Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของ สพม.ชบรย

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของ สพม.ชบรย

Published by spmplan1003, 2022-01-14 04:26:59

Description: แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของ สพม.ชบรย

Search

Read the Text Version

คำนำ สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำมัธยมศึกษำชลบุรี ระยอง ได้จัดทำแผนปฏิบัติกำรประจำปี งบประมำณ พ.ศ. 2565 ฉบับน้ีข้ึน เพื่อให้หน่วยงำนในสังกัดใช้เป็นกรอบทิศทำงกำรดำเนินงำนและขับเคลื่อนกำร บริหำรจัดกำรศึกษำ โดยมีสำระสำคัญประกอบด้วยวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ำประสงค์ กลยุทธ์จุดเน้นกำรพัฒนำ เป้ำหมำย ตัวช้ีวัด โครงกำร กิจกรรม และงบประมำณ โดยมีกำรวิเครำะห์ควำมสอดคล้องของแผนปฏิบัติกำร ประจำปีให้สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ 20 ปี แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ แผนกำรศึกษำแห่งชำติ นโยบำยของรัฐบำล นโยบำยของ กระทรวงศึกษำธิกำร นโยบำยของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน รวมถึงแผนพัฒนำกำรศึกษำ จงั หวัดชลบุรี และแผนพัฒนำกำรศึกษำจังหวัดระยอง โดยกำหนดกลยุทธ์ทม่ี ุ่งเนน้ กำรพฒั นำคุณภำพและมำตรฐำน กำรศึกษำ กำรขยำยโอกำสทำงกำรศึกษำ และประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรศึกษำที่สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ท่ี เก่ียวข้อง สำนักงำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศึกษำมัธยมศกึ ษำชลบุรี ระยอง หวังเป็นอย่ำงยิง่ ว่ำ แผนปฏบิ ัติกำรประจำปี งบประมำณ พ.ศ. 2565 จะเป็นกรอบและแนวทำงในกำรดำเนนิ งำน เพ่ือให้บรรลผุ ลตำมเปำ้ หมำยท่กี ำหนดไว้ และ ผลักดันแผนปฏิบัติกำรสู่กำรปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่ำงเป็นรูปธรรม เพ่ือเกิดประสิทธิภำพสูงสุด ต่อกำรจัดกำรศกึ ษำข้นั พนื้ ฐำนแกเ่ ยำวชนของชำติได้ตำมท่ีมุ่งหวัง สำนักงำนเขตพ้นื ท่ีกำรศึกษำมัธยมศึกษำชลบรุ ี ระยอง

สารบัญ สว่ นท่ี 1 สภาพบรบิ ทของเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา หน้า สภาพทางภมู ศิ าสตร์และเขตปกครอง โครงสร้างการบริหารงานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง 1 อำนาจหนา้ ท่ีของส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี 2 ระยอง 3 โครงสรา้ งการบริหารงานสถานศึกษาในสงั กัด ข้อมลู พืน้ ฐานดา้ นการศึกษา 6 การพฒั นาสำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง 7 11 สว่ นที่ 2 ยทุ ธศาสตร์และนโยบายทเี่ ก่ียวข้อง รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 19 ยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2580) 19 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) 19 แผนปฏริ ปู ประเทศ 22 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 23 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 23 นโยบายการจดั การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 24 นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 24 แผนพฒั นาการศกึ ษาจังหวดั ชลบุรี (พ.ศ. 2563 – 2565) 26 แผนพัฒนาการศึกษาจังหวดั ระยอง (พ.ศ. 2563 – 2565) 27 28 ส่วนท่ี 3 ทศิ ทางการพัฒนาการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ทิศทางการพฒั นาการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 นโยบาย กลยทุ ธ์ ตวั ชว้ี ัดผลสมั ฤทธ์ิ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 29 โครงการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ 30 โครงการตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 33 โครงการที่คาดวา่ จะไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณเพิ่มเตมิ 34 แผนการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 38 41 ภาคผนวก 49 รายละเอยี ดโครงการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 กลุ่มนโยบายและแผน - โครงการ ประชมุ ทบทวนแผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน (พ.ศ. 2565 – 2567) และ จดั ทำแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานเขตพ้นื ที่ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

หน้า - โครงการ จัดตัง้ งบประมาณประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2566 งบลงทนุ ค่าครุภณั ฑ์ ท่ีดิน 58 และสง่ิ ก่อสร้าง 65 กลุ่มนิเทศตดิ ตามและประเมินผล 72 - โครงการสง่ เสริมศกั ยภาพการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าเพมิ่ เติมทสี่ อดคลอ้ งกับ 78 อุตสาหกรรมเป้าหมายของเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (Eastern Economic 83 Corridor : EEC) 89 - โครงการการนิเทศพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนในเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษา 97 ชลบรุ ี ระยอง 103 109 - โครงการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา 114 120 - โครงการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นในเขต 127 พ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง 134 - โครงการส่งเสริมสมรรถนะการวจิ ยั ในชนั้ เรยี นเพ่อื พฒั นาการจัดการเรยี นรขู้ องครู 141 ภายในโรงเรียนสังกดั สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง 147 - โครงการการจัดการความร้เู พ่ือขบั เคลื่อนสกู่ ารเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสำนักงาน เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง 153 - โครงการการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ท่เี นน้ ทกั ษะการคิดวิเคราะห์และการแก้โจทย์ ปญั หาคณิตศาสตรข์ องครูในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น 160 - โครงการขบั เคล่ือนการจดั การเรยี นรู้การออกแบบและเทคโนโลยี และวทิ ยาการ คำนวณ ด้วยการจัดการเรียนรูเ้ ชงิ รกุ 167 - โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยเพ่อื การอ่านออกเขียนได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ตามนโยบายเดินหน้าและพัฒนาการอ่านออกเขยี นได้ - โครงการเตรยี มความพรอ้ มเพื่อการปรบั ปรุงหลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรู้ ตามรา่ งกรอบหลกั สตู รการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน (หลกั สตู รฐานสมรรถนะ) - โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ หลกั สตู ร “ผูด้ ำเนนิ การคดั กรองคนพิการทางการศึกษา” - โครงการการพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษาสู่มาตรฐานสากลระดบั ScQA - โครงการการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาเรียนรวม ดา้ นเจตคติและจติ วิทยาการ จัดการศกึ ษาเรยี นรวมของครูสังกดั สำนักเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา ชลบรุ ี ระยอง - โครงการการพฒั นาศักยภาพด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาของครู ภาษาตา่ งประเทศทส่ี อง สังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง โดย ใช้กระบวนการนเิ ทศแบบรว่ มพฒั นาเพื่อขบั เคล่ือนกระบวนการ PLC - โครงการส่งเสรมิ พัฒนาระบบประกันและประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ท่ีม่งุ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของสถานศึกษา โดยตน้ สังกดั สำนกั งานสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง - โครงการพฒั นาครผู ูส้ อนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาเพ่ือการจดั การ เรยี นรู้ หลกั สูตรเพศวถิ ีศึกษาและทกั ษะชีวิตของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง - โครงการสง่ เสรมิ กิจกรรมโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. ของสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา มัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

หน้า - โครงการส่งเสริมการจัดการเรียนรูค้ รูผู้สอนกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 172 โดยใช้ค่มู ือ“รู้คดิ รทู้ นั ปอ้ งกันยาเสพติด - โครงการการพัฒนาคุณภาพจดั การเรียนรภู้ าษาองั กฤษตามกรอบความสามารถ 178 ทางภาษาสากล CEFR กล่มุ บริหารงานการเงินและสนิ ทรัพย์ - โครงการฝกึ อบรม หลักสตู ร “การดำเนนิ การจัดซ้ือจัดจา้ งประจำปงี ประมาณ 2565 185 ภายใตก้ ฎกระทรวงกำหนดพัสดแุ ละวธิ ีการจดั ซือ้ จดั จ้างที่รัฐต้องการส่งเสรมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2563 (ว 845) การบรหิ ารสัญญาและข้ันตอนกระบวนการควบคุมพัสดุ การจดั ทำทะเบยี นทรพั ยส์ นิ และการตรวจสอบพัสดปุ ระจำปี การจำหน่ายพัสดุ กลมุ่ พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา - โครงการประเมนิ สมั ฤทธิผลการปฏบิ ตั ิงานในหนา้ ทีร่ องผู้อำนวยการสถานศกึ ษาท่ี 191 บรรจแุ ละแตง่ ต้ังใหม่ สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ในระยะเวลา 1 ปี - โครงการพัฒนาบคุ ลากรทางการศึกษาให้มีองคค์ วามรู้และเสริมสรา้ งเครือข่ายการ 197 บริหารจัดการการศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19) กลมุ่ บริหารงานบุคคล - โครงการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับการดำเนนิ การตาม 203 หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการประเมินตำแหน่งและวทิ ยฐานะและบคุ ลากรทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์ ว 9/2564 และหลักเกณฑ์ ว 10/2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา - โครงการเสริมสรา้ งมาตรการความปลอดภยั ในสถานศึกษาอยา่ งรอบดา้ น ตามมาตรการ 213 โรงเรียนปลอดภัย (Safety School) ภายใต้ “ระบบดี มภี ูมิคุ้มกนั ทนั เวลา” ประจำปีงบประมาณ 2565 - โครงการพัฒนาศักยภาพผปู้ ฏิบตั งิ านการแก้ไขปญั หาเด็กออกกลางคนั ปกี ารศึกษา 2565 223 - โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาระบบการดแู ลชว่ ยเหลือและคุม้ ครองเดก็ นักเรยี น 227 ประจำปี 2565 - โครงการสนบั สนนุ และติดตามการดำเนินงานของสถานศึกษา การจดั สรรเงนิ อดุ หนุน 234 นักเรียนยากจนพเิ ศษแบบมเี ง่ือนไข หรอื ทุนเสมอภาค ประจำปกี ารศึกษา 2564 คำสง่ั คณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2565 – 2567) และการจดั ทำ แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

ความเชือ่ มโยงยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ (พ.ศ. 2561- 2565) ด้านการศึกษา แผน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ย.ชาติ 20 ปี ย.1 ด้านความม่ันคง ย.2 ด้านการสรา้ งความสามารถ ย.3 ด้านการพัฒนาและเสริม ในการแข่งขันฯ คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ เป้าหมาย บ้านเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติและ ประเทศไทยมีขีดความสามารถใน ทุกระดับ การแข่งขันสูงขึ้น ประเด็นยทุ ธศาสตร์ การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาท่ีมี อตุ สาหกรรมและบรกิ ารแห่ง การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบส ผลกระทบต่อความม่ันคง อนาคต : อตุ สาหกรรมและบรกิ าร ดิจิทัล ข้อมูลและปัญญาประดิษฐ์ แผนแม่บทภายใต้ ความม่ันคง เขตเศรษฐกิจพิเศษ การพัฒนาการเรียนรู้ การ ยทุ ธศาสตร์ชาติ เป้าหมาย ประเทศชาติมีความมั่นคงในทุกมิติ การเจรญิ เติบโตของผลิตภัณฑม์ วล 1. คนไทยมีการศึกษาที่มี 2. คนไทยได้รับการ คนไทยท และทุกระดับเพ่ิมขึ้น รวมของพ้ืนที่เขตเศรษฐกจิ พิเศษ มาตรฐานสากลเพ่ิมข้ึน มี พัฒนาเต็มตาม พัฒนาอย ทั้งหมดเพิ่มขึ้น การลงทุนในพื้นท่ี ทักษะที่จา้ เป็นของโลก ศักยภาพตามความถนัด และคุณธ เขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งหมดได้รับ ศตวรรษที่ 21 สามารถใน และความสามารถของ ทักษะใน การยกระดับ การแก้ปัญหาปรับตัว พหุปัญญาดีขึ้น ต่อเนื่องต สอื่ สาร และท้างานร่วมกบั ผอู้ น่ื ได้อยา่ งมีประสิทธผิ ล เพ่ิมขึ้น มีนิสยั ใฝ่เรยี นรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ แผนยอ่ ย การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาที่มี การพัฒนาเขตพิเศษภาคตะวนั ออก การปฏิรูปกระบวนการ การตระหนักถึงพหุ การพัฒน ผลกระทบต่อความม่ันคง เรยี นรู้ที่ตอบสนองต่อการ ปัญญาของมนุษย์ท่ี เรยี น/วยั เปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 หลากหลาย

นพัฒนาการศึกษาขน้ั พื้นฐาน (พ.ศ. 2564 - 2565) สพฐ. และแผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สพม.ชบรย ามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง มสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ย.5 ด้านการสรา้ งการ ย.4 ด้านการสรา้ งโอกาส ย.6 ด้านการปรับสมดุลและ พ พรอ้ มสา้ หรบั วถิ ีชีวติ ในศตวรรษที่ 21 เติบโตบนคุณภาพ และความเสมอภาคทาง พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครฐั ชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อ ส่ิงแวดล้อม สังคม สร้างความเป็นธรรม และ ภาครัฐมีวฒั นธรรมการทา้ งานที่มุ่ง ลดความเหลอื่ มล้าในทุกมิติ ผลสมั ฤทธ์แิ ละผลประโยชน์ สว่ นรวม ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส สนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 การลดความเหลือ่ มล้า ภาครฐั ที่ยึดประชาชนเป็น สร้างความเป็นธรรมในทุก ศูนยก์ ลาง ตอบสนองความต้องการ มิติ และให้บรกิ ารอย่างสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส รพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต การปรับเปลี่ยนค่านิยม ความเสมอภาคและ การบริการประชาชนและ และวัฒนธรรม หลักประกันทางสังคม ประสิทธิภาพภาครัฐ ทุกช่วงวยั มีคุณภาพเพ่ิมข้ึน ได้รบั การ คนไทยมีคุณธรรม คนไทยทุกคนได้รับการ บรกิ ารของรฐั มีประสิทธภิ าพและมี ยา่ งสมดุล ท้ังด้านรา่ งกายสติปัญญา จริยธรรม ค่านิยมท่ีดีงาม คุ้มครองและมีหลกั ประกัน คุณภาพเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้บรกิ าร ธรรม จริยธรรม เป็นผู้ที่มีความรู้และ และมีความรัก และภูมิใจ ทางสังคมเพิ่มขึ้น นศตวรรษที่ 21 รักการเรียนรู้อยา่ ง ในความเป็นไทยมากขึ้น ตลอดชีวติ น้าหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน การด้ารงชีวติ สังคมไทยมี ความสขุ และเป็นท่ียอมรบั ของนานาประเทศมากข้ึน นาช่วงวยั การพัฒนาและ การปลกู ฝังคุณธรรม มาตรการแบบเจาะจง การพัฒนาระบบบริหารงานภาครฐั ยรุ่น ยกระดับศักยภาพวยั จรยิ ธรรม ค่านิยม และการ กลมุ่ เป้าหมายเพื่อแกป้ ัญหา แรงงาน เสริมสร้างจิตสาธารณะ เฉพาะกลมุ่ และการเป็นพลเมืองที่ดี

ย.ชาติ 20 ปี ย.1 ด้านความมั่นคง ย.2 ด้านการสร้างความสามารถ ย.3 ด้านการพัฒนาและเสริม ในการแข่งขันฯ เป้าหมายแผนยอ่ ย ปัญหาความมั่นคงท่ีมีอยใู่ นปัจจุบัน การขยายตัวของผลติ ภัณฑม์ วล คนไทยได้รับการศึกษาท่ีมี ประเทศไทยมีระบบ วัยเรียน/ว ข้อมูลเพ่ือการสง่ เสริม และทักษะ (เช่น ปัญหายาเสพติด ความม่ันคง รวมของพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค คุณภาพตามมาตรฐาน มี การพัฒนาศักยภาพ 21 ครบถ ทางไซเบอร์ การค้ามนุษย์ ฯลฯ) ตะวนั ออกเพ่ิมข้ึน ทักษะการเรยี นรู้และ วิเคราะห์ มีสา้ นึกพล ได้รบั การแก้ไขจนไม่สง่ ผลกระทบต่อ ทักษาะที่จ้าเป็นของโลก ตามพหุปัญญา เพ่ือ กล้าหาญท ประโยชน์ในการพัฒนา ความสาม การบรหิ ารและพัฒนาประเทศ ศตวรรษท่ี 21 สามารถ และการสง่ ต่อการ เข้าถึงการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวติ พัฒนาให้เต็มตาม แกป้ ัญหา ศักยภาพเพ่ิมข้ึน ส่ือสารแล รว่ มกนั กับ ประสิทธิผ แนวทางการพัฒนา พัฒนาการจดั การศึกษาให้สอดคลอ้ ง พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานดา้ น การพัฒนาหลักสูตร การวัด การพัฒนาหลักสูตร การสง่ เส การศึกษ กบั อัตลกั ษณ์วิถีชีวิต วัฒนธรรม ให้เกิด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม การประเมินผล การพัฒนาครู การวดั การประเมิน นักเรยี น ความสมานฉันท์ และรู้รักสามัคคี มีความ ส้าหรับการท้าวิจยั ตอ่ ยอด เพ่อื ขยาย การพัฒนาโรงเรยี นให้มีคุณภาพ การพัฒนาครู การ การศึกษ เข้าใจซ่งึ กันและกัน อยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ติ ผลงานวิจัยไปส่เู ชิงพาณิชยแ์ ละพัฒนา ดว้ ยการปรับเปล่ยี นระบบการ และมัธย สขุ มีคุณภาพตามมาตรฐาน และ ศูนยก์ ารเรยี นรู้และศูนยบ์ ริการ รวมทั้ง เรยี นรู้ส้าหรบั ศตวรรษที่ 21 พัฒนาคุณภาพ ปลาย เสริมสรา้ งภูมิคุ้มกันป้องกนั ยาเสพตดิ ใน จดั ท้าหลักสตู รการเรียนการสอนและ โดยพัฒนากระบวนการเรียนรู้ท่ี สถานศึกษา กลุ่มเดก็ และเยาวชน พัฒนากระบวนการ ฝกึ อบรมตอ่ ยอดโครงสร้างพนื้ ฐานให้ ใช้ฐานความรู้และระบบคิดใน ระบบตดิ ตาม ดแู ล ช่วยเหลือกลุ่มเดก็ และ เป็นแหลง่ สนับสนุนการถ่ายทอด ลักษณะสหวิทยาการ พัฒนา เยาวชนที่มีปัญหายาเสพตดิ สร้างและ เทคโนโลยที ั้งในและตา่ งประเทศ ระบบประกันคุณภาพการศึกษา พัฒนาระบบรองรับสนับสนุนการคืนเดก็ รวมถึงการให้บรกิ ารวิเคราะห์ทดสอบ สง่ เสรมิ การมีสว่ นร่วมจาก ดสี สู่ งั คม เสรมิ สรา้ งมาตรฐานในการ ของภูมิภาคอาเซยี น ภาคเอกชนในการจัดการศึกษา ป้องกนั และแก้ไขปัญหาในกลุม่ เป้าหมาย แผนปฏิรูปประเทศ การปฏิรปู การศึกษาและการ การปฏิรูปการจัดการเรียน การปฏิรปู กลไกและ การปฏิร (พ.ศ. 2561- 2565) เรยี นรู้โดยการผลกิ โฉมด้วยระบบ การสอนเพ่ือตอบสนองการ ระบบการผลติ คัดกรอง เรยี นการ ดิจิทัล เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพัฒนาผู้ประกอบ ตอบสนอ ด้านการศึกษา วชิ าชีพครู และอาจารย์ เปล่ียนแ ศตวรรษ นโยบาย สพฐ. ด้านความปลอดภัย ด้านคุณภ ปี งปม. 64 - 65 ข้อท่ี 3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้อ แผนพัฒนาการศึกษา ข้ันพืน้ ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) ข้อท่ี 1 สง่ เสริมการจัดการศึกษาเพื่อ ความม่ันคงและความปลอดภัย สพม.ชบรย กลยุทธ์ ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาให้มีความ • สง่ เสรมิ และพัฒนาสมรรถนะทางการศึกษาของผู้เรียน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระดับน ปีงบประมาณ มั่นคงและความปลอดภัยจากภัยทุก • ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2565 - 2567 รูปแบบ • ส่งเสรมิ จัดการศึกษาเพ่ือการบรรลเุ ป้าหมายการพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื (Sustainable Development G สพม.ชบรย เศรษฐกิจพอเพียง

มสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ย.5 ด้านการสรา้ งการ ย.4 ด้านการสรา้ งโอกาส ย.6 ด้านการปรับสมดุลและ เติบโตบนคุณภาพ และความเสมอภาคทาง พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครฐั ชีวิตที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม สังคม วัยรุ้น มีความรู้ แรงงานมีศักยภาพในการ คนไทยเป็นมนุษยสี่ มบูรณ์ มีระบบและกลไกในการให้ ภาครัฐมีขีดสมรรถนะสูงเทียบเท่า ะในศตวรรษที่ เพิ่มผลผลิต มีทักษะ ความช่วยเหลือ มาตรฐานสากลและมีความคลอ่ งตัว ถ้วน รู้จักคิด อาชีพสูง ตระหนักใน มีความพรอ้ มในทุกมิติตาม กลมุ่ เป้าหมายท่ีต้องการ รกั การเรียนรู้ ความส้าคัญที่จะพัฒนา มาตราฐานและสมดุลท้ัง ความช่วยเหลอื เป็นพิเศษ ลเมือง มีความ ตนเองให้เตม็ ศักยภาพ ด้านสติปัญญา คุณธรรม มากยง่ิ ขึ้น ทางจรยิ ธรรม มี สามารถปรับตวั และ จรยิ ธรรม และจิตวญิ ญาณ มารถในการ เรยี นรู้ส่งิ ใหม่ตามพลวัต ที่ดี เข้าใจในการปฏิบัติตน า ปรบั ตวั ของโครงสร้างอาชีพและ ปรบั ตัวเข้ากบั ละท้างาน ความตอ้ งการของ สภาพแวดล้อมดีข้ึน บผู้อนื่ ไดอ้ ยา่ งมี ตลาดแรงงานเพมิ่ ขึ้น ผลตลอดชีวิตดขี ้ึน สรมิ การจัด การยกระดับศักยภาพ สง่ เสรมิ ให้มีการปลกู ฝัง จัดให้มีระบบสนับสนุน พัฒนาหน่วยงานภาครัฐให้เป็น ษาให้กบั ทักษะและสมรรถนะ คุณธรรม จริยธรรม ช่วยเหลอื ผเู้ รยี น ภาครัฐทันสมัย เปิดกวา้ ง เป็น นระดับ ของคนในช่วงวยั ค่านิยม และการเสรมิ สร้าง โดยเฉพาะผทู้ ี่ต้องการความ ษาภาคบังคับ ท้างานให้สอดคลอ้ ง จิตสาธารณะ และการเป็น ช่วยเหลอื เป็นพิเศษ องค์กรขีดสมรรถนะสูง ยมศึกษาตอน กับความสามารถ พลเมืองท่ีดี แก่ผู้เรียน เฉพาะบุคคลและ และบุคลากรที่เกยี่ วข้อง ความต้องการของ ตลาดแรงงาน รปู การจัดการ การปฏิรูปการจัดการ การปฏิรปู เพ่ือลดความ รสอนเพ่ือ เรียนการสอนเพื่อ เหลอื่ มล้าทางการศึกษา องการ ตอบสนองการ แปลงใน เปลี่ยนแปลงใน ษที่ 21 ศตวรรษท่ี 21 ภาพ ด้านโอกาส ด้านประสิทธภิ าพ องกับการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 ข้อที่ 2 สรา้ งโอกาส ความ ข้อท่ี 4 เพ่ิมประสิทธิภาพระบบการ เสมอภาค และการเข้าถึง บริหารจดั การและสง่ เสริมการมีสว่ นรว่ ม นานาชาติและเทียบเคียงสมู่ าตรฐานสากล บริการทางการศึกษาอยา่ ง Goals : SDGs) และเสริมสร้างคุณภาพชีวติ ที่เป็นมิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม ตามหลักปรชั ญา ในการจัดการศึกษา ทั่วถึงและมีคุณภาพ สร้างโอกาส และความ พัฒนาระบบการบริหารจัดการ เสมอภาคการเข้าถึงบรกิ าร กา้ กับติดตาม ประเมินผล ท่ีมี ทางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประสทิ ธภิ าพตามหลกั อย่างทั่วถึงที่มีคุณภาพ ธรรมาภิบาล และส่งเสริมการมี ส่วนรว่ มในการจัดการศึกษา

ส่วนที่ 1 สภาพบริบทของ เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา

สว่ นที่ 1 สภาพบรบิ ทของเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา สภาพทางภมู ิศาสตร์ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีภารกิจรับผิดชอบบริหารจัดการในเขตพ้ืนท่ีใน 2 จังหวัด ได้แก่ จงั หวดั ชลบุรี และจงั หวัดระยอง จังหวัดชลบุรี ได้แก่ อำเภอเมืองชลบุรี บ้านบึง หนองใหญ่ พนัสนิคม พานทอง บ่อทอง เกาะจันทร์ สัตหบี บางละมงุ ศรรี าชา และเกาะสีชงั จังหวัดระยอง ได้แก่ อำเภอเมืองระยอง แกลง บ้านค่าย บ้านฉาง ปลวกแดง นิคมพัฒนา วงั จันทร์ และเขาชะเมา ที่ตั้ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ต้ังอยู่เลขที่ 25/11 หมู่ 5 ตำบลอ่างศิลา อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี รหัสไปรษณีย์ 20000 เวบ็ ไซต์ ww.spm18.go.th เขตการปกครอง สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง แบ่งการปกครองเปน็ 2 จังหวัด 1. จังหวัดชลบุรี แบ่งเขตการปกครองออกแบ่งเป็น 11 อำเภอ 92 ตำบล 687 หมู่บ้าน การปกครอง ส่วนท้องถ่ินประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 9 แห่ง เทศบาล ตำบล 29 แห่ง องค์การบริหารส่วนตำบล 58 แห่ง และมีรูปแบบการปกครองพิเศษ 1 แห่ง คือ เมืองพัทยา แยกจากการปกครองของอำเภอบางละมุง เนื่องจากเป็นเมืองท่องเท่ียวระดับนานาชาติ ซ่ึงมีการเจริญเติบโต อยา่ งรวดเรว็ จังหวัดชลบุรี มี 11 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองชลบุรี อำเภอพนัสนิคม อำเภอพานทอง อำเภอบ้านบึง อำเภอศรีราชา อำเภอเกาะจันทร์ อำเภอบ่อทอง อำเภอหนองใหญ่ อำเภอบางละมุง อำเภอสัตหีบ และอำเภอ เกาะสีชงั 2. จังหวดั ระยอง แบ่งเขตการปกครองแบง่ ออกเป็น 8 อำเภอ 54 ตำบล 439 หมู่บา้ น 80 ชุมชน ส่วน ด้านการปกครองท้องถ่ินประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 2 แห่ง เทศบาลตำบล 22 แหง่ และองค์การบริหารสว่ นตำบล 42 แหง่ จังหวัดระยอง มี 8 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอเขาชะเมา อำเภอบ้านฉาง อำเภอวังจันทร์ อำเภอปลวกแดง อำเภอแกลง อำเภอนิคมพัฒนา และอำเภอบา้ นคา่ ย แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

2 โครงสรา้ งการบริหารงานและภารกิจของสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง ผูอ้ ำนวยการ คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาเขตพน้ื ที่ การศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง (ก.ต.ป.น.เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา) รองผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ กลุ่มอำนวยการ กลุ่มบรหิ ารงานการเงนิ กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล กลุ่มนิเทศ ติดตามและ กล่มุ นโยบายและแผน และสนิ ทรพั ย์ ประเมินผลฯ หนว่ ยตรวจสอบภายใน กลุ่มกฎหมายและคดี กลุม่ ส่งเสริมการ กลมุ่ ส่งเสรมิ การศกึ ษา จดั การศกึ ษา กลุม่ พฒั นาครแู ละ ทางไกล เทคโนโลยี บุคลากรทางการศึกษา สารสนเทศและการส่อื สาร ภารกจิ และอำนาจหนา้ ท่ี กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา พ.ศ. 2560 กระทรวงศึกษาธิการ ให้สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามีอํานาจหน้าท่ีดําเนินการให้เป็นไปตามอํานาจหน้าท่ีของสํานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบยี บบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ และมอี ํานาจหน้าที่ ดังต่อไปน้ี 1) จัดทํานโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา ให้สอดคล้องกับ นโยบาย มาตรฐานการศกึ ษา แผนการศกึ ษา แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน และความตอ้ งการของท้องถิ่น 2) วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนท่ัวไปของสถานศึกษา และหน่วยงานในเขตพ้ืนที่ การศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณท่ีได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ รวมทั้งกํากับ ตรวจสอบ ตดิ ตามการใช้จ่ายงบประมาณของหนว่ ยงานดงั กล่าว 3) ประสาน สง่ เสรมิ สนับสนุน และพัฒนาหลกั สตู รรว่ มกบั สถานศกึ ษาในเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา 4) กาํ กบั ดูแล ตดิ ตาม และประเมินผลสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานและในเขตพื้นที่การศึกษา 5) ศึกษา วิเคราะห์ วจิ ยั และรวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นการศกึ ษาในเขตพน้ื ที่การศึกษา 6) ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ รวมท้ังทรัพยากรบุคคล เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการ จัดและพฒั นาการศึกษาในเขตพื้นท่ีการศึกษา 7) จดั ระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา และประเมินผลสถานศกึ ษาในเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

