แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 1 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 2 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 3 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 4 ความนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสถานศึกษาทั่วประเทศ โรงเรียนเทิงวิทยาคมไดร้ ับคัดเลือกจากสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ให้เป็นโรงเรียนประเภทที่ 1 เป็นโรงเรียนแกนนำการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยเริ่มใช้ในปีการศึกษา 2552 ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 และในปี การศึกษา 2553 โรงเรียนได้รับการยกระดับขึ้นเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล (WORLD – CLASS STANDARD SCHOOL) โรงเรียนเทิงวิทยาคมได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรียนมาตรฐานสากล (WORLD – CLASS STANDARD SCHOOL) พุทธศักราช 2553 และเร่ิมใช้หลกั สูตรสถานศึกษามาจนถงึ ปจั จุบนั โดยมกี ารพัฒนาปรบั ปรุงอย่างตอ่ เน่อื ง ในปกี ารศึกษา 2559 โรงเรยี นเทิงวทิ ยาคม ไดพ้ ฒั นาปรบั ปรุงหลักสตู รสถานศึกษาเป็นคร้ังที่ 3 และได้ ประกาศใช้เป็นหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล (WORLD – CLASS STANDARD SCHOOL) โรงเรียนเทงิ วทิ ยาคม อำเภอเทงิ จังหวัดเชียงราย สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เชียงราย ในปีการศึกษา 2561 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ปรับปรุงตัวชี้วัดและสาระการ เรยี นรู้แกนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงได้ทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 ) ขึ้น กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 5 โรงเรยี นเทิงวทิ ยาคม วิสยั ทศั น์ (Vision) โรงเรียนคุณภาพมาตรฐานสากล บนพนื้ ฐานของความเปน็ ไทย (Quality school leads to world class standard based on the Thainess) พนั ธะกิจ (Mission) 1. พัฒนาผ้เู รยี นให้มีคุณลักษณะตามค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ และมุง่ เน้นคณุ ภาพและ คณุ ลกั ษณะตามหลกั ปรัชญาของโรงเรยี น 2. พฒั นาผเู้ รยี นให้มศี ักยภาพเป็นพลโลก มีความเป็นเลิศทางวิชาการ สื่อสารสองภาษา ล้ำหน้าทาง ความคดิ ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์ รว่ มกันรบั ผิดชอบตอ่ สังคมโลก 3. ยกระดับการบริหารจดั การด้วยระบบคุณภาพ (Quality System Management) โดยส่งเสรมิ ให้ พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่อื การบรหิ ารจดั การและพัฒนาอาคารสถานท่ี สง่ิ แวดล้อมเอ้อื ตอ่ การเป็นสงั คมแห่ง การเรียนรู้ 4. พฒั นาหลกั สตู ร กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล และพัฒนาสถานศกึ ษาสชู่ ุมชน แห่งการเรยี นรู้ 5. ยกระดับการจัดการเรยี นการสอนเทยี บเคียงหลกั สตู รมาตรฐานสากล (Word – Class Standard Curriculum and Instruction) เป้าประสงค์ (Goal) 1. ผู้เรยี นใหม้ คี ณุ ลักษณะตามค่านยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ และมุ่งเน้นคณุ ภาพและคณุ ลกั ษณะ ตามปรัชญาของโรงเรียน 2. ผูเ้ รียนมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานหลักสูตรที่สถานศึกษากำหนด มศี ักยภาพเป็นพลโลก มีความเป็นเลศิ ทางวิชาการ ส่ือสารสองภาษา ล้ำหนา้ ทางความคิด ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์ ร่วมกันรบั ผิดชอบต่อสังคมโลก 3. โรงเรียนมีการบริหารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพ (Quality System Management) โดยส่งเสริมให้ พัฒนาระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารจัดการและพัฒนาอาคารสถานที่ ส่งิ แวดล้อมเอ้ือตอ่ การเปน็ สังคมแห่ง การเรียนรู้ 4. โรงเรียนมีหลกั สูตรสถานศึกษา กระบวนการเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล และพัฒนา สถานศึกษาสู่ชุมชนแห่งการเรียนรู้ 5. โรงเรยี นมีการจดั การเรยี นการสอนที่เช่ือมโยงกบั บรบิ ทของชุมชนและทอ้ งถ่นิ โดยนำหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง สวนพฤกษศาสตร์ มาบูรณาการในการจัดการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊
แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 6 6. โรงเรียนพฒั นาสอ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยที มี่ ีประสิทธภิ าพ มแี หลง่ เรียนรู้ และสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อ การเรียนรอู้ ยา่ งมีคุณภาพและปลอดภัย 7. โรงเรยี นได้รับการสนบั สนนุ ในการจัดการศึกษาจากเครอื ข่ายผูเ้ ก่ยี วข้อง ผ้ปู กครอง คณะกรรมการ สถานศึกษา ชุมชน / ทอ้ งถน่ิ และผู้มสี ว่ นเกีย่ วข้องใหก้ ารสนบั สนุนระบบการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา 8. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษายกระดบั การจดั การเรยี นการสอนเทยี บเคยี งหลกั สตู รมาตรฐานสากล (World Class Standard Curriculum and Instruction) 9. ครูและบคุ ลากรในโรงเรยี นให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ สร้างสรรค์นวัตกรรมการศึกษาแลกเปลย่ี น เรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาการจัดการเรยี นรู้ กลยทุ ธ์โรงเรียน (Strategy) กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตามค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และ มุ่งเน้นคุณภาพและคุณลกั ษณะตามปรชั ญาของโรงเรยี น กลยุทธ์ที่ 2 จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานหลักสูตรที่สถานศึกษากำหนด มีศักยภาพ เป็นพลโลก มคี วามเป็นเลิศทางวชิ าการ ส่ือสารสองภาษา ลำ้ หนา้ ทางความคิด ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกัน รบั ผิดชอบตอ่ สังคมโลก กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ (Quality System Management) โดยส่งเสริมให้พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและพัฒนาอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการ เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ กลยุทธท์ ่ี 4 พฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมินผล และพัฒนา สถานศกึ ษาสชู่ ุมชนแหง่ การเรียนรู้ กลยุทธท์ ี่ 5 โรงเรียนมกี ารจดั การเรยี นการสอนท่ีเชือ่ มโยงกับบริบทของชุมชน และทอ้ งถ่ิน โดยนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สวนพฤกษศาสตร์ มาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ 6 การพัฒนาสอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยีที่มีประสทิ ธภิ าพ มแี หลง่ เรียนรู้ และสภาพแวดล้อม ที่เออ้ื ต่อการเรียนรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพและปลอดภัย กลยุทธ์ที่ 7 สนับสนุนการจัดการศึกษาจากเครือข่ายผู้เกี่ยวข้องผู้ปกครอง และคณะกรรมการ สถานศึกษา ชมุ ชน/ท้องถ่นิ และผู้มีส่วนเก่ียวข้องใหก้ ารสนบั สนนุ ระบบการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา กลยุทธ์ที่ 8 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษายกระดับการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงสูตร มาตรฐานสากล (World Class Standard Curriculum and Instruction) กลยุทธ์ที่ 9 พัฒนาครูและบุคลากรในโรงเรียนให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ สร้างสรรค์นวัตกรรม การศกึ ษาแลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ พอ่ื พัฒนาการจดั การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีท่ี 4 7 ปณธิ าน (Determination) “สร้างคนดี คนเก่ง สสู่ ังคมโลก” (Create good and intelligent person for a good world society) อัตลกั ษณโ์ รงเรยี นเทิงวิทยาคม (Identity of Thoengwittayakhom School) “เรยี นดี มวี ินัย ใจกตัญญู สู่สังคมโลก” เอกลักษณโ์ รงเรยี นเทงิ วิทยาคม ( Uniqueness of Thoengwittayakhom School) “สดสวยดว้ ยภูมิทศั น”์ (Beautiful landscapes) กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เปา้ หมายของวิทยาศาสตร์ ในการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรม์ งุ่ เน้นใหผ้ เู้ รียนได้ค้นพบความรูด้ ้วยตนเองมากทสี่ ดุ เพอื่ ให้ได้ทั้ง กระบวนการและความรจู้ ากวิธกี ารสงั เกต การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนำผลท่ีได้ มาจดั ระบบเปน็ หลกั การ แนวคิด และองค์ความรู้ การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรจ์ ึงมเี ปา้ หมายทส่ี ำคัญ ดงั นี้ 1. เพื่อให้เข้าใจหลกั การ ทฤษฎแี ละกฎทเ่ี ป็นพนื้ ฐานในวิชาวิทยาศาสตร์ 2. เพื่อใหเ้ ข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวทิ ยาศาสตร์และข้อจำกัดในการศึกษา วชิ าวิทยาศาสตร์ 3. เพอื่ ให้มีทักษะทสี่ ำคญั ในการศกึ ษาค้นคว้าและคิดค้นทางเทคโนโลยี 4. เพ่ือใหต้ ระหนักถงึ ความสัมพันธร์ ะหว่างวชิ าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีมวลมนษุ ย์ และสภาพแวดลอ้ ม ในเชงิ ท่มี อี ิทธิพลและผลกระทบซง่ึ กันและกนั 5. เพอ่ื นำความรู้ความเขา้ ใจ ในวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยไี ปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ ต่อสังคมและ การดำรงชีวิต 1. เพ่ือพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหา และ การจดั การ ทักษะ ในการสื่อสาร และความสามารถในการตดั สนิ ใจ 7. เพื่อใหเ้ ปน็ ผู้ที่มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ มคี ุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์ เรยี นรอู้ ะไรในวิทยาศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรม์ ่งุ หวงั ใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รยี นรู้วิทยาศาสตร์ ทเ่ี นน้ การ เช่ือมโยงความร้กู บั กระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้และ แก้ปญั หาทีห่ ลากหลาย ให้ผเู้ รียนมสี ว่ นรว่ มในการเรียนรู้ ทุกขน้ั ตอน มีการทำกิจกรรมดว้ ยการลงมอื ปฏิบตั ิจรงิ อยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชนั้ โดยกำหนดสาระสำคญั ดังนี้ ✧ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ เรียนรเู้ ก่ียวกับ ชวี ิตในส่งิ แวดลอ้ ม องค์ประกอบของสง่ิ มีชวี ติ การดำรงชวี ติ ของมนุษยแ์ ละสตั วก์ ารดำรงชีวติ ของพืช พนั ธุกรรม ความหลากหลายทางชวี ภาพ และวิวัฒนาการของส่งิ มชี ีวติ ✧ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ เรยี นรเู้ กีย่ วกับ ธรรมชาตขิ องสาร การเปลย่ี นแปลงของสาร การเคล่ือนท่ี พลงั งาน และคลื่น กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 9 ✧ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ เรยี นรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏสิ ัมพนั ธ์ ภายในระบบ สุรยิ ะ เทคโนโลยอี วกาศ ระบบโลก การเปลยี่ นแปลงทางธรณีวทิ ยา กระบวนการ เปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ และผลต่อส่งิ มชี ีวิตและสงิ่ แวดล้อม ✧ เทคโนโลยี การออกแบบและเทคโนโลยีเรียนรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิต ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อยา่ งรวดเรว็ ใช้ความร้แู ละทักษะทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และศาสตรอ์ น่ื ๆ เพอื่ แก้ปัญหาหรือพัฒนา งานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดย คำนึงถึงผลกระทบตอ่ ชวี ติ สงั คม และสงิ่ แวดล้อม วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เกี่ยวกับ การคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็น ระบบ ประยุกตใ์ ชค้ วามร้ดู ้านวทิ ยาการคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสาร ในการแก้ปัญหา ทพ่ี บในชีวิตจรงิ ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต กับสิ่งมีชีวติ และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลง แทนที่ในระบบนเิ วศ ความหมายของ ประชากร ปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม แนวทางในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปญั หาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบตั ิของสง่ิ มชี วี ติ หนว่ ยพน้ื ฐานของสงิ่ มชี วี ติ การลำเลยี งสารเข้า และออกจาก เซลล์ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ี ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมทีม่ ีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวิวัฒนาการ ของส่ิงมีชีวติ รวมทงั้ นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีที่ 4 10 มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงในชีวติ ประจำวัน ผลของแรงทก่ี ระทำต่อวัตถุ ลกั ษณะ การเคล่อื นทแี่ บบตา่ ง ๆ ของวัตถรุ วมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลงั งาน พลังงานในชวี ิตประจำวัน ธรรมชาติ ของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกบั เสยี ง แสง และคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รวมทงั้ นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษแ์ ละระบบสุริยะ รวมท้งั ปฏิสมั พนั ธภ์ ายในระบบสรุ ิยะ ที่สง่ ผลต่อสงิ่ มชี วี ิต และการประยกุ ต์ใช้ เทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลง ภายใน โลกและบนผวิ โลก ธรณีพิบตั ิภัย กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟ้า อากาศและภมู ิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อ ส่ิงมีชวี ติ และส่ิงแวดล้อม สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และ ศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนา งานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคำนงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชีวติ สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ รเู้ ท่าทนั และมีจริยธรรม คณุ ภาพผู้เรียน จบชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ❖ เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบทีส่ ำคัญของเซลล์สิ่งมีชวี ิต ความสัมพันธ์ของการ ทำงานของระบบ ต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์การดำรงชีวติ ของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงของยีนหรอื โครโมโซม และตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิต ดัดแปรพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสัมพันธ์ ขององค์ประกอบของระบบนิเวศและการถ่ายทอด พลงั งานในส่งิ มชี วี ิต กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 11 ❖ เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธิ์ สารผสม หลักการแยกสาร การ เปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมีและสมบัติ ทางกายภาพ และการใชป้ ระโยชนข์ องวสั ดุประเภทพอลเิ มอร์ เซรามกิ และวสั ดุผสม ❖ เข้าใจการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์และผลของแรงลัพธ์กระทำต่อวัตถุ โมเมนต์ของแรง แรงที่ปรากฏ ในชีวิตประจำวัน สนามของแรง ความสัมพันธ์ของงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์ พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน ความสัมพันธ์ของปริมาณทางไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน พลงั งานไฟฟ้า และหลกั การเบอ้ื งตน้ ของวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ ❖ เข้าใจสมบัติของคลื่น และลักษณะของคลื่นแบบต่าง ๆ แสง การสะท้อน การหักเหของแสงและ ทศั นอุปกรณ์ ❖ เข้าใจการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดู การเคลื่อนท่ี ปรากฏของดวงอาทิตย์ การเกิดข้างขึ้นข้างแรม การขึ้นและตกของดวงจันทร์การเกิดน้ำขึ้นน้ำลง ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศและ ความก้าวหน้าของโครงการสำรวจอวกาศ ❖ เข้าใจลักษณะของชั้นบรรยากาศ องค์ประกอบและปัจจัยที่มีผลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิดและ ผลกระทบของพายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ โลก กระบวนการเกิดเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และการใช้ประโยชน์ พลังงานทดแทนและการใช้ประโยชน์ ลักษณะโครงสร้างภายในโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ลักษณะชั้นหน้าตัดดิน กระบวนการเกิดดิน แหล่งน้ำผิวดิน แหล่งน้ำใต้ดิน กระบวนการเกิดและผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณี พิบตั ภิ ัย ❖ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีโดยคำนึงถึงผลกระทบ ต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรเพื่อออกแบบและสร้าง ผลงานสำหรับการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันหรือการประกอบ อาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทั้ง คำนงึ ถึงทรัพย์สนิ ทางปญั ญา ❖ นำขอ้ มลู ปฐมภูมเิ ข้าสรู่ ะบบคอมพิวเตอร์ วเิ คราะห์ ประเมนิ นำเสนอข้อมูล และสารสนเทศได้ตาม วัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชวี ิตจริง และเขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ยเพื่อช่วย ในการแก้ปญั หา ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร อยา่ งรู้เทา่ ทันและรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาที่เชื่อมโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทาง วิทยาศาสตร์ที่มีการ กำหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐาน ที่สามารถนำไปสู่การสำรวจ ตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเครื่องมือ ที่เหมาะสม เลือกใช้เครื่องมือและ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊ิบ
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 12 เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ ปลอดภัย ❖ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูลที่ได้จากการสำรวจตรวจสอบ จากพยานหลักฐาน โดยใช้ความรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงข้อสรุป และสื่อสารความคิด ความรู้ จากผลการสำรวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่าง เหมาะสม ❖ แสดงถงึ ความสนใจ ม่งุ ม่ัน รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสตั ย์ ในสงิ่ ท่จี ะเรยี นรู้ มีความคิดสรา้ งสรรค์ เก่ยี วกับเรอื่ งท่จี ะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เคร่อื งมือและวธิ ีการ ท่ใี ห้ไดผ้ ลถูกต้อง เชื่อถือได้ศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นของ ตนเอง รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรู้ท่คี น้ พบ เมอ่ื มขี อ้ มลู และประจักษพ์ ยานใหม่เพมิ่ ขนึ้ หรอื โตแ้ ย้งจากเดิม ❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และ กระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและ ด้านลบของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ ตอ่ ส่ิงแวดล้อมและตอ่ บรบิ ทอนื่ ๆ และศกึ ษาหาความรู้ เพิ่มเตมิ ทำโครงงานหรือสร้างช้นิ งานตามความสนใจ ❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสมดุล ของระบบนิเวศ และ ความหลากหลายทางชวี ภาพ จบชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ❖ เข้าใจการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์กลไกการรักษาดุลยภาพของ มนุษย์ ภูมิคุ้มกัน ในร่างกายของมนุษย์และความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การใช้ประโยชน์จากสาร ต่าง ๆ ที่พืชสร้างขึ้น การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วิวัฒนาการ ที่ทำให้เกิดความหลากหลาย ของสิง่ มีชีวติ ความสำคญั และผลของเทคโนโลยที างดีเอน็ เอต่อมนุษย์ ส่งิ มชี วี ิต และส่ิงแวดลอ้ ม ❖ เข้าใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก การเปลี่ยนแปลง แทนท่ี ในระบบนิเวศ ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการ อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละการแกไ้ ขปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม ❖ เข้าใจชนิดของอนุภาคสำคัญที่เป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบัติ บางประการของธาตุ การจดั เรียงธาตุในตารางธาตุ ชนดิ ของแรงยดึ เหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติ ต่าง ๆ ของสารที่มีความสัมพันธ์ กับแรงยึดเหนี่ยว พันธะเคมีโครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ การเกิดปฏิกิริยาเคมีปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการ เกดิ ปฏิกริ ิยาเคมีและการเขียนสมการเคมี กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีที่ 4 13 ❖ เข้าใจปริมาณท่ีเก่ียวกบั การเคลื่อนท่ี ความสัมพันธ์ระหวา่ งแรง มวลและความเร่ง ผลของความเรง่ ที่มีต่อการเคลื่อนท่ีแบบต่าง ๆ ของวัตถุ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ ระหว่างสนามแม่เหล็กและ กระแสไฟฟา้ และแรงภายในนวิ เคลียส ❖ เข้าใจพลังงานนิวเคลียร์ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงาน การเปลี่ยน พลังงานทดแทน เป็นพลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้านพลังงาน การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่น การได้ยิน ปรากฏการณท์ ีเ่ ก่ียวขอ้ งกับเสียง สกี บั การมองเห็นสีคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า และประโยชนข์ องคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ ❖ เข้าใจการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนที่ ของแผ่นธรณี ที่สัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐาน สาเหตุกระบวนการเกดิ แผ่นดินไหว ภูเขาไฟ ระเบิด สึนามิผลกระทบ แนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภยั ❖ เข้าใจผลของแรงเนื่องจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ที่มีต่อการหมุนเวียน ของอากาศ การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลที่มีต่อภูมิอากาศ ความสัมพันธ์ของการหมุนเวียน ของอากาศ และการหมุนเวยี นของกระแสน้ำผิวหน้าในมหาสมุทร และผลตอ่ ลักษณะลมฟ้าอากาศ ส่ิงมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศโลก และแนวปฏิบัติเพื่อลดกิจกรรมของมนุษย์ ทีส่ ่งผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศโลก รวมทงั้ การแปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศท่ีสำคัญจากแผนที่ อากาศ และขอ้ มูลสารสนเทศ ❖ เข้าใจการกำเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของ เอกภพ หลักฐาน ที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซีโครงสร้างและองค์ประกอบของ กาแล็กซีทางช้างเผือก กระบวนการเกิดและการสร้างพลังงาน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส่องสว่างของ ดาวฤกษ์และความสัมพันธ์ระหว่าง ความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของ ดาวฤกษ์กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขต บริวารของดวงอาทิตย์ลักษณะของดาวเคราะห์ ที่เอื้อตอ่ การดำรงชวี ิต การเกิดลมสรุ ยิ ะ พายุสรุ ิยะและผลท่ีมีต่อ โลก รวมทงั้ การสำรวจอวกาศและ การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ ❖ ระบุปัญหา ตั้งคำถามที่จะสำรวจตรวจสอบ โดยมีการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรต่าง ๆ สืบค้นข้อมลู จากหลายแหล่ง ต้งั สมมติฐานทเี่ ปน็ ไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือก ตรวจสอบสมมติฐานท่ีเปน็ ไปได้ ❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทาง วิทยาศาสตร์ ที่แสดง ให้เห็นถึงการใช้ความคดิ ระดับสูงที่สามารถสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้า ได้อย่างครอบคลุมและเช่ือถือได้ สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ เพื่อนำ ไปสู่การสำรวจตรวจสอบ ออกแบบวิธีการ สำรวจตรวจสอบตามสมมตฐิ านที่กำหนดไว้ได้อย่างเหมาะสม มหี ลกั ฐานเชิงประจักษ์ เลือกวสั ดุ อุปกรณ์ รวมทั้ง วิธีการในการสำรวจตรวจสอบอย่างถูกต้อง ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ และบันทึกผลการสำรวจตรวจสอบ อยา่ งเปน็ ระบบ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 14 ❖ วิเคราะห์แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของข้อสรุป เพื่อตรวจสอบกับ สมมติฐานที่ตั้งไว้ให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงวิธีการสำรวจตรวจสอบ จัดกระทำข้อมูล และนำเสนอข้อมูล ด้วยเทคนิควธิ ที ีเ่ หมาะสม สอ่ื สารแนวคิด ความรจู้ ากผลการสำรวจตรวจสอบ โดยการพูด เขยี น จัดแสดงหรือใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ ใหผ้ ู้อนื่ เข้าใจโดยมหี ลักฐานอา้ งองิ หรือมที ฤษฎรี องรับ ❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในการสืบเสาะ หาความรู้โดยใช้ เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้อง เชื่อถือได้มีเหตุผลและยอมรับได้ว่าความรู้ ทางวิทยาศาสตร์อาจมีการ เปลย่ี นแปลงได้ ❖ แสดงถึงความพอใจและเหน็ คุณค่าในการค้นพบความรูพ้ บคำตอบ หรือแก้ปัญหาได้ ทำงานร่วมกบั ผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบ เกี่ยวกับผลของการพัฒนาและ การใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม และยอมรับฟังความคิดเห็นของ ผอู้ ่ืน ❖ เข้าใจความสมั พนั ธ์ของความร้วู ิทยาศาสตร์ที่มผี ลต่อการพัฒนาเทคโนโลยี ประเภทต่าง ๆ และการ พฒั นาเทคโนโลยีทีส่ ่งผลใหม้ ีการคดิ คน้ ความรทู้ างวิทยาศาสตร์ทีก่ า้ วหน้า ผลของเทคโนโลยตี อ่ ชีวิต สังคม และ สงิ่ แวดล้อม ❖ ตระหนักถงึ ความสำคัญและเหน็ คณุ ค่าของความรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทใี่ ช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความ ชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็นผลมาจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการพัฒนาเทคโนโลยีท่ี ทันสมัย ศึกษาหาความรูเ้ พิม่ เติม ทำโครงงานหรอื สรา้ งช้นิ งานตามความสนใจ ❖ แสดงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแล ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ มของท้องถน่ิ ❖ วเิ คราะห์แนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยีได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยที ่ีซับซอ้ น การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และ ตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีโดยคำนึงถึงผลกระทบ ต่อชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ทรัพยากรเพื่อออกแบบ สร้างหรือพัฒนาผลงาน สำหรับแก้ปัญหาที่มีผลกระทบต่อสังคม โดยใช้กระบวนการ ออกแบบ เชิงวิศวกรรม ใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบและนำเสนอผลงาน เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์และ เครื่องมือได้ อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภยั รวมทั้งคำนงึ ถึงทรัพย์สิน ทางปัญญา ❖ ใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร เพื่อ รวบรวมข้อมลู ในชีวิตจริงจากแหล่งตา่ ง ๆ และความรู้จากศาสตร์อืน่ มาประยุกต์ใช้ สร้างความรู้ใหม่ เข้าใจการ เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยที ่มี ีผลตอ่ การดำเนนิ ชีวติ อาชีพ สังคม วฒั นธรรม และใชอ้ ย่างปลอดภยั มจี ริยธรรม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 15 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนึ้ พืน้ ฐาน มุ่งให้ผู้เรียนให้มีเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดงั นี้ 1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการนับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรสู้ ึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนขอ้ มลู ข่าวสารและประสบการณ์ อนั จะเป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง และสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มี ประสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบทม่ี ตี ่อตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิด อย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เกย่ี วกับตนเอง และสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค์ต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบน พื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของ เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรู้มาใช้ในการปอ้ งกนั และแก้ปญั หา และมกี ารตดั สินใจ ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทเี่ กิดขึน้ ตอ่ ตนเอง สงั คม และส่ิงแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริม ความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแย้งต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรบั ตัวให้ทัน กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรม ไม่พึงประสงค์ที่ส่งผล กระทบตอ่ ตนเองและผ้อู น่ื 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการ ทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหา อยา่ งสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊
แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 16 คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้ สามารถอยู่ร่วมกบั ผอู้ ืน่ ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซอ่ื สัตย์สจุ ริต 3. มีวินัย 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 6. มุ่งม่นั ในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มีจติ สาธารณะ ตอนที่ 2 การวเิ คราะหห์ ลกั สูตร 1. สาระ มาตรฐาน ตัวชวี้ ดั รายวชิ า 2. คำอธบิ ายรายวิชา 3. โครงสร้างรายวชิ า 4. เกณฑ์การวัดประเมนิ ผล ใหแ้ ยกรายหน่วย รายคาบให้ละเอียด กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 17 ตารางวิเคราะหส์ าระ/มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด/สาระการเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 18 ตารางวิเคราะห์สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด/สาระการเรียนรู้ รายวชิ า ว31201 ฟสิ กิ ส์ 1 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 จำนวน 1.5 หน่วยกติ เวลา 60 ช่ัวโมง สาระ/มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระฟสิ กิ ส์ 1. สบื ค้น และอธิบายการคน้ หา ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษา 1. เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ความรทู้ างฟิสกิ ส์ ประวตั ิความ เกี่ยวกับสสาร พลังงาน อันตรกิริยาระหว่าง ปริมาณและกระบวนการวัด การ เป็นมา รวมท้ังพัฒนาการของ สสารกบั พลังงานและแรงพื้นฐานในธรรมชาติ เคลือ่ นทีแ่ นวตรง แรงและกฎการ หลกั การและแนวคดิ ทางฟิสกิ ส์ที่มี • การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ได้มาจาก เคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้ม ผลต่อการแสวงหาความรู้ใหม่และ การสังเกต การทดลอง และเก็บรวบรวม ถ่วงสากล แรงเสียดทานสมดุล การพัฒนาเทคโนโลยี ข้อมูลมาวิเคราะห์หรือจากการสร้าง กลของวัตถุ งาน และกฎการ แบบจำลองทางความคิด เพื่อสรุปเป็น อนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัม ทฤษฎี หลักการหรือกฎ ความรู้เหล่าน้ี และกฎการอนุรักษ์ โมเมนตัม ส า ม า ร ถ น ำ ไ ป ใ ช ้ อ ธ ิ บ า ย ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ การเคลื่อนที่แนวโค้ง รวมทั้งนำ ธรรมชาติหรือทำนายสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นใน ความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ อนาคต • ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของ หลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์เป็นพื้นฐาน ในการแสวงหาความรู้ใหม่เพิ่มเติม รวมถึง การพัฒนาและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ก็มีส่วนในการค้นหาความรู้ใหม่ทาง วิทยาศาสตร์ด้วย 2. วัด และรายงานผลการวัด • ความรูท้ างฟสิ กิ สส์ ว่ นหนึ่งได้จากการทดลอง ปริมาณทางฟิสิกส์ ได้ถูกต้อง ซ่งึ เกี่ยวข้องกบั กระบวนการวัดปรมิ าณทาง เหมาะสม โดยนำความคลาดเคลื่อน ฟสิ ิกส์ ซึ่งประกอบดว้ ยตัวเลขและหน่วยวัด ในการวัดมา พิจ าร ณา ใน ก า ร • ปริมาณทางฟสิ กิ ส์สามารถวดั ไดด้ ว้ ยเครื่องมอื นำเสนอผล รวมทั้งแสดงผลการ ต่าง ๆ โดยตรงหรือทางอ้อม หน่วยที่ใช้ในการ ทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะห์ วัดปริมาณทางวิทยาศาสตร์คือ ระบบหน่วย ระหว่างชาติ เรียกยอ่ ว่า ระบบเอสไอ และแปลความหมายจากกราฟ • ปริมาณทางฟิสิกส์ที่มีค่าน้อยกว่าหรือ เสน้ ตรง มากกว่า1 มาก ๆ นิยมเขียนในรูปของ สัญกรณว์ ทิ ยาศาสตร์ กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบิ๊
แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 19 สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หรือเขียนโดยใช้คำนำหน้าหน่วยของระบบเอส ไอ การเขียนโดยใช้สัญกรณ์วิทยาศาสตร์เป็น การเขียนเพื่อแสดงจำนวนเลขนัยสำคัญที่ ถูกต้อง • การทดลองทางฟิสิกส์เกีย่ วกับการวัดปริมาณ ต่าง ๆ การบันทึกปริมาณที่ได้จากการวัดด้วย จำนวนเลขนัยสำคัญที่เหมาะสม และค่าความ คลาดเคลื่อน การวิเคราะห์และการแปล ความหมายจากกราฟ เช่น การหาความชนั จาก กราฟเส้นตรง จุดตัดแกน พื้นที่ใต้กราฟ เป็น ต้น • การวัดปริมาณต่าง ๆ จะมีความคลาดเคล่ือน เสมอขึ้นอยู่กับเคร่ืองมือ วิธีการวัด และ ประสบการณ์ของผวู้ ัด ซึ่งคา่ ความคลาดเคล่ือน สามารถแสดง ในการรายงานผลทั้งในรูปแบบ ตวั เลขและกราฟ • การวัดควรเลือกใช้เครื่องมือวัดให้เหมาะสม กับสิ่งที่ต้องการวัด เช่นการวัดความยาวของ วัตถุที่ต้องการความละเอียดสูง อาจใช้เวอร์ เนียรแ์ คลลเิ ปอร์ หรอื ไมโครมิเตอร์ • ฟิสิกส์อาศัยคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือใน การศึกษาค้นคว้า และการส่อื สาร 3. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ • ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ ระหวา่ งตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว ตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง และความเร่งของการเคลื่อนที่ของ โดยความเร็วและความเร่งมีทั้งค่าเฉลี่ยและค่า วัตถุในแนวตรงที่มคี วามเร่งคงตัวจาก ขณะหนึ่งซึ่งคิดในช่วงเวลาสั้น ๆ สำหรับ กราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหา ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคล่ือนท่แี นว ค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลก และ ตรงด้วยความเร่งคงตัวมีความสัมพันธ์ตาม คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วข้อง สมการ ������ = ������ + ������������ ������ + ������ ∆������ = ( 2 ) ������ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติบ๊
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 20 สาระ/มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ∆������ = ������������ + 1 ������������2 2 ������2 = ������2 + 2������∆������ • การอธิบายการเคลือ่ นทข่ี องวตั ถสุ ามารถ เขยี นอยู่ในรปู กราฟตำแหน่งกบั เวลา กราฟ ความเร็วกับเวลา หรอื กราฟความเรง่ กับเวลา ความชันของเสน้ กราฟตำแหนง่ กับเวลาเป็น ความเรว็ ความชันของเสน้ กราฟความเรว็ กบั เวลาเป็นความเร่ง และพนื้ ที่ใต้เส้นกราฟ ความเร็วกบั เวลาเปน็ การกระจัด ในกรณีทผ่ี ู้ สังเกตมคี วามเรว็ ความเร็วของวตั ถทุ ี่สงั เกตได้ เป็นความเร็วท่เี ทียบกบั ผสู้ งั เกต • การตกแบบเสรเี ปน็ ตัวอยา่ งหนง่ึ ของการ เคลื่อนท่ีในหนึ่งมติ ิทีม่ คี วามเรง่ เท่ากับความเรง่ โนม้ ถว่ งของโลก 4. ทดลอง และอธบิ ายการหาแรง • แรงเป็นปริมาณเวกเตอรจ์ งึ มที ้ังขนาดและ ลัพธ์ของแรงสองแรงที่ทำมมุ ต่อกนั ทศิ ทาง กรณีท่ีมแี รงหลาย ๆ แรง กระทำต่อ วัตถุ สามารถหาแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวตั ถุ โดยใช้วิธีเขียนเวกเตอรข์ องแรงแบบหางต่อ หัว วธิ ีสร้างรปู ส่ีเหลย่ี มด้านขนานของแรง และวธิ คี ำนวณ 5. เขียนแผนภาพของแรงทีก่ ระทำ • สมบัตขิ องวัตถุท่ีต้านการเปล่ียนสภาพการ ตอ่ วตั ถุอิสระ ทดลอง และอธิบาย เคลื่อนที่ เรียกว่า ความเฉื่อย มวลเป็น กฎการเคลื่อนที่ของนิวตนั และการ ปริมาณที่บอกให้ทราบว่าวัตถุใดมีความ ใชก้ ฎการเคลื่อนทีข่ องนวิ ตนั กบั เฉ่อื ยมากหรือนอ้ ย สภาพการเคล่ือนท่ขี องวตั ถุ รวมทัง้ • การหาแรงลพั ธท์ ่ีกระทำตอ่ วัตถุสามารถ คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง เขียนเปน็ แผนภาพของแรงท่ีกระทำต่อวตั ถุ อิสระได้ • กรณีทไี่ ม่มแี รงภายนอกมากระทำ วัตถจุ ะ ไม่เปลยี่ นสภาพการเคลือ่ นทซ่ี ่ึงเป็นไปตาม กฎการเคลื่อนทขี่ ้อที่หน่งึ ของนวิ ตัน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 21 สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง • กรณีทีม่ แี รงภายนอกมากระทำโดยแรง ลัพธท์ กี่ ระทำต่อวัตถไุ ม่เปน็ ศูนย์ วตั ถจุ ะมี ความเรง่ โดยความเรง่ มีทศิ ทางเดยี วกับ แรงลัพธ์ความสมั พันธ์ระหว่างแรงลัพธ์ มวล และความเร่ง เขียนแทนได้ด้วยสมการ ∑ ������ = ������������ • เมื่อวัตถุสองก้อนออกแรงกระทำต่อกัน แรงระหว่างวัตถุทั้งสองจะมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงข้ามและกระทำต่อวัตถุคน ละก้อน เรียกว่า แรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยา ซึ่งเป็นไปตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของ นิวตัน และเกิดขึ้นได้ทั้งกรณีที่วัตถุทั้งสอง สมั ผสั กนั หรือไม่สมั ผสั กันก็ได้ 6. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากล • แรงดงึ ดดู ระหว่างมวลเปน็ แรงที่มวลสอง และผลของสนามโน้มถ่วงที่ทำให้ ก้อนดึงดดู ซ่ึงกนั และกนั ด้วยแรงขนาด วัตถุมีน้ำหนัก รวมทั้งคำนวณ เทา่ กนั แต่ทิศทางตรงข้าม และเป็นไปตาม ปรมิ าณต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง กฎความโน้มถ่วงสากล ������������ = ������������1������2 ������2 • รอบโลกมีสนามโน้มถ่วงทำใหเ้ กิดแรงโน้ม ถว่ งซง่ึ เปน็ แรงดึงดูดของโลกที่กระทำต่อ วัตถุ ทำใหว้ ัตถุ มีน้ำหนัก 7. วิเคราะห์ อธิบาย และคำนวณแรง • แรงที่เกิดขึ้นที่ผิวสัมผัสระหว่างวัตถุสองก้อน เสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่ ในทิศทางตรงข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่หรือ หน่ึง ๆ ในกรณที ี่วัตถหุ ยุดน่ิงและวัตถุ แนวโน้มที่จะเคลื่อนที่ของวัตถุ เรียกว่าแรง เ ค ล ื ่ อ น ท ี ่ ร ว ม ท ั ้ ง ท ด ล อ ง ห า เสียดทาน แรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสคู่ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่าง หนึ่ง ๆ ขึ้นกับสัมประสิทธิ์ความเสียดทานและ ผิวสัมผัสของวัตถุคู่หนึ่ง ๆ และนำ แรงปฏกิ ิริยาตัง้ ฉากระหวา่ งผวิ สมั ผัสคู่น้นั ๆ ความรู้เรื่องแรงเสียดทานไปใช้ใน • ขณะออกแรงพยายามแต่วัตถุยงั คงอยู่นงิ่ แรง ชีวติ ประจำวัน เสยี ดทานมขี นาดเทา่ กับแรงพยายามท่ีกระทำ ต่อวัตถนุ ้ัน และ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีท่ี 4 22 สาระ/มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง แรงเสียดทานมีค่ามากที่สุดเมื่อวัตถุเริ่ม 8.อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณ เคลื่อนที่ เรียกแรงเสียดทานนี้ว่าแรงเสียด ปรมิ าณต่างๆทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การ ทานสถิต แรงเสียดทานที่กระทำต่อวัตถุ เคลื่อนท่แี บบโพรเจกไทล์ และ ขณะกำลังเคลื่อนที่ เรียกว่าแรงเสียดทาน ทดลองการเคลอื่ นทแี่ บบโพรเจก จลน์ โดยแรงเสียดทานที่เกิดระหว่าง ไทล์ ผิวสัมผัสของวตั ถุคู่หนงึ่ ๆ ������������ ≤ ������������������ ������������ = ������������������ • การเพมิ่ หรือลดแรงเสียดทานมผี ลตอ่ การ เคลื่อนที่ของวตั ถุ ซ่ึงสามารถนำไปใช้ใน ชวี ติ ประจำวัน • การเคลื่อนที่แนวโค้งพาราโบลาภายใต้ สนามโนม้ ถ่วง โดยไม่คดิ แรงต้านของอากาศ เป็นการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ วยัตถุมี การเปลยี่ นตำแหน่งในแนวด่ิงและแนวระดับ พร้อมกัน และเป็นอิสระต่อกัน สำหรับการ เคลื่อนที่ในแนวดิ่งเป็นการเคลื่อนที่ที่มีแรง โ น ้ ม ถ ่ ว ง ก ร ะ ท ำ จ ึ ง ม ี ค ว า ม เ ร ็ ว ไ ม ่ ค ง ตั ว ปริมาณต่างๆมีความสัมพนั ธ์ตามสมการ ������������ = ������������ + ������������������ (������������ + ������������) ∆������ = 2 ������ ∆������ = ������������ + 1 ������������ ������ 2 2 ���������2��� = ���������2��� + 2������������������ ส่วนการเคลื่อนที่ในแนวระดับไม่มีแรง กระทำจึงมีความเร็วคงตัว ตำแหน่ง ความเร็ว และเวลามีความสัมพันธ์ตาม สมการ ∆������ = ������������������ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 23 สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนร้แู กนกลาง 9.ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ • วัตถุที่เคลื่อนที่เป็นวงกลมหรือส่วนของ ระหว่างแรงสู๋ศูนย์กลาง รัศมีของ วงกลมเรียกว่า วัตถุนั้นมีการเคลื่อนที่แบบ การเคลอื่ นท่ี อตั ราเร็วเชิงเส้น วงกลม ซึ่งมีแรงลัพธ์ที่กระทำกับวัตถุในทิศ อัตราเรว็ เชิงมมุ และมวลของวัตถุ เข้าสู่ศูนย์กลางเรียกว่า แรงสู่ศูนย์กลาง ทำ ในการเคลื่อนทแ่ี บบวงกลมใน ให้เกดิ ความเร่งสู่ศนู ย์กลางที่มีขนาดสัมพันธ์ ระนาบระดบั รวมทัง้ คำนวณ กับรัศมีของการเคลื่อนที่และอัตราเร็วเชิง ปรมิ าณตา่ งๆท่เี ก่ยี วข้องและ เส้นของวัตถุซึ่งแรงสู่ศูนย์กลางคำนวณได้ ประยุกต์ใช้ความรกู้ ารเคล่ือนที่ จากสมการ แบบวงกลมในการอธิบายโคจรของ ������������2 ดาวเทียม ������������ = ������ • นอกจากนี้การเคลื่อนที่แบบวงกลมยัง สามารถอธิบายได้ด้วยอัตราเร็วเชิงมุม ซึ่งมี ความสัมพันธ์กับอัตราเร็วเชิงเส้นตาม สมการ v = ωr และแรงสู่ศูนย์กลางมี ความสมั พนั ธก์ บั อตั ราเร็วเชิงมมุ ตามสมการ Fc = mω2r • ดาวเทยี มที่โคจรในแนววงกลมรอบโลกมี แรงดงึ ดดู ทโี่ ลกกระทำต่อดาวเทียมเปน็ แรง สู่ศนู ย์กลางดาวเทยี มทม่ี วี งโคจรคา้ งฟ้าใน ระนาบของเสน้ ศนู ยส์ ูตรมีคาบการโคจร เท่ากบั คาบการหมนุ รอบตวั เองของโลกหรือ มอี ัตราเรว็ เชิงมุมเท่ากับอัตราเร็วเชิงมุมของ ตำแหนง่ บนพนื้ โลก ดาวเทยี มจึงอยู่ตรงกับ ตำแหน่งท่กี ำหนดไวบ้ นพ้ืนโลกตลอดเวลา กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 24 คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 25 คำอธิบายรายวชิ า รายวิชา ว31201 ฟสิ ิกส์ 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 จำนวน 1.5 หน่วยกติ เวลา 60 ช่ัวโมง *********************************************************************************************************************************************************************** ********************************* ศึกษาความรู้ทางฟิสิกส์ ประวัติความเป็นมา พัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ การวัด ปริมาณทางฟิสิกส์ ความคลาดเคลื่อนในการวัด การแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ ความหมายจากกราฟ เส้นตรง ความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว ความเร่งของการเคลื่อนทีข่ องวัตถใุ นแนวตรงทีม่ ี ความเร่งคงตัว จากกราฟและสมการ ค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลก แรงลัพธ์ของแรงสองแรงที่ทำมุมต่อกัน กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล การใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันกับสภาพการเคลื่อนที่ของ วัตถุแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หนึ่ง ๆ ในกรณีที่วัตถุหยุดนิ่งและวัตถุเคลื่อนที่ สัมประสิทธิ์คว าม เสียดทานระหว่างผิวสัมผัส ของวัตถุคู่หนึ่ง ๆ และนำความรู้เรื่องแรงเสียดทานไปใช้ในชีวิตประจำวัน และการ เคลื่อนท่ีแนวโค้ง โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสบื คน้ ขอ้ มูล การสงั เกต การวิเคราะห์ การอธิปราย การอธิบายและการสรุปผล เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด และความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตตนเอง ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมที่ถกู ต้อง ผลการเรยี นรู้ 1. สืบค้นและอธบิ ายการค้นหาความรู้ทางฟสิ ิกส์ประวตั ิความเป็นมารวมทัง้ พฒั นาการของหลักการและ แนวคดิ ทางฟสิ ิกสท์ ่มี ีผลต่อการแสวงหาความรใู้ หมแ่ ละการพฒั นาเทคโนโลยี 2. วัดและรายงานผลการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสมโดยนำความคลาดเคลื่อนในการวัดมา พิจารณาในการนำเสนอผลรวมทั้งแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟวิเคราะห์และแปลความหมายจากกราฟ เส้นตรง 3. ทดลองและอธิบายความสมั พันธ์ระหว่างตำแหน่งการกระจดั ความเร็วและความเร่งของการเคลื่อนท่ี ของวัตถุในแนวตรงที่มีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการรวมทั้งทดลองหาค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลกและ คำนวณปริมาณตา่ งๆทเ่ี กีย่ วข้อง 4. ทดลองและอธบิ ายการหาแรงลพั ธ์ของแรงสองแรงที่ทำมุมต่อกนั 5. เขยี นแผนภาพของแรงทกี่ ระทำต่อวัตถุอิสระ ทดลอง และอธิบายกฎการเคล่ือนทข่ี องนวิ ตนั และการ ใชก้ ฎการเคลอ่ื นท่ีของนิวตันกับสภาพการเคล่อื นท่ีของวัตถุรวมทั้งคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 6. อธบิ ายกฎความโน้มถว่ งสากลและผลของ สนามโนม้ ถว่ งทีท่ ำใหว้ ัตถุมีน้ำหนกั รวมทั้งคำนวณปริมาณ ตา่ งๆ ที่เก่ยี วข้อง กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 26 7. วิเคราะห์อธิบาย และคำนวณแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หนึ่งๆในกรณีที่วัตถุหยุดนิ่ง และวัตถุเคลื่อนที่ รวมทั้งทดลองหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หนึ่งๆและนำความรู้ เรอื่ งแรงเสียดทานไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน 8.อธบิ าย วิเคราะห์ และคำนวณปรมิ าณต่างๆที่เกย่ี วข้องกับการเคลอ่ื นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ และทดลอง การเคลือ่ นท่แี บบโพรเจกไทล์ 9.ทดลอง และอธบิ ายความสัมพันธร์ ะหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีการเคลื่อนที่ อตั ราเรว็ เชงิ เส้น อตั ราเร็ว เชิงมุม และมวลของวตั ถุในการเคลือ่ นทแี่ บบวงกลมในระนาบระดบั รวมทัง้ คำนวณปริมาณต่างๆท่ีเกย่ี วข้อง และประยุกตใ์ ช้ความรู้การเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลมในการอธบิ ายการโคจรของดาวเทยี ม รวม 9 ผลการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊ิบ
แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีท่ี 4 27 โครงสร้างรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 28 โครงสร้างรายวชิ า รายวชิ า ว31201 ฟิสิกส์ 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 จำนวน 1.5 หน่วยกติ เวลา 60 ช่ัวโมง ลำดับ ช่อื หน่วย ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง เวลา นำ้ หนัก ท่ี การเรียนรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน (100) 1 ธรรมชาตแิ ละ 1. สืบค้น และอธิบายการ • ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ 6 10 พฒั นาการ ค้นหาความรู้ทางฟิสิกส์ ศึกษาเกี่ยวกับสสาร พลังงาน อันตร ทางฟิสิกส์ ป ร ะ ว ั ต ิ ค ว า ม เ ป็นมา กิริยาระหว่างสสารกับพลังงาน และแรง รวมทั้งพัฒนาการของ พนื้ ฐานในธรรมชาติ หลักการและแนวคิดทาง • การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ได้มา ฟิสิกส์ที่มีผลต่อการ จากการสังเกต การทดลอง และเก็บ รวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์หรือจากการ แสวงหาความรู้ใหม่และ สร้างแบบจำลองทางความคิด เพื่อสรุป การพัฒนาเทคโนโลยี เป็นทฤษฎี หลักการหรือกฎ ความรู้ 2. วัด และรายงานผลการ เหล่านี้ สามารถนำไปใช้อธิบาย วัดปริมาณทางฟิสิกส์ ได้ ปรากฏการณ์ธรรมชาติหรือทำนายสิ่งท่ี ถูกต้องเหมาะสม โดยนำ อาจจะเกดิ ข้ึนในอนาคต ความคลาดเคลื่อนในการ • ประวตั ิความเป็นมาและพัฒนาการของ วัดมาพิจารณาในการ หลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์เป็น น ำ เ ส น อ ผ ล ร ว ม ท้ั ง พื้นฐานในการแสวงหาความรู้ใหม่ แสดงผลการทดลองในรูป เพ ิ ่ มเต ิ ม รวมถ ึ งการพ ั ฒนาและ ของกราฟ วิเคราะห์และ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีก็มีส่วนใน แ ป ล ค ว า ม ห ม า ย จ า ก การคน้ หาความรใู้ หม่ทางวิทยาศาสตร์ กราฟเสน้ ตรง • ความรู้ทางฟิสิกส์ส่วนหนึ่งได้จากการ ทดลองซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการวัด ปริมาณทางฟิสิกส์ ซึ่งประกอบด้วย ตัวเลขและหน่วยวัด • ปริมาณทางฟิสิกส์สามารถวัดได้ด้วย เครื่องมือต่าง ๆ โดยตรงหรือทางอ้อม หน่วยที่ใช้ในการวัดปริมาณทาง วิทยาศาสตรค์ ือ ระบบหน่วยระหว่างชาติ เรียกย่อว่า ระบบเอสไอ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบิ๊
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 29 ลำดบั ช่อื หน่วย ตวั ชว้ี ัด เวลา นำ้ หนกั ท่ี การเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง (ชัว่ โมง) คะแนน (100) • ปริมาณทางฟิสิกส์ที่มีค่าน้อยกว่าหรือ มากกว่า๑ มาก ๆ นิยมเขียนในรูป ของสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ หรือเขียนโดย ใช้คำนำหน้าหน่วยของระบบเอสไอ การ เขียนโดยใช้สัญกรณ์วิทยาศาสตร์เป็น การเขียนเพื่อแสดงจำนวนเลขนัยสำคัญ ที่ถกู ต้อง • การทดลองทางฟิสิกส์เกี่ยวกับการวัด ปริมาณต่าง ๆ การบันทึกปริมาณที่ได้ จากการวัดด้วยจำนวนเลขนัยสำคัญที่ เหมาะสม และคา่ ความคลาดเคลือ่ น การ วิเคราะห์และการแปลความหมายจาก กราฟ เช่น การหาความชันจากกราฟ เส้นตรง จุดตัดแกน พื้นที่ใต้กราฟ เป็น ต้น • การวัดปริมาณต่าง ๆ จะมีความ คลาดเคลื่อนเสมอขึ้นอยู่กับเครื่องมือ วิธีการวดั และประสบการณ์ ของผู้วดั ซึง่ ค่าความคลาดเคลื่อนสามารถแสดง ใน การรายงานผลทั้งในรูปแบบตัวเลขและ กราฟ • การวัดควรเลือกใช้เครื่องมือวัดให้ เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด เช่นการวัด ความยาวของวัตถุที่ต้องการความ ละเอียดสูง อาจใช้เวอร์เนียร์แคลลิเปิร์ส หรอื ไมโครมิเตอร์ • ฟิสกิ ส์อาศยั คณิตศาสตร์เป็นเครือ่ งมือ ในการศกึ ษาค้นคว้า และการส่ือสาร กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 30 ลำดับ ชอ่ื หน่วย เวลา น้ำหนัก ที่ การเรยี นรู้ ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง (ชัว่ โมง) คะแนน 2 การเคล่ือนที่ แนวตรง (100) 3. ทดลอง และอธิบาย • ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนท่ี 18 30 ความสัมพันธ์ระหว่าง ได้แก่ ตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว ตำแหน่ง การกระจัด และความเร่ง โดยความเร็วและ ความเร็ว และความเร่ง ความเร่งมีทั้งค่าเฉลี่ยและค่าขณะหนึง่ ของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึง่ คดิ ในช่วงเวลาส้นั ๆ สำหรับปริมาณ ในแนวตรงที่มีความเร่งคง ต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวข้องกบั การเคลอ่ื นที่แนว ตัวจากกราฟและสมการ ตรงด้วยความเร่งคงตัวมีความสัมพันธ์ ร ว ม ท ั ้ ง ท ด ล อ ง ห า ค่ า ตามสมการ ความเร่งโน้มถ่วงของโลก ������ = ������ + ������������ ������ + ������ และคำนวณปริมาณ ∆������ = ( 2 ) ������ ต่าง ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง 1 ∆������ = ������������ + 2 ������������2 ������2 = ������2 + 2������∆������ • การอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุ สามารถเขียนอยู่ในรูปกราฟตำแหน่ง กับเวลา กราฟความเร็วกับเวลา หรือ กราฟความเรง่ กบั เวลา ความชัน ของเส้นกราฟตำแหน่งกับเวลาเป็น ความเร็ว ความชันของเส้นกราฟ ความเร็วกับเวลาเป็นความเร่ง และ พน้ื ที่ใต้เสน้ กราฟความเร็วกบั เวลาเป็น การกระจัด ในกรณีที่ผู้สังเกตมี ความเร็ว ความเรว็ ของวตั ถุที่สังเกตได้ เปน็ ความเร็วท่เี ทยี บกับผู้สังเกต • การตกแบบเสรีเป็นตัวอย่างหนึ่งของ การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติที่มีความเร่ง เทา่ กับความเรง่ โน้มถว่ งของโลก กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบิ๊
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 31 ลำดบั ช่ือหน่วย เวลา น้ำหนัก ที่ การเรยี นรู้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง (ชั่วโมง) คะแนน 3 แรงและกฎ การเคลื่อนท่ี (100) 4. ทดลอง และอธิบาย • แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์จึงมีทั้ง 21 35 การหาแรงลัพธ์ของแรง ขนาดและทิศทาง กรณีที่มีแรงหลาย สองแรงทท่ี ำมมุ ต่อกนั ๆ แรง กระทำต่อวัตถุ สามารถหาแรง 5. เขียนแผนภาพของแรง ลพั ธ์ท่กี ระทำตอ่ วตั ถุ โดยใช้วธิ เี ขียน ที่กระทำต่อวัตถุอิสระ เวกเตอร์ของแรงแบบหางต่อหัว วิธี ทดลอง และอธิบายกฎ สร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานของแรง การเคลื่อนที่ของนิวตัน และวิธีคำนวณ แ ล ะ ก า ร ใ ช ้ ก ฎ ก า ร • สมบัติของวัตถุที่ต้านการเปลี่ยน เคลื่อนที่ของนิวตันกับ สภาพการเคลื่อนที่ เรียกว่า ความ สภาพการเคลื่อนที่ของ เฉื่อย มวลเป็นปริมาณที่บอกให้ทราบ วัตถุ รวมทั้งคำนว ณ วา่ วตั ถใุ ดมคี วามเฉอื่ ยมากหรอื น้อย ปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง • การหาแรงลัพธ์ที่กระทำตอ่ วัตถุ 6. อธิบายกฎความโน้ม สามารถเขียนเปน็ แผนภาพของแรงที่ ถ่วงสากลและผลของ กระทำต่อวตั ถุอิสระได้ สนามโน้มถ่วงที่ทำให้วัตถุ • กรณที ่ไี ม่มีแรงภายนอกมากระทำ มีน้ำหนัก รวมทั้งคำนวณ วตั ถุจะไมเ่ ปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ ปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่เี ก่ียวข้อง ซึง่ เปน็ ไปตามกฎการเคล่ือนที่ขอ้ ที่ 7. วิเคราะห์ อธิบาย และ หนงึ่ ของนิวตัน คำนวณแรงเสียดทาน • กรณีที่มีแรงภายนอกมากระทำโดย ระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุไม่เป็นศูนย์ คู่หนึ่ง ๆ ในกรณีที่วัตถุ วัตถุจะมีความเร่ง โดยความเร่งมี หยุดนิ่งและวัตถุเคลื่อนที่ ทิศทางเดียวกับแรงลัพธ์ความสัมพันธ์ ร ว ม ท ั ้ ง ท ด ล อ ง ห า ระหว่างแรงลัพธ์ มวลและความเร่ง สัมประสิทธิ์ความเสียด เขียนแทนไดด้ ้วยสมการ ทานระหว่างผิวสัมผัสของ ∑ ������ = ������������ วัตถุคู่หนึ่ง ๆ และนำ ความรู้เรื่องแรงเสียดทาน • เมื่อวัตถุสองก้อนออกแรงกระทำต่อ ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั กัน แรงระหว่างวัตถุทั้งสองจะมีขนาด กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 32 ลำดบั ชอ่ื หน่วย เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง (ชั่วโมง) คะแนน (100) เท่ากัน แต่มีทิศทางตรงข้ามและ กระทำต่อวตั ถุคนละก้อน เรียกวา่ แรง คกู่ ิรยิ า-ปฏิกริ ยิ า ซึ่งเป็นไปตามกฎการ เคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตัน และ เกิดข้นึ ไดท้ ั้งกรณีท่วี ตั ถุ • แรงดึงดูดระหว่างมวลเป็นแรงที่มวล สองก้อนดึงดูดซึ่งกันและกัน ด้วยแรง ขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงข้าม และ เปน็ ไปตามกฎความโนม้ ถว่ งสากล ������������ = ������������1������2 ������2 • รอบโลกมสี นามโน้มถว่ งทำให้เกดิ แรงโนม้ ถ่วงซึง่ เป็นแรงดึงดูดของโลกท่ี กระทำต่อวตั ถุ ทำให้วัตถุ มนี ้ำหนกั • แรงที่เกิดขึ้นที่ผิวสัมผัสระหว่างวัตถุ สองก้อนในทิศทางตรงข้ามกับทิศ ทางการเคลื่อนที่หรือแนวโน้มที่จะ เคลื่อนที่ของวัตถุ เรียกว่าแรงเสียด ทาน แรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสคู่ หนึ่ง ๆ ขึ้นกับสัมประสิทธิ์ความเสียด ทานและแรงปฏิกิริยาตั้งฉากระหว่าง ผิวสัมผสั คูน่ ้นั ๆ • ขณะออกแรงพยายามแต่วัตถุยังคง อยู่นิ่งแรงเสียดทานมีขนาดเท่ากับแรง พยายามที่กระทำต่อวัตถุนั้น และแรง เสียดทานมีค่ามากที่สุดเมื่อวัตถุเร่ิม เคลื่อนที่ เรียกแรงเสียดทานนี้ว่าแรง เสียดทานสถิต แรงเสียดทานที่กระทำ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 33 ลำดับ ชื่อหน่วย เวลา นำ้ หนัก ท่ี การเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง (ชวั่ โมง) คะแนน 4 การเคลือ่ นท่ี แนวโค้ง (100) ต่อวัตถุขณะกำลังเคลื่อนที่ เรียกว่า แรงเสยี ดทานจลน์ โดยแรงเสยี ดทานที่ เกิดระหวา่ งผิวสมั ผสั ของวัตถุคหู่ น่ึงๆ ������������ ≤ ������������������ ������������ = ������������������ • การเพิม่ หรือลดแรงเสียดทานมีผล ต่อการเคลอื่ นท่ีของวตั ถุ ซง่ึ สามารถ นำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน 8.อธิบาย วเิ คราะห์ และ • การเคลื่อนที่แนวโคง้ พาราโบลาภายใต้ 15 25 คำนวณปริมาณตา่ งๆที่ สนามโน้มถ่วง โดยไม่คิดแรงต้านของ เกีย่ วขอ้ งกับการเคล่ือนที่ อากาศเป็นการเคลือ่ นที่แบบโพรเจกไทล์ แบบโพรเจกไทล์ และ วยัตถุมีการเปลี่ยนตำแหน่งในแนวดิ่ง ทดลองการเคลอื่ นท่ีแบบ และแนวระดับพร้อมกัน และเป็นอิสระ โพรเจกไทล์ ต่อกนั สำหรบั การเคลอ่ื นทีใ่ นแนวด่ิงเป็น 9.ทดลอง และอธบิ าย การเคลื่อนที่ที่มีแรงโน้มถ่วงกระทำจึงมี ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสู่ ความเร็วไม่คงตัว ปริมาณต่างๆมี ศูนย์กลาง รัศมีการ ความสมั พันธต์ ามสมการ เคลื่อนท่ี อตั ราเรว็ เชิงเส้น ������������ = ������������ + ������������������ อัตราเร็วเชงิ มุม และมวล ∆������ = (������������ + ������������) ������ ของวตั ถุในการเคลอื่ นท่ี 2 1 แบบวงกลมในระนาบระดบั ∆������ = ������������ + 2 ������������������2 รวมท้ังคำนวณปริมาณ ตา่ งๆท่ีเกย่ี วขอ้ ง และ ���������2��� = ���������2��� + 2������������������ สว่ นการเคล่อื นทใี่ นแนวระดบั ไมม่ ีแรง ประยุกตใ์ ช้ความรู้การ กระทำจึงมีความเร็วคงตัว ตำแหนง่ เคลอื่ นท่แี บบวงกลมในการ ความเรว็ และเวลามีความสมั พนั ธต์ าม อธบิ ายการโคจรของ ดาวเทยี ม สมการ ∆������ = ������������������ • วัตถุท่ีเคลือ่ นทเี่ ป็นวงกลมหรือส่วนของ วงกลมเรียกว่า วัตถุนั้นมีการเคลื่อนที่ แบบวงกลม ซึ่งมีแรงลัพธ์ที่กระทำกับ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 34 ลำดับ ชื่อหน่วย ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง เวลา นำ้ หนัก ท่ี การเรียนรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน (100) วัตถุในทิศเข้าสู่ศูนย์กลางเรียกว่า แรงสู่ ศนู ยก์ ลาง ทำให้เกิดความเร่งสู่ศูนย์กลาง ที่มีขนาดสัมพันธ์กับรัศมีของการ เคลื่อนท่ีและอตั ราเร็วเชิงเส้นของวัตถซุ ง่ึ แรงสูศ่ นู ยก์ ลางคำนวณไดจ้ ากสมการ ������������2 ������������ = ������ • นอกจากนี้การเคลื่อนที่แบบวงกลมยัง สามารถอธิบายได้ด้วยอัตราเร็วเชิงมุม ซึ่งมีความสัมพันธ์กับอัตราเร็วเชิงเส้น ตามสมการ v = ωr และแรงสูศ่ ูนยก์ ลาง มคี วามสัมพันธก์ ับอัตราเร็วเชิงมุม ตามสมการ Fc = mω2r • ดาวเทียมท่โี คจรในแนววงกลมรอบโลก มีแรงดึงดูดทโี่ ลกกระทำตอ่ ดาวเทียมเป็น แรงสู่ศูนยก์ ลางดาวเทยี มที่มวี งโคจรคา้ ง ฟ้าในระนาบของเสน้ ศูนยส์ ตู รมคี าบการ โคจรเทา่ กับคาบการหมุนรอบตวั เองของ โลก หรือมีอัตราเร็วเชิงมุมเท่ากับ อัตราเร็วเชงิ มมุ ของตำแหน่งบนพื้นโลก ดาวเทยี มจงึ อยู่ตรงกบั ตำแหน่งท่กี ำหนด ไวบ้ นพืน้ โลกตลอดเวลา สรปุ ทบทวนภาพรวม ระหวา่ งเรียน 60 60 สรปุ ทบทวนภาพรวม สอบระหว่างภาคเรยี น - 20 สรุปทบทวนภาพรวม สอบปลายภาคเรียน - 20 รวมท้ังส้ินตลอดปี 60 100 กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 35 การวางแผนการวดั ผลประเมนิ ผล กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 36 การวางแผนการวดั ผลประเมินผล รายวชิ า ว31201 ฟสิ กิ ส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 อตั ราส่วนคะแนนของ K : P : A ท้ังรายวิชา = 48 : 40 : 12 อัตราสว่ นคะแนนระหวา่ งภาค : ปลายภาค = 80 : 20 น้ำหนกั คะแนน หนว่ ย ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ ผลการ จำนวน ความรู้ ที่ เรียนรู้ ชว่ั โมง ทักษะกระบวนการ คุณธรรมจริยธรรม รวม คะแนนสอบกลางภาค คะแนนสอบปลายภาค รวมคะแนนทั้งหมด K P A 60 K P K P 100 1 ธรรมชาตแิ ละ ข้อท่ี 1 - 2 6 2 1 3 6 5 5 - - 16 พัฒนาการทางฟสิ กิ ส์ 2 การเคล่ือนท่ีแนวตรง ขอ้ ท่ี 3 18 8 7 3 18 5 5 - - 28 3 แรงและกฎการเคล่ือนที่ ข้อท่ี 4 - 7 18 8 7 3 18 - - 6 5 29 4 การเคล่ือนทแ่ี นวแค้ง ขอ้ ท่ี 8 - 9 18 8 7 3 18 - - 6 3 27 รวม 9 ขอ้ 60 26 22 12 60 10 10 12 8 100 อัตราสว่ นคะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค 80 : 20 คะแนน คะแนนกอ่ นวัดผลกลางภาค 30 คะแนน คะแนนสอบกลางภาค 20 คะแนน คะแนนหลงั วดั ผลกลางภาค 30 คะแนน คะแนนสอบปลายภาค 20 คะแนน รวมคะแนนทั้งสิ้น 100 คะแนน กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 37 การวางแผนการประเมินผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีท่ี 4 38 การวางแผนการประเมินผลการเรียนรู้ รายวิชา ว31201 ฟิสิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อัตราส่วนคะแนนของ K : P : A ท้ังรายวิชา = 48 : 40 : 12 อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = 80 : 20 หนว่ ยการ ผลการเรียนรู้ นำ้ หนกั น้ำหนกั วิธกี ารวัด เครือ่ งมือวัด เรยี นรทู้ ี่ คะแนน คะแนน 1. สืบค้น และอธิบายการค้นหา KP A 1. ตรวจแบบฝึกหดั 1. แบบประเมิน 1 ความรู้ทางฟิสิกส์ ประวัติความ 6 21 3 เป็นมา รวมทง้ั พฒั นาการของ และใบงาน การสังเกต 2 หลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ที่มี 18 87 3 ผลต่อการแสวงหาความรู้ใหม่และ 2. สงั เกตการ พฤติกรรมในชั้น การพัฒนาเทคโนโลยี 20 10 10 - 2. วัด และรายงานผลการวัด อภิปราย และการทำ เรียน ปริมาณทางฟิสิกส์ ได้ถูกต้อง เหมาะสม โดยนำความคลาดเคลื่อน กิจกรรมรว่ มกัน 2. แบบประเมิน ในการวัดมาพิจารณาในการนำเสนอ ผล รวมทั้งแสดงผลการทดลองในรูป 3. ตรวจผังมโนทัศน์/ ใบงาน/ ของกราฟ วิเคราะห์และแปล ความหมายจากกราฟเส้นตรง สมุดจดบันทกึ แบบทดสอบ 3. ทดลอง และอธิบาย ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตำแหน่ง การ 4. ทดสอบเกบ็ 3. แบบทดสอบ กระจดั ความเร็ว และความเร่งของ การเคลือ่ นที่ของวตั ถใุ นแนวตรงท่มี ี คะแนน เก็บคะแนน ความเร่งคงตัวจากกราฟและ สมการ รวมทง้ั ทดลองหาค่า 1. ตรวจแบบฝกึ หดั และ 1. แบบประเมนิ ความเร่งโนม้ ถ่วงของโลก และ คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ใบงาน การสังเกต สอบกลางภาค 2. สงั เกตการอภปิ ราย พฤติกรรมในชั้น และการทำกจิ กรรม เรยี น ร่วมกัน 2. แบบประเมินใบ 3. ตรวจผงั มโนทศั น/์ งาน/แบบทดสอบ สมดุ จดบันทกึ 3. แบบทดสอบเก็บ 4. ทดสอบเก็บคะแนน คะแนน สอบกลางภาคเรยี น ขอ้ สอบวัดผล กลางภาค กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ
แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 39 หน่วยการ ผลการเรียนรู้ น้ำหนัก น้ำหนกั วธิ ีการวัด เครอื่ งมือวดั เรียนรู้ท่ี คะแนน คะแนน 4. ทดลอง และอธิบายการหาแรง KPA 1. ตรวจแบบฝึกหดั 1. แบบประเมิน 3 ลพั ธ์ของแรงสองแรงทีท่ ำมุมตอ่ กัน 18 87 3 และใบงาน การสงั เกต 5. เขียนแผนภาพของแรงที่กระทำ 2. สังเกตการอภปิ ราย พฤตกิ รรมในชัน้ 4 ต่อวัตถุอิสระ ทดลอง และอธิบายกฎ 18 87 3 และการทำกิจกรรม เรียน การเคลื่อนที่ของนิวตันและการใช้กฎ ร่วมกัน 2. แบบประเมิน การเคลื่อนที่ของนิวตันกับสภาพการ 3. ตรวจผังมโนทศั น์/ ใบงาน/ เคลื่อนที่ของวัตถุ รวมทั้งคำนวณ สมดุ จดบนั ทกึ แบบทดสอบ ปริมาณต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 4. ทดสอบเก็บคะแนน 3. แบบทดสอบ 6. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากล เก็บคะแนน และผลของสนามโน้มถ่วงที่ทำให้วัตถุ มีน้ำหนัก รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง 1. ตรวจแบบฝกึ หดั และ 1. แบบประเมนิ ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง ใบงาน การสงั เกต 7. วิเคราะห์ อธิบาย และคำนวณ 2. สงั เกตการอภปิ ราย พฤตกิ รรมในชน้ั แรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของ และการทำกจิ กรรม เรยี น วัตถุคู่หนึ่ง ๆ ในกรณีที่วัตถุหยุดนิ่ง ร่วมกนั 2. แบบประเมินใบ และวัตถุเคลื่อนที่ รวมทั้งทดลองหา 3. ตรวจผังมโนทศั น/์ งาน/แบบทดสอบ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่าง สมดุ จดบนั ทกึ ผิวสัมผัสของวัตถุคู่หนึ่ง ๆ และนำ ความรู้เรื่องแรงเสียดทานไปใช้ใน ชีวติ ประจำวัน 8. อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณ ปริมาณตา่ งๆที่เกยี่ วขอ้ งกับการเคล่ือนท่ี แบบโพรเจกไทล์ และทดลองการ เคล่อื นท่แี บบโพรเจกไทล์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 40 หนว่ ยการ ผลการเรยี นรู้ นำ้ หนกั นำ้ หนัก วิธีการวดั เครื่องมอื วัด เรยี นร้ทู ี่ คะแนน คะแนน 9. ทดลอง และอธบิ ายความสมั พนั ธ์ 4. ทดสอบเกบ็ 3. แบบทดสอบ ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีการ คะแนน เก็บคะแนน เคลื่อนที่ อัตราเร็วเชงิ เสน้ อตั ราเร็ว เชิงมุม และมวลของวัตถุในการ เคลื่อนที่แบบวงกลมในระนาบ ระดับ รวมทั้งคำนวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และประยุกต์ใช้ความรู้ การเคลื่อนที่แบบวงกลมในการ อธบิ ายการโคจรของดาวเทียม สอบปลายภาค 20 12 8 - สอบปลายภาคเรยี น ข้อสอบวัดผล ปลายภาค รวม 100 48 40 12 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 41 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 (ว31201) ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 42 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรอ่ื งธรรมชาตแิ ละพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่ืองธรรมชาตขิ องฟสิ กิ ส์ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 รหสั วิชา ว31201 ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 2 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต **************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ผลการเรียนรู้ สาระฟสิ กิ ส์ 1.เข้าใจธรรมชาตทิ างฟสิ กิ ส์ ปริมาณและกระบวนการวดั การเคลื่อนทีแ่ นวตรง แรงและกฎการเคลื่อนที่ ของนวิ ตนั กฎความโนม้ ถว่ งสากล แรงเสยี ดทานสมดุลกลของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัม และกฎการอนุรกั ษโ์ มเมนตัม การเคลื่อนทีแ่ นวโค้ง รวมทั้งนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ 1. สืบค้นและอธิบายการค้นหาความรู้ทางฟิสิกส์ ประวัติความเป็นมา รวมทั้งพัฒนาการของหลกั การ และแนวคดิ ทางฟสิ กิ สท์ ีม่ ผี ลตอ่ การแสวงหาความรูใ้ หมแ่ ละการพฒั นาเทคโนโลยไี ด้ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายเกย่ี วกบั ความรูท้ างฟสิ ิกส์ ประวัตคิ วามเป็นมารวมทั้งพฒั นาการของหลักการ และแนวคดิ ทาง ฟิสกิ ส์ ทีม่ ผี ลต่อการแสวงหาความรใู้ หมท่ างวทิ ยาศาสตร์และพฒั นาเทคโนโลยี (K) 2. ยกตวั อยา่ งเกีย่ วกับความรทู้ างฟิสกิ ส์ ประวัตคิ วามเป็นมารวมท้งั พฒั นาการของหลกั การ และแนวคดิ ทางฟสิ ิกส์ ท่ีมีผลตอ่ การแสวงหาความรใู้ หมท่ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละพัฒนาเทคโนโลยี (P) 3. มวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งม่ันในการทำงาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ - ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหน่ึงที่ศึกษาเกี่ยวกับสสาร พลังงาน อันตรกิริยาระหว่างสสารกับพลังงาน และแรงพ้ืนฐานในธรรมชาติ - การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ได้มาจากการสังเกต การทดลอง และเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ หรือจากการสร้างแบบจำลองทางความคิด เพื่อสรุปเป็นทฤษฎี หลักการหรือกฎ ความรเู้ หล่านี้สามารถนำไปใช้ อธบิ ายปรากฏการณ์ธรรมชาติ หรอื ทำนายสิ่งท่ีอาจจะเกิดข้ึนในอนาคต กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ
แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีท่ี 4 43 - ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์เป็นพื้นฐานในการ แสวงหาความรู้ใหม่เพิ่มเติม รวมถึงการพัฒนา และความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยกี ็มีสว่ นในการค้นหาความรู้ ใหมท่ างวทิ ยาศาสตรด์ ้วย 4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาศตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับสสาร พลังงาน อันตรกิริยาระหว่างสสารกับพลังงาน และแรงพื้นฐานในธรรมชาติ การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ได้มาจากการสังเกต การทดลอง และเก็บรวบรวม ข้อมูลมาวิเคราะห์ หรือจากการสร้างแบบจำลองทางความคิด เพื่อสรุปเป็นทฤษฎี หลักการหรือกฎ ความรู้ เหล่านี้สามารถนำไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติหรือทำนายสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ประวัติความ เป็นมาและพัฒนาการและแนวคิดทางฟิสิกส์เป็นพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ใหม่เพิ่มเติม รวมถึงการพัฒนา และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีกม็ สี ว่ นในการค้นควา้ หาความรใู้ หม่ทางวิทยาศาสตร์ดว้ ย ความรู้ทางฟิสิกส์ส่วนหนึง่ ได้จากการทดลองซึง่ เกี่ยวกับความรู้ทางฟิสิกสส์ ่วนหนึ่งได้จากการทดลองซงึ่ เก่ียวข้องกบั กระบวนการวดั ปริมาณทางฟิสิกส์ซง่ึ ประกอบดว้ ยตัวเลขและหนว่ ยวัด ปรมิ าณทางฟสิ ิกส์สามารถวัด ได้ด้วยเครื่องมือต่าง ๆ โดยตรงหรือทางอ้อม หน่วยที่ใช้ในการวัดปริมาณทางวิทยาศาสตร์คือระบบหน่วย ระหวา่ งชาติ (The International System of Units) เรยี กยอ่ วา่ ระบบเอสไอ (SI) ประกอบด้วยหนว่ ยฐานและ หน่วยอนุพัทธ์ หน่วยฐานมี 7 หน่วย ได้แก่ เมตร (m) กิโลกรัม (kg) วินาที (s) แอมแปร์ (A) เคลวิน (K) โมล (mol) และแคนเดลา (cd) หน่วยอนุพัทธ์เป็นหน่วยที่เกิดจากหน่วยฐานหลายหน่วย ปริมาณทางฟิสิกส์ที่มีค่า น้อยกว่าหรือมากกว่า 1 มากๆ นิยมเขียนโดยใช้คำนำหน้าหน่วยของระบบเอสไอ เช่น kilo- แทนตัวคูณที่เที่ยบ เท่า 103 nano - แทนตัวคณู ทีเ่ ท่ียบเท่า 10-9 หรือเขียนในรูปของสญั กรณว์ ทิ ยาศาสตรซ์ ึ่งเป็นการเขียนปริมาณที่ มีค่ามากหรือน้อยให้อยู่ในรูปจำนวนเต็มหนึ่งตำแหน่งตามด้วยเลขทศนิยม แล้วคูณด้วยเลขสิบยกกำลัง มีรูป ทัว่ ไป A×10n เมอ่ื 1≤ A≤ 10 และ n เป็นจำนวนเต็ม 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการทำงาน กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติบ๊
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 44 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ เทคนิคการจัดการเรียนการสอน : เทคนคิ การสอน 5E ร่วมกบั เทคนิคการแกโ้ จทยป์ ัญหาของโพลยา ชว่ั โมงที่ 1 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูเปิดประเดน็ และชกั ชวนนกั เรียนใหร้ ่วมกันอภปิ ราย โดยใช้คำถามเกี่ยวกบั การเกดิ ปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาติ เชน่ ฝนตก ฟ้าร้อง ฟ้าผา่ แผน่ ดนิ ไหว และภเู ขาไฟระเบิด ว่าส่ิงเหล่านเี้ กิดจากสาเหตุใด 2. ในระหว่างอภิปรายครูชี้ใหน้ ักเรียนเห็นว่า มนุษย์ในสมัยโบราณเชื่อว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาตเิ ปน็ ฝีมือของเทพเจ้าหรือภูตผีปีศาจ แต่ต่อมาเมื่อมีการสังเกตและบันทึกข้อมูลอย่างมีหลักเกณฑ์ จึงเกิด การพัฒนาความรู้และสร้างเป็นองค์ความรู้ขึ้นมา เพื่อพยายามหาคำตอบในสิ่งที่เกิดขึ้นที่ยังอธิบาย ไมไ่ ด้ 3. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นเวลา 20 นาที 4. ครูถามคำถามกระตุ้นนักเรียนว่า วิทยาศาสตร์คืออะไร และชี้ประเด็นเพื่อนำให้นักเรียนร่วมกัน อภิปรายว่า วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร โดยที่ครูให้นักเรียนอภิปราย รว่ มกนั อยา่ งอิสระ 5. ครูถามคำถาม BIG QUESTION จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 ว่า ฟิสิกส์ คือ อะไร และเกี่ยวขอ้ งกับชีวติ ประจำวันของนักเรยี นได้อย่างไร (แนวตอบ : ฟิสิกส์ (Physics) เป็นศาสตร์วิชาที่ว่าด้วยกฎเกณฑ์หรือปรากฏการทางธรรมชาติ ของสิ่งที่ไม่มีชีวิต ที่จะมุ่งเน้นศึกษาในเรื่องอันตรกิริยา (interaction) ระหว่างอนุภาคของสสารและ พลังงานซ่ึงฟิสิกสเ์ ปน็ วิทยาศาสตร์กายภาพ และเกีย่ วขอ้ งกับชวี ิตประจำวันอยู่มากมายหลายด้าน เช่น การนำความรู้ทางฟิสิกส์ไปประยุกต์ในด้านการแพทย์ เช่น การใช้รังสีเอกซ์ เครื่องวัดความดันโลหิต การประยุกต์ในด้านเคมี ฟิสิกส์ช่วยให้เข้าใจปฏิกิริยาในระดับโมเลกุลและอะตอม โดยอาศัยความรู้ พื้นฐานด้านฟสิ ิกส์อะตอมและฟิสิกสน์ วิ เคลียร์ รวมถึงอธบิ ายการเกดิ พนั ธะเคมี) 6. ครูให้นกั เรียนรว่ มแสดงความคดิ เห็นกับคำถามท่ีครูถาม ข้ันสอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนจบั คูก่ ับเพ่ือนรว่ มชั้นเรียน แล้วใหน้ ักเรยี นร่วมกันศึกษาและสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับ วิทยาศาสตร์ธรรมชาตวิ า่ มคี วามหมายว่าอย่างไรและแบ่งได้เป็นกกี่ ลมุ่ 2. ครูให้นักเรียนแต่ละคู่ร่วมสรุปข้อมูลข้อมูลที่สืบค้นได้ลงในกระดาษ A4 แล้วนำมาส่งครูเพื่อให้ครู ตรวจสอบความถูกตอ้ ง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีที่ 4 45 3. ครูถามนักเรียนว่า วิธีการค้นหาความรู้ทางฟิสิกส์ว่ามีกี่แนวทาง อะไรบ้าง โดยที่ครูคอย กระตุ้นให้ นกั เรยี นในชน้ั เรียนร่วมกนั หาคำตอบ (แนวตอบ : 2 แนวทาง คือ 1) การสังเกต บันทึก ทดลอง วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปตั้งเป็นกฎ ตา่ ง ๆ 2) การสรา้ งแบบจำลองทางความคดิ อย่างมเี หตุผลเพื่อตั้งเป็นทฤษฎ)ี 4. ครูถามคำถาม Prior knowledge จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 ว่า ในการ เรียนวิชาฟสิ กิ ส์ จำเป็นต้องทำการทดลองหรือไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ : ในวิชาฟิสิกส์ การทดลองเป็นส่วนสำคัญในการฝึกทักษะและคิดหาเหตุผลโดยใช้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แล้วนำผลการทดลองนั้นมาวิเคราะห์และสรุปเป็นหลักการและ ทฤษฎีทางฟสิ กิ ส์ เพอ่ื นำไปสขู่ อ้ สรุปทมี่ ีความเช่ือถอื ได้) ชั่วโมงท่ี 2 สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูทบทวนความรู้เดิม โดยครนู ำนักเรยี นอภิปรายและไดข้ อ้ สรปุ เกี่ยวกบั วชิ าฟสิ กิ ส์ 2. ครูถามนักเรียนวา่ วชิ าฟสิ กิ สต์ อ้ งอาศยั ศาสตร์หรอื สาขาใดเป็นพ้ืนฐาน (แนวตอบ : วชิ าคณติ ศาสตร์) 3. ครถู ามนกั เรยี นตอ่ ไปว่า ทำไมการเรยี นฟสิ ิกสถ์ ึงตอ้ งใช้คณติ ศาสตร์ 4. ครูถามนักเรียนต่อไปว่า ทำไมการเรียนฟิสิกส์ถึงต้องใช้คณิตศาสตร์ จากนั้นจัดกลุ่มให้นักเรียน โดย คละความสามารถ (เก่ง–ปานกลาง–อ่อน) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ ต่าง ๆ เชน่ หนงั สอื เรียน อนิ เทอรเ์ น็ต หนังสืออา้ งอิงต่าง ๆ จากห้องสมุด และร่วมกันวิเคราะห์และสรุป ในประเดน็ ตอ่ ไปนี้ • วชิ าฟิสกิ ส์เกีย่ วข้องกบั คณิตศาสตรอ์ ย่างไร • ฟสิ กิ สไ์ ดใ้ ช้หลกั คณิตศาสตร์เรือ่ งใดบา้ ง • ยกตวั อย่างทฤษฎฟี ิสิกส์ท่ีอธบิ ายด้วยหลักคณติ ศาสตร์ 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายภายในกลุ่ม จากนั้นแต่ละกลุ่มส่งตัวแทน นำเสนอข้อมูลที่ได้จาก การสบื ค้น 6. นักเรียนและครูร่วมกันวิพากษ์เกี่ยวกับการสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ เพื่อความเข้าใจตรงกัน โดยนักเรียน และครูควรได้ข้อสรุปร่วมกันว่า ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาปรากฏการณ์ธรรมชาติในเชิงปริมาณ คำอธบิ ายปรากฏการณต์ ่าง ๆ จึงอย่ใู นรูปของกฎซ่ึงเขยี นอย่ใู นรูปสมการคณิตศาสตร์ และกฎต่าง ๆ ก็ ได้รับการพิสูจน์จากสมการคณิตศาสตร์ การวิเคราะห์ผลการทดลองทางฟิสิกส์ เช่น กฎการเคลื่อนท่ี ของนิวตัน ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ การวัด การเก็บและบันทึกข้อมูลอย่างถูกต้องตาม หลักการทำการทดลอง รวมทั้งการวิเคราะห์และประเมินข้อมูลขั้นฐาน การเขียนรายงาน สรุปและ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 46 วิจารณ์ผลการทดลอง จะต้องใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เข้ามาช่วยในการคำนวณ เช่น การแสดง ข้อมูลด้วยค่าเฉล่ีย (Mean) และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 7. ครูถามนักเรียนว่า นอกจากการบันทึกข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของตารางบันทึกผลการทดลองและ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานแล้ว นักเรียนสามารถนำเสนอข้อมูล ในรปู แบบใดอกี เพ่อื ใหเ้ ข้าใจความหมายของข้อมูลได้ง่ายยิ่งขึ้น โดยใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคนร่วมกันศึกษา หาคำตอบจากหนังสอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน ฟสิ กิ ส์ ม.4 เล่ม 1 8. ครูตั้งคำถามว่า สมการ y = mx + c มีความหมายว่าอย่างไร นักเรียนสามารถนำความรู้มา เช่ือมโยงในวิชาฟิสิกส์อย่างไร (แนวคำตอบ : เช่น การเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางกับเวลาที่ได้จากการ ทดลอง การบันทึกข้อมูลเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักกับแรง เพื่อหาความชันของ กราฟ) 9. ครูนำนักเรียนสรุปคำถามร่วมกันว่า การทดลองทางฟิสิกส์จะได้ข้อมูลเป็นตัวเลขที่เกิดจาก ความสัมพันธ์ของปริมาณต่าง ๆ ที่ศึกษา จากนั้นจึงนำสมการทางคณิตศาสตร์มาช่วยอธิบาย ความสมั พนั ธข์ องปริมาณนนั้ ออกมาในรปู ของสมการ ซึ่งความสัมพันธเ์ หลา่ น้ีมักใช้เปน็ แนวทางในการ วิเคราะหเ์ ชิงทฤษฎี และการนำเสนอข้อมูลยังมอี กี หลายรปู แบบ เช่น แผนภูมแิ ท่ง แผนภมู วิ งกลม เป็น ตน้ อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนกลับเข้าสู่กลุ่มเดิมแล้วให้ร่วมกันศึกษาการนำข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ค่า เบ่ียงเบนมาตรฐาน และการเขยี นกราฟความสัมพันธ์ในชว่ งเวลาตา่ ง ๆ จากตวั อย่างที่ 1.1 และ 1.2 ใน หนังสอื เรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 หน้า 6 – 7 เพื่อให้ช่วยเข้าใจการนำเสนอข้อมูลได้ มากยิ่งข้ึน ซึ่งครูให้นักเรียน ทำตามขั้นตอนการแกโ้ จทย์ปัญหา ดังนี้ • ขั้นท่ี 1 ทำความเข้าใจโจทยต์ ัวอย่าง • ข้ันท่ี 2 สิ่งทีโ่ จทย์ต้องการถามหา และจะหาสิง่ ทโี่ จทยต์ ้องการ ตอ้ งทำอย่างไร • ขนั้ ท่ี 3 ดำเนินการ • ข้ันท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทยต์ ัวอย่าง 2. ครสู ุ่มนักเรียนให้กออกมานำเสนอวธิ ีการแกป้ ัญหาโจทยต์ ัวอย่างตามขัน้ ตอนในแตล่ ะขั้น โดยที่ครูคอย แนะนำและเสริมข้อมลู ทถี่ ูกตอ้ งใหน้ ักเรียน ขน้ั สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูนำนกั เรยี นอภปิ รายและสรุปเก่ียวกบั ฟิสิกส์ ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 47 • ฟิสิกส์คืออะไร ยกตัวอย่างและอธิบายสถานการณ์ หรือปรากฏการณ์ ที่ต้องใช้ฟิสิกส์ไป ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั • ฟสิ กิ สต์ อ้ งอาศยั ศาสตร์หรือสาขาใดเปน็ พนื้ ฐาน • ฟิสิกสแ์ ละเทคโนโลยสี ัมพนั ธก์ ันอย่างไร 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง ธรรมชาติของฟิสิกส์ ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจและให้ ความรู้เพ่ิมเติมในส่วนนั้น โดยท่คี รูอาจจะใช้ PowerPoint เร่ือง ฟสิ ิกส์ ชว่ ยในการอธิบาย 3. ครใู ห้นกั เรียนทำแบบฝึกหดั ที่ 1 เร่อื ง ธรรมชาตขิ องฟิสิกส์ 4. ครใู หน้ กั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น 5. ครมู อบหมายใหน้ กั เรียนสรปุ ผังมโนทศั น์ (Mind Mapping) เร่อื ง ธรรมชาตขิ องฟสิ ิกส์ และให้นกั เรียน ทำ Unit Question 1 ส่งเปน็ การบา้ นชัว่ โมงถดั ไป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจสอบผลการทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 2. ครปู ระเมินผล โดยการสงั เกตการตอบคำถาม การร่วมกันทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 3. ครูวดั และประเมนิ การปฏบิ ตั ิการ จากการทำใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง ธรรมชาติของฟสิ ิกส์ 4. ครูตรวจสอบผลการทำแบบทดสอบหลงั เรยี น 5. ครูวัดและประเมินผลจากการทำ Unit Question 1 ในหนงั สอื เรียน ฟสิ ิกส์ เลม่ 1 6. ครูวดั และประเมินผลจากผงั มโนทัศนท์ นี่ กั เรยี นไดส้ ร้างขึน้ จากข้ันขยายความร้ขู องนักเรียนเป็น รายบุคคล กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 48 8. การวดั และประเมินผล รายการวัด วิธีวัด เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมิน ด้านความรู้ 1.อธบิ ายเกี่ยวกบั ความร้ทู าง ฟิสิกส์ ประวัตคิ วามเป็นมา -สงั เกตพฤตกิ รรมระหวา่ ง -แบบฝึกหดั ร้อยละ 70 ผา่ นเกณฑ์ รวมทง้ั พัฒนาการของหลกั การ กจิ กรรมการเรยี น -แบบทดสอบกอ่ นเรยี น และแนวคิดทางฟิสิกส์ ทม่ี ีผล รายบุคคล ต่อการแสวงหาความรใู้ หม่ทาง -แบบทดสอบกอ่ นเรยี น วิทยาศาสตร์และพัฒนา เทคโนโลยี ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ระดับคณุ ภาพ 2 1.ยกตัวอยา่ งเกย่ี วกบั ความรู้ -สงั เกต ประเมินจาก -แบบประเมนิ ดา้ นทกั ษะ/ ผ่านเกณฑ์ ทางฟิสิกส์ ประวัติความ กจิ กรรมระหว่างเรียน กระบวนการ เปน็ มารวมทง้ั พฒั นาการของ รายบุคคลและกลมุ่ -แบบฝึกหัด หลักการ และแนวคดิ ทาง ฟิสกิ ส์ ที่มผี ลต่อการแสวงหา ความรใู้ หมท่ างวทิ ยาศาสตร์ และพฒั นาเทคโนโลยี ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1.มวี นิ ัย - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคณุ ภาพ 2 2.ใฝ่เรียนรู้ การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ 3.มงุ่ ม่ันในการทำงาน 4.มีความซ่อื สตั ย์ ด้านสมรรถนะสำคญั ของ ผ้เู รียน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 1. ความสามารถในการสือ่ สาร การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการ แก้ปญั หา กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ
แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 49 9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนังสอื เรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน ฟสิ ิกส์ ม.4 เลม่ 1 2) ใบงานที่ 1 เรือ่ ง ธรรมชาติของฟสิ กิ ส์ 3) PowerPoint เรอ่ื ง ฟิสกิ ส์ 9.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องเรยี น 2) ห้องสมดุ 3) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ 10. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานท่ีมอบหมาย ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 50 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ใช้พิสูจน์ 6. นกั เรียนคนหน่งึ ใชไ้ มโครมิเตอร์วัดเสน้ ผ่านศูนย์กลางของเส้นผม ความจรงิ ต่าง ๆ ได้ 3.004 มิลลเิ มตร คา่ ท่ีวดั ไดจ้ ะมเี ลขนยั สาคัญกตี่ วั 1. ความเช่ือ 2. ทฤษฎี 1. 1 ตัว 2. 2 ตวั 3. การสังเกต 4. การทดลอง 3. 3 ตัว 4. 4 ตวั 5. การบนั ทกึ ข้อมลู 5. 5 ตัว 2. ต้นวดั เสน้ ผ่านศนู ย์กลางของเหรียญอนั หนึ่ง 3 ครง้ั ได้ 7. ข้อใดคือผลรวมของ 2.50 มิลลิเมตร และ 7.2 เซนติเมตร เท่ากับ 2.542, 2.532 และ 2.54 เซนติเมตร ค่าเฉล่ีย ตามหลกั เลขนัยสาคญั ของเหรยี ญเป็นเท่าไร 1. 7.4 เซนติเมตร 2. 7.45 เซนติเมตร 1. 2.54 เซนตเิ มตร 3. 7.450 เซนตเิ มตร 4. 7.5 เซนตเิ มตร 2. 2.542 เซนตเิ มตร 5. 7.55 เซนติเมตร 3. 2.53 เซนติเมตร 8. จงหาผลรวมของ 3.15 × 10-3 และ 7.54 × 10-2 ตามหลัก 4. 2.532 เซนตเิ มตร เลขนัยสาคญั 5. 2.538 เซนตเิ มตร 1. 7.855 × 10-3 2. 78.55 × 10-3 3. ขอ้ ใดคอื ปริมาณเวกเตอร์ทง้ั หมด 3. 7.86 × 10-2 4. 10.94 × 10-2 1. มวล นา้ หนกั พลังงาน 5. 7.855 × 10-4 2. ความเร็ว ความเร่ง การกระจดั 9. เลขนยั สาคัญ คอื อะไร 3. โมเมนตมั แรง พลงั งาน 1. เลขท่วี ัดไดจ้ ริง ๆ จากเครื่องมอื วัด 4. ความเร่ง การกระจดั ระยะทาง 2. เลขที่อ่านได้จากเครื่องมือวัดแบบขีดสเกลรวมกับตัวเลขที่ 5. เวลา ปรมิ าตร ความหนาแน่น ประมาณอกี 1 ตวั 4. ความยาว 0.000007 เมตร มีค่าตรงกับขอ้ ใด 3. เลขทปี่ ระมาณข้ึนมาในการวดั 1. 7 ไมโครเมตร 2. 7.0 × 10-5 เมตร 4. เลขทีบ่ อกความละเอยี ดของเครื่องมือวดั 3. 7 นาโนเมตร 4. 7.0 × 10-4 เมตร 5. ข้อ 1. และ 2. ถกู 5. 7 เมกะเมตร 10. นาแผน่ ไมส้ ี่เหล่ยี มผนื ผ้ามาวดั ความกวา้ งได้ 12.5 ± 0.1 เมตร 5. การอ่านค่าจากเครื่องวัดแบบแสดงผลด้วยตัวเลขมี และวัดความยาวได้ 20.0 ± 0.2 เมตร จงหาพน้ื ทข่ี องแผน่ ไม้ หลักการอยา่ งไร 1. (2.50 ± 0.05) × 102 ตารางเมตร 1. ประมาณความคลาดเคลอื่ นทุกครง้ั 2. (2.80 ± 0.03) × 102 ตารางเมตร 2. อา่ นตามท่ีเห็นจริง ๆ จากจอภาพ 3. (2.50 × 102 ± 0.05) ตารางเมตร 3. ต้องประมาณตัวเลขตัวสดุ ทา้ ย 1 ตัว 4. (2.80 × 102 ± 0.03) ตารางเมตร 4. ต้องวดั หลายคร้ังแล้วหาค่าเฉลย่ี 5. (2.50 ± 0.03) × 102 ตารางเมตร 5. ใหห้ นา้ จอแสดงผลอยใู่ นระดับสายตา เฉลย 1. 4 2. 5 3. 2 4. 1 5. 2 6. 4 7. 4 8. 3 9. 2 10. 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327