Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กรอบโครงสร้าง ต้านทุจริต

กรอบโครงสร้าง ต้านทุจริต

Published by Indytitle Channel, 2022-07-07 08:41:18

Description: กรอบโครงสร้าง ต้านทุจริต

Keywords: ต้านทุจริต

Search

Read the Text Version

คำนำ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีเป้าหมายหลัก เพื่อให้ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ผ่านการพัฒนาคนและการพัฒนาระบบ เพ่ือป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยให้ความสาคัญกับการปรับและหล่อหลอมพฤติกรรม “คน” ทุกกลุ่มในสังคมให้มีจิตสานึกและพฤติกรรมยึดมั่นในความซ่ือสัตย์สุจริตท่ีมุ่งการพัฒนาคนและ การพัฒนาระบบในส่วนการพัฒนาคน เน้นการปรับพฤติกรรม “คน” ทุกกลุ่มในสังคม โดยกลุ่มเด็กและ เยาวชน เนน้ การปลูกฝงั และหล่อหลอมให้มจี ติ สานึกและพฤติกรรมยดึ ม่ันในความซ่ือสัตยส์ ุจรติ ผา่ นหลกั สูตร การศึกษาภาคบังคับทั้งทฤษฎีและปฏิบัติต้ังแต่ปฐมวัยจนถึงอุดมศึกษา กลุ่มประชาชนท่ัวไป เน้นการสร้าง วัฒนธรรมและพฤติกรรมสุจริต ควบคู่กับส่งเสริมการมีส่วนร่วมต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ หลกั สูตรต้านทุจรติ ศกึ ษาจึงเป็นกลไกสาคญั ทใ่ี ช้ดาเนนิ การใหบ้ รรลุผลดังกล่าว หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เป็นกลไกสาคัญที่จะขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์ระดับประเทศที่มุ่งเน้น “การพัฒนาคน การปรับกระบวนการคิดและพฤติกรรมคนทุกกลุ่มในสังคม” โดยการดาเนินการพัฒนาหลักสูตร ต้านทุจริตศึกษา พ.ศ. 2564 คณะกรรมการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและหน่วยงานของรัฐมีส่วนร่วม ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ซ่ึงมีพลตารวจเอกวัชรพล ประสารราชกิจ ประธานกรรมการ ป.ป.ช. ได้เห็นชอบให้มีการแต่งต้ังคณะอนุกรรมการสร้างและพัฒนาชุดหลักสูตรและสื่อการเรียนรู้ต้านทุจริตศึกษา พ.ศ. 2564 ได้ร่วมกันพัฒนาชุดหลักสูตรและสื่อการเรียนรู้ต้านทุจริตศึกษา พ.ศ. 2564 ประกอบด้วย เนื้อหา 3 ชดุ หลกั สูตร/ชุดการเรียนร/ู้ เร่ือง ได้แก่ 1. เรื่อง การต้านทจุ ริตในสถานการณ์การเปล่ยี นฉับพลัน ทางเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Disruption) 2. เรื่อง การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี และ 3. เร่ือง การพทิ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติน้าและนา้ บาดาล โดยกาหนดกลมุ่ เป้าหมายทีจ่ ะนาหลักสตู รต้านทุจริตศึกษา พ.ศ. 2564 ไปใช้ จะมีความสอดคล้องกับการนาไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา พ.ศ. 2561 จานวน 5 กลุ่ม ได้แก่ 1. กลุ่มการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย) 2. กลุ่มอุดมศึกษา 3. กลุ่มทหาร ตารวจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. กลุ่มวิทยากร ป.ป.ช./บุคลากร ภาครัฐ และรัฐวิสาหกิจ 5. กลุ่มโค้ช ซึ่งหลักสูตรดังกล่าวได้ผ่านกระบวนการประเมินเอกสารชุดหลักสูตร และสื่อการเรียนรู้ต้านทุจริตศึกษา พ.ศ. 2564 โดยผู้ทรงคุณวุฒิจากด้านหลักสูตรการศึกษา ด้านส่ือการ เรียนรู้ ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการวัดและประเมินผล เพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล และกระบวนการนาไปทดลองใช้เรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้ คณะอนุกรรมการสร้างและพัฒนา ชดุ หลกั สตู รและส่ือการเรียนรู้ต้านทจุ รติ ศึกษา พ.ศ. 2564 ยังได้คดั เลือกส่ือการเรยี นรู้จากแหลง่ ต่าง ๆ ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ รวมจานวน 251 ช้ินงาน ท้ังน้ี ได้มีการกาหนดการประเมินคุณภาพโดยรวม ของสื่อการวิเคราะห์ความเหมาะสมต่อหน่วยการเรียนรู้ของแต่ละเนื้อหาเร่ือง ความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และวัตถุประสงค์/ผลสัมฤทธิ์ของสื่อ (สร้างการเรียนรู้, เป็นกรณีศึกษา/ตัวอย่าง, กระตุ้นผู้สอนให้ต่ืนตัว, เสริม/ทบทวนเนื้อหา และสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน) โดยผลจากการพิจารณาคัดเลือกสื่อการเรียนรู้ สมัยใหม่ทาให้ได้ส่ือการเรียนรู้ที่มีเน้ือหาสอดคล้องกับหลักสูตรฯ ที่ผ่านการคัดเลือกตามหลักเกณฑ์ จานวน ทั้งสิ้น 184 ช้ิน เพื่อใช้ในการเรียนรู้ ซ่ึงคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติเห็นชอบชุดหลักสูตรและสื่อการเรียนรู้ ตา้ นทุจริตศกึ ษา พ.ศ. 2564 (หลักสตู รต้านทจุ ริตศึกษา พ.ศ. 2564) ให้หน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ งนาหลักสูตร ไปปรับใช้กับกลุ่มเป้าหมายตามนัยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทจุ รติ พ.ศ. 2561 มาตรา 33 (1) และ (3)

คณะกรรมการ ป.ป.ช. หวงั เปน็ อยา่ งยิง่ วา่ สถาบนั การศึกษาและหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้องจะนาไปใช้ใน การเรียนการสอน และหลักสูตรฝึกอบรมไปปรับใช้เพื่อเป็นกลไกระยะยาวในการพัฒนาคน การปรับ กระบวนการคิดและพฤตกิ รรมคนทกุ กลุม่ ในสังคม ตอ่ ไป สำนกั ต้ำนทุจริตศึกษำ สำนกั งำน ป.ป.ช. พฤศจิกำยน 2564

สำรบญั หน้ำ วชิ ำท่ี 1 เร่ือง กำรตำ้ นทุจริตในสถำนกำรณก์ ำรเปล่ยี นฉับพลนั ทำงเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ก-1 (Digital Disruption) 1 10 1.1 ตารางสรปุ ภาพรวม 20 1.2 กลุ่มมัธยมศึกษาตอนต้น 30 1.3 กลุ่มมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 39 1.4 กลุ่มอุดมศกึ ษา 48 1.5 กลมุ่ ทหาร ตารวจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ 1.6 กลุ่มวิทยากร ป.ป.ช. / บคุ ลากรภาครัฐ และรัฐวิสาหกจิ ข-1 1.7 กลมุ่ โคช้ 57 68 วชิ ำท่ี 2 เรอื่ ง กำรพิทกั ษ์ทรพั ยำกรธรรมชำติทำงธรณี 80 93 1.1 ตารางสรปุ ภาพรวม 105 1.2 กลุ่มมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 118 1.3 กลุม่ มธั ยมศึกษาตอนปลาย 1.4 กลุม่ อุดมศึกษา ค-1 1.5 กลุ่มทหาร ตารวจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ 130 1.6 กลมุ่ วิทยากร ป.ป.ช. / บุคลากรภาครัฐ และรฐั วสิ าหกิจ 144 1.7 กลมุ่ โคช้ 156 169 วิชำท่ี 3 เรื่อง กำรพิทกั ษ์ทรัพยำกรธรรมชำตินำและนำบำดำล 182 195 1.1 ตารางสรุปภาพรวม 1.2 กลุ่มมธั ยมศึกษาตอนต้น 1.3 กลุ่มมธั ยมศึกษาตอนปลาย 1.4 กลุ่มอุดมศึกษา 1.5 กลุ่มทหาร ตารวจ และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน 1.6 กลุ่มวทิ ยากร ป.ป.ช. / บุคลากรภาครัฐ และรฐั วิสาหกจิ 1.7 กลุ่มโคช้ ภำคผนวก คาส่งั คณะกรรมการสง่ เสริมและสนบั สนุนให้ประชาชนและ หนว่ ยงานของรฐั มสี ว่ นร่วมในการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ ท่ี 2/2563 ลงวนั ที่ 6 สงิ หาคม 2563 และคาสง่ั ท่ี 5/2563 ลงวันท่ี 14 ตุลาคม 2563 เรอ่ื ง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสร้างและ พฒั นาชดุ หลักสตู รและส่อื การเรยี นรูต้ า้ นทจุ ริตศึกษา พ.ศ. 2564

หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา พ.ศ. 2564 เร่อื ง การต้านทุจริตในสถานการณ์การเปลยี่ นฉบั พลนั ทางเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Disruption)

ตารางสรุปภาพรวม เร่ือง การตา้ นทจุ รติ ในสถานการณก์ ารเปล่ียนฉับ Main หน่วยการเรยี นรู้ การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน (Advan Concept (มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ) (มธั ยมศึกษาตอนปลาย) - ภาพร หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 -ความห MC1 - ความหมายและความสาคญั (Basic) (Intermediate) -รปู แบบ ความหมาย ภาพรวมของ DD ภาพรวมของ DD -ตวั อย่า สาเหตุ DD ของ Digital Disruption - กฎหม - ความหมายความสาคญั -ความหมาย -ความหมาย -พรบ.ข MC2 การ - รปู แบบและลกั ษณะของ -รูปแบบ/ลกั ษณะ -รปู แบบ -พรบ.ค ฉกฉวย -ตวั อยา่ ง digital disruption -ตวั อย่าง digital disruption -พรบ.ข โอกาสใน Digital Disruption - ความห ยคุ DD - กฎหมายทเี่ ก่ียวข้อง กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ ง - ประเภ -พรบ.ข้อมลู ขา่ วสารฯ -พรบ.ข้อมลู ขา่ วสารฯ - ลักษณ MC3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 -พรบ.คอมพิวเตอร์ฯ -พรบ.คอมพวิ เตอร์ฯ - ตวั อยา่ โอกาสและ - โอกาสและภยั ทเี่ กดิ จาก -พรบ.ข้อมลู ส่วนบุคคล -พรบ.ข้อมลู สว่ นบุคคล § บทบา การปรบั ตวั -พรบ.ความมน่ั คงทางไซเบอร์ ผู้ใช/้ ผูค้ ให้เทา่ ทัน Digital Disruption ความหมายของข้อมลู § Digita - โอกาสเชงิ บวกของการใช้ ประเภทของขอ้ มลู (private/public) ความหมายของข้อมลู (Crypto ลกั ษณะเฉพาะของข้อมลู เทคโนโลยใี นการตอ่ ตา้ น ตัวอย่างใช้ประโยชน์ข้อมลู ประเภทของข้อมลู (private/public) (Advan ทจุ รติ บทบาทขององค์กรทเี่ กย่ี วข้อง (ผู้เลน่ / § โอกาส - ภยั ของการใชเ้ ทคโนโลยใี น ผ้ใู ช้/ผ้คู มุ ) ลกั ษณะเฉพาะของขอ้ มลู ต่อตา้ นท การทุจรติ Digital asset ตวั อย่างใช้ประโยชน์ข้อมลู § กรณศี หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 (Cryptocurrency/Telecom) เทคโนโล - โอกาสในการลดการทจุ ริตใน บทบาทขององคก์ รทเ่ี กย่ี วขอ้ ง (ผู้เลน่ / § ความ ยุค Digital Disruption (Basic) ผู้ใช/้ ผู้คมุ ) ทจุ รติ - General Governance โอกาสเชงิ บวกของการใช้เทคโนโลยใี น Digital asset § กรณีศ cooperate governance (Cryptocurrency/Telecom) and compliance การตอ่ ต้านทจุ ริต (Intermediate) (Advan - IT Governance กรณศี ึกษาโอกาสเชิงบวกของการใช้ § Gene - Data Governance เทคโนโลยีในการต่อตา้ นการทจุ รติ โอกาสเชิงบวกของการใชเ้ ทคโนโลยีใน § IT Go - เครอ่ื งมอื ต่อต้านการทจุ ริต การต่อตา้ นทจุ รติ § เคร่ือง หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4 โอกาสทางลบของการใช้เทคโนโลยีในการ กรณศี ึกษาโอกาสเชิงบวกของการใช้ -Feedb - นวตั กรรมการต่อต้านทจุ รติ ทจุ รติ เทคโนโลยใี นการต่อต้านการทจุ รติ blowin ในยุคดิ Digital Disruption กรณีศกึ ษาภยั ของเทคโนโลยีในการทจุ รติ -Transp - นวัตกรรมสง่ เสริมการ โอกาสทางลบของการใช้เทคโนโลยใี นการ -อ่นื ๆ เช ปอ้ งกนั ทจุ ริต (Basic) ทจุ รติ service - นวัตกรรมตอ่ ต้านทจุ ริต General Governance กรณศี กึ ษาภยั ของเทคโนโลยใี นการทจุ รติ § การท IT Governance เครื่องมือต่อตา้ นทจุ รติ (Intermediate) (Advan General Governance § นวตั ก -Feedback system and Whistle § นวัตก blowing IT Governance -ภาครฐั -Transparency and Open data -ภาคเอ -อ่ืนๆ เช่น design thinking in public Data Governance § แนวค service ทจุ ริต การทดลองปฏบิ ัติในเครอื่ งมอื เคร่อื งมอื ต่อต้านทจุ ริต -Feedback system and Whistle (Basic) blowing นวตั กรรมส่งเสริมการปอ้ งกนั ทจุ รติ -Transparency and Open data นวตั กรรมตอ่ ตา้ นทจุ ริต -อน่ื ๆ เชน่ design thinking in public service -ภาครัฐ การทดลองปฏิบัติในเครอ่ื งมอื -ภาคเอกขน แนวคิดในการสรา้ งนวตั กรรมการตอ่ ต้าน (Intermediate) ทจุ รติ นวัตกรรมส่งเสรมิ การปอ้ งกันทจุ รติ นวตั กรรมตอ่ ต้านทุจรติ -ภาครฐั -ภาคเอกขน แนวคิดในการสร้างนวตั กรรมการตอ่ ตา้ น ทุจริต

บพลนั ทางเทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Disruption) ตามกลุ่มเปา้ หมาย ก-1 เน้ือหาสาระตามกลุม่ เปา้ หมาย อดุ มศกึ ษา ทหารตารวจ/บคุ ลากร โคช้ วทิ ยากรตวั คูณ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Basic) (Intermediate) nced) (Intermediate) ภาพรวมของ DD ภาพรวมของ DD รวมของ DD ภาพรวมของ DD หมาย -ความหมาย -ความหมาย บ/ลกั ษณะ -ความหมาย -รปู แบบ -รปู แบบ าง digital disruption -รปู แบบ -ตัวอย่าง digital disruption -ตวั อย่าง digital disruption มายท่เี ก่ียวขอ้ ง -ตัวอยา่ ง digital disruption ข้อมลู ข่าวสารฯ กฎหมายทีเ่ ก่ียวขอ้ ง กฎหมายทเี่ กยี่ วขอ้ ง คอมพิวเตอร์ฯ กฎหมายทเี่ กยี่ วข้อง -พรบ.ข้อมลู ข่าวสารฯ -พรบ.ขอ้ มลู ข่าวสารฯ ข้อมลู ส่วนบุคคล -พรบ.คอมพิวเตอรฯ์ -พรบ.คอมพิวเตอร์ฯ หมายของข้อมลู -พรบ.ข้อมลู ข่าวสารฯ -พรบ.ข้อมลู สว่ นบคุ คล -พรบ.ข้อมลู สว่ นบุคคล ภทของข้อมูล (private/public) -พรบ.คอมพวิ เตอรฯ์ -พรบ.ความม่ันคงทางไซเบอร์ -พรบ.ความม่ันคงทางไซเบอร์ ณะเฉพาะของข้อมลู -พรบ.ข้อมลู ส่วนบุคคล างใชป้ ระโยชน์ขอ้ มูล -พรบ.ความมั่นคงทางไซเบอร์ ความหมายของขอ้ มลู ความหมายของขอ้ มลู าทขององคก์ รทเ่ี ก่ียวขอ้ ง (ผเู้ ลน่ / ประเภทของข้อมลู (private/public) ประเภทของข้อมลู (private/public) คุม) ความหมายของขอ้ มลู ลกั ษณะเฉพาะของขอ้ มลู ลักษณะเฉพาะของข้อมลู al asset ตัวอยา่ งใชป้ ระโยชนข์ อ้ มลู ตวั อยา่ งใชป้ ระโยชนข์ อ้ มลู ocurrency/Telecom) ประเภทของขอ้ มลู (private/public) บทบาทขององค์กรทเี่ ก่ยี วขอ้ ง (ผเู้ ลน่ / บทบาทขององคก์ รทเี่ กี่ยวข้อง (ผู้เล่น/ ผใู้ ช/้ ผู้คุม) ผู้ใช้/ผคู้ มุ ) nced) ลักษณะเฉพาะของข้อมลู Digital asset Digital asset สเชิงบวกของการใชเ้ ทคโนโลยใี นการ (Cryptocurrency/Telecom) (Cryptocurrency/Telecom) ทจุ รติ ตัวอยา่ งใช้ประโยชนข์ ้อมลู ศึกษาโอกาสเชิงบวกของการใช้ บทบาทขององคก์ รทเี่ กย่ี วข้อง (ผ้เู ลน่ / (Basic) (Intermediate) โลยใี นการต่อตา้ นการทจุ ริต โอกาสเชงิ บวกของการใช้เทคโนโลยีใน โอกาสเชิงบวกของการใช้เทคโนโลยีใน มเสี่ยงของการใช้เทคโนโลยใี นการ ผู้ใช้/ผคู้ มุ ) Digital asset การตอ่ ตา้ นทจุ ริต การตอ่ ต้านทจุ รติ ศกึ ษาภัยของเทคโนโลยใี นการทุจรติ (Cryptocurrency/Telecom) กรณศี ึกษาโอกาสเชงิ บวกของการใช้ กรณศี กึ ษาโอกาสเชิงบวกของการใช้ (Intermediate) เทคโนโลยใี นการตอ่ ตา้ นการทจุ ริต เทคโนโลยใี นการตอ่ ต้านการทจุ ริต โอกาสเชิงบวกของการใชเ้ ทคโนโลยใี น โอกาสทางลบของการใช้เทคโนโลยีในการ โอกาสทางลบของการใชเ้ ทคโนโลยีในการ ทจุ รติ ทจุ ริต การต่อตา้ นทจุ ริต กรณศี กึ ษาภัยของเทคโนโลยใี นการทจุ ริต กรณศี ึกษาภัยของเทคโนโลยีในการทจุ รติ กรณีศึกษาโอกาสเชงิ บวกของการใช้ เทคโนโลยใี นการตอ่ ต้านการทจุ รติ โอกาสทางลบของการใช้เทคโนโลยใี นการ ทจุ ริต กรณศี กึ ษาภยั ของเทคโนโลยีในการทจุ ริต nced) (Intermediate) (Intermediate) (Advanced) eral Governance General Governance General Governance General Governance overnance IT Governance IT Governance IT Governance งมอื ตอ่ ต้านทุจริต Data Governance Data Governance Data Governance back system and Whistle ng การประเมิน Governance การประเมนิ Governance การประเมิน Governance parency and Open data เครื่องมือต่อตา้ นทจุ ริต เครือ่ งมือต่อต้านทจุ รติ เครื่องมอื ตอ่ ต้านทจุ ริต ช่น design thinking in public e -Feedback system and Whistle -Feedback system and Whistle -Feedback system and Whistle ทดลองปฏิบัตใิ นเคร่ืองมือ blowing blowing blowing -Transparency and Open data -Transparency and Open data -Transparency and Open data nced) -อื่นๆ เชน่ design thinking in public -อื่นๆ เช่น design thinking in public -อ่นื ๆ เชน่ design thinking in public กรรมสง่ เสริมการป้องกันทจุ รติ service service service กรรมต่อต้านทจุ ริต การทดลองปฏบิ ัตใิ นเครอ่ื งมอื การทดลองปฏิบัติในเครอื่ งมอื การทดลองปฏิบตั ใิ นเครอ่ื งมอื ฐ อกชน (แทรกเสริมใน Design (Intermediate) (Advanced) คดิ ในการสรา้ งนวัตกรรมการตอ่ ตา้ น Thinking หน่วยท่ี 3) นวัตกรรมสง่ เสริมการปอ้ งกันทุจริต นวัตกรรมสง่ เสริมการปอ้ งกันทุจรติ นวัตกรรมต่อตา้ นทจุ ริต นวัตกรรมต่อตา้ นทจุ รติ -ภาครฐั -ภาครฐั -ภาคเอกขน -ภาคเอกขน หมายเหตุ แดง - Advance Level เหลือง - Intermediate Level เขยี ว - Basic Level

1 หลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา เรอ่ื ง การตา้ นทุจรติ ในสถานการณ์การเปลย่ี นฉบั พลันทางเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Disruption) สาหรับ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น 1. ความเปน็ มาของหลักสตู ร ปจั จบุ นั โลกเข้าสู่สถานการณ์ข้อมูลขา่ วสาร ซ่ึงสถานการณว์ ิทยาการตา่ ง ๆ เป็นปัจจัยสาคญั ในการดารงชีวิต ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้รูปแบบการดาเนินชีวิตมีความสะดวกสบายข้ึน การประกอบธุรกิจอาศัยข้อมูล ในการคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ การบริการลูกค้า และเศรษฐกิจได้กลายเป็นระบบเศรษฐกิจโลก การเปล่ียนแปลงน้ีเอง ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ท่ีเรียกว่า Digital Disruption ซึ่งหมายถึงการเปลี่ยนแปลงส่ิงที่เป็นอยู่อย่างรุนแรงและรวดเร็ว ทาให้มีผลกระทบมากมาย ส่ิงเหล่าน้ีเกิดขึ้นจากเทคโนโลยีการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต ทาให้เกิดการส่งข้อมูล ข่าวสารถึงกนั ได้ตลอดเวลา เทคโนโลยปี ญั ญาประดิษฐท์ ี่ชว่ ยใหว้ ินจิ ฉัยปัญหาตา่ ง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว อปุ กรณต์ า่ ง ๆ เชือ่ มต่อกันผา่ นอินเทอรเ์ นต็ หรอื ท่เี รียกวา่ IoT (Internet of Things) สาหรับประเทศไทยรัฐบาลได้แถลงนโยบาย “Digital Economy” (เศรษฐกิจดิจิทัล) ก่อให้เกิดการปรับ โครงสร้างกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็น “กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม” เพ่ือเพ่ิม ขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศด้วยการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นเครื่องมือ ในรูปแบบ “ดิจิทัลไทยแลนด์” (Digital Thailand) ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดการปฏิรูปกระบวนทัศน์ในการทางานในภาคราชการ และภาคธรุ กิจอยา่ งรวดเรว็ จากสถานการณ์น้ีเองทาให้มีการนาเทคโนโลยีไปใช้ในเชิงทุจริตได้มากข้ึน สานักงาน ป.ป.ช. ได้ตระหนักถึง ปัญหาเหล่านี้เป็นอย่างดี จึงได้จัดการปรับปรุงหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาให้ทันสมัยข้ึน โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ Digital Disruption, ทรัพยากรน้า, ทรัพยากรธรณี โดยจะนาไปสอดแทรกในการศึกษาทุกระดับ ได้แก่ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ระดับอุดมศึกษา รวมถึงหลักสูตรการฝึกอบรม ได้แก่ กลุ่มทหาร ตารวจ และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น กลุ่มวทิ ยากร ป.ป.ช./บุคลากรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ และกลมุ่ โค้ช สาหรับกลุ่มมัธยมศึกษาตอนต้นน้ัน ถือเป็นกลุ่มที่มีความสาคัญเป็นอย่างมากที่จะต้องมีการเรียนรู้เกี่ยวกับ Digital Disruption เพ่ือให้เท่าทันต่อความเปลี่ยนแปลงของโลก และเท่าทันต่อการทุจริตในโลกสถานการณ์ Digital Disruption รวมไปถงึ มีส่วนรว่ มในการตอ่ ต้านการทจุ รติ ดว้ ย นิยามศพั ท์เฉพาะ การอธิบายความหมายการใช้คาตามศัพท์บัญญัติของสานักงานราชบัณฑิตยสภา โดยคณะกรรมการจัดทา พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2562 ได้กาหนด/บัญญัติ คาว่า Digital Disruption คือ การเปล่ียนฉับพลันทางดิจิทัล กล่าวคือ การเปลี่ยนรูปแบบการทางานให้ใช้คอมพิวเตอร์ ในลักษณะทกี่ ้าวหน้าขึ้น จนอาจถงึ ข้ันไมต่ อ้ งใชแ้ รงงานคน มกั เป็นการเปลี่ยนอย่างทนั ทีทันใดจนทาให้รูปแบบการ ทางานแบบเดิมต้องยุติลง เช่น การใช้หุ่นยนต์ทางานซ้าซากแทนแรงงานคน การถ่ายภาพท่ีใช้ฟิล์มมาเป็นการใช้ กล้องดิจิทัลซ่ึงบันทึกภาพเป็นข้อมูลทันที การทาให้อุปกรณ์ต่าง ๆ มีความสามารถในการตัดสินใจเองโดยใช้ หลักการปัญญาประดิษฐ์ โดยในหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาน้ี จะใช้คาว่า “Digital Disruption” ตลอดท้ังเล่มหลักสูตร เพ่อื ท่จี ะสอื่ ความหมายได้โดยตรงในยคุ ดจิ ทิ ัลเพอ่ื การรับรู้

2 2. วตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตร 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ Digital Disruption รวมไปถึงสามารถวิเคราะห์ถึงโอกาสและภัยที่เกิด จาก Digital Disruption 2. ทราบถึงวิธีการ เครื่องมือต่าง ๆ ในการสร้างความโปร่งใส และการต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption และมีความต่ืนรู้ในการมีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption ผ่านเครอื่ งมอื ต่าง ๆ อยา่ งถกู ตอ้ ง 3. สามารถมีแนวคิดเก่ียวกับนวัตกรรมในการป้องกันและต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption 3. โครงสร้างเนือ้ หาสาระ ระยะเวลา (ชม.) ลาดบั เน้ือหาสาระ 11 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหมายและความสาคญั ของ Digital Disruption 4 - ความหมายความสาคญั - รูปแบบและลกั ษณะของ Digital Disruption 2 - กฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้อง 3 2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 โอกาสและภัยทเ่ี กิดจาก Digital Disruption - โอกาสเชงิ บวกของการใช้เทคโนโลยใี นการตอ่ ต้านทจุ ริต 20 - ภยั ของการใช้เทคโนโลยใี นการทจุ ริต 3 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 3 โอกาสในการลดการทุจรติ ในสถานการณ์ Digital Disruption - General Governance cooperate governance and compliance - IT Governance 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 นวตั กรรมการต่อตา้ นทุจรติ ในสถานการณ์ Digital Disruption - นวตั กรรมสง่ เสริมการป้องกันทุจรติ - นวตั กรรมตอ่ ต้านทจุ ริต รวม โมเดล STRONG เป็นการนาตัวอักษรแรกของศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีความหมายเชิงบวกจานวน 6 คา มาประกอบเป็นคาศัพท์ส่ือความหมายถึง “ความแข็งแกร่ง” ของบุคคล และองค์กรในการต่อต้านการทุจริต โดยมี ความมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้านทุจริต ร่วมกันพัฒนาชุมชนให้ก้าวไปข้างหน้าด้วยการป ระยุกต์และ บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับความโปร่งใส การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม การตระหนักรู้และใส่ใจปัญหาการทุจริต และร่วมกันพัฒนาชุมชนให้มีความเอ้ืออาทรบนพ้ืนฐานของ จริยธรรมและจิตพอเพียง ตลอดจนเกิดเครือข่ายชุมชนจิตพอเพียงต้านทุจริต และเป็นแกนนาสร้างวัฒนธรรม ไม่ทนต่อการทุจริต ซ่ึงโมเดล STRONG ได้มีการสร้างและพัฒนาโดยรองศาสตราจารย์ ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงได้ดังแผนภาพ ดังน้ี

3 * แผนภาพท่ี 1 โมเดล STRONG – จิตพอเพียงตา้ นทุจริต ปี พ.ศ. 2562 จากแผนภาพขา้ งต้น สามารถอธิบายนยิ ามเชิงปฏิบัตกิ ารได้ ดังน้ี (1) พอเพียง (Sufficient : S) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมที่ระดับท่ีแตกต่างกันตามวิธีคิด สภาพความพร้อมและ ความสามารถ รวมท้ังตามสถานภาพทางเศรษฐกจิ และสงั คมของบคุ คลและครอบครัว กลไกหลักคือ ปรับวิธีคิดท่ีแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และ เป็นอัตโนมัติจะนาไปสู่จิตสานึกท่ีพอเพียง ไม่กอบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดบังรัฐ ไม่รับอามิสสินบนโดยมิต้องจากัดขอบเขตของการประกอบอาชีพที่สุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงินทองได้ตาม ความสามารถ ทัง้ นี้ โดยไมเ่ ดือดรอ้ นตนเองและผู้อื่น (2) โปรง่ ใส (Transparent: T) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความโปร่งใส ทาใหเ้ หน็ ภาพหรอื ปรากฏการณ์ชดั เจน กลไกหลกั คือ สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ และวิธสี งั เกตเกย่ี วกับความโปร่งใสของโครงการตา่ ง ๆ (3) ตน่ื รู้ (Realize: R) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 เมอ่ื บคุ คลรพู้ ษิ ภยั ของการทจุ รติ และไม่ทนที่จะเห็นการทุจรติ เกดิ ข้ึน กลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์การทุจริตในพ้ืนท่ี ในชุมชน หรือในกรณีที่ปรากฏการทุจริตข้ึน หรอื กรณีศกึ ษาท่ีเกิดขึน้ มาแลว้ และมีคาพิพากษาถึงทส่ี ดุ แล้ว

4 (4) มงุ่ ไปขา้ งหน้า (Onward: O) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 การไม่มกี ารทุจรติ ของภาครัฐ จะทาให้เงนิ ภาษีถูกนาไปใช้ในการพัฒนาอย่างเต็มท่ี กลไกหลัก คือ การป้องกัน และการป้องปราม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังพ้ืนท่ี ท่ีมคี วามเสีย่ ง ในการทจุ ริต เช่น การบกุ รุกพ้ืนทีส่ าธารณะ หรอื เฝา้ ระวงั โครงการให้ดาเนินการดว้ ยความโปร่งใส (5) ความรู้ (Knowledge: N) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความรู้ดา้ นต่าง ๆ มคี วามจาเปน็ ตอ่ การป้องกันและปอ้ งปรามการทุจรติ กลไกหลกั คือ การให้ความรู้ในรปู แบบการฝึกอบรม หรอื ให้ส่ือเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง เชน่ (1) ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการทุจริตแบบต่าง ๆ ท้ังแบบสมัยอดีต แบบปัจจุบัน และแบบที่ อาจจะเกดิ ขึน้ ในอนาคต (2) ความรเู้ กีย่ วกบั การทจุ ริตในตา่ งประเทศ (3) วิธกี ารป้องกัน - ป้องปรามแบบตา่ ง ๆ (4) ความรเู้ กย่ี วกับการเฝ้าระวัง (5 )ความรเู้ ก่ยี วกับกฎหมายทเี่ กี่ยวข้อง (6) เออื้ อาทร (Generosity: G) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 การพัฒนาสังคมไทยให้มีน้าใจ โอบอ้อมอารี เอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ โดยไม่มีผลประโยชน์ตอบแทนหรือ หวงั ผลตอบแทน ในฐานะเพอ่ื นมนุษย์ กลไกหลัก กิจกรรมจิตอาสา ช่วยเหลือบุคคล ชุมชน/สังคมในยามวิกฤติ หรือการร่วมมือในการ ร่วมพฒั นาชุมชน จากนิยามข้างต้น STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริต จึงหมายถึง ผู้ที่มีความพอเพียง ไม่เบียดเบียนตนเอง และผอู้ ่ืน (S) มุ่งอนาคตท่เี จรญิ ทง้ั ตนเองและส่วนรวม (O) โดยใชห้ ลักความโปรง่ ใสตรวจสอบได้ (T) พนื้ ฐานจติ ใจมี มนุษยธรรมเอ้ืออาทร ช่วยเหลือเพ่ือนมนุษย์โดยไม่เห็นแก่ประโยชนต์ ่างตอบแทน (G) ให้ความสาคัญต่อการเรยี นรู้ ตลอดชีวิต เพ่ือการดารงชีวิตในทางท่ีชอบ (N) แต่ตื่นรู้เร่ืองภัยทุจริตท่ีร้ายแรงส่งผลต่อสังคม รังเกียจการทุจริต ประพฤติมชิ อบทั้งปวง ไม่ยอมทนตอ่ การทุจริตทุกรปู แบบ (R) นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการพัฒนาโมเดล STRONG โดยเพ่ิมในเร่ืองของการมีส่วนร่วม (Participation) อันเป็นกลไกสาคัญในการเชื่อมโยง และขับเคลื่อนหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การป้องกัน การทุจริตได้เป็นรูปธรรมอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงการเผยแพร่หลักการของโมเดล STRONG สู่ชุมชน จะดาเนินการ โดยสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด และมีการคัดเลือกผู้แทน/ผู้นาชุมชนในจังหวัดท่ีมีเครือข่าย มีความสามารถ และทกั ษะในการถ่ายทอดองคค์ วามรู้มาอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโมเดล STRONG การนาไปประยุกต์ใช้ ในการการต่อต้านการทุจริต เช่น การคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนและความ อายต่อการทจุ ริต หลักการจิตพอเพยี งด้วยวิธีการที่เหมาะสม เปน็ ตน้ เพอ่ื ให้ผู้ได้รบั การคัดเลือกเปน็ โค้ช (Coach)

5 ถา่ ยทอดความรู้เก่ียวกบั หลักการของโมเดล STRONG และการต่อต้านการทจุ ริตให้แกผ่ ู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชน รวมถึง ยงั มกี ารจัดต้ังชมรม STRONG เพื่อใหท้ กุ ภาคสว่ นมคี วามตระหนักรู้เลง็ เหน็ ถงึ ความสาคัญของปัญหาการทจุ ริตและ มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวงั และแจง้ เบาะแสการทุจริต 4. หนว่ ยการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ความหมายและความสาคัญของ Digital Disruption หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 โอกาสและภัยที่เกดิ จาก Digital Disruption หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 โอกาสในการลดการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 นวัตกรรมการต่อต้านทุจรติ ในสถานการณ์ Digital Disruption

4. หนว่ ยการเรียนรู้ ที่ ช่อื หน่วย วัตถปุ ระสงค์ เวลา เนือ้ หาสาระ Digital Disruption กา 1 ความหมายและ· อธบิ ายความหมาย 11 ▪ ภาพรวมของ DD STRO ความสาคัญของ สาเหตุ รปู แบบ Digital ลักษณะ กฎหมาย - ความหมาย N– Disruption ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง เกยี่ วกับ Digital Disruption - รปู แบบ/ลกั ษณะ เทา่ ท - ตัวอยา่ ง Digital ที่เกิด Disruption ▪ กฎหมายที่เกยี่ วขอ้ ง - พรบ.ข้อมลู ขา่ วสารฯ - พรบ.คอมพวิ เตอรฯ์ - พรบ.ข้อมลู สว่ นบุคคล · ระบุความสาคญั และ ▪ ความหมายของข้อมลู STRO ประเภทของ “ขอ้ มูล” ท้งั ข้อมลู ▪ ประเภทของขอ้ มลู N– สว่ นบุคคล และ ข้อมูลสาธารณะ (private/public) เทา่ ท · ระบุความสมั พันธ์ ▪ ลกั ษณะเฉพาะของข้อมลู ที่เกดิ ของผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ น เสียในทุกมติ ิ ตวั อยา่ งใชป้ ระโยชนข์ อ้ มูล 2 โอกาสและภยั ท· ี่ อธิบายโอกาส ▪ บทบาทขององค์กร STRO เกดิ จาก Digital ทเ่ี กดิ จาก Digital Disruption Disruption ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง (ผเู้ ลน่ /ผใู้ ช/้ ผู้ N – คุม) เทา่ ท Digital asset ทเี่ กิด (Cryptocurrency/Telecom) 4 ▪ โอกาสเชิงบวกของการใช้ STRO เทคโนโลยใี นการต่อต้าน R– ทจุ รติ การแ กรณศี กึ ษาโอกาสเชิงบวกของ อันม การใชเ้ ทคโนโลยใี นการ O– ตอ่ ตา้ นการทุจริต เพ่อื แ หรือ N– เท่าท ท่ีเกิด อธบิ ายภยั ทเ่ี กิดจาก ▪ โอกาสทางลบของการใช้ STRO Digital Disruption เทคโนโลยใี นการทจุ รติ

6 ารต่อต้านการทุจรติ วิธีการเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ แหลง่ การเรยี นรู้ การประเมนิ ผล ONG Model บรรยายในช้ันเรียน สื่อออนไลน์ หอ้ งสมุดและ เขยี นอธิบาย ความรู้ มีความรู้ สบื ค้นข้อมูล สอื่ ออฟไลน์ แหลง่ ขอ้ มูล ความหมายหรอื ทันตอ่ สถานการณ์ (Basic) เช่น ออนไลน์ บนั ทกึ ผล ดขึ้น powerpoint, การเรียนรู้ หนังสือ ONG Model บรรยายในช้ันเรียน สอื่ ออนไลน์ ห้องสมุดและ วิเคราะห์ตาม ความรู้ มคี วามรู้ สืบคน้ ขอ้ มูล สื่อออฟไลน์ แหลง่ ขอ้ มูล วัตถุประสงค์ ทันต่อสถานการณ์ วเิ คราะหก์ รณีศกึ ษา ออนไลน์ โดยการตอบคาถาม ดขน้ึ (Basic) ในชน้ั เรียน หอ้ งสมุดและ ONG Model บรรยายในชน้ั เรยี น สื่อออนไลน์ แหล่งข้อมลู วเิ คราะห์ตาม ความรู้ มคี วามรู้ สืบค้นขอ้ มูล สอ่ื ออฟไลน์ ออนไลน์ วัตถปุ ระสงค์ ทันตอ่ สถานการณ์ อภิปรายกลมุ่ โดยการตอบคาถาม ดขนึ้ (Basic) ห้องสมุดและ ในชัน้ เรียน แหลง่ ข้อมูล ONG Model บรรยายในชน้ั เรียน สอ่ื ออนไลน์ ออนไลน์ วเิ คราะหต์ าม ตื่นรู้ ตอ่ พษิ ภยั ของ วเิ คราะห์กรณีศึกษา สือ่ ออฟไลน์ วตั ถุประสงค์ แสวงหาโอกาส อภิปรายกลมุ่ ห้องสมดุ และ โดยการตอบคาถาม มชิ อบ (Basic) แหล่งขอ้ มูล ในช้นั เรียน ม่งุ ขา้ งหนา้ ออนไลน์ แกไ้ ข ปอ้ งกนั บรรยายในช้นั เรียน สื่อออนไลน์ วิเคราะหต์ าม อพฒั นา วิเคราะหก์ รณีศกึ ษา สื่อออฟไลน์ วตั ถุประสงค์ ความรู้ มคี วามรู้ อภิปรายกลมุ่ ทนั ต่อสถานการณ์ ดขน้ึ ONG Model

4. หนว่ ยการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ เวลา เนือ้ หาสาระ ท่ี ช่อื หน่วย อธบิ ายหลัก Digital Disruption กา ธรรมาภบิ าลกบั 3 โอกาสในการ การใชเ้ ทคโนโลยี กรณีศกึ ษาภยั ของเทคโนโลยี R – ลดการทจุ ริต ในสถานการณ์ ระบุวธิ กี ารและ ในการทจุ ริต การแ Digital เครื่องมือในการ Disruption ตอ่ ต้านการทจุ ริตใน อนั ม ภาคสว่ นตา่ ง ๆ เชน่ ในภาครฐั O– ภาคเอกชน ภาค สงั คม ภาคส่ือ และ แกไ้ ข ในกลมุ่ ประชาชน ท่ัวไป N– เทา่ ท ที่เกดิ 2 ▪ General Governance STRO ▪ IT Governance T– การเ ความ O– แก้ไข N– เทา่ ท ที่เกิด ▪ เคร่อื งมอื ต่อต้านทุจริต STRO - Feedback system and T – Whistle blowing การเ - Transparency and ความ Open data O– - อื่นๆ เชน่ design แกไ้ ข thinking in public service N – เทา่ ท ท่ีเกิด เกดิ การตน่ื รู้และ การทดลองปฏิบตั ใิ น STRO พร้อมลงมือตอ่ ต้าน เคร่อื งมือ T– การทุจริตใน การเ สถานการณ์ digital ความ disruption ผ่าน