3 8) ประสาน ส่งเสริม สนบั สนุน การจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมท้ังบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอ่ืนที่จัดการศึกษา รูปแบบท่หี ลากหลายในเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา 9) ดาํ เนินการและประสาน สง่ เสรมิ สนบั สนุนการวจิ ัยและพัฒนาการศกึ ษาในเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา 10) ประสาน ส่งเสรมิ การดาํ เนินการของคณะกรรมการ คณะอนกุ รรมการ และคณะทํางานดา้ นการศกึ ษา 11) ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองคก์ รหรือหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และองค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน 12) ปฏบิ ัติงานร่วมกบั หรอื สนบั สนุนการปฏบิ ัติงานของหนว่ ยงานอน่ื ที่เก่ยี วข้องหรือท่ีไดร้ ับมอบหมาย อำนาจหน้าที่ของสว่ นราชการภายในสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง 1. กลมุ่ อํานวยการ มอี าํ นาจหน้าท่ดี ังต่อไปนี้ (ก) ปฏบิ ัตงิ านสารบรรณสาํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา (ข) ดาํ เนินการเกีย่ วกบั งานชว่ ยอํานวยการ (ค) ดําเนนิ การเกย่ี วกบั อาคารสถานที่ ส่ิงแวดลอ้ ม และยานพาหนะ (ง) จัดระบบบริหารงาน การควบคุมภายใน และพฒั นาองค์กร (จ) ประชาสัมพันธ์ เผยแพรก่ ิจการ ผลงาน และบริการขอ้ มลู ข่าวสาร (ฉ) ประสานการดําเนินงานระหวา่ งหนว่ ยงานภายในและภายนอกเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา (ช) ดาํ เนินการเลือกตง้ั และสรรหากรรมการและอนุกรรมการ (ซ) ประสาน ส่งเสรมิ การจัดสวัสดิการและสวัสดิภาพ (ฌ) ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เก่ียวข้องกับกิจการภายในของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาท่ีมิใช่งาน ของ ส่วนราชการใดโดยเฉพาะ (ญ) ปฏบิ ัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของหนว่ ยงานอ่ืนทเ่ี กย่ี วข้องหรือ ที่ไดร้ ับมอบหมาย 2. กลุ่มนโยบายและแผน มอี าํ นาจหน้าทด่ี ังต่อไปนี้ (ก) จัดทํานโยบายและแผนพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการ ศึกษา แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน และความตอ้ งการของทอ้ งถ่นิ (ข) วเิ คราะห์การจัดตง้ั งบประมาณเงนิ อุดหนนุ ท่วั ไปของสถานศึกษาและแจง้ การจดั สรรงบประมาณ (ค) ตรวจสอบ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผลการใช้จา่ ยงบประมาณและ ผลการปฏิบัติตามนโยบาย และแผน (ง) ดําเนินการวเิ คราะห์ และจัดทําข้อมลู เกยี่ วกบั การจัดตั้ง ยบุ รวม เลิก และโอนสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน (จ) ปฏบิ ัตงิ านรว่ มกับหรอื สนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหนว่ ยงานอน่ื ทเี่ ก่ียวข้องหรือ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 3. กลมุ่ ส่งเสริมการศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร มอี ํานาจหน้าท่ดี งั ต่อไปน้ี (ก) ศกึ ษา วิเคราะห์ ดําเนนิ การ และส่งเสรมิ การจดั การศึกษาทางไกล (ข) ศกึ ษา วเิ คราะห์ วิจยั และพัฒนาระบบขอ้ มูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการจดั การศึกษา (ค) ดาํ เนินงานสารสนเทศเพอ่ื การบริหารและการจดั การศึกษา (ง) ดําเนนิ การวเิ คราะห์ และปฏิบัตงิ านระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอ่ื สาร (จ) สง่ เสรมิ สนับสนุน และดําเนนิ งานบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ฉ) ปฏิบตั ิงานร่วมกบั หรือสนับสนุนการปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานอนื่ ทเี่ กย่ี วข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย 4. กลุ่มบรหิ ารงานการเงินและสนิ ทรัพย์ มีอาํ นาจหนา้ ท่ดี งั ตอ่ ไปนี้ (ก) ดําเนนิ งานเก่ียวกบั งานบริหารการเงนิ (ข) ดําเนินงานเกี่ยวกับงานบริหารงานบัญชี แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

4 (ค) ดําเนนิ งานเก่ยี วกับงานบรหิ ารงานพัสดุ (ง) ดําเนนิ งานเกย่ี วกบั งานบริหารสินทรพั ย์ (จ) ให้คําปรึกษาสถานศึกษาเกยี่ วกับการดําเนินงานบริหารการเงิน งานบัญชี งานพัสดุ และงานบริหาร สนิ ทรพั ย์ (ฉ) ปฏบิ ัติงานร่วมกบั หรอื สนับสนุนการปฏบิ ัติงานของหนว่ ยงานอ่ืนทเ่ี ก่ียวข้อง หรือ ที่ไดร้ บั มอบหมาย 5. กล่มุ บรหิ ารงานบุคคล มีอาํ นาจหน้าทดี่ งั ตอ่ ไปนี้ (ก) วางแผนอตั รากาํ ลังและกําหนดตาํ แหนง่ (ข) ส่งเสริม สนบั สนุนการมหี รอื เล่อื นวิทยฐานะ (ค) วิเคราะห์และจัดทําข้อมูลเกี่ยวกับการสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง ย้าย โอน และการลาออกจาก ราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา (ง) ศึกษาวิเคราะห์ และดําเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน การเลื่อนเงินเดือน การมอบหมายหนา้ ที่ให้ปฏบิ ัติของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (จ) จัดทําข้อมูลเกย่ี วกับบาํ เหน็จความชอบและทะเบียนประวัติ (ฉ) จดั ทาํ ข้อมลู ระบบจา่ ยตรงเงินเดอื นและคา่ จา้ งประจํา (ช) ปฏิบัตกิ ารบริการและอํานวยความสะดวกในเรื่องการออกหนังสือรับรองตา่ งๆ การออกบัตรประจําตัว และการขออนุญาตต่าง ๆ (ซ) ศึกษา วเิ คราะห์ และจัดทําข้อมูลเพ่ือดาํ เนินงานวินยั อุทธรณ์ ร้องทุกข์ และการดาํ เนนิ คดีของรัฐ (ฌ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้อง หรือ ท่ีได้รับ มอบหมาย 6. กลุ่มพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มีอาํ นาจหน้าท่ีดังต่อไปน้ี (ก) ดำเนินงานฝกึ อบรมพัฒนาก่อนแต่งตัง้ (ข) ดาํ เนนิ งานฝึกอบรมพฒั นาเพือ่ เพ่มิ ศักยภาพการปฏบิ ัตงิ าน (ค) ดําเนินงานพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพและ จรรยาบรรณ (ง) ปฏบิ ัตงิ านสง่ เสรมิ สนับสนุน และยกย่องเชิดชเู กียรติข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (จ) ดาํ เนินการเก่ยี วกบั การลาศึกษาต่อ ฝกึ อบรม หรือปฏบิ ัติการวิจัยภายในประเทศ หรือตา่ งประเทศ (ฉ) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และเสรมิ สรา้ งระบบเครอื ข่ายการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา (ช) ปฏิบัติงานร่วมกบั หรอื สนบั สนุนการปฏิบัติงานของหนว่ ยงานอื่นทเี่ กี่ยวข้อง หรือที่ได้รบั มอบหมาย 7. กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา มอี ํานาจหนา้ ทีด่ ังต่อไปนี้ (ก) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรการศึกษาระดับ กอ่ นประถมศึกษา และหลกั สูตรการศกึ ษาพเิ ศษ (ข) ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั เพื่อพัฒนาหลกั สูตรการสอนและกระบวนการเรยี นรู้ของผู้เรียน (ค) วิจยั พัฒนา สง่ เสรมิ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ เก่ียวกับการวัดและการประเมินผลการศกึ ษา (ง) วิจัย พัฒนา ส่งเสริม มาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา รวมท้ังประเมิน ติดตาม และตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา (จ) นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา (ฉ) ศกึ ษา วเิ คราะห์ วิจัย และพฒั นาสื่อนวตั กรรมการนเิ ทศทางการศึกษา (ช) ปฏิบัติงานเลขานุการคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนที่ การศกึ ษา (ซ) ปฏิบตั ิงานรว่ มกับหรอื สนับสนนุ การปฏิบัติงานของหนว่ ยงานอนื่ ท่ีเกีย่ วข้อง หรือที่ได้รบั มอบหมาย แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

5 8. กลุ่มสง่ เสรมิ การจัดการศึกษา มอี ํานาจหน้าท่ดี งั ต่อไปน้ี (ก) ศึกษา วเิ คราะห์ สง่ เสริม สนบั สนนุ และดาํ เนินงานเกีย่ วกบั ศาสตรพ์ ระราชา (ข) ส่งเสริมการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในรูปแบบการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอธั ยาศยั (ค) ส่งเสริม สนับสนุน และดําเนินการเก่ียวกับการจัดเตรียมข้อมูลการจัดการศึกษา ข้ันพื้นฐานของ บุคคล ครอบครัว องค์กร ชุมชน องคก์ รวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สงั คมอื่น (ง) ประสานและส่งเสรมิ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ให้สามารถจดั การศึกษาสอดคลอ้ งกบั นโยบายและ มาตรฐานการศึกษา (จ) สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาสาํ หรบั ผ้พู กิ าร ผู้ดอ้ ยโอกาส และผมู้ คี วามสามารถพิเศษ (ฉ) ส่งเสริมงานการแนะแนว สุขภาพ อนามัย กีฬา และนันทนาการ ลูกเสือ ยุวกาชาด เนตรนารี ผู้บําเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร ประชาธิปไตย วินัยนักเรียน การพิทักษ์สิทธิเด็ก และเยาวชน และงานกจิ การนกั เรยี นอ่ืน (ช) สง่ เสริม สนบั สนุนการระดมทรพั ยากรเพือ่ การศึกษา (ซ) ประสานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการใช้สารเสพติด และส่งเสริมป้องกันแก้ไขและ คุ้มครอง ความประพฤตนิ กั เรียนและนักศกึ ษา รวมทัง้ ระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน (ฌ) ดาํ เนนิ งานวิเทศสมั พนั ธ์ (ญ) ประสาน สง่ เสรมิ การศึกษากบั การศาสนาและการวัฒนธรรม (ฎ) สง่ เสรมิ แหลง่ การเรียนรู้ สงิ่ แวดลอ้ มทางการศึกษา และภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ (ฏ) ประสานและสง่ เสรมิ สถานศึกษาให้มบี ทบาทในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (ฐ) ปฏิบตั ิงานรว่ มกับหรือสนับสนนุ การปฏิบัติงานของหนว่ ยงานอน่ื ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง หรือท่ีไดร้ บั มอบหมาย 9. หนว่ ยตรวจสอบภายใน มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (ก) ดําเนนิ งานเกีย่ วกับงานตรวจสอบการเงนิ การบัญชี และตรวจสอบระบบการดแู ล ทรพั ยส์ ิน (ข) ดําเนินงานเก่ียวกับงานตรวจสอบการดําเนินงานหรือกระบวนการปฏิบัติงาน เปรียบเทียบกับ ผลผลติ หรือเป้าหมายท่ีกาํ หนด (ค) ดาํ เนนิ งานเกี่ยวกับการประเมินการบรหิ ารความเส่ยี ง (ง) ดําเนนิ การอ่นื เกย่ี วกับการตรวจสอบภายในตามทีก่ ฎหมายกาํ หนด (จ) ปฏบิ ตั ิงานร่วมกับหรือสนบั สนุนการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานอื่นทเ่ี กยี่ วข้องหรือ ทีไ่ ด้รับมอบหมาย 10. กลุ่มกฎหมายและคดี มีอำนาจหนา้ ที่ ดังต่อไปนี้ (ก) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ พฒั นาการมวี ินยั และรักษาวินัย (ข) ดำเนนิ การสบื สวนเก่ียวกับเรื่องรอ้ งเรยี น (ค) ดำเนินการสอบสวนเก่ียวกบั วินยั และการตรวจพิจารณาวินยั (ง) ดำเนนิ การเก่ยี วกบั การอทุ ธรณแ์ ละการพิจารณาอทุ ธรณ์ (จ) ดำเนนิ การเกยี่ วกบั การร้องทุกข์และการพจิ ารณาร้องทุกข์ (ฉ) ดำเนนิ การเกี่ยวกับความรับผดิ ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ (ช) ดำเนินการเกีย่ วกับงานคดปี กครอง คดีแพ่ง คดอี าญา และคดอี ่นื ๆ ของรฐั (ซ) ดำเนินการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ (ฌ) ศกึ ษา วิเคราะห์ วิจยั จัดทำข้อมูลและติดตามประเมินผลเพ่ือพฒั นางานกฎหมายและงานคดขี องรฐั (ญ) ปฏบิ ัติงานรว่ มกับหรือสนบั สนุนการปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงานอนื่ ท่เี กี่ยวข้องหรือท่ไี ด้รบั มอบหมาย แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

6 โครงสร้างการบริหารงานสถานศึกษา แผนภมู ิแสดงโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษาในสังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

7 ข้อมูลพื้นฐานดา้ นการศึกษา สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง มีข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ลกู จ้างประจำ พนักงานราชการ และพนักงานอัตราจา้ ง ภายในสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา จำนวน 66 คน ดงั น้ี - ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา จำนวน 1 คน - รองผูอ้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา จำนวน 3 คน - ศึกษานเิ ทศก์ จำนวน 10 คน - บุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค (2) จำนวน 33 คน - ลกู ประจำ จำนวน 1 คน - พนกั งานราชการ/ครอู ัตราจ้างชว่ ยราชการ จำนวน 12 คน - อัตราจา้ ง จำนวน 6 คน มีผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ และลูกจ้างชั่วคราว ในสถานศึกษา จำนวน 4,858 คน มีโรงเรียนในจังหวัดชลบุรี จำนวน 31 โรงเรียน และจังหวัดระยอง จำนวน 20 โรงเรียน รวมทั้งสิ้น 51 โรงเรียน ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 48 คน รองผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 97 คน ข้าราชการครู จำนวน 3,789 คน บุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค (2) จำนวน 1 คน ลูกจ้างประจำ จำนวน 61 คน พนักงานราชการ จำนวน 98 คน ลูกจ้างช่ัวคราว จำนวน 762 คน (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 10 กันยายน 2564) ตารางที่ 1 แสดงจำนวนโรงเรียนสงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง ขนาดโรงเรยี น จำนวนนกั เรียน จงั หวดั ชลบรุ ี จงั หวัดระยอง (จำนวนโรงเรียน) (จำนวนโรงเรียน) ขนาดเล็ก นักเรยี น 1 – 359 คน 3 2 ขนาดกลาง นกั เรยี น 360 – 1,079 คน 8 8 ขนาดใหญ่ นกั เรยี น 1,080 – 1,679 คน 7 1 ขนาดใหญ่พเิ ศษ นักเรยี น 1,680 คน ขึ้นไป 13 9 รวมโรงเรียน 31 20 รวมโรงเรยี นทัง้ สิ้น 51 แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

8 ตารางท่ี 2 แสดงขอ้ มลู นกั เรยี นรายโรงเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2564 (ขอ้ มลู 10 มิถุนายน 2564) ท่ี โรงเรยี น ประถม จำนวนนกั เรยี น ปวช. รวม 75 1 ชลบรุ ี “สขุ บท” 246 มัธยม มัธยม 75 2,823 2 ชลราษฎรอำรุง 246 ตน้ ปลาย 3,500 3 ชลกนั ยานุกลู 4,087 4 แสนสุข 1,641 1,182 1,648 5 บ้านสวน (จนั่ อนสุ รณ)์ 2,236 6 อา่ งศิลาพิทยาคม 1,501 1,999 1,203 7 หนองรมี งคลสขุ สวัสดิ์ 2,109 1,978 8 บา้ นบงึ “อตุ สาหกรรมนเุ คราะห์” 1,192 456 282 9 บา้ นบึง “มนูญวิทยาคาร” 1,529 707 3,265 10 วทิ ยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวิทยาลยั ชลบุรี 11 คลองกิว่ ยงิ่ วทิ ยา 852 351 604 12 หนองใหญ่ศริ ิวรวาทวทิ ยา 194 88 719 13 พานทองสภาชนูปถมั ภ์ 1,769 1,496 551 14 พานทอง 417 187 624 15 พนัสพิทยาคาร 288 431 1,734 16 ทุ่งเหียงพิทยาคม 372 179 1,504 17 เทพศริ ินทร์ ชลบุรี (อทุ กฯ อุปถมั ถ์) 378 246 3,081 18 บอ่ ทองวงษ์จันทร์วทิ ยา 1,254 480 581 19 เกาะโพธิ์ถ้วยงามวิทยา 1,024 480 92 20 เกาะจันทรพ์ ิทยาคาร 1,604 1,477 1,368 21 บางละมุง 358 223 782 22 โพธสิ มั พนั ธพ์ ิทยาคาร 69 23 330 23 ผนิ แจม่ วชิ าสอน 728 565 2,303 24 ศรีราชา 414 368 2,711 25 ทุ่งศุขลาพิทยา “กรุงไทยอนุเคราะห์” 172 158 444 26 บงึ ศรรี าชาพิทยาคม 1,173 1,130 2,955 27 สรุ ศักดิว์ ิทยาคม 1,227 1,484 1,559 28 สวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบุรี 280 164 1,222 29 เกาะสีชงั 1,684 1,271 1,356 30 สตั หบี วทิ ยาคม 994 565 2,770 31 สงิ ห์สมุทร 369 798 424 1,735 รวมจังหวดั ชลบุรี 3,584 924 432 52,022 1,589 1,181 88 35 1050 685 1,584 2,000 29,256 22,445 แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

ท่ี โรงเรียน จำนวนนกั เรยี น ปวช. 9 ประถม มธั ยมตน้ มัธยม 1 วดั ป่าประดู่ 0 รวม 2 ระยองวทิ ยาคม ปลาย 75 3 บา้ นฉางกาญจนกุลวิทยา 1,796 871 2,667 4 เพรกั ษมาตาวทิ ยา 3,610 5 มาบตาพุดพันพิทยาคาร 1,620 1,990 2,503 6 ระยองวิทยาคม นิคมอุตสาหกรรม 7 ระยองวิทยาคม ปากน้ำ 1,640 863 854 8 เฉลมิ พระเกยี รติพระศรนี ครนิ ทร์ ระยอง 493 361 2,930 9 บ้านคา่ ย 10 ปลวกแดงพิทยาคม 1,986 944 449 11 นิคมวทิ ยา 787 12 แกลง”วทิ ยสถาวร” 236 213 1,044 13 วงั จันทรว์ ทิ ยา 478 309 2,071 14 เขาชะเมาวิทยา 657 387 2,152 15 ชำนาญสามัคคีวิทยา 1,827 16 ชำฆอ้ พิทยาคม 1,325 746 2,714 17 สุนทรภพู่ ทิ ยา 1,386 766 1,733 18 ห้วยยางศึกษา 1,132 695 351 19 มกุฎเมืองราชวทิ ยาลยั 1,624 20 มาบยางพรวิทยาคม 1,598 1,116 210 968 765 756 รวมจงั หวดั ระยอง 185 166 374 รวมทั้งสิ้น 1,011 902 722 842 116 94 30,509 82,531 459 297 245 129 613 398 727 115 0 18,562 11,947 246 47,818 34,392 แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

10 ตารางที่ 3 เครือขายสงเสรมิ ประสทิ ธิภาพการจดั การมัธยมศกึ ษา (สหวทิ ยาเขต) ท่ี ชื่อสหวิทยาเขต จำนวน รายชอื่ โรงเรียน โรงเรยี น 1 สหวทิ ยาเขตชลบุรี 1 12 1. ชลบรุ ี “สขุ บท” 8. บ้านบึง “อุตสาหกรรม 2. ชลราษฎรอำรุง นุเคราะห์” 3. ชลกันยานุกลู 9. บา้ นบงึ “มนูญวทิ ยาคาร” 4. แสนสุข 10. วทิ ยาศาสตรจ์ ฬุ าภรณ 5. บา้ นสวน (จ่ันอนุสรณ)์ ราชวทิ ยาลัย ชลบุรี 6. อา่ งศลิ าพทิ ยาคม 11. คลองกิว่ ย่งิ วทิ ยา 7. หนองรีมงคลสขุ สวสั ดิ์ 12. หนองใหญ่ศิริวรวาทวทิ ยา 2 สหวทิ ยาเขตชลบุรี 2 8 1. พานทองสภาชนปู ถมั ภ์ 5. เทพศริ นิ ทร์ ชลบุรี (อุทกฯ 2. พานทอง อปุ ถัมถ์) 3. พนสั พิทยาคาร 6. บอ่ ทองวงษจ์ นั ทรว์ ิทยา 4. ทุ่งเหียงพิทยาคม 7. เกาะโพธิ์ถว้ ยงามวิทยา 8. เกาะจนั ทร์พิทยาคาร 3 สหวิทยาเขตชลบรุ ี 3 11 1. บางละมงุ 6. บงึ ศรรี าชาพิทยาคม 2. โพธสิ มั พันธพ์ ทิ ยาคาร 7. สุรศักด์ิวิทยาคม 3. ผนิ แจม่ วชิ าสอน 8. สวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบรุ ี 4. ศรีราชา 9. เกาะสีชัง 5. ทุง่ ศุขลาพิทยา “กรงุ ไทย 10.สัตหีบวิทยาคม อนุเคราะห”์ 11. สิงหส์ มทุ ร 4 สหวิทยาเขตระยอง 1 12 1. วดั ปา่ ประดู่ 7. ระยองวทิ ยาคม ปากน้ำ 2. ระยองวิทยาคม 8. เฉลมิ พระเกียรติพระศรี 3. บา้ นฉางกาญจนกลุ วิทยา นครินทร์ ระยอง 4. เพรกั ษมาตาวทิ ยา 9. บา้ นคา่ ย 5. มาบตาพดุ พันพิทยาคาร 10. ปลวกแดงพิทยาคม 6. ระยองวิทยาคม นคิ ม 11. นคิ มวิทยา อุตสาหกรรม 12. มาบยางพรวทิ ยาคม 5 สหวทิ ยาเขตระยอง 2 8 1. แกลง”วทิ ยสถาวร” 5. ชำฆ้อพทิ ยาคม 2. วังจันทรว์ ิทยา 6. สนุ ทรภพู่ ทิ ยา 3. เขาชะเมาวทิ ยา 7. ห้วยยางศึกษา 4. ชำนาญสามคั ควี ทิ ยา 8. มกุฎเมอื งราชวทิ ยาลัย แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

11 การพัฒนาสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง มีผลการดำเนินงานด้านคุณภาพการศึกษา ด้านโอกาสทางการศึกษา และด้านประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สรุป จำแนกตามรายดา้ น ได้ดงั นี้ ดา้ นโอกาสทางการศกึ ษา สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ได้ดำเนินส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนได้รับ การศกึ ษาอยา่ งทั่วถึงและมคี ณุ ภาพ โดยมีกระบวนการดำเนินงานเพ่ือสง่ เสรมิ สนับสนุนใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย ดังน้ี • ส่งเสริม สนับสนุนให้โรงเรียนมีกระบวนการเรยี นการสอนท่ีหลากหลายสอดคล้องกับบริบท ของพื้นที่ • ส่งเสริม สนับสนุนให้โรงเรียนมีรูปแบบการศึกษาที่หลากหลาย ตามความเหมาะสมของ ผูเ้ รียนแตล่ ะบุคคล • เสริมสร้างความเข้มแข็งให้โรงเรียนมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบคัดกรอง นักเรียนยากจนอย่างถกู ตอ้ ง • ติดตาม ตรวจสอบการรายงานข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อเป็นการ สนับสนุนการบรหิ ารจัดการงบประมาณ ดา้ นคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ข้ันพ้ืนฐาน (O-Net) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2563 จาก รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน มดี ังนี้  ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของนักเรียน ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าคะแนนเฉลีย่ รวมทกุ วิชาสูงกวา่ คา่ คะแนนเฉล่ียระดบั ประเทศ อย่ทู ี่ระดับ 41.44  ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของนักเรยี น ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 มคี า่ คะแนนเฉลย่ี รวมทกุ วิชาสงู กว่าคา่ คะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ อยู่ที่ระดบั 37.03 แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

12 ตารางท่ี 3 ค่าคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน (O-Net) ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2563 คะแนน : ร้อยละ กลุ่มสาระ ภาษาไทย คา่ เฉลีย่ ระดับ ภาษา ัองกฤษ 4 กลมุ่ สาระ ค ิณตศาสตร์ ิวทยาศาสตร์ ระดบั ประเทศ 54.29 34.38 25.46 29.89 36.01 ระดับสังกดั (สพฐ.) 55.18 34.14 25.82 30.17 36.33 ระดบั จงั หวดั ชลบรุ ี 57.23 37.78 28.68 31.80 38.87 ระดบั จังหวัดระยอง 56.65 36.58 26.78 31.10 37.78 ระดบั สพม.ชบรย 59.80 41.33 31.49 33.15 41.44 ผลตางระดบั ประเทศกับ เขตพ้นื ท่ี +5.51 +6.95 +6.03 +3.26 +5.44 คา่ คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-Net) 4 กลุม่ สาระวชิ า ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 เฉลีย่ รวม 0 36.01 41.44 54.29 59.8 70 วทิ ยาศาสตร์ 0 29.8933.15 คณติ ศาสตร์ 0 25.46 31.49 50 60 ภาษาอังกฤษ 0 34.38 41.33 ภาษาไทย 0 0 10 20 30 40 ระดบั สพม.ชบรย ระดับประเทศ แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

13 ตารางท่ี 4 ค่าคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-Net) ระดับ ภาษาไทย สงั คมศกึ ษาฯ ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา 2563 คะแนน : ร้อยละ กลุ่มสาระ ภาษาไทย คา่ เฉลีย่ ัสงคมศึกษา 5 กลมุ่ สาระ ภาษา ัองกฤษ ค ิณตศาสตร์ ิวทยาศาสตร์ ระดับประเทศ 44.36 29.94 26.04 35.93 32.68 33.79 ระดับสงั กัด (สพฐ.) 45.22 29.73 26.33 36.32 33.04 34.13 ระดับจงั หวัดชลบรุ ี 48.79 33.97 29.79 37.66 35.63 37.17 ระดับจงั หวดั ระยอง 48.17 32.86 29.30 37.61 35.88 36.76 ระดบั สพม.ชบรย 48.58 33.59 29.63 37.65 35.71 37.03 ผลตา่ งระดับประเทศกบั เขตพ้ืนที่ +4.22 +3.65 +3.59 +1.72 +3.03 +3.24 คา่ คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-Net) 4 กลมุ่ สาระวชิ า ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2563 เฉล่ยี รวม 37.03 วทิ ยาศาสตร์ 33.79 คณติ ศาสตร์ ภาษาอังกฤษ 35.71 สังคมศกึ ษา 32.68 ภาษาไทย 37.65 0 35.93 29.63 26.04 33.59 29.94 48.58 44.36 10 20 30 40 50 60 ระดบั สพม.ชบรย ระดับประเทศ แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

14 ตารางที่ 5 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O-Net) ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2559 - 2563 ระดบั เขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง คะแนน : ร้อยละ สาระการเรียนรู้ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 เปรยี บเทียบ ปกี ารศึกษา ปี 2562-2563 2559 2560 2561 2562 2563 ภาษาไทย 50.27 52.11 59.08 59.38 59.80 +0.42 ภาษาองั กฤษ 35.21 32.95 31.84 37.13 41.33 +4.20 คณิตศาสตร์ 33.80 30.38 33.77 30.56 31.49 +0.93 วทิ ยาศาสตร์ 37.44 34.37 38.60 31.54 33.15 +1.61 เฉลย่ี รวม 39.18 37.45 40.82 39.65 41.44 +1.79 เปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้นื ฐาน (O-Net) ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2559 - 2563 ระดับเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง 70 60 50 40 30 20 10 0 ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เฉล่ียรวม ภาษาไทย 2559 2560 2561 2562 2563 แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

15 ตารางที่ 6 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O-Net) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2559 – 2563 ระดบั เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง คะแนน : รอ้ ยละ สาระการเรียนรู้ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 เปรียบเทยี บ ปีการศึกษา ปี 2562 - 2563 2559 2560 2561 2562 2563 ภาษาไทย 56.85 52.96 51.32 46.29 48.58 +2.29 สังคมศกึ ษาฯ 37.63 36.23 36.72 37.69 37.65 -0.04 ภาษาองั กฤษ 30.18 31.34 34.99 32.46 33.59 +1.13 คณติ ศาสตร์ 28.02 28.37 36.06 30.04 29.63 -0.41 วทิ ยาศาสตร์ 33.50 31.89 32.86 31.77 35.71 +3.94 เฉลีย่ รวม 37.23 36.15 38.39 35.65 37.03 +1.38 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O-Net) ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2559 – 2563 ระดับเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง 60 50 40 30 20 10 0 สงั คมศึกษา ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เฉลย่ี รวม ภาษาไทย 2559 2560 2561 2562 2563 แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

16 ตารางที่ 7 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-Net) วชิ า ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 เปรยี บเทียบคา่ เฉล่ยี ระดับประเทศกับคา่ เฉลย่ี ระดบั เขตพนื้ ที่ ภาษาไทย ปกี ารศึกษา 2562 และ 2563 ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ คะแนน : รอ้ ยละ วิทยาศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศึกษา 2563 รวมเฉลีย่ ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลยี่ ผลตา่ ง ค่าเฉลีย่ คา่ เฉล่ยี ผลตา่ ง ระดบั ประเทศ ระดับเขตฯ +/- ระดับประเทศ ระดบั เขตฯ +/- 55.14 59.38 +4.24 54.29 59.80 +5.51 33.25 37.13 +3.88 34.38 41.33 +6.95 26.73 30.56 +3.83 25.46 31.49 +6.03 30.07 31.54 +1.47 29.89 33.15 +3.26 36.30 39.65 +3.36 36.01 41.44 +5.43 เปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-Net) ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 เปรียบเทยี บค่าเฉล่ียระดบั ประเทศกบั คา่ เฉลี่ยระดับเขตพน้ื ท่ี ปีการศึกษา 2562 และ 2563 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ รวมเฉล่ยี 2562 2563 แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

17 ตารางที่ 8 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ัน้ พนื้ ฐาน (O-Net) วชิ า ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ระหว่างค่าเฉลี่ยระดับประเทศ กบั คา่ เฉล่ยี ระดับเขตพืน้ ท่ี ภาษาไทย ปีการศกึ ษา 2562 และ 2563 สังคมศกึ ษาฯ ภาษาอังกฤษ คะแนน : รอ้ ยละ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 รวมเฉลี่ย คา่ เฉลยี่ ค่าเฉล่ีย ผลตา่ ง คา่ เฉลี่ย ค่าเฉล่ีย ผลต่าง ระดับประเทศ ระดับเขตฯ +/- ระดบั ประเทศ ระดับเขตฯ +/- 42.21 46.29 +4.08 44.36 48.58 +4.22 35.70 37.69 +1.99 35.93 37.65 +1.72 29.20 32.46 +3.26 29.94 33.59 +3.65 25.41 30.04 +4.63 26.04 29.63 +3.59 29.20 31.77 +2.57 32.68 35.71 +3.03 32.34 35.65 +3.31 33.79 37.03 +3.24 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-Net) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 เปรยี บเทียบค่าเฉลยี่ ระดับประเทศกับค่าเฉลี่ยระดับเขตพ้ืนที่ ปกี ารศกึ ษา 2562 และ 2563 5 สงั คมศกึ ษาฯ ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ รวมเฉลี่ย 4.5 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0.5 0 ภาษาไทย 2562 2563 แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

18 ดา้ นประสิทธิภาพการบริหารจดั การ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง มผี ลการพฒั นาดา้ นประสิทธิภาพการ บริหารจดั การ ไดแ้ ก่ ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสำนักงาน เขตพื้นท่ีการศกึ ษาตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (พ.ศ. 2560) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผลการ ประเมนิ การบรหิ ารและการจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐานตามตวั ชว้ี ัดแผนปฏิบัติราชการของสำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั นี้ • ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานของ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาตามมาตรฐานสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา (พ.ศ. 2560) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง สรุปภาพรวมมาตรฐานท่ี 3 สมั ฤทธิผล การบรหิ ารและการจัดการศึกษา อยใู่ นระดบั ดีเย่ยี ม • ผลการประเมินการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามตัวช้ีวัดแผนปฏิบัติ ราชการของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ตัวช้ีวัด จำนวน 10 ตัวชี้วัด) ผลการประเมินสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง บรรลุค่าเป้าหมาย จำนวน 8 ตัวช้วี ดั และ ไม่บรรลุคา่ เป้าหมาย จำนวน 2 ตวั ชีว้ ัด • ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของสำนักงาน เขต พ้ื น ที่ การศึกษ าออน ไล น์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA) ป ระจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ผลการดำเนินงานความ โปร่งใสในการดำเนินงานอยูใ่ นระดับ A โดยมีคา่ คะแนน 90.14 แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

สว่ นท่ี 2 ยุทธศาสตรแ์ ละนโยบาย ทีเ่ ก่ียวข้อง

สว่ นท่ี 2 ยทุ ธศาสตรแ์ ละนโยบายทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้มีการประกาศใช้ต้ังแต่วันที่ 6 เมษายน 2560 ซึ่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา มีบทบัญญัติไว้ใน มาตรา 54 รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคน ได้รับ การศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บ ค่าใช้จ่าย รัฐต้องดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคท่ีหน่ึง เพ่ือ พัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กร ปกครอง ส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีสว่ นร่วมในการดำเนินการด้วย รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับ การศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริม ให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือ กันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ ดำเนินการ กำกับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าว มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายวา่ ด้วยการศึกษาแห่งชาติซ่ึงอยา่ งน้อยตอ้ งมีบทบัญญัติ เกี่ยวกับการจดั ทำแผนการศึกษาแหง่ ชาติ การดำเนินการและตรวจสอบการดำเนินการ ให้เป็นไปตาม แผนการศึกษาแห่งชาติด้วย การศึกษาท้ังปวงต้อง มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเช่ียวชาญได้ตามความถนัดของตนและมีความ รับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในการดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนา ตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับการศกึ ษา ตามวรรคสาม รัฐต้องดำเนินการให้ผขู้ าดแคลนทุนทรพั ยไ์ ด้รับ การสนบั สนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการศกึ ษาตามความถนัดของตน พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนดคำนิยามการศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง การศึกษาระดับก่อนอุดมศึกษา และกำหนดในมาตรา 10 การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาส เสมอกัน ในการรับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีท่ีรัฐต้องจดั ให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บ คา่ ใช้จ่าย ▪ การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซ่ึงมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การส่ือสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่สามารถ พ่ึงตนเองได้ หรือไม่มี ผู้ดูแลด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เปน็ พิเศษ ▪ การศึกษาสำหรับคนพิการ ให้จัดต้ังแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสีย ค่าใช้จ่าย และให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทาง การศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กำหนดในกฎกระทรวง การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซ่ึงมี ความสามารถพเิ ศษ ต้องจัดด้วยรปู แบบที่เหมาะสม โดยคำนงึ ถงึ ความสามารถของบคุ คลนัน้ ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2580) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้รัฐมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมาย การพัฒนาประเทศอย่างย่งั ยืนตามหลกั ธรรมาภิบาล เพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่างๆ ให้สอดคล้องและ บูรณาการกัน ต่อมาได้มีการตราพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 ซึ่งกำหนดให้หน่วยงานรัฐ แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

20 ทุกหน่วยมีหน้าที่ดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 มีวิสัยทัศน์ คือ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 ประกอบด้วย ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพส่ิงแวดล้อม และความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติ และประสิทธิภาพ การบริหารจัดการและการเข้าถึงการให้บริการของภาครัฐ การพัฒนาประเทศในช่วงเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่าง การพัฒนาความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วนในรูปแบบ “ประชารัฐ โดยประกอบดว้ ย 6 ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นความมน่ั คง ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศาสตร์ชาติ ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม และยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและ พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั โดยแตล่ ะยทุ ธศาสตรม์ เี ป้าหมายและประเดน็ การพฒั นา ดงั นี้ 1. ยุทธศาสตร์ดา้ นความม่ันคง ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านความมน่ั คง มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญ คือ ประเทศชาติมัน่ คง ประชาชนมี ความสขุ เนน้ การบริหารจดั การสภาวะแวดล้อมของประเทศใหม้ ีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราชอธิปไตย และมี ความสงบเรียบร้อยในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับชาติสังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เครื่องมือ เทคโนโลยีและ ระบบฐานขอ้ มูลขนาดใหญใ่ หม้ คี วามพรอ้ มสามารถรบั มือกับภัยคุกคาม และภัยพบิ ัตไิ ด้ทกุ รูปแบบและทุกระดับ ความรุนแรง ควบคู่ไปกบั การปอ้ งกันและแก้ไขปญั หา ด้านความมั่นคงทีม่ ีอยู่ในปัจจุบัน และที่อาจจะเกิดข้นึ ใน อนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ ท้ังกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรท่ี ไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้าน และมิตรประเทศทั่วโลกบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล เพื่อเอื้ออำนวย ประโยชน์ต่อการดำเนินการของยุทธศาสตร์ชาติด้านอื่นๆ ให้สามารถขบั เคลื่อนไปไดต้ ามทิศทางและเป้าหมาย ท่กี ำหนด 2. ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนา ท่ีมุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติบนพื้นฐาน แนวคิด 3 ประการ ได้แก่ (1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปท่ีรากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติท่ีหลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของ ประเทศ ในด้านอื่นๆ นำมาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพ่ือให้สอดรับกับบริบทของ เศรษฐกิจและสังคมโลกสมยั ใหม่ (2) “ปรบั ปัจจุบนั ” เพ่ือปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของ ประเทศในมติ ิต่างๆ ทงั้ โครงข่ายระบบคมนาคมและขนสง่ โครงสร้างพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อมให้เออ้ื ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ (3) “สร้างคุณค่าใหม่ใน อนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพ่ือตอบสนอง ต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคตบนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับ ปัจจุบนั พร้อมทั้งการส่งเสริมและสนับสนนุ จากภาครัฐ ใหป้ ระเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจา้ งงาน ใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนในเวทีโลก ควบคู่ไปกับการยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดีรวมถึง การเพ่ิมขน้ึ ของคนชน้ั กลาง และลดความเหล่อื มล้ำของคนในประเทศได้ในคราวเดยี วกนั แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

21 3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมาย การพัฒนาที่สำคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดีเก่ง และ มีคุณภาพ โดยคนไทย มีความพร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดี ในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อ่ืน มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติมีหลักคิดท่ีถูกต้อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ และภาษาทส่ี าม และอนุรักษ์ภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนร้แู ละการพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวิตสู่ การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอื่นๆ โดยมีสัมมาชีพตาม ความถนดั ของตนเอง 4. ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม มีเป้าหมาย การพัฒนาที่ให้ความสำคัญกับการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ท้ังภาคเอกชน ประชาสงั คม ชุมชน ทอ้ งถ่ิน มารว่ มขับเคล่ือน โดยการสนับสนนุ การรวมตัวของประชาชนในการร่วมคดิ รว่ มทำ เพ่ือส่วนรวม การกระจายอำนาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น การ เสริมสร้างความเขม้ แข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทย ทั้งในมิติ สขุ ภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มคี ุณภาพ สามารถพ่ึงตนเอง และทำประโยชน์ แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานท่ีสุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการและสวัสดิการท่ีมีคุณภาพ อย่างเป็นธรรมและทวั่ ถงึ 5. ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มี เป้ า ห ม า ย ก าร พั ฒ น า ที่ ส ำคั ญ เพื่ อ น ำไ ป สู่ ก า รบ ร ร ลุ เป้ า ห ม า ย ก าร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น ใน ทุ ก มิ ติ ทัง้ ด้านสงั คม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอ้ ม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายในและ ภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พื้นท่ีเป็นตัวต้ังในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่ายที่ เก่ียวข้อง ได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากท่ีสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยเป็นการดำเนินการบนพื้นฐาน การเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตโดยให้ความสำคัญกับการสร้าง สมดลุ ท้งั 3 ด้าน อนั จะนำไปสคู่ วามย่งั ยืนเพ่ือคนรุ่นตอ่ ไปอย่างแท้จรงิ 6. ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพ่ือปรับเปลี่ยนภาครัฐท่ียึดหลัก “ภาครัฐของประชาชน เพ่ือ ประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท หน่วยงานของรัฐท่ีทำหน้าที่ในการกำกับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจท่ีมีการแข่งขัน มีสมรรถนะสูง ยดึ หลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชนส์ ่วนรวม มีความทนั สมัย และ พร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่ิง การพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ระบบการทำงานที่เป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่าและปฏิบัติงานเทียบได้ กับมาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้อง ร่วมกันปลูกฝังค่านิยมความซ่ือสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์และสร้างจิตสำนึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริต ประพฤติมิชอบอย่างส้ินเชิง นอกจากนั้น กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จำเป็น มีความทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนำไปสู่การลดความเหลื่อมล้ำและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการ ยตุ ิธรรมมีการบรหิ ารทมี่ ีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไมเ่ ลือกปฏบิ ตั ิ และการอำนวยความยุตธิ รรมตามหลักนติ ิธรรม แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

22 แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนท่จี ัดทำไว้เพื่อให้บรรลุเปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ชาติ โดย จะมีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวข้องจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามนั้น รวมท้ังการจัดทำงบประมาณ รายจ่าย ประจำปีงบประมาณจะต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ซ่ึงประเด็นแผนแม่บท ภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ 23 ประเดน็ ประกอบด้วย 1) ความม่นั คง 2) การต่างประเทศ 3) การพฒั นาการเกษตร 4) อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 5) การท่องเที่ยว 6) การพัฒนาพื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ 7) โครงสร้างพ้ืนฐานระบบโลจิสติกส์และดิจิทัล 8) ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ยุคใหม่ 9) เขตเศรษฐกิจพิเศษ 10) การปรับเปล่ียนค่านิยมและวัฒนธรรม 11) การพัฒนาศักยภาพคนตลอด ช่วงชีวิต 12) การพัฒนาการเรียนรู้ 13) การสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะท่ีดี 14) ศักยภาพการกีฬา 15) พลังทาง สังคม 16) เศรษฐกิจฐานราก 17) ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม 18) การเติบโตอย่างยั่งยืน 19) การบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ 20) การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ 21) การต่อต้านการ ทุจริต และประพฤติมิชอบ 22) กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม และ 23) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ซึง่ กระทรวงศึกษาธิการได้รับมอบหมายให้เป็นองค์กรเจ้าภาพหลัก ในประเด็นที่ 12 การพฒั นาการเรียนรู้ และ เปน็ องค์กรเจ้าภาพรว่ ม ในประเด็นที่ 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ติ สรปุ สาระสำคญั ได้ดังน้ี ▪ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (12) ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ มีเป้าหมายระดับ ประเด็น 2 เป้าหมาย คือ 1) คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพ่ิมขึ้น มีทักษะท่ีจำเป็นของ โลกศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแก้ปัญหาปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล เพ่ิมข้ึน มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และ 2) คนไทยได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความ ถนัดและความสามารถ ของพหุปัญญาดีขึ้น มีแผนย่อย 2 แผน ดงั น้ี 1. แผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ ที่ตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 ซงึ่ มี แนวทางการพัฒนา โดย 1) ปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ สำหรับศตวรรษท่ี 21 2) เปล่ียนโฉมบทบาท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่ 3) เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัด การศกึ ษาในทุกระดับ ทกุ ประเภท 4) พัฒนาระบบ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต และ 5) สร้างระบบการศึกษาเพอื่ เป็น เลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ และมีเป้าหมาย ให้คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการ เรียนรู้ และมีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตดีขึ้น 2. แผนย่อยการตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย ซ่ึงมีแนวทางการพัฒนา คือ 1) พัฒนาและ ส่งเสรมิ พหุปัญญา 2) สร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดลอ้ มการทำงาน และระบบสนับสนุนที่เหมาะสม สำหรับผู้ มีความสามารถพิเศษ และมีเป้าหมายของแผนย่อย คือ ประเทศไทยมีระบบข้อมูลเพ่ือการส่งเสริม การพัฒนา ศักยภาพตามพหปุ ัญญา เพื่อประโยชน์ในการพฒั นาและการสง่ ต่อการพฒั นาใหเ้ ตม็ ตามศักยภาพเพมิ่ ข้ึน ▪ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (11) ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มเี ป้าหมาย ระดับประเด็น คือ คนไทยทุกชว่ งวยั มีคุณภาพเพ่ิมข้ึน ไดร้ ับการพัฒนาอย่างสมดลุ ท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา และคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้ท่ีมีความรู้และทักษะในศตวรรษท่ี 21 รักการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ตลอดชีวิต และมีแผนย่อยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2 แผนย่อย ได้แก่ 1. แผนย่อยการพัฒนาเด็ก ต้ังแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย แนวทางการพัฒนาท่ีเก่ียวข้อง กบั การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ จัดให้มี การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่ดี ท่ีสมวัยทุกด้าน โดยการพัฒนาหลักสูตร การสอนและปรับปรุงสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน ท่ีเน้นการพัฒนาทักษะสำคัญด้าน ต่าง ๆ อาทิ ทักษะทางสมอง ทักษะด้านความคิดความจำ ทักษะการควบคุม อารมณ์ ทักษะการวางแผนและ การจัดระบบ ทักษะการรู้จักประเมินตนเอง ควบคู่กับการยกระดับบุคลากร ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มี ความพร้อมทั้งทักษะ ความรู้ จริยธรรม และความเป็นมืออาชีพ เป้าหมายของแผนย่อย คือ เด็กเกิดอย่างมี คุณภาพมีการพัฒนาการสมวัย สามารถเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพมากขึ้น 2. แผนย่อยการพัฒนาช่วงวัยเรียน/ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

