แผนการจัดการเรียนรูแ้ บบ Active Learning การใช้แบบฝึกทกั ษะพฒั นาการเขยี นค้าควบกล้า กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชันประถมศกึ ษาปที ่ี ๓/๓ จดั ท้าโดย นางรสุ ลฮี า สะตา ตา้ แหน่ง ครู (ค.ศ.๑) โรงเรียนบา้ นป่ามว่ ง ส้านักงานเขตพืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาปัตตานี เขต ๓ ส้านกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั พืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ เล่มท่ี ๑ “สระอะ...จะ๊ จ๋า”
คำชแ้ี จง แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning การใช้แบบฝกึ ทักษะพัฒนาทักษะการเขียน คาควบกลา กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชันประถมศึกษาปีที่ ๓ เลม่ นี มีวตั ถุประสงค์ในการจดั ทา เพ่ือให้ครูผู้สอนนาไปใช้เป็น แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning อย่างมีประสิทธิภาพให้บรรลุผลตามจุดมุ่งหมายของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกอบไปด้วยแผนการจดั การเรียนร้จู านวน ๑๘ แผน เวลาเรียน ๑๘ ช่ัวโมง สร้างขึนสาหรับใช้เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ด้วยแบบฝึก ทกั ษะพฒั นาทกั ษะการเขียนคาควบกลา ซงึ่ ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้มอี งคป์ ระกอบดังนี องคป์ ระกอบ รำยละเอียด ๑. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีวดั เป็นคุณภาพผู้เรียนท่ีหลักสตู รกาหนดเพื่อให้ผู้สอนจดั การเรียนรู้และ ประเมนิ ผลผู้เรียนให้บรรลผุ ลตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๒. สาระสาคัญ เปน็ ความคิดรวบยอดของเนือหาท่นี ามาจดั การเรียนรู้ในแตล่ ะ แผนการจัดการเรียนรู้ ๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เปน็ ระดับการเรียนรู้เพ่อื ให้ผู้เรียนบรรลุตัวชีวดั ครอบคลุมทังดา้ น ความรู้ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และด้านคุณธรรม จริยธรรม (A) ๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน เป็นการพัฒนาผู้เรียนใหบ้ รรลมุ าตรฐานการเรียนรู้ทก่ี าหนด ๕. สาระการเรียนรู้ เป็นหวั ขอ้ ย่อยทนี่ ามาจดั การเรียนรู้ในแตล่ ะแผนการจัดการเรียนรู้ ซงึ่ สอดคล้องกบั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๖. กิจกรรมการเรียนรู้ เปน็ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ทสี่ ่งเสริมให้ ผเู้ รียนมสี ว่ นรว่ มในการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ หลากหลาย เนน้ ทักษะการคิด การแก้ปญั หา ส่งเสริมให้เกิดการ ร่วมมือกันในกลุ่มผู้เรียน การจดั การเรียนรู้ประกอบไปด้วย ๓ ขันตอน ได้แก่ ไดแ้ ก่ ขันนาเข้าสบู่ ทเรียน ขันสอน และขนั สรุป
องคป์ ระกอบ รำยละเอียด ๗. ภาระงาน / ชินงาน เปน็ ผลงานท่ีเกิดจากผู้เรียน ท่ีแสดงวา่ ผู้เรียนบรรลุถงึ จุดประสงค์ใน ๘. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ ๙. การวัดผลและประเมินผล เป็นรายชื่อสอ่ื การเรียนร้ทู ุกประเภทที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ เป็นการตรวจสอบผลการจดั การเรียนรู้วา่ หลงั จากจัดการเรียนรู้ ๑๐. ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ในแตล่ ะแผนการจดั การเรียนรู้ ประกอบด้วยจุดประสงค์ วธิ ีการวัด เครื่องมือวัดและเกณฑก์ ารประเมินผล ๑๑. บันทึกผลหลังการเรียนรู้ เป็นการบนั ทกึ ความคิดเห็นเก่ียวกับการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ในแผนเพอื่ ให้ผู้สอนใช้เป็นแนวทางการปรบั การสอนก่อนทีจ่ ะ นาไปใช้ในการสอนจริง เปน็ ส่วนท่ีให้ครผู ู้สอนบนั ทึกผลการจัดการเรียนรู้วา่ ประสบ ความสาเร็จหรือไม่ มีปญั หาหรอื อปุ สรรคอะไรเกิดขนึ บา้ ง ได้แกไ้ ข ปัญหาและอปุ สรรคนนั อย่างไร เพอ่ื ใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนา การสอนในครังตอ่ ไป
หลกั สูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำข้นั พ้นื ฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ วิสยั ทศั น์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาลงั ของชาติให้เปน็ มนุษย์ทมี่ ีความ สมดุลทังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมีความรู้และทักษะพืนฐาน รวมทัง เจตคติท่ีจาเป็นต่อ การศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคญั บนพืนฐานความเช่ือว่า ทุกคน สามารถเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ หลักกำร หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขันพนื ฐาน มีหลกั การทีส่ าคญั ดังนี ๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมาย สาหรบั พัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพืนฐานของความเปน็ ไทยควบคู่กับความ เปน็ สากล ๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี คณุ ภาพ ๓. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาทสี่ นองการกระจายอานาจ ใหส้ งั คมมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษาใหส้ อดคล้อง กบั สภาพและความต้องการของท้องถนิ่ ๔. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาที่มโี ครงสรา้ งยืดหยุ่นทงั ดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลา และ การจดั การเรยี นรู้ ๕. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาท่เี น้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั ๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์
จดุ หมำย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เม่ือจบการศึกษาขัน พนื ฐาน ดังนี ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรม ของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนับถอื ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. มีความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยีและ มที กั ษะชีวติ ๓. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทีด่ ี มีสุขนสิ ัย และรักการออกกาลังกาย ๔. มีความรกั ชาติ มีจติ สานึกในความเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ยดึ ม่นั ในวิถีชวี ิตและ การปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ ๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิต สาธารณะที่มุ่งทาประโยชนแ์ ละสร้างสง่ิ ทีด่ งี ามในสังคม และอยูร่ ่วมกนั ในสงั คมอย่างมคี วามสุข สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ในการพัฒนาผู้เรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน ม่งุ เนน้ พัฒนาผู้เรียนให้ มคี ุณภาพตาม มาตรฐานทก่ี าหนด ซงึ่ จะช่วยใหผ้ ู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ดงั นี สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั พืนฐาน มงุ่ ใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ สมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดงั นี ๑. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร และ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชนต์ ่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทังการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความ ขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการ สื่อสาร ท่มี ปี ระสิทธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทม่ี ตี อ่ ตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้าง องคค์ วามรู้หรือสารสนเทศเพื่อ การตดั สินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพืนฐานของหลกั เหตผุ ล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธแ์ ละการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้ มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมี การตดั สนิ ใจทีม่ ีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบ ทเ่ี กิดขนึ ตอ่ ตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆไปใช้ในการดาเนิน ชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางานและการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริม ความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจดั การปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการ เปล่ียนแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อม และการรจู้ ักหลีกเล่ียงพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ท่ีส่งผลกระทบตอ่ ตนเอง และผอู้ น่ื ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี ทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหา อยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งพฒั นาผเู้ รียนให้มีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เพอ่ื ให้สามารถอยู่ ร่วมกบั ผ้อู นื่ ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังนี ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซ่ือสัตย์สจุ ริต ๓. มีวนิ ัย ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๕. อย่อู ยา่ งพอเพียง ๖. มงุ่ มน่ั ในการทางาน ๗. รักความเปน็ ไทย ๘. มีจิตสาธารณะ นอกจากนี สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตามบริบทและ จดุ เนน้ ของตนเอง สำระและมำตรฐำนกำรเรยี นรู้กล่มุ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย ทำไมต้องเรียนภำษำไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและเสริมสร้าง บุคลกิ ภาพของคนในชาตใิ หม้ คี วามเป็นไทย เป็นเครือ่ งมอื ในการติดต่อสือ่ สารเพอ่ื สรา้ งความเข้าใจและความสัมพนั ธ์ ทีด่ ตี ่อกนั ทาให้สามารถประกอบกจิ ธุระ การงาน และดารงชีวิตร่วมกนั ในสังคมประชาธปิ ไตยไดอ้ ยา่ งสันติสุข และ เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพ่ือพัฒนาความรู้ พัฒนา กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทาง วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพฒั นาอาชีพใหม้ ีความม่ันคงทางเศรษฐกจิ นอกจากนียังเป็นสอื่ แสดง
ภูมิปัญญาของบรรพบรุ ษุ ดา้ นวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพเปน็ สมบตั ิลาค่าควรแกก่ ารเรยี นรู้ อนรุ กั ษ์ และสืบ สานให้คงอย่คู ชู่ าตไิ ทยตลอดไป เรยี นรูอ้ ะไรในภำษำไทย ภาษาไทยเปน็ ทักษะที่ต้องฝกึ ฝนจนเกดิ ความชานาญในการใช้ภาษาเพ่อื การส่อื สารการเรียนรู้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ และเพอ่ื นาไปใชใ้ นชีวติ จริง กำรอ่ำน การอ่านออกเสียงคา ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คาประพันธ์ชนิดต่างๆ การอ่านในใจเพือ่ สร้างความเข้าใจ และการคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งท่ีอ่าน เพ่อื นาไป ปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั กำรเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวธิ ี การเขียนส่ือสาร โดยใช้ถ้อยคาและรูปแบบต่างๆ ของการเขยี น ซ่ึง รวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์วิจารณ์ และเขียนเชิง สรา้ งสรรค์ กำรฟัง กำรดู และกำรพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูด ลาดับเรื่องราวต่างๆ อย่างเป็นเหตเุ ป็นผล การพูดในโอกาสต่างๆ ทังเปน็ ทางการและไม่เป็นทางการ และการพดู เพื่อ โนม้ น้าวใจ หลักกำรใช้ภำษำไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทยการใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมกับโอกาสและ บุคคล การแต่งบทประพนั ธป์ ระเภทต่างๆ และอทิ ธพิ ลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือศกึ ษาข้อมูล แนวความคิด คุณค่าของงาน ประพนั ธ์ และความเพลดิ เพลิน การเรยี นรแู้ ละทาความเขา้ ใจบทเห่ บทรอ้ งเล่นของเดก็ เพลงพืนบ้านท่ีเป็นภูมิปัญญาท่ีมี คุณค่าของไทย ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราวของสังคมในอดีต และความ งดงามของภาษา เพ่ือใหเ้ กดิ ความซาบซงึ และภูมิใจในบรรพบรุ ษุ ทีไ่ ดส้ ่งั สมสืบทอดมาจนถงึ ปจั จุบัน
สำระและมำตรฐำนกำรเรยี นรู้ สาระท่ี ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพอื่ นาไปใช้ตดั สินใจ แกป้ ัญหาในการดาเนินชีวติ และมีนิสยั รกั การอา่ น สาระท่ี ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขียนสือ่ สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรือ่ งราวในรูปแบบต่างๆ เขียน รายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอย่างมีประสิทธิภาพ สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สึกใน โอกาสต่างๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์ สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิ ปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ สำระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจริง คณุ ภำพผูเ้ รยี น หลกั สตู รการศึกษาขันพนื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดคุณภาพผูเ้ รียนเม่ือจบ ชันประถมศึกษาปี ที่ ๓ และชันประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ไว้ดงั นี จบชั้นประถมศึกษำปที ่ี ๓ อ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ เรื่องสันๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้องคล่องแคล่ว เข้าใจ ความหมายของคาและข้อความท่ีอ่าน ตังคาถามเชิงเหตุผล ลาดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตกุ ารณ์ สรุปความรู้ข้อคิด จากเร่ืองท่ีอ่าน ปฏิบัติตามคาสงั่ คาอธิบายจากเร่ืองที่อ่านได้ เข้าใจความหมายของข้อมลู จากแผนภาพ แผนที่ และ แผนภมู ิ อ่านหนังสืออยา่ งสม่าเสมอและ มีมารยาทในการอ่าน มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจาวัน เขียนจดหมายลาครู เขียนเรื่อง เกย่ี วกบั ประสบการณ์ เขียนเรื่องตามจินตนาการและมีมารยาทในการเขียน
เล่ารายละเอียดและบอกสาระสาคญั ตงั คาถาม ตอบคาถาม รวมทงั พูดแสดงความคิดความรู้สึกเกีย่ วกบั เร่ืองท่ี ฟงั และดู พดู ส่ือสารเล่าประสบการณ์และพูดแนะนาหรือพูดเชิญชวนให้ผู้อ่ืนปฏิบัติตาม และมีมารยาทในการฟัง ดู และพดู สะ ก ดคา แล ะ เข้ า ใจค วา ม หม า ยขอ งค า ค วาม แตก ต่า งข องค า และ พยางค์ หน้ า ท่ีขอ งค า ในประโยค มีทกั ษะการใช้พจนานกุ รมในการค้นหาความหมายของคา แตง่ ประโยคง่าย ๆ แตง่ คาคลอ้ งจอง แตง่ คา ขวัญ และเลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่นิ ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ เข้าใจและสามารถสรปุ ขอ้ คิดท่ีไดจ้ ากการอ่านวรรณคดแี ละวรรณกรรมเพ่ือนาไปใช้ในชวี ิตประจาวนั แสดง ความคิดเห็นจากวรรณคดีท่ีอ่าน รู้จักเพลงพืนบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ซ่ึงเป็นวัฒนธรรมของท้องถิ่น ร้องบทร้องเล่น ส า ห รั บ เ ด็ ก ใ น ท้ อ ง ถ่ิ น ท่ อ ง จ า บ ท อ า ข ย า น แ ล ะ บ ท ร้ อ ย ก ร อ ง ท่ีมคี ณุ ค่าตามความสนใจได้ จบชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๖ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้อง อธิบายความหมายโดยตรงและ ความหมายโดยนัยของคา ประโยค ขอ้ ความ สานวนโวหาร จากเรื่องท่ีอ่าน เข้าใจคาแนะนา คาอธิบายในคู่มือต่าง ๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริง รวมทังจับใจความสาคัญของเร่ืองที่อ่าน และนาความรคู้ วามคิดจากเรือ่ งที่อ่านไป ตัดสินใจแกป้ ญั หาในการดาเนินชวี ติ ได้มมี ารยาทและมีนสิ ัยรกั การอ่าน และเหน็ คณุ ค่าสิ่งทอี่ า่ น มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนสะกดคา แต่งประโยคและเขียน ข้อความ ตลอดจนเขียนส่ือสารโดยใช้ถ้อยคาชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิด เพ่ือ พฒั นางานเขียน เขียนเรยี งความ ย่อความ จดหมายสว่ นตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนแสดงความรู้สกึ และความ คดิ เห็น เขียนเร่ืองตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ และมีมารยาทในการเขยี น พูดแสดงความรู้ ความคดิ เก่ียวกบั เรอ่ื งทฟ่ี งั และดู เลา่ เรอ่ื งย่อหรือสรุปจากเร่ืองทฟี่ งั และดู ตงั คาถาม ตอบคาถามจากเร่ืองท่ีฟังและดู รวมทังประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟงั และดูโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูด ตามลาดับขันตอนเรอ่ื งตา่ ง ๆ อย่างชดั เจน พดู รายงานหรือประเดน็ ค้นควา้ จากการฟัง การดู การสนทนา และพดู โน้มนา้ ว ไดอ้ ย่างมีเหตุผล รวมทงั มีมารยาทในการดูและพูด สะกดคาและเข้าใจความหมายของคา สานวน คาพังเพยและสุภาษิต รู้และเข้าใจชนิดและหน้าท่ีของคาใน ประโยค ชนิดของประโยค และคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คาราชาศัพท์และคาสุภาพได้อย่างเหมาะสม แต่ง ประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสภุ าพ และกาพยย์ านี ๑๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพืนบ้าน ร้องเพลงพืนบ้านของท้องถิ่น นา ข้อคดิ เหน็ จากเร่ืองท่ีอ่านไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจริง และทอ่ งจาบทอาขยาน ตามท่ีกาหนดได้
ตัวชี้วดั และสำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระท่ี ๑ กำรอำ่ น มำตรฐำน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ เพอ่ื นาไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหา ในการดาเนินชวี ติ และมนี สิ ัยรักการอ่าน ช้นั ตวั ชวี้ ดั สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง ป.๓ ๑. อา่ นออกเสยี งคา ขอ้ ความ เรอ่ื ง การอ่านออกเสยี งและการบอกความหมายของคา สันๆ และบทรอ้ ยกรองง่ายๆ ได้ คาคลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรองง่ายๆ ท่ี ถกู ต้อง คลอ่ งแคล่ว ประกอบดว้ ย คาพนื ฐานเพิ่มจาก ป.๒ ไม่นอ้ ยกว่า ๒. อธบิ ายความหมายของคาและ ๑,๒๐๐ คา รวมทังคาที่เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ข้อความทอี่ ่าน อนื่ ประกอบดว้ ย - คาทีม่ ตี วั การนั ต์ - คาทมี่ ี รร - คาทีม่ ีพยัญชนะและสระไมอ่ อกเสียง - คาพอ้ ง - คาพิเศษอ่ืนๆ เชน่ คาทใ่ี ช้ ฑ ฤ ฤๅ ๓. ตังคาถามและตอบคาถามเชงิ การอ่านจับใจความจากส่ือตา่ งๆ เช่น เหตผุ ลเกี่ยวกับเรอื่ งทีอ่ ่าน - นทิ านหรอื เร่อื งเกี่ยวกับทอ้ งถิน่ ๔. ลาดบั เหตกุ ารณแ์ ละคาดคะเน - เร่อื งเล่าสันๆ เหตุการณ์จากเรอื่ งทีอ่ า่ นโดยระบุ - บทเพลงและบทร้อยกรอง เหตุผลประกอบ - บทเรียนในกลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ นื่ - ข่าวและเหตกุ ารณใ์ นชวี ิตประจาวนั ในทอ้ งถนิ่ ๕. สรุปความรูแ้ ละข้อคิดจากเรอ่ื งที่ และชมุ ชน อ่านเพอื่ นาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน ๖. อา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ การอ่านหนงั สอื ตามความสนใจ เชน่ อย่างสมา่ เสมอและนาเสนอเรอ่ื ง - หนังสือทน่ี กั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั ท่อี ่าน - หนังสือที่ครแู ละนกั เรียนกาหนดรว่ มกัน ๗. อา่ นขอ้ เขยี นเชงิ อธบิ ายและปฏบิ ตั ิ การอ่านขอ้ เขยี นเชงิ อธิบาย และปฏิบตั ติ ามคาส่ัง ตามคาสง่ั หรือข้อแนะนา หรอื ขอ้ แนะนา - คาแนะนาตา่ งๆ ในชวี ิตประจาวนั - ประกาศ ปา้ ยโฆษณา และคาขวัญ
ชั้น ตวั ชวี้ ัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง ๘. อธิบายความหมายของขอ้ มูลจาก การอ่านขอ้ มลู จากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ แผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ ๙. มมี ารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน เชน่ - ไมอ่ า่ นเสยี งดงั รบกวนผ้อู ่ืน - ไมเ่ ล่นกนั ขณะทอี่ า่ น - ไมท่ าลายหนังสอื - ไมค่ วรแยง่ อ่านหรอื ชะโงกหน้าไปอา่ นขณะท่ี ผู้อ่ืนกาลังอ่าน สำระท่ี ๒ กำรเขยี น มำตรฐำน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขยี นส่อื สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรอ่ื งราว ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้า อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ช้นั ตัวชี้วดั สำระกำรเรียนรูแ้ กนกลำง ป.๓ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั การคัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั ตาม รูปแบบการเขยี น ตวั อักษรไทย ๒ เขยี นบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสงิ่ หน่งึ การเขียนบรรยายเกี่ยวกบั ลักษณะของ คน สัตว์ ไดอ้ ยา่ งชัดเจน ส่งิ ของ สถานที่ ๓. เขยี นบันทึกประจาวนั การเขยี นบนั ทกึ ประจาวัน ๔. เขียนจดหมายลาครู การเขยี นจดหมายลาครู
ชน้ั ตวั ช้ีวดั สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง ๕. เขียนเร่ืองตามจินตนาการ การเขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการจากคา ภาพ และ ๖. มีมารยาทในการเขยี น หัวข้อทกี่ าหนด มารยาทในการเขยี น เช่น - เขยี นให้อ่านงา่ ย สะอาด ไม่ขดี ฆ่า - ไม่ขีดเขยี นในที่สาธารณะ - ใช้ภาษาเขยี นเหมาะสมกบั เวลา สถานท่ี และ บุคคล - ไมเ่ ขียนลอ้ เลียนผอู้ นื่ หรือทาใหผ้ ู้อืน่ เสียหาย สำระท่ี ๓ กำรฟัง กำรดู และกำรพดู มำตรฐำน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดอู ยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และ ความรู้สกึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ ชนั้ ตวั ช้ีวัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง ป.๓ ๑. เลา่ รายละเอยี ดเกย่ี วกับเรื่องทีฟ่ ัง การจับใจความและพดู แสดงความคิดเหน็ และ และดูทังทเ่ี ป็นความรู้และความ ความร้สู กึ จากเร่ืองทฟี่ งั และดูทังท่เี ป็นความรู้ บันเทงิ และความบันเทงิ เช่น ๒. บอกสาระสาคญั จากการฟังและ - เร่ืองเลา่ และสารคดีสาหรบั เด็ก การดู - นิทาน การ์ตนู เรื่องขบขนั ๓. ตงั คาถามและตอบคาถามเก่ียวกับ - รายการสาหรับเด็ก เร่ืองทฟี่ ังและดู - ขา่ วและเหตกุ ารณ์ในชวี ิตประจาวัน ๔. พดู แสดงความคิดเห็นและ - เพลง ความร้สู กึ จากเร่อื งท่ีฟังและดู ๕. พดู สอื่ สารไดช้ ดั เจนตรงตาม การพดู ส่ือสารในชวี ติ ประจาวัน เชน่ วัตถปุ ระสงค์ - การแนะนาตนเอง - การแนะนาสถานท่ใี นโรงเรียนและ ในชุมชน - การแนะนา/เชญิ ชวนเกีย่ วกับการปฏบิ ตั ิตน ในด้านตา่ งๆ เชน่ การรกั ษาความสะอาด ของรา่ งกาย - การเล่าประสบการณใ์ นชวี ติ ประจาวัน
๖. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการ - การพูดในโอกาสต่างๆ เช่น การพดู ขอรอ้ ง พดู การพดู ทกั ทาย การกล่าวขอบคณุ และ ขอโทษ การพูดปฏิเสธ และการพดู ชกั ถาม มารยาทในการฟัง เชน่ - ตังใจฟัง ตามองผู้พดู - ไมร่ บกวนผู้อ่ืนขณะท่ีฟัง - ไมค่ วรนาอาหารหรอื เครือ่ งดมื่ ไป รบั ประทานขณะที่ฟัง - ไม่แสดงกิริยาท่ีไม่เหมาะสม เชน่ โห่ ฮา หาว - ให้เกยี รตผิ ู้พูดด้วยการปรบมอื - ไม่พูดสอดแทรกขณะทฟี่ ัง มารยาทในการดู เชน่ - ตังใจดู - ไมส่ ่งเสียงดังหรอื แสดงอาการรบกวนสมาธิ ของผอู้ ่นื มารยาทในการพดู เชน่ - ใชถ้ อ้ ยคาและกริ ิยาทีส่ ภุ าพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ - ใช้นาเสียงนมุ่ นวล - ไม่พดู สอดแทรกในขณะทีผ่ อู้ ่นื กาลังพดู - ไม่พูดลอ้ เลียนให้ผอู้ น่ื ไดร้ บั ความอับอาย หรือเสียหาย
สำระท่ี ๔ หลักกำรใชภ้ ำษำไทย มำตรฐำน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ ชั้น ตัวชวี้ ดั สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง ป.๓ ๑. เขียนสะกดคาและบอกความหมาย การสะกดคา การแจกลูก และการอ่านเป็นคา ของคา มาตราตวั สะกดทีต่ รงตามมาตราและไมต่ รง ตามมาตรา การผันอกั ษรกลาง อกั ษรสูง และอักษรต่า คาทม่ี ีพยญั ชนะควบกลา คาที่มอี กั ษรนา คาทป่ี ระวิสรรชนีย์และคาทไ่ี มป่ ระวสิ รรชนีย์ คาที่มี ฤ ฤๅ คาทีใ่ ช้ บัน บรร คาท่ใี ช้ รร คาที่มีตัวการนั ต์ ความหมายของคา ๒. ระบชุ นิดและหนา้ ทีข่ องคาใน ชนดิ ของคา ไดแ้ ก่ ประโยค - คานาม - คาสรรพนาม - คากรยิ า ๓. ใช้พจนานุกรมคน้ หาความหมาย การใช้พจนานุกรม ของคา ๔. แตง่ ประโยคงา่ ยๆ การแตง่ ประโยคเพื่อการส่อื สาร ได้แก่ - ประโยคบอกเลา่ - ประโยคปฏิเสธ - ประโยคคาถาม - ประโยคขอรอ้ ง - ประโยคคาส่งั
ชัน้ ตวั ช้วี ัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง ๕. แตง่ คาคลอ้ งจองและคาขวญั คาคลอ้ งจอง คาขวัญ ๖. เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและ ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิน่ ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ ภาษาถิ่น สำระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มำตรฐำน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คุณค่าและนามาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ จริง ชน้ั ตัวชว้ี ัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง ป.๓ ๑. ระบขุ ้อคิดที่ได้จากการอา่ น วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพนื บา้ น วรรณกรรมเพือ่ นาไปใช้ใน - นิทานหรือเรื่องในท้องถนิ่ ชีวิตประจาวนั - เร่อื งสนั งา่ ยๆ ปรศิ นาคาทาย ๒. รู้จักเพลงพนื บ้านและเพลงกล่อม - บทรอ้ ยกรอง เดก็ เพ่ือปลกู ฝังความชนื่ ชม - เพลงพืนบ้าน วฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ - เพลงกลอ่ มเดก็ ๓. แสดงความคดิ เห็นเก่ียวกับ - วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรยี นและ ตาม วรรณคดี ความสนใจ ท่ีอ่าน บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองที่มีคุณคา่ ๔. ท่องจาบทอาขยานตามทีก่ าหนด - บทอาขยานตามทีก่ าหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ และบทรอ้ ยกรองทมี่ คี ุณค่าตาม ความสนใจ
ท ๑๓๑๐๑ ภำษำไทย คำอธิบำยรำยวชิ ำ ชนั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ กลุ่มสำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย เวลา ๒๔๐ ช่วั โมง ฝึกอา่ นออกเสยี งคา ข้อความ เรอ่ื งสนั ๆ และบทรอ้ ยกรองง่ายๆ อธบิ ายความหมายของคาและขอ้ ความทอี่ า่ น ตังคาถาม ตอบคาถามเชิงเหตุผล ลาดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรปุ ความรขู้ ้อคิดจากเร่ืองทอี่ ่าน เพอ่ื นาไปใช้ใน ชีวิตประจาวันเลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเร่ืองที่อ่านอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และ ปฏิบตั ติ ามคาสงั่ หรือขอ้ แนะนาอธบิ ายความหมายของข้อมลู จากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึกประจาวัน เขียนเร่ืองตามจินตนาการ มี มารยาทในการเขยี น ฝกึ ทักษะการฟัง การดูและการพูด เล่ารายละเอียด บอกสาระสาคัญ ตังคาถาม ตอบคาถาม พูดแสดงความ คดิ เหน็ ความรสู้ กึ พดู สื่อสารไดช้ ดั เจนตรงตามวัตถปุ ระสงค์ มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด ฝกึ เขียนตามหลกั การเขียน เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา ระบุชนิด หน้าท่ีของคา ใช้พจนานกุ รม ค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคาคล้องจองและคาขวัญเลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้ เหมาะสมกับกาลเทศะ ระบขุ ้อคิดที่ได้จากการอา่ นวรรณกรรมเพ่ือนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั รู้จักเพลงพืนบ้าน เพลงกลอ่ มเด็ก เพ่ือ ปลูกฝังความชื่นชมวัฒนธรรมท้องถิ่น แสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั วรรณคดีท่ีอ่าน ท่องจาบทอาขยานตามทกี่ าหนดและ บทร้อยกรองทม่ี ีคุณค่าตามความสนใจ โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคิด วิเคราะห์ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตังคาถาม ตอบคาถาม ใช้ ทักษะการฟงั การดูและการพูด พูดแสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สอื่ สารได้ถกู ตอ้ ง รกั การเรยี นภาษาไทย เห็นคณุ ค่าของการอนุรกั ษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนา ความรไู้ ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวนั ได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
ตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ (รวม ๓๒ ตวั ช้วี ดั )
ตำรำงแสดงควำมสัมพันธ์ระหวำ่ งมำตรฐำนกำรเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั และสำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย ชน้ั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๓ สำระที่ ๑ กำรอำ่ น มำตรฐำน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความร้แู ละความคิด เพือ่ นาไปใช้ตดั สนิ ใจแก้ปัญหา ในการดาเนินชีวติ และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชว้ี ดั ผู้เรียนรูอ้ ะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ ๑. อ่านออกเสยี งคา หลักการอ่านออกเสยี งคา ๑. อา่ นออกเสียงคา ข้อความ เร่อื งสนั ๆ และ ขอ้ ความ เรือ่ งสนั ๆและ ๒. อา่ นขอ้ ความ บทร้อยกรองงา่ ยๆ ได้ บทร้อยกรองง่ายๆ ๓. อา่ นเร่อื งสนั ๆ ถูกต้อง คล่องแคลว่ ๔. อา่ นบทร้อยกรอง รู้ความหมายของคาและ ๑. อธิบายความหมายของคา ๒. อธบิ ายความหมายของ ข้อความ คาและข้อความที่อา่ น และข้อความที่อา่ น ๓. ตังคาถามและตอบ รู้และเข้าใจเรอ่ื งท่ีอา่ น ๑.ตังคาถามและตอบคาถาม คาถามเชิงเหตผุ ล เก่ยี วกบั เรือ่ งทีอ่ า่ นอย่างมี เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน เหตุผล ๔. ลาดับเหตกุ ารณแ์ ละ หลกั การคาดคะเนเหตกุ ารณ์ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่อง คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ าก จากเรอื่ งทีอ่ ่านได้อย่างมีเหตผุ ล ท่ีอ่าน เร่อื งที่อา่ นโดยระบุเหตุผล ประกอบ ๕. สรุปความรู้และข้อคิดจาก หลกั การสรุปความร้แู ละขอ้ คิด สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คิดจากเรอื่ ง เรอื่ งทอี่ ่านเพ่ือนาไปใชใ้ น จากเร่อื งท่อี า่ น ทอ่ี ่าน ชีวิตประจาวัน ๖. อา่ นหนังสอื ตามความ ร้วู ธิ กี ารเลอื กหนังสือตามความ ๑. อา่ นหนงั สือตามความสนใจ สนใจอย่างสมา่ เสมอ และนาเสนอเรอ่ื งทอ่ี ่าน สนใจอยา่ งสมา่ เสมอและ อย่างสมา่ เสมอ นาเสนอเรื่องทอ่ี ่าน ๒.นาเสนอเร่ืองท่อี ่าน ๗. อา่ นขอ้ เขียนเชงิ อธิบาย รู้เข้าใจข้อเขียนเชิงอธิบาย ๑. เขา้ ใจขอ้ เขยี นเชิงอธิบาย และปฏิบัตติ ามคาสัง่ ปฏิบตั ิตามคาสัง่ หรือ ๒. ปฏิบตั ติ ามคาส่ังหรอื หรือขอ้ แนะนา ขอ้ แนะนา ขอ้ แนะนา
ตวั ชีว้ ดั ผเู้ รยี นรอู้ ะไร ผ้เู รียนทำอะไรได้ ๘. อธิบายความหมายของ รแู้ ละเขา้ ใจความหมายของ ๑. อธิบายความหมายของ ข้อมลู จากแผนภาพ แผนที่ และแผนภมู ิ ขอ้ มูลจากแผนภาพ แผนทแ่ี ละ ขอ้ มลู จากแผนภาพ ๙. มีมารยาท ในการอ่าน แผนภมู ิ ๒.อธบิ ายความหมายของ หมำยเหตุ ตวั ชีวัดตวั นีให้จดั ข้อมลู จากแผนท่ี กิจกรรมรวมกับตัวชวี ัด ที่ ๑ - ๗ ๓. อธิบายความหมายของ ขอ้ มลู จากแผนภูมิ มารยาทในการอา่ น มีมารยาท ในการอ่าน สาระที่ ๒ การเขียน มำตรฐำน ท ๒.๑ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนสือ่ สาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขยี นเร่อื งราว ในรปู แบบตา่ งๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้า อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ตัวชี้วัด ผเู้ รียนรู้อะไร ผเู้ รียนทำอะไรได้ ๑. คัดลายมอื ตัวบรรจงเต็ม หลกั การเขยี นดว้ ยตวั บรรจง คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั บรรทัด ตามหลักการคดั ลายมือชว่ ยให้ ได้ การสือ่ สารมีประสทิ ธภิ าพตรง ตามวตั ถุประสงค์ ๒ เขยี นบรรยายเกยี่ วกับส่ิงใด หลกั การเขียนบรรยาย เขยี นบรรยายได้อยา่ งชัดเจน สิ่งหนึ่งได้อยา่ งชัดเจน หลักการเขยี นบันทึกประจาวัน เขยี นบนั ทึกประจาวันได้ ๓. เขียนบันทกึ ประจาวัน หลกั การเขียนจดหมายลาครู เขยี นจดหมายลาครู ๔. เขยี นจดหมายลาครู
ตวั ชี้วดั ผเู้ รียนรู้อะไร ผู้เรยี นทำอะไรได้ ๕. เขยี นเร่ืองตามจินตนาการ หลกั การเขยี นอย่างมีมารยาท มมี ารยาทในการเขียน ๖. มีมารยาทในการเขียน เปน็ การใช้ภาษาและเทคนิค เฉพาะทเ่ี หมาะสมตามประเภท ของงาน ช่วยให้การส่อื สาร มีประสิทธิภาพยงิ่ ขนึ สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพดู มำตรฐำน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดูอย่างมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และ ความรูส้ กึ ในโอกาสตา่ งๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ ตัวช้วี ดั ผเู้ รียนรอู้ ะไร ผเู้ รยี นทำอะไรได้ ๑. เล่ารายละเอียดเก่ียวกบั เรื่อง การฟังอย่างตงั ใจ มสี มาธใิ น เล่ารายละเอียดเกย่ี วกับเร่อื ง ท่ฟี ังและดูทงั ทีเ่ ป็นความรแู้ ละ การฟงั ชว่ ยให้เข้าใจ และปฏบิ ัติ ทฟ่ี ังและดู ตามไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ความบนั เทิง ๒. บอกสาระสาคัญจากการฟัง สาระสาคัญจากการฟงั และดู บอกสาระสาคญั จากการฟัง และการดู และการดู ๓. ตังคาถามและตอบคาถาม หลกั การฟัง และดูอย่างตังใจ ตงั คาถามและตอบคาถามเรอ่ื ง เกย่ี วกบั เรือ่ งท่ฟี งั และดู มีสมาธิ จะทาให้ตังคาถามและ ทฟี่ งั และดู ตอบคาถามได้ ๔. พดู แสดงความคิดเห็นและ หลักการฟงั และดูแล้วสามารถ พูดแสดงความคดิ เหน็ และ ความร้สู กึ จากเรอ่ื งที่ฟังและดู จบั ใจความสาคญั ของที่ฟงั ความร้สู กึ จากเรือ่ งท่ีฟงั และดู และดู ทาให้สามารถพดู แสดง ความคิดเหน็ และความรูส้ ึกจาก เร่ืองท่ีฟงั และดไู ด้ ๕. พูดสื่อสารได้ชัดเจน วธิ กี ารพดู สื่อสาร พดู สือ่ สารในชวี ติ ประจาวนั ได้ ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ ในชีวติ ประจาวัน ตามวัตถุประสงค์
ตวั ชี้วดั ผู้เรยี นรอู้ ะไร ผเู้ รียนทำอะไรได้ ๖. มมี ารยาทในการฟัง การดู การมมี ารยาทในการฟัง การดู มีมารยาทในการฟงั การดู และ และการพูด และการพดู เป็นคณุ ลักษณะ การพูด พืนฐานในการอยรู่ ่วมกนั ใน สงั คม สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มำตรฐำน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิ ของชาติ ตวั ชว้ี ดั ผู้เรียนร้อู ะไร ผเู้ รยี นทำอะไรได้ ๑. เขยี นสะกดคาและบอก ร้จู กั มาตราตวั สะกด การผัน เขียนสะกดคาและบอก ความหมายของคา วรรณยุกต์และความหมาย ความหมาย ของคาได้ ของคา ๒. ระบุชนดิ และหน้าที่ของคา รูจ้ กั ชนิดและหนา้ ท่ีของคาใน ระบุชนิดและหนา้ ที่ของคาใน ในประโยค ๓. ใช้พจนานุกรมคน้ หา ประโยค ประโยค ความหมายของคา ๔. แตง่ ประโยคง่ายๆ รู้หลักและวธิ กี ารใช้ ใชพ้ จนานกุ รมค้นหา ๕. แต่งคาคล้องจองและ พจนานุกรม ความหมายของคา คาขวญั โครงสร้างของประโยค เรียบเรียงคาเป็นประโยคง่าย ๆ ๖. เลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิ่นไดเ้ หมาะสมกับ ได้ กาลเทศะ หลกั การหาคาทีม่ ีเสยี งสระ ๑. เขียนคาคลอ้ งจองได้ เหมือนกนั ตวั สะกดแม่เดียวกนั ๒. เขียนคาขวัญ มาตอ่ กนั ให้เกดิ เสยี งสัมผัส คลอ้ งจอง หลักและวิธีการใชภ้ าษาไทย เลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิน่ และภาษาถนิ่ ได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ
สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขำ้ ใจและแสดงควำมคดิ เหน็ วิจำรณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทยอยำ่ งเห็นคณุ คำ่ และนำมำประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จรงิ ตัวชวี้ ดั ผู้เรียนรูอ้ ะไร ผูเ้ รยี นทำอะไรได้ ๑. ระบุข้อคดิ ท่ีได้จากการอ่าน หลกั การอ่านหรอื การฟงั บอกขอ้ คดิ ทไ่ี ดจ้ ากการอา่ น หรอื การฟังวรรณกรรมรอ้ ยแก้ว วรรณกรรมเพอ่ื นาไปใชใ้ น วรรณกรรม ร้อยแก้วและ และร้อยกรองสาหรบั เด็กได้ ชีวิตประจาวัน รอ้ ยกรองสาหรบั เด็ก ๒. รู้จักเพลงพืนบ้านและเพลง รูแ้ ละเข้าใจวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ รจู้ กั เพลงพืนบ้านและเพลง กล่อมเดก็ เพอ่ื ปลกู ฝังความ กล่อมเด็ก เพ่อื ปลูกฝังความชื่น ช่ืนชมวฒั นธรรมท้องถิ่น ชมวฒั นธรรมท้องถิ่น ๓. แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั หลกั การแสดงความคิดเหน็ แสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั เกยี่ วกับวรรณคดี วรรณคดีทอี่ า่ น วรรณคดีทอ่ี า่ น ๔. ท่องจาบทอาขยานตามที่ การรแู้ ละเข้าใจแบบแผนภาษา ทอ่ งจาบทอาขยาน และ กาหนดและบทรอ้ ยกรองทีม่ ี และฉนั ทลักษณ์ ทาใหส้ ามารถ บทร้อยกรองตามความสนใจ คุณคา่ ตามความสนใจ ท่องจาบทอาขยานและบท รอ้ ยกรอง
โครงสรำ้ งเวลำเรียน ชั้นประถมศึกษำปี ที่ ๓ ท่ี รำยวิชำ/ กจิ กรรม เวลำเรยี น(ชวั่ โมง) ๑ ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๔๐ ๒ ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๓ ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๘๐ ๔ ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ๘๐ ๕ พ ๑๓๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๘๐ ๖ ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ๗ ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๔๐ ๘ อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๘๐ ๙ ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ ๙๒๐ รวมเวลาเรียนพืนฐาน - รายวชิ าเพ่มิ เติม ๑๒๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๔๐ แนะแนว กจิ กรรมนกั เรยี น ๔๐ ชมรม,ชุมนุม ๓๐ ลูกเสอื /เนตรนารี/ยวุ กาชาด ๑๐ กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑,๐๔๐ รวมเวลำเรียน
กำหนดกำรจดั กำรเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี ๖ กำรเขยี นคำควบกล้ำ โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะพัฒนำกำรเขียนคำควบกลำ้ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย ช้นั ประถมศึกษำปที ี่ ๓ เรอ่ื ง เวลำเรยี น (ช่ัวโมง) ทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิ ๑ ทางการเรยี น (กอ่ นเรยี น) คาควบกลา กร กล กว ๓ คาควบกลา ขร ขล ขว ๒ คาควบกลา คร คล คว ๒ คาควบกลา ปร ปล ๒ คาควบกลา พร พล ๒ คาควบกลา ตร ผล ๒ คาควบไมแ่ ท้ ๓ ทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ ๑ ทางการเรียน (หลงั เรยี น) ๑๘ รวมเวลำเรียน
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กลมุ่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย ชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ ๓/๓ ภำคเรียนที่ ๑ / ๒๕๖๕ หน่วยที่ ๖ กำรเขียนคำควบกลำ้ เวลำเรยี น ๑๘ ชัว่ โมง แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ ๑ ทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี น (กอ่ นเรยี น) เวลำเรยี น ๑ ช่ัวโมง สอนวันที่ ๑๗ เดอื น พฤษภำคม พ.ศ. ๒๕๖๕ มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ดั สำระท่ี ๒ กำรเขยี น มำตรฐำน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขียนสอ่ื สาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขยี นเร่อื งราวใน รูปแบบต่างๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ตัวชีว้ ดั ท ๒.๑ ป.๓/๕ เขียนเรื่องตามจินตนาการ ท ๒.๑ ป.๓/๖ มมี ารยาทในการเขียน สำระที่ ๔ หลกั กำรใช้ภำษำไทย มำตรฐำน ท๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ พลังของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ ตวั ชีว้ ดั ท ๔.๑ ป.๓/๑ เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้ ๑. นกั เรียนทาแบบทดสอบวัดทกั ษะการเขยี นคาควบกลากอ่ นเรยี นได้ถกู ตอ้ ง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. นกั เรียนมีความซือ่ สัตย์ สจุ ริต สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น ๑. ความสามารถในการคดิ
สำระสำคญั นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น (ก่อนเรียน) เรอ่ื ง การเขียนคาควบกลา กลมุ่ สาระการ เรียนรภู้ าษาไทย ชันประถมศกึ ษาปีที่ ๓ แบบทดสอบกอ่ นเรยี นมีจานวน ๓๐ ขอ้ ๓๐ คะแนน แบ่งเปน็ ๓ ตอน ตอนท่ี ๑ เลือกคาตอบที่ถกู ตอ้ งที่สุด มจี านวน ๑๐ ข้อ ๑๐ คะแนน ตอนท่ี ๒ เขยี นคาตามคาบอก มีจานวน ๑๐ ข้อ ๑๐ คะแนน ตอนท่ี ๓ เตมิ คาในประโยค มีจานวน ๑๐ ข้อ ๑๐ คะแนน สำระกำรเรียนรู้ การเขียนคาควบกลา กิจกรรมกำรเรียนรู้ ขนั้ นำเขำ้ สบู่ ทเรยี น ๑. นักเรียนฟังครแู จง้ จุดประสงค์การเรยี นรเู้ ร่ือง การเขียนคาควบกลา ขัน้ สอน ๑. นกั เรียนและครูกาหนดข้อตกลงร่วมกนั ในการเรียนรู้เร่ือง การเขยี นคาควบกลา ๒. นกั เรยี นฟงั ครแู จง้ เกณฑ์การวัดผลประเมินผลการเรียนรเู้ ร่อื ง การเขียนคาควบกลา ๓. นกั เรยี นทาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน (กอ่ นเรยี น) เรอ่ื ง การเขียน คาควบกลา จานวน ๓ ตอน ตอนละ ๑๐ ข้อ ๑๐ คะแนน รวมคะแนน ๓๐ คะแนน ขน้ั สรปุ ๑. นักเรยี นและครูรว่ มกนั สนทนาว่า คาควบกลา หมายถึง พยัญชนะทค่ี วบกับ ร ล ว ประสมกับสระเดยี วกันออกเสียงควบกลาเปน็ พยางคเ์ ดียว โดยออกเสียงวรรณยกุ ตต์ ามพยญั ชนะ เชน่ กราบ คลาน ความ เปน็ ตน้ ภำระงำน/ชิ้นงำน - สื่อและแหลง่ กำรเรยี นรู้ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน(ก่อนเรยี น)
กำรวัดผลและประเมินผล จุดประสงค์กำรเรยี นรู้ วิธกี ำรวดั เครื่องมอื วัด เกณฑ์กำรประเมนิ ผล ๑.นกั เรียนทาแบบทดสอบ ตรวจแบบทดสอบ ๑.แบบทดสอบวดั ผล ผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๘๐ สมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ขนึ ไป วดั ทักษะการเขยี นคาควบกลา วดั ผลสมั ฤทธิ์ทาง กอ่ นเรียน เร่ือง การเขยี นคาควบกลา กอ่ นเรียนไดถ้ ูกตอ้ ง การเรียนก่อนเรียน ๒.แบบบนั ทกึ คะแนน แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑ์ ได้ระดับ ๒.คณุ ลกั ษณะ สังเกตพฤติกรรม ดา้ นความซ่อื สัตย์ สุจรติ คุณภาพ ๒ (ดี) ขึนไป อันพึงประสงค์ ดา้ นความซ่ือสัตย์ ของนกั เรียน - มคี วามซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต สจุ รติ ของนักเรียน ๓.สมรรถนะสาคัญของ ประเมินสมรรถนะ แบบประเมินสมรรถนะ ผา่ นเกณฑ์ ไดร้ ะดับ ผเู้ รียน สาคญั ของผู้เรียน -ความสามารถในการคิด ดา้ นความสามารถ สาคญั ของผู้เรียน คณุ ภาพ ๒ (ดี) ขนึ ไป ในการคดิ ดา้ นความสามารถ ในการคิด ควำมคดิ เหน็ ของผู้บริหำร ได้ตรวจแผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง การปฐมนเิ ทศ และทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นก่อนเรยี น มคี วามเห็นดงั นี ๑. องคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรียนรู้ครบถ้วน ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรับปรุง ๒. สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวชีวัด ( ) สอดคลอ้ งครอบคลุ ม ( ) ไมส่ อดคลอ้ งไมค่ รอบคลมุ ๓. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ได้เหมาะสม เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรบั ปรุง ๔. การใชส้ อ่ื และนวัตกรรมท่หี ลากหลายและเหมาะสม ( ) ดมี าก ( ) ดี
( ) พอใช้ ( ) ควรปรับปรุง ๕. การวดั ผลประเมินผลเหมาะสม ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรบั ปรุง ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ .............................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................ (.......................................) ผอู้ านวยการโรงเรยี น
บนั ทกึ ผลหลงั กำรเรยี นรู้ นกั เรยี นทังหมด...........คน กำรทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ ำงกำรเรียน (กอ่ นเรยี น) ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ จานวน.............. คน คดิ เป็นร้อยละ ............ ไม่ผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๘๐ จานวน.............. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ............ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ นกั เรียนมคี ณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ด้านความซอ่ื สัตย์ สจุ รติ ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คุณภาพ ๒ ขนึ ไป จานวน.............. คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ............ ไม่ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ ๒ ขนึ ไป จานวน.............. คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ............ ปัญหำและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะและแนวทำงแก้ไข .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ลงช่ือ ............................................. (..................................... )
แบบบนั ทึกคะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรยี นกอ่ นเรียน เร่อื ง กำรเขยี นคำควบกล้ำ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย ชั้นประถมศกึ ษำปที ี่ ๓/๓ ก่อนเรียน สรุปผล ผ่ำน/ไมผ่ ำ่ น เลขท่ี ชอ่ื – สกลุ ตอนท่ี ๑ ตอนที่ ๒ ตอนท่ี๓ รวม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๓๐ 1 ด.ญ. นาซวู า ดือราแม 2 ด.ช. อิรฟาน สาและรี 3 ด.ช. มฮู าหมัดซารีฟ แซเมาะ 4 ด.ญ.นรู ฟาฮาดา สะดะฮง 5 ด.ช.ฟูอดั ดาหาแม 6 ด.ช.มูฮมั หมัดซอฟรั สะอิ 7 ด.ช.ซากีรีน บอื ราเฮง 8 ด.ญ.อาลาวยี ะห์ ซอื รี 9 ด.ญ.มูนฟี ะห์ พวง 10 ด.ญ.วาฟียะห์ อมู าลอ 11 ด.ช.อานัสรยี ์ ฮาแว 12 ด.ช.อิมรอน สแม 13 ด.ช.ฟตั ฮลุ บารี ซิมะเละ 14 ด.ช.มูฮัมหมดั ฟาดลิ ซือนิ 15 ด.ช.นสั รอน เจะ๊ เลา๊ ะ 16 ด.ญ.อานีฟา สนิ 17 ด.ญ. ฟรั ฮานะฮ ลาเต๊ะ 18 ด.ญ.ฟริ ดาวน์ สามะ 19 ด.ช. ฮกิ มตั ิ สะแม 20 ด.ช. มาเฮร์ มอี ามะ 21 ด.ช.มูฮัมหมดั อามนี สาแล เฉลี่ย ร้อยละ เกณฑก์ ำรประเมนิ นกั เรยี นได้คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ (๒๔ คะแนน) ขึนไปถอื ว่าผา่ น
แบบสังเกตคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ควำมซอื่ สตั ย์ สจุ รติ เลขที่ ชอ่ื – สกลุ ซือ่ สัตย์ สุจรติ ผลกำรตดั สนิ ๓๒๑ ผำ่ น/ไมผ่ ่ำน 1 ด.ญ. นาซูวา ดอื ราแม 2 ด.ช. อิรฟาน สาและรี 3 ด.ช. มฮู าหมัดซารฟี แซเมาะ 4 ด.ญ.นรู ฟาฮาดา สะดะฮง 5 ด.ช.ฟอู ดั ดาหาแม 6 ด.ช.มฮู มั หมัดซอฟรั สะอิ 7 ด.ช.ซากรี ีน บอื ราเฮง 8 ด.ญ.อาลาวียะห์ ซือรี 9 ด.ญ.มูนฟี ะห์ พวง 10 ด.ญ.วาฟียะห์ อูมาลอ 11 ด.ช.อานสั รีย์ ฮาแว 12 ด.ช.อิมรอน สแม 13 ด.ช.ฟัตฮุลบารี ซมิ ะเละ 14 ด.ช.มูฮมั หมัดฟาดลิ ซือนิ 15 ด.ช.นัสรอน เจะ๊ เลา๊ ะ 16 ด.ญ.อานีฟา สนิ 17 ด.ญ. ฟัรฮานะฮ ลาเต๊ะ 18 ด.ญ.ฟิรดาวน์ สามะ 19 ด.ช. ฮกิ มัติ สะแม 20 ด.ช. มาเฮร์ มอี ามะ 21 ด.ช.มูฮมั หมดั อามนี สาแล เกณฑก์ ำรประเมนิ คณุ ภำพ ดเี ยีย่ ม ระดับคณุ ภาพ ๓ หมายถงึ ดี ระดับคุณภาพ ๒ หมายถงึ
ระดบั คณุ ภาพ ๑ หมายถงึ พอใช้ เกณฑก์ ำรตัดสิน ไดร้ ะดับคุณภาพ ๒ ขนึ ไปถอื ว่าผ่าน รำยละเอยี ดเกณฑ์กำรสังเกตคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของนักเรยี น ด้ำนควำมซอื่ สตั ย์ สุจริต ประเด็นกำรประเมนิ ๓ ระดับคุณภำพ ๑ ความซ่ือสัตย์สุจรติ ปฏิบตั ติ นตอ่ ตนเอง ปฏบิ ตั ติ นตอ่ ตนเอง และผู้อืน่ ทังทางกาย ๒ และผู้อนื่ ทงั ทางกาย วาจา ใจ ดว้ ยความ ปฏิบัตติ นตอ่ ตนเอง วาจา ใจ ด้วยความ ซอ่ื ตรงอย่เู สมอ และผอู้ นื่ ทงั ทางกาย ซ่อื ตรงเปน็ บางครัง วาจา ใจ ดว้ ยความ ซอื่ ตรง เปน็ ส่วนใหญ่
แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน เลขที่ ชือ่ – สกลุ รำยกำรประเมิน ผลกำรตดั สนิ ควำมสำมำรถในกำรคิด ผ่ำน/ไม่ผ่ำน 1 ด.ญ. นาซวู า ดอื ราแม 2 ด.ช. อริ ฟาน สาและรี เกณฑก์ ำรประเมนิ 3 ด.ช. มฮู าหมดั ซารีฟ แซเมาะ ๓๒๑ 4 ด.ญ.นูรฟาฮาดา สะดะฮง 5 ด.ช.ฟอู ัด ดาหาแม 6 ด.ช.มูฮมั หมดั ซอฟรั สะอิ 7 ด.ช.ซากรี นี บือราเฮง 8 ด.ญ.อาลาวยี ะห์ ซือรี 9 ด.ญ.มนู ีฟะห์ พวง 10 ด.ญ.วาฟียะห์ อมู าลอ 11 ด.ช.อานัสรีย์ ฮาแว 12 ด.ช.อิมรอน สแม 13 ด.ช.ฟัตฮุลบารี ซมิ ะเละ 14 ด.ช.มูฮมั หมดั ฟาดิล ซอื นิ 15 ด.ช.นัสรอน เจะ๊ เล๊าะ 16 ด.ญ.อานฟี า สนิ 17 ด.ญ. ฟัรฮานะฮ ลาเต๊ะ 18 ด.ญ.ฟริ ดาวน์ สามะ 19 ด.ช. ฮิกมตั ิ สะแม 20 ด.ช. มาเฮร์ มีอามะ 21 ด.ช.มฮู ัมหมัดอามนี สาแล เกณฑก์ ำรประเมนิ คณุ ภำพ ดีเย่ยี ม ระดับคณุ ภาพ ๓ หมายถึง
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถงึ ดี ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง พอใช้ เกณฑ์กำรตัดสนิ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๒ ขนึ ไปถอื วา่ ผ่าน รำยละเอียดเกณฑ์กำรประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น ประเด็นกำรประเมนิ ๓ ระดับคุณภำพ ๑ ความสามารถ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ ๒ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ ดา้ นการคดิ มีทักษะการคดิ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ มีทกั ษะการคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ มที กั ษะการคิด อย่างสร้างสรรค์ และสามารถตัดสินใจ อยา่ งสร้างสรรค์ และสามารถตัดสนิ ใจ แก้ปญั หาเกยี่ วกบั และสามารถตัดสนิ ใจ แกป้ ัญหาเกีย่ วกับ ตนเองได้ แก้ปญั หาเกยี่ วกับ ตนเองได้ อยา่ งเหมาะสม ตนเองได้ อย่างเหมาะสม เป็นประจา อยา่ งเหมาะสม เปน็ บางครัง เป็นสว่ นใหญ่
แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย ชนั้ ประถมศึกษำปที ่ี ๓/๓ ภำคเรยี นท่ี ๑ / ๒๕๖๕ หน่วยที่ ๖ กำรเขียนคำควบกลำ้ เวลำเรียน ๑๘ ช่วั โมง แผนกำรจัดกำรเรียนรทู้ ่ี ๒ กำรเขียนคำควบกล้ำ กร กล กว เวลำเรียน ๑ ชัว่ โมง สอนวันท่ี ๑๘ พฤษภำคม ๒๕๖๕ มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ / ตวั ช้วี ดั สำระท่ี ๒ กำรเขียน มำตรฐำน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขยี นสื่อสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเรือ่ งราวใน รูปแบบต่างๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้า อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ตวั ชวี้ ดั ท ๒.๑ ป.๓/๕ เขยี นเรื่องตามจินตนาการ ท ๒.๑ ป.๓/๖ มีมารยาทในการเขยี น สำระท่ี ๔ หลกั กำรใช้ภำษำไทย มำตรฐำน ท๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและ พลังของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ขิ องชาติ ตัวชวี้ ัด ท ๔.๑ ป.๓/๑ เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ ๒. เขียนคาอ่านคาควบกลา กร กล กว ได้ถกู ตอ้ ง ๓. บอกความหมายของคาควบกลา กร กล กว ได้ถกู ต้อง ๔. เขียนคาควบกลา กร กล กวไดถ้ ูกตอ้ ง ๕. นักเรียนมีมารยาทในการเขียนคาควบกลา กร กล กว คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๒. นกั เรียนมีวนิ ยั สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ๒. ความสามารถในการสือ่ สาร
๓. ความสามารถในการคดิ สำระสำคญั คาควบกลา กร กล กว คือ คาทีม่ ีพยญั ชนะ ๒ ตวั เรียงกนั พยัญชนะตัวหนา้ เปน็ ก พยญั ชนะตวั หลังเปน็ ร ล ว อา่ นออกเสยี งควบกลา โดยออกเสียงวรรณยกุ ตต์ ามพยัญชนะตวั หน้า เชน่ กราบ กลัว แกว่ง เปน็ ต้น สำระกำรเรยี นรู้ ๑. การเขยี นคาอา่ นคาควบกลา กร กล กว ๒. การบอกความหมายคาควบกลา กร กล กว ๓. การเขยี นคาควบกลา กร กล กว กิจกรรมกำรเรยี นรู้ ข้นั นำเขำ้ สูบ่ ทเรียน ๒. นกั เรียนรว่ มกนั ร้องเพลง “คาควบกลา” โดยรอ้ งตามครูทีละวรรคพรอ้ มกับทาทา่ ทาง ประกอบเพลง ๑ - ๒ รอบ ขัน้ สอน ๑. นักเรียนและครูร่วมกนั สนทนาถงึ ความหมายของคาควบกลาว่า คาควบกลา หมายถงึ พยัญชนะที่ควบกบั ร ล ว ประสมกบั สระเดียวกันออกเสยี งควบกลาเป็นพยางคเ์ ดยี ว โดยออกเสยี งวรรณยกุ ต์ตาม พยัญชนะตัวหน้า จากนันร่วมกนั ยกตัวอย่างคาควบกลาจากเนอื เพลง ไดแ้ ก่ คลัง่ ไคล้ กวดั แกว่ง ไกว เกลียว กลม ไขวค่ วา้ ตรอมตรม หมอง ครอง ปราบปราม เคลือ่ น คลาด หวาดกลวั ไกล ขวัญ เคลยี คลอ เปน็ ตน้ ๒. ครูนาบัตรคาควบกลา กร กล กว ตดิ บนกระดาน ได้แกค่ าวา่ กลม เกลยี ว กวัดแกวง่ กวา้ ง เกล่ือนกลาด เกวียน เกรงกลวั กราบ กรฑี า กวาด กลอน ๓. นกั เรียนอ่านออกเสียงบตั รคาตามครทู ีละคา จากนนั ใหน้ ักเรียนสังเกตบัตรและร่วมกนั ตอบคาถาม ดังนี - บัตรคาทต่ี ดิ บนกระดานนีมีพยัญชนะต้นกต่ี วั ( ๒ ตวั ) - พยัญชนะตน้ ตวั แรกเปน็ ตัวอะไร ( ก ) - พยัญชนะตน้ ตัวท่ี ๒ มีพยัญชนะตวั ใดบ้าง ( ร ล ว ) - พยัญชนะต้นทัง ๒ ตัว ออกเสยี งพรอ้ มกนั หรือไม่ ( พรอ้ มกนั ) ๔. แบง่ นกั เรียนออกเป็น ๗ กลมุ่ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ศกึ ษาใบความรู้
“คาควบกลา กร กล กว” ในแบบฝกึ ทกั ษะพัฒนาการเขียนคาควบกลา ๕. นกั เรยี นและครูร่วมกนั อธบิ ายความหมายของคาควบกลา กร กล กว ว่าคือ คาทม่ี ี พยญั ชนะต้น ๒ ตวั เรียงกัน พยญั ชนะตน้ ตัวแรกเปน็ ก พยญั ชนะตน้ ตวั ท่ี ๒ เป็น ร ล ว ประสมสระเดียวกนั อา่ นออก เสียงพยัญชนะต้นควบกลาพร้อมกัน โดยออกเสียงวรรณยุกตต์ ามพยญั ชนะตัวหนา้ เช่น เกลอ่ื นกลาด เกรงกลวั เปน็ ตน้ ๖. นกั เรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกันยกตัวอยา่ งคาควบกลา กร กล กว กลมุ่ ละ ๕ คา โดยเขียนในกระดาษที่ครแู จกให้ ระบายสีตกแต่งผลงานให้สวยงาม ครสู อดแทรกคุณธรรมเรือ่ ง การทางานร่วมกนั ว่าต้องรู้จกั ยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ซึ่งกนั และกันงานจงึ จะสาเร็จด้วยดี ๗. นกั เรียนแต่ละกลุม่ นาผลงานออกมานาเสนอหนา้ ชันเรียน โดยนากระดาษออกมาติดบน กระดานพรอ้ มกบั อา่ นใหเ้ พ่ือนในชนั ฟังพร้อมๆกัน นักเรียนและครูร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ๘. นักเรยี นทาแบบฝึกทักษะท่ี ๑ โดยเขยี นคาอา่ นคาควบกลา กร กล กว จานวน ๑๐ ข้อ ๙. นักเรียนทาแบบฝกึ ทักษะท่ี ๒ โดยเขียนคาควบกลา กร กล กว ท่ีมีความหมายตรงกบั รปู ภาพ จานวน ๑๐ ข้อ ๑๐. นกั เรียนทาแบบฝกึ ทกั ษะที่ ๓ โดยเรยี งพยญั ชนะและสระใหเ้ ปน็ คาควบกลา กร กล กว ท่ีมคี วามหมาย จานวน ๑๐ ข้อ ขนั้ สรปุ ๑. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรูเ้ รื่องคาควบกลา กร กล กว วา่ คือ คาทม่ี ีพยัญชนะต้น ๒ ตัวเรยี งกนั พยัญชนะต้นตวั แรกเปน็ ก พยัญชนะตน้ ตวั ท่ี ๒ เป็น ร ล ว ประสมสระเดียวกัน อ่านออกเสยี งพยญั ชนะต้นควบกลา พร้อมกนั โดยออกเสียงวรรณยุกต์ตามพยญั ชนะตวั หนา้ เช่น เกล่อื นกลาด เกรงกลัว เปน็ ตน้ ภำระงำน/ช้ินงำน - ส่อื และแหลง่ กำรเรยี นรู้ ๑. เพลงคาควบกลา ๒. บัตรคาควบกลา กร กล กว ๓. แบบฝึกทกั ษะพฒั นาการเขยี นคาควบกลา เล่มท่ี ๑ ชวนจดจา...คาควบกลา กร กล กว
กำรวดั ผลและประเมินผล จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้ วิธกี ำรวดั เครอื่ งมือวดั เกณฑ์กำรประเมนิ ผล ๑. เขยี นคาอา่ นคาควบกลา ตรวจแบบฝึกทักษะ แบบบันทึกคะแนน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ กร กล กว ไดถ้ กู ตอ้ ง การตรวจแบบฝึก ขึนไป ๒. บอกความหมาย คาควบกลา กร กล กว ไดถ้ ูกตอ้ ง ๓.เขยี นคาควบกลา กร กล กว ได้ถกู ต้อง ๔.นักเรียนมมี ารยาทใน สงั เกตมารยาทใน แบบสังเกตมารยาทใน ผา่ นเกณฑ์ ได้ระดับ การเขียนคาควบกลา การเขียน กร กล กว การเขยี น คณุ ภาพ ๒ (ด)ี ขนึ ไป สงั เกตพฤตกิ รรม ๕.คุณลักษณะ ดา้ นความมวี ินัย แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑ์ ไดร้ ะดบั อันพึงประสงค์ ดา้ นความมวี นิ ัย คุณภาพ ๒ (ด)ี ขนึ ไป - มีวินัย ๖.สมรรถนะสาคัญของ ประเมินสมรรถนะ แบบประเมนิ สมรรถนะ ผา่ นเกณฑ์ ไดร้ ะดบั ผเู้ รียน คุณภาพ ๒ (ดี) ขึนไป -ความสามารถใน สาคัญของผ้เู รียน สาคัญของผูเ้ รียน การส่ือสาร -ความสามารถในการคิด ด้านความสามารถ ด้านความสามารถ ในการสือ่ สาร และ ในการสอ่ื สาร และ ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการคดิ
ควำมคิดเห็นของผู้บริหำร ไดต้ รวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง การเขยี น คาควบกลา กร กล กว มีความเห็นดงั นี ๑. องคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรยี นรคู้ รบถ้วน ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรบั ปรุง ๒. สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชวี ดั ( ) สอดคล้องครอบคลุ ม ( ) ไม่สอดคล้องไม่ครอบคลมุ ๓. การจดั กิจกรรมการเรียนรไู้ ดเ้ หมาะสม เนน้ ผ้เู รียนเป็นสาคญั ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรบั ปรุง ๔. การใช้ส่อื และนวตั กรรมทีห่ ลากหลายและเหมาะสม ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรบั ปรุง ๕. การวดั ผลประเมินผลเหมาะสม ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรบั ปรุง ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ .............................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ลงช่อื ............................................ (.........................................) ผู้อานวยการโรงเรียน.......................................
บนั ทึกผลหลงั กำรเรียนรู้ นกั เรียนทงั หมด...........คน จดุ ประสงคข์ ้อ ๑ เขียนคาอา่ นคาควบกลา กร กล กว ไดถ้ ูกต้อง ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ ๘๐ จานวน.............. คน คิดเปน็ ร้อยละ ............ ไม่ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ ๘๐ จานวน.............. คน คิดเป็นร้อยละ ............ จุดประสงค์ข้อ ๒ บอกความหมายคาควบกลา กร กล กว ได้ถูกตอ้ ง ผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๘๐ จานวน.............. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ............ ไมผ่ า่ นเกณฑร์ อ้ ยละ ๘๐ จานวน.............. คน คิดเปน็ ร้อยละ ............ จดุ ประสงค์ข้อ ๓ เขยี นคาควบกลา กร กล กว ได้ถกู ต้อง ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ ๘๐ จานวน.............. คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ............ ไม่ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ จานวน.............. คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ............ จุดประสงค์ข้อ ๔ นักเรยี นมมี ารยาทในการเขยี นคาควบกลา กร กล กว ผ่านเกณฑ์ ระดับคณุ ภาพ ๒ ขนึ ไป จานวน.............. คน คดิ เปน็ ร้อยละ ............ ไม่ผ่านเกณฑ์ ระดบั คุณภาพ ๒ ขึนไป จานวน.............. คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ............ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคด์ า้ นมวี นิ ยั ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ ๒ ขึนไป จานวน.............. คน คดิ เปน็ ร้อยละ ............ ไมผ่ า่ นเกณฑ์ ระดับคณุ ภาพ ๒ ขนึ ไป จานวน.............. คน คิดเป็นรอ้ ยละ ............ ปญั หำและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะและแนวทำงแก้ไข .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ลงชื่อ ............................................. (......................................... )
แบบบนั ทึกคะแนนทดสอบก่อนเรยี น กล่มุ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย ชั้นประถมศกึ ษำปที ่ี ๓/๓ เลขท่ี ชอ่ื - สกลุ กอ่ นเรยี น สรุปผล ๑๐ คะแนน ผ่ำน/ไมผ่ ่ำน 1 ด.ญ. นาซวู า ดือราแม 2 ด.ช. อริ ฟาน สาและรี 3 ด.ช. มูฮาหมัดซารีฟ แซเมาะ 4 ด.ญ.นรู ฟาฮาดา สะดะฮง 5 ด.ช.ฟูอัด ดาหาแม 6 ด.ช.มูฮัมหมดั ซอฟรั สะอิ 7 ด.ช.ซากรี ีน บือราเฮง 8 ด.ญ.อาลาวียะห์ ซอื รี 9 ด.ญ.มูนีฟะห์ พวง 10 ด.ญ.วาฟยี ะห์ อูมาลอ 11 ด.ช.อานัสรีย์ ฮาแว 12 ด.ช.อิมรอน สแม 13 ด.ช.ฟัตฮลุ บารี ซิมะเละ 14 ด.ช.มฮู ัมหมดั ฟาดิล ซือนิ 15 ด.ช.นสั รอน เจะ๊ เลา๊ ะ 16 ด.ญ.อานีฟา สนิ 17 ด.ญ. ฟัรฮานะฮ ลาเตะ๊ 18 ด.ญ.ฟิรดาวน์ สามะ 19 ด.ช. ฮิกมัติ สะแม 20 ด.ช. มาเฮร์ มีอามะ 21 ด.ช.มฮู มั หมัดอามนี สาแล รอ้ ยละ เกณฑ์กำรประเมนิ นกั เรียนไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๘๐ (๘ คะแนน) ขึนไปถือว่าผา่ น
แบบบนั ทกึ คะแนนแบบฝึกทักษะของนักเรยี น กลุ่มสำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย ช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๓/๓ รำยกำรประเมิน เลขที่ ชื่อ – สกุล แบบฝึกทักษะที่ รวม ผลกำรตัดสิน ๑ ๒๓ ผ่ำน/ไม่ผ่ำน ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๓๐ 1 ด.ญ. นาซวู า ดือราแม 2 ด.ช. อริ ฟาน สาและรี 3 ด.ช. มฮู าหมดั ซารีฟ แซเมาะ 4 ด.ญ.นรู ฟาฮาดา สะดะฮง 5 ด.ช.ฟูอัด ดาหาแม 6 ด.ช.มูฮมั หมัดซอฟรั สะอิ 7 ด.ช.ซากรี ีน บอื ราเฮง 8 ด.ญ.อาลาวยี ะห์ ซือรี 9 ด.ญ.มูนฟี ะห์ พวง 10 ด.ญ.วาฟยี ะห์ อูมาลอ 11 ด.ช.อานสั รีย์ ฮาแว 12 ด.ช.อิมรอน สแม 13 ด.ช.ฟตั ฮุลบารี ซมิ ะเละ 14 ด.ช.มูฮมั หมัดฟาดิล ซือนิ 15 ด.ช.นัสรอน เจ๊ะเล๊าะ 16 ด.ญ.อานีฟา สนิ 17 ด.ญ. ฟัรฮานะฮ ลาเต๊ะ 18 ด.ญ.ฟิรดาวน์ สามะ 19 ด.ช. ฮิกมตั ิ สะแม 20 ด.ช. มาเฮร์ มอี ามะ 21 ด.ช.มฮู ัมหมัดอามนี สาแล เกณฑก์ ำรตัดสิน นกั เรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ ๘๐ ขึนไป (คะแนน ๒๔ คะแนนขนึ ไป)
รำยละเอยี ดเกณฑ์กำรให้คะแนนกำรตรวจแบบฝกึ ประเด็นกำรประเมนิ เกณฑ์กำรใหค้ ะแนน แบบฝึกทกั ษะท่ี ๑ เขยี นคาอา่ นคาควบกลา กร กล กว จานวน ๑๐ ขอ้ แบบฝึกทักษะที่ ๒ -เขียนคาอ่านได้ถกู ตอ้ ง ให้คะแนนขอ้ ละ ๑ คะแนน แบบฝึกทักษะที่ ๓ -เขยี นคาอา่ นไมถ่ กู ตอ้ ง ให้คะแนนขอ้ ละ ๐ คะแนน เขียนทม่ี คี วามหมายตรงกบั รูปภาพ จานวน ๑๐ ขอ้ -เขยี นคาไดถ้ กู ตอ้ ง ใหค้ ะแนนข้อละ ๑ คะแนน -เขียนคาไมถ่ ูกต้อง ใหค้ ะแนนขอ้ ละ ๐ คะแนน เรียงพยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ตเ์ ปน็ คาทมี่ ีความหมาย จานวน ๑๐ ข้อ -เรยี งพยญั ชนะและสระได้ถกู ตอ้ ง ใหค้ ะแนนข้อละ ๑ คะแนน -เรียงพยญั ชนะและสระไมถ่ ูกต้อง ให้คะแนนข้อละ ๐ คะแนน
แบบสงั เกตมำรยำทในกำรเขียน ช้นั ประถมศึกษำปีท่ี ๓ กล่มุ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย เลขท่ี ชอ่ื – สกุล มำรยำทในกำรเขยี น ผลกำรตัดสิน ๓ ๒ ๑ ผำ่ น/ไมผ่ ่ำน 1 ด.ญ. นาซูวา ดอื ราแม 2 ด.ช. อริ ฟาน สาและรี 3 ด.ช. มูฮาหมัดซารฟี แซเมาะ 4 ด.ญ.นรู ฟาฮาดา สะดะฮง 5 ด.ช.ฟูอัด ดาหาแม 6 ด.ช.มูฮัมหมัดซอฟรั สะอิ 7 ด.ช.ซากรี ีน บอื ราเฮง 8 ด.ญ.อาลาวียะห์ ซอื รี 9 ด.ญ.มนู ฟี ะห์ พวง 10 ด.ญ.วาฟียะห์ อมู าลอ 11 ด.ช.อานสั รยี ์ ฮาแว 12 ด.ช.อมิ รอน สแม 13 ด.ช.ฟตั ฮุลบารี ซมิ ะเละ 14 ด.ช.มูฮัมหมดั ฟาดิล ซือนิ 15 ด.ช.นัสรอน เจะ๊ เล๊าะ 16 ด.ญ.อานีฟา สนิ 17 ด.ญ. ฟัรฮานะฮ ลาเต๊ะ 18 ด.ญ.ฟริ ดาวน์ สามะ 19 ด.ช. ฮกิ มัติ สะแม 20 ด.ช. มาเฮร์ มอี ามะ 21 ด.ช.มูฮมั หมัดอามนี สาแล เกณฑ์กำรประเมนิ คุณภำพ ดีเยย่ี ม ระดับคณุ ภาพ ๓ หมายถงึ
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถงึ ดี ระดับคณุ ภาพ ๑ หมายถึง พอใช้ เกณฑก์ ำรตดั สิน ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๒ ขนึ ไปถอื วา่ ผา่ น รำยละเอียดเกณฑ์กำรสังเกตมำรยำทในกำรเขียนของนกั เรียน ประเด็นกำรประเมนิ ระดบั คุณภำพ ๑ มารยาทในการเขยี น เขียนโดยใช้ภาษาท่ี ๓๒ สุภาพถูกตอ้ งตามหลกั เขียนโดยใช้ภาษาที่ เขียนโดยใชภ้ าษาที่ ภาษาไทย เขียนด้วย สภุ าพถกู ตอ้ งตามหลกั สภุ าพถูกต้องตามหลกั ลายมอื ทอี่ า่ นงา่ ย ภาษาไทย เขยี นด้วย ภาษาไทย เขยี นดว้ ย สะอาดเปน็ ระเบียบ ลายมือทอ่ี า่ นง่าย ลายมอื ทอี่ ่านงา่ ย เรียบรอ้ ยเปน็ บางครัง สะอาดเป็นระเบียบ สะอาดเปน็ ระเบยี บ เรียบร้อยเป็นประจา เรยี บร้อยเปน็ สว่ นใหญ่ สม่าเสมอ
แบบสงั เกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ดำ้ นมีวนิ ยั กลุ่มสำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย ช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี ๓ เลขท่ี ชือ่ – สกลุ รำยกำรสงั เกต ผลกำรตดั สนิ ควำมมีวินัย ผำ่ น/ไม่ผ่ำน 1 ด.ญ. นาซูวา ดือราแม 2 ด.ช. อริ ฟาน สาและรี ๓๒๑ 3 ด.ช. มูฮาหมดั ซารฟี แซเมาะ 4 ด.ญ.นูรฟาฮาดา สะดะฮง 5 ด.ช.ฟูอัด ดาหาแม 6 ด.ช.มูฮมั หมดั ซอฟัร สะอิ 7 ด.ช.ซากรี นี บอื ราเฮง 8 ด.ญ.อาลาวียะห์ ซือรี 9 ด.ญ.มนู ีฟะห์ พวง 10 ด.ญ.วาฟยี ะห์ อูมาลอ 11 ด.ช.อานสั รยี ์ ฮาแว 12 ด.ช.อมิ รอน สแม 13 ด.ช.ฟตั ฮลุ บารี ซิมะเละ 14 ด.ช.มฮู มั หมัดฟาดลิ ซอื นิ 15 ด.ช.นสั รอน เจะ๊ เลา๊ ะ 16 ด.ญ.อานฟี า สนิ 17 ด.ญ. ฟรั ฮานะฮ ลาเตะ๊ 18 ด.ญ.ฟริ ดาวน์ สามะ 19 ด.ช. ฮกิ มัติ สะแม 20 ด.ช. มาเฮร์ มีอามะ 21 ด.ช.มูฮัมหมัดอามนี สาแล เกณฑ์กำรประเมนิ คุณภำพ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถงึ ดีเยี่ยม ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี
เกณฑก์ ำรตดั สิน ระดบั คุณภาพ ๑ หมายถึง พอใช้ ได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึนไปถอื วา่ ผา่ น รำยละเอียดเกณฑก์ ำรสังเกตคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของนกั เรยี นดำ้ นมวี ินัย ประเด็นกำรประเมนิ ๓ ระดบั คุณภำพ ๑ มวี ินยั นักเรียนปฏิบตั ิตาม ๒ นักเรียนปฏิบตั ติ าม ขอ้ ตกลงของหอ้ งเรยี น นกั เรยี นปฏิบตั ติ าม ขอ้ ตกลงของหอ้ งเรียน มคี วามรับผดิ ชอบใน ข้อตกลงของห้องเรียน มีความรับผดิ ชอบใน การทางาน แตง่ กาย มคี วามรับผิดชอบใน การทางาน แต่งกาย ถกู ต้องตามระเบียบ การทางาน แต่งกาย ถูกต้องตามระเบยี บ ของโรงเรียนและสง่ ถกู ตอ้ งตามระเบียบ ของโรงเรียนและสง่ งานตรงเวลา อย่าง ของโรงเรียนและส่ง งานตรงเวลา สม่าเสมอ งานตรงเวลา เป็นบางครัง เป็นส่วนใหญ่
แบบสังเกตสมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น กลมุ่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย ช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี ๓ รำยกำรสังเกต ควำมสำมำรถ ควำมสำมำรถ ส ุรปผล กำรประเมิน เลขท่ี ชือ่ – สกุล ในกำรส่อื สำร ในกำรคิด 1 ด.ญ. นาซวู า ดือราแม เกณฑ์กำรประเมนิ เกณฑก์ ำรประเมนิ 2 ด.ช. อริ ฟาน สาและรี 3 ด.ช. มฮู าหมัดซารีฟ แซเมาะ ๓๒๑๓๒๑ 4 ด.ญ.นรู ฟาฮาดา สะดะฮง 5 ด.ช.ฟูอัด ดาหาแม 6 ด.ช.มูฮัมหมัดซอฟัร สะอิ 7 ด.ช.ซากรี นี บอื ราเฮง 8 ด.ญ.อาลาวยี ะห์ ซือรี 9 ด.ญ.มูนฟี ะห์ พวง 10 ด.ญ.วาฟียะห์ อมู าลอ 11 ด.ช.อานัสรยี ์ ฮาแว 12 ด.ช.อิมรอน สแม 13 ด.ช.ฟัตฮลุ บารี ซิมะเละ 14 ด.ช.มฮู ัมหมดั ฟาดลิ ซือนิ 15 ด.ช.นสั รอน เจ๊ะเลา๊ ะ 16 ด.ญ.อานฟี า สนิ 17 ด.ญ. ฟรั ฮานะฮ ลาเต๊ะ 18 ด.ญ.ฟิรดาวน์ สามะ 19 ด.ช. ฮิกมัติ สะแม 20 ด.ช. มาเฮร์ มอี ามะ 21 ด.ช.มูฮัมหมดั อามนี สาแล
เกณฑก์ ำรตัดสนิ ได้ระดบั คุณภาพ ๒ ขนึ ไปถอื วา่ ผา่ น รำยละเอยี ดเกณฑ์กำรสงั เกตสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน ประเดน็ กำรประเมนิ ๓ ระดบั คณุ ภำพ ๑ ความสามารถ ถา่ ยทอดความรู้ ในการสื่อสาร ถา่ ยทอดความรู้ ๒ ความคิดและความเข้าใจ ความคดิ และความ ถา่ ยทอดความรู้ ของตนเองโดยใชภ้ าษา ความสามารถ เขา้ ใจของตนเองโดย ความคิดและความ ได้อยา่ งเหมาะสมเปน็ ในการคิด ใช้ภาษาได้อยา่ ง เข้าใจของตนเองโดย บางครัง เหมาะสมเป็นประจา ใช้ภาษาไดอ้ ยา่ ง สมา่ เสมอ เหมาะสมเป็น มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน สว่ นใหญ่ การคดิ อยา่ งมี การคดิ อย่างมี มคี วามสามารถใน วจิ ารณญาณ คิดอยา่ ง วิจารณญาณ คดิ อยา่ ง การคิดอยา่ งมี สร้างสรรค์ และ สรา้ งสรรค์ และ วิจารณญาณ คดิ อยา่ ง ตดั สนิ ใจแกป้ ญั หา ตัดสินใจแกป้ ญั หา สรา้ งสรรค์ และ ได้อย่างเหมาะสม ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมเป็น ตัดสินใจแกป้ ญั หา เปน็ บางครงั ประจาสม่าเสมอ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เป็นส่วนใหญ่
ภำคผนวก
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336