6 4. หนว่ ยการเรยี นรู้ เวลา จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนอ้ื หาสาระ หนว่ ย ช่ือหนว่ ย (ชัว่ โมง) การพิทักษ์ การตอ่ ต ที่ ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี 1 ทรัพยากร ธรณสี าคัญ 5 - เพอื่ ให้มคี วามรู้ --ธรณวี ทิ ยาและการกาเนิด สร้างความตระ อย่างไร ความเข้าใจเกีย่ วกับ แหล่งทรพั ยากรธรณี คอื อะไร ของทรัพยากร ทรัพยากรธรณี -ประเภททรัพยากรธรณี ตน่ื รู้ (Realiz - เพือ่ ตระหนกั ถึง (หนิ /ดิน/แร่) และการใช้ ผเู้ รยี นมีความ คณุ คา่ ของทรัพยากร ประโยชน์ ตระหนกั รู้ถึงร ธรณี โดยนาเสนอ -การสารวจและการพัฒนา และภยั รา้ ยแร แนวทางการใชอ้ ยา่ ง ทรพั ยากรธรณี ประพฤติมชิ อบ ประหยดั และการ - ผลกระทบจากการใช้ และประเทศ ค อนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรณี ทรพั ยากรธรณี (ทางตรงและ บงั เกดิ เม่อื ไดพ้ ทางอ้อม) ทเี่ สี่ยงต่อการท ปฏิกริ ยิ าเฝ้าระ ตอ่ การทจุ รติ ใ ความรู้ความเข (Knowledge: สถานการณ์ทุจ ความร้ายแรงแ ระดบั บุคคลแล 2 ผู้ครอบครอง 5 -เพอ่ื ให้สามารถ -ทรัพยากรธรณี เป็นสิง่ ทีต่ อ้ ง การแยกแยะเก ทรัพยากร ธรณี วเิ คราะห์แยกแยะ ใช้ประโยชนร์ ว่ มกัน ส่วนตนและปร เกย่ี วกับประโยชน์ -การจะนาไปใชต้ ้องได้รบั กับ พอเพียง ( ส่วนตนและประโยชน์ อนญุ าต ปรบั วิธีคดิ ทแ่ี ย สว่ นรวม -ประโยชน์สว่ นบคุ คลและ ผลประโยชนส์ -เพอื่ ใหร้ ู้เท่าทันการ ประโยชนส์ ่วนรวม (ชุมชน ส่วนรวมไดอ้ ย ทุจรติ ทางทรัพยากร สงั คม) และการขัดกนั ระหว่าง และเป็นอตั โน ธรณี ประโยชนส์ ่วนบุคคลและ จติ สานกึ ที่พอ
64 วธิ กี ารจัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ การประเมินผล ตา้ นการทจุ ริต ะหนกั รูถ้ งึ คุณค่า - บรรยาย -คลิป VDO -หอ้ งสมดุ -การทดสอบ -กรม -การใชค้ าถามและ รธรณี - อภิปราย -ภาพยนตส์ ัน้ ทรัพยากร ใหข้ ้อมูลยอ้ นกลบั ธรณี -การสังเกตการ ze: R) - เกม (Game based -เอกสารความรู้ - website ปฏิบตั งิ านกลมุ่ / - platform การอภิปราย มรู้ความเข้าใจและ Learning) -ส่อื สิงพมิ พ์ตา่ งๆ -การสงั เกต พฤติกรรม รากเหงา้ ของปัญหา -สถานการณ์จาลอง ใบความรู้ ใบ -การประเมนิ ผล งานและตรวจ รงของการทุจริต -โครงงาน (Project based กิจกรรม ผลงาน -เกณฑ์การให้ บภายในชมุ ชน Learning) -ส่อื ดจิ ิทลั คะแนน (scoring rubric) ความตนื่ รจู้ ะ -ปัญหาเป็นฐาน (Problem พบเห็นสถานการณ์ based Learning) ทุจริต ย่อมจะมี -ปรากฎการเป็นฐาน ะวังและไมย่ นิ ยอม (Phenomenon based ในท่สี ุด ซง่ึ ตอ้ งให้ Learning) ข้าใจ ความรู้ -สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry e: N)เก่ยี วกับ based Learning) จรติ ทเ่ี กิดขึ้น และผลกระทบตอ่ ละสว่ นรวม กีย่ วกบั ประโยชน์ - บรรยาย -คลิป VDO -หอ้ งสมุด -การทดสอบ ระโยชน์ เชอื่ มโยง - อภปิ ราย -ภาพยนตส์ ัน้ -กรม -การใช้คาถามและ (Sufficient: S) -กรณีศกึ ษา -สื่อสิงพิมพต์ า่ งๆ ทรพั ยากร ใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั ยกแยะ -สถานการณจ์ าลอง ใบความรู้ ใบงาน ธรณี -การสงั เกตการ สว่ นตวั และ - website ปฏบิ ัตงิ านกลมุ่ / ย่างถูกต้อง ชดั เจน - platform การอภปิ ราย นมตั จิ ะนาไปสู่ -การสังเกต อเพยี ง ไมก่ อบโกย พฤตกิ รรม
6 ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ผลประโยชน์โด (ชุมชน สงั คม) ไมเ่ บยี ดเบียนผ - รปู แบบของผลประโยชน์ ไม่รบั อามิสสิน ทบั ซอ้ น (ชมุ ชน สงั คม) จากดั ขอบเขต อาชพี ท่ีสุจรติ ทรัพยส์ นิ เงนิ ท ความสามารถ ไมเ่ ดอื ดร้อนต 3 คุณคอื คน 6 -เพื่อวิเคราะห์ - ผลกระทบด้านลบต่อสงั คม ตืน่ รู้ (Realiz สาคัญต่อ ทรพั ยากร ผลกระทบด้านลบของ ในการใช้ทรพั ยากรธรณี ผเู้ รยี นมีความ ธรณี การใช้ทรพั ยากรธรณีที่ ด้านสขุ ภาพ สังคม ตระหนักรูถ้ งึ ร 4 รว่ มด้วย ช่วยกนั : รับผิดชอบต่อสงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม และภยั ร้ายแร การปอ้ งกัน และ สุขภาพ สง่ิ แวดลอ้ ม - กรณศี กึ ษา ผลกระทบต่อ ประพฤติมชิ อบ ปราบปราม การทุจริต -เพอ่ื ตระหนักถงึ ส่งิ แวดล้อมในการใช้ และประเทศ ค ผลกระทบ ทรพั ยากรธรณีที่ไม่รับผิดชอบ บังเกดิ เม่ือไดพ้ ดา้ นลบของการใช้ ต่อสังคม ท่ีเสย่ี งตอ่ การท ทรัพยากรธรณที ี่ ปฏิกริ ิยาเฝา้ ระ รบั ผดิ ชอบต่อสังคม ต่อการทจุ รติ ใ สุขภาพ ส่งิ แวดลอ้ ม ความร้คู วามเข โดยนาเสนอแนวทาง ในการเฝ้าระวงั ทอี่ าจ เกดิ ในทอ้ งถ่นิ 4 เพื่อใหม้ คี วามรู้ -กฎหมายที่เกีย่ วข้อง โปร่งใส (Tran เก่ยี วกบั กฎหมาย (เบื้องตน้ ) บคุ คลทกุ ระดับ กฎระเบียบ มาตรการ -การมสี ่วนรว่ มในการป้องกัน ชุมชนตอ้ งปฏิบ ทางสังคมทเ่ี กย่ี วกับ และปราบปรามการทุจริต ความโปรง่ ใส การทุจรติ สามารถ และการฟื้นฟูทรพั ยากรธรณี ดงั น้นั จงึ ตอ้ งม หลกั ปฏบิ ตั ิ ระ
65 ดยมชิ อบ -การประเมินผล ผู้อนื่ ไม่เบยี ดบังรฐั งานและตรวจ นบนโดยมติ ้อง ผลงาน ตของการประกอบ -เกณฑก์ ารให้ สามารถหา คะแนน (scoring ทองไดต้ าม rubric) ถ ทงั้ นี้ โดย ตนเองและผ้อู น่ื ze: R) - บรรยาย -คลปิ VDO -ห้องสมุด -การสงั เกตการ มรู้ความเข้าใจและ - อภิปราย -ภาพยนต์สัน้ -กรม ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม รากเหง้าของปญั หา -สถานการณจ์ าลอง -สถานการณ์ ทรัพยากร -การสงั เกตการ รงของการทุจริต -โครงงาน (Project based ปญั หา ธรณี ปฏบิ ตั งิ านกลมุ่ / บภายในชุมชน Learning) -กรม การอภปิ ราย ความต่ืนรูจ้ ะ -ปัญหาเปน็ ฐาน (Problem อุตสาหกรรม พบเห็นสถานการณ์ based Learning) พน้ื ฐานและ ทจุ รติ ยอ่ มจะมี -ปรากฎการเป็นฐาน การเหมืองแร่ ะวังและไมย่ นิ ยอม (Phenomenon based - website ในทสี่ ุด ซง่ึ ต้องให้ Learning) - platform ข้าใจ nsparent: T) - บรรยาย -คลิปVDO -หอ้ งสมดุ -การทดสอบ บ องคก์ ร และ - อภปิ ราย -ภาพยนต์ส้นั -กรม -การใช้คาถามและ บัติงานบนฐานของ -สถานการณจ์ าลอง -กรณีศกึ ษา ทรัพยากร ให้ขอ้ มูลยอ้ นกลับ ตรวจสอบได้ -โครงงาน ธรณี -การประเมนิ ผล มีและปฏบิ ตั ติ าม - website งานและตรวจ ะเบยี บ ข้อปฏิบัติ - platform ผลงาน
6 และการฟนื้ ฟู บอกแหลง่ แจ้งเบาะแส -การอนุรักษ์และหวงแหน กฎหมายด้านค ทรพั ยากร ซึง่ ตอ้ งให้ความ ธรณี การทจุ ริตได้ ทรัพยากรธรณี (knowledge) (realize) มุ่งไปขา้ งหน้า มุ่งเนน้ กระบว ในการเฝา้ ระว ทมี่ ีความเสย่ี ง การบกุ รกุ พ้ืนท เฝา้ ระวังโครงก ด้วยความโปร เอื้ออาทร (Ge การพฒั นาสงั ค โอบอ้อมอารี เ โดยไมม่ ผี ลปร หรือหวงั ผลตอ เพือ่ นมนุษย์ โ ส่งเสรมิ การทา ช่วยเหลือบุคค ยามวิกฤติ หร การรว่ มพฒั นา
66 -เกณฑก์ ารให้ คะแนน (scoring ความโปร่งใส rubric) มร้คู วามเขา้ ใจ ) และการตน่ื รู้ า (Onward: O) วนการมสี ว่ นรว่ ม วงั พ้ืนที่ ง ในการทุจริต เช่น ท่ีสาธารณะ หรอื การให้ดาเนินการ ร่งใส enerosity: G) คมไทยให้มีนา้ ใจ เออื้ เฟือ้ เผื่อแผ่ ระโยชนต์ อบแทน อบแทน ในฐานะ โดยกลไกหลกั ากจิ กรรมจติ อาสา คล ชมุ ชน/สงั คมใน รอื การร่วมมอื ใน าชุมชน
67 5.แนวทางการจัดการเรียนรู้และประเมินผล กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นการลงมือปฏิบัติจริง (Learning by Doing) โดยใช้วิธีการศึกษาด้วย ตนเอง กรณีศึกษา การบรรยาย การฝึกปฏิบัติรายบุคคล การอภิปรายกลุ่มย่อย การระดมสมอง และการ นาเสนอผลงาน การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นความ แตกต่างระหว่างบุคคล สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง จัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย กระบวนการ เรียนรู้ที่จาเป็นสาหรับการเตรียมเข้าสู่โลกอนาคต เช่น เกม (Game based Learning) โครงงาน (Project based Learning) ปัญหาเป็นฐาน (Problem based Learning) ปรากฎการเป็นฐาน (Phenomenon based Learning) สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry based Learning) การวดั และประเมนิ ผล เน้นการประเมินเพือ่ พฒั นา การประเมนิ ตามสภาพจรงิ เคร่ืองมือประเมินและกลยุทธ์ทางการประเมิน ท่ีส่งผลต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเรียนรู้ท่ี จะช่วยให้ครูสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ให้กับนักเรียนในชัน้ ได้อย่างมีประสิทธิผล อันได้แก่ 1) เกณฑ์การประเมิน (Rubric) 2) การประเมนิ การปฏิบตั งิ าน (Performance based Assessments: PBAs) 3) การประเมินจากแฟ้มสะสม ผลงาน (Portfolios Assessment) 4) การประเมินตนเอง (Student self-assessment) 5) การประเมินเพื่อน (Peer-Assessment) 6) การใหข้ อ้ มูลปอ้ นกลับแก่นักเรียน (Student Response) 6.แนวทางการนาหลักสตู รไปใช้ (1) เปิดรายวิชาเพิ่มเติม (2) บูรณาการการเรยี นการสอนกบั กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (3) บูรณาการการเรียนการสอนกับกลมุ่ สาระอ่นื ๆ (4) จัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น (5) จัดเป็นกจิ กรรมเสริมหลักสตู ร (6) บรู ณาการกบั วิถีชวี ติ ในโรงเรยี น
68 หลักสตู รต้านทจุ ริตศึกษา เรือ่ ง การพทิ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี สาหรบั ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 1.ความเป็นมาของหลักสตู ร การทจุ ริตในสงั คมไทยระหว่างชว่ งกว่าทศวรรษท่ีผา่ นมานั้น สง่ ผลเสยี ต่อประเทศอย่างมหาศาล ทั้งยัง เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศในทุกมิติ รูปแบบการทุจริตจากเดิมที่เป็นการทุจริตทางตรงไม่ซับซ้อนได้ ปรับเปลี่ยนเป็นการทุจริตท่ีมีความซับซ้อนมากย่ิงข้ึน ประเทศไทยมีความพยายามแก้ไขปัญหาการทุจริตโดย การสร้างความตื่นตัวและการเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ปรับความคิด สร้าง ความตระหนกั รู้ในทุกภาคสว่ นของสังคม โดยรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ได้กาหนด ในหมวดที่ 5 หน้าท่ีของรัฐว่า “รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการ ทุจรติ และประพฤติมิชอบทั้งภาครฐั และเอกชนโดยจัดให้มีมาตรการและกลไกท่ีมปี ระสิทธิภาพเพ่ือป้องกันและ ขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด” ทั้งวาระการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประเด็นปฏิรูปด้านการป้องกันและเฝ้าระวัง ได้กาหนดกลยุทธ์หลัก ในการเร่งสร้างการรับรู้และจิตสานึกของประชาชนในการต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบ ส่งเสริมให้ ประชาชนรวมตัวกันรังเกียจ การทุจริตและมีส่วนร่วมในการต่อต้านทุจริตด้วยการช้ีเบาะแส การสร้างลักษณะ นิสัยไม่โกงและไม่ยอมให้ผู้ใดโกง และเสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการเสริมสร้าง ธรรมาภิบาลและต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบ ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 -2580) ในยุทธศาสตร์ที่ 6 การปรับสมดุลและพัฒนา การบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้กาหนดให้การพัฒนาระบบ บรหิ ารจัดการกาลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครฐั ในการปฏบิ ตั ิราชการ และการต่อต้านการทจุ รติ และประพฤติ ผิดมิชอบ เป็นส่วนหนึ่งของกรอบแนวทางท่ีมีความสาคัญในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี อีกทัง้ ยุทธศาสตร์ชาติวา่ ดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560- 2564) ได้กาหนด ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างสังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริตเป็นยุทธศาสตร์ท่ีมุ่งเน้นกระบวนการปรับสภาพทางสังคมให้ เกิดภาวะ “ไม่ทนต่อการทุจริต” และบูรณาการต่อต้านการทุจริตของประเทศโดยมีสานักงาน ป.ป.ช. เป็นองค์กรหลักในการดาเนินการเพื่อให้เจตนารมณ์ที่กาหนดไว้ดังกล่าวปรากฏข้ึนมาในสังคมไทย ผ่านกลไก ทางการศึกษาซ่ึงเป็นอีกกลไกหนึ่งที่มีประสิทธิภาพและสามารถทาให้เกิดการปรับเปล่ียนกระบวนคิดของคน ผ่านการเรยี นรู้จากชุดหลักสตู รการเรียนรู้ดา้ นการป้องกัน หรอื เรียกว่าหลักสูตร “ต้านทจุ ริตศึกษา” ทีม่ ีเน้ือหา สอดคล้องและมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน อาทิ โลกยุคดิจิทัล หรือการใช้ทรัพยากรธรณี และทรพั ยากรนา้ ในลักษณะทีเ่ ปน็ การละเมดิ (Abuse) ผลประโยชน์ตอ่ สาธารณะ เพยี งเพ่ือเพิ่มประโยชนใ์ ห้กับ บุคคลหรือกลมุ่ คนเพียงบางกลมุ่ เท่านนั้ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ประเด็น “ทรัพยากรธรณี” เป็นประเด็นหนึ่งท่ีสาคัญท่ีสานักงาน ป.ป.ช. ให้ความสาคัญเป็นอย่างสูง เนื่องจากทรัพยากรธรณีเป็นทรัพยากรท่ีสาคัญของประเทศ มีส่วนสาคัญต่อการ สร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับประเทศผ่านการใช้ประโยชน์จากส่ิงที่อยู่ในธรณี ไม่ว่าจะเป็น ดิน หิน แร่ ผ่านการนามาใช้ประโยชน์ เช่น การดัดแปลงเป็นเครื่องมือเคร่ืองใช้ เป็นอุปกรณ์ในการประกอบการงาน ของมนุษย์ ใช้เป็นส่วนประกอบของส่ิงประดิษฐ์ต่าง ๆ หรือแม้กระทั้งการใช้ในกิจการด้านอุตสาหกรรม ซึ่งจะเหน็ ไดว้ า่ ทรัพยากรธรณนี ั้นเป็นส่งิ ทส่ี าคัญท่ีช่วยในการสรา้ งโอกาสให้แก่สังคมมนุษย์ได้อยู่ดี กินดี มีฐานะ มั่นคง ทาให้เศรษฐกิจและสังคมของประเทศสามารถพัฒนาไปข้างหน้าได้ดีย่ิงขึ้น อย่างไรก็ตาม เนื่องจาก
69 ทรพั ยากรธรณีเป็นทรัพยากร ที่สนิ้ เปลืองถูกใช้แล้วหมดไป บรเิ วณที่มีการดาเนินการใช้ประโยชน์ทางธรณีก็มักจะ เสอื่ มคุณค่า ดังนัน้ การควบคุม การเขา้ ใชป้ ระโยชน์ในทรัพยากรธรณจี ึงเป็นประเดน็ ท่ีสาคัญท่ีจะต้องเล็งเห็นถึง การใช้ประโยชน์ว่าต้องตอบสนองประโยชน์สาธารณะมากกว่าประโยชน์ส่วนบุคคล ปัจจุบันจะเห็นได้ว่า แนวโน้มการใช้ทรัพยากรธรณีน้ัน ประโยชน์ที่สาธารณะควรได้รับน้ันน้อยกว่าประโยชน์ที่เอกชนได้รับ อีกท้ัง การที่เข้าใช้ประโยชน์ของทรัพยากรธรณียังถูกเข้าถึงด้วยวิธีการท่ีมีความเส่ียงต่อการทุจริต เช่น การบิดเบือน ประโยชน์ของสาธารณะท่ีได้รับให้ดูสูงกว่าประโยชน์ท่ีเอกชนได้รับ แต่ความเป็นจริงเม่ือมีการสารวจใช้ ทรัพยากรธรณีแล้ว เอกชนกลับได้ประโยชน์ทางทรัพยากรธรณีมากกว่าที่ถูกคานวณไว้ ซ่ึงประเด็นตัวอย่างที่ กล่าวมาข้างต้น เป็นเพียงประเด็นย่อยของความเสี่ยงต่อการทุจริตในการเข้าใช้ทรัพยากรธรณีท่ีควรจะมีการ สร้างการตระหนักรู้ เพื่อให้เกิดความหวงแหน นามาสู่การร่วมกันอนุรักษ์รักษาทรัพยากรธรณีเพื่อให้ประเทศ ได้รับประโยชน์มากท่สี ุด ดังน้ัน การพทิ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติทางธรณี โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การปอ้ งกันการทุจรติ ท่ีเกยี่ วข้องกับ ประเด็นดงั กล่าว เป็นสิง่ ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ใหค้ วามสาคัญ จึงได้สรา้ งหลักสูตรการเรียนรูด้ ้านการป้องกัน การทุจริต หรือ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เรื่อง การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี ท่ีมีเนื้อหาสอดคล้อง และมีประเด็นที่เก่ยี วขอ้ งกบั สถานการณ์ปัจจบุ นั คอื การใช้ทรพั ยากรธรณใี นลกั ษณะที่เป็นการละเมิด (Abuse) ต่อผลประโยชน์สาธารณะ เพ่ือให้ผู้เรียนทุกระดับช้ันได้มีความตระหนักรู้ และร่วมพิทักษ์ทรัพยากรธรณี ตาม บทบาทหนา้ ทขี่ องตน โดยประยุกต์ใช้ STRONG Model ในการเรียนการสอนตลอดหลักสูตร นกั เรียนในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นกลุ่มเป้าหมายท่ีสาคัญ และจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องเรียนรู้คุณค่าและความสาคัญ ของทรัพยากรธรณี เพ่ือให้เยาวชนเกิดความรู้สึกหวงแหน และมีส่วนรวมในการปกป้อง อนุรักษ์ รักษา ทรัพยากรธรณี ร่วมถึงมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังไม่ให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรณีไปในทางที่ผิด แสวงหา ประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรธรณีเพื่อประโยชน์ส่วนตนในชุมชน สังคม จึงนามาสู่การจัดทาหลักสูตรต้าน ทุจริตศึกษา เรื่อง การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี สาหรับกลุ่มผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในครงั้ นี้
70 2.วัตถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร 2.1 เพื่อใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับทรัพยากรธรณี 2.2 เพื่อตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรธรณี โดยนาเสนอแนวทางการใช้อย่างประหยัดและการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรณี 2.3 เพื่อให้สามารถวิเคราะห์แยกแยะเก่ียวกับประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมในการใช้ ทรพั ยากรธรณี 2.4 เพื่อให้มีความรู้เก่ียวกับกฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการทางสังคมท่ีเกี่ยวกับการทุจริต สามารถ บอกแหล่งแจง้ เบาะแสการทุจริตได้ 2.5 เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสังคม หวงแหนและรักษา ทรพั ยากรธรณวี ิทยา 2.6 เพ่อื ใหต้ ระหนกั และเห็นความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ รติ เกีย่ วกับทรัพยากรธรณี 3.โครงสร้างเน้ือหาสาระ ลาดับ เนอ้ื หาสาระ ระยะเวลา (ชว่ั โมง) 1 รลู้ ึก รูจ้ รงิ ทรัพยากรธรณี 5 - ทรพั ยากรธรณี คืออะไร - ประเภททรัพยากรธรณี (หนิ /ดนิ /แร)่ - ประโยชน์ของทรัพยากรธรณี - ผลกระทบจากการใชท้ รัพยากรธรณี 2 ตามลา่ ขุมทรัพย์ทรัพยากรธรณี 5 - ทรัพยากรธรณี เป็นส่งิ ที่ต้องใช้ประโยชนร์ ว่ มกัน - การจะนาไปใช้ตอ้ งได้รบั อนุญาต - กรณีศกึ ษา การปกปอ้ งหวงแหนทรัพยากรธรณี - การขดั กนั ระหว่างประโยชน์ส่วนบคุ คลและผลประโยชน์ส่วนรวม (ชมุ ชน สงั คม) - รปู แบบของผลประโยชนท์ บั ซ้อน (ชุมชน สังคม) 3 คณุ คอื คนสาคญั 5 - ผลกระทบด้านลบต่อสงั คมในการใช้ทรพั ยากรธรณี ด้านสขุ ภาพ สังคม สงิ่ แวดล้อม - กรณศี ึกษา ผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อมในการใชท้ รัพยากรธรณีทไ่ี มร่ ับผิดชอบตอ่ สงั คม 4 เสน้ ทางส่คู วามสาเร็จ : การปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต และการฟน้ื ฟู 5 ทรัพยากรธรณี - กฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง - การอนุรักษ์และหวงแหน ทรพั ยากรธรณี - การมีส่วนร่วมในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ เกี่ยวกบั ทรัพยากรธรณี รวม 20
71 STRONG Model : จติ พอเพียงต้านทจุ รติ โมเดล STRONG เป็นการนาตัวอักษรแรกของศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีความหมายเชิงบวก จานวน 6 คา มาประกอบเปน็ คาศัพทส์ อ่ื ความหมายถึง “ความแข็งแกรง่ ” ของบคุ คลและองค์กรในการต่อต้าน การทุจริต โดยมีความมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้านทุจริต ร่วมกันพัฒนาชุมชนให้ก้าวไปข้างหน้า ด้วยการประยุกต์และบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับความโปร่งใส การแยกแยะผลประโยชน์ ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม การตระหนักรู้และใส่ใจปัญหาการทุจริต และร่วมกันพัฒนาชุมชนให้มี ความเอื้ออาทรบนพ้นื ฐานของจรยิ ธรรมและจติ พอเพียง ตลอดจนเกดิ เครอื ข่ายชุมชนจติ พอเพียงต้านทุจริตและ เป็นแกนนาสร้างวัฒนธรรมไม่ทนต่อการทุจริต ซึ่งโมเดล STRONG ได้มีการสร้างและพัฒนาโดย รองศาสตราจารย์ ดร. มาณี ไชยธีรานุวฒั ศริ ิ ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงไดด้ งั แผนภาพ ดงั นี้ แผนภาพท่ี 1 โมเดล STRONG – จิตพอเพียงตา้ นทุจรติ ปี พ.ศ. 2562 จากแผนภาพขา้ งตน้ สามารถอธิบายนิยามเชงิ ปฏิบัตกิ ารได้ดงั นี้ (1) พอเพยี ง (Sufficient: S) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมที่ระดับท่ีแตกต่างกันตามวิธีคิด สภาพความพร้อมและ ความสามารถ รวมทง้ั ตามสถานภาพทางเศรษฐกิจและสงั คมของบุคคลและครอบครวั กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดที่แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และเป็นอตั โนมัตจิ ะนาไปสจู่ ิตสานึกท่ีพอเพยี ง ไม่กอบโกยผลประโยชนโ์ ดยมิชอบ ไม่เบยี ดเบียนผอู้ น่ื ไม่
72 เบียดบังรัฐ ไม่รับอามิสสินบนโดยมิต้องจากัดขอบเขตของการประกอบอาชีพที่สุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงิน ทองไดต้ ามความสามารถ ทง้ั นี้ โดยไม่เดอื ดรอ้ นตนเองและผู้อนื่ (2) โปรง่ ใส (Transparent: T) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความโปร่งใส ทาให้เห็นภาพหรอื ปรากฏการณ์ณช์ ัดเจน กลไกหลัก คือ สรา้ งความรู้ความเข้าใจ และวธิ ีสังเกตเกี่ยวกับความโปร่งใสของโครงการตา่ ง ๆ (3) ตนื่ รู้ (Realize: R) คานิยามปี พ.ศ. 2562 เมือ่ บคุ คลรูพ้ ิษภยั ของการทจุ ริต และไม่ทนที่จะเหน็ การทจุ รติ เกิดขน้ึ กลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์การทจุ รติ ในพ้ืนท่ี ในชมุ ชน หรือในกรณีท่ีปรากฏการณ์ทุจริต ขน้ึ หรอื กรณีศกึ ษาทเ่ี กิดขึ้นมาแลว้ และมีคาพิพากษาถงึ ที่สดุ แล้ว (4) มุ่งไปข้างหน้า (Onward: O) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การไมม่ กี ารทุจรติ ของภาครัฐ จะทาใหเ้ งนิ ภาษีถกู นาไปใช้ในการพฒั นาอย่างเต็มที่ กลไกหลัก คือ การป้องกันและการป้องปราม ดว้ ยกระบวนการมสี ่วนร่วมในการเฝ้าระวงั พ้ืนท่ีท่ี มีความเสีย่ ง ในการทจุ ริต เช่น การบุกรุกพื้นท่สี าธารณะ หรอื เฝ้าระวังโครงการให้ดาเนนิ การด้วยความโปรง่ ใส (5) ความรู้ (Knowledge: N) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความรูด้ า้ นตา่ ง ๆ มคี วามจาเป็นตอ่ การป้องกันและป้องปรามการทุจรติ กลไกหลัก คอื การใหค้ วามรใู้ นรปู แบบการฝกึ อบรม หรอื ใหส้ ่ือเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง เช่น (1) ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการทุจริตแบบต่าง ๆ ท้ังแบบสมัยอดีต แบบปัจจุบัน และแบบท่ี อาจจะเกดิ ขึ้นในอนาคต (2) ความรเู้ กี่ยวกบั การทจุ รติ ในต่างประเทศ (3) วธิ ีการป้องกนั - ปอ้ งปรามแบบต่าง ๆ (4) ความรู้เกย่ี วกบั การเฝา้ ระวงั (5) ความรู้เก่ียวกับกฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ ง (6) เออ้ื อาทร (Generosity: G) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 การพฒั นาสงั คมไทยใหม้ ีน้าใจ โอบอ้อมอารี เอ้ือเฟอ้ื เผื่อแผ่ โดยไมม่ ีผลประโยชนต์ อบแทนหรือ หวงั ผลตอบแทน ในฐานะเพอ่ื นมนุษย์ กลไกหลกั กิจกรรมจติ อาสา ช่วยเหลอื บคุ คล ชมุ ชน/สงั คมในยามวิกฤติ หรือการร่วมมือในการ รว่ มพฒั นาชมุ ชน จากนิยามข้างต้น STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต จึงหมายถึง ผู้ที่มีความพอเพียง ไม่เบียดเบียน ตนเองและผู้อ่ืน (S) มุ่งอนาคตท่ีเจริญทั้งตนเองและส่วนรวม (O) โดยใช้หลักความโปร่งใสตรวจสอบได้ (T) พื้นฐานจิตใจมีมนุษยธรรมเอ้ืออาทร ช่วยเหลือเพ่ือนมนุษย์โดยไม่เห็นแก่ประโยชน์ต่างตอบแทน (G) ให้
73 ความสาคัญต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือการดารงชีวิตในทางที่ชอบ (N) แต่ต่ืนรู้เร่ืองภัยทุจริตที่ร้ายแรงส่งผล ต่อสงั คม รังเกียจการทจุ ริตประพฤตมิ ิชอบทั้งปวง ไม่ยอมทนตอ่ การทุจรติ ทุกรูปแบบ (R) นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการพัฒนาโมเดล STRONG โดยเพิ่มในเร่ืองของการมีส่วนร่วม (Participation) อันเป็นกลไกสาคัญในการเชื่อมโยงและขับเคลื่อนหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การ ป้องกันการทุจริตได้เป็นรูปธรมอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการเผยแพร่หลักการของโมเดล STRONG สู่ชุมชน จะดาเนินการโดยสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด และมีการคัดเลือกผู้แทน/ผู้นาชมุ ชนในจงั หวดั ท่ีมีเครอื ขา่ ย มีความสามารถและทักษะในการถ่ายทอดองค์ความรู้มาอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับโมเดล STRONG การนาไปประยุกต์ใช้ในการการต่อต้านการทุจริต เช่น การคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ ส่วนรวม ความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต หลักการจิตพอเพียงด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม เป็นต้น เพ่ือให้ผู้ ไดร้ ับการคัดเลอื กเปน็ โคช้ (coach) ถ่ายทอดความร้เู กี่ยวกบั หลักการของโมเดล STRONG และการตอ่ ต้านการ ทุจริตให้แก่ผู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชน รวมถึงยังมีการจัดตั้งชมรม STRONG เพ่ือให้ทุกภาคส่วนมีความตระหนักรู้ เลง็ เห็นถึงความสาคญั ของปญั หาการทจุ ริตและมสี ่วนร่วมในการเฝา้ ระวังและแจง้ เบาะแสการทุจรติ
74 แผนภาพที่ 2 หลักสตู รตา้ นทจุ ริตศกึ ษา เรอื่ ง การพิทกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติทางธรณี
7 4. หนว่ ยการเรยี นรู้ หน่วย ช่อื หน่วย เวลา จุดประสงค์การ เน้ือหาสาระ ท่ี (ชว่ั โมง) เรยี นรู้ การพทิ กั ษ์ การตอ่ ต้านก 1 ร้ลู กึ รจู้ รงิ 5 - เพ่อื ให้มคี วามรู้ ทรัพยากร ความเข้าใจ ทรัพยากรธรรมชาตทิ างธรณี ธรณี เกีย่ วกับทรพั ยากร ธรณี - ทรัพยากรธรณี คอื อะไร สรา้ งความตร - เพือ่ ตระหนักถึง คณุ คา่ ของ - ประเภททรัพยากรธรณี คุณค่าของทรพั ทรัพยากรธรณี โดยนาเสนอ (หิน/ดนิ /แร)่ ธรณี แนวทางการใช้ อยา่ งประหยดั - ประโยชนข์ องทรัพยากรธรณี ตน่ื รู้ (Realiz และการอนรุ กั ษ์ ทรพั ยากรธรณี - ผลกระทบจากการใช้ ผเู้ รยี นมคี วาม ทรพั ยากรธรณี เข้าใจและตระ รากเหง้าของป ภยั ร้ายแรงขอ ทจุ รติ ประพฤต ภายในชมุ ชนแ ประเทศ ความ บังเกิดเม่ือไดพ้ สถานการณท์ การทจุ ริต ย่อ ปฏกิ ิริยาเฝ้าร ไมย่ นิ ยอมต่อก ในทสี่ ุด ซ่งึ ต้อ ความเขา้ ใจ ค (Knowledg เกยี่ วกบั สถาน ทุจรติ ทเี่ กดิ ข้นึ รา้ ยแรงและผ
75 การทจุ รติ วธิ ีการจดั การเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ แหลง่ เรียนรู้ การประเมินผล ระหนกั รถู้ งึ - บรรยาย -คลิปวดี ีโอ -หอ้ งสมดุ -การทดสอบ พยากร - อภิปราย -ภาพยนตส์ ้ัน -กรมทรพั ยากรธรณี -การใชค้ าถามและ - เกม (Game based -เอกสารความรู้ - เวบ็ ไซต์ ใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลับ ze : R) Learning) -สื่อสิงพมิ พต์ า่ งๆ - platform -การสงั เกตการ มรูค้ วาม -สถานการณ์จาลอง ใบความรู้ ปฏิบตั งิ านกลมุ่ / ะหนักรู้ถงึ -โครงงาน (Project ใบกจิ กรรม การอภปิ ราย ปัญหาและ based Learning) -สอื่ ดิจิทลั -การสงั เกตพฤตกิ รรม องการ -ปัญหาเป็นฐาน -การประเมนิ ผลงาน ตมิ ชิ อบ (Problem based และตรวจผลงาน และ Learning) มตืน่ ร้จู ะ -ปรากฏการเปน็ ฐาน พบเห็น (Phenomenon ทเี่ สยี่ งต่อ based Learning) อมจะมี -สบื เสาะหาความรู้ ระวังและ (Inquiry based การทจุ ริต Learning) องให้ความรู้ ความรู้ ge : N) นการณ์ น ความ ผลกระทบ
7 ตอ่ ระดบั บุคค สว่ นรวม 2 ตามลา่ 5 -เพื่อให้สามารถ - ทรัพยากรธรณี เป็นสิ่งท่ตี ้อง การแยกแยะเ ขุมทรพั ย์ ทรพั ยากร วิเคราะหแ์ ยกแยะ ใชป้ ระโยชนร์ ่วมกัน ประโยชนส์ ่วน ธรณี (แยกแยะ เกีย่ วกับประโยชน์ - การจะนาไปใช้ตอ้ งไดร้ ับ ประโยชน์ เชอื่ ประโยชน์ ส่วนตนและ ส่วนตนและ อนญุ าต กับ พอเพียง ประโยชน์ ส่วนรวม) ประโยชนส์ ่วนรวม - กรณีศึกษา การปกปอ้ งหวง (Sufficient : 3 คณุ คอื คน -เพ่ือใหร้ ู้เท่าทนั แหนทรัพยากรธรณี ปรับวธิ คี ดิ ทแ่ี ย สาคญั การทุจรติ ทาง - การขัดกนั ระหว่างประโยชน์ ผลประโยชน์ส ทรพั ยากรธรณี สว่ นบคุ คลและผลประโยชน์ สว่ นรวมได้อย สว่ นรวม (ชมุ ชน สงั คม) ชัดเจน และเป - รูปแบบองผลประโยชน์ทบั ซ้อน อัตโนมตั ิจะนา (ชุมชน สังคม) จติ สานกึ ทพี่ อ ไมก่ อบโกยผล โดยมชิ อบ ไมเ่ ผอู้ ื่น ไม่เบยี ดบ ไม่รับอามสิ สนิ มติ อ้ งจากดั ขอ การประกอบอ สุจรติ สามารถ ทรัพย์สนิ เงินท ความสามารถ โดยไมเ่ ดือดร้อ และผอู้ น่ื 5 -เพ่อื วิเคราะห์ - ผลกระทบดา้ นลบตอ่ สงั คม ตน่ื รู้ (Realiz ผลกระทบดา้ นลบ ในการใช้ทรพั ยากรธรณี ผู้เรยี นมีความ ของการใช้ เขา้ ใจและตระ
76 คลและ เกีย่ วกบั - บรรยาย -คลิปวดี โี อ -ห้องสมุด -การใชค้ าถามและ นตนและ - อภปิ ราย -ภาพยนตส์ นั้ -กรมทรพั ยากรธรณี ใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับ อมโยง -กรณีศึกษา -สอื่ สิงพมิ พต์ า่ งๆ ใบ - เว็บไซต์ -การสงั เกตการ ความรู้ ใบงาน - platform ปฏิบตั ิงานกลมุ่ / -สถานการณ์จาลอง การอภิปราย : S) -การสังเกตพฤตกิ รรม ยกแยะ -การประเมินผลงาน สว่ นตัวและ และตรวจผลงาน ยา่ งถูกต้อง ปน็ าไปสู่ อเพยี ง ลประโยชน์ เบยี ดเบยี น บังรฐั นบนโดย อบเขตของ อาชีพที่ ถหา ทองไดต้ าม ถ ท้ังนี้ อนตนเอง ze : R) - บรรยาย -คลิปวดี ีโอ -หอ้ งสมุด -การใช้คาถามและ มรูค้ วาม - อภปิ ราย -ภาพยนตส์ น้ั ะหนักรถู้ ึง -สถานการณจ์ าลอง -กรณีศกึ ษา -กรมทรพั ยากรธรณี ให้ขอ้ มลู ย้อนกลับ
7 (ไม่ทนตอ่ การ ทรัพยากรธรณที ่ี ด้านสขุ ภาพ สงั คม รากเหง้าของป ทุจริต) รับผดิ ชอบต่อ สิง่ แวดลอ้ ม ภัยรา้ ยแรงขอ สังคม สขุ ภาพ - กรณีศึกษา ผลกระทบตอ่ ทจุ รติ ประพฤต สิ่งแวดลอ้ ม ส่งิ แวดลอ้ มในการใช้ ภายในชุมชนแ -เพ่อื ตระหนักถึง ทรพั ยากรธรณีทีไ่ ม่รับผดิ ชอบ ประเทศ ความ ผลกระทบ ตอ่ สงั คม บงั เกดิ เม่อื ไดพ้ ด้านลบของการใช้ สถานการณท์ ทรพั ยากรธรณที ี่ การทจุ รติ ย่อ รบั ผดิ ชอบต่อ ปฏิกิริยาเฝ้าร สงั คม สุขภาพ ยินยอมตอ่ การ สง่ิ แวดล้อม โดย ทส่ี ุด ซง่ึ ต้องให เสนอแนวทางใน ความเข้าใจ การเฝา้ ระวังท่อี าจ เกิดในทอ้ งถน่ิ 4 เสน้ ทางสู่ 5 -เพอื่ ใหม้ คี วามรู้ - กฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ ง โปร่งใส ความสาเร็จ : การปอ้ งกนั เกีย่ วกบั กฎหมาย - การอนรุ กั ษ์และหวงแหน (Transparen และ ปราบปราม กฎระเบียบ ทรัพยากรธรณี บคุ คลทกุ ระด การทจุ รติ และการฟนื้ ฟู มาตรการทาง - การมีสว่ นรว่ มในการป้องกนั และชมุ ชนต้อ ทรัพยากร ธรณี สังคมที่เกย่ี วกับ และปราบปรามการทจุ ริต ปฏบิ ัตงิ านบน (จติ พอเพียง ต้านทุจริต) การทุจรติ เกีย่ วกบั ทรัพยากรธรณี ความโปร่งใส สามารถบอกแหล่ง ได้ ดงั น้นั จึงต แจง้ เบาะแสการ ปฏบิ ัตติ ามหล ทุจริตได้ ระเบยี บ ข้อป - เพอ่ื ใหส้ ามารถ กฎหมายดา้ นค นาเสนอแนวทาง โปรง่ ใส ซึ่งตอ้ วิธกี ารปอ้ งกนั การ ความเข้าใจ
77 ปญั หาและ -โครงงาน (Project -สถานการณป์ ัญหา -กรมอตุ สาหกรรม -การสังเกตการปฏบิ ตั ิ องการ based Learning) พ้นื ฐานและการ กิจกรรม ติมชิ อบ -ปญั หาเป็นฐาน เหมอื งแร่ -การสงั เกตการ และ (Problem based - เวบ็ ไซต์ ปฏบิ ตั งิ านกลมุ่ / มตน่ื รูจ้ ะ Learning) - platform การอภปิ ราย พบเหน็ -ปรากฏการเป็นฐาน ทเ่ี สย่ี งตอ่ อมจะมี ระวังและไม่ รทุจริตใน ห้ความรู้ - บรรยาย -คลปิ วดี ีโอ -หอ้ งสมดุ -การทดสอบ nt : T) - อภปิ ราย -ภาพยนตส์ ้ัน -กรมทรพั ยากรธรณี -การใชค้ าถามและให้ ดบั องค์กร -สถานการณจ์ าลอง -กรณศี ึกษา - เว็บไซต์ ขอ้ มูลยอ้ นกลบั อง -โครงงาน - platform -การประเมินผลงาน นฐานของ และตรวจผลงาน ตรวจสอบ -เกณฑ์การใหค้ ะแนน ต้องมแี ละ (scoring rubric) ลักปฏิบตั ิ ปฏบิ ัติ ความ องให้ความรู้
ทจุ ริตเก่ียวกับ 7 ทรพั ยากรธรณี (knowledge ตื่นรู้ (realize มงุ่ ไปขา้ งหน้า (Onward : O มุ่งเนน้ กระบว ส่วนร่วมในกา พน้ื ท่ี ที่มคี วามเสี่ยง ทุจริต เชน่ กา พ้นื ท่สี าธารณ ระวังโครงการ ดาเนนิ การดว้ โปรง่ ใส เอื้ออาทร (Generosity การพัฒนาสงั ค มนี ้าใจ โอบอ้อ เอ้อื เฟื้อเผอ่ื แผ ผลประโยชน์ต หรือหวังผลตอ ฐานะเพอ่ื นมน กลไกหลัก ส่ง ทากิจกรรมจติ ชว่ ยเหลือบุคค สังคมในยามว การร่วมมอื ใน พัฒนาชุมชน
78 e) และการ e) า O) วนการมี ารเฝา้ ระวงั ง ในการ ารบุกรุก ณะ หรอื เฝา้ รให้ วยความ y : G) คมไทยให้ อมอารี ผ่ โดยไมม่ ี ตอบแทน อบแทน ใน นษุ ย์ โดย งเสริมการ ตอาสา คล ชุมชน/ วกิ ฤติ หรือ นการร่วม
79 5.แนวทางการจัดการเรียนรู้และประเมินผล กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ที่เน้นการลงมือปฏบิ ตั ิจริง (Learning by Doing) โดยใชว้ ธิ ีการศึกษาด้วยตนเอง กรณศี ึกษา การบรรยาย การฝกึ ปฏบิ ตั ิรายบุคคล การอภิปรายกลุ่มยอ่ ย การระดมสมอง และการนาเสนอผลงาน การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นความแตกต่าง ระหว่างบคุ คล สอดคลอ้ งกับพฒั นาการทางสมอง จดั กระบวนการเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย กระบวนการเรียนรู้ท่ีจาเป็น สาหรับการเตรียมเข้าสู่โลกอนาคต เช่น เกม (Game based Learning) โครงงาน (Project based Learning) ปัญหาเป็นฐาน (Problem based Learning) ปรากฏการเป็นฐาน (Phenomenon based Learning) สืบเสาะ หาความรู้ (Inquiry based Learning) การวัดและประเมนิ ผล เน้นการประเมินเพ่ือพัฒนา การประเมนิ ตามสภาพจริง เครื่องมือประเมินและกลยุทธ์ทางการประเมิน ท่ีส่งผลต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเรียนรู้ท่ีจะ ช่วยให้ครูสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ให้กับนักเรียนในชั้นได้อย่างมีประสิทธิผล อันได้แก่ 1) เกณฑ์การประเมิน (Rubric) 2) การประเมินการปฏิบัติงาน (Performance based Assessments: PBAs) 3) การประเมินจากแฟ้ม สะสมผลงาน (Portfolios Assessment) 4) การประเมินตนเอง (Student self-assessment) 5) การประเมินเพ่ือน (Peer-Assessment) 6) การใหข้ ้อมูลปอ้ นกลับแก่นกั เรียน (Student Response) 6.แนวทางการนาหลกั สตู รไปใช้ (1) เปดิ รายวชิ าเพ่ิมเตมิ (2) บูรณาการการเรยี นการสอนกบั กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (3) บูรณาการการเรียนการสอนกับกลุม่ สาระอนื่ ๆ (4) จดั ในกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน (5) จัดเป็นกิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร (6) บูรณาการกับวิถชี วี ติ ในโรงเรยี น
80 หลกั สตู รตา้ นทจุ รติ ศึกษา เรอ่ื ง การพิทกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตทิ างธรณี สาหรับ ระดับอดุ มศกึ ษา 1. ความเปน็ มาของหลกั สตู ร การทุจริตในสงั คมไทยระหว่างชว่ งกว่าทศวรรษท่ีผา่ นมานัน้ ส่งผลเสียตอ่ ประเทศอยา่ งมหาศาล ท้ังยงั เป็น อปุ สรรคต่อการพฒั นาประเทศในทุกมิติ รปู แบบการทจุ ริตจากเดิมท่ีเปน็ การทุจรติ ทางตรงไม่ซบั ซ้อนได้ปรับเปลี่ยน เป็นการทุจริตท่ีมีความซับซ้อนมากย่ิงขึ้น ประเทศไทยมีความพยายามแก้ไขปัญหาการทุจริตโดยการสร้างความต่ืนตัว และการเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ปรับความคิด สร้างความตระหนักรู้ในทุกภาคส่วน ของสังคม โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ได้กาหนดในหมวดท่ี 5 หน้าที่ของรัฐว่า “รัฐตอ้ งส่งเสริม สนบั สนุน และใหค้ วามรแู้ กป่ ระชาชนถงึ อันตรายที่เกดิ จากการทุจริตและประพฤติมชิ อบท้ังภาครัฐ และเอกชนโดยจัดให้มีมาตรการและกลไกท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ดังกล่าวอย่างเข้มงวด” ท้ังวาระการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประเด็นปฏิรูปด้านการป้องกันและเฝ้าระวัง ได้กาหนดกลยุทธ์หลัก ในการเร่งสร้างการรับรู้และจิตสานึกของ ประชาชนในการต่อต้านการทจุ ริตประพฤติมชิ อบ ส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนรวมตัวกนั รังเกยี จ การทุจริตและมีส่วนร่วม ในการต่อต้านทุจริตด้วยการชี้เบาะแส การสร้างลักษณะนิสัยไม่โกงและไม่ยอมให้ผู้ใดโกง และเสริมสร้างบทบาท การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการเสริมสร้างธรรมาภิบาลและต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบ ยุทธศาสตร์ ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ในยุทธศาสตร์ที่ 6 การปรับสมดุลและพัฒนา การบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้กาหนดให้การพัฒนาระบบบริหารจัดการกาลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐในการปฏิบัติราชการ และการ ต่อต้านการทุจริตและประพฤติผิดมิชอบ เป็นส่วนหนึ่งของกรอบแนวทางที่มีความสาคัญในการขับเคล่ือน ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี อีกท้ังยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560- 2564) ได้กาหนดยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริตเป็นยุทธศาสตร์ท่ีมุ่งเน้น กระบวนการปรับสภาพทางสังคมให้เกิดภาวะ “ไม่ทนต่อการทุจริต” และบูรณาการต่อต้านการทุจริตของประเทศ โดยมีสานักงาน ป.ป.ช. เป็นองค์กรหลักในการดาเนินการเพื่อให้เจตนารมณ์ที่กาหนดไว้ดังกล่าวปรากฏข้ึนมาใน สังคมไทย ผ่านกลไกทางการศึกษาซ่ึงเป็นอีกกลไกหนึ่งที่มีประสิทธิภาพและสามารถทาให้เกิดการปรับเปลี่ยน กระบวนคดิ ของคน ผา่ นการเรียนร้จู ากชุดหลักสูตรการเรียนรู้ด้านการป้องกัน หรือเรียกว่าหลักสูตร “ตา้ นทจุ ริตศึกษา” ท่มี เี นือ้ หาสอดคล้องและมีประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกบั สถานการณป์ ัจจุบัน อาทิ โลกยคุ ดจิ ิทัล หรือการใช้ทรัพยากรธรณี และทรัพยากรน้า ในลักษณะท่ีเป็นการละเมิด (Abuse) ผลประโยชน์ต่อสาธารณะ เพียงเพ่ือเพ่ิมประโยชน์ให้กับ บคุ คลหรือกลมุ่ คนเพยี งบางกลมุ่ เท่าน้นั หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ประเด็น “ทรัพยากรธรณี” เป็นประเด็นหนึ่งท่ีสาคัญท่ีสานักงาน ป.ป.ช. ให้ความสาคัญเป็นอย่างสูง เนื่องจากทรัพยากรธรณีเป็นทรัพยากรที่สาคัญของประเทศ มีส่วนสาคัญต่อการสร้าง ความเจริญก้าวหน้าให้กับประเทศผ่านการใช้ประโยชน์จากส่ิงท่ีอยู่ในธรณี ไม่ว่าจะเป็น ดิน หิน แร่ ผ่านการ นามาใช้ประโยชน์ เช่น การดัดแปลงเป็นเครื่องมือเคร่ืองใช้ เป็นอุปกรณ์ในการประกอบการงานของมนุษย์ ใช้เป็น สว่ นประกอบของส่งิ ประดิษฐ์ตา่ ง ๆ หรือแมก้ ระทั้งการใชใ้ นกจิ การด้านอตุ สาหกรรม ซ่ึงจะเหน็ ไดว้ ่าทรพั ยากรธรณี นั้นเป็นส่ิงท่ีสาคัญท่ีช่วยในการสร้างโอกาสให้แก่สังคมมนุษย์ได้อยู่ดี กินดี มีฐานะมั่นคง ทาให้เศรษฐกิจและสังคม ของประเทศสามารถพัฒนาไปข้างหนา้ ได้ดีย่ิงข้ึน อย่างไรก็ตาม เนื่องจากทรัพยากรธรณีเป็นทรัพยากร ที่สิน้ เปลือง
81 ถูกใช้แล้วหมดไป บริเวณที่มีการดาเนินการใช้ประโยชน์ทางธรณีก็มักจะเสื่อมคุณค่า ดังน้ัน การควบคุม การเข้าใช้ ประโยชน์ในทรัพยากรธรณีจึงเป็นประเด็นที่สาคัญท่ีจะต้องเล็งเห็นถึงการใช้ประโยชน์ว่าต้องตอบสนองประโยชน์ สาธารณะมากกว่าประโยชน์ส่วนบุคคล ปัจจุบันจะเห็นได้ว่า แนวโน้มการใช้ทรัพยากรธรณีน้ัน ประโยชน์ท่ี สาธารณะควรได้รับน้ันน้อยกว่าประโยชน์ท่ีเอกชนไดร้ ับ อกี ท้งั การทเ่ี ข้าใชป้ ระโยชน์ของทรัพยากรธรณียงั ถูกเข้าถึง ด้วยวิธีการที่มีความเสี่ยงต่อการทุจริต เช่น การบิดเบือนประโยชน์ของสาธารณะที่ได้รับให้ดูสูงกว่าประโยชน์ท่ี เอกชนได้รับ แต่ความเป็นจริงเมื่อมีการสารวจใช้ทรัพยากรธรณีแล้ว เอกชนกลับได้ประโยชน์ทางทรัพยากรธรณี มากกวา่ ทถี่ ูกคานวณไว้ ซ่งึ ประเด็นตัวอยา่ งที่กล่าวมาข้างต้น เปน็ เพียงประเด็นยอ่ ยของความเสยี่ งต่อการทุจริต ใน การเข้าใช้ทรัพยากรธรณีที่ควรจะมีการสร้างการตระหนักรู้ เพ่ือให้เกิดความหวงแหน นามาสู่การร่วมกันอนุรักษ์ รักษาทรัพยากรธรณีเพ่ือให้ประเทศได้รบั ประโยชนม์ ากท่สี ุด ดังนั้น การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การป้องกันการทุจริตที่เก่ียวข้องกับ ประเด็นดังกล่าว เป็นส่ิงที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้ความสาคัญ จึงได้สร้างหลักสูตรการเรียนรู้ด้านการป้องกัน การทุจริต หรือ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เร่ือง การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี ท่ีมีเนื้อหาสอดคล้องและ มีประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน คือ การใช้ทรัพยากรธรณีในลักษณะที่เป็นการละเมิด ( Abuse) ต่อผลประโยชน์สาธารณะ เพอ่ื ให้ผเู้ รียนทกุ ระดับชั้นได้มีความตระหนกั รู้และรว่ มพทิ ักษ์ทรัพยากรธรณีตามบทบาท หน้าที่ของตน โดยประยุกต์ใช้ STRONG Model ในการเรียนการสอนตลอดหลักสูตรผู้เรียนระดับอุดมศึกษาเป็น กลุ่มเปา้ หมายท่สี าคัญในการถ่ายทอดองคค์ วามรู้ทเ่ี กย่ี วข้องกับการต้านทจุ รติ ในประเดน็ “ทรพั ยากรธรรมชาติทางธรณี” เนื่องจากผู้เรยี นในระดับน้ีเป็นผ้ทู ี่มีภาวะทางความคดิ ท่ีเจรญิ เตบิ โตค่อนข้างสูง เป็นกลุ่มคนที่เม่ือจบการศกึ ษาแล้ว จะเข้าสู่ระบบการทางาน อันมีความเสี่ยงท่ีจะไม่ตระหนักรู้ถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณีในลักษณะท่ีเป็น การละเมิด (Abuse) ประโยชน์สาธารณะ จึงนามาสู่การจัดทาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เรื่อง การพิทักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตทิ างธรณี สาหรบั กลุ่มผู้เรียนในระดับอดุ มศึกษา ในครั้งน้ี
82 2. วตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสตู ร 2.1 เพื่อให้ผเู้ รียนเกดิ การตระหนกั รคู้ ุณค่าของทรัพยากรธรณี 2.2 เพอ่ื ให้ผู้เรยี นสามารถแยกแยะประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมในการใช้ทรัพยากรธรณี 2.3 เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม หวงแหน และอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรณี 2.4 เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นมจี ิตพอเพียงเพ่อื นาไปสู่การต้านทุจริตเกยี่ วกบั ทรัพยากรธรณี 2.5 เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นเกิดพฤติกรรมทแ่ี สดงออกถึงการไม่ทนต่อการทจุ ริตจากการใช้ทรัพยากรธรณี 3. โครงสรา้ งเนื้อหาสาระ ลาดับ เน้อื หาสาระ ระยะเวลา 1 ธรณีวิทยานา่ รู้ 6 - ธรณวี ิทยาทว่ั ไป และกาเนดิ ทรัพยากรธรณี (หนิ /ดนิ /แร/่ ธาตุหายาก/พลงั งาน/ ซากดึกดาบรรพ์) 9 - แผนทธี่ รณวี ทิ ยาและศักยภาพแหลง่ ทรัพยากรธรณี - แหล่งทรัพยากรธรณี และศักยภาพแหลง่ หนิ /แร่ 15 - แผนทสี่ ารสนเทศทรพั ยากรธรณี (GIS) : เหมอื งแร่ในอดีต,เหมอื งแร่ในปัจจุบนั 15 และการพฒั นาในอนาคต 45 - ธรณีพิบตั ภิ ยั กับชีวติ ประจาวัน 2 คุณคา่ ของทรัพยากรธรณี กับโอกาสในการพัฒนาประเทศและการฟ้นื ฟู เกยี่ วกับทรพั ยากรธรณี - ทรัพยากรธรณี การสารวจ และการใช้ประโยชน์ - ทรพั ยากรธรณีกบั การพฒั นาประเทศ - ความสาคัญของทรัพยากรธรณี ตอ่ ประเทศด้านตา่ ง ๆ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม การเมอื ง - การมสี ว่ นรว่ มอนรุ กั ษ์ และการฟื้นฟเู กีย่ วกับทรพั ยากรธรณี - กรณศี กึ ษาการเพม่ิ มูลค่าทรัพยากรธรณี (หนิ ออ่ น/หนิ แกรนติ /อัญมณ)ี 3 ความเส่ยี งในการทจุ ริตเกี่ยวกบั ทรัพยากรธรณี - กฎหมายตา่ ง ๆ ที่เก่ยี วข้องกบั ทรัพยากรธรณี - รปู แบบการทุจรติ และกรณีศกึ ษาการทุจรติ (การทาเหมืองนอกเขตพื้นที่ อนุญาต/การประเมินผลกระทบตอ่ สขุ ภาพและส่ิงแวดล้อม EHIA) 4 ปกปอ้ งทรัพยากรทางธรณี - การสร้างจิตสานึกสาธารณะ เพ่ือแยกแยะประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม - การมสี ่วนร่วมในการปกป้องทรัพยากรธรณี - การเฝา้ ระวงั แจ้งเบาะแส การทจุ ริตทรัพยากรธรณี - กรณศี กึ ษาการมีสว่ นรว่ มในการปกป้องทรัพยากรธรรมชาติ รวม
83 STRONG Model : จติ พอเพียงต้านทุจรติ โมเดล STRONG เป็นการนาตัวอักษรแรกของศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีความหมายเชิงบวกจานวน 6 คา มาประกอบเป็นคาศัพท์ส่ือความหมายถึง “ความแข็งแกร่ง” ของบุคคลและองค์กรในการต่อต้านการทุจริต โดยมี ความมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้านทุจรติ ร่วมกันพัฒนาชุมชนให้ก้าวไปข้างหน้าด้วยการประยุกต์และบูรณา การหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงเขา้ กบั ความโปร่งใส การแยกแยะผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม การตระหนักรู้และใส่ใจปัญหาการทุจริต และร่วมกันพัฒนาชมุ ชนใหม้ ีความเอื้ออาทรบนพื้นฐานของจริยธรรมและ จิตพอเพียง ตลอดจนเกิดเครือข่ายชุมชนจิตพอเพยี งต้านทจุ ริต และเปน็ แกนนาสร้างวฒั นธรรมไม่ทนต่อการทุจริต ซึ่งโมเดล STRONG ได้มีการสร้างและพัฒนาโดยรองศาสตราจารย์ ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงได้ดังแผนภาพ ดังนี้ แผนภาพที่ 1 โมเดล STRONG – จิตพอเพียงตา้ นทจุ ริต ปี พ.ศ. 2562 จากแผนภาพขา้ งต้น สามารถอธิบายนยิ ามเชงิ ปฏิบัติการได้ดงั นี้ (1) พอเพยี ง (Sufficient : S) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมที่ระดับท่ีแตกต่างกันตามวิธีคิด สภาพความพร้อมและ ความสามารถ รวมทง้ั ตามสถานภาพทางเศรษฐกจิ และสังคมของบุคคลและครอบครวั
84 กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดท่ีแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และ เป็นอัตโนมัติจะนาไปสู่จิตสานึกที่พอเพียง ไม่กอบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดบังรัฐ ไม่รับอามิสสินบนโดยมิต้องจากัดขอบเขตของการประกอบอาชีพที่สุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงินทองได้ตาม ความสามารถ ท้งั นี้ โดยไมเ่ ดอื ดรอ้ นตนเองและผอู้ ื่น (2) โปรง่ ใส (Transparent : T) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความโปรง่ ใส ทาใหเ้ ห็นภาพหรือปรากฏการณ์ณช์ ัดเจน กลไกหลกั คือ สร้างความรู้ความเข้าใจ และวธิ ีสังเกตเก่ยี วกับความโปรง่ ใสของโครงการตา่ ง ๆ (3) ตื่นรู้ (Realize : R) คานิยามปี พ.ศ. 2562 เมือ่ บคุ คลรู้พษิ ภัยของการทจุ ริต และไมท่ นทจี่ ะเหน็ การทุจรติ เกิดขึ้น กลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์การทุจริตในพ้ืนที่ ในชุมชน หรือในกรณีท่ีปรากฏการณ์ทุจริตข้ึน หรือกรณีศกึ ษาทเี่ กิดขึน้ มาแลว้ และมีคาพิพากษาถึงทีส่ ดุ แลว้ (4) มุง่ ไปข้างหนา้ (Onward : O) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การไมม่ กี ารทุจริตของภาครฐั จะทาให้เงินภาษถี กู นาไปใชใ้ นการพฒั นาอยา่ งเต็มท่ี กลไกหลัก คือ การป้องกันและการป้องปราม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังพ้ืนที่ท่ีมี ความเสยี่ ง ในการทจุ รติ เชน่ การบกุ รุกพื้นทส่ี าธารณะ หรอื เฝา้ ระวงั โครงการใหด้ าเนนิ การดว้ ยความโปร่งใส (5) ความรู้ (Knowledge : N) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความรดู้ า้ นต่าง ๆ มีความจาเป็นตอ่ การป้องกนั และปอ้ งปรามการทุจริต กลไกหลัก คือ การให้ความรู้ในรปู แบบการฝกึ อบรม หรือให้สอื่ เรียนร้อู ย่างตอ่ เนื่อง เช่น (1) ความรู้เกย่ี วกบั รูปแบบการทุจริตแบบต่าง ๆ ท้ังแบบสมัยอดตี แบบปัจจุบนั และแบบที่อาจจะ เกดิ ขนึ้ ในอนาคต (2) ความรู้เก่ียวกบั การทจุ ริตในต่างประเทศ (3) วิธกี ารปอ้ งกัน - ปอ้ งปรามแบบต่าง ๆ (4) ความรูเ้ กย่ี วการเฝา้ ระวัง (5) ความรเู้ กย่ี วกบั กฎหมายท่ีเกีย่ วข้อง (6) เอื้ออาทร (Generosity : G) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การพัฒนาสงั คมไทยให้มีน้าใจ โอบอ้อมอารี เออ้ื เฟอ้ื เผ่ือแผ่ โดยไมม่ ผี ลประโยชนต์ อบแทนหรือหวัง ผลตอบแทน ในฐานะเพ่อื นมนุษย์ กลไกหลกั กิจกรรมจติ อาสา ช่วยเหลอื บคุ คล ชมุ ชน/สังคมในยามวิกฤติ หรือการร่วมมือในการร่วม พฒั นาชุมชน
85 จากนยิ ามขา้ งตน้ STRONG : จิตพอเพยี งต้านทุจริต จึงหมายถงึ ผูท้ ่ีมคี วามพอเพียง ไม่เบียดเบียนตนเอง และผ้อู ่นื (S) มุ่งอนาคตท่ีเจริญทัง้ ตนเองและส่วนรวม (O) โดยใชห้ ลกั ความโปร่งใสตรวจสอบได้ (T) พ้นื ฐานจติ ใจมี มนุษยธรรมเอื้ออาทร ช่วยเหลอื เพ่ือนมนุษย์โดยไม่เห็นแก่ประโยชนต์ ่างตอบแทน (G) ให้ความสาคัญต่อการเรียนรู้ ตลอดชีวิต เพื่อการดารงชีวิตในทางท่ีชอบ (N) แต่ต่ืนรู้เรื่องภัยทุจริตท่ีร้ายแรงส่งผลต่อสังคม รังเกียจการทุจริต ประพฤติมชิ อบท้ังปวง ไมย่ อมทนตอ่ การทจุ รติ ทุกรูปแบบ (R) นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการพัฒนาโมเดล STRONG โดยเพิ่มในเร่ืองของการมีส่วนร่วม (Participation) อันเป็นกลไกสาคัญในการเช่ือมโยงและขับเคลื่อนหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การป้องกัน การทุจริตได้เป็นรูปธรมอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการเผยแพร่หลักการของโมเดล STRONG สู่ชุมชน จะดาเนินการ โดยสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด และมีการคัดเลือกผู้แทน/ผู้นาชุมชนในจังหวัดที่มีเครือข่าย มีความสามารถ และทกั ษะในการถ่ายทอดองค์ความรูม้ าอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับโมเดล STRONG การนาไปประยุกต์ใช้ ในการการต่อต้านการทุจริต เช่น การคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนและความ อายต่อการทุจริต หลักการจิตพอเพียงด้วยวธิ ีการที่เหมาะสม เป็นต้น เพื่อให้ผู้ได้รับการคัดเลอื กเป็นโค้ช (coach) ถา่ ยทอดความรู้เกีย่ วกับหลักการของโมเดล STRONG และการต่อต้านการทุจริตใหแ้ ก่ผู้ท่ีอาศัยอยู่ในชุมชน รวมถึง ยังมีการจดั ตั้งชมรม STRONG เพอ่ื ให้ทุกภาคสว่ นมคี วามตระหนักรู้เล็งเหน็ ถงึ ความสาคญั ของปญั หาการทุจริตและ มีส่วนรว่ มในการเฝา้ ระวังและแจ้งเบาะแสการทจุ ริต
86 แผนภาพท่ี 2 หลักสตู รตา้ นทุจริตศกึ ษา เร่อื ง การพิทกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติทางธรณี ระดบั อดุ มศกึ ษา/Non Geoscience student
8 4. หน่วยการเรยี นรู้ หนว่ ย เวลา เนือ้ หาสาระ ท่ี (ชว่ั โมง) ชอ่ื หน่วย จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การพทิ กั ษ์ ก 6 (3-3-0) ทรพั ยากรธรรมชาตทิ างธรณี 1 ธรณีวทิ ยา - ผู้เรียนมคี วามรคู้ วาม - ธรณีวทิ ยาทั่วไป และกาเนดิ สรา้ ง น่ารู้ เขา้ ใจเบื้องต้นเก่ยี วกับ ทรัพยากรธรณี (หิน/ดิน/แร่/ คุณค ธรณวี ทิ ยา ทรัพยากร ธาตุหายาก/พลังงาน/ซากดึก ธรณี ดาบรรพ์) ตืน่ ร - ผู้เรียนมีทกั ษะใน - แผนทธี่ รณีวิทยาและ การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ศกั ยภาพแหลง่ ทรัพยากรธรณี ผเู้ รยี - ผู้เรยี นวเิ คราะห์ - แหล่งทรพั ยากรธรณี และ และ สภาพทรัพยากรธรณี ศักยภาพแหล่งหนิ /แร่ ของป ในพ้นื ทใ่ี กล้ตวั ได้ - แผนทส่ี ารสนเทศทรพั ยากร ของก ธรณี (GIS) : เหมืองแร่ในอดตี , ภาย เหมอื งแรใ่ นปัจจุบันและการ ความ พฒั นาในอนาคต พบเ - ธรณพี บิ ัตภิ ยั กบั ตอ่ ก ชีวิตประจาวนั ปฏกิ ยินย ซงึ่ ต ควา N) เ ทุจร รา้ ยแ ระด
87 การต่อต้านการทจุ รติ วิธีจัดการเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้ วิธกี าร ประเมินผล งความตระหนักรูถ้ ึง - บรรยาย - เอกสารความรู้ - เว็บไซต์ - การสงั เกต คา่ ของทรัพยากรธรณี - อภิปรายกลมุ่ - ตัวอย่าง พพิ ิธภัณฑ์ทาง พฤติกรรม -ปัญหาการทุจรติ ทรพั ยากรธรณี ธรณวี ทิ ยา - การทดสอบ รู้ (Realize : R) เป็นฐาน (Problem - ส่อื ออนไลน์ - เว็บไซต์ - การประเมิน based Learning) - แอปพลเิ คช่นั ชั้นหินโผล่ ตนเอง ยนมีความร้คู วามเขา้ ใจ - การค้นควา้ อิสระ - อนิ โฟกราฟฟกิ (Outcrop) ะตระหนักรูถ้ ึงรากเหง้า (IS) - โมชน่ั กราฟฟิก หนิ /แร่ และ ปัญหาและภยั รา้ ยแรง จดุ สาคญั ทาง การทุจรติ ประพฤติมชิ อบ ธรณวี ิทยา ยในชมุ ชนและประเทศ มตน่ื รจู้ ะบงั เกดิ เมื่อได้ เห็นสถานการณ์ทเี่ สย่ี ง การทจุ รติ ย่อมจะมี กริ ิยาเฝ้าระวงั และไม่ ยอมต่อการทุจริตในท่ีสดุ ตอ้ งให้ความรคู้ วามเข้าใจ ามรู้ (Knowledge : เกย่ี วกบั สถานการณ์ ริตทเี่ กิดข้นึ ความ แรงและผลกระทบต่อ ดบั บุคคลและสว่ นรวม
8 2 คุณคา่ ของ 9 - ผูเ้ รยี นอธิบายคณุ คา่ - ทรพั ยากรธรณี การสารวจ สรา้ ง ทรัพยากร (6-3-0) และความมจี ากัดของ และการใช้ประโยชน์ คณุ ค ธรณี กับ ทรัพยากรธรณี - ทรัพยากรธรณีกบั การพฒั นา ตื่นร โอกาสใน - ผู้เรยี นเกดิ ความ ประเทศ การพฒั นา ตระหนกั ถึง - ความสาคญั ของทรพั ยากร ผเู้ รยี ประเทศ ความสาคญั ของ ธรณี ตอ่ ประเทศด้านตา่ ง ๆ และ และการ ทรพั ยากรธรณี ด้านเศรษฐกจิ สังคม ของป ฟืน้ ฟู สง่ิ แวดลอ้ ม การเมอื ง ของก เกย่ี วกับ - การมสี ่วนรว่ มอนุรักษ์ และ ชอบ ทรัพยากร การฟื้นฟเู ก่ียวกบั ทรพั ยากร ประ ธรณี ธรณี บงั เก - กรณีศกึ ษาการเพ่ิมมลู ค่า สถา ทรพั ยากรธรณี (หินออ่ น/ ทุจร หนิ แกรนิต/อญั มณี) เฝา้ ร ตอ่ ก การแ ประ ประ พอเ ปรับ ผลป ส่วน ชดั เจ นาไป ไม่กอ โดยม ผู้อนื่ อาม ขอบ อาช
88 งความตระหนกั ร้ถู งึ - บรรยาย - เอกสารความรู้ - เวบ็ ไซต์ กรม - ประเมนิ ผล - อภิปรายกลมุ่ ค่าของทรัพยากรธรณี ปัญหาการใช้ - ตัวอยา่ ง ทรพั ยากร -การนาเสนอ ทรัพยากร รู้ (Realize : R) - การคน้ คว้าอิสระ ทรพั ยากรธรณี ธรณี และกรม หนา้ ช้นั เรียน (IS) ยนมคี วามรู้ความเข้าใจ - กรณีศกึ ษา - ส่อื ออนไลน์ อตุ สาหกรรม - การสงั เกต ะตระหนกั ร้ถู ึงรากเหงา้ ปัญหาและภยั รา้ ยแรง - แอปพลิเคชน่ั พื้นฐานและ พฤติกรรม การทุจรติ ประพฤตมิ ิ บภายในชมุ ชนและ - อนิ โฟกราฟฟิก การเหมอื งแร่ ะเทศ ความตื่นรู้จะ กดิ เมือ่ ไดพ้ บเห็น - โมชนั่ กราฟฟิก - เหมืองแร่ านการณ์ที่เสย่ี งต่อการ ริต ยอ่ มจะมปี ฏิกริ ยิ า ทอง ยิปซมั ระวังและไม่ยินยอม การทุจรติ ในทสี่ ุด ปนู ซเี มนต์ แยกแยะเกยี่ วกบั ะโยชนส์ ่วนตนและ - เหมอื งหนิ ะโยชน์ เชือ่ มโยงกับ เพียง (Sufficient : S) อุตสาหกรรม บวธิ คี ิดที่แยกแยะ ประโยชน์สว่ นตวั และ หนิ กอ่ สรา้ ง นรวมได้อยา่ งถกู ตอ้ ง จน และเปน็ อัตโนมตั ิจะ หนิ ปูน หิน ปสจู่ ติ สานึกท่พี อเพยี ง อบโกยผลประโยชน์ อคั นี มิชอบ ไมเ่ บียดเบียน น ไม่เบยี ดบังรัฐ ไมร่ ับ - ศักยภาพ มสิ สนิ บนโดยมิต้องจากดั บเขตของการประกอบ แหล่งแรข่ อง ชีพทสี่ จุ รติ สามารถหา ไทย
8 ทรัพ ความ ไมเ่ ด ควา เกยี่ ว เกดิ ข ผลก และ 3 ความเสย่ี ง 15 - ผเู้ รยี นมคี วามรแู้ ละ - กฎหมายต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง โปร่ง ในการ (9-3-3) เข้าใจเกีย่ วกบั กับทรัพยากรธรณี บคุ ค ทุจริต เกีย่ วกบั กฎหมายทรัพยากร - รูปแบบการทุจรติ และ ชมุ ช ทรพั ยากร ธรณี กรณีศกึ ษาการทจุ รติ (การทา ของค ธรณี - ผู้เรียนวิเคราะห์ถึง เหมอื งนอกเขตพนื้ ท่อี นุญาต/ ดงั น รปู แบบ วิธีการและ การประเมนิ ผลกระทบต่อ รูเ้ ทา่ ทันการทุจริตทาง สุขภาพและสง่ิ แวดลอ้ ม EHIA/ ตาม การพัฒนาทรพั ยากรธรณีนอก ขอ้ ป ทรัพยากรธรณี เขตพ้ืนทีอ่ นญุ าต) ความ ความ (kno (rea
89 พย์สนิ เงนิ ทองไดต้ าม มสามารถ ทั้งน้ี โดย ดือดร้อนตนเองและผอู้ ่ืน ามรู้ (Knowledge: N) วกบั สถานการณ์ทุจริตท่ี ข้ึน ความรา้ ยแรงและ กระทบต่อระดับบุคคล ะสว่ นรวม งใส (Transparent : T) - การสอนแบบ - เอกสารความรู้ - เวบ็ ไซต์ - การสงั เกต คลทกุ ระดับ องคก์ ร และ สมั มนา - สือ่ ออนไลน์ กรม พฤติกรรม ชนตอ้ งปฏบิ ตั ิงานบนฐาน - กรณศี กึ ษา - แอปพลิเคชนั่ อตุ สาหกรรม - การทดสอบ ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ สถานการณก์ าร - อินโฟกราฟฟิก พื้นฐานและการ - การประเมิน นัน้ จึงตอ้ งมแี ละปฏิบตั ิ ทจุ รติ ทางทรัพยากร - โมชน่ั กราฟฟกิ เหมืองแร่ ตนเอง มหลักปฏิบตั ิ ระเบยี บ ธรณี - เว็บไซต์ กรม ปฏบิ ัติ กฎหมายดา้ น - การค้นควา้ อสิ ระ ทรพั ยากรธรณี มโปร่งใส ซง่ึ ต้องให้ (Independent - พิพธิ ภณั ฑ์ มรคู้ วามเขา้ ใจ Study) ธรณีวิทยา owledge) และการตืน่ รู้ - เว็บไซต์ alize) ภาควชิ า ธรณีวทิ ยาและ ธรณีศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ต่างๆ - เวบ็ ไซต์ สานักงาน ป.ป.ช.
9 4 ปกปอ้ ง 15 - ผู้เรียนเกดิ เจตคติ - การสรา้ งจิตสานกึ สาธารณะ การแ ทรพั ยากร (9-6-3) หวงแหน มีความรสู้ กึ เพ่ือแยกแยะประโยชนส์ ่วนตน ประ ธรณี ถึงการเป็นเจา้ ของ และประโยชนส์ ่วนรวม ประ และเกดิ พฤติกรรมการ - การเฝ้าระวัง แจ้งเบาะแส พอเ มสี ่วนรว่ มปกปอ้ ง การทุจรติ ทรัพยากรธรณี ปรับ ทรพั ยากรธรณี - การมีสว่ นรว่ มในการปกปอ้ ง ผลป - ผู้เรยี นสามารถ ทรัพยากรธรณี เสนอแนะวิธีการ - กรณีศึกษาการมสี ว่ นรว่ มใน สว่ น ปกป้องทรพั ยากรธรณี การปกปอ้ งทรัพยากรธรณี ชดั เจ ได้ นาไป -มีทักษะในการสังเกต ไมก่ อ ปรากฏการการทจุ รติ โดยม และสามารถแจง้ ผอู้ ่นื เบาะแสการทจุ รติ ตอ่ อาม หน่วยงานทม่ี หี น้าทีไ่ ด้ ขอบ อาช ทรพั ความ โดยไ ผอู้ ่ืน เอ้ืออ การพ น้าใจ เออ้ื เ ผลป หวังผ เพือ่ น
90 แยกแยะเกยี่ วกบั - ปัญหาการทุจรติ - เอกสารความรู้ - เว็บไซต์ - การสงั เกต ะโยชนส์ ่วนตนและ เปน็ ฐาน (Problem - สื่อออนไลน์ กรมทรัพยากร พฤติกรรม ะโยชน์ เช่อื มโยงกับ based Learning) - แอปพลเิ คช่นั ธรณี - การทดสอบ เพยี ง (Sufficient : S) - การสอนแบบ - อนิ โฟกราฟฟิก - สานกั งาน - การประเมิน บวธิ คี ดิ ท่ีแยกแยะ รว่ มมือ - โมช่ันกราฟฟกิ ป.ป.ช. ตนเอง ประโยชนส์ ่วนตวั และ - การคน้ คว้าอสิ ระ - ประเมินการ นรวมไดอ้ ย่างถกู ต้อง (Independent อภิปรายกลุ่ม จน และเป็นอัตโนมตั ิจะ Study) ปส่จู ติ สานึกทีพ่ อเพียง - อภปิ รายกลมุ่ อบโกยผลประโยชน์ มชิ อบ ไม่เบยี ดเบยี น น ไมเ่ บยี ดบงั รฐั ไมร่ บั มิสสนิ บนโดยมิต้องจากดั บเขตของการประกอบ ชีพทีส่ ุจริต สามารถหา พย์สินเงินทองไดต้ าม มสามารถ ท้งั น้ี ไม่เดอื ดรอ้ นตนเองและ น อาทร (Generosity : G) พัฒนาสังคมไทยใหม้ ี จ โอบอ้อมอารี เฟอ้ื เผ่ือแผ่ โดยไม่มี ประโยชนต์ อบแทนหรือ ผลตอบแทน ในฐานะ นมนษุ ย์ โดยกลไกหลัก
9 ส่งเส อาส ชมุ ช หรอื พฒั น ม่งุ ไป (On ม่งุ เน ในกา ท่มี ีค เช่น สาธา โครง ความ
91 สรมิ การทากจิ กรรมจิต สา ชว่ ยเหลือบคุ คล ชน/สงั คมในยามวกิ ฤติ อการรว่ มมือในการรว่ ม นาชุมชน ปขา้ งหนา้ nward : O) น้นกระบวนการมสี ว่ นรว่ ม ารเฝ้าระวังพ้ืนที่ ความเสีย่ ง ในการทุจรติ การบุกรุกพนื้ ท่ี ารณะ หรอื เฝ้าระวัง งการให้ดาเนนิ การด้วย มโปร่งใส
92 5. แนวทางการจัดการเรียนรแู้ ละประเมนิ ผล 5.1 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ - การจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) - การจดั การโดยเนน้ ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ที่เก่ียวข้องกับการตอ่ ต้านการทจุ ริต Learning Outcome 5.2 การวัดและการประเมินผล การเรียนรู้ 5.2.1 การทดสอบ 5.2.2 การประเมนิ ผลตามสภาพจริง - การประเมนิ ตนเอง - การสังเกตพฤติกรรม - การนาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น - ฯลฯ 6. แนวทางการนาหลกั สตู รไปใช้ (1) จัดทาเป็น 1 รายวชิ า จานวน 3 หน่วยกิต (2) จดั ทาเป็นหนว่ ยการเรียนรู้ โดยอาจารยผ์ ู้สอนสามารถนาเนื้อหาใหม่ในหนว่ ยการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ไปปรบั ใช้/ประยุกต์ใชใ้ นรายวชิ าของตนเอง (3) จัดทาเปน็ วชิ าเลอื ก
93 หลักสูตรตา้ นทจุ รติ ศึกษา เรื่อง การพทิ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติทางธรณี สาหรับ กลุ่มทหาร ตารวจ และองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน 1. ความเปน็ มาของหลักสูตร การทุจรติ ในสังคมไทยระหว่างชว่ งกว่าทศวรรษท่ีผ่านมานัน้ ส่งผลเสยี ตอ่ ประเทศอยา่ งมหาศาล ทัง้ ยังเป็น อปุ สรรคต่อการพฒั นาประเทศในทุกมิติ รูปแบบการทจุ ริตจากเดิมท่ีเปน็ การทุจรติ ทางตรงไม่ซบั ซ้อนได้ปรบั เปล่ียน เป็นการทุจริตท่ีมีความซับซ้อนมากย่ิงข้ึน ประเทศไทยมีความพยายามแก้ไขปัญหาการทุจริตโดยการสร้างความตื่นตัว และการเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ปรับความคิด สร้างความตระหนักรู้ในทุกภาคส่วน ของสังคม โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ได้กาหนดในหมวดท่ี 5 หน้าท่ีของรัฐว่า “รัฐตอ้ งสง่ เสริม สนบั สนนุ และให้ความรู้แกป่ ระชาชนถงึ อันตรายท่ีเกดิ จากการทจุ ริตและประพฤติมิชอบท้ังภาครัฐ และเอกชนโดยจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกั นและขจัดการทุจริตและประพฤติมิช อบ ดังกล่าวอย่างเข้มงวด” ทั้งวาระการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประเด็นปฏิรูปด้านการป้องกันและเฝ้าระวัง ได้กาหนดกลยุทธ์หลัก ในการเร่งสร้างการรับรู้และจิตสานึกของ ประชาชนในการต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบ สง่ เสริมให้ประชาชนรวมตัวกันรงั เกียจ การทุจรติ และมสี ว่ นร่วม ในการต่อต้านทุจริตด้วยการชี้เบาะแส การสร้างลักษณะนิสัยไม่โกงและไม่ยอมให้ผู้ใดโกง และเสริมสร้างบทบาท การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการเสริมสร้างธรรมาภิบาลและต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบ ยุทธศาสตร์ ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ในยุทธศาสตร์ที่ 6 การปรับสมดุลและพัฒนา การบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้กาหนดให้การพัฒนาระบบบริหารจัดการกาลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐในการปฏิบัติราชการ และการ ต่อต้านการทุจริตและประพฤติผิดมิชอบ เป็นส่วนหน่ึงของกรอบแนวทางท่ีมีความสาคัญในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี อีกทั้งยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560- 2564) ได้กาหนดยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างสังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริตเป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้น กระบวนการปรับสภาพทางสังคมให้เกิดภาวะ “ไม่ทนต่อการทุจริต” และบูรณาการต่อต้านการทุจริตของประเทศ โดยมีสานักงาน ป.ป.ช. เป็นองค์กรหลักในการดาเนินการเพ่ือให้เจตนารมณ์ท่ีกาหนดไว้ดังกล่าวปรากฏข้ึนมาใน สังคมไทย ผ่านกลไกทางการศึกษาซ่ึงเป็นอีกกลไกหนึ่งท่ีมีประสิทธิภาพและสามารถทาให้เกิดการปรับเปลี่ยน กระบวนคิดของคน ผ่านการเรียนรู้จากชุดหลักสูตรการเรียนรู้ด้านการป้องกัน หรือเรียกว่าหลักสูตร “ต้านทุจริต ศึกษา” ท่ีมีเน้ือหาสอดคล้องและมีประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน อาทิ โลกยุคดิจิทัล หรือการใช้ ทรัพยากรธรณี และทรัพยากรน้าในลักษณะที่เป็นการละเมิด (Abuse) ผลประโยชน์ต่อสาธารณะเพียงเพื่อเพิ่ม ประโยชนใ์ หก้ ับบคุ คลหรอื กลุ่มคนเพยี งบางกลุ่มเท่านั้น หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ประเด็น “ทรัพยากรธรณี” เป็นประเด็นหนึ่งที่สาคัญท่ีสานักงาน ป.ป.ช. ให้ความสาคัญเป็นอย่างสูง เน่ืองจากทรัพยากรธรณีเป็นทรัพยากรท่ีสาคัญของประเทศ มีส่วนสาคัญต่อการสร้าง ความเจริญก้าวหน้าให้กับประเทศผ่านการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่อยู่ในธรณี ไม่ว่าจะเป็น ดิน หิน แร่ ผ่านการ นามาใช้ประโยชน์ เช่น การดัดแปลงเป็นเครื่องมือเคร่ืองใช้ เป็นอุปกรณ์ในการประกอบการงานของมนุษย์ ใช้เป็น ส่วนประกอบของสิง่ ประดิษฐ์ตา่ ง ๆ หรือแมก้ ระทง้ั การใช้ในกิจการด้านอุตสาหกรรม ซงึ่ จะเหน็ ไดว้ ่าทรัพยากรธรณี นั้นเป็นส่ิงที่สาคัญที่ช่วยในการสร้างโอกาสให้แก่สังคมมนุษย์ได้อยู่ดี กินดี มีฐานะม่ันคง ทาให้เศรษฐกิจและสังคม ของประเทศสามารถพัฒนาไปข้างหน้าได้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม เนื่องจากทรัพยากรธรณีเป็นทรัพยากรที่สิ้นเปลือง
94 ถูกใช้แล้วหมดไป บริเวณที่มีการดาเนินการใช้ประโยชน์ทางธรณีก็มักจะเส่ือมคุณค่า ดังน้ัน การควบคุม การเข้าใช้ ประโยชน์ในทรัพยากรธรณีจึงเป็นประเด็นที่สาคัญท่ีจะต้องเล็งเห็นถึงการใช้ประโยชน์ว่าต้องตอบสนองประโยชน์ สาธารณะมากกว่าประโยชน์ส่วนบุคคล ปัจจุบันจะเห็นได้ว่า แนวโน้มการใช้ทรัพยากรธรณีน้ัน ประโยชน์ที่สาธารณะ ควรได้รับน้ันน้อยกว่าประโยชน์ที่เอกชนได้รับ อีกท้ังการท่ีเข้าใช้ประโยชน์ของทรัพยากรธรณียังถูกเข้าถึงด้วย วิธีการที่มีความเสี่ยงต่อการทุจริต เช่น การบิดเบือนประโยชน์ของสาธารณะที่ได้รับให้ดูสูงกว่าประโยชน์ท่ีเอกชน ได้รับ แต่ความเป็นจริงเม่ือมีการสารวจใช้ทรัพยากรธรณีแล้ว เอกชนกลับได้ประโยชน์ทางทรัพยากรธรณีมากกว่า ทีถ่ ูกคานวณไว้ ซึง่ ประเด็นตัวอยา่ งท่กี ล่าวมาข้างต้น เป็นเพียงประเดน็ ย่อยของความเสย่ี งต่อการทจุ ริตในการเข้าใช้ ทรัพยากรธรณีท่ีควรจะมีการสร้างการตระหนักรู้ เพ่ือให้เกิดความหวงแหน นามาสู่การร่วมกันอนุรักษ์รักษา ทรพั ยากรธรณเี พือ่ ใหป้ ระเทศไดร้ ับประโยชน์มากที่สดุ ดังน้ัน การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี โดยเฉพาะอย่างย่ิง การป้องกันการทุจริตที่เก่ียวข้องกับ ประเด็นดังกล่าว เป็นส่ิงท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้ความสาคัญ จึงได้สร้างหลักสูตรการเรียนรู้ด้านการป้องกัน การทุจริต หรือ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เร่ือง การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี ที่มีเนื้อหาสอดคล้องและ มีประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน คือ การใช้ทรัพยากรธรณีในลักษณะท่ีเป็นการละเมิด (Abuse) ตอ่ ผลประโยชนส์ าธารณะ เพ่อื ใหผ้ ้เู รียนทุกระดบั ชั้นได้มีความตระหนักรู้และรว่ มพิทักษท์ รัพยากรธรณตี ามบทบาท หน้าท่ีของตน โดยประยุกต์ใช้ STRONG Model ในการเรียนการสอนตลอดหลักสูตร ทหารตารวจ เจ้าหน้าท่ี ปกครองท้องถิ่น/ท้องที่ เป็นกลุ่มเป้าหมายเก่ียวข้องการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ ในประเด็น “การพิทักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี” นอกจากน้ีทหารตารวจจะต้องมีหน้าท่ีในการสนับสนุนการใช้ทรัพยากรธรณีให้เกิด ประโยชนส์ ูงสุด จึงจาเป็นที่ทหารตารวจจะต้องตระหนักรู้คณุ ค่าของทรัพยากรธรณี แยกแยะประโยชนส์ ่วนตนและ ประโยชนส์ ่วนรวมในการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ ในประเด็นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี จึงนามาสู่ การจัดทาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เร่ือง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี สาหรับทหาร ตารวจ เจ้าหน้าท่ี ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ในครัง้ นี้
95 2. วตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สูตร 2.1 เพอื่ ให้ผ้เู รยี นเกิดการตระหนักรู้คุณคา่ ของทรัพยากรธรณี 2.2 เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นมาสามารถแยกแยะประโยชน์สว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวมในการใช้ทรพั ยากรธรณี 2.3 เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นเกิดความไมท่ นตอ่ การทุจริตจากการใชท้ รัพยากรธรณี 2.4 เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นมีจติ พอเพียงเพือ่ นาไปสกู่ ารต้านทจุ ริตเกี่ยวกับทรัพยากรธรณี 2.5 เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรับผิดชอบตอ่ สังคม หวงแหน และอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรณี 3. โครงสร้างเนื้อหาสาระ ระยะเวลา (ช่ัวโมง) ลาดับ เนือ้ หาสาระ 1 1 ธรณีวิทยาน่ารู้ - ธรณีวทิ ยาทว่ั ไป และกาเนิดทรัพยากรธรณี (หนิ /ดิน/แร/่ ธาตหุ ายาก/พลังงาน/ซากดกึ ดาบรรพ์) 2 - แผนทธ่ี รณีวทิ ยาและศักยภาพแหล่งทรัพยากรธรณี - แหลง่ ทรัพยากรธรณี และศักยภาพแหล่งหนิ /แร่ 4 - แผนทสี่ ารสนเทศทรัพยากรธรณี (GIS) : เหมืองแร่ในอดตี ,เหมอื งแร่ในปจั จบุ นั และการพฒั นาในอนาคต 2 - ธรณพี ิบัตภิ ยั กับชีวติ ประจาวัน 9 2 คุณค่าของทรัพยากรธรณี กับโอกาสในการพัฒนาประเทศและการฟื้นฟเู ก่ยี วกบั ทรัพยากรธรณี - ทรพั ยากรธรณี การสารวจ และการใช้ประโยชน์ - ทรัพยากรธรณีกบั การพฒั นาประเทศ - ความสาคัญของทรัพยากรธรณี ตอ่ ประเทศด้านตา่ ง ๆ ดา้ นเศรษฐกจิ สังคม สงิ่ แวดล้อม การเมือง - การมสี ว่ นรว่ มอนรุ กั ษ์ และการฟน้ื ฟเู กี่ยวกบั ทรพั ยากรธรณี - กรณศี กึ ษาการเพ่มิ มลู ค่าทรัพยากรธรณี (หินอ่อน/หินแกรนติ /อัญมณ)ี 3 ความเส่ียงในการทจุ ริตเกี่ยวกบั ทรัพยากรธรณี - กฎหมายต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกบั ทรพั ยากรธรณี - รูปแบบการทจุ รติ และกรณีศึกษาการทจุ ริต (การทาเหมืองนอกเขตพ้ืนท่อี นุญาต/การประเมินผล กระทบตอ่ สุขภาพและส่ิงแวดลอ้ ม EHIA) 4 ปกป้องทรพั ยากรทางธรณี - การสร้างจิตสานึกสาธารณะ เพอ่ื แยกแยะประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์สว่ นรวม - การมสี ว่ นร่วมในการปกป้องทรัพยากรธรณี - การเฝ้าระวงั แจง้ เบาะแส การทจุ ริตทรัพยากรธรณี - กรณศี ึกษาการมสี ว่ นรว่ มในการปกป้องทรัพยากรธรรมชาติ รวม
96 STRONG Model : จิตพอเพยี งตา้ นทุจริต โมเดล STRONG เป็นการนาตัวอักษรแรกของศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีความหมายเชิงบวก จานวน 6 คา มาประกอบเป็นคาศัพท์ส่ือความหมายถึง “ความแข็งแกร่ง” ของบุคคลและองค์กรในการต่อต้านการทุจริต โดยมีความมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้านทุจริต ร่วมกันพัฒนาชุมชนให้ก้าวไปข้างหน้าด้วยการประยุกต์และ บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับความโปร่งใส การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม การตระหนักรู้และใส่ใจปัญหาการทุจริต และร่วมกันพัฒนาชุมชนให้มีความเอื้ออาทรบนพื้นฐานของ จริยธรรมและจิตพอเพียง ตลอดจนเกิดเครือข่ายชุมชนจิตพอเพียงต้านทุจริตและเป็นแกนนาสร้างวัฒนธรรม ไม่ทนต่อการทุจริต ซึ่งโมเดล STRONG ได้มีการสร้างและพัฒนาโดยรองศาสตราจารย์ ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงไดด้ งั แผนภาพ ดังนี้ แผนภาพที่ 1 โมเดล STRONG – จิตพอเพียงต้านทจุ ริต ปี พ.ศ. 2562
97 จากแผนภาพข้างต้น สามารถอธิบายนยิ ามเชงิ ปฏบิ ัติการได้ดังนี้ (1) พอเพยี ง (Sufficient: S) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมที่ระดับที่แตกต่างกันตามวิธีคิด สภาพความพร้อมและ ความสามารถ รวมทง้ั ตามสถานภาพทางเศรษฐกจิ และสังคมของบคุ คลและครอบครวั กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดที่แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และ เป็นอัตโนมัติจะนาไปสู่จิตสานึกที่พอเพียง ไม่กอบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน ไม่เบียดบังรัฐ ไม่รับอามิสสินบนโดยมิต้องจากัดขอบเขตของการประกอบอาชีพที่สุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงินทองได้ตาม ความสามารถ ทง้ั น้ี โดยไม่เดอื ดรอ้ นตนเองและผูอ้ ืน่ (2) โปรง่ ใส (Transparent : T) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความโปรง่ ใส ทาให้เห็นภาพหรือปรากฏการณ์ณ์ชัดเจน กลไกหลัก คอื สร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ และวธิ สี ังเกตเกีย่ วกบั ความโปร่งใสของโครงการตา่ ง ๆ (3) ตื่นรู้ (Realize : R) คานิยามปี พ.ศ. 2562 เมอ่ื บุคคลรู้พษิ ภัยของการทุจรติ และไมท่ นท่จี ะเหน็ การทุจรติ เกดิ ขึน้ กลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์การทุจริตในพื้นที่ ในชุมชน หรือในกรณีที่ปรากฏการณ์ทุจริตขึ้น หรือกรณศี กึ ษาทีเ่ กิดข้ึนมาแล้วและมีคาพิพากษาถึงท่สี ดุ แลว้ (4) ม่งุ ไปข้างหนา้ (Onward : O) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การไม่มกี ารทุจริตของภาครฐั จะทาให้เงนิ ภาษีถกู นาไปใช้ในการพัฒนาอย่างเต็มท่ี กลไกหลัก คือ การป้องกันและการป้องปราม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังพ้ืนที่ที่มี ความเสี่ยง ในการทจุ รติ เชน่ การบกุ รุกพน้ื ทีส่ าธารณะ หรือเฝา้ ระวงั โครงการให้ดาเนนิ การด้วยความโปร่งใส (5) ความรู้ (Knowledge : N) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความรดู้ ้านต่าง ๆ มคี วามจาเป็นตอ่ การปอ้ งกนั และป้องปรามการทจุ ริต กลไกหลกั คือ การใหค้ วามร้ใู นรูปแบบการฝึกอบรม หรือให้สอื่ เรยี นรอู้ ย่างตอ่ เน่ือง เชน่ (1) ความรเู้ ก่ยี วกับรูปแบบการทจุ ริตแบบตา่ ง ๆ ท้งั แบบสมยั อดตี แบบปจั จบุ นั และแบบทอ่ี าจจะ เกดิ ขึ้นในอนาคต (2) ความร้เู กี่ยวกบั การทุจรติ ในตา่ งประเทศ (3) วิธีการป้องกนั - ปอ้ งปรามแบบต่าง ๆ (4) ความรเู้ กยี่ วการเฝ้าระวัง (5) ความร้เู กีย่ วกับกฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ ง
98 (6) เอ้ืออาทร (Generosity : G) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 การพัฒนาสงั คมไทยให้มีน้าใจ โอบอ้อมอารี เอื้อเฟ้อื เผื่อแผ่ โดยไมม่ ผี ลประโยชนต์ อบแทนหรือหวัง ผลตอบแทน ในฐานะเพ่ือนมนษุ ย์ กลไกหลกั กิจกรรมจติ อาสา ช่วยเหลือบคุ คล ชุมชน/สังคมในยามวิกฤติ หรอื การร่วมมือในการร่วม พัฒนาชุมชน จากนิยามขา้ งต้น STRONG : จิตพอเพียงต้านทจุ ริต จงึ หมายถึง ผทู้ มี่ ีความพอเพียง ไมเ่ บยี ดเบียนตนเอง และผูอ้ ่ืน (S) มงุ่ อนาคตทเ่ี จรญิ ทั้งตนเองและส่วนรวม (O) โดยใช้หลกั ความโปร่งใสตรวจสอบได้ (T) พืน้ ฐานจิตใจมี มนุษยธรรมเอื้ออาทร ช่วยเหลอื เพ่ือนมนุษย์โดยไม่เห็นแก่ประโยชนต์ ่างตอบแทน (G) ให้ความสาคัญต่อการเรยี นรู้ ตลอดชีวิต เพ่ือการดารงชีวิตในทางที่ชอบ (N) แต่ตื่นรู้เร่ืองภัยทุจริตท่ีร้ายแรงส่งผลต่อสังคม รังเกียจการทุจริต ประพฤตมิ ชิ อบทงั้ ปวง ไมย่ อมทนต่อการทุจริตทกุ รูปแบบ (R) นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการพัฒนาโมเดล STRONG โดยเพ่ิมในเรื่องของการมีส่วนร่วม (Participation) อันเป็นกลไกสาคัญในการเช่ือมโยงและขับเคล่ือนหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การป้องกัน การทุจริตได้เป็นรูปธรมอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงการเผยแพร่หลักการของโมเดล STRONG สู่ชุมชน จะดาเนินการ โดยสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด และมีการคัดเลือกผู้แทน/ผู้นาชุมชนในจังหวัดที่มีเครือข่าย มีความสามา รถ และทักษะในการถ่ายทอดองค์ความรู้มาอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโมเดล STRONG การนาไป ประยุกต์ใชใ้ นการการต่อตา้ นการทจุ ริต เช่น การคิดแยกแยะผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวม ความไม่ ทนและความอายต่อการทุจริต หลักการจิตพอเพียงด้วยวิธกี ารที่เหมาะสม เป็นต้น เพ่ือให้ผู้ได้รับการคัดเลอื กเปน็ โค้ช (coach) ถา่ ยทอดความรู้เก่ยี วกับหลักการของโมเดล STRONG และการต่อต้านการทจุ ริตให้แก่ผู้ท่ีอาศยั อยู่ใน ชุมชน รวมถึงยังมีการจัดต้ังชมรม STRONG เพื่อให้ทุกภาคส่วนมคี วามตระหนักรู้เลง็ เหน็ ถงึ ความสาคัญของปัญหา การทจุ ริตและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวงั และแจ้งเบาะแสการทุจริต
99 แผนภาพที่ 2 หลักสูตรต้านทจุ ริตศึกษา เรอื่ ง การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี กลมุ่ ทหาร ตารวจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
10 4. หน่วยการเรียนรู้ หนว่ ย เวลา เนื้อหาสาระ ที่ (ชว่ั โมง) ชอ่ื หน่วย จุดประสงค์การเรยี นรู้ การพทิ ักษ์ ก ทรพั ยากรธรรมชาตทิ างธรณี 1 ธรณีวทิ ยาน่ารู้ 1 - ผู้เรยี นมคี วามรคู้ วาม สร เข้าใจเบ้ืองต้นเกีย่ วกับ - ธรณีวิทยาทัว่ ไป และกาเนดิ คณุ ธรณวี ิทยา ทรัพยากร ทรัพยากรธรณี (หิน/ดิน/แร/่ ตื่น ธรณี ธาตหุ ายาก/พลงั งาน/ซากดึก ผเู้ ร - ผเู้ รียนมที ักษะในการ ดาบรรพ์) แล แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ - แผนทธ่ี รณวี ทิ ยาและ ขอ - ผู้เรยี นวิเคราะหส์ ภาพ ศกั ยภาพแหลง่ ทรัพยากรธรณี ขอ ทรัพยากรธรณใี นพ้ืนท่ี - แหลง่ ทรัพยากรธรณี และ ชอ ใกล้ตวั ได้ ศกั ยภาพแหล่งหนิ /แร่ ปร - แผนทสี่ ารสนเทศทรัพยากร บงั ธรณี (GIS) : เหมอื งแรใ่ นอดตี , สถ เหมอื งแรใ่ นปัจจุบันและการ ทุจ พัฒนาในอนาคต เฝา้ - ธรณีพิบัตภิ ยั กบั กา ชวี ติ ประจาวนั ให คว :N ทจุ ร้า ระ
00 ะ แหล่งเรยี นรู้ วิธกี าร การต่อตา้ นการทจุ ริต วิธจี ดั การเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้ ประเมนิ ผล ร้างความตระหนกั รู้ถึง - บรรยาย - เอกสารความรู้ - เวบ็ ไซต์พิพิธภณั ฑ์ - การสังเกต - ตวั อยา่ ง ทางธรณวี ิทยา พฤติกรรม ณค่าของทรัพยากรธรณี - การสอนเป็น ทรัพยากรธรณี - เวบ็ ไซต์ - การทดสอบ - สอื่ ออนไลน์ ช้นั หินโผล่ - การประเมนิ นรู้ (Realize: R) ทีม (Team - แอปพลิเคชัน่ (Outcrop) หนิ /แร่ ตนเอง - อนิ โฟ และจุดสาคญั ทาง รยี นมคี วามรู้ความเข้าใจ base Learning) กราฟฟกิ ธรณวี ทิ ยา - โมชน่ั กราฟฟกิ ละตระหนกั รูถ้ งึ รากเหงา้ - การสอนแบบ องปัญหาและภยั รา้ ยแรง สมั มนา องการทุจรติ ประพฤตมิ ิ อบภายในชุมชนและ ระเทศ ความตน่ื รจู้ ะ งเกิดเม่อื ได้พบเห็น ถานการณ์ท่ีเสยี่ งตอ่ การ จริต ยอ่ มจะมีปฏกิ ริ ยิ า าระวังและไมย่ ินยอมต่อ ารทุจริตในทสี่ ดุ ซ่ึงตอ้ ง หค้ วามร้คู วามเข้าใจ วามรู้ (Knowledge N)เก่ียวกบั สถานการณ์ จรติ ท่ีเกดิ ข้นึ ความ ายแรงและผลกระทบตอ่ ะดบั บุคคลและสว่ นรวม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315