บันทกึ หลังแผนการจัดการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศกึ ษา ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา2563 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ........1......... เรื่อง ความสา้ คัญของระบบประสาท และระบบตอ่ มไรท้ ่อต่อวยั รุน่ แผนการสอนท่ี ......4...... เรอื่ ง ควาสา้ คญั และการดูแลรกั ษาระบบต่อมไร้ท่อ จ้านวน ....1.... ชั่วโมง ผ้สู อน นางสาวณฐั ธดิ า แกว้ ค้าศรี บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ ผู้เรียนได้รับความรู้ (K) นักเรียนมคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับความสา้ คัญของระบบตอ่ มไรท้ ่อท่ีมีผลต่อสขุ ภาพ การเจริญเตบิ โต พัฒนาการของวัยรุ่นได้ และวธิ กี ารดูแลรักษาระบบต่อมไร้ทอ่ ให้ท้างานไดต้ ามปกติ ผเู้ รียนเกดิ ทกั ษะกระบวนการ (P) นกั เรียนสามารถความสา้ คัญของระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเตบิ โต พัฒนาการของวยั รนุ่ ได้ และ วธิ ีการดแู ลรักษาระบบตอ่ มไร้ทอ่ ให้ท้างานได้ตามปกติ ผเู้ รียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม (A) นกั เรยี นมีทัศนคตทิ ี่ดตี ่อวชิ าสุขศกึ ษาและพลศึกษา ขยันใฝุรใู้ ฝุเรียน เชื่อมัน่ ในตนเอง กล้าแสดงออกมีความสุขต่อการ เรยี น ผเู้ รียนเกิดทักษะการคิด 1)ทักษะการวิเคราะห์ 2)ทักษะการเช่อื มโยง ผ้เู รยี นมหี ลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เรยี นเรียนรู้ทจ่ี ะใช้ทรัพยากรไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
ปัญหาอุปสรรค (ถ้ามี) - ขอ้ เสนอแนะ (ถ้ามี) - ลงชือ่ .......................................................... (นางสาวณฐั ธดิ า แก้วคา้ ศรี) ครูผ้สู อน ความคิดเห็นของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ...................................................................................................................................... ...................................................... ................................................................................................................................................................ ลงช่อื .............................................. (นายอดศิ ร แดงเรอื น) ผอู้ ้านวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31
แผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา (สขุ ศึกษา) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่ือง ความสา้ คัญของระบบประสาท และระบบตอ่ มไร้ทอ่ ต่อวัยรนุ่ เวลา 6 ช่วั โมง แผนการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรือ่ ง ความสัมพันธข์ องระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ เวลา 1 ชั่วโมง ครูผสู้ อน นางสาวณัฐธิดา แก้วคาศรี 1. สาระสาคัญ ระบบประสาทและระบบต่อมไรท้ ่อมกี ารทา้ งานที่มคี วามสัมพันธ์กัน เพื่อให้อวยั วะต่างๆ สามารถทา้ งานได้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ - อธบิ ายความสัมพันธ์ของระบบประสาทและระบบต่อมไรท้ ่อได้ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1) ความสา้ คญั ของระบบประสาท และระบบตอ่ มไร้ท่อที่มผี ลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพฒั นาการ ของวยั รุ่น 2) วธิ ดี แู ลรักษาระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อให้ท้างานตามปกติ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถ่นิ (พจิ ารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา) 4. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการวิเคราะห์ 2) ทกั ษะการเชื่อมโยง 4.2 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต 5. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝเุ รียนรู้ 3. มุง่ มัน่ ในการทา้ งาน
กจิ กรรมการเรียนรู้ วธิ สี อนแบบ สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขนั้ ท่ี 1 กระต้นุ ความสนใจ 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกย่ี วกับการท้างานของระบบประสาทกับระบบตอ่ มไรท้ ่อ 2. นักเรยี นตอบคา้ ถามกระตุ้นความคดิ คา้ ถามกระตุ้นความคิด นกั เรยี นคิดวา่ ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ มคี วามสาคญั ตอ่ วัยรุ่นอย่างไร (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินจิ ของครผู ้สู อน) ข้นั ท่ี 2 ขั้นสารวจปญั หา 1. ครูให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันศึกษาและสืบค้นความรู้ จากหนงั สือเรียน ห้องสมดุ และแหล่งข้อมลู สารสนเทศ ตามประเด็นที่ก้าหนด ดังนี้ 1) ความสัมพนั ธท์ างตรงของระบบประสาทและระบบต่อมไรท้ ่อ 2) ความสัมพันธท์ างออ้ มของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ 2. สมาชกิ แตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั วางแผนการศกึ ษาและสืบคน้ ความรู้ ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ 1. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มผลดั กันอธบิ าย ตรวจสอบขอ้ มลู และสรปุ ความรใู้ นประเดน็ ต่างๆ 2. สมาชกิ แต่ละคนในกลุ่มผลัดกันซกั ถามข้อสงสยั เพอื่ อธบิ ายให้เกิดความรู้ความเข้าใจท่ถี ูกต้อง แล้วสรุปเป็นมติ ของกลุม่ 3. สมาชิกแต่ละกลุม่ คดั เลือกตัวแทนกลมุ่ ละ 1 คน ออกมาน้าเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น ขั้นที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ 1. นักเรยี นตอบค้าถามกระตุ้นความคดิ 2. นักเรียนทุกคนทา้ ใบงานท่ี 1.4 เรื่อง ความสัมพนั ธ์ของระบบประสาทและระบบตอ่ มไรท้ อ่ เสร็จแล้วนา้ สง่ ครตู รวจ 3. นกั เรียนทกุ คนทา้ กิจกรรมตามตัวชว้ี ัดท่ี 1.8 จากแบบวัดฯ เป็นการบ้าน ข้ันท่ี 5 ตรวจสอบผล 1. ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปความสัมพันธ์ของระบบประสาทกบั ระบบต่อมไรท้ ่อ 2. ครูประเมนิ ความเข้าใจของนกั เรียนจากการตรวจใบงานที่ 1.4 ภาระงาน/ชิ้นงาน แผ่นพบั เร่ือง วยั รนุ่ กับการดแู ลรกั ษาระบบประสาทและระบบต่อมไรท้ ่อ โดยใหค้ รอบคลมุ ประเดน็ ตามท่ีก้าหนด ดังน้ี 1) การอธิบายความส้าคญั ของระบบประสาทท่ีมีผลต่อสุขภาพ การเจรญิ เติบโต และพฒั นาการของวยั รุ่น 2) การอธบิ ายวิธีการดแู ลรักษาระบบประสาทให้ทา้ งานได้อยา่ งปกติ
3) การอธิบายความส้าคัญของระบบตอ่ มไร้ท่อท่มี ีผลต่อสขุ ภาพ การเจรญิ เตบิ โต และพฒั นาการของวัยรนุ่ 4) การอธบิ ายวิธีการดูแลรักษาระบบตอ่ มไร้ทอ่ ให้ท้างานได้อย่างปกติ แหล่งเรยี นรู้ / สื่อ 1 ส่อื การเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี น สุขศกึ ษา ม.1 2) แบบวัดและบันทึกผลการเรยี นรู้ สุขศึกษา ม.1 3) ใบงานท่ี 1.4 เรื่อง ความสัมพันธ์ของระบบประสาทและระบบต่อมไรท้ ่อ 2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ - http://guru.google.co.th/quru/thread?tid=1f97fc5b6da3c087&pli=1
การวดั และประเมินผล วิธีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์ ประเมนิ การนา้ เสนอผลงาน แบบประเมินการน้าเสนอผลงาน ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สงั เกตพฤติกรรมการท้างานรายบคุ คล แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทา้ งานรายบคุ คล ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทา้ งานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทา้ งานกลุ่ม ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตความมวี ินัย ใฝุเรยี นรู้ และมงุ่ มัน่ ในการท้างาน แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจแผน่ พบั เรอื่ ง วัยรุน่ กับการดูแลรักษาระบบ แบบประเมนิ แผน่ พบั เรือ่ ง วยั รนุ่ กับการ ดแู ล ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ประสาทและระบบต่อมไรท้ อ่ รักษาระบบประสาทและระบบต่อมไรท้ ่อ ลงช่ือ.......................................................... (นางสาวณัฐธิดา แกว้ ค้าศรี) ครผู ูส้ อน ความคิดเห็นของหัวหน้าฝุายบรหิ ารวิชาการ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .............................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) รองผ้อู ้านวยการฝาุ ยบริหารวิชาการ ความคิดเหน็ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .............................................. (นายอดศิ ร แดงเรือน) ผู้อา้ นวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด ) แบบประเมินแผน่ พับ เรอ่ื ง วยั รุ่นกบั การดูแลรกั ษาระบบประสาท และระบบต่อมไรท้ ่อ ลาดับที่ รายการประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 1 การอธบิ ายความส้าคญั ของระบบประสาทท่มี ีผลตอ่ สุขภาพ การเจรญิ เตบิ โต และพัฒนาการของวัยรุ่น 2 การอธิบายวธิ ีการดแู ลรกั ษาระบบประสาทให้ท้างานไดอ้ ยา่ ง ปกติ 3 การอธิบายความสา้ คญั ของระบบตอ่ มไรท้ ่อทม่ี ี ผลต่อสุขภาพ การเจรญิ เตบิ โต และพัฒนาการ ของวยั รนุ่ 4 การอธบิ ายวธิ กี ารดูแลรักษาระบบตอ่ มไรท้ อ่ ให้ทา้ งานได้ อย่างปกติ รวม ลงช่อื ...................................................ผ้ปู ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ดมี าก = 4 คะแนน ดี = 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ = 2 คะแนน ปรบั ปรุง = 1 คะแนน 14 - 16 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรบั ปรงุ
ใบงานท่ี 1.4 ความสมั พนั ธ์ของระบบประสาทและระบบต่อมไรท้ ่อ คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนเขียนแผนภาพความคดิ อธบิ ายความสัมพันธ์ของระบบประสาทกบั ระบบต่อมไรท้ อ่ ระบบประสาท ความสมั พนั ธข์ อง ระบบประสาทกบั ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบต่อมไร้ท่อ
เฉลยใบงานที่ 1.4 ความสัมพันธข์ องระบบประสาทและระบบตอ่ มไรท้ อ่ คาชี้แจง ให้นกั เรียนเขยี นแผนภาพความคิดอธิบายความสมั พนั ธ์ของระบบประสาทกับระบบต่อมไร้ทอ่ (ตวั อยา่ ง) เป็นศนู ยส์ งั่ การทางาน ควบคุมการทางานของกลา้ มเน้อื ควบคุมการทางานของกลา้ มเน้อื ทอี่ ยใู่ นอานาจของจติ ใจ ทอี่ ยเู่ หนอื อานาจของจติ ใจ สงั่ การใหต้ ่อมไรท้ ่อทางาน ระบบประสาท อาศยั ต่อมไรท้ อ่ ในการสรา้ ง ฮอรโ์ มนกระตุน้ ความสมั พนั ธข์ อง ระบบประสาทกบั ระบบต่อมไรท้ ่อ ระบบต่อมไรท้ ่อ สรา้ งฮอรโ์ มนกระตุน้ การทางาน สงั่ การหรอื ชว่ ยในการทางาน ควบคุมอวยั วะในรา่ งกาย ใหท้ างานประสานกนั (พิจารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินิจของครผู ู้สอน)
บนั ทกึ หลังแผนการจัดการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ........1......... เรือ่ ง ความส้าคัญของระบบประสาท และระบบต่อมไรท้ ่อต่อวยั รนุ่ แผนการสอนที่ ......5..... เร่ือง ความสมั พันธ์ของระบบประสาทและต่อมไรท้ ่อ จา้ นวน ....1.... ชวั่ โมง ผ้สู อน นางสาวณัฐธิดา แก้วคา้ ศรี บันทกึ หลังการจดั การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ผูเ้ รียนได้รับความรู้ (K) นักเรียนมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การทา้ งานของระบบประสาทกับระบบต่อมไรท้ ่อและความสมั พันธ์ของ ระบบประสาท ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ (P) นักเรยี นสามารอธิบายกระบวนการท้างานของระบบประสาทและความสัมพันธ์ระบบประสาทได้ ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม (A) นกั เรียนมที ัศนคติท่ีดีตอ่ วชิ าสุขศกึ ษาและพลศึกษา ขยนั ใฝุรใู้ ฝเุ รยี น เชื่อม่นั ในตนเอง กล้าแสดงออกมคี วามสขุ ต่อการ เรียน ผู้เรียนเกดิ ทกั ษะการคิด 1) ทักษะการวเิ คราะห์ 2) ทักษะการเช่ือมโยง ผูเ้ รียนมีหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เรียนเรียนรูท้ ่จี ะใช้ทรพั ยากรได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ปัญหาอุปสรรค (ถ้าม)ี - ขอ้ เสนอแนะ (ถ้ามี) - ลงชอื่ .......................................................... (นางสาวณัฐธดิ า แกว้ คา้ ศรี) ครผู สู้ อน ความคิดเหน็ ของผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ............................................................... ...................................................... .......................................................................................................... ............................ ลงช่ือ.............................................. (นายอดิศร แดงเรือน) ผูอ้ ้านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง วยั รนุ่ กบั การเจริญเตบิ โตตามเกณฑม์ าตรฐาน กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ขุ ศึกษาและพลศึกษา รายวชิ าสขุ ศึกษา รหัส พ 21101 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 5 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวณัฐธดิ า แก้วคาศรี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จ่ม จงั หวดั เชียงใหม่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด มาตรฐาน พ 1.1 ตวั ชีว้ ัด ม.1/3 วเิ คราะหภ์ าวะการเจรญิ เตบิ โตทางร่างกายของตนเองกับเกณฑ์ ม.1/4 แสวงหาแนวทางในการพฒั นาตนเองใหเ้ จรญิ เติบโตสมวัย มาตรฐาน พ 4.1 ตัวช้วี ัด ม.1/3 ควบคุมน้าหนกั ของตนเองให้อยู่ในเกณฑม์ าตรฐาน 2. สาระสาคญั วัยรุ่นแต่ละคนจะมีภาวะการเจริญเติบโตของร่างกายที่แตกต่างกัน จึงต้องมีแนวทางในการพัฒนา ตนเอง ใหเ้ จรญิ เตบิ โตสมวัยและมีน้าหนักอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน เพอ่ื การมสี ขุ ภาพทด่ี ีในอนาคต 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง 1) การวเิ คราะหภ์ าวะการเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐานและปัจจยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง 2) แนวทางในการพฒั นาตนเองใหเ้ จริญเติบโตสมวยั 3) เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเตบิ โตของเด็กไทย 4) วธิ ีการควบคมุ น้าหนักของตนเองให้อย่ใู นเกณฑ์มาตรฐาน 3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถ่นิ (พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 4.1 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการสา้ รวจ 2) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3) ทกั ษะการนา้ ความรู้ไปใช้ 4.2 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต 5. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝุเรยี นรู้ 3. ตรงตอ่ เวลา
6. ชิ้นงาน ปาู ยนเิ ทศ เรื่อง แนวทางการปฏิบตั ติ นใหม้ กี ารเจรญิ เตบิ โตท่สี มวัย 7. การวดั และประเมนิ ผล (ภาระงาน/ช้นิ งาน) 7.1 การประเมินก่อนเรยี น - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เร่ือง วยั ร่นุ กับการเจริญเติบโตตามเกณฑ์ มาตรฐาน 7.2 การประเมนิ ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1) ตรวจใบงานท่ี 2.1 เรอื่ ง ปัจจยั ทเ่ี กีย่ วข้องกับการเจรญิ เตบิ โตของวัยรุ่น 2) ตรวจใบงานที่ 2.2 เรอ่ื ง การประเมินมาตรฐานการเจริญเติบโตของเด็กไทย 3) ตรวจใบงานที่ 2.3 เร่อื ง การดูแลและควบคุมนา้ หนักใหอ้ ยู่ในเกณฑม์ าตรฐาน 4) ตรวจใบงานที่ 2.4 เร่อื ง แนวทางการพฒั นาตนเองให้เจริญเตบิ โตสมวัย 5) ตรวจแบบบนั ทึกการอ่าน 6) ประเมนิ การนา้ เสนอผลงาน 7) สังเกตพฤตกิ รรมการท้างานรายบุคคล 8) สังเกตพฤติกรรมการท้างานกล่มุ 9) สังเกตคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 7.3 การประเมนิ หลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง วยั รุน่ กบั การเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน 7.4 การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ตรวจป้ายนเิ ทศ เรอื่ ง แนวทางการปฏบิ ตั ิตนให้มีการเจริญเติบโตท่สี มวยั 8. กจิ กรรมการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา (สขุ ศึกษา) เวลา 5 ชวั่ โมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เร่อื ง วยั ร่นุ กับการเจริญเตบิ โตตามเกณฑม์ าตรฐาน เวลา 1 ช่ัวโมง แผนการเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง ภาวะการเจริญเตบิ โตและปจั จัยทเี่ กี่ยวข้อง ครูผู้สอน นางสาวณัฐธดิ า แก้วค้าศรี 1. สาระสาคัญ ภาวะการเจริญเติบโตของวัยรุ่นแตล่ ะคนจะแตกต่างไปขน้ึ อยู่กับปัจจยั ทัง้ ภายในและภายนอกท่ีได้รบั 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1) อธบิ ายภาวะการเจรญิ เติบโตของวัยรนุ่ ได้ 2) วเิ คราะหป์ ัจจัยทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การเจรญิ เตบิ โตของวยั รุน่ ได้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การวิเคราะหภ์ าวะการเจริญเติบโตตามเกณฑม์ าตรฐานและปัจจยั ท่ีเกีย่ วข้อง 3.2 สาระการเรยี นรูท้ ้องถ่นิ (พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศึกษา) 4. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการคดิ - ทักษะการวเิ คราะห์ 4.2 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 5. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝเุ รยี นรู้ 3. ตรงต่อเวลา
กจิ กรรมการเรยี นรู้ วิธีสอนโดยการจดั การเรยี นร้แู บบรว่ มมือ : เทคนคิ คคู่ ดิ สีส่ หาย ขัน้ นาเข้าสูบ่ ทเรียน 1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนบอกส่วนสงู และน้าหนกั ของตนเอง ครจู ดคา้ ตอบบนกระดาน 2. ครูถามนักเรยี นวา่ ท้าไมนกั เรียนแต่ละคนจงึ มีสว่ นสงู และน้าหนักท่แี ตกตา่ งกนั 3. ครูเฉลยค้าตอบและอธบิ ายเพิ่มเติมเกีย่ วกับภาวะการเจริญเตบิ โตของวยั รุ่นให้นักเรยี นฟงั และศึกษาเพิ่มเตมิ จากหนังสอื เรยี น ข้ันสอน 1. ครอู ธบิ ายเกย่ี วกับปจั จยั ทีท่ ้าให้วัยรุน่ มคี วามแตกต่างในการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการ ให้นกั เรยี นฟัง 2. ครแู บ่งนกั เรยี นเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ คือ เกง่ ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลาง ค่อนข้างอ่อน และอ่อน แล้วใหส้ มาชกิ ในกลุ่มจับคกู่ ันเป็น 2 คู่ ให้แต่ละคู่รว่ มกันศึกษาความรเู้ รอื่ ง ปัจจัยท่ี เกย่ี วข้องกบั การเจริญเติบโตของวัยรนุ่ จากหนังสือเรยี น ดังนี้ - คนที่ 1 ศึกษาความรูเ้ รอื่ ง ปจั จัยภายใน - คนที่ 2 ศึกษาความรเู้ ร่ือง ปจั จยั ภายนอก 3. นกั เรยี นแต่ละคนนา้ ความรู้ทไ่ี ด้จากการศกึ ษามาอธบิ ายใหส้ มาชิกที่เป็นคู่ฟัง และช่วยกันตอบคา้ ถามตาม ประเด็นท่ีครูก้าหนด ดงั น้ี - การเข้าสูว่ ัยเจริญพันธ์ุ แสดงภาวะการเจรญิ เตบิ โตของวยั รุ่นได้อยา่ งไร - พนั ธุกรรม มีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกายอย่างไร - การอบรมเล้ยี งดูและสัมพนั ธภาพภายในครอบครัวมคี วามส้าคัญตอ่ พัฒนาการในด้านตา่ งๆ อย่างไร - บคุ คลท่ีมีพืน้ ฐานทางอารมณ์ทดี่ ี จะสง่ ผลตอ่ พัฒนาการด้านใด - ปัจจยั ภายนอกและปจั จยั ภายใน มีผลต่อการเจริญเติบโตของรา่ งกายอยา่ งไร 4. สมาชกิ แต่ละคคู่ ิดหาค้าตอบแลว้ บันทกึ ลงในสมดุ จากน้ันให้กลับเขา้ กลมุ่ เดิม แล้วผลดั กันนา้ ค้าตอบที่ได้มา อธิบายใหส้ มาชิกอีกคูห่ นึง่ ในกลมุ่ ฟัง เพ่อื แลกเปล่ียนความรคู้ วามเข้าใจ และเพ่ิมเติมในส่วนที่แตกตา่ ง 5. ครสู ุ่มนกั เรยี น 5-6 กลุ่ม นา้ เสนอค้าตอบ หน้าช้นั เรยี น แล้วใหเ้ พ่ือนกลุม่ อ่ืนชว่ ยแสดงความคดิ เหน็ เพ่ิมเติม ในสว่ นที่ แตกตา่ งกัน 6. นักเรยี นแต่ละกล่มุ ช่วยกันท้าใบงานท่ี 2.1 เรื่อง ปัจจยั ที่เก่ียวข้องกับการเจรญิ เตบิ โตของวยั รุ่น เปน็ การบ้าน 7. นกั เรียนตอบค้าถามกระตนุ้ ความคิด ข้นั สรปุ 1. นกั เรยี นตอบค้าถามกระตนุ้ ความคดิ 2. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกันสรปุ ความรู้เกีย่ วกบั ภาวะการเจรญิ เติบโตและปจั จัยท่ีเก่ียวข้องกับการเจริญเติบโต ของวัยร่นุ
ค้าถามกระต้นุ ความคิด ปัจจยั ใดมคี วามสาคัญท่ีสดุ ในการเจรญิ เตบิ โตของร่างกาย จงอธิบาย (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยให้อยู่ใน ดุลยพนิ จิ ของครูผสู้ อน) ภาระงาน/ชนิ้ งาน - แหล่งเรียนรู้ / สอื่ 1) หนงั สือเรยี น สุขศกึ ษา ม.1 2) ใบงานที่ 2.1 เร่ือง ปจั จัยท่เี ก่ยี วข้องกับการเจรญิ เตบิ โตของวัยรุ่น
การวดั และประเมนิ ผล เครอ่ื งมือ เกณฑ์ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 วธิ ีการ ใบงานที่ 2.1 (ประเมนิ ตามสภาพจริง) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการท้างานรายบคุ คล ตรวจใบงานที่ 2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทา้ งานกลุม่ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตพฤตกิ รรมการทา้ งานรายบคุ คล แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทา้ งานกลุ่ม ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตความมีวนิ ัย ใฝุเรยี นรู้ และตรงต่อเวลา ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ลงช่อื .......................................................... (นางสาวณัฐธดิ า แก้วค้าศรี) ครูผู้สอน ความคิดเห็นของหัวหน้าฝาุ ยบรหิ ารวิชาการ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่ือ.............................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) รองผอู้ ้านวยการฝาุ ยบริหารวชิ าการ ความคิดเห็นของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .............................................. (นายอดศิ ร แดงเรือน) ผ้อู า้ นวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31
ใบงานที่ 2.1 ปจั จัยทเี่ ก่ยี วข้องกับการเจรญิ เติบโตของวัยรุ่น คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนเขยี นแผนผงั ความคดิ แสดงปจั จัยทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเจรญิ เติบโตของวัยรุ่น ปัจจยั ภายใน ปัจจยั ที่เกี่ยวข้องกบั การเจริญเติบโตของวยั ร่นุ ปัจจยั ภายนอก
เฉลยใบงานที่ 2.1 ปัจจยั ท่ีเกยี่ วข้องกับการเจริญเตบิ โตของวัยรนุ่ คาชี้แจง ให้นกั เรยี นเขยี นแผนผังความคดิ แสดงปัจจยั ท่ีเกย่ี วข้องกับการเจริญเติบโตของวัยรนุ่ (ตวั อยา่ ง) พ้นื ฐานทางอารมณ์และจติ ใจ พนั ธุกรรม ลกั ษณะทางกาย ลกั ษณะทางสตปิ ัญญา ปัจจยั ภายใน ปัจจยั ที่เก่ียวข้องกบั การเจริญเติบโตของวยั ร่นุ ปัจจยั ภายนอก เจบ็ ป่วยหรอื อุบตั เิ หตุ การอบรมเล้ยี งดู การออกกาลงั กายทเี่ หมาะสมกบั วยั สภาพแวดลอ้ มทางสงั คม อาหารทบี่ รโิ ภค (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินจิ ของครผู สู้ อน)
บนั ทึกหลังแผนการจัดการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา2563 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ .....2........ เรือ่ ง วยั รุน่ กับการเจรญิ เตบิ โตตามเกณฑม์ าตรฐาน แผนการสอนที่ ......1...... เรื่อง…ภาวะการเจรญิ เตบิ โตและปัจจยั ทเี่ กี่ยวข้อง จ้านวน ....1.... ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวณัฐธิดา แก้วคา้ ศรี บนั ทกึ หลังการจัดการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ ผเู้ รียนไดร้ บั ความรู้ (K) นกั เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ภาวการณเ์ จริญเติบโตของวยั รนุ่ และปจั จัยท่เี กยี่ วข้องกับการ เจริญเตบิ โตของวยั รุน่ ผูเ้ รยี นเกิดทกั ษะกระบวนการ (P) นกั เรียนสามารถอธิบายภาวะการเจริญเติบโตของวัยรุ่นได้ นกั เรียนสามารถวิเคราะหป์ จั จัยที่เก่ยี วข้องกบั การเจรญิ เติบโตของวยั รุ่นได้ ผเู้ รยี นมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม (A) นักเรียนมที ัศนคติที่ดตี อ่ วชิ าสุขศึกษาและพลศึกษา ขยันใฝุรูใ้ ฝุเรียน เชื่อม่นั ในตนเอง กล้าแสดงออกมคี วามสขุ ต่อ การเรียน ผเู้ รียนเกดิ ทักษะการคิด การคดิ สร้างสรรค์ การคิดวเิ คราะห์ ผูเ้ รยี นมหี ลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ผู้เรยี นเรยี นรทู้ ี่จะใชท้ รัพยากรได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
ปัญหาอุปสรรค (ถ้าม)ี - ขอ้ เสนอแนะ (ถ้ามี) - ลงชื่อ.......................................................... (นางสาวณฐั ธิดา แกว้ ค้าศรี) ครูผสู้ อน ความคิดเห็นของผูบ้ ริหารสถานศึกษา .............................................................................................................................. ...................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื .............................................. (นายอดิศร แดงเรือน) ผู้อ้านวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31
แผนการจดั การเรยี นรู้ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 กลุม่ สาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (สุขศกึ ษา) เวลา 5 ชวั่ โมง หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เรอื่ ง วัยรนุ่ กบั การเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน เวลา 1 ช่ัวโมง แผนการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง เกณฑ์มาตรฐานการเจรญิ เติบโตของเดก็ ไทย ครผู สู้ อน นางสาวณัฐธิดา แก้วคาศรี 1. สาระสาคญั น้าหนักและส่วนสูง สามารถน้ามาใช้เป็นเกณฑ์มาตรฐานในการประเมินพัฒนาการการเจริญเติบโตของ เด็กไทย 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ - บอกเกณฑม์ าตรฐานการเจริญเตบิ โตของเดก็ ไทยได้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง - เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเตบิ โตของเด็กไทย 3.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิน่ (พิจารณาตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการส้ารวจ 2) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3) ทักษะการน้าความรู้ไปใช้ 4.2 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต 5. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝุเรียนรู้ 3. ตรงตอ่ เวลา
กิจกรรมการเรยี นรู้ วธิ สี อนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขน้ั ท่ี 1 กระต้นุ ความสนใจ 1. ครคู ดั เลือกนกั เรียนท่มี ีความสงู และน้าหนักตา่ งกนั 2 คน ออกมายืนหนา้ ช้ันเรียน แล้วใหเ้ พอ่ื นชว่ ยกันบอกวา่ ในชว่ งอายุของนักเรียนควรมีการเจรญิ เติบโตแบบเพื่อนคนใด พร้อมอธิบายเหตผุ ลประกอบ 2. ครูตดิ กราฟแสดงเกณฑ์อา้ งอิงการเจรญิ เตบิ โตใหน้ ักเรียนดู แลว้ ให้นักเรยี นชว่ ยกนั บอกวา่ เพื่อนคนใดที่มี น้าหนักและสว่ นสงู ตามเกณฑ์ทก่ี า้ หนด ขั้นที่ 2 สารวจค้นหา นักเรยี นกลมุ่ เดิม (จากแผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 1) ร่วมกันศึกษาความรู้ เร่อื ง เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเตบิ โตของ เด็กไทย จากหนงั สอื เรียน ตามหัวขอ้ ต่อไปน้ี 1) ความหมายและคา้ จา้ กัดความของนา้ หนักและสว่ นสูง 2) น้าหนกั และสว่ นสูงตามเกณฑ์อายุ ขั้นท่ี 3 อธิบายความรู้ 1. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มนา้ ความรู้มาอธิบายรว่ มกันภายในกลมุ่ และสรุปเปน็ ความรูป้ ระจ้ากลุ่ม 2. ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ อธิบายว่าเกณฑ์อา้ งองิ การเจรญิ เติบโตตอ่ ไปน้ี ใชเ้ ป็นดัชนบี ่งชี้ในเร่ืองใด - นา้ หนกั ตามเกณฑ์ส่วนสูง - น้าหนักตามเกณฑ์อายุ - สว่ นสูงตามเกณฑ์อายุ 3. นักเรียนแต่ละกล่มุ น้าค้าตอบทไี่ ด้ บันทึกลงในกิจกรรมตามตวั ชีว้ ัด กิจกรรมที่ 2.5 ในแบบวดั ฯ เสรจ็ แลว้ ให้ ตวั แทนกลุ่มน้าเสนอหน้าช้ันเรยี น 4. นกั เรียนตอบค้าถามกระตุ้นความคดิ ค้าถามกระตุ้นความคิด เกณฑ์มาตรฐานการเจรญิ เติบโตของเพศชายและเพศหญิงมคี วามแตกตา่ งกนั อย่างไร (พิจารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยู่ใน ดุลยพินิจของครูผสู้ อน) ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ 1. ครใู ห้นักเรียนช่วยกันอธิบายว่า BMI หมายถงึ อะไร มไี ว้เพือ่ ทา้ อะไร 2. ครูอธิบายวธิ กี ารคา้ นวณค่า BMI ใหน้ กั เรียนดู หรอื ให้นักเรียนอาสาสมคั รออกมาอธิบายใหเ้ พ่ือนในห้องฟงั 3. สมาชกิ แตล่ ะคนในกลุ่มท้าใบงานท่ี 2.2 เร่อื ง การประเมินมาตรฐานการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ ไทย ขน้ั ท่ี 5 ตรวจสอบผล 1. ครูใหน้ ักเรียนท่ีมีเลขท่ีลงทา้ ยด้วย 1 นา้ เสนอใบงานที่ 2.2 หน้าช้ันเรียน จากน้ันครูและนักเรยี นร่วมกันเฉลย ค้าตอบ
2. นักเรียนตอบคา้ ถามกระตนุ้ ความคดิ 3. นักเรยี นแต่ละคนท้ากิจกรรมตามตวั ช้ีวัด กิจกรรมท่ี 2.3-2.4 จากแบบวดั ฯ เปน็ การบ้าน คา้ ถามกระตนุ้ ความคดิ ในวัยของนกั เรียนควรมีน้าหนักและสว่ นสูงเทา่ ไร จงึ จะมกี ารเจริญเตบิ โตตามเกณฑม์ าตรฐาน (พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ย่ใู น ดุลยพนิ ิจของครูผู้สอน) ภาระงาน/ช้ินงาน - แหล่งเรียนรู้ / ส่อื 1) หนังสอื เรียน สุขศึกษา ม.1 2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ สขุ ศึกษา ม.1 3) เอกสารประกอบการสอน 4) ใบงานท่ี 2.2 เรื่อง การประเมินมาตรฐานการเจริญเตบิ โตของเด็กไทย
การวดั และประเมนิ ผล เคร่ืองมือ เกณฑ์ ใบงานที่ 2.2 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ วิธกี าร แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทา้ งานรายบคุ คล ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการท้างานกลุม่ ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการท้างานรายบคุ คล แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สงั เกตพฤตกิ รรมการท้างานกลมุ่ สังเกตความมีวนิ ัย ใฝุเรียนรู้ และตรงตอ่ เวลา ลงชอ่ื .......................................................... (นางสาวณัฐธดิ า แกว้ คา้ ศรี) ครูผสู้ อน ความคิดเห็นของหัวหนา้ ฝุายบริหารวิชาการ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ.............................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) รองผูอ้ า้ นวยการฝุายบรหิ ารวิชาการ ความคดิ เหน็ ของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่อื .............................................. (นายอดิศักดิ์ แดงเรอื น) ผ้อู ้านวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31
เอกสารประกอบการสอน กราฟแสดงเกณฑ์อ้างองิ การเจริญเตบิ โตของเพศชาย อายุ 5-18 ปี น้าหนักตามเกณฑ์ส่วนสงู แสดงความอว้ น-ผอม ดูสว่ นสงู ตามแนวนอนวา่ อยู่ท่จี ดุ ใด แล้วไลข่ น้ึ ตามแนวตัง้ กับน้าหนักท่จี ดุ ใด อา่ นผลตามเกณฑน์ ัน้ : อ้วน เรม่ิ อ้วน ท้วม สมส่วนค่อนข้างผอม ผอม เป็นดัชนบี ่งช้วี ่า น้าหนักเหมาะสมกับสว่ นสูงหรือไม่ สามารถแปลผลภาวะโภชนาการไดโ้ ดยไม่ต้องทราบอายเุ ดก็ ถ้าร่างกายขาดอาหาร ระยะสนั้ ในปัจจบุ ันหรอื เกดิ เจบ็ ปวุ ย ร่างกายจะผอม น้าหนกั ตามเกณฑ์สว่ นสูงจะมีค่าน้อยกวา่ ปกติ แตถ่ ้าไดร้ บั อาหารเกนิ ความต้องการของ ร่างกาย นา้ หนกั ตามเกณฑ์สว่ นสงู จะเปน็ ดัชนีบ่งชีภ้ าวะเร่มิ อว้ น หรืออ้วนไดด้ ที เี ดยี ว หมายเหตุ : เกณฑก์ ารประเมนิ การเจรญิ เตบิ โตของเดก็ วัยเรยี นท่ีเหมาะสม ควรใช้ดชั นสี ว่ นสงู ตามเกณฑ์อายุ น้าหนักตามเกณฑส์ ว่ นสูง รว่ มกับนา้ หนกั ตามเกณฑอ์ ายุ ข้อมูล : กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2542 เกณฑ์อา้ งอิง น้าหนัก สว่ นสูง และเครือ่ งชว้ี ัดภาวะโภชนาการของประชาชนไทย อายุ 1 วัน – 19 ปี
กราฟแสดงเกณฑ์อา้ งองิ การเจริญเตบิ โตของเพศหญงิ อายุ 5-18 ปี
กราฟแสดงเกณฑ์อา้ งอิงการเจริญเตบิ โตของเพศชาย อายุ 5-18 ปี ส่วนสงู ตามเกณฑอ์ ายแุ สดงความเจริญเติบโต น้าหนักตามเกณฑอ์ ายุ แสดงการเจริญเติบโตด้านน้าหนัก ด้านความสงู เป็นดชั นบี ง่ ชว้ี า่ น้าหนกั เหมาะสมกบั อายุหรอื ไม่ ถา้ ร่างกายขาด เป็นดชั นบี ่งชภ้ี าวะโภชนาการระยะยาวทผ่ี า่ นมาว่า อาหารหรอื เจบ็ ป่วยจะมผี ลกระทบต่อขนาดของรา่ งกาย ทาใหน้ ้าหนกั สว่ นสงู เหมาะสมกบั อายหุ รอื ไม่ ถา้ รา่ งกายมกี ารขาด ลดลง และถา้ ขาดอาหารระยะยาว เดก็ จะผอมและเต้ยี ดงั นนั้ น้าหนกั น้อย สารอาหารแบบเรอ้ื รงั เป็นระยะเวลานาน จะมผี ลกระทบต่อการ กว่าเกณฑอ์ ายุ จะบง่ ชก้ี ารขาดสารอาหารโดยรวม และสามารถใชใ้ นการ เจรญิ เตบิ โตทางโครงสรา้ ง ทาใหเ้ ดก็ เตย้ี กวา่ เดก็ ในเกณฑ์ ตดิ ตามการเตบิ โตของเดก็ ได้ วยั เดยี วกนั โดยดอู ายุตามแนวนอนวา่ อย่ทู จ่ี ดุ ใด แลว้ ไล่ขน้ึ ไปตามแนวตงั้ ว่า โดยดอู ายุตามแนวนอนว่าอยทู่ จ่ี ดุ ใด แลว้ ไล่ขน้ึ ตาม ตรงกบั น้าหนกั ทจ่ี ดุ ใด อ่านผลตามเกณฑ์ : น้าหนกั มากเกนิ เกณฑ์ น้าหนกั ค่อนขา้ งมาก น้าหนกั ตามเกณฑ์ น้าหนกั ค่อนขา้ งน้อย น้าหนกั รหสแว่ มนงู มาวกคยตับ่อเงัห้นวต้าขา่ หุาต้ :นงรสกังเงูกตบาัณสมส่วฑเน่วก์กนสณาสงูรฑตงูปอ์ทารมาจะ่ี ยเดุเกมุ ใณินดกฑอา่า์รคนเจอ่ ผรนลญิ ขตเา้ตางมบิ เเตโกตย้ี ณขเอฑตง้ยีน์เดนั้ก็ ว:ัยเรียนท่เี หมาะนส้อมยกคววา่รเใกชณ้ดชั ฑน์ีส่วนสูงตามเกณฑอ์ ายุ นา้ หนักตามเกณฑ์สว่ นสงู ขอ้ มูล : กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.2542 เกณฑอ์ า้ งอิง น้าหนัก สว่ นสงู และเครอ่ื งชวี้ ัดภาวะโภชนาการของประชาชนไทย อายุ 1 วนั – 19 ปี
เอกสารประกอบการสอน กราฟแสดงเกณฑ์อา้ งองิ การเจริญเตบิ โตของเพศหญงิ อายุ 5-18 ปี
ใบงานท่ี 2.2 การประเมินมาตรฐานการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ ไทย คาชแ้ี จง ให้นกั เรียนหาคา่ ดชั นีมวลกาย (Body Mass Index : BMI) จากข้อมูลท่กี ้าหนดให้ พร้อมประเมินผล การเจรญิ เติบโต โดยเปรยี บเทยี บกับเกณฑเ์ ปรียบเทียบ เกณฑ์เปรียบเทียบ สตู รการคานวณ ค่าท่ีได้ น้อยกว่า 18.5 แสดงวา่ ผอม BMI = น้าหนกั ตวั (กโิ ลกรมั ) ระหวา่ ง 18.5 – 24.9 แสดงว่า ปกติ ส่วนสงู 2 (เมตร) ระหว่าง 25.0 – 29.9 แสดงว่า น้าหนกั เกนิ ระหวา่ ง 30.0 – 39.9 แสดงว่า อว้ น มากกว่า 40 แสดงวา่ อว้ นมากหรอื อว้ นอนั ตราย ลาดับ ขอ้ ความ BMI ผลการเจริญเตบิ โต ที่ 1 เดก็ ชาย ก มสี ว่ นสงู 145 เซนติเมตร น้าหนัก 40 กโิ ลกรัม 2 เดก็ หญิง ข มีส่วนสูง 150 เซนติเมตร น้าหนัก 38 กิโลกรัม 3 เดก็ หญิง ค มีสว่ นสงู 147 เซนติเมตร นา้ หนัก 60 กิโลกรมั 4 เดก็ ชาย ง มสี ว่ นสงู 155 เซนติเมตร น้าหนัก 45 กิโลกรัม 5 เด็กชาย จ มสี ว่ นสงู 150 เซนติเมตร น้าหนกั 70 กโิ ลกรัม 6 นาย ฉ มีส่วนสงู 180 เซนตเิ มตร น้าหนกั 75 กิโลกรัม 7 นางสาว ช มสี ว่ นสูง 165 เซนติเมตร นา้ หนกั 45 กโิ ลกรัม 8 นางสาว ซ มีส่วนสงู 160 เซนติเมตร น้าหนกั 80 กิโลกรมั 9 นาย ฎ มีส่วนสงู 168 เซนตเิ มตร น้าหนัก 85 กโิ ลกรัม 10 นางสาว ฏ มสี ่วนสงู 170 เซนติเมตร น้าหนัก 50 กโิ ลกรมั
เฉลย ใบงานที่ 2.2 การประเมนิ มาตรฐานการเจริญเติบโตของเด็กไทย คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นหาค่าดัชนีมวลกาย (Body Mass Index : BMI) จากข้อมูลทกี่ ้าหนดให้ พร้อมประเมนิ ผล การเจริญเติบโต โดยเปรียบเทยี บกับเกณฑ์เปรียบเทียบ เกณฑเ์ ปรียบเทียบ สตู รการคานวณ ค่าท่ีได้ น้อยกวา่ 18.5 แสดงว่า ผอม BMI = น้าหนกั ตวั (กโิ ลกรมั ) ระหว่าง 18.5 – 24.9 แสดงวา่ ปกติ ส่วนสงู 2 (เมตร) ระหวา่ ง 25.0 – 29.9 แสดงวา่ น้าหนกั เกนิ ระหว่าง 30.0 – 39.9 แสดงวา่ อว้ น มากกวา่ 40 แสดงว่า อว้ นมากหรอื อว้ นอนั ตราย ลาดับ ขอ้ ความ BMI ผลการเจริญเตบิ โต ที่ 1 เด็กชาย ก มสี ว่ นสูง 145 เซนตเิ มตร นา้ หนกั 40 กโิ ลกรัม 19.00 ปกติ 2 เด็กหญิง ข มีสว่ นสงู 150 เซนติเมตร นา้ หนกั 38 กโิ ลกรัม 16.89 ผอม 3 เดก็ หญิง ค มีสว่ นสงู 147 เซนตเิ มตร น้าหนกั 60 กโิ ลกรัม 27.77 น้าหนักเกิน 4 เดก็ ชาย ง มสี ่วนสงู 155 เซนติเมตร น้าหนกั 45 กิโลกรัม 18.73 ปกติ 5 เดก็ ชาย จ มีสว่ นสูง 150 เซนติเมตร น้าหนัก 70 กโิ ลกรัม 31.11 อว้ น 6 นาย ฉ มสี ว่ นสงู 180 เซนตเิ มตร น้าหนกั 75 กโิ ลกรมั 23.15 ปกติ 7 นางสาว ช มีส่วนสูง 165 เซนตเิ มตร น้าหนกั 45 กิโลกรมั 16.53 ผอม 8 นางสาว ซ มีส่วนสูง 160 เซนติเมตร นา้ หนกั 80 กิโลกรัม 31.25 อ้วน 9 นาย ฎ มีส่วนสูง 168 เซนตเิ มตร นา้ หนกั 85 กโิ ลกรัม 30.11 นา้ หนักเกิน 10 นางสาว ฏ มีส่วนสงู 170 เซนติเมตร นา้ หนัก 50 กิโลกรัม 17.30 ผอม
บนั ทึกหลังแผนการจดั การเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา2563 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ .....2........ เรอ่ื ง วยั รนุ่ กบั การเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน แผนการสอนท่ี ......2...... เรื่อง…เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเตบิ โตของเด็กไทย จา้ นวน ....1.... ชั่วโมง ผูส้ อน นางสาวณฐั ธิดา แกว้ ค้าศรี บันทึกหลังการจัดการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ ผู้เรียนได้รับความรู้ (K) นกั เรียนมคี วามรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับเกณฑ์มาตรฐานการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ ไทย ผ้เู รียนเกดิ ทกั ษะกระบวนการ (P) นกั เรยี นสามารถบอกเกณฑม์ าตรฐานการเจรญิ เติบโตของเด็กไทยได้ ผู้เรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม (A) นักเรียนมีทัศนคติท่ีดีต่อวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ขยนั ใฝุรใู้ ฝุเรียน เช่ือมนั่ ในตนเอง กล้าแสดงออกมีความสุขต่อ การเรยี น ผูเ้ รียนเกิดทักษะการคิด 1) ทกั ษะการส้ารวจ 2) ทักษะการวิเคราะห์ 3) ทักษะการนา้ ความรู้ไปใช้ ผู้เรยี นมหี ลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ผเู้ รียนเรียนรู้ที่จะใชท้ รัพยากรไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
ปัญหาอุปสรรค (ถา้ มี) - ขอ้ เสนอแนะ (ถ้ามี) - ลงชอื่ .......................................................... (นางสาวณฐั ธดิ า แก้วคา้ ศรี) ครผู ู้สอน ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................................ ............................ ลงช่อื .............................................. (นายอดิศร แดงเรือน) ผู้อ้านวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31
แผนการจดั การเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรูส้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (สขุ ศึกษา) ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เรือ่ ง วัยร่นุ กบั การเจรญิ เติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน เวลา 5 ชวั่ โมง แผนการเรยี นร้ทู ่ี 3 เรือ่ ง การดูแลและควบคมุ น้าหนักตนเองให้อยใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู ู้สอน นางสาวณัฐธดิ า แกว้ คาศรี 1. สาระสาคญั การลดนา้ หนักและการเพ่ิมน้าหนกั เปน็ แนวทางในการดูแลและควบคมุ น้าหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ - อธบิ ายวิธกี ารดูแลและควบคุมนา้ หนกั ของตนเองให้อยใู่ นเกณฑ์มาตรฐานได้ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง - วธิ กี ารควบคุมน้าหนกั ของตนเองให้อยใู่ นเกณฑ์มาตรฐาน 3.2 สาระการเรยี นรูท้ ้องถ่นิ (พิจารณาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการคดิ 1) ทักษะการส้ารวจ 2) ทกั ษะการวิเคราะห์ 3) ทักษะการน้าความรู้ไปใช้ 4.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 5. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝเุ รียนรู้ 3. ตรงต่อเวลา
กิจกรรมการเรียนรู้ วธิ ีสอนโดยใช้ กรณีตัวอยา่ ง ขั้นท่ี 1 เตรยี ม 1. ครอู ่านบทความเกี่ยวกบั อนั ตรายของยาลดความอว้ น ใหน้ ักเรียนฟัง แลว้ ให้นักเรยี นชว่ ยกันวิเคราะหว์ า่ สาเหตทุ ่ที ้าให้คนต้องกินยาลดความอว้ นเพราะอะไร 2. ครอู ธิบายเพ่ิมเติมให้นักเรียนฟังว่า ผู้ทมี่ นี ้าหนกั ตัวมากเกนิ ไป อาจก่อใหเ้ กิดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกดิ โรคตา่ งๆ มากมาย ขนั้ ท่ี 2 เสนอกรณตี ัวอย่าง ครแู จกบทความเกย่ี วกับโรคเบาหวานในเด็กและวัยรนุ่ ให้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ อ่าน (กลุม่ เดิมจากแผนการ จดั การเรียนรทู้ ่ี 1) ขนั้ ที่ 3 วเิ คราะห์ 1. นักเรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกนั ศึกษาความร้เู รื่อง การดูแลและควบคมุ น้าหนักตนเองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานจาก หนังสอื เรยี น แลว้ บันทึกความรทู้ ่ไี ด้จากการศึกษาลงในแบบบนั ทกึ การอ่าน 2. สมาชกิ ในกลมุ่ นา้ ความรทู้ ่ีได้จากการศกึ ษามาชว่ ยกนั วเิ คราะหบ์ ทความ เรื่อง โรคเบาหวานในเดก็ และวัยรุ่น ตามประเดน็ ท่ีครูก้าหนด ดงั นี้ 1) สาเหตุของการเกิดโรคเบาหวาน 2) ผลกระทบที่เกดิ ขน้ึ กบั บคุ คลท่ีเปน็ โรคเบาหวาน 3) แนวทางการปฏบิ ตั ิและปูองกันไมใ่ ห้เป็นโรคเบาหวาน 3. สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ เพิ่มเตมิ ในแตล่ ะประเด็นใหเ้ กิดความถูกต้องสมบูรณ์ และ สรุปผลการวิเคราะห์เปน็ มติของกลุม่ 4. นักเรียนตอบคา้ ถามกระตุ้นความคดิ ค้าถามกระตุน้ ความคิด การดแู ลและควบคุมนา้ หนัก มคี วามสาคัญตอ่ วัยรุน่ อยา่ งไร (พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยให้อยู่ใน ดลุ ยพินิจของครผู ้สู อน) ข้นั ที่ 4 สรุป 1. ตัวแทนกลมุ่ นา้ เสนอผลการวิเคราะหบ์ ทความ เรือ่ ง โรคเบาหวานในเด็กและวัยรนุ่ หนา้ ชั้นเรียน แลว้ ให้ นักเรียนกล่มุ อื่นชว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกต้องในแตล่ ะประเด็น 2. นกั เรียนตอบคา้ ถามกระตนุ้ ความคิด 3. นักเรยี นแตล่ ะคนท้าใบงานที่ 2.3 เรื่อง การดูแลและควบคุมน้าหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ค้าถามกระตนุ้ ความคิด นกั เรียนมีวิธกี ารดแู ลตวั เองอย่างไร เพื่อไมใ่ หน้ ้าหนกั ตวั ต่าหรือเกนิ กว่าเกณฑ์มาตรฐาน
(พิจารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยให้อยใู่ น ดุลยพินิจของครูผูส้ อน) ขน้ั ท่ี 5 ประเมนิ ผล นกั เรยี นแต่ละคนแลกเปลี่ยนใบงานที่ 2.3 กับเพ่ือนในกลุ่มเพือ่ เปรียบเทยี บค้าตอบและชว่ ยกันแกไ้ ขให้ถูกตอ้ ง สมบูรณ์ เสรจ็ แลว้ น้าส่งครูเพ่ือประเมินผล ภาระงาน/ช้นิ งาน - แหล่งเรียนรู้ / สื่อ 1) หนงั สอื เรียน สุขศกึ ษา ม.1 2) เอกสารประกอบการสอน 3) ใบงานที่ 2.3 เรอ่ื ง การดูแลและควบคุมน้าหนักให้อย่ใู นเกณฑ์มาตรฐาน
การวัดและประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื เกณฑ์ ใบงานท่ี 2.3 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ วิธกี าร แบบบนั ทกึ การอ่าน ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 2.3 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทา้ งานรายบุคคล ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ตรวจแบบบันทึกการอา่ น แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทา้ งานกลมุ่ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตพฤติกรรมการทา้ งานรายบคุ คล แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท้างานกลุม่ สังเกตความมวี นิ ยั ใฝุเรียนรู้ และตรงตอ่ เวลา ลงชื่อ.......................................................... (นางสาวณฐั ธดิ า แกว้ ค้าศรี) ครผู ู้สอน ความคดิ เหน็ ของหัวหน้าฝาุ ยบริหารวิชาการ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอื่ ............................................. (นายวิเศษ ฟองตา) รองผู้อ้านวยการฝาุ ยบริหารวิชาการ ความคิดเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอื่ .............................................. (นายอดศิ ร แดงเรือน) ผู้อา้ นวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31
เอกสารประกอบการสอน ชยี้ าลดอว้ นอันตรายถึงตาย เภสัชกร ม.มหิดล เตอื นสาวลดความอว้ น ห้ามซื้อยาผา่ นทางเวบ็ ไซตเ์ ด็ดขาด ตอ้ งเขา้ พบแพทย์เพื่อตรวจร่างกาย และให้ค้าแนะนา้ วธิ ใี ช้ยาอย่างถูกต้อง เผยยาลดน้าหนกั 2 ตวั มีอนั ตรายถึงแกช่ วี ติ แนะควบคมุ อาหารดีกว่าใช้ยา รศ.จุฑามณี สทุ ธิสีสงั ข์ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล ใหค้ วามรู้ถงึ วิธีการใช้ยาลดความอว้ นอย่าง ปลอดภัยวา่ ท่ีผ่านมามกั จะเกดิ ปญั หาการรบั ประทานยาลดน้าหนกั ไม่ถกู วิธี ส่งผลใหเ้ กดิ ความเสยี่ งตอ่ สุขภาพรา่ งกายและ เปน็ อนั ตรายถึงแก่ชวี ติ เนอ่ื งจากผูป้ วุ ยไม่ไปปรกึ ษาแพทย์ทีร่ กั ษาโรคอ้วนโดยตรง แตไ่ ปหาซื้อยาผา่ นทางสอื่ อินเทอร์เนต็ เวบ็ ไซต์ และส่อื ต่างๆ ซึง่ ไม่ขึ้นทะเบียนกับองค์การอาหารและยา รวมทง้ั คลนิ ิกและสถานเสรมิ ความงามท่ีไม่มแี พทย์ เฉพาะทาง ท้าใหผ้ ปู้ วุ ยรับประทานยาลดนา้ หนักโดยไมผ่ ่านการตรวจร่างกายและซกั ประวตั ิ หากใช้ยาเกินขนาดโดยไม่รู้ขอ้ หา้ ม หรอื ขอ้ บ่งใชส้ า้ หรบั รักษาและควบคุมโรคอ้วน กจ็ ะยิง่ เพ่ิมความเสยี่ งต่อการ ได้รบั ผลขา้ งเคียงที่รุนแรงจนท้าใหต้ ายได้ สา้ หรบั กรณีสาววัยรุ่นทเี่ สียชวี ิตรายล่าสดุ มีสาเหตจุ ากการกินยาเกนิ ขนาดโดย ไมไ่ ดร้ บั คา้ แนะน้าจากแพทยอ์ ย่างถกู ต้อง อย่างไรก็ตาม แมว้ ่าการใช้ยาลดความอว้ นจะเปน็ วธิ ีทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพดแี ละเหน็ ผลเร็ว แตผ่ ลข้างเคยี งทีเ่ กดิ ข้นึ อาจ ทา้ ใหเ้ กิดอนั ตรายถงึ ชีวิตได้ ดังนนั้ ก่อนตดั สนิ ใจรับประทานยาลดความอ้วนหรอื ยาใด ๆ กต็ าม ควรศกึ ษาวธิ ีการ ใชย้ าที่ ถูกต้อง และขอ้ มลู ความปลอดภัยของยาจากเภสัชกร หรือเขา้ รบั ค้าปรกึ ษาเกีย่ วกบั การรักษาทเี่ หมาะสมจากแพทย์ ผู้เชย่ี วชาญ ทง้ั น้ี ผตู้ ้องการลดความอว้ นสามารถศึกษาข้อมลู ผ่านทางเว็บไซตข์ องคณะเภสชั ศาสตร์ ม.มหดิ ล เพื่อไม่ ตก เป็นเหยื่อผ้ลู กั ลอบขายยาผา่ นทางเวบ็ ไซต์ ซึ่งไมม่ ีความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม ท่ีมา : http://health.kapook.com/view13508.html (สืบคน้ เมอื่ วนั ท่ี 11 ตลุ าคม 2555)
โรคเบาหวานในเด็กและวัยรุ่น โรคเบาหวานในเดก็ และวยั รนุ่ (childhood diabetes) หมายถึง เบาหวานที่เกิดข้นึ หรือตรวจพบในคนทมี่ ีอายุ น้อยกวา่ หรอื เท่ากับ 18 ปี ในประเทศไทยพบไดไ้ มบ่ อ่ ยเมอ่ื เทยี บกบั เบาหวานท่ีพบในผูใ้ หญ่ แต่ในชว่ ง 10 ปีท่ีผ่านมา มี ข้อมลู วา่ มเี พ่มิ มากขนึ้ โดยเฉพาะในวัยรุน่ ทอ่ี ว้ น ข้อมูลจากการส้ารวจเม่อื ปี พ.ศ. 2546 จากจ้านวนผปู้ วุ ยทง้ั หมด 9,419 คน พบว่า มผี ูป้ วุ ยเบาหวานในเดก็ และวัยร่นุ ท่วี นิ ิจฉัยกอ่ นอายุ 18 ปี รอ้ ยละ 2.66 ของผ้ปู วุ ยโรคเบาหวานท้ังหมด โรคเบาหวานในเดก็ และวัยรนุ่ แบง่ เป็น 3 กลมุ่ ใหญๆ่ ได้แก่ 1. เบาหวานชนิดท่ี 1 2. เบาหวานชนดิ ที่ 2 3. เบาหวานท่ีมสี าเหตชุ ดั เจน ในปจั จุบนั ภาวะโภชนาการเกนิ และการขาดการออกก้าลงั กายในเดก็ วยั รุ่น ล้วนเปน็ เหตสุ ่งเสริมใหอ้ ตั ราการเกดิ เบาหวานประเภทท่ี 2 ในเด็ก และวัยรุ่นมากขึ้นเร่อื ยๆ ข้อมลู ล่าสดุ ทสี่ า้ รวจพบว่า เบาหวานในผ้ปู วุ ยที่มีอายนุ อ้ ยกวา่ 18 ปี พบว่า เป็นโรคเบาหวานชนดิ ทหี่ น่ึงรอ้ ยละ 78 และ ร้อยละ 18.4 เปน็ เบาหวานชนิดท่ี 2 ที่เหลืออกี ร้อยละ 3.6 เปน็ เบาหวานชนิดอน่ื ๆ ตา่ งจากข้อมลู เมือ่ ปี พ.ศ. 2534-2536 ทเี่ บาหวานชนดิ ที่ 2 ในเดก็ และวยั รนุ่ มีน้อยกวา่ รอ้ ยละ 5 จะ เห็นวา่ เบาหวานชนดิ ท่ี 2 เพิ่มข้นึ มากกวา่ 3 เท่า ในชว่ ง 10 ปีทผี่ ่านมา สาเหตุ สาเหตุของโรคเบาหวานในเดก็ พบว่า โรคเบาหวานเปน็ เรื่องของกรรมพนั ธุ์ และทา้ ปฏสิ มั พนั ธ์กับสิ่งแวดล้อม ซงึ่ สงิ่ แวดลอ้ มทส่ี ้าคัญทสี่ ดุ คอื อาหาร ถ้าขณะอยใู่ นครรภ์มารดา เดก็ ไดร้ ับอาหารไมเ่ พียงพอ เมื่อเกดิ มาตวั เล็ก และพอ่ แม่ เลีย้ งลูกดว้ ยนมผง จะท้าให้เด็กโตขึ้นอย่างรวดเรว็ และมแี นวโน้มวา่ เด็กคนนโ้ี ตขน้ึ มา จะกลายเปน็ เดก็ อว้ น และมโี อกาสท่ี จะเปน็ โรคเบาหวาน อาการ 1. ผปู้ ุวยทเี่ รม่ิ เปน็ เบาหวานจะมีอาการแตกตา่ งกันในแตล่ ะคน 2. อาการเรมิ่ แรกที่พบบอ่ ยคอื ปัสสาวะบอ่ ยและมาก ดืม่ น้ามาก และนา้ หนกั ตัวลด 3. ผปู้ วุ ยเด็กบางรายมปี ระวตั ิปัสสาวะรดท่นี อนตอนกลางคนื หรอื ปสั สาวะทง้ิ ไวม้ ีมดตอม 4. อาการดังกล่าวอาจเกดิ ข้นึ ประมาณ 1-2 เดือน ก่อนมภี าวะคีโตอะซโิ ดสสิ เกดิ ขึ้น ผปู้ วุ ยจ้านวนไม่น้อยมี คีโตอะซโิ ดสสิ เกดิ ข้นึ โดยเฉยี บพลนั เมื่อเปน็ ไขห้ วดั หรือการเจ็บปวุ ยอนื่ ๆ ประมาณร้อยละ 10 ของผปู้ วุ ย เบาหวานชนดิ ท่ี 1 ที่วินจิ ฉัยใหมม่ อี าการเกดิ ขน้ึ อย่างรวดเรว็ และรนุ แรงมาก โดยทม่ี ีประวตั ไิ ข้หรือมีการตดิ เชอ้ื โดยเฉพาะทางเดินหายใจส่วนบนน้ามาก่อน จากนน้ั มอี าการทรุดลงอย่างรวดเร็ว น้าหนักลดลง คลืน่ ไส้ อาเจียน ขาดน้ารนุ แรง ปวดท้องมาก หายใจหอบลึก ความรูส้ ึกตัวลดลง ช็อค หมดสติ และอาจถึงแก่ชวี ติ ไดถ้ ้าไมไ่ ดร้ บั การวินจิ ฉัยและรักษาทเี่ หมาะสมทนั ทว่ งที 5. บอ่ ยครัง้ ทีพ่ บว่าผู้ปวุ ยเบาหวานเดก็ ทมี่ ภี าวะคโี ตอะซโิ ดสสิ ได้รบั การวนิ จิ ฉยั ผดิ เป็นโรคอ่นื ท่ี มอี าการคล้ายกัน เชน่ อาหารเปน็ พษิ ลา้ ไสอ้ กั เสบ ไวรสั ลงกระเพาะเฉียบพลัน ทางเดนิ ปสั สาวะอกั เสบเฉียบพลนั เป็นตน้ ดงั นนั้ ควรคดิ ถงึ โรคเบาหวานชนิดท่ี 1 และภาวะคีโตอะซิโดสสิ เสมอ เมอื่ พบว่า ผปู้ ุวยเด็กมอี าการดังกลา่ ว รว่ มกับผล ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการพบวา่ มภี าวะกรดเมตะบอลคิ ท่ีมา : http://www.vachiraphuket.go.th/index.php?name=knowledge&file=readknowledge&id=12 (สบื คน้ เม่ือวันที่ 11 ตลุ าคม 2555)
ใบงานที่ 2.3 การดูแลและควบคุมนา้ หนักใหอ้ ยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 155 คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนอ่านกรณตี วั อย่างทก่ี ้าหนด แลว้ ตอบค้าถาม หนูควรทาอยา่ งไร เดก็ หญงิ นกน้อย เรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เธอมีน้าหนักตวั 80 กิโลกรัม และส่วนสงู เซนตเิ มตร เมื่อนา้ มาหาค่าดชั นมี วลกาย ปรากฏวา่ เธอมีนา้ หนกั ตวั มากเกนิ เกณฑ์มาตรฐาน ใหน้ ักเรียนช่วยกันเขยี นวิธีการดแู ลและควบคุมนา้ หนักของเด็กหญงิ นกน้อย ตามหลัก 5 ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เฉลยใบงานที่ 2.3 การดแู ลและควบคุมน้าหนกั ใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์มาตรฐาน 155 คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นอ่านกรณตี วั อยา่ งท่ีกา้ หนด แล้วตอบคา้ ถาม หนูควรทาอยา่ งไร เดก็ หญิงนกน้อย เรียนอย่ชู นั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 เธอมีนา้ หนักตวั 80 กโิ ลกรมั และสว่ นสูง เซนตเิ มตร เม่ือน้ามาหาคา่ ดชั นมี วลกาย ปรากฏวา่ เธอมีนา้ หนักตวั มากเกนิ เกณฑ์มาตรฐาน ให้นักเรียนช่วยกนั เขียนวธิ กี ารดูแลและควบคุมนา้ หนักของเดก็ หญิงนกน้อย ตามหลัก 5 ส (ตวั อยา่ ง) จาก หลัก 5 ส เพอื่ การลดนา้ หนกั 1) สัญญา คอื การสญั ญากับตนเองวา่ จะต้องลดนา้ หนกั ใหไ้ ด้ 2) สะสาง คือ เก็บอาหารทช่ี อบรับประทานอาหารออกจากตูเ้ ยน็ ตู้กับขา้ วใหห้ มด เหลอื ไวแ้ ตอ่ าหารท่ีใหพ้ ลงั งานตา่ 3) สขุ นิสยั คอื หม่นั ชั่งนา้ หนักเปน็ ประจา เพื่อใหท้ ราบถึงการเปลยี่ นแปลง และมกี ารคานวณพลงั งานทไ่ี ด้ อาหารที่รบั ประทานในแตล่ ะวนั 4) สุขลักษณะ คือ ไมร่ ับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์ หรอื รับประทานในหอ้ งนอน 5) สม่าเสมอ คือ ไมย่ อ่ ท้อหรือเลกิ ล้มความต้ังใจ (พิจารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยให้อยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของครูผสู้ อน)
บนั ทกึ หลังแผนการจัดการเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาและพลศึกษา ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา.................. หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ .....2........ เร่ือง วัยรนุ่ กับการเจรญิ เตบิ โตตามเกณฑ์มาตรฐาน แผนการสอนท่ี ..3.... เรือ่ ง การดูแลและควบคมุ นา้ หนักตนเองใหอ้ ย่ในเกณฑ์มาตรฐาน จ้านวน 1 ชั่วโมง ผู้สอน .............................................. บนั ทึกหลังการจัดการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ ผู้เรยี นไดร้ บั ความรู้ (K) นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการดูแลและควบคุมนา้ หนกั ของตนเองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ผ้เู รียนเกดิ ทกั ษะกระบวนการ (P) นกั เรยี นสามารถบอกวิธีการดูแลและควบคุมน้าหนักของตนเองให้อยใู่ นเกณฑ์มาตรฐานได้ ผู้เรียนมีคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม (A) นกั เรียนมที ัศนคติที่ดตี ่อวชิ าสุขศกึ ษาและพลศึกษา ขยนั ใฝุรู้ใฝุเรียน เชอ่ื มั่นในตนเอง กล้าแสดงออกมคี วามสขุ ต่อ การเรียน ผเู้ รยี นเกดิ ทกั ษะการคดิ 1) ทกั ษะการสา้ รวจ 2) ทักษะการวิเคราะห์ 3) ทักษะการน้าความรู้ไปใช้ ผู้เรยี นมีหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ผเู้ รยี นเรยี นรทู้ ่จี ะใช้ทรัพยากรไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
ปัญหาอุปสรรค (ถา้ มี) - ขอ้ เสนอแนะ (ถา้ มี) - ลงช่ือ.......................................................... (นางสาวณฐั ธิดา แก้วคา้ ศรี) ครผู ้สู อน ความคิดเห็นของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ........................................... ลงชอ่ื .............................................. (นายอดศิ ร แดงเรือน) ผู้อา้ นวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31
แผนการจัดการเรยี นรู้ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (สุขศึกษา) เวลา 5 ชัว่ โมง หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 เรื่อง วัยรนุ่ กับการเจริญเตบิ โตตามเกณฑ์มาตรฐาน เวลา 2 ชวั่ โมง แผนการเรียนรู้ท่ี 4 เร่ือง การสง่ เสรมิ และพัฒนาตนเองให้เจรญิ เติบโตสมวัย ครผู สู้ อน นางสาวณัฐธดิ า แกว้ คาศรี 1. สาระสาคญั การส่งเสรมิ และพฒั นาตนเองใหเ้ จรญิ เติบโตสมวยั เป็นสิ่งท่ีจา้ เปน็ โดยปฏบิ ัตติ ามสุขบญั ญัติแห่งชาติ 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1) บอกวิธีการส่งเสรมิ และพัฒนาตนเองให้เจรญิ เติบโตสมวยั ได้ 2) บอกแนวทางการปฏิบัตติ นตามหลักสุขบญั ญตั ิแหง่ ชาตไิ ด้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง - แนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจรญิ เติบโตสมวัย 3.2 สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถ่นิ (พจิ ารณาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน 4.1 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการสา้ รวจ 2) ทักษะการวเิ คราะห์ 3) ทกั ษะการน้าความรู้ไปใช้ 4.2 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเุ รยี นรู้ 3. ตรงตอ่ เวลา
กิจกรรมการเรยี นรู้ วิธีสอนตามรปู แบบ โมเดลซปิ ปา (CIPPA Model) ขั้นท่ี 1 ทบทวนความรู้เดมิ 1. ครใู หน้ ักเรยี นชว่ ยกันบอกแนวทางในการดูแลและควบคมุ นา้ หนกั ของตนเองเพ่ือให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน มาคนละ 1 ข้อ 2. ครูอธบิ ายเช่อื มโยงให้นักเรียนเห็นความสา้ คัญของการสง่ เสริมและพฒั นาตนเองใหเ้ จริญเติบโตสมวยั ขัน้ ที่ 2 แสวงหาความรูใ้ หม่ 1. นักเรยี นกลุม่ เดิม (จากแผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 1) จับคู่กนั เปน็ 2 คู่ ใหแ้ ต่ละครู่ ว่ มกนั ศึกษาความรู้ จาก หนงั สือเรยี น หอ้ งสมุด และแหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ ตามประเดน็ ท่ีกา้ หนด ดังนี้ 1) การส่งเสรมิ และพฒั นาตนเองให้เจริญเตบิ โตสมวัย 2) สุขบัญญัตแิ ห่งชาตเิ พ่ือการเจรญิ เติบโตทส่ี มวัย แลว้ บนั ทึกความร้ทู ่ีได้ลงในแบบบันทึกการอ่าน 2. นกั เรียนตอบคา้ ถามกระตุ้นความคดิ ค้าถามกระตุน้ ความคิด การพัฒนาตนเองของวัยรุน่ ให้เจริญเตบิ โตสมวัยต้องปฏบิ ตั ิตนอยา่ งไร (พิจารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของครผู ูส้ อน) ขั้นที่ 3 ศึกษาทาความเขา้ ใจข้อมูล/ความรใู้ หม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กบั ความรู้เดมิ สมาชิกแตล่ ะคู่น้าความรู้ที่ได้จากการศึกษามาผลดั กันอธิบายใหส้ มาชกิ อีกค่หู น่ึงในกลุม่ ฟงั ข้นั ท่ี 4 แลกเปลยี่ นความรคู้ วามเขา้ ใจกับกลุม่ สมาชกิ แตล่ ะค่ตู ง้ั ค้าถามจากเร่ืองที่ศึกษา ค่ลู ะ 2-3 ข้อ แล้วผลัดกนั ถามสมาชิกอกี คู่หน่ึง เพอ่ื เปน็ การ แลกเปล่ียนความรคู้ วามเขา้ ใจกันภายในกล่มุ ขน้ั ที่ 5 สรุปและจดั ระเบียบความรู้ 1. สมาชกิ ในกลมุ่ รว่ มกนั สรปุ ความรเู้ ก่ยี วกบั แนวทางการสง่ เสริมและพฒั นาตนเองใหเ้ จรญิ เตบิ โตสมวยั และ แนวทางการปฏิบตั ิตามหลักสุขบัญญัติแหง่ ชาติ เปน็ องค์ความรูป้ ระจ้ากลุ่ม 2. นักเรียนตอบค้าถามกระตุ้นความคดิ ค้าถามกระตนุ้ ความคิด นกั เรียนมีวธิ กี ารสงั เกตอย่างไรว่า ตนเองมีพัฒนาการเจริญเติบโตสมวัย (พิจารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ ิจของครูผู้สอน) ขั้นที่ 6 ปฏิบัติและ/หรือแสดงผลงาน 1. นักเรยี นแต่ละกลุ่มชว่ ยกนั ท้าใบงานที่ 2.4 เรอื่ ง แนวทาง การพฒั นาตนเองใหเ้ จรญิ เติบโตสมวัย 2. ตัวแทนกลมุ่ นา้ เสนอใบงานที่ 2.4 หนา้ ช้ันเรยี น ครแู ละเพือ่ นกลุ่มอืน่ ชว่ ยตรวจสอบความถกู ต้อง ขนั้ ที่ 7 ประยุกต์ใช้ความรู้
1. นักเรียนแต่ละกล่มุ รว่ มกันแสดงความคิดเหน็ วา่ นักเรียนสามารถนา้ ความรเู้ ก่ียวกบั แนวทางการปฏิบัติ เพื่อให้ตนเอง มกี ารเจริญเตบิ โตที่สมวัยไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจ้าวนั ได้อย่างถกู ต้อง 2. นักเรยี นแตล่ ะคนทา้ กจิ กรรมตามตวั ชี้วดั กจิ กรรมที่ 2.7 จากแบบวดั ฯ เสรจ็ แล้วน้าส่งครตู รวจ ภาระงาน/ช้นิ งาน ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุ่มจดั ปาู ยนเิ ทศ เร่อื ง แนวทางการปฏิบตั ิตนให้มกี ารเจริญเตบิ โตท่ีสมวัย โดยใหค้ รอบคลุมประเดน็ ตามทก่ี าหนด ดงั น้ี 1) การวเิ คราะห์การเจริญเตบิ โตทางร่างกายของตนเองกบั เกณฑม์ าตรฐาน 2) การอธิบายแนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจรญิ เตบิ โตสมวยั 3) การอธบิ ายวิธีการควบคุมนา้ หนกั ของตนเองให้อยใู่ นเกณฑ์มาตรฐาน แหลง่ เรียนรู้ / สอื่ 8.1 สอื่ การเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรยี น สุขศึกษา ม.1 2) แบบวัดและบนั ทึกผลการเรยี นรู้ สุขศึกษา ม.1 3) ใบงานท่ี 2.4 เรื่อง แนวทางการพฒั นาตนเองให้เจริญเตบิ โตสมวัย 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 2) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ - http://kaepe.blogspot.com/2012/02/1.html
การวัดและประเมนิ ผล เครื่องมอื เกณฑ์ ใบงานที่ 2.4 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ วธิ ีการ แบบบันทกึ การอา่ น ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 2.4 แบบประเมนิ การนา้ เสนอผลงาน ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ตรวจแบบบันทกึ การอา่ น แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทา้ งานกลุ่ม ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ประเมนิ การน้าเสนอผลงาน แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการท้างานกล่มุ แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตความมีวนิ ยั ใฝเุ รยี นรู้ และตรงตอ่ เวลา แบบประเมนิ ปาู ยนิเทศ เร่ือง แนวทางการ ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ปฏบิ ัตติ นใหม้ กี ารเจริญเตบิ โตทสี่ มวัย ตรวจปาู ยนเิ ทศ เรื่อง แนวทางการปฏิบตั ติ น ใหม้ กี ารเจรญิ เติบโตทีส่ มวยั ลงชื่อ.......................................................... (นางสาวณฐั ธิดา แกว้ คา้ ศรี) ครผู ้สู อน ความคิดเหน็ ของหัวหนา้ ฝาุ ยบรหิ ารวิชาการ ............................................................................................ .................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชือ่ .............................................. (นายวิเศษ ฟองตา) รองผ้อู ้านวยการฝุายบรหิ ารวชิ าการ ความคดิ เห็นของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ............................................................................................ .................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .............................................. (นายอดิศร แดงเรือน) ผ้อู า้ นวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมินปูายนเิ ทศ เร่ือง แนวทางการปฏิบัติตน ใหม้ ีการเจริญเติบโตทสี่ มวยั ลาดบั ที่ รายการประเมิน 4 ระดับคะแนน 1 32 1 การวิเคราะห์การเจริญเตบิ โตทางรา่ งกายของตนเอง กบั เกณฑม์ าตรฐาน 2 การอธิบายแนวทางในการพัฒนาตนเองให้ เจรญิ เติบโตสมวยั 3 การอธิบายวิธกี ารควบคุมนา้ หนักของตนเองให้อยู่ใน เกณฑ์มาตรฐาน รวม ลงชอื่ ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ดีมาก ดี = 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ = 3 คะแนน ปรับปรุง = 2 คะแนน 11 - 12 ดมี าก = 1 คะแนน 9 - 10 ดี 6 - 8 พอใช้ ต่ากวา่ 6 ปรบั ปรงุ
ใบงานที่ 2.4 แนวทางการพฒั นาตนเองให้เจรญิ เตบิ โตสมวัย คาชีแ้ จง ให้นักเรียนบอกแนวทางการปฏบิ ัติตนเพอ่ื ให้มกี ารเจริญเตบิ โตทส่ี มวัย ตามประเด็นท่ีกา้ หนดใน แผนผัง การรบั ประทานอาหาร การด่ืมน้าและนม การเจริญเติบโตท่ีสมวยั การนอนหลบั และการผอ่ นคลาย การออกกาลงั กาย
เฉลยใบงานที่ 2.4 แนวทางการพฒั นาตนเองใหเ้ จริญเติบโตสมวัย คาชีแ้ จง ให้นกั เรยี นบอกแนวทางการปฏิบตั ติ นเพอื่ ให้มกี ารเจริญเตบิ โตทีส่ มวัย ตามประเดน็ ท่ีกา้ หนดใน แผนผงั (ตวั อย่าง) รบั ประทานอาหารม้อื หลกั ใหค้ รบ 3 ม้อื ดมื่ น้าสะอาดอย่างน้อยวนั ละ 6-8 แกว้ รบั ประทานอาหารใหค้ รบ 5 หมู่ และแต่ละหมู่ เดก็ ควรดมื่ นมวนั ละ 2-3 แกว้ ผใู้ หญ่ควรดมื่ ใหห้ ลากหลาย นมพรอ่ งมนั เนยวนั ละ 1-2 แกว้ รบั ประทานอาหารทสี่ กุ สะอาด และหลกี เลยี่ ง อาหารรสจดั อาหารหมกั ดอง และอาหารทมี่ สี ี ฉูดฉาด การรบั ประทานอาหาร การดื่มน้าและนม การเจริญเติบโตท่ีสมวยั การนอนหลบั และการผอ่ นคลาย การออกกาลงั กาย นอนหลบั อย่างน้อยวนั ละ 8-10 ชวั่ โมง ออกกาลงั กายทเี่ หมาะสมกบั เพศและวยั นงั่ สมาธิ และทาจติ ใจใหส้ งบ ออกกาลงั กายอยา่ งสมา่ เสมอ ไม่ตา่ กว่า สปั ดาหล์ ะ 3 ครงั้ ครงั้ ละอยา่ งน้อย 20 นาที (พิจารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยให้อยูใ่ นดลุ ยพินิจของครผู สู้ อน)
บันทึกหลังแผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา2563 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ .....2........ เรอื่ ง วัยรนุ่ กับการเจริญเตบิ โตตามเกณฑ์มาตรฐาน แผนการสอนที่ ..4.... เร่ือง การส่งเสริมและพัฒนาตนเองให้เจริญเตบิ โตสมวยั จ้านวน 2 ชวั่ โมง ผู้สอน นางสาวณัฐธดิ า แกว้ คา้ ศรี บันทกึ หลังการจดั การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ ผเู้ รียนได้รบั ความรู้ (K) นกั เรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับการสง่ เสรมิ และพฒั นาตนเองใหเ้ จรญิ เติบโตสมวยั เปน็ สง่ิ ทจี่ ้าเป็น โดยจะตอ้ งปฏิบตั ติ ามสุขบัญญตั ิแหง่ ชาติ ผู้เรียนเกิดทกั ษะกระบวนการ (P) นกั เรียนสามารถบอกบอกวธิ กี ารสง่ เสรมิ และพฒั นาตนเองให้เจริญเติบโตสมวยั และบอกแนวทางการปฏิบตั ติ นตาม หลกั สขุ บญั ญัติแห่งชาติได้ ผ้เู รียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม (A) นักเรียนมีทัศนคติที่ดีตอ่ วชิ าสุขศึกษาและพลศึกษา ขยันใฝุรู้ใฝุเรียน เชื่อม่ันในตนเอง กล้าแสดงออกมีความสขุ ต่อ การเรยี น ผเู้ รยี นเกดิ ทกั ษะการคดิ 1) ทกั ษะการส้ารวจ 2) ทกั ษะการวิเคราะห์ 3) ทักษะการน้าความรู้ไปใช้ ผู้เรียนมหี ลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ผู้เรยี นเรยี นรู้ทีจ่ ะใชท้ รัพยากรได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357