23 วัยรนุ่ แนวทางพัฒนา ได้แก่ 1) จัดให้มกี ารพัฒนาทักษะท่สี อดรับ กับทักษะในศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะทักษะ ด้านการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน ความคิดสร้างสรรค์การทำงานร่วมกับ ผู้อื่น 2) จัดให้มีการพัฒนาทักษะด้านภาษา ศิลปะ และความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยีท่ีสอดคล้องกับ ความสามารถ ความถนัดและความสนใจ 3) จัดให้มีการพัฒนาทักษะในการ วางแผนชีวิตและวางแผนการเงิน ตลอดจนทักษะที่เช่ือมต่อกับโลกการทำงาน 4) จัดให้มีพัฒนาทักษะอาชีพ ที่สอดคล้องกับความต้องการของ ประเทศ การบ่มเพาะการเปน็ นกั คิด นักนวัตกร และการเป็นผูป้ ระกอบการใหม่ รวมทง้ั ทักษะชีวิตที่สามารถอยู่ ร่วมกนั และทำงานภายใต้สังคมท่ีเป็นพหุวัฒนธรรม 5) ส่งเสริมและสนับสนุน ระบบบริการสุขภาพและอนามัย ท่ีเชื่อมต่อกันระหว่างระบบสาธารณสุขกับโรงเรียนหรือสถานศึกษา เพ่ือเสริมสร้าง ศักยภาพด้านความฉลาด ทางเชาวน์ปัญญา และความฉลาดทางอารมณ์ตลอดจนภูมิคุ้มกันด้านต่าง ๆ ในการดำเนินชีวิต ของกลุ่มวัย เรียน/วัยรุ่น เป้าหมายของแผนย่อย คอื วยั เรยี น/วัยรุ่น มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้ มีสำนึกพลเมือง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตวั สื่อสาร และทำงานรว่ มกับผ้อู ืน่ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิผลตลอดชีวิตดีขึน้ แผนการปฏริ ปู ประเทศ แผนการปฏิรูปประเทศ ได้มีการประกาศเมื่อวันท่ี 6 เมษายน 2561 เพื่อกำหนดกลไก วิธีการ และ ขั้นตอนการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ โดยการปฏิรูปประเทศต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ตามที่ บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วย ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุ กับการพัฒนาด้านจิตใจ สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรม และมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพื่อขจัดความเหลื่อมล้ำ ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งมีการปฏิรูป 13 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการเมือง 2) ด้าน การบริหารราชการแผ่นดิน 3) ด้านกฎหมาย 4) ด้านกระบวนการยุติธรรม 5) ด้านเศรษฐกิจ 6) ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 7) ด้านสาธารณสุข 8) ด้านสื่อสารมวลชน และเทคโนโลยีสารสนเทศ 9) ด้านสังคม 10) ด้านพลังงาน 11) ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ 12) ด้าน การศึกษา 13) ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ท้ังนี้ การปฏิรูปประเทศต้อง สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน กับยุทธศาสตร์ชาติ ที่มีผลบังคับใช้เมื่อวันท่ี 13 ตุลาคม 2562 จึงได้มี การประกาศแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564 ซึง่ กำหนดแผนงานในแผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา (ฉบับปรบั ปรุง) 5 เร่ือง ได้แก่ 1) การสร้างโอกาส และความเสมอภาคทางการศึกษาต้ังแต่ระดับปฐมวัย 2) การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐาน สมรรถนะ เพ่ือตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 3) การปฏิรูปกลไก และระบบการผลิตและพฒั นา ครูและบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพมาตรฐาน 4) การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคแี ละระบบอืน่ ๆ ท่ี เน้นการฝึกปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบ นำไปสู่การจ้างงาน และการสร้างงาน 5) การปฏิรูปบทบาทการวิจัยและ ระบบธรรมาภิบาลของสถาบนั อดุ มศึกษา เพอ่ื สนบั สนนุ การพฒั นาประเทศไทยออกจากกับดักรายได้ปานกลาง อย่างยั่งยืน และกำหนดกิจกรรมที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ต่อประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ (Big Rock) เพ่ือเรง่ รัดใหเ้ กิดผลการดำเนินการทส่ี ำคัญภายในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) หลักการพัฒนาประเทศที่สำคัญในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” “การพัฒนาที่ย่ังยืน” และ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” วัตถุประสงค์และเป้าหมายการพัฒนา แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

24 ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนท่ีสมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบ วินัย ค่านิยมที่ดี มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพที่ดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจน เป็น คนเกง่ ทม่ี ที ักษะความรคู้ วามสามารถและพฒั นาตนเองได้ต่อเนือ่ งตลอดชีวติ ซ่ึงมยี ทุ ธศาสตร์ในการพฒั นา ดังนี้ 1) การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 2) การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 3) การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างย่ังยืน 4) การเติบโตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเพื่อ การพัฒนาท่ีย่ังยืน 5) การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความม่ังค่ังและย่ังยืน 6) การ บริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาลในสังคมไทย 7) การพัฒนา โครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์ 8) การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 9) การ พัฒนาภาค เมอื ง และพืน้ ที่เศรษฐกจิ 10) ความรว่ มมือระหว่างประเทศเพ่อื การพฒั นาการพฒั นาความรว่ มมือ แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 เป็นแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาระยะยาว โดย จดุ มุ่งหมายที่สำคญั ของแผน คือ การมุ่งเน้นการประกันโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาและการศึกษา เพื่อการมีงานทำและสร้างงานได้ ภายใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลกท่ีขับเคลื่อนด้วย นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งความเป็นพลวตั ร เพ่ือให้ประเทศไทยสามารถก้าวข้ามกับดักประเทศ ท่ีมีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งภายใต้กรอบแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ได้ กำหนดสาระสำคัญสำหรับบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาการศึกษาใน 5 ประการ ได้แก่ การเข้าถึงโอกาส ทางการศึกษา (Access) ความเท่าเทียมทางการศึกษา (Equity) คุณภาพการศึกษา (Quality) ประสิทธิภาพ (Efficiency) และตอบโจทย์บริบทเปล่ียนแปลง (Relevancy) ในระยะ 15 ปีข้างหน้า มียุทธศาสตร์ ดังนี้ 1) การจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ 2) การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และ นวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 3) การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวยั และการ สรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ 4) การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา 5) การจัดการ ศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ 6) การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหาร จัดการศกึ ษา นโยบายการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 กระทรวงศึกษาธิการ ตระหนักถึงความสำคัญของยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคน ตลอด ช่วงชีวิต การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็ก ตั้งแต่ช่วง การตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน รวมถึง การส่งเสริมศักยภาพวัยผู้สูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงใน ศตวรรษที่ 21 และพหุปัญหาของมนุษย์ท่ีหลากลาย และประเด็นอื่นท่ีเก่ียวข้อง จึงกำหนดนโยบายการจัด การศึกษา ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ดังนี้ นโยบายการจดั การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 1. การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ให้ทันสมัย และทันการเปล่ียนแปลงของโลกใน ศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกระดับการศึกษาให้มีความรู้ ทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับบริบท สังคมไทย 2. การพฒั นาคุณภาพและประสิทธภิ าพครแู ละอาจารย์ในระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล เพ่ือให้ครูและอาจารย์ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะท้ังด้านการจัดการ แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

25 เรยี นรู้ ด้วยภาษาและดิจิทัล สามารถปรบั วิธกี ารเรยี นการสอนและการใชส้ ่ือทันสมยั และมีความรบั ผิดชอบต่อ ผลลัพธ์ ทางการศกึ ษาทเี่ กดิ กบั ผ้เู รยี น 3. การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (NDLP) และการ ส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน เพ่ือให้มีหน่วยงานรับผิดชอบพัฒนาแพลตฟอร์ม การเรียนรู้ด้วย ดิจิทัลแห่งชาติ ที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ ได้อย่าง กว้างขวางผ่านระบบออนไลน์ และการนำฐานข้อมูลกลางทางการศึกษามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา 4. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษา ให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาติท่ีได้รับการปรับปรุงเพื่อกำหนดให้มีระบบบริหาร และการ จัดการ รวมถึงการจัดโครงสร้างหน่วยงานให้เอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ สถานศึกษาให้มี ความเป็นอิสระ และคล่องตัว การบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน มีระบบการบริหารงาน บคุ คลโดยยดึ หลัก ธรรมาภบิ าล 5. การปรบั ระบบการประเมนิ ผลการศึกษาและการประกันคณุ ภาพ พร้อมจัดทดสอบวัดความรู้ และ ทักษะที่จำเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาทั้งสายวิชาการและสายวิชาชีพ เพื่อให้ระบบการประเมินผล การศึกษาทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัย ตอบสนองผลลัพธ์ ทางการศกึ ษาได้อย่างเหมาะสม 6. การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรให้ท่ัวถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการระดมทรัพยากร ทาง การศึกษาจากความร่วมมือทุกภาคส่วน เพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม และสร้าง โอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพทัดเทียมกลุ่มอ่ืน ๆ กระจายทรัพยากรทั้งบุคลากร ทาง การศึกษา งบประมาณและส่อื เทคโนโลยไี ด้อยา่ งทวั่ ถึง 7. การนำกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF) และกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (AQRF) สู่การปฏิบัติ เป็น การผลิตและการพัฒนากำลังคนเพ่ือการพัฒนาประเทศ โดยใช้กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เชื่อมโยงระบบการศึกษา และการอาชีพ โดยใช้กลไกการเทียบโอนประสบการณ์ด้วยธนาคารหน่วยกิตและการจัดทำมาตรฐานอาชีพใน สาขา ที่สามารถอ้างอิงอาเซยี นได้ 8. การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย เพ่ือเป็นการขับเคลื่อนแผนบูรณาการการพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 สู่การปฏิบัติเป็นรูปธรรม โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นำไปเปน็ กรอบในการจัดทำแผนปฏบิ ตั ิการเพื่อพัฒนาเดก็ ปฐมวัย และมกี ารตดิ ตามความกา้ วหนา้ เปน็ ระยะ 9. การศึกษาเพื่ออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพ่ือให้ผู้จบการศึกษา ระดับปรญิ ญาและอาชีวศึกษามีอาชีพและรายได้ที่เหมาะสมกับการดำรงชีพและคณุ ภาพชีวติ ที่ดมี ีส่วนช่วยเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลกได้ 10. การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทยด้วยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ ในการจัด การศึกษาทุกระดับการศึกษา เพ่ือให้สถาบันการศึกษาทุกแห่งนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาใชใ้ นการจัดการศึกษาผา่ นระบบดจิ ทิ ลั 11. การเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา และ ผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ เพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ ของกลุ่ม ผู้ดอ้ ยโอกาสทางการศกึ ษา และผ้เู รียนที่มีความต้องการจำเป็นพเิ ศษ 12. การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยยึดหลักการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเก่ียวข้อง เพ่ือเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ทางการศึกษาและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

26 นโยบายระยะเรง่ ดว่ น (Quick Win) 1. ความปลอดภัยของผู้เรียน โดยจัดให้มีรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการในการดูแลช่วยเหลือ นักเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุข และได้รับการปกป้องคุ้มครองความปลอดภัย ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ รวมถึงการสร้างทักษะให้ผู้เรียนมีความสามารถในการดูแลตนเองจากภัยอันตราย ต่าง ๆ ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม 2. หลักสูตรฐานสมรรถนะ มงุ่ เน้นการจัดการเรยี นรู้ท่หี ลากหลายโดยยดึ ความสามารถของผู้เรยี นเป็น หลกั และพัฒนาผเู้ รยี นให้เกิดสมรรถนะทตี่ อ้ งการ 3. ฐานข้อมูล Big Data มุ่งพัฒนาการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและไม่ซ้ำซ้อน เพื่อให้ได้ข้อมูล ภาพรวมการศึกษาของประเทศท่ีมีความครบถว้ น สมบูรณ์ ถูกต้องเป็นปัจจุบัน และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ ได้อยา่ งแทจ้ ริง 4. ขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สนับสนุนการดำเนินงาน ของศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตามความเลิศของแต่ละสถานศึกษาและตาม บริบท ของพื้นที่ สอดคล้องกับความต้องการของประเทศทั้งในปัจจุบันและอนาคต ตลอดจนมกี ารจัดการเรียน การสอน ด้วยเครอ่ื งมือทที่ ันสมยั สอดคล้องกับเทคโนโลยปี ัจจบุ ัน 5. พัฒนาทักษะทางอาชีพ ส่งเสริมการจัดการศึกษาท่ีเน้นพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียน เพ่ือพัฒนา คุณภาพชวี ิต สรา้ งอาชีพและรายได้ทเี่ หมาะสม และเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 6. การศึกษาตลอดชีวิต การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัยให้มีคุณภาพและ มาตรฐาน ประซาชนในแต่ละช่วงวัยได้รับการศึกษาตามความต้องการอย่างมีมาตรฐาน เหมาะสมและเต็มตาม ศักยภาพ ต้ังแต่วัยเด็กจนถึงวัยชรา และพัฒนาหลักสูตรท่ีเหมาะสมเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่สังคม ผสู้ ูงวยั 7. การจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้ท่ีมี ความต้องการจำเป็นพิเศษได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพสามารถดำรงชีวิตในสังคมอย่างมีเกียรติ ศักดิ์ศรี เท่าเทยี มกบั ผอู้ ื่นในสงั คม สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองและมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาประเทศ นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตระหนักถึงนโยบายด้านการศึกษา ซ่ึงถือเป็น ส่วนสำคัญย่ิงในการพัฒนาประเทศให้บรรลุเป้าหมายอย่างย่ังยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในทุกด้าน ดังนั้น เพ่ือให้การดำเนินการเกิดผลสัมฤทธ์ิและสอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศ โดยเฉพาะกิจกรรมปฏิรูป ประเทศที่จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ (Big Rock) ท่ีมีความสำคัญเร่งด่วน และสามารถดำเนินการ และวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรมในช่วงปี พ.ศ. 2564 - 2565 ซึ่งเกี่ยวข้องกับสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน ได้แก่ 1) การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาต้ังแต่ระดับ ปฐมวัย 2) การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษท่ี 21 และ 3) การสร้างระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาทีม่ ีคณุ ภาพ จึงกำหนด นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ดงั น้ี 1. ด้านความปลอดภยั พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการ ศึกษาและสถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการ มสี ุขภาวะทดี่ ี สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัตใิ หม่และโรคอุบตั ซิ ำ้ 2. ดา้ นโอกาส 2.1 สนบั สนุนให้เด็กปฐมวัยไดเ้ ข้าเรียนทุกคน มพี ฒั นาการท่ีดีท้ังทางร่างกาย จติ ใจ วินัย อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญา ใหส้ มกบั วัย แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

27 2.2 ดำเนินการให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพ่ืออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพื่อการศึกษาต่อและ ประกอบอาชีพตรงตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนท่ีมีความสามารถ พิเศษส่คู วามเปน็ เลศิ เพื่อเพ่มิ ขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 2.3 พัฒนาระบบดูแลชว่ ยเหลอื เด็กและเยาวชนท่ีอยู่ในการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน เพื่อป้องกัน ไม่ให้ออกจากระบบการศึกษา รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้ได้รับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อยา่ งเทา่ เทยี มกัน 2.4 ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. ด้านคณุ ภาพ 3.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะท่ีจำเป็น ของโลกในศตวรรษท่ี 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวนิ ัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมน่ั การปกครอง ในระบบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ มีทัศนคติทีถ่ กู ต้องต่อบ้านเมอื ง 3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง นวัตกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และการเลอื กศกึ ษาต่อเพ่ือการมีงานทำ 3.3 ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถ นะหลัก ที่จำเป็นในแต่ละระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ี สร้างสมดุลทุกด้าน ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาพหุปัญญา พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลผู้เรียน ทุกระดับ 3.4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการ เรียนการสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าท่ีได้ดี มีความรู้ความสามารถในการ ใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั มีการพฒั นาตนเองทางวชิ าชพี อยา่ งตอ่ เน่ือง รวมทง้ั มจี ิตวิญญาณความเปน็ ครู 4. ด้านประสิทธภิ าพ 4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักในการ ขบั เคล่ือนบนฐานขอ้ มูลสารสนเทศทถ่ี กู ตอ้ ง ทนั สมยั และการมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคส่วน 4.2 พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียนทีส่ ามารถดำรงอยู่ไดอ้ ย่างมคี ุณภาพ (Stand Alone) ให้มคี ุณภาพอย่างย่ังยืน สอดคล้องกับบรบิ ท ของพ้ืนท่ี 4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาที่มีจำนวนนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษา ปที ี่ 1 – 3 นอ้ ยกว่า 20 คน ใหไ้ ด้รบั การศกึ ษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบายโรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน 4.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพในสถานศึกษาท่ีมีวัตถุประสงค์เฉพาะและ สถานศึกษาท่ตี ง้ั ในพน้ื ท่ีลกั ษณะพิเศษ 4.5 สนับสนุนพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา และการเพมิ่ ความคล่องตัวในการบริหารและการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 4.6 เพิม่ ประสทิ ธิภาพการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

28 แผนพฒั นาการศึกษาจงั หวัดชลบรุ ี (พ.ศ. 2563 – 2565) วสิ ัยทศั น์ ผู้นำองค์กรด้านการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 มุ่งสู่การศึกษาเพ่ือการมีงานทำ ด้วยวิถีพอเพียง อย่างมั่นคง มงั่ ค่งั ย่งั ยนื ในเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (EEC) พนั ธกิจ 1. พัฒนาการบริหารการจดั การศึกษาให้มีประสิทธภิ าพ 2. สรา้ งโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาอย่างท่ัวถงึ และเท่าเทยี มต่อเนอื่ งตลอดชีวติ 3. ส่งเสริมการจัดการศึกษาด้านวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อยกระดับ คณุ ภาพสมู่ าตรฐานการศกึ ษาระดบั นานาชาติตอ่ เนื่องตลอดชีวติ 4. พฒั นาระบบการนเิ ทศ ตรวจ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาท้งั ระบบ ยทุ ธศาสตร์ 1. การจัดการศกึ ษาเพือ่ ความมนั่ คงของสังคมและประเทศชาติ 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถใน การศกึ ษาเพอ่ื การมงี านทำ 3. การพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ใหม้ ีคุณภาพ 4. การพฒั นาศักยภาพคนทุกชว่ งวยั และการสร้างความเทา่ เทียมทางการเรยี นรู้ 5. การจัดการศึกษาเพื่อสรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา แผนพฒั นาการศกึ ษาจงั หวัดระยอง (พ.ศ. 2563 – 2565) วสิ ยั ทัศน์ คุณธรรมนำสงั คมแห่งการเรยี นรู้ รว่ มสร้างระยองให้เป็นเมืองนวัตกรรมการศกึ ษาส่กู ารพฒั นา เศรษฐกจิ ชั้นนำ ผเู้ รยี นมีงานทำอยา่ งยัง่ ยืน พนั ธกิจ 1. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาที่บูรณาการเร่ืองคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมของสถาบัน มุ่งให้ผู้เรียนมีทักษะการดำรงชีวิตและมีงานทำสอดคล้องกับบริบทพ้ืนท่ี บนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 2. จัดการศึกษาให้คนทุกช่วงวัยมีคุณภาพตามหลักสูตร เชื่อมโยงทุกระดับ มีองค์ความรู้ มี คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามสมรรถนะ และใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือการเรียนการสอนอย่างมี ประสิทธิภาพ รูเ้ ท่าทนั การเปลี่ยนแปลงของโลก 3. สร้างความเสมอภาค ลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา และส่งเสริมการพัฒนาประสิทธิภาพ การบรหิ ารจดั การศึกษาตามหลกั ธรรมาภิบาล ยทุ ธศาสตร์ 1. การจดั การศกึ ษาเพ่อื ความมน่ั คงของสงั คมและประเทศชาติ 2. พัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรรม เพ่ือสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขันของ ประเทศ 3. พัฒนาระบบการเรียนการสอนทุกช่วงวัยให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ และใช้เทคโนโลยี สารสนเทศให้ผูเ้ รียนมีสมรรถนะและทักษะเพื่อการมีงานทำ 4. การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาคและความเทา่ เทียมทางการศึกษา 5. พฒั นาผ้เู รียนใหม้ ีทักษะชวี ิตบนพ้ืนฐานของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม 6. พัฒนาประสิทธภิ าพระบบบริหารจดั การศกึ ษาให้เป็นองค์กรอจั ฉรยิ ะ (Smart Education) แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

สว่ นท่ี 3 ทศิ ทางการพฒั นาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ส่วนท่ี 3 ทศิ ทางการพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ได้นำยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรปู ประเทศด้านการศกึ ษา นโยบายของรัฐบาล นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นโยบายของหน่วยงานอืน่ ๆ และระเบยี บ กฎหมายที่เกีย่ วข้องมาวเิ คราะห์ความเชอื่ มโยง เพอื่ กำหนดทิศทางใน การพฒั นาการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 วสิ ยั ทศั น์ มุ่งส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด ให้ได้มาตรฐานระดับสากล สคู่ ณุ ภาพท่ยี ัง่ ยนื ค่านยิ มองคก์ ร “ซื่อสัตย์ พร้อมบริการ สุภาพ มีคุณธรรม” ตัวย่อ “ISPM” (Integrity Service mind Polite Morality) พันธกจิ 1. ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการศึกษา เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของ ชาติและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และส่งเสริมสนับสนุนการ ดูแลความปลอดภัยด้านเพศวิถี ภัยพิบัติ และภัยคุกคามทุกรูปแบบให้กับผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และสถานศกึ ษา สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอบุ ัติซ้ำ รองรบั วถิ ชี วี ิตใหม่ รวมถงึ จดั สภาพแวดล้อมท่ี เอือ้ ต่อการมสี ขุ ภาวะทด่ี ี 2. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่ม ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน และมคี ณุ ธรรมจริยธรรม 3. ส่งเสริมสนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษาจัดการศึกษา พัฒนาผู้เรียนและพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสอดคล้องกับพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นสำหรับอนาคต มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวางแผนการศึกษาต่อ เพอื่ การมีงานทำและปรบั ตวั ในการดำรงชวี ติ อย่ใู นสงั คมอย่างมคี วามสุข 4. พัฒนาผูบ้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ใหเ้ ป็นบคุ คลแหง่ การเรียนรู้ มคี วามเช่ียวชาญ สมรรถนะตรงตามสายงาน และจรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชีพ 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) และเสริมสรา้ งคุณภาพชวี ิตทเี่ ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม ตามหลัก ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการ กำกับติดตาม ประเมินผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการ จัดการศกึ ษา แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

30 เปา้ ประสงค์ 1. ผู้เรียนยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา ได้รับการดูแลความ ปลอดภัยด้านเพศวิถี ภัยพิบัติ และภัยคุกคามทุกรูปแบบ สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ ำ รองรับวถิ ีชีวติ ใหม่ รวมถึงจัดสภาพแวดล้อมทเี่ อ้ือต่อการมีสขุ ภาวะท่ีดี 2. ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่ม ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง มีคุณภาพตามมาตรฐาน และมี คุณธรรมจริยธรรม 3. ผู้เรียน และสถานศึกษาในพื้นที่นวัตกรรม ได้รับการพัฒนาและมีคุณภาพตามมาตรฐาน สอดคล้องกับพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) มีสมรรถนะและ ทกั ษะที่จำเปน็ สำหรับอนาคต มีความรคู้ วามเข้าใจ สามารถวางแผนการศึกษาต่อ เพอื่ การมงี านทำและปรับตัว ในการดำรงชวี ติ อยใู่ นสงั คมอยา่ งมคี วามสขุ 4. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความเชี่ยวชาญ สมรรถนะตรงตามสายงาน และจรรยาบรรณตามมาตรฐานวชิ าชีพ 5. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) และเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง 6. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง มีระบบบริหารจัดการ กำกับติดตาม ประเมนิ ผล ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพตามหลักธรรมาภบิ าล และการมสี ว่ นร่วมจากทกุ ภาคสว่ นในการจัดการศึกษา แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

31 นโยบาย กลยทุ ธ์ และตัวชว้ี ัดผลสมั ฤทธ์ิ ขอ้ ท่ี 1 สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาเพ่อื ความมน่ั คงและความปลอดภัย กลยุทธ์ ▪ ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาให้มีความมั่นคงและความปลอดภัยจากภัยทกุ รูปแบบ ตัวชวี้ ดั ความสำเร็จ คา่ เป้าหมาย ปี 2565 ร้อยละของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนในการสร้างภูมิคุ้มกัน ร้อยละ 85 พรอ้ มรบั มอื การเปลีย่ นแปลงและภยั คกุ คามแบบใหม่ ทกุ รูปแบบ ขอ้ ท่ี 2 สร้างโอกาส ความเสมอภาค และการเขา้ ถึงบริการทางการศกึ ษาอยา่ งทวั่ ถงึ และมคี ณุ ภาพ กลยุทธ์ ▪ สร้างโอกาส และความเสมอภาคการเข้าถึงบริการทางการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง ทมี่ ีคุณภาพ ตัวช้ีวัดความสำเร็จ ค่าเป้าหมาย ปี 2565 อัตราการเรียนตอ่ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ รอ้ ยละ 70 ร้อยละของผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษา และพัฒนา ร้อยละ 80 สมรรถภาพหรอื บริการทางการศกึ ษาท่เี หมาะสมตามความจำเปน็ รอ้ ยละของผูเ้ รยี นที่ไดร้ บั เงนิ อดุ หนนุ ปัจจัยพน้ื ฐานสำหรบั นักเรยี นยากจน ร้อยละ 20 ข้อที่ 3 ยกระดบั คุณภาพการศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 กลยทุ ธ์ ▪ ส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะทางการศึกษาของผู้เรียน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขนั ระดับนานาชาติและเทยี บเคยี งสมู่ าตรฐานสากล ▪ ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา ▪ ส่งเสริมจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) และเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ตัวช้ีวัดความสำเร็จ คา่ เป้าหมาย ปี 2565 ร้อยละของผ้เู รียนไดร้ บั การพัฒนาใหม้ สี มรรถนะและทกั ษะที่จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 รอ้ ยละของผ้เู รียนมีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคร์ ะดบั ดขี นึ้ ไป ร้อยละ 80 ร้อยละของครูสอนภาษาอังกฤษ ไดร้ ับการพฒั นาและยกระดับความรภู้ าษาองั กฤษโดย ร้อยละ 90 ใช้ระดับการพัฒนา ทางด้านภาษา (CEFR) ตามเกณฑ์ท่ีกำหนด ร้อยละ 90 คะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติพนื้ ฐาน (O-NET) รอ้ ยละ 41.33 แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

32 ค่าเปา้ หมาย ปี 2565 ตวั ช้ีวดั ความสำเรจ็ ร้อยละ 70 ร้อยละของสถานศกึ ษาที่สอนในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ได้รบั การเตรียมความ รอ้ ยละ 10 พรอ้ ม (ดา้ นการอา่ น คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์) ในการประเมนิ ระดบั นานาชาติ รอ้ ยละ 10 ตามโครงการ PISA ร้อยละ 80 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่สี ามารถจัดการเรยี นการสอน ตามพหปุ ญั ญา รอ้ ยละของนักเรยี นท่ีได้รับการคัดกรองเพ่ือพฒั นาพหุปัญญารายบุคคล ร้อยละของสถานศึกษาที่ไดร้ ับการสง่ เสริมสนบั สนุนการพัฒนาความสามารถด้าน วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ข้อที่ 4 เพม่ิ ประสทิ ธิภาพระบบการบรหิ ารจัดการและส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา กลยทุ ธ์ ▪ พัฒนาระบบการบริหารจัดการ กำกับติดตาม ประเมินผล ที่มีประสิทธิภาพตาม หลกั ธรรมาภบิ าล และส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา ตัวชี้วัดความสำเรจ็ คา่ เป้าหมาย รอ้ ยละของหน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบบรหิ ารจดั การทีเ่ ป็นดิจทิ ลั ปี 2565 สดั สว่ นของเวลาทค่ี รใู ชเ้ พอ่ื การเรยี นการสอน และงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การเรียน รอ้ ยละ 80 การสอนต่องานอนื่ ๆ ร้อยละของสถานศึกษาในพื้นท่นี วัตกรรมการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาค สัดสว่ น 3 : 2 ตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ไดร้ ับการพัฒนาประสทิ ธิภาพ การจัดการศึกษาตามบริบทพ้ืนที่ รอ้ ยละ 70 ร้อยละของหนว่ ยงานและสถานศึกษาที่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ITA ร้อยละ 55 แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

33 โครงการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ได้รับการจัดสรรงบประมาณประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 สำหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารสำนักงาน ค่าสาธารณูปโภค ค่าใช้จ่ายในการ บริหารจัดการโรงเรียนในสังกัดตามภาระงานและการติดตามพัฒนาคุณภาพ และงบประมาณสำหรับเป็น ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พ้ืนฐาน จึงไดจ้ ัดทำแผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 วงเงนิ รวมทัง้ ส้นิ 4,673,260 บาท ดังนี้ 1. คา่ ใชจ้ ่ายพ้ืนฐานทจี่ ำเปน็ ในการดำเนินงานและค่าสาธารณูปโภค วงเงนิ 1,993,400 บาท 2. โครงการ/กิจกรรม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 วงเงินรวม 2,045,600 บาท (งบประมาณ ของ สพม.ชบรย วงเงิน 2,006,600 บาท และ งบประมาณทีไ่ ด้รบั จัดสรรจากหน่วยงาน วงเงนิ 39,000 บาท) 3. โครงการ/กจิ กรรมที่ไมใ่ ช้งบประมาณ จำนวน 3 โครงการ 4. โครงการ/กิจกรรมทีค่ าดว่าจะไดร้ บั การจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม และจะสามารถดำเนนิ การ ไดก้ ต็ ่อเมื่อได้รบั งบประมาณจัดสรรเพ่มิ เติมแล้ว วงเงิน 634,260 บาท ค่าใช้จ่ายพน้ื ฐานทจ่ี ำเปน็ ในการดำเนินงานและคา่ สาธารณปู โภค ท่ี รายการ ตงั้ งปม. ปี 2565 1 คา่ อาหารทาการนอกเวลา 50,000 100,000 2 คา่ ใช้จ่ายในการประชมุ (บคุ ลากร สพม.ชบรย และผูบ้ ริหารโรงเรียน) 150,000 80,000 3 คา่ เบย้ี เล้ียงเดนิ ทาง/คา่ ทพ่ี กั /คา่ พาหนะ 50,000 120,000 4 คา่ จ้างเหมาถ่ายเอกสาร 221,400 5 คา่ ซอ่ มแซมครุภัณฑ์/บารุงรักษา 108,000 6 คา่ ซ่อมแซมยานพาหนะขนสง่ /บารุงรักษา 113,400 7 คา่ จ้างเหมาแมบ่ า้ น/พนักงานทาความสะอาด (เงนิ เดอื น 2 คนx9,000 บาท) +(ประกนั สังคม 1 คนx5,400บาท 200,000 200,000 8 คา่ จ้างยามรักษาความปลอดภัย (เงนิ เดอื น 1 คนx9,000 บาท) 600,600 9 คา่ จ้างเจ้าหน้าทธี่ รุ การ 1,993,400 (เงนิ เดอื น 1 คนx9,000 บาท) +(ประกนั สงั คม 1 คนx5,400บาท 10 คา่ วสั ดสุ านักงาน/คอมพวิ เตอร์ 11 คา่ วสั ดเุ ชอื้ เพลิงและหล่อล่นื 12 คา่ ไฟฟา้ /คา่ ประปา/คา่ โทรศพั ท์/คา่ บริการไปรษณยี โ์ ทรเลข/ คา่ บริการส่อื สารและโทรคมนาคม รวมวงเงิน (บาท) แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

34 โครงการตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ได้กำหนดกรอบวงเงินงบประมาณเพื่อ ดำเนนิ โครงการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตามแผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1) โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (งบประมาณของ สพม.ชบรย) วงเงิน 2,006,600 บาท 2) โครงการทไ่ี ดร้ ับจดั สรรจากหนว่ ยงาน วงเงนิ 34,000 บาท 3) โครงการ/กิจกรรมท่ีไม่ใช้งบประมาณ จำนวน 3 โครงการ 4) โครงการ/กิจกรรมที่คาดว่าจะได้รับการจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม และจะดำเนินการได้ก็ ตอ่ เม่ือไดร้ บั งบประมาณจดั สรรเพิ่มเติมแลว้ วงเงิน 634,260 บาท ซึง่ จำแนกตามกลยทุ ธ์ของสำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง ดงั นี้ ท่ี โครงการ/กจิ กรรม วงเงนิ (บาท) ผ้รู ับผดิ ชอบ รับจัดสรร สพม.ชบรย นโยบายขอ้ ที่ 1 สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาเพื่อความม่นั คงและความปลอดภัย จำนวน 2 โครงการ 1 พัฒนาครูผู้สอนกลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ขุ ศกึ ษาและ กลมุ่ นเิ ทศ พลศึกษาเพื่อการจดั การเรียนรู้หลกั สูตรการสอน 5,000 14,620 ตดิ ตามและ เพศวิถีศกึ ษาและทักษะชีวิตของสำนักงานเขต (งบ สพฐ.) ประเมินผลการ พน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง จัดการศกึ ษา 2 เสริมสรา้ งมาตรการความปลอดภัยในสถานศึกษา อย่างรอบด้าน ตามมาตรการโรงเรียนปลอดภยั - 439,300 กลุ่มส่งเสรมิ การ (Safety School) ภายใต้ “ระบบดี มภี ูมิคุ้มกัน จดั การศกึ ษา ทันเวลา” ประจำปีงบประมาณ 2565 3 ส่งเสรมิ การจดั การเรยี นรู้ครผู ู้สอนกลุ่มสาระการ กลุ่มนเิ ทศ เรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา โดยใช้คมู่ อื “รู้คิด 1,800 ตดิ ตามและ รทู้ นั ป้องกนั ยาเสพติด ประเมินผลการ จัดการศกึ ษา นโยบายข้อที่ 2 สร้างโอกาส ความเสมอภาค และการเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศึกษาอย่างท่ัวถึงและมคี ณุ ภาพ จำนวน 4 โครงการ 4 พัฒนาศักยภาพผ้ปู ฏิบตั ิงานการแก้ไขปญั หาเด็ก - 40,920 กลุ่มส่งเสริมการ ออกกลางคนั ปกี ารศกึ ษา 2565 จดั การศกึ ษา 5 ส่งเสริมพฒั นาระบบการดแู ลช่วยเหลือและ - 30,000 กลุม่ ส่งเสรมิ การ คมุ้ ครองเด็กนกั เรยี น ประจำปี 2565 จดั การศึกษา 6 อบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสตู รผูด้ ำเนินการคัดกรอง - กลุ่มนิเทศ คนพิการทางการศึกษา ร่นุ 1 ปีงบประมาณ 28,800 ตดิ ตามและ พ.ศ. 2565 ประเมินผลการ จัดการศกึ ษา แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

35 ที่ โครงการ/กิจกรรม วงเงิน (บาท) ผ้รู บั ผิดชอบ รบั จดั สรร สพม.ชบรย 7 การพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาเรียนรวม ด้าน ไม่ใช้งบประมาณ กลมุ่ นิเทศ เจตคตแิ ละจิตวิทยาการจดั การศึกษาเรียนรวมของ ติดตามและ ครูสังกัดสำนกั เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา ประเมนิ ผลการ ชลบุรี ระยอง จดั การศกึ ษา 8 สนับสนุนและติดตามการดำเนนิ งานของ 34,000 กล่มุ ส่งเสรมิ การ สถานศกึ ษา การจดั สรรเงินอุดหนนุ นักเรียน จดั การศกึ ษา ยากจนพิเศษแบบมเี ง่ือนไข หรือทุนเสมอภาค (งบ สนง. ประจำปกี ารศกึ ษา 2564 กองทุนเพ่ือ ความเสมอภาค ทางการศกึ ษา) นโยบายขอ้ ท่ี 3 ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกบั การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 จำนวน 16 โครงการ 9 สง่ เสริมศกั ยภาพการจัดการเรียนรู้รายวชิ าเพ่มิ เติม - 101,560 กลุ่มนเิ ทศ ที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมเป้าหมายของเขต - 300,000 ตดิ ตามและ พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic - 46,100 ประเมนิ ผลการ Corridor : EEC) จดั การศกึ ษา 10 พฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยเพ่ือ กลุ่มนเิ ทศ การอ่านออกเขียนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ตาม ตดิ ตามและ นโยบายเดินหนา้ และพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ ประเมินผลการ จัดการศึกษา 11 เตรียมความพรอ้ มเพ่ือการปรับปรุงหลักสูตรและ กระบวนการเรยี นรู้ ตามรา่ งกรอบหลกั สูตร กลมุ่ นิเทศ การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (หลักสูตรฐานสมรรถนะ) ตดิ ตามและ ประเมินผลการ จัดการศึกษา 12 สง่ เสริมกจิ กรรมโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของ - 1,000 กลุ่มนิเทศ สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี - ตดิ ตามและ ระยอง - ประเมนิ ผลการ จัดการศึกษา 13 การจัดการความรู้เพ่ือขบั เคล่ือนสกู่ ารเปน็ องค์กร แห่งการเรยี นรู้ของสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา 5,000 กลุ่มนิเทศ มธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง ตดิ ตามและ ประเมินผลการ 14 การพัฒนาคุณภาพจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตาม จดั การศกึ ษา กรอบความสามารถทางภาษาสากล The Common European Framework of 15,000 กลมุ่ นิเทศ Reference for Languages: CEFR ตดิ ตามและ ประเมนิ ผลการ จัดการศกึ ษา แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

36 ที่ โครงการ/กจิ กรรม วงเงิน (บาท) ผูร้ บั ผิดชอบ รับจดั สรร สพม.ชบรย 15 ขับเคลือ่ นการจดั การเรียนรูก้ ารออกแบบและ กลุ่มนิเทศ เทคโนโลยี และวทิ ยาการคำนวณ ด้วยการจดั การ - 16,420 ตดิ ตามและ เรียนรเู้ ชงิ รกุ ประเมินผลการ - 37,930 จดั การศึกษา 16 การพฒั นาคุณภาพสถานศึกษาสู่มาตรฐานสากล กลุ่มนเิ ทศ ระดบั ScQA - 30,000 ติดตามและ ประเมินผลการ 17 สง่ เสรมิ พฒั นาระบบประกนั และประเมินคุณภาพ จัดการศึกษา ภายในของสถานศึกษาที่มุง่ คุณภาพตามมาตรฐาน กลุม่ นิเทศ การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานของสถานศกึ ษา โดยต้นสังกดั ติดตามและ สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาชลบุรี ประเมนิ ผลการ ระยอง จัดการศกึ ษา 18 นิเทศพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นในเขตพน้ื ท่ี - 43,200 กลุ่มนิเทศ การศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง - 332,960 ตดิ ตามและ - 332,200 ประเมินผลการ 19 นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาของ - 40,000 จัดการศกึ ษา สถานศึกษา - 17,040 กลุ่มนเิ ทศ 20 ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการบริหารจัด ไมใ่ ชง้ บประมาณ ตดิ ตามและ การศกึ ษาของโรงเรยี นในเขตพ้นื ที่การศกึ ษา ประเมินผลการ มัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง (กตปน.) จดั การศึกษา 21 ประเมินสมั ฤทธผิ ลการปฏบิ ัติงานในหน้าทรี่ อง กลมุ่ นเิ ทศ ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาท่บี รรจุและแต่งต้งั ใหม่ ตดิ ตามและ สงั กดั สพฐ. ในระยะเวลา 1 ปี ประเมินผลการ จัดการศกึ ษา 22 ส่งเสรมิ สมรรถนะการวิจัยในช้นั เรียนเพื่อ พัฒนาการจดั การเรียนรขู้ องครู ภายในโรงเรยี น กล่มุ พฒั นาครู สงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา และบุคลากร ชลบุรี ระยอง ทางการศกึ ษา 23 การพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ท่ีเน้นทักษะการคดิ กลมุ่ นิเทศ วิเคราะหแ์ ละการแก้โจทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์ของ ติดตามและ ครูในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ประเมินผลการ จดั การศกึ ษา กล่มุ นิเทศ ตดิ ตามและ ประเมินผลการ จัดการศึกษา แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

37 ที่ โครงการ/กจิ กรรม วงเงิน (บาท) ผู้รบั ผดิ ชอบ รบั จดั สรร สพม.ชบรย 24 การพัฒนาศกั ยภาพดา้ นการจัดการเรยี นการสอน กลุม่ นเิ ทศ ภาษาของครภู าษาต่างประเทศ ติดตามและ ทส่ี อง สังกดั สำนักเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษา ไม่ใช้งบประมาณ ประเมนิ ผลการ ชลบุรี ระยอง โดยใช้กระบวนการนเิ ทศแบบร่วม จัดการศกึ ษา พัฒนาเพ่ือขบั เคล่อื นกระบวนการ PLC นโยบายข้อที่ 4 เพ่ิมประสิทธภิ าพระบบการบรหิ ารจดั การและสง่ เสริมการมีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา จำนวน 5 โครงการ 25 ประชุมทบทวนแผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พื้นฐาน - 34,620 กลมุ่ นโยบาย (พ.ศ. 2565 – 2567) และจัดทำแผนปฏบิ ัติการ และแผน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของ สพม.ชบรย 26 พฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา - 6,850 กลมุ่ บรหิ ารงาน เกีย่ วกับการดำเนินการตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการ บคุ คล ประเมนิ ตำแหนง่ และวทิ ยฐานะและบุคลากร ทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์ ว 9/2564 และ หลักเกณฑ์ ว 10/2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 27 ฝกึ อบรม หลักสูตร การดำเนินการจัดซ้ือจดั จ้าง - 45,080 กลุม่ บริหารงาน ประจำปงี บประมาณ 2565 ภายใตก้ ฎกระทรวง เงนิ และสินทรัพย์ กำหนดพัสดุและวิธีการจดั ซ้ือจัดจา้ งที่รฐั ต้องการ ส่งเสรมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2563 (ว 845) การบริหาร สญั ญาและขนั้ ตอนกระบวนการควบคมุ พัสดุ การจัดทำทะเบียนทรัพยส์ นิ และการตรวจสอบ พัสดปุ ระจำปี การจำหนา่ ยพัสดุ 28 จดั ตั้งงบประมาณประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2566 - 21,200 กลุม่ นโยบาย งบลงทุน คา่ ครุภณั ฑ์ ทีด่ นิ และสง่ิ ก่อสร้าง และแผน 29 พัฒนาบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ีองค์ความรแู้ ละ - 25,000 กล่มุ พฒั นาครู เสรมิ สร้างเครือข่ายการบรหิ ารจดั การการศึกษาใน และบคุ ลากร สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรน่า ทางการศึกษา 2019 (COVID-19) วงเงินรวมท้ังสนิ้ จำนวน 29 โครงการ 39,000 2,006,600 แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

38 โครงการทคี่ าดว่าจะไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณเพิม่ เติม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ได้กำหนดโครงการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่คาดว่าจะได้รับการจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม และจะสามารถดำเนนิ การได้ก็ต่อเม่ือได้รับจัดสรร งบประมาณเพมิ่ เติมแลว้ จำนวน 6 โครงการ วงเงินรวม 634,260 บาท ดงั น้ี ที่ โครงการ/กิจกรรม วงเงนิ (บาท) ผูร้ บั ผดิ ชอบ นโยบายขอ้ ที่ 3 ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 จำนวน 6 โครงการ 1 พัฒนาศักยภาพครผู ู้ชว่ ยส่กู ารเป็นครมู อื อาชพี ประจำปี 485,500 กล่มุ พัฒนาครู งบประมาณ 2565 และบคุ ลากร ทางการศกึ ษา 2 ส่งเสรมิ การจดั การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 และพัฒนาพหุปัญญา 31,560 กลุ่มนเิ ทศ ของผเู้ รียน ติดตามและ ประเมนิ ผล การจดั การศึกษา 3 พฒั นาการจัดการเรียนรูว้ ิชาภาษาไทยเพ่ือเสริมสรา้ งสมรรถนะ 20,000 กลมุ่ นิเทศ ความฉลาดรกู้ ารอา่ น (การอ่านข้ันสงู ) สำหรับช้นั มธั ยมศึกษา ตดิ ตามและ ตอนตน้ ประเมนิ ผล การจัดการศกึ ษา 4 ส่งเสรมิ ความฉลาดรู้ด้านวทิ ยาศาสตร์เพ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ 21,200 กลมุ่ นเิ ทศ ทางการเรียนระดบั ระดับชาติและนานาชาติ (ONET/PISA) ติดตามและ ประเมนิ ผล การจดั การศึกษา 5 ขบั เคล่ือนโครงการโรงเรียนสุจริตของสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา 50,000 กลมุ่ นิเทศ มธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง (งบ สพฐ.) ตดิ ตามและ ประเมนิ ผล การจัดการศึกษา 6 ขับเคล่ือนโรงเรียนสิ่งแวดล้อมศกึ ษาเพ่ือส่งเสริมจดั การศึกษาอยา่ ง 26,000 กลุ่มนเิ ทศ ยัง่ ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) และ (งบ สพฐ.) ติดตามและ เสริมสรา้ งคณุ ภาพชวี ติ ท่เี ปน็ มติ รกบั สิง่ แวดลอ้ มตามหลักปรชั ญา ประเมินผล ของเศรษฐกิจพอเพยี ง การจดั การศึกษา วงเงนิ รวม 634,260 แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook