชาวลิยะอ้างชื่อว่าสิงหลยฏะ (Pv., p. 118). 10 Pv., p. 118; A Contribution to the History of Ceylon, op. cit., p. 43; Cv., 84. 9-10; Srtnk., p. 292; ไกเกอร์แปลศัพท์อุภยสาสนะว่าหินยานและมหายาน (Cv., Tr. P. 155, v. 10, n. 1). เก่ียวกับการรวมคณะสงฆ์นั้นคัมภีร์นิกายสังครหยะอ้างถึงศัพท์อุภยวาสะว่าเป็นสอง ส�านักซึ่งถูกรวมเป็นหน่ึงเดียว (Ns.,p. 89). มีความเป็นไปได้อย่างสูงว่าศัพท์อภยสาสนะและศัพท์ เทวาสยะปรากฏมใี นจารึกลงั กาตลิ กะ (UCR., XVIII, Nos. 1&2, 1960, p. 4) ระบถุ ึงสองนกิ ายน้ี 11 Cv., 87.32,33. 12 Cv., 84. 9,10. คัมภีร์ดาฬดาสิริตะอ้างว่าพระสงฆ์จากตมลิงคมุรวบรวมคณะสงฆ์สองคณะ (Ds., p.44) ตมลิงคมุในรายละเอียดน้ีอาจจะเป็นส่วนหน่ึงของแคว้นโจละก็เป็นได้ ซึ่งไม่ตรง กันข้ามในรายละเอียดสองอย่างน้ี ดูดัชนี II, p.474f. 13 Ns., p.90; ibid., Tr. p.24. 14 Sulupujavaliya, J.D.P. Perera, Colombo, 1914, p.2. 15 Ns., pp. 93, 94; Ibid., Tr. p.27. 16 Sulupujavaliya, op.cit., p.3. 17 Ms., p.96; Tr., p.29; คัมภีร์สุลุปูชาวลิยะระบุว่าการฟื้นฟูพระศาสนาด�าเนินการโดยพระเจ้า ภูวเนกพาหุที่ ๕ และเสนาบดีวีรพาหุผู้ปกครองในปีที่สิบแห่งการครองราชย์ของพระองค์ หลักฐานส่วนนี้ตรงกันข้ามกับคัมภีร์นิกายสังครหยะซึ่งอ้างเพียงว่าการช�าระพระศาสนาเป็นผลงาน ของเสนาบดีวีรพาหุ อาจเป็นไปได้ว่าคัมภีร์สุลุปูชาวลิยะสับสนเกี่ยวกับประเด็นนี้ 18 Pv., p.118; Cv., 84.7,8; ค�าว่าหัวเลี้ยวหัวต่อเป็นศัพท์บ่งถึงความต่ืนกลัวพวกทมิฬหินชาติ ปรากฏในคัมภีร์ดาฬดาสิริตะ หน้า ๔๔. 19 Cf. Ks., pp.8-9. 20 Pv., p.118; Cv., 84.7-8. 21 Ks., p. 16. 22 Ks., p. 17. 23 Ks., p. 17. 24 Ks., p. 18. 25 Ks., p.18. 26 Parajikapali, p. 89. 27 Ks., p. 19.

268 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง 28 Ks., p. 15. 29 Dighanikaya, Vol.I, (PST), T.W. Rhys Davids and J.E. Carpenter, London, 1890, p.6. 30 Ks., p. 15. 31 Dighanikaya, op.cit., p.7; ibid., Sinhalese edition, V. Nanavassa, 1939, p.6. 32 Ks., p. 19. 33 Dihganikaya, Vol. 1. (PTS), p.9; ibid., Sinhalese edition, p.7. 34 Sunmangalavilasini, Vol. 1, (PTS), T.W. Rhys Davids, P. 93; ibid., Sinhalese edition (SHB), pp. 267, 270. 35 SSSK., p. 640. 36 Dighanikaya, Vol. 1. (PTS), p.9; ibid., Sinhalese edition, p.7; Sumangalavilasini, Vol.I, (PTS), op.cit., p.93. 37 Ks., p.14; วิกาลเป็นเวลาระหว่างเที่ยงวันและรุ่งเช้า (Kankhavitranitika, pt. 3, p.225). 38 Ks., p.14. 39 Ks., p. 17. 40 Ks., p.19. 41 H. Sri Ramamandala, ‘Dambadeni Katikawattha Sasana Tatvaya’, Sahityaya, Dambadeni issue, 1958, p.92. 42 Ks., p.18. 43 Cv., 1.18 (p.18); ibid., Sinhalese edition, B. Saddhatissa, Alutgama, 1915, p.30. 44 Ks., p.16. 45 Ks., p.15. 46 Ks., p.15. 47 PMVV., p.6. 48 Ks., p.19. 49 Ks., p. 15. 50 Cf. Smp., 2 (SHB), pp.442 f, 432; Vimati, p.320. 51 Ks., p.17. 52 Cv., 78.21 f; C. Eliot, Hinduism and Buddhism, Vol. III, London, 1957, p.41. KPPD., p.48f. 53 Vimati., pp. 94-100. 54 Vimati., pp. 94-100. 55 Vimati., pp. 97-100. 56 Abhidhammatthavikasini, A.P. Buddhadatta, Colombo, 1961, p. 46; Abhidham- mavatara, A.P. Buddhatta, Colombo, 1954, p.3; KPPD., p.54. 57 Dhampiyatuvagatapadaya, D.B. Jayatilaka, 1932, p.13; Sdlk., p.775. 58 Kavyasekhara, Dharmrama, Peliyagoda, 1935, canto 9, vv. 40-41. 59 See above, p.406f. 60 เกยี่ วกบั การกา� จดั สา� นกั นอกรตี นามวา่ นลี ปฏทรรศนะ โดยกษตั รยิ ห์ ารสแหง่ มถรุ าตอนใตข้ องอนิ เดยี ผแู้ ตง่ คมั ภรี น์ กิ ายสงั ครหยะบอกวา่ ถงึ แมจ้ ะถกู กา� จดั แตย่ งั มกี ารสบื ตอ่ แพรห่ ลายจนถงึ สมยั ของผแู้ ตง่ Ns., pp. 82-84. อย่างไรก็ตาม ความคิดเช่นน้ีไม่มีกล่าวถึงหรือไม่มีผู้ติดตามส�านักน้ีในประเทศ ศรลี งั กา รายละเอยี ดเกยี่ วกบั การกา� จดั พวกวาชริ ยิ วาทโดยพระเจา้ โมคยนิ หรอื พระเจา้ เสนะที่ ๒ (พ.ศ.) คัมภีร์นิกายสังครหยะระบุว่าส�านักน้ีมีต่อเน่ืองและกล่าวถึงว่ามืดบอด (Ns., p.82). นานเพียงใด

ปฏิรูปการพระศาสนา 269 ท่ีความคิดแห่งส�านักนี้ได้รับการนับถือแพร่หลายไม่มีการกล่าวถึง ถึงแม้ว่าแนวความคิดนอกรีต พบเห็นผู้ติดตามในเกาะลังกาก็จริง แต่ไม่มีหลักฐานยืนยันว่าเก่ียวข้องกับคนจ�านวนมากแต่อย่างใด 61 Cv., 87, 32-33. 62 Cv., 84.10. 63 Ks., p.13. 64 See Ch. I, p.74. 65 Ks., p.13. 66 Ks., p. 13; see Ch. II, p.123f. 67 See above, pp. 421-422; Ch. III, p.201f. 68 Ks., p.8. 69 Ks., p. 8. 70 See Ch. I, p. 72f. 71 Ks., p.9. 72 See above p.414f. 73 Rasavahini, K. Nanavimala, Colombo, 1961, p.49f. 74 Sdlk., p. 231f. 75 Rasavahini, op.cit., pp.268-269. 76 Sdlk., pp. 688-91. 77 Budugunalankaraya, M. Kumaranatunga, 2473 B.E. vv.138-43, 157-66. 78 See Ch. VI., p.398f. 79 See Ch. VI, P. 401f. 80 EZ., IV, pp. 101, 104. 81 Rasavahini, p.19. 82 อธบิ ายศพั ทใ์ นวรรณกรรมคอื ศลี คอื การถงึ ทพ่ี ง่ึ ในพระรตั นตรยั และคมั ภรี อ์ ธบิ ายอกี วา่ คอื เบญจศลี 83 Srtnk., pp. 449-51. 84 Hamsa., vv. 201, 202. 85 Mahavagga, H. Oldenberg, London and Edinburgh, 1879, III.4 (p.138); ibid., Sinhalese edition, B. Saddhatissa, Alutgama, 1922, p.164. 86 Smp., (SHB), pt.3, p.737; พระโจฬิยกัสสปเถระผู้แต่งคัมภีร์วิมติวิโนทนีแสดงความเห็นว่า ความรับผิดชอบควรจะมีการแสดงโดยพระสงฆ์เหล่าน้ันผู้ท�าหน้าที่ตราวินัยสงฆ์ในวัน ๑๔ และ ๑๕ ค�่า ของแต่ละเดือน แต่ไม่ควรท�าในวัน ๑๓ ค�่าหรือ ๑๖ ค่�า Vimati., p.427. 87 Mv., v. 268 f. 88 Corpus Inscriptionum Indicarum, Vol. I, E. Hultzch, 1925, p.161 f. 89 Ibid., pp. 172-173. 90 EZ., I, pp.1-9. 91 EZ., I, No. 4, pp.41-57. 92 EZ., III, No. 27, pp. 260-69. 93 EZ., I, No. 7, pp. 75-87,91-94,98-107. 94 Ks., p.2. 95 Cv., 82.27; 87.73; 88.8; 90.58.103. 96 Cv., 78. 13. 97 Cv., 78.14.



๙ บทสรปุ

จากการศึกษาจะเห็นได้วา่ คณะสงฆ์ยุคนมี้ พี ัฒนาการทส่ี �ำคญั เดมิ น้นั แบ่งแยก ออกเป็น ๓ นิกายหลัก แต่คร้ันมีการรวมคณะสงฆ์ในรัชสมัยพระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๑ จึงกลายเป็น ๒ คณะใหญ่ กล่าวคือวนวาสีและคามวาสี ท้ังสองคณะต่างยอมรับ แบบแผนของส�ำนักมหาวิหาร ส่วนการต่อสู้ทางความคิดก็ลดน้อยถอยลง แต่ไม่ได้ หมายความวา่ มกี ารหา้ มพระสงฆศ์ กึ ษาคตคิ วามเชอื่ ของมหายาน สว่ นความคดิ ตอ่ ตา้ น คติความเช่ือตามประเพณีแห่งตน กล่าวคือส�ำนักมหาวิหาร ก็ส่งผลต่อการส่งเสริม และสนับสนุนน้อยลง จนกลายเป็นว่าการยอมรับดังอดีตก็พลอยหมดแรงอ่อนลง เช่นกัน ความเปล่ียนแปลงอย่างชัดเจนปรากฏเห็นในวิถีชีวิตของพระป่าวนวาสี แม้ เชื่อกันว่าพระสงฆ์เหล่าน้ีมีชีวิตอยู่ตามป่าเขาล�ำเนาไพร แต่ก็มีพระสงฆ์วนวาสีจ�ำนวน มากเคลอื่ นยา้ ยเขา้ ไปอยใู่ กลศ้ นู ยก์ ลางของชาวบา้ น บางรปู อยรู่ ว่ มกบั พระสงฆค์ ามวาสี ภายในอาวาสเดียวกัน ด้วยเหตุน้ันการด�ำเนินชีวิตของพระวนวาสีและพระคามวาสีจึง ไมแ่ ตกตา่ งกนั มากนกั เดมิ เชอ่ื กนั วา่ พระวนวาสที มุ่ เทใหก้ บั การปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน จึงไม่มีเวลาศึกษาเล่าเรียน แต่ความจริงคือพระวนวาสีสมัยน้ีได้ทุ่มเทให้กับการศึกษา เล่าเรียนไม่ต่างจากพระคามวาสีเลย สถาบันการศึกษาของสงฆ์สมัยแรกเร่ิมเรียกว่าอายตนะ และพัฒนามาจน โดดเด่นในยุคดัมพเดณิยะ ค�ำแนะน�ำของพระสงฆ์เจ้าส�ำนักอายตนะมีบทบาทส�ำคัญ ต่ออาณาจักร ดังเช่นกรณีการเลือกผู้สมควรสืบทอดราชบัลลังก์ อายตนะยังด�ำรง บทบาทส�ำคัญในฐานะเป็นศูนย์กลางการศึกษา แต่ปรากฏว่าสถานภาพเร่ิมทรุดโทรม เส่ือมสลายจนย่างเข้าสู่ยุคดัมพเดณิยะ เหลือหน้าที่เพียงสถาบันการศึกษาเท่าน้ัน

บทสรุป 273 คณะสงฆ์ได้รับการสนับสนุนด้วยดีจากอาณาจักรและชาวบ้าน การบริจาค ที่ดินอันฟุ่มเฟือยเป็นผลดีและผลเสียควบคู่กันไป เพราะเหตุแห่งการละท้ิงดินแดน ราชระฎะและยดึ ครองเขตมายาระฎะและบางสว่ นของดนิ แดนตอนใต้ การเปลยี่ นแปลง จึงมีผลต่อการบริจาคอย่างชัดเจน การถวายที่ดินท�ากินก็ลดน้อยลง สมัยน้ีท่ีดินและ พืชไร่ยังถือว่าส�าคัญส�าหรับการบริจาค แต่การบริจาคคลองน้�าและอ่างเก็บน�้าไม่มี การกล่าวถึงเลย หลายศตวรรษท่ีผ่านมาการครอบครองทรัพย์สินของคณะสงฆ์เปล่ียนแปลง ไปค่อนข้างมาก และยุคน้ีชี้ให้เห็นการบริจาคอย่างแท้จริง ถึงแม้ว่าการบริจาคคร้ัง ส�าคัญจะอ้างถึงการมอบให้แก่คณะสงฆ์ท้ังมวล แต่เป็นการสมมติเท่าน้ัน และไม่มี การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรเหมือนอดีต ความไม่ใยดีต่อการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน พัฒนาเร่ือยมาจนกลายเป็นความคิดว่าเป็นทรัพย์สมบัติส่วนตัว ซ่ึงหลักฐานเหล่าน้ี สามารถสืบค้นถอยหลังไปถึงยุคแรกเร่ิม การครอบครองเป็นทรัพย์สมบัติส่วนตัวปรากฏเห็น ๒ ทาง คือการสืบทอด ทางสงฆ์โดยศิษย์สืบทอดทรัพย์สมบัติของอาจารย์แห่งตนหน่ึง และการสืบทอด ทางสายเลือด เมื่อลูกศิษย์เป็นญาติของพระสงฆ์จึงเป็นผู้รับมรดกสืบแทนอาจารย์ แห่งตนหน่ึง ระบบการบริหารทรัพย์สมบัติที่ละเอียดชัดเจนสมัยยุคอนุราธปุระไม่เป็นท่ี นิยมสมัยน้ี ทาสหรือคนรับใช้ที่ท�างานในท่ีดินของวัด และผู้ท�าหน้าที่พิธีกรรม ช่างฝีมือและเสมียน เป็นต้น ต่างมีหน้าที่รับผิดชอบอารามวิหาร สมภารเจ้าอาวาส และสถาบันการศึกษาของอารามวิหารน้อยใหญ่ตลอดท้ังเจ้าหน้าท่ีล้วนด�ารงต�าแหน่ง วิธาเน ซึ่งต่างท�าหน้าท่ีเป็นผู้ดูแลและบริหาร การศึกษาเป็นหน้าที่อันส�าคัญของอารามวิหาร ไม่มีระบบการเรียนการสอน อ่ืนนอกจากอารามวิหารเลย พระสงฆ์และฆราวาสผู้ชายต่างแสวงหาวิชาความรู้ ตามวัดวาอาราม ด้วยเหตุท่ีอารามวิหารจัดการเรียนการสอนดังกล่าว หลักสูตรจึงเน้น ด้านศาสนาเป็นหลัก แต่เมื่อไม่สามารถปฏิเสธความต้องการของฆราวาสได้ การเรียน

274 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง การสอนบางรายวิชาจึงต้องเสริมเข้ามา ให้สอดคล้องกับความต้องการของฆราวาส ดังเช่น ละคร กาพย์กลอน การแพทย์ โหราศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และงานฝีมือ ครั้นเกิดความกระตือรือร้นจึงท�าให้ผลิตงานเขียนอันโดดเด่น และแจกจ่าย แบง่ ปนั แพรห่ ลายทว่ั เกาะ ถอื วา่ เปน็ การปทู างเพอ่ื เปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งทางการศกึ ษา เชิงประเพณี จะเห็นได้ว่ายุคแรกเริ่มนั้นความรู้ได้รับจากครูอาจารย์เพียงเพราะการฟัง เท่าน้ัน แต่เม่ืองานเขียนอันหลากหลายกระตุ้นให้นักเรียนสรุปความคิดจนกลายเป็น งานเขียน นักเรียนนักศึกษาจึงไม่ข้ึนตรงต่อครูอาจารย์ท้ังหมด ด้วยวิธีการนี้มิใช่ แบง่ เบาภาระของครอู าจารยเ์ ทา่ นนั้ แตท่ า� ใหน้ กั เรยี นนกั ศกึ ษามคี วามเปน็ อสิ ระอกี ดว้ ย และความจ�าเป็นในการทรงจ�าซ่ึงเดิมมีบทบาทก็เริ่มลดน้อยลง ส่วนการนับถือพระสารีริกธาตุโดยเฉพาะพระเขี้ยวแก้วเป็นที่รู้จักแพร่หลาย เหตุเพราะพระเข้ียวแก้วมีฤทธานุภาพสามารถบันดาลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ความส�าคัญของพระเข้ียวแก้วแบ่งออกเป็น ๒ ทาง หน่ึงนั้นคือพระเข้ียวแก้วเป็น ตัวแทนของพระพุทธเจ้าผู้ยังทรงมีพระชนม์อยู่ จึงต้องประกอบพิธีกรรมเร่ือยมา ส่วนอีกหน่ึงน้ันคือพระเขี้ยวแก้วและบาตรต่างยอมรับกันว่าเป็นสัญลักษณ์ของความ เปน็ ชาตบิ า้ นเมอื ง และกลายเปน็ เครอ่ื งหมายแหง่ การครองราชยอ์ ยา่ งถกู ตอ้ งชอบธรรม ส่วนคติความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าก็ฝังรากลึกลงสู่ทุกอณูของสังคม ผู้คน เช่ือว่าเทพเจ้าน้อยใหญ่สามารถประทานพรดังตนปรารถนา หากน้อมถวายเคร่ืองพลี อนั เลศิ และบชู าสรรเสรญิ อยา่ งถกู ตอ้ ง ความเชอ่ื แพรห่ ลายวา่ เทพเจา้ นอ้ ยใหญส่ ามารถ ช่วยบรรเทาความทุกข์ต้ังแต่รายบุคคลจนถึงชาติบ้านเมือง และเช่ืออีกว่าเทพเจ้า เหล่าน้ันทรงมีเมตตาประทานความช่วยเหลือทั้งสามัญชนจนถึงพระสงฆ์ผู้ทรงศีล หลักฐานดังกล่าวอาจเป็นเรื่องผิดปกติ แต่ความเชื่อกลายเป็นที่รับรู้ร่วมกันว่าการ ชว่ ยเหลอื ของเทพเจา้ ใหญน่ อ้ ยเปน็ เรอื่ งจา� เปน็ แมก้ ระทงั่ พระสงฆผ์ นู้ า� ทางจติ วญิ ญาณ ก็สมควรรับพร เพ่ือสามารถท�ากิจพระศาสนาได้

บทสรุป 275 เอกลักษณ์อีกอย่างหน่ึงของยุคน้ีคือการเปลี่ยนแปลงอาชีพของผู้คนตาม ส�านักเทพเจ้าชาวสิงหล เทพนาถะและเทพไมตรีได้รับการบูชาในฐานะพระโพธิสัตว์ ต้ังแต่ยุคแรกก็ยังทรงสถานภาพส�าคัญเช่นเดิม เม่ือการกราบไหว้บูชาเทพอุบลวันซ่ึง เป็นเทพท้องถ่ินยุคแรก ได้กลายร่างเป็นเทพวิษณุในปลายยุคกลาง จึงถือว่าเป็น หัวเลี้ยวหัวต่อส�าหรับการเปลี่ยนรูปแปลงร่างของเทพวิษณุ สา� หรบั พระสงฆแ์ หง่ ยคุ นกี้ เ็ ฉกเชน่ เดยี วกบั ยคุ อน่ื ตา่ งแสดงถงึ ความเสอื่ มโทรม ของศาสนาอันเนื่องจากขาดการรวมตัวกัน เหตุเพราะสถานการณ์ทางการเมืองอัน ไม่ราบรื่น พระสงฆ์ละท้ิงวิถีชีวิตแห่งตน บางส่วนละท้ิงพระวินัยหันไปด�าเนินชีวิต อันเสียหาย อีกอย่างหนึ่งคือความแตกร้าวระหว่างคณะสงฆ์สองคณะ กษัตริย์ผู้รับ มรดกตกทอดเพื่อคุ้มครองปองกันพระศาสนา ประสงค์ช�าระศาสนาให้บริสุทธิ์ ได้ ปฏิรปู พระศาสนาดว้ ยความช่วยเหลือของพระเถระผทู้ รงสมณศกั ด์ิ การขบั ไล่พระสงฆ์ ผู้ประพฤตินอกรีตออกจากคณะสงฆ์ และการตรากฎข้อบังคับให้สอดคล้องกับ พระวินัยถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของการปฏิรูปพระศาสนายุคนี้

276 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง รายนามกษัตริย์แห่งอาณาจักรโปโฬนนารุวะ พ.ศ. ๑๕๙๘-๑๖๕๓ พ.ศ. ๑๖๕๓-๑๖๕๔ พระเจ้าวิชัยพาหุท่ี ๑ พ.ศ. ๑๖๕๔-๑๖๗๕ พระเจ้าชัยพาหุที่ ๑ พ.ศ. ๑๖๗๕-๑๖๙๖ พระเจ้าวิกรมพาหุท่ี ๑ พ.ศ. ๑๖๙๖-๑๗๒๙ พระเจ้าคชพาหุที่ ๒ พ.ศ. ๑๗๒๙-๑๗๓๐ พระเจ้าปรากรมพาหุที่ ๑ พ.ศ. ๑๗๓๐-๑๗๓๙ พระเจ้าวิชัยพาหุท่ี ๒ พ.ศ. ๑๗๓๙ พระเจ้านิสสังกมัลละ พ.ศ. ๑๗๓๙-๑๗๔๐ พระเจ้าวิกรมพาหุที่ ๒ พ.ศ. ๑๗๔๐-๑๗๔๓ พระเจ้าโจฑคังคะ พ.ศ. ๑๗๔๓-๑๗๔๕ พระนางลีลาวดี พ.ศ. ๑๗๔๕-๑๗๕๑ พระเจ้าสาหัสสมัลละ พ.ศ. ๑๗๕๑-๑๗๕๒ พระนางกัลยาณวดี พ.ศ. ๑๗๕๒ พระเจ้าธรรมาโศกะ พ.ศ. ๑๗๕๒-๑๗๕๓ พระเจ้าอนิกังคะ พ.ศ. ๑๗๕๓-๑๗๕๔ พระนางลีลาวดี พ.ศ. ๑๗๕๔-๑๗๕๕ พระเจ้าโลเกศวร พ.ศ. ๑๗๕๕-๑๗๕๘ พระนางลีลาวดี พ.ศ. ๑๗๕๘-๑๗๗๙ พระเจ้าปรากรมปัณฑุ พระเจ้ามาฆะ (ผู้บุกรุก) พ.ศ. ๑๗๗๕-๑๗๘๓ พ.ศ. ๑๗๘๓-๑๘๑๓ รายนามกษัตริย์แห่งอาณาจักรดัมพเดณิยะ พ.ศ. ๑๘๑๓-๑๘๑๕ พ.ศ. ๑๘๑๕-๑๘๒๗ พระเจ้าวิชัยพาหุท่ี ๓ พ.ศ. ๑๘๒๗-๑๘๓๙ พระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๒ พระเจ้าวิชัยพาหุที่ ๔ พระเจ้าภูวเนกพาหุ พระเจ้าปรากรมพาหุที่ ๓

บทสรุป 277 พระเจ้าภูวเนกพาหุท่ี ๒ พ.ศ. ๑๘๓๙-๑๘๔๕ พระเจ้าปรากรมพาหุที่ ๔ พ.ศ. ๑๘๔๕-๑๘๖๙ พระเจ้าภูวเนกพาหุที่ ๓ พ.ศ. ๑๘๖๙-๑๘๗๘ พระเจ้าวิชัยพาหุท่ี ๕ พ.ศ. ๑๘๗๘-๑๘๘๔ รายนามกษัตริย์แห่งอาณาจักรคัมโปละ พ.ศ. ๑๘๘๔-๑๘๙๔ พ.ศ. ๑๘๘๗-๑๙๐๒ พระเจ้าภูวเนกพาหุท่ี ๔ พ.ศ. ๑๙๐๒-๑๙๑๗ พระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๕ พระเจ้าวิกรมพาหุที่ ๓ พ.ศ. ๑๙๕๔–๒๐๐๙ พ.ศ. ๒๐๐๙–๒๐๑๒ รายนามกษัตริย์แห่งอาณาจักรโกฏเฏ พ.ศ. ๒๐๑๒–๒๐๒๐ พ.ศ. ๒๐๒๐ พระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๖ พ.ศ. ๒๐๒๐–๒๐๓๒ พระเจ้าชัยวีรปรากรมพาหุ พ.ศ. ๒๐๓๒-๒๐๕๖ พระเจ้าภูวเนกพาหุที่ ๖ พ.ศ. ๒๐๕๖–๒๐๖๔ พระเจ้าบัณฑิตปรากรมพาหุท่ี ๗ พ.ศ. ๒๐๖๔–๒๐๙๔ พระเจ้าวีรปรากรมพาหุท่ี ๘ พ.ศ. ๒๐๙๔–๒๑๐๐ พระเจ้าธรรมปรากรมพาหุท่ี ๙ พระเจ้าวิชัยพาหุที่ ๖ พระเจ้าภูวเนกพาหุที่ ๗ พระเจ้าธรรมปาละ

278 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง BIBLIOGRAPHY Literary Sources A. Pali and Sanskrit Adhidhammatthavikasini, A. P. Buddhadatta, publ. S. K. Chandratilaks, 1961. Abhidhammavatara, A. T. Buddhadatta, Colombo, 1954. Abhidhanappadipika, W. Siddhatta, Vijjaratanakara Press, 1960. Anagatavamsa, in the Journal of the Pali Text Society, T. W. Rhys Davids, London, 1886. Anguttaranikaya, (PTS), Vol. I, F. L. Woodward, London; Vol. II, R. Morris; Vol. V, H. Hardy, London,. 1888,10100. Anguttaranikayatthakatha, see Manorathapurani. Anguttaratika or Saratthamanjusa, Vol., I, (Burmese edition), Maung Lin, 1910. Anuruddhasatakaya (saha sannaya), D. A. de S. D. Batuvantudawe, Colombo, 1866. Bhaktisatakaya, D. Batuvantudawe, Colombo, 1835. Bhesajjamanjusa, K. D. Kulatilaka, Nugegoda, 1962. Catubhanaavara-pali, or Mahapiritpota, pub. D. P. Silva Appuhami, 1891. Culavamsa, (PTS), Vols. I, II, W. Geiger, London, 1925,1927. ________________. Tr. pts. I, II, translated from German into English by Mrs C. Mabel Rickmers, Colombo, 1953. Cullavagga (Vinayapitaka II), H. Oldenberg, London and Edinburgh, 1880. Dathuvamsa, Asabhatissa, Kelaniya, 1885. Dathavamsa. B. C. Law, Lahore, 1925. Dhammapadatthakatha, (Commentary on the Dhammapada), (PTS), Vols. I, II, London, 1906, 1911. Dhatupatha and Dhatumanjusa, D. Anderson and H. Smith, Kobenhaven, 1921. Dighanikaya, (PTS), Vols. I, II, T. W. Rhys Davids and J. E. Carpenter; Vol.; III, J. E. Carpenter, London, 1949, 1890, 1911. ________________. (Sinhalese edition), V. Nanavasa, 1929. Dighanikayatthakatha, see Sumangalavilasini. Divyavadana, E. B. Cowell and R. L. Nell, Cambridge, 1886. Gandhavamsa, in the Journal of the Pali Text Society, T. W. Rhys Davids, London, 1886.

บทสรุป 279 Hatthavanagallaviharavamsa, (PTS), C. E. Godakumbura, London, 1956. Harivamsa, Tr. pt. I, B. N. Bose, Datta Bose and Co., Bengal. Jataka (Jatakatthakatha), PTS, Vols. I, V, VI, V. Fausboll, 0-0 London, 1877; Vol. VI, 1896. ________________. Tr. Vol. I, E. B. Cowell, Cambridge, 1895. Jatakatthakatha. (SHB) Vol. I, W. Piyatissa, Colombo, 1926. Jinacarita, in the Journal of the Pali Text Society, T. W. Rhys Davids, 1904-1905. Jinakalamali, A. P. Buddhadatta, Colombo, 1956. Jinalankara, W. Dipankara and B. Dhammapala, Galle, 1900. Kammavaca, D. S. Abhayawardhana, Colombo, 1906. Kankhavitaranitika, (Vinayatthamanjusa), pt. I, Pannalankara and Piyadassi; pt. III, U. Piyatissa; pt. III, U. P. Ekanayaka, Jinalankara Press, 1901, 19107, 1915. Khuddasikkhatika, (or Sumangalappasadani), D. Sumanajoti, Jinalankara Press, 1898. Mahabodhivamsa (PTS), S. A. Strong, London, 1891. ________________. (Sinhalese edition), P. Sobhita, pub. H. W. Goonawardhana, 1890. Maharupasiddhi, M. Gunaratne, Vidyasagare Press, 1897. Mahavagga, (Vinayapitaka I, ), H. Oldenberg, London and Edinburgh, 1879. ________________. (Sinhalese edition), B. Saddhatissa, pub. D. A. Gunawardhana, 1922. Mahavamsa, (PTS), W. Geiger, London, 1908. ________________. (Sinhalese edition), H. Sumangala and D. A. de S. Batuvantudawe, Colombo, 1877. Mahavamsa, Tr. Translated into English by Wilhelm Geiger assisted by Mabel Haynes Bode, Colombo, 1950. ________________. Tr. pt. II, chs. XXXIX-C, L. C. Wijesinha, Colombo, 1889. Mahavamsatika, see Vamsatthappakasini. Majjhimanikaya, (PTS), Vol. I, V. Trenckner; Vol. III, pt. I, London, 1888, 1896. Majjhimanikayatthakatha, see Papancasudani. Mahavadharmasastra, J, Jolly, London, 1887. Manorathapurani, (PTS), Vols. I, II. Walleser. Moggallanapancika, D. Sri Dharmananda, Satyasamucceya Press, Weerahena, 1931. Pacittiya, (Vinayapitaka IV), H. Oldenberg, London and Edinburgh, 1887. ________________. (Sinhalese edition), Pannavasa and Sadhatissa, 1910. Padasadhanatika, Sri Dhirananda and Vacissara, Colombo, 1908. Pajjamadhu, H. Devamitta, Colombo, 1887.

280 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง Pa1imuttakavinicchaya, P. Nanavimalatissa, Alutgama, 2450 B. E. Parajika-pali, (SHB), P. Vimalahamma, 1950. Paramatthavinicchaya, A. Devananda, Colombo, 1926. Paramimahasataka, V. Dipankara, Dondra, 1921, Vol. 5. Ramayana, (Yuddhakanda), Gaspare Gorresio, Parigi, 1850. Rasavahini, K. Nanavimala, Colombo, 1961. Samantakutavannana, K. Nanavimala, Colombo, 1959. Samantapasadika, (SHB), pt. I, B. Piyaratana; pt. 2, W. Pemaratana; pt. 3, W. Pemaratana, Colombo, 1929, 1945, 1946. ________________. (PTS) Vol. I, J. Takakusu and N. Nagai, Landon, 1924. Sambandhacinta, (Burmese edition), Sadda-ngay, 1898. Saratthadipani, B. Davarakkhita, Colombo, 1914. Saratthappakasini. Sasanavamsa, (PTS), M. Bode, London, 1897. Sasanavamsadipa, Vimalasara, Colombo, 2424 B.E. Sumangalavilasini, (PTS), pt. I, T. W. Rhys Dovias and J. E. Carpenter; pts. II, III, W. Stede, London, 1886, 1931, 1932. Sumangalappasadani, or Khuddasikkhatika, D. Sumanajoti, Colombo, 1898. Suryasatakaya, D. A. de S. Batuvantudawe, Colombo, 1883. Suttanipatatthakatha or Paramatthajotika, (PTS), Vols. I, II, III, H. Smith, London, 1916-1917. Thupavamsa, B. Dhammaratana, Colombo, 1923. Upasakajanalankara, (PTS), H. Saddhatissa, London, 1965. Vamsatthappakasini, (PTS), Vols. I, II. G. P. Malalasekara, London, 1935. Vibhangatthakatha, (PTS), A. P. Budhadatta, London, 1923. Vimanavatthu Atthakatha or Paramatthadipani, (PTS), pt. IV, E. Hardy, London, 1901. Vimativinodani, B. Dhammadharatissa, Colombo, 1935. Vinayalankara, Vol. I, Nanavimalatissa, pub. W. J. Fernando, 2443 B. E. Vinayatthamanjusa, see Kankhavitaranitika. Visuddhimagga, (PTS), Vols. I, II. C. A. F. Rhys Davids, London, 1920, 1921. Visuddhimagga, Tr. (The Path of Purification), Bhikkhu Nanamoli, Colombo, 1956. Vrttamalawa (or Vuttamala), R. Batuvantudawe, Colombo, 1912. Vrttamalakhya, D. A. de S. Batuvantudawe, Colombo, 1890. Vuttodaya, (Burmese edition), U. Hpye, Rangoon, 1908. Yogarnawa, K. Nanavimala, Colombo, 1942.

บทสรุป 281 B. Sinhalese and Tamil Abhidharmartasangraha Purgnasannaya, T. Pannamoli ona W. Somalokatissa, Colombo, 1960. Anagatavamsa, W. Medhankara, Colombo, 1934. Anuruddhasatakaya saha sannaya, D. A. de S. Betuvantudawe, Colombo, 1888. Bhaktisatakaya or Bauddhasatakaya, D. A. de S. Batuvantudawe, Colombo, 1885. Budugunalankaraya, M. Kumaranatunga, Panadura, 1930, (2473 B.E.). Butsarana, W. Sorata, Colombo, 1953. Dahamsarana, pts. 1, 2. D. Dharmananda, Colombo, 1929. Dalada-pujavaliva, K. Ratanaransi, Colombo, 1954. Daladasirita, V. Sorata, Colombo, 1955. ________________. V. Ratnasuriya, Colombo, 1949. Dambadeniasna, D. D. Ranasinghe, Colombo, 1928. Dhampiyatuvagatapadaya, D. B. Jayatilaka, pub. Lankabhinava visruta Press, 1932. Dharmapradipikawa, D. Dharmananda, Vidyalankara Press, 1951. Eluattanagaluvamsaya, K. Sir Prajnasara, Kelaniya, 1954. Eluattanagaluvamsaya, M. Kumaranatunga, Vidyalankara Press, Colombo, 1923, 2466 B.E. Ganadevihallasaha Vadankavipota, pub. A. Cooray, Colombo, 1891. Girasandesa-vivaranaya, M. Kumaranatunga, Maradana, 1951. Hansa-sandesaya, C. E. Godakumbura, Colombo, 1953. Jataka-atuva gatapadaya., D. B. Jayatilaka, Colombo, 1943. Kambharamayana, Vol. I, V. M. Gopala Krishnamachari, 1948. Kandavurusirita, see under manuscripts. Katikawatsangara, D. B. Jayatilaka, Kelaniya, 1955. Kavyasekhara, R. Dharmananda, Peliyagoda, 1935. Kokilasandesa varnanawa, H. Pannatissa, Borella, 1945. Kudusika, Vivaranaya; V. Nanaratana, Colombo, 1954. Mahaparinirvana sutraya, I. Pannananda, pub. Amunugama Kudabandara, 1887. Maharupasiddhisanne, D. Pannasara, Colombo, 1927. Manimekhalai, P. Kesikan, Madras 2, 1961. Mayura sandesaya, W. A. F. Dharmawardhana, Vellampitiya, 1949. Nuvadavivaranaya, M. Kumaranatunga, pub. K.D. Perera and son, 2475 B.E. Nikayasangrahaya, D. P. R. Samaranayaka, Colombo, 1960.

282 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง ________________. Tr. C. M. Fernando; revised edition by Mudaliyar D. F. Gunawardhana, Colombo, 1908. Padasadhanasanyaya, R. Dharmananda, Helaniya, 1932. Pansiyapanas-jatakapotvahanse, pt. I, N. Dhammananda and D. Ratanajoti; pt. 2, pub. G. F. Munasinha, and D. W. Siriwardhana, Jinalankara Press, 1955. Parakumbasirita, C. de Silva, Colombo, 1954. ________________. K. D. F. Wikramasinha, Colombo, 1954. Parevisandesa-vivaranaya, M. Kumaranatunga, Maradana, 2502 B.E. Pujavaliya, A. V. Suravira, Colombo, 1961. ________________. B. Saddhatissa, Pnadura, 1930. ________________. M. Medhankara, Colombo, 1932. ________________. Tr. (A Contribution to the History of Ceylon, translate from Pujavaliya), B. Gunasekare, Colombo, 1895. Rajaratnakaraya, S. de Silva, Colombo, 1907. RaJavaliya, B. Gunasekara, printed at Government Press, 1953. Ruvanmal-nighantuva, Dharmabandhu Edition, 1954. Saddharmalankaraya, B. Sradhatisye, Colombo, 2494 B.E. Saddharmaratnakaraya, K. Sugunasare, pub. D. C. Wickramasinha and D. E. Wickramosinha, 1923. Salalihini-vivaranaya, M. Kumaranatunga, pub., K. D. Perera and Sons, 2474 B.E. Sandakindurudakava-pilibanda-valane sannaya, V. Dhammananda. 1931. Sasada-vivaranaya, M. Kumaranatunga, pub. Ratnakara Book Shop, 2483, B.E. Savul-asna, P. Aggavamsa, Colombo, 1925. Satarabanavara-sannaya, B. Sobhita, Peliyagoda, 1891. Sidatsangravstara-sannaya, R. Dharmananda, pub. D. A. Jayatilaka, 1931. Sidatsangara-vivaranaya, pt. I, M. Kumaranatunga, Colombo, 2498 B.E. Sikhavalanda ha sikhavalandavinisa, D. B. Jayatilaka, Colombo, 1924. Sihalabodhivamsaya, V. Amaramoli, Colombo, 1951. Sulupujavaliya, J. D. P. Prerra, Colombo, 1913. Sulurajavaliya, pub. C. D. S. K. Jayawarahana, Butgamuva, 1914. Thupavamsaya, D. E. Hettiaracchi, Maradana, 1947. Tisara vivaranaya, pub. K. D. P. Perera and Son, 2475 B.E. Vidagame himiyange prabandha, pub. M. D. Gunasena Saha Samagama, Colombo, 1960.

บทสรุป 283 Vimuktisangrahawa, pub. D. C. Wickremasinha, Colombo, 1914. Visuddhimargasanne, pt. I, M. Dharmaratna, 1890; pt. V, M. Dharmaratna, 1917; pt. VI, G. Sri Sumanasara, Homagama, 1926. Manuscripts Alutnuvaradevalayakaravima, British Museum Manuscript, (145), Or 6606. Kandavurusirita, British Museum Manuscript,, Or 6607 (15). Niyamgampaya Inscription, British Museum Manuscript, Or 6606 (165). Ratmalane Paramadhammacetiyarama-katikawata, in Ola manuscript. Vuttamala, British Museum Manuscript, Or 6611 (179). Archaeological Sources Ancient Inscriptions in Ceylon, Vols. I, II, E. Muller, London, 1883. Archaeological Survey of Ceylon, Annual Reports, 1891, 1909, 1911-12, H. C. P.. Bell, Colombo. Archaeological Survey of Ceylon, Sixth Progress Report and the Seventh Progress Report, Legislative Council Papers, 1896, H. G. P. Bell, Colombo. Architectural Remains, Anuradhapura, Ceylon, J. Smither. Ceylon Coins and Currency, (Memoirs of the Colombo Museum, Series A, No. 3, Colombo, 1924. Ceylon Journal of Science, Section G. Archeology, Ethnology, etc., Vol. I, edited by A. M. Hocart, July, 1924 - February, 1928; Vol. II, A. H. Hocart and S. Paranavitana, December, 1928 - February, 1933. Corpus Inscriptionum Indicarum, Vol. I, E. Hultzsch, 1925. Epigraphia Birmanica, Vol. III, pt. I, edited by Chas Duroiselle, Rangoon, 1923. Epigraphia Indies, Vol. I-VIII, 1925-1926, H. Kirshna Sastri and Hirananda Sastri, Calcutta. Epigraphia Zeylanica, Vols. I, Il, D. H. de Z. Wickremasinghe, London, 1912, 1928; Vol. III, London, 1933; Vol. IV, S. Paranavitana, London, 1043; Vol. V, pt. 1, 1956; Vol. V, pt. 2, S. Paranavitana and C. E. Godakumbure, 1963;, Vol. V, Pt. 3, S. Paranavitana and C. E. Godakumbure, 1965. Madras Report on Epigraphy, G. O. No. 961, H. Krishna Sastri, August, 1913.

284 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง Memoirs of the Archaeological Survey of Ceylon, Vol. I, A.M. Hocart, Colombo, 1924; Vol. IV, entitled ; 'The Temple of the Tooth in Kandy’, A.M. Hocart, London, 1931; Vol. V, entitled 'The Stupa in Ceylon', S. Paranavitana, Colombo, 1946; Vol. VI, entitled 'The Shrine of Upulvan at Devundara’, S. Paranavitana, Colombo, 1953, Report of the archaeological Survey of Ceylon for 1951, S. Paranavitana, Colombo, 1912. Report, Historical and Antiquarian on the Kegalla District, Ceylon Sessional Papers, XIX, Colombo, 1892. Silalekhana-sangrahaya, ptsm 1-5, M. Vimalakirti, 1953-59, Moratuva. South Indian Inscriptions, Vol. IV, Annual Report, No. 600 of 1912. (Inscriptions and articles of Archaeological descriptions appearing in periodicals have been grouped under modern works). Foreign Notices The Book of Ser Marco Polo,, vol. II, Marco Polo, translated by Henry Yule, London, 1903. Cathay and the way Thither, vol. III, translated by Henry Yule, London, 1914. Foreigm Notices of South India, K. A. Nilakantasastri, Madras, 1939. A Record of the Buddhist Religion, I- Tsing, translated by J. Takakusu, Oxford, 1896. Si-Yu-Ki (Buddhist Records of the Western World), translated from Chinese of Hiuen Tsiang; vol. II, S. Beal, London, 1906. Travels in Asia and Africa, Ibn-Batuta, (1325-1354), translated by H. A. R. Gibb, London, 1929. Modern Works Adikaram, E. W., Early History of Buddhism in Ceylon, Colombo, 1953. Aiyer, V. G. Ramakrishna, The Economy of South Indian Temple, pub. Annamalai University, 1946. Altekar, A. S., State and Government in Ancient India, Delhi-6,1958. Arunachalam, Sir P., 'Polonnaruwa Bronzes and Siva Worship and Symbolism', JRASCB., Vol. XXIV, No. 68, 1915-16, PP. 189-222. Ayrton, Edward R., 'Kublai Khan and the Relic of Buddha from Ceylon', JRASCB., Ceylon Notes and Queries, pt. IV, No. 21, July, 1914, Colombo.

บทสรุป 285 Barnet, L. D., 'The Manavulu Sandesaya', JRAS., 1905. Bashara,, A. L., 'Prince Vijaya ond the Aryanization of Ceylon', The Ceylon Historical Journal, Vol. I, No. 3, January, 1952, pp. 163-71. Bell, H. C. P., 'Dimbulagala: Its Caves, Ruins, and Inscriptions', Ceylon Antiquary and Literary Register, Vol. III, pt. I, July, 1917, pp. 1-12. ________________. ‘Maha Saman Devale and Its Sannas', Ceylon Antiquary and Literary Register, Vol. II, pt. I, July, 1916, PP- 36-46. Bell, H. C. P., ‘Galapata Vihara Inscription', JRASCB. Ceylon Notes and Queries, pt. IV, July, 1941, pp. LXIX-LXXVII. ________________. and Gunasekara A. M., 'Kelani Vihgraya and its Inscriptions', Ceylon Antiquary and Literary Register, Vol. I, pt. III, January, 1916, pp. 145-161. ________________. 'Dimbulagala Maravidiya Cave Inscription', Ceylon Antiquary and Literary Register, Vol. X, pt. I, July, 1924. Bhattacharya, H. D., 'Minor Religious Sects', The Age of Imperial Kanauj, R. C. Majumdar, Bombay, 1955. Bode, Mlabel, The Pali Literature of Burma, Royal Asiatic Society, London, 1909. Briggs, L. P., 'The Syncretism of religions in Southeast Asia Especially in the Khmer Empire', Journal of the American Oriental Society, Vol. 71, 1951, pp. 231-249. Buddhadatta, A. P., Pali-Sahityaya, Ambalangoda, 1966. ________________. Theravadei-bauddhacaryao, Ambalongoda, 1960. Codrington, H. W., 'The Gampola Period of Ceylon History', JRASCB., XXXII, No. 86,1933, pp. 260-309. ________________. Ancient Land Tenure and Revenue in Ceylon, Colombo, 1958. ________________. Ceylon Coins and Currency, in the Memoirs of the Colombo Museum, edited by Joseph Pearson, Colombo, 1924. ________________. A Short History of Ceylon, London, 1926. Coomarsvamy, A. K., Bronzes from Ceylon, in the Memoirs of the Colombo Museum, Series A., No. 1,1914. ________________. Medieval Sinhalese Art, New York, 1956. Copleston, R. S., 'The Identification of the Siriwaddhanapura of \"Mahavamsa\"', JRASCB., Vol. XII, No. 43, 18927, pp. 206-222. Dayal, Hor, The Bodhisattva Doctrine in Buddhist Sanskrit Literature, London, 1937.

286 ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ศรีลังกายุคกลาง Dharmapala, H., 'Burma and Buddhism', The Buddhist, Vol. III, No. 27, Colombo, 1891, pp. 210-211. Eliot, Charles, Hinduism and Buddhism, Vol. III, London, 1957. Geiger, Wilhelm, Culture of Ceylon in Medieval Times, edited by Heinz Bechert, Wiesbaden, 1960. ________________. Pali Literature and Language, University of Calcutta, 1943. Godakumbura, C. E., Sinhalese Literature, Colombo, 1955. ________________. 'Bronzes from Ceylon', JRASCB., (NS), Vol. VII, pt. 2, pp. 239-253. ________________. 'References to Buddhist Sanskrit Writers in Sinhalese Literature', University of Ceylon Review, Vol. I, No. I, Aprill, 1943, pp. 86-93. Gunasekera, B., JRAS., (Ceylon), Vol. VII, pt. III, ________________. 'Lankatilake Inscription', JRAS (Ceylon), Vol. X, No. 34, 1887, pp. 83-95. Gunalankara, Varasambodhi, Gampola Itihasaya, 1948. Gunawardhana, W. F., 'The Kokila Sandesa', Ceylon Antiquary and Literary Register, Vol. III, pt, I, Pp. 13-18 continued in Vol. IV, pt. III, P. 157 f. Harvey, C. E., History of Burma, London, 1967. Jayatilaka, D. B., Simhala sahityalipi, Maharagama, 1956. Keay, F. E., A History of Education in India and Pakistan, 1964. Konow, Sten, 'Vedeho Thera', Skrifter udgivne af Videnskabsselskabet i Christiania, Oslo, 1895. Law, B. G., B. C. Law Volume, Calcutta, 1945. ________________. Buddhistic Studies, Calcutta, 1931. Leadbeater, C. W., The Buddhist, Vol. I, Colombo, 1888-89. Liyanagamage, Amaradasa,. The Decline of Polonnaruwa and the Rise of Dambadeniya, Colombo, 1968. Levi, M. Sylvan, 'Chino-Sinhalese Relations with Early and Middle Ages', JRASCB., Vol. XXIV, No. 68, 1915, 1916, pp. 75-105; translated into English from French, 'Les Missions de wang Hiuen Ts’e dans 505. l'Inde', Journal Asiatique, 1900, pp. 297-331, 401-468. Majumdar, R. C., The Struggle for Empire, The History and Culture of the Indian People, Series, Vol. V, Bombay, 1957. ________________. The Age of Imperial Kanauj, The History and Culture of the Indian People, Series, Vol. IV, Bombay, 1955.