7 ารต่อต้านการทจุ ริต วิธีการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ แหล่งการเรยี นรู้ การประเมินผล (Basic) โดยการตอบคาถาม ตน่ื รู้ ต่อพษิ ภยั ของ สื่อออนไลน์ หอ้ งสมุดและ ในช้ันเรยี น แสวงหาโอกาส บรรยายในชัน้ เรียน สอ่ื ออฟไลน์ แหล่งข้อมลู มชิ อบ สืบค้นขอ้ มลู ออนไลน์ วิเคราะหต์ าม มุ่งข้างหนา้ เพื่อ (Basic) สอื่ ออนไลน์ วตั ถุประสงค์ ข ปอ้ งกนั หรอื พฒั นา สอ่ื ออฟไลน์ หอ้ งสมดุ และ โดยการตอบคาถาม ความรู้ มคี วามรู้ บรรยายในช้นั เรียน แหลง่ ขอ้ มลู ในชั้นเรยี น ทันตอ่ สถานการณ์ สืบค้นขอ้ มลู ออนไลน์ ดขึ้น วเิ คราะหก์ รณศี ึกษา วิเคราะหต์ าม (Basic) วตั ถุประสงค์ ONG Model โดยการตอบคาถาม ม่งุ สรา้ งความโปร่งใส ในชน้ั เรยี น เปดิ เผยข้อมูล มรับผดิ ชอบ มงุ่ ข้างหนา้ เพื่อ ข ป้องกนั หรอื พฒั นา ความรู้ มคี วามรู้ ทันต่อสถานการณ์ ดขึ้น ONG Model มุ่งสร้างความโปรง่ ใส เปดิ เผยข้อมลู มรับผดิ ชอบ มงุ่ ขา้ งหนา้ เพื่อ ข ปอ้ งกัน หรอื พฒั นา ความรู้ มคี วามรู้ ทนั ต่อสถานการณ์ ดข้นึ ONG Model แบบฝกึ หัดกจิ กรรม สอื่ ออนไลน์ หอ้ งสมดุ และ ประเมินจากผลการ มงุ่ สร้างความโปร่งใส การเรยี นรู้ ส่อื ออฟไลน์ แหลง่ ข้อมลู ทากจิ กรรม เปดิ เผยข้อมูล ออนไลน์ มรับผิดชอบ

4. หน่วยการเรยี นรู้ วตั ถปุ ระสงค์ เวลา เน้ือหาสาระ เครอื่ งมอื ต่าง ๆ ที่ ชอ่ื หน่วย อยา่ งถูกตอ้ ง Digital Disruption กา 4 นวัตกรรมการ อธบิ ายตวั อยา่ ง R– ต่อตา้ นทุจรติ นวตั กรรมการ ในสถานการณ์ ป้องกันและตอ่ ต้าน แสวง Digital การทุจรติ ใน Disruption สถานการณ์ Digital O– Disruption แกไ้ ข สรา้ งนวตั กรรมการ ต่อต้านการทุจริตใน N– สถานการณ์ Digital Disruption เทา่ ท ทีเ่ กดิ 3 ▪ นวตั กรรมสง่ เสรมิ STRO การปอ้ งกนั ทจุ ริต T– ▪ นวตั กรรมต่อตา้ นทจุ รติ การเ ความ - ภาครัฐ R– - ภาคเอกขน การแ อันม O– แกไ้ ข N– เท่าท ที่เกิด แนวคิดในการสรา้ งนวัตกรรม STRO การตอ่ ต้านทจุ รติ T– การเ ความ R– การแ อนั ม O– แก้ไข N– เท่าท ทเี่ กดิ

8 ารต่อตา้ นการทจุ รติ วิธีการเรยี นรู้ ส่ือการเรยี นรู้ แหล่งการเรียนรู้ การประเมนิ ผล ตื่นรู้ ตอ่ พษิ ภยั องการ บรรยายในชัน้ เรียน สอ่ื ออนไลน์ ห้องสมุดและ วเิ คราะห์ตาม งหาโอกาส อันมชิ อบ สบื คน้ ขอ้ มูล สอ่ื ออฟไลน์ แหลง่ ขอ้ มลู วตั ถปุ ระสงค์ มุง่ ขา้ งหนา้ เพื่อ วิเคราะห์กรณีศกึ ษา ออนไลน์ โดยการตอบคาถาม ข ปอ้ งกัน หรอื พฒั นา (Basic) - ในช้ันเรยี น ความรู้ มคี วามรู้ หอ้ งสมุดและ ทนั ต่อสถานการณ์ การนาเสนอไอเดีย แหลง่ ข้อมลู ประเมินผลจาก ดขึน้ ออนไลน์ ชนิ้ งาน ONG Model มงุ่ สร้างความโปรง่ ใส เปดิ เผยขอ้ มูล มรบั ผิดชอบ ตืน่ รู้ ต่อพษิ ภยั ของ แสวงหาโอกาส มชิ อบ มงุ่ ขา้ งหนา้ เพอื่ ข ป้องกนั หรอื พัฒนา ความรู้ มคี วามรู้ ทันตอ่ สถานการณ์ ดขนึ้ ONG Model มงุ่ สร้างความโปรง่ ใส เปิดเผยขอ้ มลู มรับผดิ ชอบ ตนื่ รู้ ต่อพษิ ภยั ของ แสวงหาโอกาส มชิ อบ มุง่ ขา้ งหนา้ เพ่อื ข ปอ้ งกัน หรอื พฒั นา ความรู้ มีความรู้ ทนั ตอ่ สถานการณ์ ดขึ้น

9 5. แนวทางการจัดการเรียนรแู้ ละประเมินผล จดั การเรียนการสอนแบบเน้นความเขา้ ใจเน้ือหาสาระ (Content Based Learning) โดยผู้สอนเปน็ โค้ชจัด กระบวนการเพ่ือชี้แนะให้นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมจนได้องค์ความรู้เพื่อสร้างเป็น โครงงานนวัตกรรมต้านการทุจริต และการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เพ่ือประเมินว่า พฤติกรรมทน่ี กั ศกึ ษาแสดงนั้นสามารถสะท้อนความสามารถที่แท้จรงิ ได้ ประกอบกับการพัฒนาหลักสูตรโดยใช้การเรียนรู้ Online Learning โดยร่วมกับสถาบันการศึกษาหรือ องค์กรเอกชน และมีการประเมินผลจากการตอบคาถาม Multiple Choice ในลักษณะ Gamification เช่น Trivia Board game ประกอบกบั ประเมนิ จากผลงานในการจดั ทา Project assignment 6. แนวทางการนาหลักสตู รไปใช้ (1) เปิดรายวชิ าเพ่ิมเตมิ (2) บรู ณาการการเรยี นการสอนกับกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (3) บรู ณาการการเรยี นการสอนกบั กลุ่มสาระอน่ื ๆ (4) จดั ในกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน (5) จัดเปน็ กจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร (6) บูรณาการกับวถิ ีชีวติ ในโรงเรียน

10 หลกั สตู รตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา เรอื่ ง การต้านทุจริตในสถานการณ์การเปลี่ยนฉับพลนั ทางเทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Disruption) สาหรบั ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 1. ความเป็นมาของหลักสูตร ปัจจุบันโลกเข้าสู่สถานการณ์ข้อมูลข่าวสาร ซ่ึงวิทยาการต่าง ๆ เป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิต ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้รปู แบบการดาเนินชีวิตมีความสะดวกสบายขึ้น การประกอบธุรกิจอาศัยข้อมูลใน การคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ การบริการลูกค้า และเศรษฐกิจได้กลายเป็นระบบเศรษฐกิจโลก การเปล่ียนแปลงน้ีเอง ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ท่ีเรียกว่า Digital Disruption ซ่ึงหมายถึงการเปล่ียนแปลงส่ิงท่ีเป็นอยู่อย่างรุนแรงและ รวดเร็ว ทาให้มีผลกระทบมากมาย สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นจากเทคโนโลยีการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต ทาให้เกิดการส่ง ขอ้ มลู ขา่ วสารถงึ กันได้ตลอดเวลา เทคโนโลยปี ญั ญาประดิษฐ์ที่ชว่ ยใหว้ ินจิ ฉัยปัญหาต่าง ๆ ได้อยา่ งรวดเรว็ อุปกรณ์ ต่าง ๆ เช่อื มตอ่ กันผ่านอินเทอร์เนต็ หรอื ทเี่ รยี กว่า IoT (Internet of Things) สาหรับประเทศไทยรัฐบาลได้แถลงนโยบาย “Digital Economy” (เศรษฐกิจดิจิทัล) ก่อให้เกิดการปรับ โครงสร้างกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเป็น “กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม” เพ่ือเพิ่ม ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ทางเศรษฐกจิ ของประเทศดว้ ยการใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เปน็ เครื่องมือใน รูปแบบ “ดิจิทัลไทยแลนด์” (Digital Thailand) ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการปฏิรูปกระบวนทัศน์ในการทางานในภาค ราชการ และภาคธรุ กิจอยา่ งรวดเร็ว จากสถานการณ์นี้เองทาให้มีการนาเทคโนโลยีไปใช้ในเชิงทุจริตได้มากขึ้น สานักงาน ป.ป.ช. ได้ตระหนักถึง ปัญหาเหล่านี้เป็นอย่างดี จึงได้จัดการปรับปรุงหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาให้ทันสมัยขึ้น โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ Digital Disruption, ทรัพยากรน้า, ทรัพยากรธรณี โดยจะนาไปสอดแทรกในการศึกษาทุกระดับ ได้แก่ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ระดับอุดมศึกษา รวมถึงหลักสูตรการฝึกอบรม ได้แก่ กลุ่มทหาร ตารวจ และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น กลุ่มวทิ ยากร ป.ป.ช./บุคลากรภาครฐั และรัฐวสิ าหกิจ และกล่มุ โค้ช สาหรับกลุ่มมัธยมศึกษาตอนปลายนั้น ถือเปน็ กลมุ่ ทม่ี ีความสาคัญเป็นอยา่ งมากทจี่ ะต้องมีการเรยี นรเู้ กี่ยวกับ Digital Disruption เพื่อให้เท่าทันต่อความเปลี่ยนแปลงของโลก และเท่าทันต่อการทุจริตในโลกสถานการณ์ Digital Disruption รวมไปถงึ มสี ่วนร่วมในการต่อตา้ นการทจุ ริตด้วย นยิ ามศัพท์เฉพาะ การอธิบายความหมายการใช้คาตามศัพท์บัญญัติของสานักงานราชบัณฑิตยสภา โดยคณะกรรมการจัดทา พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2562 ได้กาหนด/บัญญัติ คาว่า Digital Disruption คือ การเปลี่ยนฉับพลันทางดิจิทัล กล่าวคือ การเปลี่ยนรูปแบบการทางานให้ใช้คอมพิวเตอร์ ในลักษณะที่กา้ วหน้าข้นึ จนอาจถึงข้ันไมต่ ้องใชแ้ รงงานคน มกั เป็นการเปล่ยี นอยา่ งทันทีทันใดจนทาให้รูปแบบการ ทางานแบบเดิมต้องยุติลง เช่น การใช้หุ่นยนต์ทางานซ้าซากแทนแรงงานคน การถ่ายภาพที่ใช้ฟิล์มมาเป็นการใช้ กล้องดิจิทัลซ่ึงบันทึกภาพเป็นข้อมูลทันที การทาให้อุปกรณ์ต่าง ๆ มีความสามารถในการตัดสินใจเองโดยใช้ หลักการปัญญาประดิษฐ์ โดยในหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาน้ี จะใช้คาว่า “Digital Disruption” ตลอดท้ังเล่มหลักสูตร เพอื่ ท่จี ะสอื่ ความหมายได้โดยตรงในยคุ ดจิ ิทัลเพอ่ื การรบั รู้

11 2. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 2.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ Digital Disruption รวมไปถึงสามารถวิเคราะห์ถึงโอกาสและภัยท่ีเกิด จาก Digital Disruption 2.2 ทราบถึงวิธีการ เครื่องมือต่าง ๆ ในการสร้างความโปร่งใสและการต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption และมีความต่ืนรู้ในการมีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption ผ่านเคร่อื งมอื ตา่ ง ๆ อย่างถูกต้อง 2.3 สามารถพัฒนาต้นแบบ (Prototype) เกี่ยวกับนวตั กรรมในการป้องกันและต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption 3. โครงสรา้ งเนื้อหาสาระ ระยะเวลา (ชม.) ลาดับ เนอ้ื หาสาระ 4 1 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความหมายและความสาคญั ของ Digital Disruption 4 - ความหมายความสาคัญ 6 - รปู แบบและลกั ษณะของ Digital Disruption - กฎหมายทเี่ กี่ยวข้อง 6 20 2 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 โอกาสและภยั ท่เี กดิ จาก Digital Disruption - โอกาสเชงิ บวกของการใช้เทคโนโลยใี นการต่อต้านทุจรติ - ภัยของการใชเ้ ทคโนโลยใี นการทจุ ริต 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 โอกาสในการลดการทจุ ริตในสถานการณ์ Digital Disruption - General Governance cooperate governance and compliance - IT Governance - Data Governance - เครอ่ื งมอื ต่อตา้ นการทุจรติ 4 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 นวตั กรรมการต่อต้านทุจริต ในสถานการณ์ Digital Disruption - นวัตกรรมสง่ เสริมการป้องกันทจุ รติ - นวตั กรรมต่อตา้ นทจุ รติ รวม โมเดล STRONG เป็นการนาตัวอักษรแรกของศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีความหมายเชิงบวกจานวน 6 คา มาประกอบเป็นคาศัพท์ส่ือความหมายถึง “ความแข็งแกร่ง” ของบุคคลและองค์กรในการต่อต้านการทุจริต โดยมี ความมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้านทุจริต ร่วมกันพัฒนาชุมชนให้ก้าวไปข้างหน้าด้วยการประยุกต์และ บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับความโปร่งใส การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม การตระหนักรู้และใส่ใจปัญหาการทุจริต และร่วมกันพัฒนาชุมชนให้มีความเอ้ืออาทรบนพ้ืนฐานของ จริยธรรมและจิตพอเพียง ตลอดจนเกิดเครือข่ายชุมชนจิตพอเพียงต้านทุจริตและเป็นแกนนาสร้างวัฒนธรรม

12 ไม่ทนต่อการทุจริต ซ่ึงโมเดล STRONG ได้มีการสร้างและพัฒนาโดยรองศาสตราจารย์ ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงได้ดังแผนภาพ ดงั น้ี *แผนภาพที่ 1 โมเดล STRONG – จิตพอเพียงต้านทุจริต ปี พ.ศ. 2562 จากแผนภาพขา้ งต้น สามารถอธบิ ายนิยามเชงิ ปฏิบตั กิ ารได้ ดงั น้ี (1) พอเพียง (Sufficient : S) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมท่ีระดับที่แตกต่างกันตามวิธีคิด สภาพความพร้อมและ ความสามารถ รวมทง้ั ตามสถานภาพทางเศรษฐกจิ และสังคมของบุคคลและครอบครวั กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดที่แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และ เป็นอัตโนมัติจะนาไปสู่จิตสานึกท่ีพอเพียง ไม่กอบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน ไม่เบียดบังรัฐ ไม่รับอามิสสินบนโดยมิต้องจากัดขอบเขตของการประกอบอาชีพที่สุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงินทองได้ตาม ความสามารถ ท้งั น้ี โดยไมเ่ ดือดร้อนตนเองและผู้อน่ื (2) โปรง่ ใส (Transparent: T) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความโปร่งใส ทาให้เหน็ ภาพหรือปรากฏการณ์ชัดเจน กลไกหลัก คือ สร้างความรคู้ วามเข้าใจ และวิธีสงั เกตเกี่ยวกบั ความโปร่งใสของโครงการตา่ ง ๆ (3) ตื่นรู้ (Realize: R) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562

13 เมอ่ื บุคคลรู้พิษภยั ของการทุจรติ และไม่ทนที่จะเหน็ การทุจริตเกดิ ขึน้ กลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์การทุจริตในพ้ืนที่ ในชุมชน หรือในกรณีที่ปรากฏการทุจริตขึ้น หรือกรณศี กึ ษาทเ่ี กดิ ขึน้ มาแลว้ และมีคาพิพากษาถึงทส่ี ดุ แล้ว (4) ม่งุ ไปข้างหนา้ (Onward: O) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การไมม่ ีการทุจรติ ของภาครฐั จะทาใหเ้ งนิ ภาษีถูกนาไปใชใ้ นการพัฒนาอย่างเต็มที่ กลไกหลัก คือ การป้องกันและการป้องปราม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังพื้นที่ท่ีมี ความเส่ยี ง ในการทุจริต เช่น การบุกรุกพ้ืนท่ีสาธารณะ หรือเฝา้ ระวงั โครงการให้ดาเนนิ การด้วยความโปร่งใส (5) ความรู้ (Knowledge: N) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความรดู้ า้ นต่าง ๆ มีความจาเป็นต่อการปอ้ งกันและป้องปรามการทจุ ริต กลไกหลัก คือ การให้ความรูใ้ นรปู แบบการฝกึ อบรม หรอื ใหส้ ือ่ เรียนรูอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง เช่น (1) ความรเู้ กี่ยวกบั รูปแบบการทุจริตแบบตา่ ง ๆ ทงั้ แบบสมัยอดีต แบบปัจจุบัน และแบบท่อี าจจะ เกดิ ข้นึ ในอนาคต (2) ความร้เู ก่ยี วกับการทุจริตในต่างประเทศ (3) วธิ ีการป้องกัน - ป้องปรามแบบตา่ ง ๆ (4) ความรเู้ ก่ียวกับการเฝา้ ระวัง (5) ความรูเ้ กย่ี วกบั กฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้อง (6) เอื้ออาทร (Generosity: G) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การพฒั นาสังคมไทยให้มีน้าใจ โอบออ้ มอารี เออ้ื เฟ้อื เผ่ือแผ่ โดยไม่มีผลประโยชน์ตอบแทนหรือหวัง ผลตอบแทน ในฐานะเพอ่ื นมนษุ ย์ กลไกหลกั กจิ กรรมจติ อาสา ชว่ ยเหลือบุคคล ชมุ ชน/สงั คมในยามวิกฤติ หรือการร่วมมือในการร่วม พฒั นาชมุ ชน จากนิยามข้างต้น STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจรติ จึงหมายถึง ผู้ท่ีมีความพอเพียง ไม่เบียดเบียนตนเอง และผูอ้ ่นื (S) มุ่งอนาคตทเ่ี จรญิ ท้งั ตนเองและสว่ นรวม (O) โดยใช้หลกั ความโปร่งใสตรวจสอบได้ (T) พ้ืนฐานจติ ใจมี มนุษยธรรมเอื้ออาทร ช่วยเหลอื เพ่ือนมนุษยโ์ ดยไม่เห็นแก่ประโยชนต์ ่างตอบแทน (G) ให้ความสาคัญต่อการเรยี นรู้ ตลอดชีวิต เพ่ือการดารงชีวิตในทางท่ีชอบ (N) แต่ต่ืนรู้เรื่องภัยทุจริตที่ร้ายแรงส่งผลต่อสังคม รังเกียจการทุจริต ประพฤติมิชอบทง้ั ปวง ไมย่ อมทนต่อการทจุ รติ ทกุ รปู แบบ (R) นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการพัฒนาโมเดล STRONG โดยเพิ่มในเรื่องของการมีส่วนร่วม (Participation) อันเป็นกลไกสาคัญในการเชื่อมโยงและขับเคลื่อนหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การป้องกัน การทุจริตได้เป็นรูปธรรมอย่างมีประสิทธภิ าพ ซึ่งการเผยแพร่หลักการของโมเดล STRONG สู่ชุมชน จะดาเนินการ โดยสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด และมีการคัดเลือกผู้แทน/ผู้นาชุมชนในจังหวัดท่ีมีเครือข่าย มีความสามารถ

14 และทักษะในการถ่ายทอดองค์ความรู้มาอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโมเดล STRONG การนาไป ประยุกต์ใช้ในการการต่อต้านการทุจริต เช่น การคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต หลักการจิตพอเพียงด้วยวิธีการที่เหมาะสม เป็นต้น เพ่ือให้ผู้ได้รับการ คัดเลือกเป็นโค้ช (coach) ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับหลักการของโมเดล STRONG และการต่อต้านการทุจริตให้แก่ ผู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชน รวมถึงยังมีการจัดต้ังชมรม STRONG เพื่อให้ทุกภาคส่วนมีความตระหนักรู้เล็งเห็นถึง ความสาคญั ของปัญหาการทจุ รติ และมสี ว่ นรว่ มในการเฝา้ ระวงั และแจง้ เบาะแสการทจุ รติ 4. หน่วยการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและความสาคัญของ Digital Disruption หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 โอกาสและภัยท่ีเกดิ จาก Digital Disruption หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 โอกาสในการลดการทุจรติ ในสถานการณ์ Digital Disruption หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 นวตั กรรมการต่อต้านทจุ ริตในสถานการณ์ Digital Disruption

1 ท่ี ช่อื หน่วย วตั ถปุ ระสงค์ เวลา เนอื้ หาสาระ Digital Disruption การต่อตา้ น 1 ความหมายและ · อธบิ ายความหมาย 1 ▪ ภาพรวมของ DD STRONG M ความสาคัญของ สาเหตุ รูปแบบ - ความหมาย N – ความร Digital ลกั ษณะ กฎหมาย - รูปแบบ เทา่ ทนั ตอ่ ส Disruption ทเี่ กย่ี วขอ้ ง เกี่ยวกับ - ตวั อย่าง digital ท่เี กิดข้นึ Digital Disruption disruption ▪ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง -พรบ.ขอ้ มลู ขา่ วสารฯ - พรบ.คอมพวิ เตอรฯ์ - พรบ.ข้อมลู สว่ นบคุ คล - พรบ.ความมัน่ คงทางไซเบอร์ · ระบุความสาคญั และ 2 ▪ ความหมายของขอ้ มลู STRONG M ประเภทของ ▪ ประเภทของข้อมลู N – ความร “ขอ้ มลู ” ทง้ั ข้อมลู (private/public) เทา่ ทันตอ่ ส ส่วนบคุ คล และ ▪ ลกั ษณะเฉพาะของข้อมลู ท่ีเกดิ ขนึ้ ข้อมลู สาธารณะ ตัวอยา่ งใชป้ ระโยชนข์ อ้ มูล · ระบุความสัมพันธ์ 1 ▪ บทบาทขององคก์ ร STRONG M ของผู้มสี ว่ นได้ส่วน ทเี่ กี่ยวขอ้ ง (ผู้เล่น/ผใู้ ช้/ผู้ N – ความร เสยี ในทกุ มิติ คุม) เทา่ ทนั ต่อส Digital asset ท่ีเกดิ ขน้ึ (Cryptocurrency/Telecom ) 2 โอกาสและภยั ท่ี · อธบิ ายโอกาส 2 ▪ โอกาสเชงิ บวกของการใช้ STRONG M เกดิ จาก Digital ทเ่ี กิดจาก Digital เทคโนโลยีในการต่อต้าน R – ตื่นรู้ ต Disruption Disruption ทุจรติ การแสวงหา กรณีศึกษาโอกาสเชงิ บวกของ อันมชิ อบ การใช้เทคโนโลยใี นการ O – มุ่งข้าง ต่อต้านการทุจรติ แก้ไข ป้องก

15 นการทุจรติ วธิ ีการเรยี นรู้ ส่อื การเรียนรู้ แหลง่ การเรียนรู้ การประเมนิ ผล Model บรรยายในชนั้ สอ่ื ออนไลน์ หอ้ งสมดุ และ เขียนอธิบาย รู้ มีความรู้ เรียน สื่อออฟไลน์ แหล่งข้อมูล ความหมายหรือ สถานการณ์ สบื ค้นขอ้ มูล ออนไลน์ บันทกึ ผล (Intermediate) การเรียนรู้ Model บรรยายในชั้น สอื่ ออนไลน์ หอ้ งสมดุ และ วเิ คราะห์ตาม รู้ มคี วามรู้ เรยี น สื่อออฟไลน์ แหล่งขอ้ มูล วตั ถปุ ระสงค์ สถานการณ์ สืบคน้ ขอ้ มลู ออนไลน์ โดยการตอบ วเิ คราะห์ สอ่ื ออนไลน์ คาถามในชนั้ เรียน Model กรณีศึกษา สื่อออฟไลน์ รู้ มคี วามรู้ (Intermediate) หอ้ งสมุดและ วิเคราะหต์ าม สถานการณ์ สื่อออนไลน์ แหล่งขอ้ มลู วัตถปุ ระสงค์ บรรยายในชน้ั สื่อออฟไลน์ ออนไลน์ โดยการตอบ Model เรยี น คาถามในชนั้ เรยี น ตอ่ พษิ ภยั ของ สืบค้นข้อมลู าโอกาส วิเคราะห์ หอ้ งสมดุ และ ประเมนิ จากการ กรณีศกึ ษา แหล่งขอ้ มลู อธิบายในการ งหนา้ เพ่อื (Intermediate) ออนไลน์ อภิปราย กัน หรือพฒั นา บรรยายในชนั้ เรียน อภิปรายกลุม่ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ ในชน้ั เรยี น (Intermediate)

1 ท่ี ชอื่ หน่วย วัตถปุ ระสงค์ เวลา เนือ้ หาสาระ 3 โอกาสในการลด Digital Disruption การต่อตา้ น การทุจริตใน สถานการณ์ N – ความร Digital Disruption เทา่ ทนั ต่อส ทเี่ กดิ ขน้ึ อธบิ ายภยั ทเ่ี กดิ จาก 2 ▪ โอกาสทางลบของการใช้ STRONG M Digital Disruption เทคโนโลยีในการทุจรติ R – ตื่นรู้ ต อธบิ ายหลกั ธรรมาภิบาลกับ กรณีศึกษาภยั ของเทคโนโลยี การแสวงหา การใชเ้ ทคโนโลยี ในการทุจริต อันมิชอบ ระบุวธิ กี ารและ เคร่ืองมือในการ O – มุง่ ขา้ ง ต่อต้านการทจุ ริตใน ภาคส่วนต่าง ๆ เชน่ แกไ้ ข ปอ้ งก ในภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค N – ความร สงั คม ภาคส่อื และ เทา่ ทันต่อส ทเ่ี กิดขน้ึ 1 ▪ General Governance STRONG M ▪ IT Governance T – ม่งุ สรา้ ง Data Governance การเปดิ เผย ความรับผดิ O – มุ่งข้าง แกไ้ ข ปอ้ งก N – ความร เทา่ ทนั ต่อส ท่ีเกิดขนึ้ 2 ▪ เคร่อื งมอื ต่อตา้ นทุจริต STRONG M - Feedback system and T – ม่งุ สร้าง Whistle blowing การเปิดเผย - Transparency and ความรับผิด Open data R – ตื่นรู้ ต - อ่นื ๆ เช่น design thinking การแสวงหา in public service ชอบ

16 นการทุจรติ วิธกี ารเรียนรู้ สือ่ การเรยี นรู้ แหล่งการเรียนรู้ การประเมินผล รู้ มีความรู้ สถานการณ์ Model บรรยายในชั้น สอื่ ออนไลน์ หอ้ งสมุดและ ประเมินจากการ ตอ่ พษิ ภยั อง เรยี น ส่อื ออฟไลน์ แหล่งขอ้ มลู อธบิ ายในการ าโอกาส อภิปรายกลมุ่ ออนไลน์ อภิปราย แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ งหนา้ เพอ่ื ในชัน้ เรยี น กัน หรือพฒั นา (Intermediate) รู้ มคี วามรู้ สถานการณ์ Model บรรยายในช้ัน สื่อออนไลน์ วิเคราะหต์ าม งความโปรง่ ใส เรยี น สอ่ื ออฟไลน์ วัตถุประสงค์ ยขอ้ มลู สบื คน้ ข้อมลู โดยการตอบ ดชอบ วิเคราะห์ คาถามในชน้ั เรยี น งหนา้ เพอ่ื กรณีศึกษา กนั หรอื พฒั นา (Intermediate) ถามตอบในชั้น รู้ มคี วามรู้ เรียนและสังเกต สถานการณ์ พฤติกรรม Model บรรยายในชนั้ สื่อออนไลน์ งความโปร่งใส เรียน สื่อออฟไลน์ ยข้อมลู สบื คน้ ข้อมลู ดชอบ วเิ คราะห์ ต่อพษิ ภยั อง กรณศี กึ ษา าโอกาส อันมิ (Intermediate)

1 ท่ี ช่ือหนว่ ย วัตถุประสงค์ เวลา เน้อื หาสาระ Digital Disruption การต่อต้าน ในกลมุ่ ประชาชน O – มงุ่ ขา้ ง ทั่วไป แกไ้ ข ป้องก N – ความร เทา่ ทันตอ่ ส ท่ีเกดิ ขึ้น เกดิ การต่ืนรแู้ ละ 3 การทดลองปฏิบัตใิ นเคร่อื งมอื STRONG M พร้อมลงมือตอ่ ต้าน T – มุง่ สรา้ ง การทจุ ริตใน การเปิดเผย สถานการณ์ digital ความรบั ผดิ disruption R – ตน่ื รู้ ต ผา่ นเคร่ืองมอื ต่าง ๆ การแสวงหา อยา่ งถูกตอ้ ง ชอบ O – มุ่งขา้ ง แกไ้ ข ปอ้ งก N – ความร เท่าทนั ตอ่ ส ทเ่ี กดิ ขึ้น 4 นวัตกรรมการ อธบิ ายตัวอย่าง 3 ▪ นวตั กรรมส่งเสริม STRONG M ต่อตา้ นทจุ รติ นวัตกรรมการ การป้องกันทุจริต T – มุ่งสร้าง ใน ปอ้ งกนั และต่อตา้ น ▪ นวัตกรรมต่อต้านทจุ ริต การเปิดเผย สถานการณ์Digital การทจุ ริตใน ความรับผดิ Disruption สถานการณ์ digital - ภาครัฐ R – ตน่ื รู้ ต disruption - ภาคเอกขน การแสวงหา ชอบ O – มุง่ ข้าง แกไ้ ข ปอ้ งก

17 นการทุจรติ วิธีการเรียนรู้ สือ่ การเรยี นรู้ แหล่งการเรียนรู้ การประเมินผล งหนา้ เพื่อ กัน หรอื พัฒนา รู้ มคี วามรู้ สถานการณ์ Model แบบฝึกหดั สอ่ื ออนไลน์ ประเมินจากผล งความโปร่งใส กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อออฟไลน์ การทากจิ กรรม ยข้อมูล (Intermediate) ดชอบ ต่อพษิ ภยั อง าโอกาส อันมิ งหนา้ เพือ่ กนั หรือพฒั นา รู้ มีความรู้ สถานการณ์ Model บรรยายในชั้น สอ่ื ออนไลน์ ตอบตาถาม งความโปรง่ ใส เรยี น สื่อออฟไลน์ ในช้นั เรียน ยข้อมลู วเิ คราะห์ ดชอบ กรณีศกึ ษา ต่อพษิ ภยั อง อภิปรายกลุม่ าโอกาส อันมิ (Intermediate) งหนา้ เพอื่ กนั หรือพฒั นา

1 ที่ ช่ือหนว่ ย วัตถุประสงค์ เวลา เน้ือหาสาระ Digital Disruption การตอ่ ต้าน N – ความร เทา่ ทนั ตอ่ ส ท่เี กดิ ขน้ึ สร้างนวัตกรรมการ 3 แนวคดิ ในการสรา้ งนวตั กรรม STRONG M ตอ่ ตา้ นการทุจรติ ใน การต่อตา้ นทจุ รติ T – มุ่งสร้าง สถานการณ์ digital การเปิดเผย disruption ความรับผดิ R – ตนื่ รู้ ต การแสวงหา ชอบ O – มุง่ ขา้ ง แก้ไข ปอ้ งก N – ความร เท่าทันต่อส ทเี่ กิดขึ้น

18 นการทจุ รติ วิธกี ารเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ แหล่งการเรยี นรู้ การประเมนิ ผล รู้ มีความรู้ การประเมินการ สถานการณ์ ปฏบิ ตั ิและสงั เกต พฤตกิ รรม Model โครงงาน และ - งความโปรง่ ใส นาเสนอ ยข้อมลู แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ดชอบ ในช้ันเรยี น ต่อพษิ ภยั อง าโอกาส อันมิ งหนา้ เพือ่ กนั หรอื พฒั นา รู้ มคี วามรู้ สถานการณ์

19 5. แนวทางการจดั การเรยี นรู้และประเมินผล จัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) โดยผู้สอนเป็นโค้ชจดั กระบวนการ เพ่อื ช้ีแนะให้นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษา คน้ ควา้ ความรู้เพ่ิมเติมจนได้องค์ความรเู้ พื่อสร้างเป็นโครงงานนวัตกรรม ต้านการทุจริต และการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เพื่อประเมินว่าพฤติกรรมท่ีนักศึกษา แสดงน้นั สามารถสะทอ้ นความสามารถทีแ่ ท้จริงได้ ประกอบกับการพัฒนาหลักสูตรโดยใช้การเรียนรู้ online learning โดยร่วมกับสถาบันการศึกษาหรือ องค์กรเอกชน และมีการประเมินผลจากการตอบคาถาม multiple choice ในลักษณะ Gamification เช่น Trivia Board game ประกอบกบั ประเมนิ จากผลงานในการจัดทา project assignment 6. แนวทางการนาหลักสตู รไปใช้ (1) เปิดรายวชิ าเพ่มิ เตมิ (2) บรู ณาการการเรยี นการสอนกบั กลุม่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (3) บูรณาการการเรยี นการสอนกับกลุ่มสาระอน่ื ๆ (4) จัดในกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น (5) จดั เปน็ กจิ กรรมเสริมหลกั สูตร (6) บรู ณาการกับวิถชี วี ติ ในโรงเรยี น

20 หลกั สตู รต้านทจุ รติ ศึกษา เรื่อง การตา้ นทจุ ริตในสถานการณ์การเปลย่ี นฉบั พลันทางเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (Digital Disruption) สาหรับ ระดับอดุ มศึกษา 1. ความเป็นมาของหลกั สูตร ปัจจุบันโลกเข้าสู่สถานการณ์ข้อมูลข่าวสาร ซ่ึงวิทยาการต่าง ๆ เป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิต ความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยที าให้รปู แบบการดาเนนิ ชีวติ มคี วามสะดวกสบายขึ้น การประกอบธุรกจิ อาศัยข้อมูลใน การคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ การบริการลูกค้า และเศรษฐกิจได้กลายเป็นระบบเศรษฐกิจโลก การเปล่ียนแปลงน้ีเอง ก่อใหเ้ กดิ ปรากฏการทีเ่ รียกวา่ Digital Disruption ซ่งึ หมายถึงการเปลย่ี นแปลงสิ่งที่เป็นอยู่อย่างรุนแรงและรวดเร็ว ทาให้มีผลกระทบมากมาย สิ่งเหล่าน้ีเกิดข้ึนจากเทคโนโลยีการส่ือสารผ่านอินเทอร์เน็ต ทาให้เกิดการส่งข้อมูล ขา่ วสารถึงกนั ไดต้ ลอดเวลา เทคโนโลยีปัญญาประดษิ ฐ์ที่ช่วยให้วินจิ ฉัยปญั หาตา่ ง ๆ ได้อยา่ งรวดเร็ว อุปกรณต์ า่ ง ๆ เชอ่ื มต่อกันผ่านอนิ เทอรเ์ นต็ หรือท่ีเรยี กวา่ IoT (Internet of Things) สาหรับประเทศไทยรัฐบาลได้แถลงนโยบาย “Digital Economy” (เศรษฐกิจดิจิทัล) ก่อให้เกิดการปรับ โครงสร้างกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็น “กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม” เพื่อเพิ่ม ขดี ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศด้วยการใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเปน็ เคร่ืองมือใน รูปแบบ “ดิจิทัลไทยแลนด์” (Digital Thailand) ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดการปฏิรูปกระบวนทัศน์ในการทางานในภาค ราชการ และภาคธุรกิจอย่างรวดเรว็ จากสถานการณ์นี้เองทาให้มีการนาเทคโนโลยีไปใช้ในเชิงทุจริตได้มากขึ้น สานักงาน ป.ป.ช. ได้ตระหนักถึง ปัญหาเหล่านี้เป็นอย่างดี จึงได้จัดการปรับปรุงหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาให้ทันสมัยข้ึน โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ Digital Disruption, ทรัพยากรน้า, ทรัพยากรธรณี โดยจะนาไปสอดแทรกในการศึกษาทุกระดับ ได้แก่ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ระดับอุดมศึกษา รวมถึงหลักสูตรการฝึกอบรม ได้แก่ กลุ่มทหาร ตารวจ และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ กล่มุ วิทยากร ป.ป.ช./บุคลากรภาครฐั และรฐั วิสาหกิจ และกลมุ่ โคช้ สาหรับกลุ่มอุดมศึกษานั้น ถือเป็นกลุ่มท่ีมีความสาคัญเป็นอย่างมากท่ีจะต้องมีการเรียนรู้เก่ียวกับ Digital Disruption เพ่ือให้เท่าทันต่อความเปลี่ยนแปลงของโลก และเท่าทันต่อการทุจริตในโลกสถานการณ์ Digital Disruption รวมไปถงึ มสี ว่ นร่วมในการตอ่ ต้านการทุจริตด้วย นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ การอธิบายความหมายการใช้คาตามศัพท์บัญญัติของสานักงานราชบัณฑิตยสภา โดยคณะกรรมการจัดทา พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2562 ได้กาหนด/บัญญัติ คาว่า Digital Disruption คือ การเปล่ียนฉับพลันทางดิจิทัล กล่าวคือ การเปลี่ยนรูปแบบการทางานให้ใช้คอมพิวเตอร์ ในลักษณะทกี่ ้าวหน้าขนึ้ จนอาจถึงข้ันไม่ตอ้ งใชแ้ รงงานคน มกั เป็นการเปล่ยี นอย่างทันทีทันใดจนทาใหร้ ูปแบบการ ทางานแบบเดิมต้องยุติลง เช่น การใช้หุ่นยนต์ทางานซ้าซากแทนแรงงานคน การถ่ายภาพท่ีใช้ฟิล์มมาเป็นการใช้ กล้องดิจิทัลซ่ึงบันทึกภาพเป็นข้อมูลทันที การทาให้อุปกรณ์ต่าง ๆ มีความสามารถในการตัดสินใจเองโดยใช้ หลักการปัญญาประดิษฐ์ โดยในหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาน้ี จะใช้คาว่า “Digital Disruption” ตลอดทั้งเล่มหลักสูตร เพือ่ ท่ีจะส่ือความหมายได้โดยตรงในยคุ ดิจิทลั เพอื่ การรบั รู้

21 2. วัตถปุ ระสงค์ของหลกั สูตร 2.1 มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ Digital Disruption รวมไปถึงสามารถวิเคราะห์ถึงโอกาสและภัยที่เกิด จาก Digital Disruption 2.2 ทราบถึงวิธีการ เคร่ืองมือต่าง ๆ ในการสร้างความโปร่งใสและการต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption และมีความตื่นรู้ในการมีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption ผ่าน เครือ่ งมอื ต่าง ๆ อย่างถกู ตอ้ ง 2.3 สามารถพัฒนาต้นแบบ (Prototype) เก่ียวกับนวัตกรรมในการป้องกันและต่อต้านการทุจริตใน สถานการณ์ Digital Disruption 3. โครงสรา้ งเน้อื หาสาระ เนอื้ หาสาระ ระยะเวลา ลาดับ (ชม.) 9 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและความสาคัญของ Digital Disruption - ความหมายความสาคัญ 6 - รูปแบบและลักษณะของ Digital Disruption 9 - กฎหมายท่เี กย่ี วข้อง 21 2 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 โอกาสและภยั ท่ีเกดิ จาก Digital Disruption 45 - โอกาสเชงิ บวกของการใชเ้ ทคโนโลยใี นการตอ่ ตา้ นทจุ รติ - ภัยของการใชเ้ ทคโนโลยใี นการทุจริต 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 โอกาสในการลดการทจุ รติ ในสถานการณ์ Digital Disruption - General Governance cooperate governance and compliance - IT Governance - Data Governance - เคร่อื งมอื ต่อตา้ นการทจุ รติ 4 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 นวัตกรรมการต่อต้านทุจรติ ในสถานการณ์ Digital Disruption - นวัตกรรมส่งเสรมิ การป้องกนั ทจุ รติ - นวตั กรรมตอ่ ตา้ นทุจรติ รวม โมเดล STRONG เป็นการนาตัวอักษรแรกของศัพท์ภาษาอังกฤษท่ีมีความหมายเชิงบวกจานวน 6 คา มาประกอบเป็นคาศัพท์สื่อความหมายถึง “ความแข็งแกร่ง” ของบุคคลและองค์กรในการต่อต้านการทุจริต โดยมี ความมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้านทุจริต ร่วมกันพัฒนาชุมชนให้ก้าวไปข้างหน้าด้วยการประยุกต์และ บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับความโปร่งใส การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม การตระหนักรู้และใส่ใจปัญหาการทุจริต และร่วมกันพัฒนาชุมชนให้มีความเอ้ืออาทรบนพื้นฐานของ จริยธรรมและจติ พอเพียง ตลอดจนเกิดเครือข่ายชุมชนจิตพอเพียงต้านทุจริตและเป็นแกนนาสร้างวฒั นธรรมไมท่ น

22 ต่อการทุจริต ซึ่งโมเดล STRONG ได้มีการสร้างและพัฒนาโดยรองศาสตราจารย์ ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ต้งั แต่ ปี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงได้ดังแผนภาพ ดังน้ี *แผนภาพที่ 1 โมเดล STRONG – จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต ปี พ.ศ. 2562 จากแผนภาพขา้ งต้น สามารถอธบิ ายนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารได้ ดังน้ี (1) พอเพียง (Sufficient : S) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมที่ระดับที่แตกต่างกันตามวิธีคิด สภาพความพร้อมและ ความสามารถ รวมทั้งตามสถานภาพทางเศรษฐกจิ และสงั คมของบคุ คลและครอบครวั กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดที่แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และ เป็นอัตโนมัติจะนาไปสู่จิตสานึกที่พอเพียง ไม่กอบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดบังรัฐ ไม่รับอามิสสินบนโดยมิต้องจากัดขอบเขตของการประกอบอาชีพท่ีสุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงินทองได้ตาม ความสามารถ ท้ังน้ี โดยไมเ่ ดอื ดรอ้ นตนเองและผู้อื่น (2) โปรง่ ใส (Transparent: T) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความโปร่งใส ทาใหเ้ ห็นภาพหรอื ปรากฏการณ์ชดั เจน กลไกหลัก คือ สรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจ และวธิ ีสังเกตเกย่ี วกบั ความโปร่งใสของโครงการตา่ ง ๆ (3) ตื่นรู้ (Realize: R) คานิยามปี พ.ศ. 2562

23 เมอ่ื บคุ คลรูพ้ ิษภัยของการทุจรติ และไมท่ นทจ่ี ะเห็นการทจุ ริตเกิดข้นึ กลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์การทุจริตในพื้นท่ี ในชุมชน หรือในกรณีท่ีปรากฏการณ์ทุจริตขึ้น หรือกรณศี ึกษาที่เกิดข้ึนมาแล้วและมีคาพิพากษาถึงที่สดุ แลว้ (4) มงุ่ ไปขา้ งหนา้ (Onward: O) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 การไมม่ กี ารทจุ ริตของภาครัฐ จะทาใหเ้ งินภาษีถกู นาไปใช้ในการพฒั นาอยา่ งเต็มท่ี กลไกหลัก คือ การป้องกันและการป้องปราม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังพ้ืนท่ีท่ีมี ความเส่ยี ง ในการทุจริต เช่น การบุกรุกพืน้ ทีส่ าธารณะ หรือเฝ้าระวังโครงการให้ดาเนนิ การด้วยความโปรง่ ใส (5) ความรู้ (Knowledge: N) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความรู้ดา้ นตา่ ง ๆ มคี วามจาเป็นต่อการป้องกนั และปอ้ งปรามการทุจริต กลไกหลกั คอื การใหค้ วามรใู้ นรูปแบบการฝกึ อบรม หรือให้สอ่ื เรียนร้อู ย่างตอ่ เนอ่ื ง เช่น (1) ความรู้เกี่ยวกบั รูปแบบการทุจริตแบบตา่ ง ๆ ท้งั แบบสมัยอดีต แบบปจั จุบนั และแบบทอ่ี าจจะ เกิดข้ึนในอนาคต (2) ความรูเ้ กย่ี วกบั การทจุ ริตในต่างประเทศ (3) วิธกี ารปอ้ งกนั - ปอ้ งปรามแบบตา่ ง ๆ (4) ความรเู้ ก่ยี วกับการเฝ้าระวงั (5) ความรเู้ ก่ยี วกับกฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ ง (6) เอือ้ อาทร (Generosity: G) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การพฒั นาสังคมไทยให้มนี ้าใจ โอบออ้ มอารี เอือ้ เฟื้อเผื่อแผ่ โดยไม่มีผลประโยชนต์ อบแทนหรือหวัง ผลตอบแทน ในฐานะเพอ่ื นมนษุ ย์ กลไกหลัก กิจกรรมจิตอาสา ช่วยเหลือบุคคล ชุมชน/สงั คมในยามวิกฤติ หรอื การร่วมมือในการร่วม พัฒนาชมุ ชน จากนยิ ามข้างตน้ STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทจุ ริต จงึ หมายถงึ ผู้ท่มี ีความพอเพยี ง ไมเ่ บียดเบียนตนเอง และผอู้ ื่น (S) ม่งุ อนาคตทเี่ จรญิ ทั้งตนเองและสว่ นรวม (O) โดยใช้หลักความโปร่งใสตรวจสอบได้ (T) พื้นฐานจติ ใจมี มนุษยธรรมเอ้ืออาทร ช่วยเหลือเพ่ือนมนุษยโ์ ดยไม่เห็นแก่ประโยชนต์ ่างตอบแทน (G) ให้ความสาคัญต่อการเรียนรู้ ตลอดชีวิต เพ่ือการดารงชีวิตในทางท่ีชอบ (N) แต่ตื่นรู้เรื่องภัยทุจริตที่ร้ายแรงส่งผลต่อสังคม รังเกียจการทุจริต ประพฤติมชิ อบทั้งปวง ไม่ยอมทนต่อการทจุ รติ ทกุ รปู แบบ (R) นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการพัฒนาโมเดล STRONG โดยเพิ่มในเร่ืองของการมีส่วนร่วม (Participation) อันเป็นกลไกสาคัญในการเชื่อมโยงและขับเคล่ือนหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การป้องกัน การทุจริตได้เป็นรูปธรรมอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงการเผยแพร่หลักการของโมเดล STRONG สู่ชุมชน จะดาเนินการ โดยสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด และมีการคัดเลือกผู้แทน/ผู้นาชุมชนในจังหวัดที่มีเครือข่าย มีความสาม ารถ

24 และทักษะในการถ่ายทอดองค์ความรู้มาอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโมเดล STRONG การนาไป ประยุกต์ใช้ในการการต่อต้านการทุจริต เช่น การคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต หลักการจิตพอเพียงด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม เป็นต้น เพ่ือให้ผู้ได้รับการ คัดเลือกเป็นโคช้ (coach) ถ่ายทอดความรู้เกยี่ วกับหลักการของโมเดล STRONG และการต่อตา้ นการทจุ ริตให้แก่ผู้ ที่อาศัยอยู่ในชุมชน รวมถึงยังมีการจัดตั้งชมรม STRONG เพ่ือให้ทุกภาคส่วนมีความตระหนักรู้เล็งเห็นถึง ความสาคัญของปัญหาการทุจริตและมีส่วนร่วมในการเฝา้ ระวังและแจง้ เบาะแสการทจุ รติ 4. หนว่ ยการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและความสาคญั ของ Digital Disruption หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 โอกาสและภัยที่เกิดจาก Digital Disruption หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 โอกาสในการลดการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 4 นวัตกรรมการต่อต้านทจุ รติ ในสถานการณ์ Digital Disruption

2 ท่ี ชื่อหนว่ ย วตั ถปุ ระสงค์ เวลา เนอ้ื หาสาระ Digital Disruption การต่อต้านกา 1 ความหมายและ· อธิบายความหมาย 3 - ภาพรวมของ DD STRONG Mo ความสาคญั ของ สาเหตุ รูปแบบ - ความหมาย N – ความรู้ ม Digital ลกั ษณะ กฎหมาย - รูปแบบ/ลกั ษณะ เทา่ ทนั ตอ่ สถา Disruption ท่ีเกยี่ วขอ้ ง เกย่ี วกับ - ตัวอย่าง digital disruption ท่ีเกดิ ขน้ึ Digital Disruption - กฎหมายที่เกี่ยวขอ้ ง - พรบ.ข้อมูลขา่ วสารฯ - พรบ.คอมพวิ เตอร์ฯ - พรบ.ขอ้ มูลสว่ นบุคคล · ระบคุ วามสาคัญและ 3 - ความหมายของขอ้ มูล STRONG Mo ประเภทของ - ประเภทของข้อมูล N – ความรู้ ม “ขอ้ มลู ” ทั้งข้อมูล (private/public) เทา่ ทันตอ่ สถา สว่ นบุคคล และ - ลักษณะเฉพาะของข้อมลู ท่เี กดิ ขึน้ ข้อมูลสาธารณะ - ตวั อยา่ งใช้ประโยชน์ข้อมลู · ระบคุ วามสัมพันธ์ 3 - บทบาทขององค์กรท่ี STRONG Mo ของผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วน เสยี ในทุกมติ ิ เกี่ยวขอ้ ง (ผเู้ ลน่ /ผใู้ ช/้ ผูค้ มุ ) N – ความรู้ ม - Digital asset เท่าทนั ต่อสถา (Cryptocurrency/Telecom ทเ่ี กิดขน้ึ ) 2 โอกาสและภยั ท· ี่ อธบิ ายโอกาสทเี่ กิด 3 - โอกาสเชิงบวกของการใช้ STRONG Mo เกดิ จาก Digital จาก Digital Disruption Disruption เทคโนโลยีในการต่อต้าน T – มุ่งสรา้ งค ทจุ ริต การเปิดเผยข้อ - กรณีศึกษาโอกาสเชิงบวก ความรับผดิ ชอ ของการใชเ้ ทคโนโลยีในการ O – มุ่งขา้ งหน ต่อต้านการทจุ รติ ป้องกัน หรอื N – ความรู้ ม เท่าทันต่อสถา ทีเ่ กิดข้ึน

25 ารทจุ ริต วธิ กี ารเรียนรู้ สอื่ การเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ การประเมินผล odel บรรยายในชนั้ เรียน สื่อออนไลน์ ห้องสมดุ และ ตอบคาถาม มีความรู้ สืบค้นขอ้ มูล สื่อออฟไลน์ แหล่งขอ้ มูล เขยี นอธิบาย านการณ์ (Advanced) เชน่ powerpoint, ออนไลน์ ความหมายหรอื หนังสือ บันทกึ ผลการเรียนรู้ odel บรรยายในชั้นเรียน สอื่ ออนไลน์ หอ้ งสมุดและ วเิ คราะห์ตาม มคี วามรู้ สืบค้นข้อมลู สื่อออฟไลน์ แหล่งข้อมลู วัตถุประสงค์ านการณ์ วเิ คราะหก์ รณีศึกษา กรณศี ึกษา ออนไลน์ การประยกุ ต์ใช้ความรู้ สาเหตุ ผลกระทบต่อ เพือ่ วิเคราะห์ odel ตนเอง และผลกระทบ สอ่ื ออนไลน์ กรณศี ึกษา มีความรู้ ตอ่ สงั คม สอ่ื ออฟไลน์ านการณ์ อภปิ รายในชน้ั เรยี น กรณศี ึกษา หอ้ งสมุดและ วิเคราะหต์ าม (Advanced) แหลง่ ข้อมูล วตั ถุประสงค์ ออนไลน์ การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ บรรยายในชัน้ เรยี น เพื่อวิเคราะห์ สืบค้นข้อมลู กรณศี ึกษา อภิปรายกลุ่ม วิเคราะห์กรณศี ึกษา (Advanced) odel บรรยายในช้ันเรยี น สื่อออนไลน์ หอ้ งสมดุ และ วิเคราะห์ตาม ความโปรง่ ใส วิเคราะหก์ รณศี ึกษา สอ่ื ออฟไลน์ แหล่งขอ้ มูล วตั ถุประสงค์ อมลู สืบคน้ ข้อมลู กรณศี ึกษา ออนไลน์ การประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ อบ อภิปรายกล่มุ เพือ่ วเิ คราะห์ นา้ เพือ่ แก้ไข (Advanced) กรณีศกึ ษา อพัฒนา มคี วามรู้ านการณ์

2 ท่ี ชอื่ หน่วย วัตถุประสงค์ เวลา เน้อื หาสาระ Digital Disruption การตอ่ ต้านกา อธบิ ายภยั ท่ีเกิดจาก 3 - ความเสย่ี งของการใช้ STRONG Mo Digital Disruption เทคโนโลยีในการทุจรติ R – ต่ืนรู้ ตอ่ พ - กรณศี ึกษาภัยของเทคโนโลยี การแสวงหาโอ ในการทุจรติ ชอบ O – มงุ่ ขา้ งหน ปอ้ งกนั หรอื พ N – ความรู้ ม เทา่ ทนั ตอ่ สถา ทเี่ กดิ ขึ้น 3 โอกาสในการลด อธบิ ายหลัก 3 - General Governance STRONG Mo การทุจรติ ใน ธรรมาภบิ าลกับ - IT Governance T – มงุ่ สร้างค สถานการณ์ การใชเ้ ทคโนโลยี การเปดิ เผยขอ้ Digital ความรับผดิ ชอ Disruption O – ม่งุ ขา้ งหน ปอ้ งกนั หรอื พ N – ความรู้ ม เท่าทนั ตอ่ สถา ทเี่ กดิ ขนึ้ ระบุวิธกี ารและ 3 - เคร่ืองมอื ต่อตา้ นทจุ ริต STRONG Mo เคร่อื งมือในการ -Feedback system and T – มุ่งสรา้ งค ตอ่ ตา้ นการทุจรติ ใน Whistle blowing การเปดิ เผยข้อ ภาคส่วนตา่ ง ๆ เช่น -Transparency and ความรับผิดชอ ในภาครฐั Open data R – ตื่นรู้ ต่อพ ภาคเอกชน ภาค -อ่นื ๆ เช่น design thinking การแสวงหาโอ สังคม ภาคส่อื และ in public service อันมิชอบ ในกล่มุ ประชาชน O – มุง่ ข้างหน ทว่ั ไป ปอ้ งกัน หรือพ N – ความรู้ ม เท่าทันตอ่ สถา ทเ่ี กดิ ข้ึน

26 ารทจุ ริต วิธกี ารเรยี นรู้ ส่อื การเรียนรู้ แหล่งการเรยี นรู้ การประเมนิ ผล odel บรรยายในชัน้ เรียน สื่อออนไลน์ หอ้ งสมดุ และ วิเคราะห์ตาม พษิ ภยั อง วิเคราะห์กรณีศกึ ษา สอ่ื ออฟไลน์ แหล่งขอ้ มูล วัตถุประสงค์ อกาสอันมิ สบื คน้ ข้อมูล กรณีศกึ ษา ออนไลน์ การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ เพอ่ื วิเคราะห์ อภปิ รายกลุ่ม กรณศี กึ ษา นา้ เพอ่ื แกไ้ ข (Advanced) พฒั นา มีความรู้ านการณ์ odel บรรยายในชัน้ เรียน สอ่ื ออนไลน์ หอ้ งสมดุ และ วเิ คราะหต์ าม ความโปรง่ ใส วเิ คราะหก์ รณศี ึกษา สื่อออฟไลน์ แหลง่ ขอ้ มลู วัตถุประสงค์ อมลู สืบค้นขอ้ มลู กรณศี ึกษา ออนไลน์ การประยกุ ต์ใช้ความรู้ อบ อภปิ รายกลมุ่ เพ่อื วิเคราะห์ นา้ เพ่อื แกไ้ ข (Advanced) กรณศี ึกษา พฒั นา มีความรู้ านการณ์ odel บรรยายในชั้นเรียน สือ่ ออนไลน์ หอ้ งสมุดและ วิเคราะห์ตาม ความโปร่งใส วเิ คราะหก์ รณศี กึ ษา สื่อออฟไลน์ แหล่งข้อมูล วตั ถปุ ระสงค์ อมูล สบื คน้ ขอ้ มูล กรณีศึกษา ออนไลน์ การประยกุ ต์ใช้ความรู้ อบ อภปิ รายกลมุ่ เพือ่ วิเคราะห์ พษิ ภยั ของ (Advanced) กรณีศกึ ษา อกาส นา้ เพ่ือแกไ้ ข พฒั นา มีความรู้ านการณ์

2 ท่ี ชือ่ หนว่ ย วัตถุประสงค์ เวลา เนอ้ื หาสาระ เกิดการตืน่ รู้และ Digital Disruption การตอ่ ต้านกา พร้อมลงมอื ตอ่ ต้าน การทุจรติ ใน 3 - การทดลองปฏบิ ัตใิ น STRONG Mo สถานการณ์ digital disruption ผา่ น เคร่ืองมือ T – มุง่ สร้างค เคร่ืองมือต่าง ๆ อยา่ งถูกตอ้ ง การเปิดเผยขอ้ ความรับผดิ ชอ R – ตนื่ รู้ ต่อพ การแสวงหาโอ อนั มชิ อบ O – มุ่งข้างหน ป้องกนั หรอื พ N – ความรู้ ม เท่าทนั ต่อสถา ที่เกดิ ขึ้น 4 นวตั กรรมการ อธบิ ายตวั อยา่ ง 3 - นวัตกรรมสง่ เสริมการ STRONG Mo ต่อตา้ นทุจรติ นวตั กรรมการ ปอ้ งกนั ทุจรติ T – ม่งุ สร้างค ใน ป้องกนั และตอ่ ต้าน - นวตั กรรมตอ่ ต้านทจุ ริต การเปิดเผยข้อ สถานการณ์Digit การทุจรติ ใน -ภาครฐั ความรบั ผดิ ชอ al Disruption สถานการณ์ digital -ภาคเอกชน R – ตื่นรู้ ต่อพ disruption การแสวงหาโอ 18 - แนวคดิ ในการสรา้ ง อนั มิชอบ สรา้ งนวัตกรรมการ นวตั กรรมการต่อต้านทจุ รติ O – ม่งุ ข้างหน ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ใน ป้องกัน หรือพ สถานการณ์ digital N – ความรู้ ม disruption เทา่ ทันต่อสถา ทเี่ กดิ ขึ้น STRONG Mo T – มุง่ สร้างค การเปิดเผยข้อ ความรบั ผดิ ชอ R – ตืน่ รู้ ต่อพ การแสวงหาโอ อันมิชอบ

27 ารทุจริต วธิ ีการเรียนรู้ ส่ือการเรยี นรู้ แหลง่ การเรียนรู้ การประเมินผล odel บรรยายในช้นั เรียน สอื่ ออนไลน์ หอ้ งสมุดและ ประเมินจากผลการ ความโปรง่ ใส วเิ คราะห์กรณีศกึ ษา สอ่ื ออฟไลน์ แหล่งขอ้ มูล ทากจิ กรรม อมูล ปฏบิ ตั ิการใช้เคร่ืองมอื กรณศี ึกษา ออนไลน์ ประเมินจากผล อบ อภปิ รายกลุ่ม การทางาน พษิ ภยั ของ (Advanced) อกาส นา้ เพอื่ แก้ไข พฒั นา มคี วามรู้ านการณ์ odel บรรยายในชั้นเรียน สื่อออนไลน์ หอ้ งสมุดและ วเิ คราะหต์ าม ความโปรง่ ใส สบื คน้ ข้อมูล สื่อออฟไลน์ แหลง่ ข้อมลู วตั ถุประสงค์ อมลู วิเคราะหก์ รณีศึกษา ออนไลน์ การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ อบ (Advanced) เพือ่ วิเคราะห์ พษิ ภยั ของ กรณีศึกษา อกาส นา้ เพอ่ื แกไ้ ข พฒั นา มคี วามรู้ านการณ์ odel พฒั นานวัตกรรม และ ส่อื ออนไลน์ หอ้ งสมุดและ ประเมนิ ผลจาก ความโปร่งใส นาเสนอ สื่อออฟไลน์ แหล่งข้อมลู ช้ินงาน อมูล (Advanced) ออนไลน์ อบ พษิ ภยั ของ อกาส

2 ที่ ชอื่ หน่วย วัตถุประสงค์ เวลา เน้อื หาสาระ Digital Disruption การต่อต้านกา O – มุ่งขา้ งหน ป้องกัน หรอื พ N – ความรู้ ม เทา่ ทนั ตอ่ สถา ที่เกดิ ข้ึน

28 สอ่ื การเรยี นรู้ แหล่งการเรียนรู้ การประเมนิ ผล ารทจุ รติ วิธีการเรยี นรู้ นา้ เพอื่ แก้ไข พัฒนา มคี วามรู้ านการณ์

29 5. แนวทางการจดั การเรยี นรแู้ ละประเมินผล จดั การเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) โดยผ้สู อนเป็นโค้ชจดั กระบวนการ เพ่อื ชแี้ นะให้นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษา คน้ คว้าความรู้เพิ่มเติมจนได้องค์ความรเู้ พื่อสร้างเป็นโครงงานนวัตกรรม ต้านการทุจริต และการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เพ่ือประเมินว่าพฤติกรรมที่นักศึกษา แสดงนัน้ สามารถสะทอ้ นความสามารถทแ่ี ท้จริงได้ ประกอบกับการพัฒนาหลักสูตรโดยใช้การเรียนรู้ online learning โดยร่วมกับสถาบันการศึกษาหรือ องค์กรเอกชน และมีการประเมินผลจากการตอบคาถาม Multiple choice ในลักษณะ Gamification เช่น Trivia Board game ประกอบกับประเมนิ จากผลงานในการจัดทา Project assignment 6. แนวทางการนาหลกั สตู รไปใช้ (1) จัดทาเป็น 1 รายวชิ า จานวน 3 หน่วยกติ (2) จัดทาเป็นหน่วยการเรียนรู้ โดยอาจารย์ผู้สอนสามารถนาเนื้อหาใหม่ในหน่วยการเรียนรู้ต่าง ๆ ไป ปรับใช้/ประยกุ ต์ใช้ในรายวิชาของตนเอง (3) จัดทาเปน็ วชิ าเลือก

30 หลักสตู รตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา เรอ่ื ง การตา้ นทุจรติ ในสถานการณ์การเปลยี่ นฉบั พลนั ทางเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Digital Disruption) สาหรับ กลุ่มทหาร ตารวจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ 1. ความเป็นมาของหลักสูตร ปัจจุบันโลกเข้าสู่สถานการณ์ข้อมูลข่าวสาร ซึ่งวิทยาการต่าง ๆ เป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิต ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยีทาใหร้ ูปแบบการดาเนนิ ชีวิตมีความสะดวกสบายขน้ึ การประกอบธุรกจิ อาศยั ข้อมูลใน การคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ การบริการลูกค้า และเศรษฐกิจได้กลายเป็นระบบเศรษฐกิจโลก การเปล่ียนแปลงน้ีเอง ก่อให้เกดิ ปรากฏการทเี่ รียกวา่ Digital Disruption ซง่ึ หมายถงึ การเปล่ียนแปลงส่งิ ทเ่ี ป็นอยูอ่ ย่างรุนแรงและรวดเร็ว ทาให้มีผลกระทบมากมาย สิ่งเหล่าน้ีเกิดขึ้นจากเทคโนโลยีการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต ทาให้เกิดการส่งข้อมูล ข่าวสารถึงกันไดต้ ลอดเวลา เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐท์ ่ชี ่วยใหว้ ินิจฉัยปญั หาต่าง ๆ ได้อยา่ งรวดเรว็ อปุ กรณต์ า่ ง ๆ เช่ือมตอ่ กนั ผา่ นอินเทอร์เนต็ หรือทเี่ รียกวา่ IoT (Internet of Things) สาหรับประเทศไทยรัฐบาลได้แถลงนโยบาย “Digital Economy” (เศรษฐกิจดิจิทัล) ก่อให้เกิดการปรับ โครงสร้างกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเป็น “กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม” เพ่ือเพิ่ม ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ทางเศรษฐกิจของประเทศด้วยการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเปน็ เคร่ืองมือใน รูปแบบ “ดิจิทัลไทยแลนด์” (Digital Thailand) ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดการปฏิรูปกระบวนทัศน์ในการทางานในภาคราชการ และภาคธรุ กจิ อย่างรวดเร็ว จากสถานการณ์นี้เองทาให้มีการนาเทคโนโลยีไปใช้ในเชิงทุจริตได้มากข้ึน สานักงาน ป.ป.ช. ได้ตระหนักถึง ปัญหาเหล่าน้ีเป็นอย่างดี จึงได้จัดการปรับปรุงหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาให้ทันสมัยขึ้น โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ Digital Disruption, ทรัพยากรน้า, ทรัพยากรธรณี โดยจะนาไปสอดแทรกในการศึกษาทุกระดับ ได้แก่ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ระดับอุดมศึกษา รวมถึงหลักสูตรการฝึกอบรม ได้แก่ กลุ่มทหาร ตารวจ และองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ กลุ่มวทิ ยากร ป.ป.ช./บุคลากรภาครัฐและรฐั วสิ าหกจิ และกลมุ่ โคช้ สาหรับทหารตารวจน้ัน ถือเป็นกลุ่มท่ีมีความสาคัญเป็นอย่างมากท่ีจะต้องมีการเรียนรู้เกี่ยวกับ Digital Disruption เพ่ือให้เท่าทันต่อความเปล่ียนแปลงของโลก และเท่าทันต่อการทุจริตในโลกสถานการณ์ Digital Disruption รวมไปถงึ มสี ่วนรว่ มในการตอ่ ตา้ นการทุจริตดว้ ย นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ การอธิบายความหมายการใช้คาตามศัพท์บัญญัติของสานักงานราชบัณฑิตยสภา โดยคณะกรรมการจัดทา พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เม่ือวันที่ 28 มิถุนายน 2562 ได้กาหนด/บัญญัติ คาว่า Digital Disruption คือ การเปลย่ี นฉับพลันทางดจิ ิทัล กล่าวคอื การเปล่ียนรูปแบบการทางานใหใ้ ช้คอมพวิ เตอร์ ในลักษณะทกี่ า้ วหนา้ ขึ้น จนอาจถงึ ขน้ั ไมต่ อ้ งใช้แรงงานคน มกั เป็นการเปลยี่ นอย่างทนั ทีทันใดจนทาให้รูปแบบการ ทางานแบบเดิมต้องยุติลง เช่น การใช้หุ่นยนต์ทางานซ้าซากแทนแรงงานคน การถ่ายภาพท่ีใช้ฟิล์มมาเป็นการใช้ กล้องดิจิทัลซ่ึงบันทึกภาพเป็นข้อมูลทันที การทาให้อุปกรณ์ต่าง ๆ มีความสามารถในการตัดสินใจเองโดยใช้ หลักการปัญญาประดิษฐ์ โดยในหลักสูตรต้านทุจริตศึกษานี้ จะใช้คาว่า “Digital Disruption” ตลอดทั้งเล่ม หลักสูตร เพ่ือทจ่ี ะสอ่ื ความหมายได้โดยตรงในยคุ ดจิ ิทัลเพ่ือการรบั รู้

31 2. วตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตร 2.1 มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ Digital Disruption รวมไปถึงสามารถวิเคราะห์ถึงโอกาสและภัยที่เกิด จาก Digital Disruption 2.2 ทราบถึงวิธีการ เครื่องมือต่าง ๆ ในการสร้างความโปร่งใสและการต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption และมีความต่ืนรู้ในการมีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption ผา่ นเครื่องมอื ตา่ ง ๆ อยา่ งถกู ตอ้ ง 3. โครงสรา้ งเน้อื หาสาระ ระยะเวลา (ชม.) ลาดับ เนือ้ หาสาระ 3 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและความสาคญั ของ Digital Disruption 4 - ความหมายความสาคญั 6 - รูปแบบและลกั ษณะของ Digital Disruption - กฎหมายที่เกยี่ วข้อง 0 13 2 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 โอกาสและภยั ท่ีเกิดจาก Digital Disruption - โอกาสเชิงบวกของการใชเ้ ทคโนโลยีในการตอ่ ตา้ นทุจรติ - ภยั ของการใชเ้ ทคโนโลยีในการทจุ รติ 3 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 โอกาสในการลดการทจุ ริตในสถานการณ์ Digital Disruption - General Governance cooperate governance and compliance - IT Governance - Data Governance - เครอ่ื งมือต่อตา้ นการทุจรติ 4 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 นวัตกรรมการต่อตา้ นทุจริต ในสถานการณ์ Digital Disruption - นวตั กรรมส่งเสรมิ การป้องกนั ทจุ ริต - นวัตกรรมต่อต้านทุจริต รวม โมเดล STRONG เป็นการนาตัวอักษรแรกของศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีความหมายเชิงบวกจานวน 6 คา มาประกอบเป็นคาศัพท์สื่อความหมายถึง “ความแข็งแกร่ง” ของบุคคลและองค์กรในการต่อต้านการทุจริต โดยมี ความมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้านทุจริต ร่วมกันพัฒนาชุมชนให้ก้าวไปข้างหน้าด้วยการประยุกต์และ บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับความโปร่งใส การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม การตระหนักรู้และใส่ใจปัญหาการทุจริต และร่วมกันพัฒนาชุมชนให้มีความเอ้ืออาทรบนพ้ืนฐานของ จริยธรรมและจิตพอเพียง ตลอดจนเกิดเครอื ข่ายชุมชนจิตพอเพียงต้านทุจริตและเป็นแกนนาสรา้ งวฒั นธรรมไมท่ น ต่อการทุจริต ซ่ึงโมเดล STRONG ได้มีการสร้างและพัฒนาโดยรองศาสตราจารย์ ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงได้ดังแผนภาพ ดังนี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook