Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กรอบโครงสร้าง ต้านทุจริต

กรอบโครงสร้าง ต้านทุจริต

Published by Indytitle Channel, 2022-07-07 08:41:18

Description: กรอบโครงสร้าง ต้านทุจริต

Keywords: ต้านทุจริต

Search

Read the Text Version

32 *แผนภาพท่ี 1 โมเดล STRONG – จติ พอเพียงตา้ นทุจริต ปี พ.ศ. 2562 จากแผนภาพข้างต้น สามารถอธบิ ายนยิ ามเชงิ ปฏบิ ัติการได้ ดงั น้ี (1) พอเพยี ง (Sufficient : S) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมที่ระดับท่ีแตกต่างกันตามวิธีคิด สภาพความพร้อมและ ความสามารถ รวมทง้ั ตามสถานภาพทางเศรษฐกิจและสงั คมของบคุ คลและครอบครัว กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดท่ีแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และ เป็นอัตโนมัติจะนาไปสู่จิตสานึกท่ีพอเพียง ไม่กอบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน ไม่เบียดบังรัฐ ไม่รับอามิสสินบนโดยมิต้องจากัดขอบเขตของการประกอบอาชีพท่ีสุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงินทองได้ตาม ความสามารถ ทง้ั นี้ โดยไม่เดือดรอ้ นตนเองและผูอ้ ื่น (2) โปรง่ ใส (Transparent: T) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความโปรง่ ใส ทาใหเ้ หน็ ภาพหรอื ปรากฏการณช์ ดั เจน กลไกหลัก คอื สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ และวิธีสงั เกตเกีย่ วกบั ความโปรง่ ใสของโครงการต่าง ๆ (3) ตน่ื รู้ (Realize: R) คานิยามปี พ.ศ. 2562 เมอ่ื บุคคลร้พู ษิ ภัยของการทจุ รติ และไมท่ นทจ่ี ะเห็นการทุจรติ เกดิ ขน้ึ กลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์การทุจริตในพ้ืนท่ี ในชุมชน หรือในกรณีท่ีปรากฏการทุจริตขึ้น หรอื กรณีศกึ ษาทีเ่ กิดข้นึ มาแล้วและมีคาพิพากษาถึงท่ีสุดแล้ว

33 (4) มุ่งไปข้างหนา้ (Onward: O) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การไมม่ ีการทจุ รติ ของภาครฐั จะทาให้เงินภาษถี กู นาไปใช้ในการพฒั นาอย่างเต็มท่ี กลไกหลัก คือ การป้องกันและการป้องปราม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังพื้นที่ที่มี ความเส่ยี ง ในการทุจรติ เช่น การบุกรกุ พน้ื ท่สี าธารณะ หรอื เฝา้ ระวงั โครงการให้ดาเนนิ การด้วยความโปร่งใส (5) ความรู้ (Knowledge: N) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความร้ดู ้านตา่ ง ๆ มคี วามจาเปน็ ตอ่ การป้องกันและปอ้ งปรามการทจุ รติ กลไกหลกั คอื การใหค้ วามรใู้ นรปู แบบการฝึกอบรม หรือใหส้ ่ือเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเน่อื ง เช่น (1) ความรเู้ กี่ยวกบั รปู แบบการทุจริตแบบตา่ ง ๆ ทงั้ แบบสมัยอดีต แบบปจั จบุ นั และแบบที่อาจจะ เกดิ ขน้ึ ในอนาคต (2) ความรู้เกี่ยวกบั การทจุ รติ ในต่างประเทศ (3) วธิ กี ารป้องกนั - ปอ้ งปรามแบบตา่ ง ๆ (4) ความรูเ้ กย่ี วกับการเฝ้าระวัง (5) ความรู้เก่ียวกบั กฎหมายที่เก่ยี วขอ้ ง (6) เออื้ อาทร (Generosity: G) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การพัฒนาสงั คมไทยให้มีน้าใจ โอบออ้ มอารี เอ้ือเฟอ้ื เผ่ือแผ่ โดยไม่มีผลประโยชนต์ อบแทนหรือหวัง ผลตอบแทน ในฐานะเพือ่ นมนษุ ย์ กลไกหลัก กิจกรรมจิตอาสา ช่วยเหลอื บคุ คล ชุมชน/สงั คมในยามวิกฤติ หรอื การร่วมมือในการร่วม พฒั นาชมุ ชน จากนยิ ามข้างตน้ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจรติ จึงหมายถงึ ผ้ทู ่ีมีความพอเพียง ไม่เบียดเบยี นตนเอง และผู้อ่ืน (S) มงุ่ อนาคตทีเ่ จริญทงั้ ตนเองและสว่ นรวม (O) โดยใช้หลกั ความโปรง่ ใสตรวจสอบได้ (T) พนื้ ฐานจติ ใจมี มนุษยธรรมเอื้ออาทร ช่วยเหลอื เพ่ือนมนุษยโ์ ดยไม่เห็นแก่ประโยชน์ต่างตอบแทน (G) ให้ความสาคัญต่อการเรยี นรู้ ตลอดชีวิต เพ่ือการดารงชีวิตในทางที่ชอบ (N) แต่ต่ืนรู้เร่ืองภัยทุจริตท่ีร้ายแรงส่งผลต่อสังคม รังเกียจการทุจริต ประพฤตมิ ชิ อบทง้ั ปวง ไมย่ อมทนตอ่ การทุจริตทุกรปู แบบ (R) นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการพัฒนาโมเดล STRONG โดยเพิ่มในเร่ืองของการมีส่วนร่วม (Participation) อันเป็นกลไกสาคัญในการเช่ือมโยงและขับเคลื่อนหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การป้องกัน การทุจริตได้เป็นรูปธรรมอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการเผยแพร่หลักการของโมเดล STRONG สู่ชุมชน จะดาเนินการ โดยสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด และมีการคัดเลือกผู้แทน/ผู้นาชุมชนในจังหวัดท่ีมีเครือข่าย มีความสามารถ และทักษะในการถ่ายทอดองค์ความรู้มาอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับโมเดล STRONG การนาไป ประยุกต์ใช้ในการการต่อต้านการทุจริต เช่น การคิดแยกแยะผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ความไม่ ทนและความอายต่อการทุจรติ หลักการจิตพอเพียงด้วยวิธกี ารที่เหมาะสม เป็นต้น เพ่ือให้ผู้ได้รับการคัดเลือกเปน็

34 โค้ช (coach) ถา่ ยทอดความรเู้ กีย่ วกับหลักการของโมเดล STRONG และการต่อตา้ นการทจุ ริตให้แก่ผู้ท่ีอาศยั อยู่ใน ชุมชน รวมถึงยังมีการจัดตั้งชมรม STRONG เพ่ือให้ทุกภาคส่วนมคี วามตระหนักรู้เล็งเหน็ ถงึ ความสาคัญของปญั หา การทจุ รติ และมีสว่ นร่วมในการเฝา้ ระวงั และแจง้ เบาะแสการทจุ รติ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและความสาคญั ของ Digital Disruption หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 โอกาสและภัยทเ่ี กิดจาก Digital Disruption หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โอกาสในการลดการทจุ ริตในสถานการณ์ Digital Disruption หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 นวัตกรรมการต่อตา้ นทจุ ริต ในสถานการณ์ Digital Disruption

3 ที่ ชอ่ื หน่วย วัตถุประสงค์ เวลา เน้อื หาสาระ Digital Disruption การตอ่ ต 1 ความหมายและ· อธบิ ายความหมาย 1 ▪ ภาพรวมของ DD STRONG M ความสาคญั ของ สาเหตุ รปู แบบ - ความหมาย N – ความร Digital ลกั ษณะ กฎหมายที่ - รูปแบบ เทา่ ทันตอ่ ส Disruption เกยี่ วขอ้ ง เกี่ยวกบั - ตัวอยา่ ง Digital Disruption ทเ่ี กิดขน้ึ Digital Disruption ▪ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง - พรบ.ข้อมูลขา่ วสารฯ - พรบ.คอมพวิ เตอรฯ์ - พรบ.ขอ้ มูลสว่ นบคุ คล - พรบ.ความมัน่ คงทางไซเบอร์ · ระบคุ วามสาคัญ 1 ▪ ความหมายของขอ้ มลู STRONG M และประเภทของ ▪ ประเภทของขอ้ มลู N – ความร “ข้อมูล” ทง้ั ขอ้ มลู (private/public) เท่าทนั ตอ่ ส ส่วนบุคคล และ ▪ ลกั ษณะเฉพาะของขอ้ มลู ทีเ่ กิดขน้ึ ข้อมลู สาธารณะ ตัวอยา่ งใชป้ ระโยชนข์ อ้ มลู · ระบุความสมั พนั ธ์ 1 ▪ บทบาทขององคก์ ร STRONG M ของผู้มสี ่วนไดส้ ว่ น ท่เี กย่ี วขอ้ ง (ผ้เู ลน่ /ผู้ใช้/ผคู้ ุม) N – ความร เสียในทกุ มิติ Digital asset เท่าทนั ตอ่ ส (Cryptocurrency/Telecom) ทเี่ กดิ ขึ้น 2 โอกาสและภยั ท· ่ี อธิบายโอกาส 2 ▪ โอกาสเชงิ บวกของการใช้ STRONG M เกิดจาก Digital ทเ่ี กิดจาก Digital เทคโนโลยใี นการตอ่ ต้านทจุ ริต T – มุง่ สร้า Disruption Disruption กรณีศึกษาโอกาสเชิงบวกของ การเปดิ เผย การใช้เทคโนโลยีในการตอ่ ตา้ น ความรบั ผิด การทุจรติ O – มุ่งข้าง ป้องกนั หร N – ความร ต่อสถานกา อธิบายภยั ที่เกิดจาก 2 ▪ โอกาสทางลบของการใช้ STRONG M Digital Disruption เทคโนโลยีในการทุจรติ R – ตืน่ รู้ ต กรณีศึกษาภยั ของเทคโนโลยี การแสวงหา ในการทุจริต อนั มชิ อบ O – มงุ่ ข้าง ปอ้ งกนั หร

35 ตา้ นการทจุ รติ วธิ ีการเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ แหลง่ การ การประเมินผล เรียนรู้ Model บรรยายในชั้นเรียน ส่ือออนไลน์ เขียนอธบิ าย รู้ มีความรู้ สบื ค้นขอ้ มลู สอ่ื ออฟไลน์ ความหมายหรือ สถานการณ์ (Intermediate) บันทึกผล การเรียนรู้ Model บรรยายในชั้นเรยี น ส่อื ออนไลน์ วิเคราะหต์ าม รู้ มีความรู้ สืบคน้ ข้อมูล สื่อออฟไลน์ วัตถปุ ระสงค์ สถานการณ์ วิเคราะหก์ รณศี กึ ษา โดยการตอบ (Intermediate) สอื่ ออนไลน์ คาถามในชั้นเรยี น ส่อื ออฟไลน์ Model บรรยายในชั้นเรยี น วิเคราะห์ตาม รู้ มคี วามรู้ สืบค้นข้อมูล สื่อออนไลน์ วตั ถุประสงค์ สถานการณ์ วิเคราะหก์ รณศี ึกษา ส่ือออฟไลน์ โดยการตอบ (Intermediate) คาถามในชน้ั เรยี น Model บรรยายในชน้ั เรยี น สื่อออนไลน์ ประเมินจากการ างความโปร่งใส อภปิ รายกลมุ่ แลกเปลย่ี น สื่อออฟไลน์ อธบิ ายในการ ยข้อมูล เรียนรู้ในชั้นเรียน อภปิ ราย ดชอบ (Intermediate) งหนา้ เพือ่ แก้ไข ประเมินจากการ รอื พัฒนา บรรยายในชั้นเรยี น อธบิ ายในการ รู้ มีความรู้เทา่ ทัน อภิปรายกลุม่ แลกเปล่ยี น อภิปราย ารณ์ท่เี กดิ ขน้ึ เรยี นรู้ในชน้ั เรียน Model (Intermediate) ต่อพษิ ภยั ของ าโอกาส งหนา้ เพอ่ื แกไ้ ข รอื พัฒนา

3 ท่ี ชื่อหนว่ ย วัตถปุ ระสงค์ เวลา เน้ือหาสาระ Digital Disruption การต่อต N – ความร ต่อสถานกา 3 โอกาสในการลด อธบิ าย 1 ▪ General Governance STRONG M การทุจรติ ใน หลักธรรมาภิบาล ▪ IT Governance T – มุ่งสรา้ สถานการณ์ กบั การใช้เทคโนโลยี ▪ Data Governance การเปิดเผย Digital การประเมิน Governance ความรบั ผดิ Disruption O – มงุ่ ขา้ ง ป้องกัน หร N – ความร ต่อสถานกา ระบวุ ธิ กี ารและ 2 ▪ เครือ่ งมอื ตอ่ ต้านทจุ ริต STRONG M เคร่อื งมือในการ - Feedback system and T – มุ่งสร้า ต่อตา้ นการทุจริตใน Whistle blowing การเปดิ เผย ภาคส่วนตา่ ง ๆ เช่น - Transparency and Open ความรบั ผิด ในภาครัฐ data R – ตน่ื รู้ ต ภาคเอกชน - อ่ืน ๆ เช่น design thinking การแสวงหา ภาคสงั คม ภาคสือ่ in public service อนั มชิ อบ และในกล่มุ O – มุ่งข้าง ประชาชนท่วั ไป ป้องกัน หร N – ความร ตอ่ สถานกา เกิดการตนื่ รู้และ 3 การทดลองปฏิบัตใิ นเครอ่ื งมือ STRONG M พรอ้ มลงมือตอ่ ต้าน T – มุ่งสร้า การทุจริตใน การเปดิ เผย สถานการณ์ digital ความรับผิด disruption ผา่ น R – ตื่นรู้ ต เครอื่ งมือต่าง ๆ การแสวงหา อย่างถกู ตอ้ ง อนั มิชอบ O – มุ่งขา้ ง ป้องกนั หร N – ความร ตอ่ สถานกา

36 ต้านการทจุ รติ วิธีการเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ แหล่งการ การประเมนิ ผล สอ่ื ออนไลน์ เรยี นรู้ รู้ มีความรู้เทา่ ทัน บรรยายในช้นั เรยี น สอื่ ออฟไลน์ ารณ์ทเ่ี กดิ ขนึ้ สบื คน้ ข้อมลู วิเคราะหต์ าม วเิ คราะห์กรณศี ึกษา สื่อออนไลน์ วตั ถุประสงคโ์ ดยการ Model (Intermediate) สอ่ื ออฟไลน์ ตอบคาถามในชั้น างความโปรง่ ใส เรียน ยข้อมูล บรรยายในชน้ั เรียน ดชอบ สืบค้นข้อมูล ถามตอบในชั้นเรียน งหนา้ เพือ่ แก้ไข วิเคราะห์กรณีศึกษา และสงั เกตพฤติกรรม รือพัฒนา (Intermediate) รู้ มีความรเู้ ท่าทัน ารณท์ ี่เกิดขึ้น Model างความโปรง่ ใส ยขอ้ มูล ดชอบ ตอ่ พษิ ภยั ของ าโอกาส งหนา้ เพื่อแก้ไข การอภปิ รายกรณตี ัวอยา่ งท่ี ส่ือออนไลน์ วิเคราะห์ตาม รอื พัฒนา ใกล้ตัว ส่อื ออฟไลน์ วัตถุประสงค์โดยการ รู้ มคี วามรเู้ ทา่ ทัน ตอบคาถามในชนั้ ารณท์ เ่ี กิดขน้ึ เรียน Model างความโปร่งใส ยข้อมลู ดชอบ ตอ่ พษิ ภยั ของ าโอกาส งหนา้ เพอ่ื แก้ไข รอื พฒั นา รู้ มีความรู้เท่าทนั ารณ์ที่เกิดขน้ึ

3 ท่ี ชือ่ หนว่ ย วตั ถปุ ระสงค์ เวลา เนื้อหาสาระ 4 นวตั กรรมการ Digital Disruption การต่อต ต่อตา้ นทจุ รติ ในสถานการณ์ อธบิ ายตัวอยา่ ง - ▪ นวัตกรรมส่งเสริมการ Digital Disruption นวตั กรรมการ ปอ้ งกนั ทจุ ริต ป้องกนั และตอ่ ตา้ น ▪ นวัตกรรมต่อต้านทจุ ริต การทุจริตใน สถานการณ์ Digital -ภาครัฐ Disruption -ภาคเอกขน สรา้ งนวัตกรรมการ - แนวคดิ ในการสร้างนวัตกรรม ต่อต้านการทจุ ริตใน การตอ่ ตา้ นทุจรติ สถานการณ์ Digital Disruption

37 ต้านการทุจรติ วิธกี ารเรยี นรู้ สอื่ การเรียนรู้ แหล่งการ การประเมนิ ผล - เรียนรู้ - - -- -

38 5. แนวทางการจดั การเรยี นรแู้ ละประเมินผล จัดการเรียนการสอนแบบเนื้อหาสาระ (Content Based Learning) โดยผู้สอนเป็นโค้ชจัดกระบวนการ เพ่อื ช้แี นะให้นักศึกษาวเิ คราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้าความรเู้ พิ่มเติมจนได้องค์ความรเู้ พ่ือสร้างเป็นโครงงานนวัตกรรม ต้านการทุจริต และการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เพื่อประเมินว่าพฤติกรรมท่ีนักศึกษา แสดงนนั้ สามารถสะท้อนความสามารถท่แี ท้จรงิ ได้ ประกอบกับการพัฒนาหลักสูตรโดยใช้การเรียนรู้ online learning โดยร่วมกับสถาบันการศึกษาหรือ องค์กรเอกชน และมีการประเมินผลจากการตอบคาถาม Multiple choice ในลักษณะ Gamification เช่น Trivia Board game ประกอบกับประเมนิ จากผลงานในการจัดทา Project assignment 6. แนวทางการนาหลกั สตู รไปใช้ (1) ทหาร - หลักสตู รตามแนวทางการรบั ราชการและหลักสูตรเพิ่มพนู ความรู้ (2) ตารวจ - หลักสูตรฝกึ อบรมท่ีเล่ือนตาแหน่งสูงข้นึ และหลกั สตู รฝกึ อบรมอื่น ๆ (3) บุคลากรองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน - หลักสูตรฝกึ อบรมท่เี ล่ือนตาแหน่งสูงขน้ึ และหลักสตู รฝึกอบรมอื่น ๆ

39 หลกั สตู รต้านทจุ ริตศกึ ษา เรอื่ ง การตา้ นทุจรติ ในสถานการณ์การเปลยี่ นฉับพลันทางเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Disruption) สาหรบั กลุ่มวิทยากร ป.ป.ช. / บุคลากรภาครัฐ และรฐั วสิ าหกิจ 1. ความเปน็ มาของหลักสตู ร ปัจจุบันโลกเข้าสู่สถานการณ์ข้อมูลข่าวสาร ซ่ึงวิทยาการต่าง ๆ เป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิต ความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยที าใหร้ ูปแบบการดาเนินชวี ติ มคี วามสะดวกสบายขึน้ การประกอบธุรกิจอาศัยข้อมูลใน การคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ การบริการลูกค้า และเศรษฐกิจได้กลายเป็นระบบเศรษฐกิจโลก การเปล่ียนแปลงน้ีเอง กอ่ ใหเ้ กดิ ปรากฏการท่เี รยี กว่า Digital Disruption ซงึ่ หมายถึงการเปลยี่ นแปลงส่ิงท่เี ป็นอยู่อยา่ งรนุ แรงและรวดเร็ว ทาให้มีผลกระทบมากมาย สิ่งเหล่านี้เกิดข้ึนจากเทคโนโลยีการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต ทาให้เกิดการส่งข้อมูล ข่าวสารถงึ กันไดต้ ลอดเวลา เทคโนโลยปี ัญญาประดิษฐ์ที่ชว่ ยใหว้ ินิจฉัยปัญหาต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ อปุ กรณต์ ่าง ๆ เชอื่ มตอ่ กนั ผ่านอนิ เทอรเ์ นต็ หรือท่เี รียกวา่ IoT (Internet of Things) สาหรับประเทศไทยรัฐบาลได้แถลงนโยบาย “Digital Economy” (เศรษฐกิจดิจิทัล) ก่อให้เกิดการปรับ โครงสร้างกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเป็น “กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม” เพ่ือเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศด้วยการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยดี จิ ิทลั เปน็ เคร่ืองมือใน รปู แบบ “ดิจิทัลไทยแลนด์” (Digital Thailand) ซงึ่ จะส่งผลให้เกิดการปฏิรูปกระบวนทัศน์ในการทางานในภาคราชการ และภาคธรุ กิจอยา่ งรวดเรว็ จากสถานการณ์นี้เองทาให้มีการนาเทคโนโลยีไปใช้ในเชิงทุจริตได้มากข้ึน สานักงาน ป.ป.ช. ได้ตระหนักถึง ปัญหาเหล่านี้เป็นอย่างดี จึงได้จัดการปรับปรุงหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาให้ทันสมัยขึ้น โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ Digital Disruption, ทรัพยากรน้า, ทรัพยากรธรณี โดยจะนาไปสอดแทรกในการศึกษาทุกระดับ ได้แก่ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ระดับอุดมศึกษา รวมถึงหลักสูตรการฝึกอบรม ได้แก่ กลุ่มทหาร ตารวจ และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ กลมุ่ วิทยากร ป.ป.ช./บุคลากรภาครฐั และรัฐวิสาหกจิ และกล่มุ โคช้ สาหรับกลุ่มวิทยากรตัวคูณน้ัน ถือเป็นกลุ่มท่ีมีความสาคัญเป็นอย่างมากที่จะต้องมีการเรียนรู้เกี่ยวกับ Digital Disruption เพ่ือให้เท่าทันต่อความเปล่ียนแปลงของโลก และเท่าทันต่อการทุจริตในโลกสถานการณ์ Digital Disruption รวมไปถึงมสี ่วนรว่ มในการตอ่ ต้านการทจุ ริตดว้ ย นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ การอธิบายความหมายการใช้คาตามศัพท์บัญญัติของสานักงานราชบัณฑิตยสภา โดยคณะกรรมการจัดทา พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เม่ือวันท่ี 28 มิถุนายน 2562 ได้กาหนด/บัญญัติ คาว่า Digital Disruption คือ การเปล่ียนฉับพลันทางดิจิทัล กล่าวคือ การเปล่ียนรูปแบบการทางานให้ใช้คอมพิวเตอร์ ในลักษณะทก่ี ้าวหนา้ ขนึ้ จนอาจถึงขนั้ ไม่ต้องใช้แรงงานคน มกั เปน็ การเปลย่ี นอยา่ งทนั ทที นั ใดจนทาใหร้ ูปแบบการ ทางานแบบเดิมต้องยุติลง เช่น การใช้หุ่นยนต์ทางานซ้าซากแทนแรงงานคน การถ่ายภาพที่ใช้ฟิล์มมาเป็นการใช้ กล้องดิจิทัลซ่ึงบันทึกภาพเป็นข้อมูลทันที การทาให้อุปกรณ์ต่าง ๆ มีความสามารถในการตัดสินใจเองโดยใช้ หลักการปัญญาประดิษฐ์ โดยในหลักสูตรต้านทุจริตศึกษานี้ จะใช้คาว่า “Digital Disruption” ตลอดทั้งเล่ม หลักสูตร เพื่อทีจ่ ะสอ่ื ความหมายไดโ้ ดยตรงในยุคดจิ ทิ ัลเพ่ือการรับรู้

40 2. วตั ถุประสงคข์ องหลกั สตู ร 2.1 มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ Digital Disruption รวมไปถึงสามารถวิเคราะห์ถึงโอกาสและภัยที่เกิด จาก Digital Disruption 2.2 ทราบถึงวิธีการ เครื่องมือต่าง ๆ ในการสร้างความโปร่งใสและการต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption และมีความต่ืนรู้ในการมีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption ผา่ นเคร่ืองมอื ต่าง ๆ อยา่ งถูกต้อง 2.3 สามารถมีแนวคิดเก่ียวกับนวัตกรรมในการป้องกันและต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption 3. โครงสร้างเน้อื หาสาระ ระยะเวลา (ชม.) ลาดับ เนอ้ื หาสาระ 3 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ความหมายและความสาคัญของ Digital Disruption 4 - ความหมายความสาคัญ 9 - รูปแบบและลกั ษณะของ Digital Disruption - กฎหมายที่เกยี่ วข้อง 3 19 2 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 โอกาสและภัยที่เกดิ จาก Digital Disruption - โอกาสเชงิ บวกของการใช้เทคโนโลยีในการตอ่ ตา้ นทุจรติ - ภยั ของการใชเ้ ทคโนโลยีในการทจุ รติ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โอกาสในการลดการทจุ รติ ในสถานการณ์ Digital Disruption - General Governance cooperate governance and compliance - IT Governance - Data Governance - เคร่ืองมอื ต่อตา้ นการทุจริต 4 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 นวัตกรรมการต่อต้านทุจรติ ในสถานการณ์ Digital Disruption - นวัตกรรมสง่ เสรมิ การป้องกนั ทจุ ริต - นวตั กรรมต่อตา้ นทจุ ริต รวม โมเดล STRONG เป็นการนาตัวอักษรแรกของศัพท์ภาษาอังกฤษท่ีมีความหมายเชิงบวกจานวน 6 คา มาประกอบเป็นคาศัพท์ส่ือความหมายถึง “ความแข็งแกร่ง” ของบุคคลและองค์กรในการต่อต้านการทุจริต โดยมี ความมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้านทุจริต ร่วมกันพัฒนาชุมชนให้ก้าวไปข้างหน้าด้วยการป ระยุกต์และ บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับความโปร่งใส การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม การตระหนักรู้และใส่ใจปัญหาการทุจริต และร่วมกันพัฒนาชุมชนให้มีความเอ้ืออาทรบนพื้นฐานของ จริยธรรมและจิตพอเพียง ตลอดจนเกิดเครือข่ายชมุ ชนจิตพอเพียงต้านทุจริตและเป็นแกนนาสร้างวัฒนธรรมไมท่ น

41 ต่อการทุจริต ซึ่งโมเดล STRONG ได้มีการสร้างและพัฒนาโดยรองศาสตราจารย์ ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ต้งั แต่ ปี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงไดด้ ังแผนภาพ ดังนี้ *แผนภาพที่ 1 โมเดล STRONG – จติ พอเพียงต้านทุจริต ปี พ.ศ. 2562 จากแผนภาพขา้ งต้น สามารถอธบิ ายนยิ ามเชงิ ปฏิบตั ิการได้ ดังนี้ (1) พอเพียง (Sufficient : S) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมที่ระดับที่แตกต่างกันตามวิธีคิด สภาพความพร้อมและ ความสามารถ รวมทั้งตามสถานภาพทางเศรษฐกจิ และสงั คมของบคุ คลและครอบครวั กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดที่แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และ เป็นอัตโนมัติจะนาไปสู่จิตสานึกที่พอเพียง ไม่กอบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดบังรัฐ ไม่รับอามิสสินบนโดยมิต้องจากัดขอบเขตของการประกอบอาชีพที่สุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงินทองได้ตาม ความสามารถ ท้ังน้ี โดยไมเ่ ดอื ดรอ้ นตนเองและผู้อื่น (2) โปรง่ ใส (Transparent: T) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความโปร่งใส ทาใหเ้ ห็นภาพหรอื ปรากฏการชัดเจน กลไกหลัก คือ สรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจ และวธิ สี ังเกตเกี่ยวกบั ความโปรง่ ใสของโครงการตา่ ง ๆ (3) ตื่นรู้ (Realize: R) คานิยามปี พ.ศ. 2562

42 เม่อื บคุ คลร้พู ษิ ภัยของการทจุ รติ และไม่ทนที่จะเหน็ การทจุ ริตเกดิ ข้นึ กลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์การทุจริตในพ้ืนท่ี ในชุมชน หรือในกรณีที่ปรากฏการทุจริตขึ้น หรอื กรณศี ึกษาทีเ่ กดิ ขึน้ มาแล้วและมีคาพิพากษาถึงท่ีสดุ แลว้ (4) มุ่งไปขา้ งหนา้ (Onward: O) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 การไม่มีการทุจรติ ของภาครัฐ จะทาใหเ้ งนิ ภาษีถกู นาไปใชใ้ นการพัฒนาอย่างเต็มที่ กลไกหลัก คือ การป้องกันและการป้องปราม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังพื้นที่ที่มี ความเสยี่ ง ในการทุจริต เช่น การบุกรุกพ้ืนทีส่ าธารณะ หรอื เฝ้าระวังโครงการใหด้ าเนนิ การดว้ ยความโปรง่ ใส (5) ความรู้ (Knowledge: N) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความรู้ด้านต่าง ๆ มีความจาเปน็ ตอ่ การป้องกันและป้องปรามการทจุ รติ กลไกหลกั คือ การให้ความร้ใู นรปู แบบการฝกึ อบรม หรือใหส้ อ่ื เรยี นร้อู ย่างตอ่ เนอื่ ง เชน่ (1) ความรู้เกี่ยวกบั รปู แบบการทจุ ริตแบบต่าง ๆ ทั้งแบบสมัยอดีต แบบปจั จุบนั และแบบทอ่ี าจจะ เกดิ ขน้ึ ในอนาคต (2) ความรู้เกย่ี วกับการทจุ ริตในตา่ งประเทศ (3) วธิ ีการปอ้ งกัน - ปอ้ งปรามแบบตา่ ง ๆ (4) ความรเู้ ก่ยี วการเฝา้ ระวัง (5) ความรเู้ กย่ี วกบั กฎหมายท่เี กีย่ วขอ้ ง (6) เอ้อื อาทร (Generosity: G) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การพัฒนาสังคมไทยให้มนี ้าใจ โอบอ้อมอารี เอื้อเฟอ้ื เผื่อแผ่ โดยไม่มผี ลประโยชนต์ อบแทนหรือหวัง ผลตอบแทน ในฐานะเพ่ือนมนษุ ย์ กลไกหลกั กิจกรรมจิตอาสา ช่วยเหลอื บุคคล ชุมชน/สงั คมในยามวิกฤติ หรอื การรว่ มมือในการร่วม พฒั นาชมุ ชน จากนิยามข้างต้น STRONG : จิตพอเพยี งต้านทุจริต จงึ หมายถึง ผทู้ ี่มคี วามพอเพยี ง ไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อนื่ (S) มุ่งอนาคตทเี่ จรญิ ทง้ั ตนเองและส่วนรวม (O) โดยใชห้ ลักความโปรง่ ใสตรวจสอบได้ (T) พน้ื ฐานจติ ใจมี มนุษยธรรมเอื้ออาทร ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์โดยไม่เห็นแก่ประโยชนต์ ่างตอบแทน (G) ให้ความสาคัญต่อการเรยี นรู้ ตลอดชีวิต เพ่ือการดารงชีวิตในทางที่ชอบ (N) แต่ต่ืนรู้เรื่องภัยทุจริตท่ีร้ายแรงส่งผลต่อสังคม รังเกียจการทุจริต ประพฤติมิชอบทง้ั ปวง ไม่ยอมทนต่อการทุจริตทุกรปู แบบ (R) นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการพัฒนาโมเดล STRONG โดยเพ่ิมในเร่ืองของการมีส่วนร่วม (Participation) อันเป็นกลไกสาคัญในการเชื่อมโยงและขับเคลื่อนหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การป้องกัน การทุจริตได้เป็นรูปธรรมอย่างมีประสิทธภิ าพ ซึ่งการเผยแพร่หลักการของโมเดล STRONG สู่ชุมชน จะดาเนินการ โดยสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด และมีการคัดเลือกผู้แทน/ผู้นาชุมชนในจังหวัดที่มีเครือข่าย มีความสามารถ

43 และทักษะในการถ่ายทอดองค์ความรู้มาอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโมเดล STRONG การนาไป ประยุกต์ใช้ในการการต่อต้านการทุจริต เช่น การคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต หลักการจิตพอเพียงด้วยวิธีการที่เหมาะสม เป็นต้น เพ่ือให้ผู้ได้รับการ คัดเลือกเป็นโค้ช (coach) ถ่ายทอดความรู้เก่ียวกับหลักการของโมเดล STRONG และการต่อต้านการทุจริตให้แก่ ผู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชน รวมถึงยังมีการจัดต้ังชมรม STRONG เพื่อให้ทุกภาคส่วนมีความตระหนักรู้เล็งเห็นถึง ความสาคญั ของปัญหาการทจุ รติ และมสี ่วนรว่ มในการเฝา้ ระวังและแจง้ เบาะแสการทจุ ริต 4. หน่วยการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ความหมายและความสาคัญของ Digital Disruption หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 โอกาสและภัยท่ีเกดิ จาก Digital Disruption หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 โอกาสในการลดการทจุ รติ ในสถานการณ์ Digital Disruption หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 นวตั กรรมการต่อต้านทจุ รติ ในสถานการณ์ Digital Disruption

4 ที่ ชือ่ หนว่ ย วตั ถปุ ระสงค์ เวลา Digital Disruption เนื้อหาสาระ การต่อตา้ น 1 ความหมายและ · อธบิ ายความหมาย 1 ▪ ภาพรวมของ DD STRONG M ความสาคญั ของ สาเหตุ รปู แบบ - ความหมาย N – ความร Digital ลกั ษณะ กฎหมาย - รูปแบบ เท่าทนั ตอ่ ส Disruption ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง - ตัวอย่าง Digital Disruption ทเ่ี กดิ ข้นึ เกยี่ วกบั Digital ▪ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง Disruption - พรบ.ขอ้ มูลขา่ วสารฯ - พรบ.คอมพวิ เตอรฯ์ - พรบ.ขอ้ มูลสว่ นบุคคล - พรบ.ความม่ันคงทางไซเบอร์ · ระบคุ วามสาคัญ 1 ▪ ความหมายของขอ้ มลู STRONG M และประเภทของ ▪ ประเภทของข้อมูล N – ความร “ขอ้ มูล” ทง้ั ขอ้ มูล (private/public) เท่าทนั ต่อส สว่ นบุคคล และ ▪ ลักษณะเฉพาะของขอ้ มูล ที่เกดิ ข้ึน ข้อมูลสาธารณะ ตัวอยา่ งใชป้ ระโยชนข์ อ้ มลู · ระบคุ วามสมั พนั ธ์ 1 ▪ บทบาทขององคก์ รท่ี STRONG M ของผ้มู สี ่วนได้สว่ น เกย่ี วขอ้ ง (ผู้เล่น/ผใู้ ช/้ ผูค้ ุม) N – ความร เสียในทกุ มติ ิ Digital asset เทา่ ทันต่อส (Cryptocurrency/Telecom) ที่เกิดขน้ึ 2 โอกาสและภยั ที่ · อธิบายโอกาสทเ่ี กดิ 2 ▪ โอกาสเชิงบวกของการใช้ STRONG M เกดิ จาก Digital จาก Digital เทคโนโลยใี นการตอ่ ต้านทจุ ริต T – ม่งุ สรา้ Disruption Disruption กรณศี ึกษาโอกาสเชงิ บวกของ การเปิดเผย การใช้เทคโนโลยีในการต่อตา้ น ความรบั ผดิ การทจุ รติ O – มงุ่ ขา้ ง แก้ไข ป้องก N – ความร เทา่ ทันตอ่ ส ทีเ่ กิดขึ้น อธิบายภยั ท่เี กดิ 2 ▪ โอกาสทางลบของการใช้ STRONG M จาก Digital เทคโนโลยใี นการทุจริต R – ตน่ื รู้ ต Disruption กรณศี กึ ษาภยั ของเทคโนโลยี การแสวงหา ในการทจุ ริต อนั มชิ อบ

44 นการทจุ ริต วิธกี ารเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ การประเมนิ ผล Model บรรยายในชั้นเรยี น สื่อออนไลน์ เขียนอธบิ าย รู้ มคี วามรู้ สืบค้นข้อมูล สอ่ื ออฟไลน์ ความหมายหรอื สถานการณ์ (Intermediate) บันทกึ ผล การเรยี นรู้ Model บรรยายในชน้ั เรียน ส่ือออนไลน์ วเิ คราะห์ตาม รู้ มคี วามรู้ สบื ค้นขอ้ มูล สื่อออฟไลน์ วัตถุประสงค์ สถานการณ์ วเิ คราะหก์ รณีศกึ ษา โดยการตอบ (Intermediate) คาถามในช้นั เรียน Model บรรยายในชน้ั เรียน สื่อออนไลน์ วิเคราะห์ตาม รู้ มีความรู้ สืบคน้ ขอ้ มูล สอ่ื ออฟไลน์ วตั ถุประสงค์ สถานการณ์ วิเคราะหก์ รณีศกึ ษา โดยการตอบ (Intermediate) สื่อออนไลน์ คาถามในชั้นเรยี น Model สื่อออฟไลน์ ประเมินจากการ างความโปร่งใส บรรยายในชนั้ เรยี น อธบิ ายในการ ยขอ้ มูล อภิปรายกลมุ่ แลกเปลีย่ น อภิปราย ดชอบ เรยี นรู้ในชน้ั เรียน งหนา้ เพ่ือ (Intermediate) ประเมินจากการ กัน หรือพฒั นา อธิบายในการ รู้ มคี วามรู้ อภิปราย สถานการณ์ Model บรรยายในช้ันเรียน สื่อออนไลน์ ตอ่ พษิ ภยั ของ อภิปรายกลุ่มแลกเปลี่ยน สอ่ื ออฟไลน์ าโอกาส เรยี นร้ใู นชั้นเรียน (Intermediate)

4 ท่ี ช่ือหน่วย วัตถปุ ระสงค์ เวลา Digital Disruption เนอื้ หาสาระ การตอ่ ตา้ น 3 โอกาสในการลด การทุจรติ ใน O – มงุ่ ข้าง สถานการณ์ Digital แก้ไข ปอ้ งก Disruption N – ความร เทา่ ทันตอ่ ส ทเ่ี กดิ ข้ึน อธบิ าย 3 ▪ General Governance STRONG M หลกั ธรรมาภบิ าล ▪ IT Governance T – มงุ่ สร้า กับการใช้ ▪ Data Governance การเปดิ เผย เทคโนโลยี การประเมนิ Governance ความรบั ผิด O – มุ่งขา้ ง แกไ้ ข ปอ้ งก N – ความร เท่าทนั ตอ่ ส ทเ่ี กดิ ขน้ึ ระบวุ ิธกี ารและ 3 ▪ เครอ่ื งมอื ต่อตา้ นทจุ ริต STRONG M เคร่ืองมือในการ - Feedback system and T – ม่งุ สร้า ต่อต้านการทจุ รติ Whistle blowing การเปดิ เผย ในภาคส่วนตา่ ง ๆ - Transparency and Open ความรับผดิ เชน่ ในภาครฐั data R – ตนื่ รู้ ต ภาคเอกชน ภาค - อืน่ ๆ เช่น design thinking การแสวงหา สังคม ภาคสื่อ และ in public service อันมชิ อบ ในกล่มุ ประชาชน O – ม่งุ ขา้ ง ทว่ั ไป แก้ไข ป้องก N – ความร เทา่ ทนั ต่อส ท่ีเกดิ ขน้ึ เกิดการต่ืนรแู้ ละ 3 การทดลองปฏิบตั ิในเครอื่ งมือ STRONG M พร้อมลงมือต่อตา้ น T – ม่งุ สร้า การทุจริตใน การเปดิ เผย สถานการณ์ ความรบั ผิด Digital Disruption ผา่ น

45 นการทจุ ริต วิธีการเรยี นรู้ ส่ือการเรียนรู้ แหล่งการเรยี นรู้ การประเมินผล งหนา้ เพอื่ กนั หรอื พฒั นา รู้ มีความรู้ สถานการณ์ Model บรรยายในชั้นเรียน สื่อออนไลน์ วเิ คราะหต์ าม างความโปรง่ ใส สบื ค้นข้อมลู ส่ือออฟไลน์ วตั ถปุ ระสงค์ ยขอ้ มลู วเิ คราะห์กรณศี กึ ษา โดยการตอบ ดชอบ (Advanced) คาถามในชนั้ เรียน งหนา้ เพอ่ื กนั หรอื พฒั นา รู้ มีความรู้ สถานการณ์ Model บรรยายในช้ันเรียน สอ่ื ออนไลน์ ถามตอบในชน้ั างความโปรง่ ใส สบื คน้ ข้อมลู สอ่ื ออฟไลน์ เรยี นและสงั เกต ยข้อมลู วเิ คราะห์กรณศี ึกษา พฤติกรรม ดชอบ (Advanced) ต่อพษิ ภยั ของ าโอกาส งหนา้ เพื่อ กัน หรอื พัฒนา รู้ มีความรู้ สถานการณ์ Model การอภปิ รายกรณีตัวอยา่ ง สือ่ ออนไลน์ ตอบคาถามใน างความโปรง่ ใส ทใี่ กล้ตวั และฝึกทกั ษะ สื่อออฟไลน์ ชัน้ เรียน ยข้อมลู การเป็นวทิ ยากร ดชอบ

4 ท่ี ช่อื หน่วย วตั ถุประสงค์ เวลา Digital Disruption เน้อื หาสาระ การตอ่ ตา้ น เครื่องมอื ต่าง ๆ R – ตนื่ รู้ ต อย่างถูกตอ้ ง การแสวงหา อนั มชิ อบ O – มงุ่ ขา้ ง แกไ้ ข ปอ้ งก N – ความร เทา่ ทนั ตอ่ ส ทเี่ กิดขึ้น 4 นวตั กรรมการ อธบิ ายตัวอย่าง 3 ▪ นวัตกรรมส่งเสรมิ การ STRONG M ต่อต้านทุจรติ นวตั กรรมการ ป้องกันทจุ ริต T – ม่งุ สรา้ ใน ปอ้ งกนั และตอ่ ตา้ น ▪ นวตั กรรมตอ่ ต้านทจุ รติ การเปดิ เผย สถานการณ์Digital การทุจรติ ใน ความรับผิด Disruption สถานการณ์ - ภาครัฐ R – ตน่ื รู้ ต Digital - ภาคเอกขน การแสวงหา Disruption อนั มชิ อบ O – มุ่งขา้ ง แก้ไข ป้องก N – ความร เทา่ ทนั ต่อส ท่ีเกดิ ขน้ึ สร้างนวัตกรรมการ - แนวคิดในการสร้างนวัตกรรม - ต่อตา้ นการทุจริต การต่อตา้ นทจุ รติ ในสถานการณ์ Digital Disruption

46 นการทุจรติ วธิ ีการเรยี นรู้ ส่อื การเรียนรู้ แหลง่ การเรยี นรู้ การประเมนิ ผล ต่อพษิ ภยั ของ าโอกาส งหนา้ เพือ่ กนั หรือพัฒนา รู้ มคี วามรู้ สถานการณ์ Model บรรยายในชน้ั เรียน ส่อื ออนไลน์ ตอบคาถามใน างความโปร่งใส วเิ คราะห์กรณศี ึกษา สือ่ ออฟไลน์ ช้นั เรียน ยขอ้ มูล อภปิ รายกลมุ่ ดชอบ (Advanced) ตอ่ พษิ ภยั ของ าโอกาส งหนา้ เพ่อื กนั หรือพฒั นา รู้ มีความรู้ สถานการณ์ - --

47 5. แนวทางการจดั การเรียนร้แู ละประเมินผล จัดการเรียนการสอนแบบเนื้อหาสาระ (Content Based Learning) โดยผู้สอนเป็นโค้ชจัดกระบวนการ เพอื่ ชแ้ี นะให้นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้าความรเู้ พิ่มเติมจนได้องค์ความรู้เพ่ือสร้างเป็นโครงงานนวัตกรรม ต้านการทุจริต และการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เพื่อประเมินว่าพฤติกรรมท่ีนักศึกษา แสดงนนั้ สามารถสะท้อนความสามารถท่ีแท้จริงได้ ประกอบกับการพัฒนาหลักสูตรโดยใช้การเรียนรู้ Online learning โดยร่วมกับสถาบันการศึกษาหรือ องค์กรเอกชน และมีการประเมินผลจากการตอบคาถาม Multiple choice ในลักษณะ Gamification เช่น Trivia Board game ประกอบกับประเมินจากผลงานในการจัดทา Project assignment 6. แนวทางการนาหลักสตู รไปใช้ (1) ใชฝ้ กึ อบรมใหก้ บั เจา้ หน้าทข่ี องสานกั งาน ป.ป.ช. (2) ใชฝ้ กึ อบรมใหก้ ับโคช้ STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทุจริต (3) ใชฝ้ กึ อบรมให้กบั บุคลากรภาครฐั และรฐั วิสาหกจิ

48 หลกั สตู รต้านทจุ รติ ศึกษา เร่ือง การตา้ นทุจรติ ในสถานการณ์การเปลยี่ นฉบั พลนั ทางเทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Disruption) สาหรับ กลมุ่ โค้ช 1. ความเป็นมาของหลักสูตร ปัจจุบันโลกเข้าสู่สถานการณ์ข้อมูลข่าวสาร ซ่ึงวิทยาการต่าง ๆ เป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิต ความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยที าใหร้ ปู แบบการดาเนนิ ชีวติ มีความสะดวกสบายขน้ึ การประกอบธรุ กจิ อาศัยข้อมูลใน การคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ การบริการลูกค้า และเศรษฐกิจได้กลายเป็นระบบเศรษฐกิจโลก การเปล่ียนแปลงน้ีเอง กอ่ ใหเ้ กดิ ปรากฏการทีเ่ รียกว่า Digital Disruption ซึ่งหมายถงึ การเปลย่ี นแปลงสงิ่ ทเ่ี ปน็ อย่อู ยา่ งรุนแรงและรวดเร็ว ทาให้มีผลกระทบมากมาย สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นจากเทคโนโลยีการส่ือสารผ่านอินเทอร์เน็ต ทาให้เกิดการส่งข้อมูล ขา่ วสารถงึ กันไดต้ ลอดเวลา เทคโนโลยีปญั ญาประดิษฐ์ทช่ี ว่ ยให้วนิ ิจฉัยปัญหาตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว อุปกรณ์ต่าง ๆ เชอื่ มต่อกนั ผา่ นอนิ เทอร์เน็ต หรือทเ่ี รยี กว่า IoT (Internet of Things) สาหรับประเทศไทยรัฐบาลได้แถลงนโยบาย “Digital Economy” (เศรษฐกิจดิจิทัล) ก่อให้เกิดการปรับ โครงสร้างกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็น “กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม” เพื่อเพิ่ม ขดี ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกจิ ของประเทศดว้ ยการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยดี ิจิทลั เปน็ เคร่ืองมือใน รปู แบบ “ดิจทิ ัลไทยแลนด์” (Digital Thailand) ซึ่งจะสง่ ผลให้เกิดการปฏิรูปกระบวนทัศน์ในการทางานในภาคราชการ และภาคธรุ กจิ อยา่ งรวดเรว็ จากสถานการณ์น้ีเองทาให้มีการนาเทคโนโลยีไปใช้ในเชิงทุจริตได้มากขึ้น สานักงาน ป.ป.ช. ได้ตระหนักถึง ปัญหาเหล่าน้ีเป็นอย่างดี จึงได้จัดการปรับปรุงหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาให้ทันสมัยข้ึน โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ Digital Disruption, ทรัพยากรน้า, ทรัพยากรธรณี โดยจะนาไปสอดแทรกในการศึกษาทุกระดับ ได้แก่ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ระดับอุดมศึกษา รวมถึงหลักสูตรการฝึกอบรม ได้แก่ กลุ่มทหาร ตารวจ และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ กลุม่ วทิ ยากร ป.ป.ช./บุคลากรภาครฐั และรฐั วิสาหกจิ และกลมุ่ โคช้ สาหรับกลุ่มโค้ชนั้น ถือเป็นกลุ่มท่ีมีความสาคัญเป็นอย่างมากที่จะต้องมีการเรียนรู้เก่ียวกับ Digital Disruption เพื่อให้เท่าทันต่อความเปล่ียนแปลงของโลก และเท่าทันต่อการทุจริตในโลกสถานการณ์ Digital Disruption รวมไปถึงมีส่วนร่วมในการตอ่ ต้านการทุจริตด้วย นิยามศัพท์เฉพาะ การอธิบายความหมายการใช้คาตามศัพท์บัญญัติของสานักงานราชบัณฑิตยสภา โดยคณะกรรมการจัดทา พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2562 ได้กาหนด/บัญญัติ คาว่า Digital Disruption คือ การเปลี่ยนฉับพลันทางดิจิทัล กล่าวคือ การเปล่ียนรูปแบบการทางานให้ใช้คอมพิวเตอร์ ในลักษณะทกี่ า้ วหนา้ ข้ึน จนอาจถึงขัน้ ไม่ต้องใชแ้ รงงานคน มักเปน็ การเปลยี่ นอย่างทันทที ันใดจนทาใหร้ ูปแบบการ ทางานแบบเดิมต้องยุติลง เช่น การใช้หุ่นยนต์ทางานซ้าซากแทนแรงงานคน การถ่ายภาพที่ใช้ฟิล์มมาเป็นการใช้ กล้องดิจิทัลซึ่งบันทึกภาพเป็นข้อมูลทันที การทาให้อุปกรณ์ต่าง ๆ มีความสามารถในการตัดสินใจเองโดยใช้ หลักการปัญญาประดิษฐ์ โดยในหลักสูตรต้านทุจริตศึกษานี้ จะใช้คาว่า “Digital Disruption” ตลอดทั้งเล่มหลักสูตร เพ่อื ทีจ่ ะสือ่ ความหมายไดโ้ ดยตรงในยคุ ดจิ ทิ ลั เพื่อการรบั รู้

49 2. วตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร 2.1 มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ Digital Disruption รวมไปถึงสามารถวิเคราะห์ถึงโอกาสและภัยที่เกิด จาก Digital Disruption 2.2 ทราบถึงวิธีการ เครื่องมือต่างๆ ในการสร้างความโปร่งใสและการต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption และมีความต่ืนรู้ในการมีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption ผ่านเคร่ืองมือตา่ งๆ อย่างถูกตอ้ ง 2.3 สามารถมีแนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรมในการป้องกันและต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption 3. โครงสร้างเนื้อหาสาระ ระยะเวลา (ชม.) ลาดับ เนอื้ หาสาระ 2 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายและความสาคัญของ Digital Disruption 2 - ความหมายความสาคญั 6 - รูปแบบและลกั ษณะของ Digital Disruption - กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง 3 13 2 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 โอกาสและภัยที่เกดิ จาก Digital Disruption - โอกาสเชิงบวกของการใช้เทคโนโลยใี นการต่อตา้ นทจุ ริต - ภยั ของการใชเ้ ทคโนโลยใี นการทจุ ริต 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โอกาสในการลดการทจุ รติ ในสถานการณ์ Digital Disruption - General Governance cooperate governance and compliance - IT Governance - Data Governance - เครอื่ งมือต่อตา้ นการทุจรติ 4 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 นวตั กรรมการต่อตา้ นทุจรติ ในสถานการณ์ Digital Disruption - นวัตกรรมส่งเสรมิ การป้องกนั ทุจริต - นวัตกรรมตอ่ ตา้ นทุจรติ รวม โมเดล STRONG เป็นการนาตัวอักษรแรกของศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีความหมายเชิงบวกจานวน 6 คา มาประกอบเป็นคาศัพท์สื่อความหมายถึง “ความแข็งแกร่ง” ของบุคคลและองค์กรในการต่อต้านการทุจริต โดยมี ความมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้านทุจริต ร่วมกันพัฒนาชุมชนให้ก้าวไปข้างหน้าด้วยการประยุกต์และ บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับความโปร่งใส การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม การตระหนักรู้และใส่ใจปัญหาการทุจริต และร่วมกันพัฒนาชุมชนให้มีความเอื้ออาทรบนพ้ืนฐานของ จริยธรรมและจิตพอเพียง ตลอดจนเกิดเครอื ข่ายชุมชนจิตพอเพียงต้านทุจริตและเป็นแกนนาสรา้ งวฒั นธรรมไม่ทน

50 ต่อการทุจริต ซึ่งโมเดล STRONG ได้มีการสร้างและพัฒนาโดย รองศาสตราจารย์ ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงได้ดังแผนภาพ ดังน้ี *แผนภาพท่ี 1 โมเดล STRONG – จติ พอเพียงต้านทุจริต ปี พ.ศ. 2562 จากแผนภาพขา้ งตน้ สามารถอธบิ ายนิยามเชงิ ปฏิบัติการได้ ดงั นี้ (1) พอเพียง (Sufficient : S) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมท่ีระดับท่ีแตกต่างกันตามวิธีคิด สภาพความพร้อมและ ความสามารถ รวมทง้ั ตามสถานภาพทางเศรษฐกจิ และสงั คมของบุคคลและครอบครัว กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดที่แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และ เป็นอัตโนมัติจะนาไปสู่จิตสานึกที่พอเพียง ไม่กอบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน ไม่เบียดบังรัฐ ไม่รับอามิสสินบนโดยมิต้องจากัดขอบเขตของการประกอบอาชีพท่ีสุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงินทองได้ตาม ความสามารถ ท้ังน้ี โดยไมเ่ ดอื ดร้อนตนเองและผอู้ ่นื (2) โปร่งใส (Transparent: T) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความโปรง่ ใส ทาให้เห็นภาพหรือปรากฏการชัดเจน กลไกหลกั คอื สร้างความรู้ความเขา้ ใจ และวิธสี งั เกตเกย่ี วกบั ความโปรง่ ใสของโครงการต่าง ๆ (3) ต่ืนรู้ (Realize: R) คานิยามปี พ.ศ. 2562

51 เม่อื บคุ คลร้พู ษิ ภัยของการทุจรติ และไมท่ นที่จะเห็นการทจุ ริตเกิดข้นึ กลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์การทุจริตในพื้นท่ี ในชุมชน หรือในกรณีท่ีปรากฏการทุจริตข้ึน หรอื กรณศี ึกษาทีเ่ กดิ ขึน้ มาแล้วและมีคาพิพากษาถึงท่ีสดุ แลว้ (4) มุ่งไปขา้ งหนา้ (Onward: O) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 การไม่มีการทุจรติ ของภาครัฐ จะทาให้เงนิ ภาษีถูกนาไปใชใ้ นการพัฒนาอย่างเต็มท่ี กลไกหลัก คือ การป้องกันและการป้องปราม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังพื้นที่ท่ีมี ความเสยี่ ง ในการทุจริต เช่น การบุกรุกพ้ืนทสี่ าธารณะ หรือเฝา้ ระวังโครงการให้ดาเนนิ การดว้ ยความโปรง่ ใส (5) ความรู้ (Knowledge: N) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความรู้ด้านต่าง ๆ มีความจาเปน็ ตอ่ การปอ้ งกันและป้องปรามการทุจรติ กลไกหลกั คือ การให้ความรู้ในรปู แบบการฝกึ อบรม หรือใหส้ ่อื เรยี นรู้อย่างตอ่ เนื่อง เชน่ (1) ความรู้เกี่ยวกบั รปู แบบการทจุ ริตแบบตา่ ง ๆ ทงั้ แบบสมยั อดีต แบบปจั จบุ ัน และแบบที่อาจจะ เกดิ ขน้ึ ในอนาคต (2) ความรู้เกย่ี วกับการทจุ ริตในตา่ งประเทศ (3) วธิ ีการปอ้ งกัน - ปอ้ งปรามแบบตา่ ง ๆ (4) ความรเู้ ก่ยี วการเฝา้ ระวัง (5) ความรเู้ กย่ี วกบั กฎหมายท่เี กีย่ วขอ้ ง (6) เอ้อื อาทร (Generosity: G) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การพัฒนาสังคมไทยให้มนี ้าใจ โอบออ้ มอารี เอื้อเฟ้อื เผ่ือแผ่ โดยไมม่ ีผลประโยชนต์ อบแทนหรือหวัง ผลตอบแทน ในฐานะเพ่ือนมนษุ ย์ กลไกหลกั กิจกรรมจิตอาสา ช่วยเหลือบุคคล ชุมชน/สงั คมในยามวิกฤติ หรอื การรว่ มมือในการร่วม พฒั นาชมุ ชน จากนิยามข้างต้น STRONG : จิตพอเพยี งต้านทจุ ริต จึงหมายถึง ผทู้ ม่ี ีความพอเพียง ไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อนื่ (S) มุ่งอนาคตทเี่ จรญิ ทง้ั ตนเองและส่วนรวม (O) โดยใช้หลกั ความโปรง่ ใสตรวจสอบได้ (T) พน้ื ฐานจติ ใจมี มนุษยธรรมเอื้ออาทร ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์โดยไม่เห็นแก่ประโยชนต์ ่างตอบแทน (G) ให้ความสาคัญต่อการเรยี นรู้ ตลอดชีวิต เพ่ือการดารงชีวิตในทางที่ชอบ (N) แต่ต่ืนรู้เร่ืองภัยทุจริตที่ร้ายแรงส่งผลต่อสังคม รังเกียจการทุจริต ประพฤติมิชอบทง้ั ปวง ไม่ยอมทนต่อการทุจริตทุกรปู แบบ (R) นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการพัฒนาโมเดล STRONG โดยเพิ่มในเรื่องของการมีส่วนร่วม (Participation) อันเป็นกลไกสาคัญในการเชื่อมโยงและขับเคลื่อนหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การป้องกัน การทุจริตได้เป็นรูปธรรมอย่างมีประสิทธภิ าพ ซึ่งการเผยแพร่หลักการของโมเดล STRONG สู่ชุมชน จะดาเนินการ โดยสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด และมีการคัดเลือกผู้แทน/ผู้นาชุมชนในจังหวัดท่ีมีเครือข่าย มีความสามารถ

52 และทกั ษะในการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้มาอบรมใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั โมเดล STRONG การนาไปประยุกต์ใช้ ในการการต่อต้านการทุจริต เช่น การคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนและความ อายต่อการทุจริต หลักการจิตพอเพียงด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม เป็นต้น เพื่อให้ผู้ได้รับการคัดเลือกเป็นโค้ช (coach) ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับหลักการของโมเดล STRONG และการต่อต้านการทุจริตให้แก่ผู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชน รวมถึง ยังมีการจดั ตงั้ ชมรม STRONG เพ่ือให้ทุกภาคสว่ นมคี วามตระหนักรู้เล็งเหน็ ถึงความสาคัญของปัญหาการทจุ ริตและ มีสว่ นรว่ มในการเฝา้ ระวงั และแจง้ เบาะแสการทจุ รติ 4. หน่วยการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 ความหมายและความสาคัญของ Digital Disruption หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 โอกาสและภัยทเี่ กดิ จาก Digital Disruption หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 โอกาสในการลดการทุจรติ ในสถานการณ์ Digital Disruption หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 นวตั กรรมการต่อตา้ นทุจรติ ในสถานการณ์ Digital Disruption

5 ที่ ชอื่ หนว่ ย วตั ถปุ ระสงค์ เวลา Digital Disruption เนื้อหาสาระ ก 1 ความหมายและ · อธิบายความหมาย 1 ▪ ภาพรวมของ DD S ความสาคัญของ สาเหตุ รปู แบบ - ความหมาย N Digital ลักษณะ กฎหมาย - รูปแบบ เท Disruption ที่เก่ยี วขอ้ ง เกีย่ วกบั - ตัวอยา่ ง Digital Disruption ท Digital Disruption ▪ กฎหมายที่เกย่ี วขอ้ ง - พรบ.ข้อมูลขา่ วสารฯ - พรบ.คอมพวิ เตอรฯ์ - พรบ.ขอ้ มูลสว่ นบคุ คล - พรบ.ความมนั่ คงทางไซเบอร์ · ระบุความสาคญั และ 0.5 ▪ ความหมายของขอ้ มูล S ประเภทของ ▪ ประเภทของข้อมลู N “ข้อมลู ” ทงั้ ข้อมูล (private/public) เท ส่วนบคุ คล และ ▪ ลักษณะเฉพาะของข้อมลู ท ขอ้ มูลสาธารณะ ตัวอยา่ งใชป้ ระโยชนข์ อ้ มูล · ระบคุ วามสัมพนั ธข์ อง 0.5 ▪ บทบาทขององค์กรทเี่ กี่ยวข้อง S ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี ใน (ผูเ้ ลน่ /ผู้ใช้/ผคู้ มุ ) N ทกุ มติ ิ Digital asset เท (Cryptocurrency/Telecom) ท 2 โอกาสและภยั ท่ี · อธบิ ายโอกาส 1 ▪ โอกาสเชิงบวกของการใช้ S เกดิ จาก Digital ท่เี กิดจาก Digital เทคโนโลยใี นการตอ่ ต้านทจุ ริต T Disruption Disruption กรณศี กึ ษาโอกาสเชิงบวกของการใช้ ก เทคโนโลยใี นการต่อต้านการทจุ รติ ค O แ พ N เท ท อธบิ ายภยั ทเ่ี กดิ จาก 1 ▪ โอกาสทางลบของการใช้ S Digital Disruption เทคโนโลยีในการทุจรติ R กรณศี กึ ษาภยั ของเทคโนโลยี ก ในการทจุ ริต อ

53 การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ วธิ กี ารเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ แหลง่ การ การประเมินผล เรียนรู้ STRONG Model บรรยายในชน้ั เรียน สอ่ื ออนไลน์ เขยี นอธิบาย N – ความรู้ มคี วามรู้ สบื คน้ ข้อมูล สื่อออฟไลน์ ความหมายหรือ ทา่ ทันตอ่ สถานการณ์ (Basic) บันทึกผล ทเี่ กิดขน้ึ การเรียนรู้ STRONG Model บรรยายในชน้ั เรยี น สอ่ื ออนไลน์ วิเคราะห์ตาม N – ความรู้ มีความรู้ สืบค้นขอ้ มลู สอื่ ออฟไลน์ วัตถุประสงค์ ท่าทันต่อสถานการณ์ วเิ คราะห์กรณีศกึ ษา โดยการตอบ ทีเ่ กดิ ข้ึน (Basic) คาถามในชนั้ เรียน STRONG Model บรรยายในชัน้ เรียน สอ่ื ออนไลน์ วิเคราะหต์ าม N – ความรู้ มคี วามรู้ สบื คน้ ข้อมลู สอ่ื ออฟไลน์ วตั ถุประสงค์ ทา่ ทนั ตอ่ สถานการณ์ อภิปรายกลมุ่ สื่อออนไลน์ โดยการตอบ ทีเ่ กดิ ข้ึน (Basic) สื่อออฟไลน์ คาถามในช้ันเรียน บรรยายในชั้นเรยี น วเิ คราะหต์ าม STRONG Model วเิ คราะหก์ รณีศึกษา สอ่ื ออนไลน์ วัตถุประสงค์ T – มุง่ สร้างความโปร่งใส อภปิ รายกลมุ่ ส่ือออฟไลน์ โดยการตอบ การเปดิ เผยขอ้ มูล (Basic) คาถามในช้นั เรียน ความรบั ผดิ ชอบ O – มงุ่ ขา้ งหนา้ เพอื่ บรรยายในชน้ั เรยี น วเิ คราะหต์ าม แกไ้ ข ปอ้ งกนั หรอื วเิ คราะห์กรณศี ึกษา วตั ถุประสงค์ พัฒนา อภปิ รายกล่มุ โดยการตอบ N – ความรู้ มีความรู้ (Basic) คาถามในช้นั เรียน ทา่ ทันตอ่ สถานการณ์ ที่เกดิ ขน้ึ STRONG Model R – ตื่นรู้ ตอ่ พษิ ภยั ของ การแสวงหาโอกาส อนั มิชอบ

5 ท่ี ชอื่ หนว่ ย วัตถุประสงค์ เวลา Digital Disruption เน้อื หาสาระ ก O แ พ N เท ท 3 โอกาสในการลด อธิบาย 1 ▪ General Governance S การทุจริต หลกั ธรรมาภิบาลกบั ▪ IT Governance T ในสถานการณ์ การใชเ้ ทคโนโลยี ▪ Data Governance ก Digital การประเมิน Governance ค Disruption O แ พ N เท ท ระบวุ ิธกี ารและ 2 ▪ เครือ่ งมอื ตอ่ ต้านทุจริต S เครื่องมือในการ - Feedback system and T ตอ่ ต้านการทจุ ริตใน Whistle blowing ก ภาคส่วนตา่ ง ๆ เช่น - Transparency and Open ค ในภาครัฐ ภาคเอกชน data R ภาคสังคม ภาคส่ือ - อ่ืน ๆ เชน่ design thinking in ก และในกลมุ่ ประชาชน public service อ ทั่วไป O แ พ N เท ท เกิดการตนื่ รแู้ ละ 3 การทดลองปฏิบัติในเครอื่ งมอื S พรอ้ มลงมอื ตอ่ ต้าน

54 การตอ่ ต้านการทุจริต วธิ กี ารเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ แหลง่ การ การประเมนิ ผล เรียนรู้ วเิ คราะห์ตาม O – มุ่งขา้ งหนา้ เพ่ือ บรรยายในชั้นเรยี น สอ่ื ออนไลน์ วตั ถุประสงค์ แก้ไข ปอ้ งกนั หรือ สบื ค้นขอ้ มลู สอ่ื ออฟไลน์ โดยการตอบ พัฒนา วิเคราะห์กรณศี ึกษา คาถามในชน้ั เรียน N – ความรู้ มคี วามรู้ (Intermediate) สอ่ื ออนไลน์ ทา่ ทนั ต่อสถานการณ์ สือ่ ออฟไลน์ ถามตอบในช้นั ที่เกดิ ขนึ้ บรรยายในชั้นเรียน เรียนและสงั เกต สืบคน้ ข้อมลู สอ่ื ออนไลน์ พฤติกรรม STRONG Model วเิ คราะห์กรณศี ึกษา ส่อื ออฟไลน์ T – ม่งุ สร้างความโปร่งใส (Intermediate) ประเมินจากผล การเปดิ เผยข้อมูล การทากจิ กรรม ความรับผิดชอบ การอภปิ รายกรณี O – มุ่งขา้ งหนา้ เพือ่ ตวั อยา่ งท่ใี กล้ตัวและ แก้ไข ป้องกัน หรอื พฒั นา N – ความรู้ มีความรู้ ทา่ ทนั ตอ่ สถานการณ์ ทีเ่ กิดขึน้ STRONG Model T – มุง่ สรา้ งความโปร่งใส การเปดิ เผยข้อมลู ความรับผิดชอบ R – ต่ืนรู้ ตอ่ พษิ ภยั ของ การแสวงหาโอกาส อนั มชิ อบ O – มงุ่ ข้างหนา้ เพอ่ื แกไ้ ข ปอ้ งกนั หรอื พฒั นา N – ความรู้ มีความรู้ ทา่ ทันต่อสถานการณ์ ท่เี กดิ ขนึ้ STRONG Model

5 ท่ี ช่อื หนว่ ย วัตถุประสงค์ เวลา Digital Disruption เนอ้ื หาสาระ ก การทจุ ริตใน T สถานการณ์ Digital ก Disruption ผา่ น ค เครอื่ งมือต่าง ๆ R อยา่ งถกู ตอ้ ง ก ช O แ พ N เท ท 4 นวัตกรรมการ อธบิ ายตัวอย่าง 3 ▪ นวตั กรรมส่งเสรมิ การปอ้ งกนั S ต่อต้านทุจริต นวตั กรรมการปอ้ งกนั ทจุ รติ T ใน และตอ่ ตา้ นการทุจริต ▪ นวัตกรรมต่อตา้ นทจุ ริต ก ค สถานการณ์Digital ในสถานการณ์ -ภาครฐั R -ภาคเอกขน ก Disruption Digital Disruption อ O แ พ N เท ท สร้างนวัตกรรมการ - แนวคดิ ในการสรา้ งนวัตกรรม ต่อตา้ นการทจุ ริตใน การต่อตา้ นทจุ รติ สถานการณ์ Digital Disruption

55 การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ วธิ กี ารเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ แหล่งการ การประเมนิ ผล ฝึกทักษะการเป็น เรยี นรู้ T – มุ่งสรา้ งความโปร่งใส โค้ช สอื่ ออนไลน์ ตอบตาถามใน การเปิดเผยข้อมลู สื่อออฟไลน์ - ช้ันเรียน ความรับผดิ ชอบ บรรยายในช้นั เรยี น R – ต่ืนรู้ ตอ่ พษิ ภยั อง วเิ คราะห์กรณศี กึ ษา - - การแสวงหาโอกาส อันมิ อภิปรายกลุม่ ชอบ (Intermediate)) O – มุ่งขา้ งหนา้ เพ่ือ แก้ไข ปอ้ งกัน หรอื - พัฒนา N – ความรู้ มีความรู้ ทา่ ทนั ตอ่ สถานการณ์ ที่เกดิ ข้นึ STRONG Model T – มุ่งสรา้ งความโปร่งใส การเปดิ เผยขอ้ มูล ความรับผิดชอบ R – ตื่นรู้ ตอ่ พษิ ภยั ของ การแสวงหาโอกาส อันมิชอบ O – ม่งุ ขา้ งหนา้ เพอ่ื แกไ้ ข ปอ้ งกัน หรือ พฒั นา N – ความรู้ มีความรู้ ท่าทันต่อสถานการณ์ ท่เี กิดขนึ้

56 5. แนวทางการจัดการเรยี นรแู้ ละประเมินผล จัดการเรียนการสอนแบบเน้ือหาสาระ (Content Based Learning) โดยผู้สอนเป็นโค้ชจัดกระบวนการ เพื่อชี้แนะใหน้ กั ศึกษาวเิ คราะห์กรณีศกึ ษา ค้นคว้าความรู้เพิม่ เติมจนได้องค์ความรู้เพอ่ื สร้างเปน็ โครงงานนวัตกรรม ต้านการทุจริต และการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เพื่อประเมินว่าพฤติกรรมที่นักศึกษา แสดงน้ันสามารถสะท้อนความสามารถที่แท้จรงิ ได้ ประกอบกับการพัฒนาหลักสูตรโดยใช้การเรียนรู้ Online learning โดยร่วมกับสถาบันการศึกษาหรือ องคก์ รเอกชน และมีการประเมินผลจากการตอบคาถาม Multiple choice ในลักษณะ Gamification เช่น Trivia Board game ประกอบกบั ประเมนิ จากผลงานในการจดั ทา Project assignment 6. แนวทางการนาหลักสูตรไปใช้ (1) ใชฝ้ ึกอบรมใหก้ ับเจา้ หน้าทีข่ องสานกั งาน ป.ป.ช. (2) ใช้ฝกึ อบรมให้กบั โค้ช STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทุจริต (3) ใชฝ้ กึ อบรมให้กับบุคลากรภาครฐั

หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา พ.ศ. 2564 เรื่อง การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี

ตารางสรุปภาพรวม เรื่อง การพิทักษ์ทรัพย Main Concept หนว่ ยการเรียนรู้ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (มัธยมศึกษาตอนต้น) (มัธยมศึกษาตอนปลาย) หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 --ธรณีวิทยาและการ - ทรัพยากรธรณี คอื อะไร - ทรัพยากรธรณีสาคญั กาเนิดแหลง่ ทรัพยากร - ประเภททรัพยากรธรณี อย่างไร (ตระหนักรู้ ธรณี คอื อะไร (หิน/ดิน/แร)่ คณุ คา่ ของทรัพยากรธรณ)ี -ประเภททรัพยากรธรณี - ประโยชน์ของ - รลู้ กึ รจู้ ริงทรัพยากรธรณี (หิน/ดิน/แร)่ และการใช้ ทรัพยากรธรณี - ธรณีวิทยาน่ารู้ ประโยชน์ - ผลกระทบจากการใช้ -การสารวจและการ ทรัพยากรธรณี พัฒนาทรัพยากรธรณี ตระหนักรู้คณุ คา่ ของทรัพยากรธรณี - ผลกระทบจากการใช้ ทรัพยากรธรณี (ทางตรง และทางออ้ ม)

ข-1 ยากรธรรมชาตทิ างธรณี ตามกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาตามกลุ่มเป้าหมาย อดุ มศึกษา ทหาร/ตารวจ/องคก์ ร โค้ช กลุ่มวิทยากร ป.ป.ช./ ปกครองส่วนท้องถิ่น บุคลากร ภาครัฐ และ รัฐวิสาหกิจ - ธรณีวิทยาท่ัวไป และกาเนิด - ธรณีวิทยาทั่วไป และ - ธรณีวิทยาทั่วไป และ - ธรณีวิทยาทั่วไป และ ทรัพยากรธรณี (หิน/ดนิ /แร/่ กาเนิดทรัพยากรธรณี กาเนิดทรัพยากรธรณี กาเนิดทรัพยากรธรณี ธาตหุ ายาก/พลงั งาน/ซากดึกดา (หิน/ดิน/แร/่ ธาตหุ า (หิน/ดนิ /แร/่ ธาตุหา (หิน/ดิน/แร/่ ธาตุหา บรรพ์) ยาก/พลงั งาน/ซากดึกดา ยาก/พลังงาน/ซากดกึ ดา ยาก/พลังงาน/ซากดกึ ดา - แผนท่ีธรณีวิทยาและศกั ยภาพ บรรพ์) บรรพ์) บรรพ์) แหลง่ ทรัพยากรธรณี - แผนที่ธรณีวิทยาและ - แผนท่ีธรณีวิทยาและ - แผนท่ีธรณีวิทยาและ - แหลง่ ทรัพยากรธรณี และ ศักยภาพแหล่งทรัพยากร ศกั ยภาพแหลง่ ทรัพยากร ศกั ยภาพแหล่งทรัพยากร ศกั ยภาพแหลง่ หิน/แร่ ธรณี ธรณี ธรณี - แผนท่ีสารสนเทศทรัพยากร - แหลง่ ทรัพยากรธรณี - แหลง่ ทรัพยากรธรณี - แหล่งทรัพยากรธรณี ธรณี (GIS) : เหมืองแร่ในอดีต, และศกั ยภาพแหล่งหิน/แร่ และศกั ยภาพแหล่งหิน/แร่ และศักยภาพแหล่งหิน/แร่ เหมืองแร่ในปัจจุบันและการ - แผนที่สารสนเทศ - แผนท่ีสารสนเทศ - แผนท่ีสารสนเทศ พัฒนาในอนาคต ทรัพยากรธรณี (GIS) : ทรัพยากรธรณี (GIS) : ทรัพยากรธรณี (GIS) : - ธรณีพิบัตภิ ยั กบั ชวี ิตประจาวัน เหมืองแร่ในอดตี ,เหมือง เหมืองแร่ในอดตี ,เหมือง เหมืองแร่ในอดีต,เหมือง แร่ในปัจจบุ ันและการ แร่ในปัจจบุ ันและการ แร่ในปัจจุบันและการ พัฒนาในอนาคต พัฒนาในอนาคต พัฒนาในอนาคต - ธรณีพิบัติภัยกบั - ธรณีพิบัตภิ ัยกับ - ธรณีพิบัติภัยกบั ชวี ิตประจาวัน ชีวิตประจาวัน ชีวิตประจาวัน

ตารางสรุปภาพรวม เร่ือง การพิทักษท์ รัพย Main Concept หนว่ ยการเรียนรู้ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (มธั ยมศึกษาตอนตน้ ) (มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย) หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 - ผู้ครอบครองทรัพยากร ธรณี (แยกแยะประโยชน์ สว่ นตนและประโยชน์ ส่วนรวม) -ทรัพยากรธรณี เป็นสิ่งที่ - ทรัพยากรธรณี เป็นส่ิง - ตามล่าขมุ ทรัพย์ ตอ้ งใชป้ ระโยชน์ร่วมกัน ท่ีตอ้ งใช้ประโยชน์ร่วมกัน ทรัพยากรธรณี -การจะนาไปใชต้ ้องไดร้ ับ - การจะนาไปใชต้ อ้ ง - คุณคา่ ของทรัพยากร อนุญาต ได้รับอนุญาต การแยกแยะประโยชน์สว่ นตนและ ธรณี กบั โอกาสในการ -ประโยชน์ส่วนบุคคล - กรณีศกึ ษา การปกป้อง ประโยชน์สว่ นรวม พัฒนาประเทศและการ และประโยชน์ส่วนรวม หวงแหนทรัพยากรธรณี ฟื้นฟูเก่ียวกบั ทรัพยากร (ชุมชน สังคม) และการ - การขดั กนั ระหว่าง ธรณี ขดั กนั ระหว่างประโยชน์ ประโยชน์ส่วนบุคคลและ ส่วนบุคคลและ ผลประโยชน์สว่ นรวม ผลประโยชน์ส่วนรวม (ชมุ ชน สงั คม) (ชมุ ชน สงั คม) - รูปแบบของ - รูปแบบของ ผลประโยชน์ทับซ้อน ผลประโยชน์ทับซ้อน (ชมุ ชน สงั คม) (ชมุ ชน สงั คม)

ยากรธรรมชาติทางธรณี ตามกลุ่มเป้าหมาย เน้ือหาตามกลุ่มเป้าหมาย อุดมศกึ ษา ทหาร/ตารวจ/องคก์ ร โคช้ กลุ่มวิทยากร ป.ป.ช./ ปกครองสว่ นท้องถ่ิน บุคลากร ภาครัฐ และ รัฐวิสาหกิจ - ทรัพยากรธรณี การสารวจ และการใช้ประโยชน์ - ทรัพยากรธรณี การ - ทรัพยากรธรณี การ - ทรัพยากรธรณี การ สารวจ และการใช้ สารวจ และการใช้ - ทรัพยากรธรณีกับการพัฒนา สารวจ และการใช้ ประโยชน์ ประโยชน์ - ทรัพยากรธรณีกบั การ - ทรัพยากรธรณีกับการ ประเทศ ประโยชน์ พัฒนาประเทศ พัฒนาประเทศ - ความสาคัญของ - ความสาคัญของ - ความสาคัญของทรัพยากรธรณี - ทรัพยากรธรณีกับการ ทรัพยากรธรณี ต่อ ทรัพยากรธรณี ตอ่ ประเทศดา้ นตา่ ง ๆ ด้าน ประเทศด้านต่าง ๆ ด้าน ต่อประเทศดา้ นต่าง ๆ ดา้ น พัฒนาประเทศ เศรษฐกิจ สังคม เศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดล้อม การเมือง ส่ิงแวดล้อม การเมือง เศรษฐกจิ สงั คม ส่ิงแวดล้อม - ความสาคญั ของ - การมีส่วนร่วมอนุรักษ์ - การมีส่วนร่วมอนุรักษ์ และการฟื้นฟูเก่ียวกบั และการฟ้ืนฟูเกี่ยวกบั การเมือง ทรัพยากรธรณี ต่อ - การมีสว่ นร่วมอนุรักษ์ และ ประเทศด้านตา่ ง ๆ ด้าน การฟ้ืนฟูเกี่ยวกบั ทรัพยากรธรณี เศรษฐกจิ สงั คม - กรณีศกึ ษาการเพ่ิมมูลค่า สิ่งแวดล้อม การเมือง ทรัพยากรธรณี (หินออ่ น/ - การมีส่วนร่วมอนุรักษ์ หินแกรนิต/อญั มณี) และการฟื้นฟูเกี่ยวกับ ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรธรณี - กรณีศกึ ษาการเพ่ิม - กรณีศกึ ษาการเพ่ิม - กรณีศกึ ษาการเพ่ิม มูลคา่ ทรัพยากรธรณี มูลค่าทรัพยากรธรณี มูลค่าทรัพยากรธรณี (หินออ่ น/หินแกรนิต/อญั (หินอ่อน/หินแกรนิต/อญั (หินอ่อน/หินแกรนิต/อัญ มณี) มณี) มณี)

ตารางสรุปภาพรวม เร่ือง การพิทักษท์ รัพย Main Concept หนว่ ยการเรียนรู้ การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน การไม่ทนตอ่ การทุจริต (มธั ยมศกึ ษาตอนต้น) (มธั ยมศึกษาตอนปลาย) หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 - ผลกระทบด้านลบต่อ - ผลกระทบด้านลบต่อ - คณุ คือคนสาคญั ต่อ สังคมในการใช้ทรัพยากร สงั คมในการใชท้ รัพยากร ทรัพยากรธรณี ธรณี ธรณี (ไม่ทนตอ่ การทุจริต) ดา้ นสุขภาพ สังคม ด้านสุขภาพ สงั คม - คณุ คือคนสาคัญ สิ่งแวดล้อม ส่ิงแวดล้อม - ความเสี่ยงในการทุจริต - กรณีศึกษา ผลกระทบ - กรณีศกึ ษา ผลกระทบ เก่ียวกบั ทรัพยากรธรณี ต่อส่ิงแวดลอ้ มในการใช้ ต่อสิ่งแวดลอ้ มในการใช้ ทรัพยากรธรณีที่ไม่ ทรัพยากรธรณีท่ีไม่ รับผดิ ชอบตอ่ สงั คม รับผิดชอบตอ่ สังคม

ยากรธรรมชาตทิ างธรณี ตามกลุ่มเป้าหมาย เน้ือหาตามกลุ่มเป้าหมาย อุดมศึกษา ทหาร/ตารวจ/องคก์ ร โคช้ กลุ่มวิทยากร ป.ป.ช./ ปกครองส่วนท้องถ่ิน บุคลากร ภาครัฐ และ รัฐวิสาหกิจ - กฎหมายต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับ - กฎหมายตา่ ง ๆ ที่ - กฎหมายตา่ ง ๆ และ - กฎหมายตา่ ง ๆ ท่ี ทรัพยากรธรณี เก่ียวข้องกับทรัพยากร หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งและ เกี่ยวข้องกบั ทรัพยากร - รูปแบบการทุจริต และ ธรณี การบังคับใชก้ ฎหมายกับ ธรณี กรณีศกึ ษาการทุจริต (การทา - รูปแบบการทุจริต และ ทรัพยากรธรณี - รูปแบบการทุจริต และ เหมืองนอกเขตพื้นท่ีอนุญาต/ กรณีศึกษาการทุจริต - รูปแบบการทุจริต และ กรณีศกึ ษาการทุจริต การประเมินผลกระทบตอ่ (การทาเหมืองนอกเขต กรณีศึกษาการทุจริต (การทาเหมืองนอกเขต สขุ ภาพและส่ิงแวดล้อม EHIA/ พื้นท่ีอนุญาต/การ (การทาเหมืองนอกเขต พ้ืนที่อนุญาต/การ การพัฒนาทรัพยากรธรณีนอก ประเมินผลกระทบต่อ พ้ืนท่ีอนุญาต/การ ประเมินผลกระทบตอ่ เขตพ้ืนท่ีอนุญาต) สุขภาพและส่ิงแวดล้อม ประเมินผลกระทบตอ่ สุขภาพและสิ่งแวดลอ้ ม EHIA/ สุขภาพและสิ่งแวดลอ้ ม EHIA/ การพัฒนาทรัพยากร EHIA/ การพัฒนาทรัพยากร ธรณีนอกเขตพ้ืนที่อนุญาต) การพัฒนาทรัพยากร ธรณีนอกเขตพ้ืนท่ีอนุญาต) ธรณีนอกเขตพื้นท่ีอนุญาต)

ตารางสรุปภาพรวม เรื่อง การพิทักษ์ทรัพย Main Concept หน่วยการเรียนรู้ การศึกษาข้ันพื้นฐาน การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน จติ พอเพียงตา้ นทุจริต (มัธยมศกึ ษาตอนต้น) (มัธยมศึกษาตอนปลาย) หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 - กฎหมายที่เก่ียวข้อง - กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ ง - ร่วมดว้ ยชว่ ยกัน : (เบื้องตน้ ) - การอนุรักษ์และหวง การป้องกนั และ - การมีส่วนร่วมในการ แหน ทรัพยากรธรณี ปราบปรามการทุจริต ป้องกนั และปราบปราม - การมีส่วนร่วมในการ และการฟื้นฟูทรัพยากร การทุจริต และการฟื้นฟู ป้องกนั และปราบปราม ธรณี ทรัพยากรธรณี การทุจริต เก่ียวกบั (จติ พอเพียงต่อตา้ นการ - การอนุรักษ์และหวง ทรัพยากรธรณี ทุจริต) แหน ทรัพยากรธรณี - เสน้ ทางสู่ความสาเร็จ : การป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต และการฟ้ืนฟูทรัพยากร ธรณี - ปกป้องทรัพยากรทาง ธรณี

ยากรธรรมชาติทางธรณี ตามกลุ่มเป้าหมาย เน้ือหาตามกลุ่มเป้าหมาย อดุ มศึกษา ทหาร/ตารวจ/องคก์ ร โค้ช กลุ่มวิทยากร ป.ป.ช./ ปกครองส่วนท้องถ่ิน บุคลากร ภาครัฐ และ รัฐวิสาหกิจ - การสร้างจิตสานึกสาธารณะ - การสร้างจิตสานึก - การสร้างจิตสานึก - การสร้างจิตสานึก สาธารณะ เพื่อแยกแยะ สาธารณะ เพ่ือแยกแยะ เพื่อแยกแยะประโยชน์ส่วนตน สาธารณะ เพื่อแยกแยะ ประโยชน์สว่ นตนและ ประโยชน์สว่ นตนและ ประโยชน์สว่ นรวม ประโยชน์สว่ นรวม และประโยชน์ส่วนรวม ประโยชน์สว่ นตนและ - การเฝ้าระวัง แจง้ - การเฝ้าระวัง แจ้ง เบาะแส การทุจริต เบาะแส การทุจริต - การเฝา้ ระวัง แจ้งเบาะแส การ ประโยชน์สว่ นรวม ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรธรณี - การมีสว่ นร่วมในการ - การมีสว่ นร่วมในการ ทุจริตทรัพยากรธรณี - การเฝา้ ระวัง แจ้ง ปกป้องทรัพยากรธรณี ปกป้องทรัพยากรธรณี - กรณีศกึ ษาการมีส่วน - กรณีศึกษาการมีสว่ น - การมีสว่ นร่วมในการปกป้อง เบาะแส การทุจริต ร่วมในการปกป้อง ร่วมในการปกป้อง ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรธรณี - กรณีศึกษาการมีส่วนร่วมใน - การมีสว่ นร่วมในการ การปกป้องทรัพยากรธรณี ปกป้องทรัพยากรธรณี - กรณีศกึ ษาการมีส่วน ร่วมในการปกป้อง ทรัพยากรธรณี

57 หลกั สูตรต้านทุจรติ ศกึ ษา เรอื่ ง การพทิ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติทางธรณี สาหรบั ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ 1.ความเป็นมาของหลกั สูตร การทุจริตในสังคมไทยระหว่างช่วงกว่าทศวรรษที่ผ่านมาน้ัน ส่งผลเสียต่อประเทศอย่างมหาศาล ทงั้ ยังเป็นอปุ สรรคต่อการพัฒนาประเทศในทุกมิติ รูปแบบการทุจริตจากเดิมท่ีเป็นการทุจริตทางตรงไมซ่ ับซ้อน ได้ปรบั เปล่ียนเป็นการทจุ ริตที่มีความซับซ้อนมากย่ิงขึ้น ประเทศไทยมีความพยายามแก้ไขปัญหาการทุจริตโดย การสร้างความตื่นตัวและการเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ปรับความคิด สร้างความตระหนักรู้ในทุกภาคส่วนของสังคม โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ได้กาหนดในหมวดที่ 5 หน้าท่ีของรัฐว่า “รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตราย ท่ีเกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งภาครัฐและเอกชนโดยจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพ เพือ่ ป้องกันและขจดั การทุจริตและประพฤติมชิ อบดงั กล่าวอย่างเข้มงวด” ทงั้ วาระการปฏิรปู ประเทศด้านการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประเด็นปฏิรูปด้านการป้องกันและเฝ้าระวัง ได้กาหนดกลยุ ทธ์ หลัก ในการเร่งสร้างการรับรู้และจิตสานึกของประชาชนในการต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบ ส่งเสริมให้ ประชาชนรวมตัวกันรงั เกียจ การทุจริตและมีส่วนร่วมในการต่อต้านทุจรติ ด้วยการช้เี บาะแส การสร้างลักษณะ นิสัยไม่โกงและไม่ยอมให้ผู้ใดโกง และเสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการเสริมสร้าง ธรรมาภิบาลและต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบ ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ใน ยุทธศาสตร์ที่ 6 การปรับสมดุลและพัฒนา การบริหารจดั การภาครัฐ โดยได้กาหนดใหก้ ารพัฒนาระบบบรหิ าร จัดการกาลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐในการปฏิบัติราชการ และการต่อต้านการทุจริตและประพฤติผิดมิชอบ เป็นสว่ นหนงึ่ ของกรอบแนวทางที่มีความสาคญั ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี อกี ท้ังยทุ ธศาสตร์ ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560- 2564) ได้กาหนดยุทธศาสตร์ท่ี 1 สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริตเป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นกระบวนการปรับสภาพทางสังคมให้เกิดภาวะ “ไม่ทน ต่อการทุจริต” และบูรณาการต่อต้านการทุจริตของประเทศโดยมีสานักงาน ป.ป.ช. เป็นองค์กรหลักในการ ดาเนินการเพื่อให้เจตนารมณ์ที่กาหนดไว้ดังกล่าวปรากฏข้ึนมาในสังคมไทย ผ่านกลไกทางการศึกษาซึ่งเป็นอีก กลไกหนึ่งท่ีมีประสิทธิภาพและสามารถทาให้เกิดการปรับเปล่ียนกระบวนคิดของคน ผ่านการเรียนรู้จากชุด หลักสูตรการเรียนรู้ด้านการป้องกัน หรือเรียกว่าหลักสูตร “ต้านทุจริตศึกษา” ที่มีเนื้อหาสอดคล้องและมี ประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน อาทิ โลกยุคดิจิทัล หรือการใช้ทรัพยากรธรณี และทรัพยากรน้าใน ลักษณะท่ีเป็นการละเมิด (Abuse) ผลประโยชน์ต่อสาธารณะ เพียงเพื่อเพ่ิมประโยชน์ให้กับบุคคลหรือกลุ่มคน เพียงบางกลุม่ เท่านน้ั หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ประเด็น “ทรัพยากรธรณี” เป็นประเด็นหน่ึงท่ีสาคัญที่สานักงาน ป.ป.ช. ให้ความสาคัญเป็นอย่างสูง เน่ืองจากทรัพยากรธรณีเป็นทรัพยากรที่สาคัญของประเทศ มีส่วนสาคัญต่อการ สร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับประเทศผ่านการใช้ประโยชน์จากส่ิงท่ีอยู่ในธรณี ไม่ว่าจะเป็น ดิน หิน แร่ ผ่าน การนามาใช้ประโยชน์ เช่น การดัดแปลงเป็นเครื่องมือเคร่ืองใช้ เป็นอปุ กรณ์ในการประกอบการงานของมนุษย์ ใช้เป็นส่วนประกอบของสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ หรือแม้กระท้ังการใช้ในกิจการด้านอุตสาหกรรม ซึ่งจะเห็นได้ว่า ทรัพยากรธรณีน้ันเป็นสิ่งที่สาคัญที่ช่วยในการสร้างโอกาสให้แก่สังคมมนุษย์ได้อยู่ดี กินดี มีฐานะมั่นคง ทาให้ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศสามารถพัฒนาไปข้างหน้าได้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม เน่ืองจากทรัพยากรธรณี เป็นทรัพยากร ท่ีส้ินเปลืองถูกใช้แล้วหมดไป บริเวณที่มีการดาเนินการใช้ประโยชน์ทางธรณีก็มักจะเสื่อมคุณค่า

58 ดังน้ัน การควบคุม การเข้าใช้ประโยชน์ในทรัพยากรธรณีจึงเป็นประเด็นท่ีสาคัญท่ีจะต้องเล็งเห็นถึงการใช้ ประโยชนว์ ่าต้องตอบสนองประโยชนส์ าธารณะมากกว่าประโยชนส์ ว่ นบุคคล ปจั จุบันจะเหน็ ได้ว่า แนวโน้มการ ใช้ทรัพยากรธรณีน้ัน ประโยชน์ที่สาธารณะควรได้รับน้ันน้อยกว่าประโยชน์ท่ีเอกชนได้รับ อีกท้ังการที่เข้าใช้ ประโยชนข์ องทรัพยากรธรณยี ังถูกเขา้ ถึงด้วยวิธีการท่ีมีความเส่ยี งต่อการทุจรติ เช่น การบิดเบือนประโยชน์ของ สาธารณะท่ีได้รับให้ดูสูงกว่าประโยชน์ท่ีเอกชนได้รับ แต่ความเป็นจริงเมื่อมีการสารวจใช้ทรัพยากรธรณีแล้ว เอกชนกลับได้ประโยชน์ทางทรัพยากรธรณีมากกว่าที่ถูกคานวณไว้ ซ่ึงประเด็นตัวอย่างท่ีกล่าวมาข้างต้น เป็น เพียงประเด็นย่อยของความเสี่ยงต่อการทุจริตในการเข้าใช้ทรัพยากรธรณีที่ควรจะมีการสร้างการตระหนักรู้ เพื่อให้เกิดความหวงแหน นามาสู่การร่วมกันอนุรักษ์รักษาทรัพยากรธรณีเพื่อให้ประเทศได้รับประโยชน์มาก ท่ีสุด ดังน้ัน การพิทกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติทางธรณี โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การปอ้ งกนั การทุจริตทเี่ ก่ียวข้องกับ ประเด็นดังกล่าว เปน็ สง่ิ ทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. ใหค้ วามสาคัญ จึงได้สร้างหลักสูตรการเรียนรู้ด้านการป้องกัน การทุจริต หรือ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เร่ือง การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี ท่ีมีเน้ือหาสอดคล้อง และมีประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน คือ การใช้ทรัพยากรธรณีในลักษณะที่เป็นการละเมิด (Abuse) ต่อผลประโยชน์สาธารณะ เพื่อให้ผู้เรียนทุกระดับชั้นได้มีความตระหนักรู้และร่วมพิทักษ์ทรัพยากร ธรณี ตามบทบาทหน้าท่ีของตน โดยประยกุ ตใ์ ช้ STRONG Model ในการเรียนการสอนตลอดหลกั สตู ร โดย นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นผู้ท่ีมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องเรียนรู้คุณค่าและ ความสาคัญของทรัพยากรธรณี เพื่อให้เยาวชนเกิดความรู้สึกหวงแหน และมีส่วนรวมในการปกป้อง อนุรักษ์ รักษาทรัพยากรธรณี ร่วมถึงมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังไม่ให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรณีไปในทางที่ผิด แสวงหา ประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรธรณีเพ่ือประโยชน์ส่วนตนในชุมชน สังคมใกล้ตัว จึงนามาสู่การจัดทาหลักสูตร ต้านทุจรติ ศึกษา ประเดน็ ทรัพยากรธรณี สาหรับนักเรยี นในระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ในครัง้ นี้

59 2.วัตถุประสงคข์ องหลกั สูตร 2.1 เพอ่ื ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับธรณีวทิ ยาเบอ้ื งต้นกบั การกาเนิดแหล่งทรพั ยากรธรณี 2.2 เพื่อตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรธรณี โดยนาเสนอแนวทางการใช้อย่างประหยัดและการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรณี 2.3 เพ่อื ให้สามารถวิเคราะห์แยกแยะเกี่ยวกับประโยชนส์ ่วนตนและประโยชนส์ ่วนรวมในการใช้ทรัพยากร ธรณี 2.4 เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการทางสังคมที่เก่ียวกับการทุจริต สามารถ บอกแหลง่ แจง้ เบาะแสการทจุ ริตได้ 2.5 เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสังคม หวงแหน และรักษา ทรัพยากรธรณีวทิ ยา 2.6 เพือ่ ใหต้ ระหนกั และเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทุจรติ เกย่ี วกับทรัพยากรธรณี 3.โครงสร้างเน้อื หาสาระ ระยะเวลา (ชว่ั โมง) ลาดบั เนือ้ หาสาระ 5 1 ทรัพยากรธรณสี าคญั อย่างไร -ธรณวี ทิ ยาและการกาเนดิ แหล่งทรพั ยากรธรณี คืออะไร 5 -ประเภททรัพยากรธรณี (หนิ /ดนิ /แร่) และการใช้ประโยชน์ -การสารวจและการพฒั นาทรัพยากรธรณี 6 - ผลกระทบจากการใช้ทรัพยากรธรณี (ทางตรงและทางออ้ ม) 4 2 ผูค้ รอบครองทรัพยากรธรณี -ทรพั ยากรธรณี เปน็ ส่ิงที่ต้องใช้ประโยชน์ร่วมกัน 20 -การจะนาไปใชต้ อ้ งได้รบั อนุญาต -ประโยชนส์ ่วนบุคคลและประโยชน์สว่ นรวม (ชุมชน สังคม) และการขัดกนั ระหวา่ งประโยชน์สว่ นบุคคลและผลประโยชนส์ ว่ นรวม (ชมุ ชน สงั คม) - รปู แบบของผลประโยชน์ทับซ้อน (ชมุ ชน สงั คม) 3 คุณคือคนสาคัญตอ่ ทรัพยากรธรณี - ผลกระทบดา้ นลบต่อสงั คมในการใชท้ รพั ยากรธรณี ด้านสขุ ภาพ สงั คม สงิ่ แวดล้อม - กรณีศกึ ษา ผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อมในการใชท้ รัพยากรธรณีท่ีไม่รับผิดชอบ ต่อสงั คม 4 ร่วมด้วยช่วยกนั : การป้องกันและปราบปรามการทุจริต และการฟนื้ ฟู ทรัพยากรธรณี -กฎหมายทเี่ กี่ยวข้อง (เบื้องต้น) -การอนุรักษ์และหวงแหน ทรัพยากรธรณี -การมีสว่ นรว่ มในการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต เกี่ยวกบั ทรพั ยากรธรณี รวม

60 STRONG Model : จิตพอเพียงตา้ นทุจรติ โมเดล STRONG เป็นการนาตัวอักษรแรกของศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีความหมายเชิงบวก จานวน 6 คา มาประกอบเป็นคาศัพทส์ ื่อความหมายถงึ “ความแขง็ แกร่ง” ของบุคคลและองค์กรในการต่อต้าน การทุจริต โดยมีความมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้านทุจริต ร่วมกันพัฒนาชุมชนให้ก้าวไปข้างหน้า ด้วยการประยุกต์และบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับความโปร่งใส การแยกแยะผลประโยชน์ ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม การตระหนักรู้และใส่ใจปัญหาการทุจริต และร่วมกันพัฒนาชุมชนให้มี ความเอื้ออาทร บนพื้นฐานของจริยธรรมและจิตพอเพียง ตลอดจนเกิดเครือข่ายชุมชนจิตพอเพียงต้านทุจริต และเป็นแกนนาสร้างวัฒนธรรมไม่ทนต่อการทุจริต ซึ่งโมเดล STRONG ได้มีการสร้างและพัฒนาโดย รองศาสตราจารย์ ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศริ ิ ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงไดด้ งั แผนภาพ ดังนี้ แผนภาพที่ 1 โมเดล STRONG – จติ พอเพียงตา้ นทุจริต ปี พ.ศ. 2562

61 จากแผนภาพขา้ งต้น สามารถอธิบายนิยามเชงิ ปฏบิ ตั ิการไดด้ งั นี้ (1) พอเพียง (Sufficient: S) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมที่ระดับท่ีแตกต่างกันตามวิธีคิด สภาพความพร้อมและ ความสามารถ รวมทัง้ ตามสถานภาพทางเศรษฐกจิ และสังคมของบุคคลและครอบครัว กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดที่แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และเปน็ อตั โนมตั จิ ะนาไปสจู่ ิตสานึกทพ่ี อเพยี ง ไมก่ อบโกยผลประโยชนโ์ ดยมิชอบ ไม่เบยี ดเบียนผอู้ นื่ ไม่ เบียดบังรัฐ ไม่รับอามิสสินบนโดยมิต้องจากัดขอบเขตของการประกอบอาชีพท่ีสุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงิน ทองไดต้ ามความสามารถ ทั้งนี้ โดยไม่เดือดร้อนตนเองและผอู้ ืน่ (2) โปรง่ ใส (Transparent: T) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความโปรง่ ใส ทาให้เห็นภาพหรอื ปรากฏการณ์ณ์ชดั เจน กลไกหลัก คอื สรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจ และวธิ สี งั เกตเกย่ี วกับความโปร่งใสของโครงการต่าง ๆ (3) ตื่นรู้ (Realize: R) คานิยามปี พ.ศ. 2562 เมอื่ บุคคลรู้พษิ ภยั ของการทุจรติ และไม่ทนทจ่ี ะเหน็ การทจุ รติ เกดิ ข้ึน กลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์การทุจริตในพ้ืนที่ ในชุมชน หรือในกรณีท่ีปรากฏการทุจริต ขน้ึ หรือกรณศี ึกษาท่เี กิดข้ึนมาแลว้ และมีคาพพิ ากษาถึงทีส่ ุดแล้ว (4) ม่งุ ไปขา้ งหน้า (Onward: O) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การไม่มีการทจุ ริตของภาครัฐ จะทาให้เงนิ ภาษถี กู นาไปใชใ้ นการพฒั นาอย่างเต็มที่ กลไกหลกั คือ การป้องกันและการป้องปราม ด้วยกระบวนการมสี ว่ นร่วมในการเฝา้ ระวังพื้นที่ที่ มคี วามเส่ยี ง ในการทจุ รติ เชน่ การบุกรุกพ้นื ทส่ี าธารณะ หรือเฝ้าระวังโครงการใหด้ าเนินการด้วยความโปรง่ ใส (5) ความรู้ (Knowledge: N) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความรดู้ ้านต่าง ๆ มีความจาเป็นต่อการปอ้ งกันและปอ้ งปรามการทจุ รติ กลไกหลกั คอื การใหค้ วามรู้ในรูปแบบการฝกึ อบรม หรอื ใหส้ ่อื เรยี นรอู้ ย่างตอ่ เนื่อง เช่น (1) ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการทุจริตแบบต่าง ๆ ท้ังแบบสมัยอดีต แบบปัจจุบัน และแบบที่ อาจจะเกดิ ข้ึนในอนาคต (2) ความร้เู ก่ยี วกับการทจุ ริตในต่างประเทศ (3) วิธกี ารป้องกัน - ปอ้ งปรามแบบตา่ ง ๆ (4) ความรู้เก่ยี วการเฝ้าระวงั (5) ความรูเ้ กยี่ วกบั กฎหมายทเ่ี กีย่ วข้อง

62 (6) เอ้อื อาทร (Generosity: G) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การพัฒนาสังคมไทยให้มีนา้ ใจ โอบออ้ มอารี เอื้อเฟ้อื เผ่ือแผ่ โดยไม่มีผลประโยชนต์ อบแทนหรือ หวงั ผลตอบแทน ในฐานะเพอ่ื นมนุษย์ กลไกหลัก กจิ กรรมจิตอาสา ชว่ ยเหลือบุคคล ชุมชน/สังคมในยามวิกฤติ หรือการร่วมมือในการ ร่วมพัฒนาชุมชน จากนิยามข้างต้น STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริต จึงหมายถึง ผู้ท่ีมีความพอเพียง ไม่เบียดเบียน ตนเองและผู้อื่น (S) มุ่งอนาคตที่เจริญทั้งตนเองและส่วนรวม (O) โดยใช้หลักความโปร่งใสตรวจสอบได้ (T) พืน้ ฐานจติ ใจมมี นุษยธรรมเอ้อื อาทร ชว่ ยเหลือเพอื่ นมนุษยโ์ ดยไม่เหน็ แก่ประโยชนต์ า่ งตอบแทน (G) ให้ ความสาคัญต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือการดารงชีวิตในทางท่ีชอบ (N) แต่ตื่นรู้เร่ืองภัยทุจริตท่ีร้ายแรงส่งผล ตอ่ สงั คม รังเกียจการทจุ รติ ประพฤตมิ ิชอบทงั้ ปวง ไม่ยอมทนต่อการทุจริตทุกรปู แบบ (R) นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการพัฒนาโมเดล STRONG โดยเพ่ิมในเร่ืองของการมีส่วนร่วม (Participation) อันเป็นกลไกสาคัญในการเช่ือมโยงและขับเคลื่อนหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การ ป้องกันการทุจริตได้เป็นรูปธรมอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงการเผยแพร่หลักการของโมเดล STRONG สู่ชุมชน จะดาเนินการโดยสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด และมีการคัดเลือกผู้แทน/ผู้นาชุมชนในจังหวดั ท่ีมีเครอื ข่าย มีความสามารถและทักษะในการถ่ายทอดองค์ความรู้มาอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโมเดล STRONG การนาไปประยุกต์ใช้ในการการต่อต้านการทุจริต เช่น การคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ ส่วนรวม ความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต หลักการจิตพอเพียงด้วยวธิ ีการท่ีเหมาะสม เป็นต้น เพื่อให้ผู้ ได้รบั การคัดเลอื กเป็นโคช้ (coach) ถา่ ยทอดความร้เู ก่ียวกบั หลักการของโมเดล STRONG และการต่อตา้ นการ ทุจริตให้แก่ผู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชน รวมถึงยังมีการจัดต้ังชมรม STRONG เพ่ือให้ทุกภาคส่วนมีความตระหนักรู้ เล็งเหน็ ถึงความสาคญั ของปญั หาการทจุ ริตและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวงั และแจง้ เบาะแสการทจุ รติ

63 แผนภาพที่ 2 หลักสตู รตา้ นทจุ ริตศกึ ษา เรอื่ ง การพิทกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติทางธรณี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook