10 2 คณุ คา่ ของ 2 - ผ้เู รียนอธิบายคณุ คา่ - ทรัพยากรธรณี การสารวจ สร ทรพั ยากรธรณี และความมจี ากัดของ และการใช้ประโยชน์ คณุ กับโอกาสใน ทรัพยากรธรณี - ทรพั ยากรธรณกี บั การพัฒนา ตืน่ การพัฒนา - ผู้เรียนเกดิ ความ ประเทศ ผู้เร ประเทศ และ ตระหนกั ถึงความสาคญั - ความสาคญั ของทรัพยากร แล การฟืน้ ฟู ของทรัพยากรธรณี ธรณี ต่อประเทศดา้ นต่าง ๆ ขอ เกีย่ วกับ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม ขอ ทรัพยากรธรณี สิง่ แวดล้อม การเมือง ชอ - การมสี ว่ นรว่ มอนุรักษ์ และ ปร การฟื้นฟเู กย่ี วกับทรัพยากร บัง ธรณี สถ - กรณศี กึ ษาการเพิม่ มลู คา่ ทุจ ทรัพยากรธรณี (หนิ อ่อน/ เฝา้ หินแกรนติ /อญั มณ)ี กา กา ปร ปร พอ ปร ผล สว่ ชัด จะ พอ ผล ไม ไม
01 รา้ งความตระหนกั รู้ถงึ - อภิปรายกลมุ่ - เอกสารความรู้ - เว็บไซต์ กรม - ประเมินผล - ตัวอยา่ ง ทรัพยากรธรณี และ -การนาเสนอ ณคา่ ของทรัพยากรธรณี - การสอนแบบ ทรัพยากรธรณี กรมอุตสาหกรรม หนา้ ชั้นเรียน - สอื่ ออนไลน์ พืน้ ฐานและการ - การสงั เกต นรู้ (Realize: R) ระดมสมอง - แอปพลเิ คชั่น เหมอื งแร่ พฤตกิ รรม - อินโฟ - เหมอื งแร่ ทอง รยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจ - กรณศี กึ ษา กราฟฟกิ ยปิ ซัม ปนู ซีเมนต์ - โมชนั่ กราฟฟกิ - เหมืองหิน ละตระหนกั รูถ้ งึ รากเหง้า อุตสาหกรรมหิน กอ่ สรา้ ง หนิ ปนู หนิ องปัญหาและภัยร้ายแรง อคั นี - ศักยภาพแหลง่ แร่ องการทุจริตประพฤตมิ ิ ของไทย อบภายในชุมชนและ ระเทศ ความต่นื รู้จะ งเกิดเม่อื ได้พบเหน็ ถานการณท์ ่ีเสย่ี งตอ่ การ จรติ ย่อมจะมีปฏิกริ ยิ า าระวังและไมย่ นิ ยอมตอ่ ารทจุ ริตในทีส่ ดุ ารแยกแยะเกย่ี วกบั ระโยชนส์ ่วนตนและ ระโยชน์ เชอื่ มโยงกบั อเพยี ง (Sufficient: S) รับวิธีคิดท่แี ยกแยะ ลประโยชน์ส่วนตวั และ วนรวมไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ดเจน และเปน็ อตั โนมัติ ะนาไปสูจ่ ิตสานกึ ที่ อเพยี ง ไม่กอบโกย ลประโยชน์โดยมิชอบ มเ่ บียดเบยี นผูอ้ ่นื ม่เบียดบงั รฐั ไมร่ ับอามสิ
10 สนิ ขอ อา ทร คว ไม ผอู้ คว N) ทุจ รา้ ระ 3 ความเสย่ี งใน 4 - ผูเ้ รยี นมคี วามรแู้ ละ - กฎหมายตา่ ง ๆ ที่เกีย่ วขอ้ ง โป การทุจรติ เข้าใจเก่ยี วกับกฎหมาย กบั ทรพั ยากรธรณี T) เกีย่ วกบั ทรพั ยากรธรณี - รูปแบบการทจุ รติ และ แล ทรัพยากรธรณี - ผเู้ รยี นวเิ คราะหถ์ งึ กรณีศึกษาการทจุ รติ (การทา บน รปู แบบ วธิ กี ารและรเู้ ท่า เหมอื งนอกเขตพน้ื ท่ีอนญุ าต/ ตร ทันการทจุ ริตทาง การประเมินผลกระทบตอ่ ตอ้ ทรัพยากรธรณี สุขภาพและสิง่ แวดลอ้ ม EHIA/ ปฏ การพฒั นาทรพั ยากรธรณีนอก เขตพนื้ ทีอ่ นญุ าต) กฎ ซง่ึ เข้า กา
02 นบนโดยมิตอ้ งจากดั อบเขตของการประกอบ าชพี ทีส่ ุจริต สามารถหา รัพยส์ ินเงนิ ทองไดต้ าม วามสามารถ ทง้ั นี้ โดย มเ่ ดือดรอ้ นตนเองและ อน่ื วามรู้ (Knowledge: )เกยี่ วกบั สถานการณ์ จริตท่ีเกดิ ขึ้น ความ ายแรงและผลกระทบต่อ ะดับบคุ คลและสว่ นรวม ปร่งใส (Transparent: - บรรยาย - เอกสารความรู้ - เวบ็ ไซต์ - การสงั เกต )บุคคลทุกระดับ องค์กร - อภปิ รายกลมุ่ - ส่อื ออนไลน์ กรมอตุ สาหกรรม พฤติกรรม ละชุมชนต้องปฏบิ ัติงาน กรณศี ึกษา นฐานของความโปร่งใส - การสอนแบบ - แอปพลเิ คช่ัน พ้นื ฐานและการเหมอื ง - การทดสอบ รวจสอบได้ ดงั น้นั จงึ สัมมนา องมแี ละปฏิบตั ิตามหลกั - กรณีศกึ ษา - อินโฟ แร่ - การประเมิน กราฟฟิก - เวบ็ ไซต์ กรม ตนเอง - โมชน่ั กราฟฟิก ทรพั ยากรธรณี ฏบิ ัติ ระเบียบ ขอ้ ปฏิบตั ิ - พพิ ธิ ภณั ฑ์ ธรณวี ทิ ยา ฎหมายดา้ นความโปรง่ ใส - เว็บไซต์ ภาควชิ า งต้องใหค้ วามรูค้ วาม ธรณวี ิทยาและธรณี าใจ (knowledge) และ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ารตืน่ รู้ (realize) ต่าง ๆ - เวบ็ ไซต์ สานักงาน ป.ป.ช.
10 4 ปกป้อง 2 - ผเู้ รียนเกดิ เจตคติหวง - การสร้างจติ สานกึ การแยกแย ทรัพยากรทาง แหน มคี วามรสู้ กึ ถงึ การ สาธารณะ เพอื่ สว่ นตนแล ธรณี เปน็ เจา้ ของ และเกดิ แยกแยะประโยชน์ กบั พอเพ พฤติกรรมการมสี ่วนรว่ ม สว่ นตนและประโยชน์ ปรับวธิ ีคิด ปกปอ้ งทรพั ยากรธรณี ส่วนรวม ส่วนตัวแล - ผเู้ รยี นสามารถ - การเฝ้าระวงั ถูกต้อง ชดั เสนอแนะวิธกี ารปกป้อง แจง้ เบาะแส การทจุ ริต จะนาไปสจู่ ทรัพยากรธรณไี ด้ ทรพั ยากรธรณี กอบโกยผ - การมสี ่วนร่วมในการ ไม่เบียดเบ ปกปอ้ งทรัพยากรธรณี ไม่รับอามิส - กรณีศกึ ษาการมีสว่ น ขอบเขตขอ รว่ มในการปกปอ้ ง สจุ รติ สาม ทรพั ยากรธรณี ทองไดต้ าม โดยไม่เดอื เอ้อื อาทร การพฒั นา โอบออ้ มอ ไมม่ ผี ลปร หวังผลตอ มนุษย์ โดย ทากจิ กรรม บุคคล ชมุ หรือการรว่ ชุมชนมุง่ ไ O)มุง่ เนน้ ก ในการเฝ้า ในการทุจร สาธารณะ ใหด้ าเนนิ ก
03 ยะเกีย่ วกบั ประโยชน์ - การสอนแบบ - เอกสารความรู้ - เว็บไซต์ กรม - การสงั เกต ละประโยชน์ เชือ่ มโยง สมั มนา - สื่อออนไลน์ ทรัพยากรธรณี พฤตกิ รรม พยี ง (Sufficient: S) - กรณศี กึ ษา - แอปพลเิ คช่ัน - สานกั งาน ป.ป.ช. - การทดสอบ ดที่แยกแยะผลประโยชน์ - อภปิ รายกลมุ่ - อนิ โฟ - การประเมนิ ละส่วนรวมไดอ้ ย่าง กราฟฟิก ตนเอง ดเจน และเปน็ อัตโนมัติ - โมช่นั กราฟฟิก - ประเมนิ การ จติ สานกึ ทพ่ี อเพยี ง ไม่ อภิปรายกล่มุ ผลประโยชนโ์ ดยมชิ อบ บยี นผ้อู ื่น ไมเ่ บยี ดบังรัฐ สสนิ บนโดยมติ อ้ งจากดั องการประกอบอาชพี ท่ี มารถหาทรัพยส์ ินเงิน มความสามารถ ทงั้ น้ี อดร้อนตนเองและผูอ้ น่ื (Generosity : G) าสังคมไทยใหม้ นี า้ ใจ อารี เอ้ือเฟอื้ เผอ่ื แผ่ โดย ระโยชนต์ อบแทนหรอื อบแทน ในฐานะเพอื่ น ยกลไกหลัก ส่งเสรมิ การ มจติ อาสา ชว่ ยเหลอื มชน/สังคมในยามวกิ ฤติ วมมอื ในการรว่ มพฒั นา ไปขา้ งหน้า (Onward: กระบวนการมสี ่วนร่วม าระวงั พนื้ ทที่ ีม่ คี วามเสี่ยง ริต เชน่ การบกุ รุกพื้นที่ ะ หรือเฝา้ ระวังโครงการ การดว้ ยความโปร่งใส
104 5. แนวทางการจัดการเรียนรูแ้ ละประเมินผล 5.1 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ - การจัดการเรียนร้เู ชิงรุก (Active Learning) - การบรรยายและการอภปิ รายกลุม่ /เดีย่ ว 5.2 การวัดและการประเมินผล การเรียนรู้ 5.2.1 การทดสอบ 5.2.2 การประเมินผลตามสภาพจรงิ - การประเมินตนเอง - การสงั เกตพฤติกรรม - การนาเสนอหนา้ ช้นั เรยี น - ฯลฯ 6. แนวทางการนาหลกั สูตรไปใช้ (1) ทหาร - หลักสตู รตามแนวทางการรบั ราชการและหลกั สูตรเพิ่มพนู ความรู้ (2) ตารวจ - หลักสูตรฝกึ อบรมที่เลอ่ื นตาแหน่งสูงขนึ้ และหลักสตู รฝึกอบรมอน่ื ๆ (3) บุคลากรองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น - หลักสตู รฝึกอบรมทเ่ี ลื่อนตาแหน่งสูงขนึ้ และหลักสตู รฝึกอบรมอ่ืน ๆ
105 หลกั สตู รตา้ นทุจรติ ศกึ ษา เร่ือง การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาตทิ างธรณี สาหรบั กลุ่มวิทยากร ป.ป.ช./บคุ ลากรภาครฐั และรฐั วสิ าหกิจ 1. ความเป็นมาของหลกั สตู ร การทุจรติ ในสงั คมไทยระหว่างชว่ งกว่าทศวรรษที่ผ่านมานน้ั ส่งผลเสยี ตอ่ ประเทศอยา่ งมหาศาล ทั้งยังเป็น อุปสรรคตอ่ การพัฒนาประเทศในทุกมิติ รปู แบบการทจุ ริตจากเดิมท่เี ปน็ การทุจริตทางตรงไม่ซับซ้อนได้ปรบั เปล่ียน เป็นการทุจริตท่ีมีความซับซ้อนมากยิ่งข้ึน ประเทศไทยมีความพยายามแก้ไขปัญหาการทุจริตโดยการสร้างความต่ืนตัว และการเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ปรับความคิด สร้างความตระหนักรู้ในทุกภาคส่วน ของสังคม โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ได้กาหนดในหมวดท่ี 5 หน้าที่ของรัฐว่า “รฐั ตอ้ งส่งเสรมิ สนับสนนุ และใหค้ วามรู้แกป่ ระชาชนถึงอนั ตรายที่เกิดจากการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบท้ังภาครัฐ และเอกชนโดยจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ดังกล่าวอย่างเข้มงวด” ท้ังวาระการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประเด็นปฏิรูปด้านการป้องกันและเฝ้าระวัง ได้กาหนดกลยุทธ์หลัก ในการเร่งสร้างการรับรู้และจิตสานึกของ ประชาชนในการต่อต้านการทจุ ริตประพฤติมชิ อบ สง่ เสริมให้ประชาชนรวมตวั กันรังเกยี จ การทจุ ริตและมีสว่ นร่วม ในการต่อต้านทุจริตด้วยการช้ีเบาะแส การสร้างลักษณะนิสัยไม่โกงและไม่ยอมให้ผู้ใดโกง และเสริมสร้างบทบาท การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการเสริมสร้างธรรมาภิบาลและต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบ ยุทธศาสตร์ ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ในยุทธศาสตร์ที่ 6 การปรับสมดุลและพัฒนา การบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้กาหนดให้การพัฒนาระบบบริหารจัดการกาลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐในการปฏิบัติราชการ และการ ต่อต้านการทุจริตและประพฤติผิดมิชอบ เป็นส่วนหน่ึงของกรอบแนวทางท่ีมีความสาคัญในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี อีกทั้งยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ร ะยะที่ 3 (พ.ศ. 2560- 2564) ได้กาหนดยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริตเป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้น กระบวนการปรับสภาพทางสังคมให้เกิดภาวะ “ไม่ทนต่อการทุจริต” และบูรณาการต่อต้านการทุจริตของประเทศ โดยมีสานักงาน ป.ป.ช. เป็นองค์กรหลักในการดาเนินการเพ่ือให้เจตนารมณ์ที่กาหนดไว้ดังกล่าวปรากฏขึ้นมาใน สังคมไทย ผ่านกลไกทางการศึกษาซ่ึงเป็นอีกกลไกหนึ่งที่มีประสิทธิภาพและสามารถทาให้เกิดการปรับเปล่ียน กระบวนคิดของคน ผา่ นการเรียนรู้จากชุดหลักสูตรการเรยี นรู้ด้านการป้องกัน หรอื เรยี กว่าหลักสูตร “ต้านทจุ ริตศึกษา” ท่มี เี นอ้ื หาสอดคล้องและมีประเด็นที่เกีย่ วข้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน อาทิ โลกยุคดิจิทลั หรอื การใช้ทรัพยากรธรณี และทรัพยากรน้าในลักษณะที่เป็นการละเมิด (Abuse) ผลประโยชน์ต่อสาธารณะ เพียงเพ่ือเพิ่มประโยชน์ให้กับ บคุ คลหรอื กลุม่ คนเพยี งบางกลมุ่ เทา่ นั้น หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ประเด็น “ทรัพยากรธรณี” เป็นประเด็นหน่ึงท่ีสาคัญที่สานักงาน ป.ป.ช. ให้ความสาคัญเป็นอย่างสูง เน่ืองจากทรัพยากรธรณีเป็นทรัพยากรที่สาคัญของประเทศ มีส่วนสาคัญต่อการสร้าง ความเจริญก้าวหน้าให้กับประเทศผ่านการใช้ประโยชน์จากส่ิงที่อยู่ในธรณี ไม่ว่าจะเป็น ดิน หิน แร่ ผ่านการ นามาใช้ประโยชน์ เช่น การดัดแปลงเป็นเครื่องมือเคร่ืองใช้ เป็นอุปกรณ์ในการประกอบการงานของมนุษย์ ใช้เป็น สว่ นประกอบของส่งิ ประดิษฐต์ า่ ง ๆ หรือแมก้ ระทง้ั การใชใ้ นกจิ การด้านอตุ สาหกรรม ซง่ึ จะเห็นไดว้ า่ ทรัพยากรธรณี นั้นเป็นสิ่งท่ีสาคัญท่ีช่วยในการสร้างโอกาสให้แก่สังคมมนุษย์ได้อยู่ดี กินดี มีฐานะม่ันคง ทาให้เศรษฐกิจและสังคม
106 ของประเทศสามารถพัฒนาไปข้างหน้าได้ดียิ่งข้ึน อย่างไรก็ตาม เนื่องจากทรัพยากรธรณีเป็นทรัพยากร ท่ีส้ินเปลืองถูกใช้แล้วหมดไป บริเวณท่ีมีการดาเนินการใช้ประโยชน์ทางธรณีก็มักจะเส่ือมคุณค่า ดังนั้น การควบคุม การเข้าใช้ประโยชน์ในทรัพยากรธรณีจึงเป็นประเด็นท่ีสาคัญที่จะต้องเล็งเห็นถึงการใช้ประโยชน์ว่าต้องตอบสนอง ประโยชนส์ าธารณะมากกว่าประโยชนส์ ว่ นบคุ คล ปจั จุบันจะเห็นได้ว่า แนวโน้มการใชท้ รัพยากรธรณนี ้ัน ประโยชน์ ท่ีสาธารณะควรได้รับนั้นน้อยกว่าประโยชน์ที่เอกชนได้รับ อีกทั้งการท่ีเข้าใช้ประโยชน์ของทรัพยากรธรณียังถูก เขา้ ถงึ ดว้ ยวธิ กี ารท่ีมีความเส่ียงต่อการทจุ ริต เชน่ การบิดเบือนประโยชน์ของสาธารณะที่ได้รับให้ดูสูงกว่าประโยชน์ ที่เอกชนได้รับ แต่ความเป็นจริงเม่ือมีการสารวจใช้ทรัพยากรธรณีแล้ว เอกชนกลับได้ประโยชน์ทางทรัพยากรธรณี มากกว่าท่ีถูกคานวณไว้ ซึ่งประเด็นตัวอย่างท่ีกล่าวมาข้างต้น เป็นเพียงประเด็นย่อยของความเสีย่ งต่อการทุจริตใน การเข้าใช้ทรัพยากรธรณีที่ควรจะมีการสร้างการตระหนักรู้ เพ่ือให้เกิดความหวงแหน นามาสู่การร่วมกันอนุรักษ์ รกั ษาทรัพยากรธรณเี พือ่ ให้ประเทศได้รับประโยชนม์ ากทีส่ ุด ดังนั้น การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี โดยเฉพาะอย่างย่ิง การป้องกันการทุจริตที่เก่ียวข้องกับ ประเด็นดังกล่าว เป็นส่ิงที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้ความสาคัญ จึงได้สร้างหลักสูตรการเรียนรู้ด้านการป้ องกัน การทุจริต หรือ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เรื่อง การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี ท่ีมีเน้ือหาสอดคล้องและ มีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน คือ การใช้ทรัพยากรธรณีในลักษณะท่ีเป็นการละเมิด ( Abuse) ตอ่ ผลประโยชนส์ าธารณะ เพือ่ ให้ผเู้ รยี นทุกระดับชนั้ ได้มคี วามตระหนักรู้และร่วมพิทักษ์ทรัพยากรธรณีตามบทบาท หน้าท่ีของตน โดยประยุกต์ใช้ STRONG Model ในการเรียนการสอนตลอดหลักสตู ร กลุ่มเป้าหมายท่ีสาคัญในการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เก่ียวข้องกับการต้านทุจริต ในประเด็น “ทรพั ยากรธรรมชาติทางธรณี” ส่ขู า้ ราชการและเจ้าหน้าทีภ่ าครฐั คือกลุ่มวทิ ยากรตัวคูณ เน่อื งเป็นผู้ท่สี ่งต่อความรู้ ในการต่อต้านการทุจริตสู่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ภาครัฐในหน่วยงาน ให้ตระหนักรู้ถึงการใช้ทรัพยากรธรณีและ การไม่ละเมิด (Abuse) ประโยชน์สาธารณะ และเฝ้าระวังการใช้ทรัพยากรธรณีในพื้นที่ที่รับผิดชอบอย่างถูกต้อง จึงนามาสู่การจัดทาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี สาหรับกลุ่มวิทยากร ป.ป.ช./ บุคลากรภาครัฐ และรฐั วิสาหกจิ ในครงั้ น้ี
107 2. วัตถุประสงค์ของหลกั สูตร 2.1 เพื่อใหผ้ ้เู รยี นเกดิ การตระหนกั รูค้ ุณค่าของทรพั ยากรธรณีและสามารถถา่ ยทอดได้อยา่ งถกู ต้อง 2.2 เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นมาสามารถแยกแยะประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมในการใช้ทรพั ยากรธรณี 2.3 เพื่อให้ผ้เู รยี นเกิดความไม่ทนต่อการทุจริตจากการใชท้ รพั ยากรธรณี 2.4 เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนมีจติ พอเพียงเพอ่ื นาไปสกู่ ารต้านทจุ ริตเกีย่ วกับทรัพยากรธรณี 2.5 เพือ่ ใหผ้ ้เู รยี นมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม หวงแหน และอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรณี 3. โครงสรา้ งเน้อื หาสาระ ลาดับ เนื้อหาสาระ ระยะเวลา (ช่ัวโมง) 1 ธรณวี ิทยาน่ารู้ 1 - ธรณีวิทยาท่ัวไป และกาเนิดทรัพยากรธรณี (หิน/ดนิ /แร่/ธาตหุ ายาก/พลงั งาน/ซากดกึ ดา บรรพ์) - แผนทธ่ี รณีวทิ ยาและศักยภาพแหล่งทรัพยากรธรณี - แหลง่ ทรัพยากรธรณี และศักยภาพแหล่งหิน/แร่ - แผนที่สารสนเทศทรพั ยากรธรณี (GIS) : เหมอื งแร่ในอดตี ,เหมอื งแร่ในปัจจบุ ันและการ พฒั นาในอนาคต - ธรณีพิบัตภิ ยั กบั ชวี ติ ประจาวัน 2 คุณค่าของทรัพยากรธรณี กับโอกาสในการพฒั นาประเทศและการฟื้นฟเู ก่ยี วกับ 2 ทรัพยากรธรณี - ทรัพยากรธรณี การสารวจ และการใช้ประโยชน์ - ทรพั ยากรธรณีกับการพัฒนาประเทศ - ความสาคญั ของทรัพยากรธรณี ต่อประเทศด้านตา่ ง ๆ ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม ส่งิ แวดล้อม การเมือง - การมสี ว่ นร่วมอนรุ กั ษ์ และการฟื้นฟเู กย่ี วกบั ทรัพยากรธรณี - กรณศี กึ ษาการเพิ่มมลู คา่ ทรัพยากรธรณี (หินอ่อน/หนิ แกรนติ /อัญมณี) 3 ความเสีย่ งในการทจุ รติ เกี่ยวกับทรัพยากรธรณี 4 - กฎหมายตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วข้องกบั ทรัพยากรธรณี - รูปแบบการทุจริต และกรณีศึกษาการทุจริต (การทาเหมืองนอกเขตพ้นื ท่อี นุญาต/การ ประเมินผลกระทบต่อสขุ ภาพและสิ่งแวดล้อม EHIA) 4 ปกปอ้ งทรพั ยากรทางธรณี 5 - การสรา้ งจติ สานกึ สาธารณะ เพ่อื แยกแยะประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ่วนรวม - การมสี ว่ นร่วมในการปกป้องทรัพยากรธรณี - การเฝ้าระวัง แจ้งเบาะแส การทจุ รติ ทรัพยากรธรณี - กรณศี ึกษาการมสี ่วนร่วมในการปกป้องทรัพยากรธรรมชาติ รวม 12
108 STRONG Model : จติ พอเพยี งต้านทุจริต โมเดล STRONG เป็นการนาตัวอักษรแรกของศัพท์ภาษาอังกฤษท่ีมีความหมายเชิงบวก จานวน 6 คา มาประกอบเป็นคาศัพท์ส่ือความหมายถึง “ความแข็งแกร่ง” ของบุคคลและองค์กรในการต่อต้านการทุจริต โดยมี ความมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้านทุจริต ร่วมกันพัฒนาชุมชนให้ก้าวไปข้างหน้าด้วยการประยุกต์และบูรณา การหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงเข้ากบั ความโปร่งใส การแยกแยะผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม การตระหนักรู้และใส่ใจปัญหาการทุจริต และร่วมกันพัฒนาชุมชนให้มีความเอ้ืออาทรบนพื้นฐานของจรยิ ธรรมและ จิตพอเพียง ตลอดจนเกิดเครือข่ายชุมชนจิตพอเพียงต้านทุจริตและเป็นแกนนาสร้างวัฒนธรรมไม่ทนต่อการทุจริต ซ่ึงโมเดล STRONG ได้มีการสร้างและพัฒนาโดยรองศาสตราจารย์ ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงไดด้ งั แผนภาพ ดงั นี้ แผนภาพที่ 1 โมเดล STRONG – จติ พอเพียงตา้ นทุจริต ปี พ.ศ. 2562 จากแผนภาพข้างตน้ สามารถอธิบายนิยามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารไดด้ งั นี้ (1) พอเพียง (Sufficient : S) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562
109 ความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมที่ระดับท่ีแตกต่างกันตามวิธีคิด สภาพความพร้อมและ ความสามารถ รวมทัง้ ตามสถานภาพทางเศรษฐกิจและสงั คมของบุคคลและครอบครวั กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดที่แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และ เป็นอัตโนมัติจะนาไปสู่จิตสานึกที่พอเพียง ไม่กอบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน ไม่เบียดบังรัฐ ไม่รับอามิสสินบนโดยมิต้องจากัดขอบเขตของการประกอบอาชีพที่สุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงินทองได้ตาม ความสามารถ ทัง้ น้ี โดยไมเ่ ดือดร้อนตนเองและผูอ้ ่ืน (2) โปร่งใส (Transparent : T) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความโปรง่ ใส ทาให้เห็นภาพหรอื ปรากฏการชัดเจน กลไกหลัก คอื สร้างความรคู้ วามเข้าใจ และวธิ ีสังเกตเก่ยี วกบั ความโปร่งใสของโครงการต่าง ๆ (3) ตนื่ รู้ (Realize : R) คานิยามปี พ.ศ. 2562 เมือ่ บุคคลรู้พิษภยั ของการทจุ ริต และไมท่ นทีจ่ ะเห็นการทจุ ริตเกิดขึ้น กลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์การทุจริตในพ้ืนที่ ในชุมชน หรือในกรณีที่ปรากฏการทุจริตขึ้น หรอื กรณศี ึกษาทเ่ี กดิ ขน้ึ มาแล้วและมีคาพิพากษาถึงทีส่ ุดแล้ว (4) มุง่ ไปขา้ งหนา้ (Onward : O) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การไม่มกี ารทุจรติ ของภาครฐั จะทาให้เงินภาษีถกู นาไปใช้ในการพัฒนาอยา่ งเต็มที่ กลไกหลัก คือ การป้องกันและการป้องปราม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังพื้นที่ที่มี ความเสยี่ ง ในการทจุ ริต เช่น การบุกรุกพ้ืนทสี่ าธารณะ หรอื เฝา้ ระวังโครงการใหด้ าเนินการด้วยความโปร่งใส (5) ความรู้ (Knowledge : N) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความรู้ด้านต่าง ๆ มคี วามจาเป็นต่อการป้องกันและป้องปรามการทุจริต กลไกหลัก คอื การให้ความรู้ในรูปแบบการฝึกอบรม หรอื ให้สือ่ เรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง เชน่ (1) ความร้เู ก่ียวกบั รปู แบบการทุจริตแบบต่าง ๆ ทงั้ แบบสมัยอดีต แบบปัจจุบนั และแบบที่อาจจะ เกดิ ข้นึ ในอนาคต (2) ความรเู้ กย่ี วกบั การทจุ ริตในต่างประเทศ (3) วธิ ีการป้องกัน - ปอ้ งปรามแบบตา่ ง ๆ (4) ความรเู้ กย่ี วการเฝา้ ระวัง (5) ความร้เู กีย่ วกับกฎหมายทีเ่ กย่ี วขอ้ ง (6) เอื้ออาทร (Generosity : G) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 การพัฒนาสงั คมไทยให้มีน้าใจ โอบอ้อมอารี เอือ้ เฟือ้ เผ่ือแผ่ โดยไมม่ ผี ลประโยชนต์ อบแทนหรือหวัง ผลตอบแทน ในฐานะเพ่อื นมนษุ ย์
110 กลไกหลัก กจิ กรรมจิตอาสา ช่วยเหลอื บคุ คล ชุมชน/สงั คมในยามวิกฤติ หรือการรว่ มมือในการร่วม พฒั นาชมุ ชน จากนิยามขา้ งตน้ STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต จึงหมายถงึ ผทู้ ีม่ ีความพอเพียง ไมเ่ บียดเบียนตนเอง และผ้อู ่ืน (S) มุง่ อนาคตทีเ่ จริญท้ังตนเองและสว่ นรวม (O) โดยใช้หลกั ความโปรง่ ใสตรวจสอบได้ (T) พ้นื ฐานจิตใจมี มนุษยธรรมเอื้ออาทร ช่วยเหลอื เพ่ือนมนุษย์โดยไม่เห็นแก่ประโยชนต์ ่างตอบแทน (G) ให้ความสาคัญต่อการเรียนรู้ ตลอดชีวิต เพื่อการดารงชีวิตในทางท่ีชอบ (N) แต่ต่ืนรู้เรื่องภัยทุจริตท่ีร้ายแรงส่งผลต่อสังคม รังเกียจการทุจริต ประพฤติมชิ อบทง้ั ปวง ไม่ยอมทนต่อการทจุ ริตทกุ รปู แบบ (R) นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการพัฒนาโมเดล STRONG โดยเพ่ิมในเรื่องของการมีส่วนร่วม (Participation) อันเป็นกลไกสาคัญในการเช่ือมโยงและขับเคล่ือนหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การป้องกัน การทุจริตได้เป็นรูปธรมอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการเผยแพร่หลักการของโมเดล STRONG สู่ชุมชน จะดาเนินการ โดยสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด และมีการคัดเลือกผู้แทน/ผู้นาชุมชนในจังหวัดที่มีเครือข่าย มีความสามารถ และทักษะในการถ่ายทอดองค์ความรู้มาอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโมเดล STRONG การนาไป ประยุกต์ใช้ในการการต่อต้านการทุจริต เช่น การคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต หลักการจิตพอเพียงด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม เป็นต้น เพื่อให้ผู้ได้รับการ คัดเลือกเป็นโค้ช (coach) ถ่ายทอดความรู้เก่ียวกับหลักการของโมเดล STRONG และการต่อต้านการทุจริตให้แก่ ผู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชน รวมถึงยังมีการจัดตั้งชมรม STRONG เพื่อให้ทุกภาคส่วนมีความตระหนักรู้เล็งเห็นถึง ความสาคัญของปญั หาการทจุ รติ และมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและแจง้ เบาะแสการทุจริต
111 แผนภาพที่ 2 หลักสตู รต้านทจุ รติ ศึกษา เรอ่ื ง การพิทักษท์ รัพยากรธรรมชาตทิ างธรณี สาหรบั กลุ่มวทิ ยากร ป.ป.ช. / บุคลากรภาครฐั และรฐั วสิ าหกจิ
11 4. หนว่ ยการเรียนรู้ หนว่ ย เวลา เนอ้ื หาสาระ ที่ (ชั่วโมง) ชอ่ื หนว่ ย จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การพทิ ักษ์ กา ทรพั ยากรธรรมชาติทางธรณี 1 ธรณีวทิ ยา 1 - ผเู้ รียนมคี วามรคู้ วาม - ธรณีวทิ ยาทว่ั ไป และกาเนดิ สร้างค นา่ รู้ เขา้ ใจเบือ้ งต้นเกย่ี วกับ ทรัพยากรธรณี (หนิ /ดนิ /แร/่ คณุ ค่า ธรณวี ทิ ยา ทรพั ยากร ธาตหุ ายาก/พลังงาน/ซากดึก ตืน่ รู้ ( ธรณี - ผเู้ รียนมีทักษะในการ ดาบรรพ)์ ผเู้ รยี น แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ - แผนทธี่ รณวี ิทยาและ และตร - ผู้เรียนวิเคราะหส์ ภาพ ศักยภาพแหล่งทรัพยากรธรณี ของปัญ ทรัพยากรธรณีในพ้ืนท่ี - แหลง่ ทรัพยากรธรณี และ ของกา ใกล้ตวั ได้ ศกั ยภาพแหลง่ หิน/แร่ ภายใน - แผนทสี่ ารสนเทศทรพั ยากร ความต ธรณี (GIS) : เหมืองแร่ในอดตี , พบเหน็ เหมอื งแรใ่ นปจั จบุ ันและการ ตอ่ การ พฒั นาในอนาคต ปฏกิ ริ - ธรณพี ิบตั ิภยั กบั ไม่ยินย ชีวติ ประจาวนั ทส่ี ดุ ซ ความเ ความ เกีย่ วก ทีเ่ กิดข ผลกระ และส่ว
12 ารต่อต้านการทุจรติ วธิ ีจัดการเรยี นรู้ สอื่ การเรียนรู้ แหลง่ เรียนรู้ วธิ ีการ ประเมินผล ความตระหนกั รถู้ งึ - บรรยาย - เอกสารความรู้ - เว็บไซต์ - การสงั เกต าของทรัพยากรธรณี - การสอน - ตวั อยา่ งทรพั ยากร พิพธิ ภัณฑ์ทาง พฤติกรรม (Realize : R) เป็นทมี ธรณี ธรณวี ิทยา - การทดสอบ นมคี วามรู้ความเขา้ ใจ (Team base - สอ่ื ออนไลน์ - เวบ็ ไซต์ - การประเมิน ระหนกั รู้ถงึ รากเหง้า Learning) - แอปพลิเคชนั่ ช้นั หนิ โผล่ ตนเอง ญหาและภัยร้ายแรง - การสอน - อนิ โฟกราฟฟกิ (Outcrop) หนิ / ารทุจริตประพฤติมิชอบ แบบสัมมนา - โมช่นั กราฟฟิก แร่ และจดุ สาคัญ นชมุ ชนและประเทศ ทางธรณีวิทยา ตนื่ รจู้ ะบงั เกดิ เมอ่ื ได้ นสถานการณ์ท่ีเสี่ยง รทจุ รติ ย่อมจะมี ริยาเฝ้าระวงั และ ยอมตอ่ การทุจริตใน ซึง่ ต้องให้ความรู้ เขา้ ใจ มรู้ (Knowledge : N) กับสถานการณท์ จุ ริต ข้ึน ความรา้ ยแรงและ ะทบตอ่ ระดบั บุคคล วนรวม
11 2 คุณค่าของ 2 - ผู้เรียนอธิบายคณุ ค่า - ทรพั ยากรธรณี การสารวจ สร้างค ทรัพยากร และความมีจากัดของ และการใช้ประโยชน์ คณุ คา่ ธรณี กับ ทรพั ยากรธรณี - ทรพั ยากรธรณีกบั การพฒั นา ตื่นรู้ ( โอกาสใน - ผู้เรยี นเกดิ ความ ประเทศ ผ้เู รยี น การพัฒนา ตระหนกั ถงึ ความสาคญั - ความสาคัญของทรพั ยากร และตร ประเทศ และมสี ว่ นรว่ มในการ ธรณี ตอ่ ประเทศด้านตา่ ง ๆ ของปัญ และการ ฟืน้ ฟขู องทรพั ยากรธรณี ด้านเศรษฐกิจ สังคม ของกา ฟ้นื ฟู สิง่ แวดล้อม การเมือง ภายใน เกยี่ วกบั - การมสี ว่ นรว่ มอนุรักษ์ และ ความต ทรัพยากร การฟน้ื ฟเู กี่ยวกบั ทรัพยากร พบเห็น ธรณี ธรณี ตอ่ การ - กรณีศกึ ษาการเพ่มิ มลู ค่า ปฏกิ ิร ทรัพยากรธรณี (หนิ ออ่ น/ ไมย่ ินย หินแกรนติ /อญั มณ)ี ในทสี่ ุด การแย ประโย ประโย พอเพ ปรับวิธ ผลประ ส่วนรว ชดั เจน นาไปส ไมก่ อบ มิชอบ ไม่เบยี สนิ บน
13 ความตระหนักรู้ถึง - อภปิ รายกลมุ่ - เอกสารความรู้ - เวบ็ ไซต์ - การสังเกต าของทรัพยากรธรณี - การสอนแบบ - ตัวอย่างทรพั ยากร (Realize : R) ระดมสมอง ธรณี กรมทรัพยากร พฤติกรรม นมคี วามรู้ความเขา้ ใจ - กรณีศึกษา - ส่ือออนไลน์ ระหนักร้ถู ึงรากเหง้า - แอปพลิเคชัน่ ธรณี และ ญหาและภัยรา้ ยแรง - อินโฟกราฟฟิก ารทจุ ริตประพฤตมิ ิชอบ - โมชัน่ กราฟฟิก กรมอุตสาหกรรม นชมุ ชนและประเทศ ตืน่ รจู้ ะบังเกิดเมือ่ ได้ พ้ืนฐานและ นสถานการณ์ท่เี สยี่ ง รทุจรติ ยอ่ มจะมี การเหมอื งแร่ ริยาเฝา้ ระวังและ ยอมต่อการทจุ รติ - เหมอื งแร่ ทอง ด ยกแยะเกี่ยวกบั ยิปซมั ปูนซีเมนต์ ยชนส์ ่วนตนและ - เหมืองหนิ ยชน์ เชื่อมโยงกบั อตุ สาหกรรมหิน พียง (Sufficient : S) ก่อสรา้ ง หนิ ปนู ธคี ิดทแี่ ยกแยะ หนิ อคั นี ะโยชน์ส่วนตัวและ - ศกั ยภาพแหลง่ วมได้อย่างถกู ตอ้ ง แรข่ องไทย น และเป็นอัตโนมตั จิ ะ สู่จติ สานึกที่พอเพยี ง บโกยผลประโยชนโ์ ดย บ ไมเ่ บียดเบยี นผู้อ่ืน ยดบังรัฐ ไมร่ ับอามสิ นโดยมิตอ้ งจากดั
11 ขอบเข อาชีพ ทรัพย ความส ไมเ่ ดอื ความ เกี่ยวก เกิดข้นึ ผลกระ และสว่ 3 ความเสย่ี ง 4 - ผู้เรียนมคี วามรแู้ ละ - กฎหมายต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง โปรง่ ใ ในการ เข้าใจเกี่ยวกบั กฎหมาย กบั ทรพั ยากรธรณี T)บุคค ทุจรติ ทรพั ยากรธรณี - รปู แบบการทุจรติ และ และชุม เกย่ี วกับ - ผเู้ รียนวิเคราะหถ์ ึง กรณีศึกษาการทุจรติ (การทา บนฐาน ทรพั ยากร รูปแบบ วธิ กี ารและร้เู ทา่ เหมอื งนอกเขตพื้นทอ่ี นุญาต/ ตรวจส ธรณี ทนั การทจุ ริตทาง การประเมินผลกระทบตอ่ และป ทรพั ยากรธรณี สขุ ภาพและสิ่งแวดล้อม EHIA/ ระเบีย การพัฒนาทรัพยากรธรณีนอก เขตพื้นท่ีอนุญาต) ดา้ นค ความร (know (realiz
14 ขตของการประกอบ พทส่ี ุจรติ สามารถหา ย์สนิ เงนิ ทองไดต้ าม สามารถ ทัง้ นี้ โดย อดร้อนตนเองและผ้อู น่ื มรู้ (Knowledge : N) กบั สถานการณท์ จุ รติ ที่ น ความรา้ ยแรงและ ะทบตอ่ ระดบั บคุ คล วนรวม ใส (Transparent : - บรรยาย - เอกสารความรู้ - เว็บไซต์ - การสงั เกต - สื่อออนไลน์ คลทกุ ระดบั องคก์ ร - อภปิ รายกลมุ่ - แอปพลิเคชั่น กรมอุตสาหกรรม พฤติกรรม - อินโฟกราฟฟกิ มชนตอ้ งปฏิบัตงิ าน กรณศี กึ ษา - โมชน่ั กราฟฟกิ พน้ื ฐานและการ - การทดสอบ นของความโปรง่ ใส - การสอนแบบ สอบได้ ดงั น้ัน จงึ ตอ้ งมี สมั มนา เหมอื งแร่ - การประเมนิ - กรณีศึกษา - เว็บไซต์ กรม ตนเอง ปฏบิ ตั ติ ามหลักปฏบิ ัติ ทรัพยากรธรณี ยบ ข้อปฏบิ ัติ กฎหมาย - พพิ ธิ ภัณฑ์ ธรณีวทิ ยา ความโปร่งใส ซงึ่ ต้องให้ - เวบ็ ไซต์ ร้คู วามเข้าใจ ภาควิชา wledge) และการตน่ื รู้ ธรณวี ทิ ยาและ ze) ธรณีศาสตร์ มหาวิทยาลยั - เวบ็ ไซต์ สานกั งาน ป.ป.ช.
11 4 ปกป้อง 5 - ผ้เู รยี นเกดิ เจตคติหวง - การสร้างจติ สานกึ สาธารณะ การแย ทรัพยากร แหน มคี วามรสู้ กึ ถึงการ เพือ่ แยกแยะประโยชน์สว่ นตน ประโย ทางธรณี เป็นเจ้าของ และเกดิ และประโยชนส์ ว่ นรวม ประโย พฤติกรรมการมสี ว่ นรว่ ม - การเฝ้าระวัง แจ้งเบาะแส พอเพ ปกปอ้ งทรพั ยากรธรณี การทจุ รติ ทรัพยากรธรณี ปรับวิธ - ผู้เรยี นสามารถ - การมีสว่ นรว่ มในการปกปอ้ ง ผลประ เสนอแนะวิธีการปกปอ้ ง ทรัพยากรธรณี ส่วนรว ทรพั ยากรธรณีได้ - กรณศี กึ ษาการมีสว่ นรว่ มใน ชดั เจน -มีทกั ษะในการสงั เกต การปกป้องทรพั ยากรธรณี จะนาไ ปรากฏการการทจุ ริต ไม่กอบ และสามารถเฝา้ ระวงั มิชอบ แจง้ เบาะแสการทุจรติ ต่อ ไมเ่ บยี หนว่ ยงานท่มี ีหน้าท่ไี ด้ สินบน ขอบเข อาชพี ทรัพย ความส ไม่เดอื เอือ้ อา การพัฒ นา้ ใจ เอ้อื เฟ ผลประ หวงั ผล เพื่อนม หลัก ส จิตอาส ชุมชน
15 ยกแยะเกยี่ วกับ - การสอนแบบ - เอกสารความรู้ - เว็บไซต์ กรม - การสังเกต - สื่อออนไลน์ ทรัพยากรธรณี พฤติกรรม ยชนส์ ว่ นตนและ สัมมนา - แอปพลิเคชัน่ - สานกั งาน - การทดสอบ - อินโฟกราฟฟิก ป.ป.ช. - การประเมิน ยชน์ เช่ือมโยงกับ - กรณศี กึ ษา - โมชั่นกราฟฟกิ ตนเอง - ประเมินการ พยี ง (Sufficient : S) - อภิปรายกลมุ่ อภปิ รายกลุ่ม ธคี ดิ ทีแ่ ยกแยะ ะโยชนส์ ่วนตัวและ วมได้อย่างถกู ต้อง น และเปน็ อตั โนมตั ิ ไปสจู่ ติ สานกึ ที่พอเพียง บโกยผลประโยชน์โดย บ ไม่เบยี ดเบยี นผอู้ ื่น ยดบงั รฐั ไมร่ บั อามสิ นโดยมติ ้องจากดั ขตของการประกอบ พท่สี จุ ริต สามารถหา ย์สินเงนิ ทองไดต้ าม สามารถ ทงั้ นี้ โดย อดรอ้ นตนเองและผ้อู ่นื าทร (Generosity : G) ฒนาสังคมไทยให้มี โอบออ้ มอารี ฟอื้ เผ่อื แผ่ โดยไม่มี ะโยชน์ตอบแทนหรือ ลตอบแทน ในฐานะ มนษุ ย์ โดยกลไก สง่ เสรมิ การทากจิ กรรม สา ชว่ ยเหลือบุคคล น/สังคมในยามวิกฤติ
11 หรือก พัฒนา มุง่ ไปข (Onw มุ่งเน้น รว่ มใน ความเ การบุก หรือเฝ ดาเนิน
16 การร่วมมือในการร่วม าชุมชน ข้างหนา้ ward : O) นกระบวนการมสี ่วน นการเฝ้าระวงั พ้ืนท่ี ทมี่ ี เสย่ี ง ในการทุจรติ เช่น กรกุ พื้นทส่ี าธารณะ ฝา้ ระวังโครงการให้ นการดว้ ยความโปร่งใส
117 5. แนวทางการจัดการเรียนรู้และประเมนิ ผล 5.1 แนวทางการจัดการเรียนรู้ - การจัดการเรยี นรเู้ ชิงรุก (Active Learning) - การบรรยายและการอภปิ รายกลมุ่ /เดีย่ ว - กรณศี กึ ษา 5.2 การวดั และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 5.2.1 การทดสอบ 5.2.2 การประเมนิ ผลตามสภาพจริง - การประเมนิ ตนเอง - การสังเกตพฤติกรรม - ประเมนิ ทักษะการถ่ายถอดความรู้ - ฯลฯ 6. แนวทางการนาหลักสูตรไปใช้ (1) ใช้ฝึกอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ของสานกั งาน ป.ป.ช. (2) ใชฝ้ ึกอบรมใหก้ ับโค้ช STRONG : จติ พอเพียงต้านทจุ ริต (3) ใชฝ้ กึ อบรมใหก้ ับบุคลากรภาครัฐ และรฐั วสิ าหกิจ
118 หลักสูตรต้านทจุ ริตศกึ ษา เร่ือง การพทิ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี สาหรบั กลุ่มโคช้ 1. ความเปน็ มาของหลักสูตร การทจุ รติ ในสงั คมไทยระหว่างช่วงกว่าทศวรรษที่ผา่ นมานั้น ส่งผลเสียต่อประเทศอย่างมหาศาล ทั้งยงั เป็น อปุ สรรคต่อการพัฒนาประเทศในทุกมิติ รูปแบบการทุจรติ จากเดิมทเ่ี ป็นการทุจรติ ทางตรงไม่ซับซ้อนได้ปรับเปลี่ยน เป็นการทุจริตท่ีมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ประเทศไทยมีความพยายามแก้ไขปัญหาการทุจริตโดยการสร้างความตื่นตัว และการเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ปรับความคิด สร้างความตระหนักรู้ในทุกภาคส่วน ของสังคม โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ได้กาหนดในหมวดท่ี 5 หน้าที่ของรัฐว่า “รัฐต้องส่งเสริม สนับสนนุ และให้ความรแู้ กป่ ระชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบท้ังภาครัฐ และเอกชนโดยจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ดังกล่าวอย่างเข้มงวด” ท้ังวาระการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประเด็นปฏิรูปด้านการป้องกันและเฝ้าระวัง ได้กาหนดกลยุทธ์หลัก ในการเร่งสร้างการรับรู้และจิตสานึกของ ประชาชนในการต่อต้านการทจุ ริตประพฤตมิ ชิ อบ ส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนรวมตวั กันรงั เกยี จ การทจุ รติ และมีส่วนร่วม ในการต่อต้านทุจริตด้วยการช้ีเบาะแส การสร้างลักษณะนิสัยไม่โกงและไม่ยอมให้ผู้ใดโกง และเสริมสร้างบทบาท การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการเสริมสร้างธรรมาภิบาลและต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบ ยุทธศาสตร์ ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ในยุทธศาสตร์ที่ 6 การปรับสมดุลและพัฒนา การบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้กาหนดให้การพัฒนาระบบบริหารจัดการกาลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐในการปฏิบัติราชการ และการ ต่อต้านการทุจริตและประพฤติผิดมิชอบ เป็นส่วนหน่ึงของกรอบแนวทางท่ีมีความสาคัญในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี อีกทั้งยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560- 2564) ได้กาหนดยุทธศาสตร์ท่ี 1 สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริตเป็นยุทธศาสตร์ท่ีมุ่งเน้น กระบวนการปรับสภาพทางสังคมให้เกิดภาวะ “ไม่ทนต่อการทุจริต” และบูรณาการต่อต้านการทุจริตของประเทศ โดยมีสานักงาน ป.ป.ช. เป็นองค์กรหลักในการดาเนินการเพื่อให้เจตนารมณ์ที่กาหนดไว้ดังกล่าวปรากฏข้ึนมาใน สังคมไทย ผ่านกลไกทางการศึกษาซ่ึงเป็นอีกกลไกหนึ่งที่มีประสิทธิภาพและสามารถทาให้เกิดการปรับเปลี่ยน กระบวนคดิ ของคน ผ่านการเรียนร้จู ากชุดหลักสูตรการเรยี นรู้ดา้ นการป้องกัน หรอื เรียกว่าหลักสูตร “ต้านทจุ รติ ศึกษา” ทมี่ เี นอื้ หาสอดคล้องและมีประเดน็ ทีเ่ ก่ยี วข้องกบั สถานการณป์ ัจจุบัน อาทิ โลกยคุ ดิจทิ ัล หรือการใชท้ รพั ยากรธรณี และทรัพยากรน้าในลักษณะที่เป็นการละเมิด (Abuse) ผลประโยชน์ต่อสาธารณะ เพียงเพื่อเพิ่มประโยชน์ให้กับ บคุ คลหรือกลมุ่ คนเพยี งบางกลมุ่ เทา่ นน้ั หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ประเด็น “ทรัพยากรธรณี” เป็นประเด็นหนึ่งที่สาคัญที่สานักงาน ป.ป.ช. ให้ความสาคัญเป็นอย่างสูง เนื่องจากทรัพยากรธรณีเป็นทรัพยากรท่ีสาคัญของประเทศ มีส่วนสาคัญต่อการสร้าง ความเจริญก้าวหน้าให้กับประเทศผ่านการใช้ประโยชน์จากส่ิงท่ีอยู่ในธรณี ไม่ว่าจะเป็น ดิน หิน แร่ ผ่านการ นามาใช้ประโยชน์ เช่น การดัดแปลงเป็นเคร่ืองมือเครื่องใช้ เป็นอุปกรณ์ในการประกอบการงานของมนุษย์ ใช้เป็น สว่ นประกอบของสิง่ ประดิษฐต์ ่าง ๆ หรอื แม้กระท้ังการใชใ้ นกิจการด้านอุตสาหกรรม ซึ่งจะเหน็ ได้วา่ ทรัพยากรธรณี นั้นเป็นส่ิงที่สาคัญที่ช่วยในการสร้างโอกาสให้แก่สังคมมนุษย์ได้อยู่ดี กินดี มีฐานะมั่นคง ทาให้เศรษฐกิจและสังคม ของประเทศสามารถพัฒนาไปข้างหน้าได้ดีย่ิงข้ึน อย่างไรก็ตาม เน่ืองจากทรัพยากรธรณีเป็นทรัพยากรท่ีส้ินเปลือง
119 ถูกใช้แล้วหมดไป บริเวณที่มีการดาเนินการใช้ประโยชน์ทางธรณีก็มักจะเสื่อมคุณค่า ดังนั้น การควบคุม การเข้าใช้ ประโยชน์ในทรัพยากรธรณีจึงเป็นประเด็นท่ีสาคัญท่ีจะต้องเล็งเห็นถึงการใช้ประโยชน์ว่าต้องตอบสนองประโยชน์ สาธารณะมากกว่าประโยชน์ส่วนบุคคล ปัจจุบันจะเห็นได้ว่า แนวโน้มการใช้ทรัพยากรธรณีนั้น ประโยชน์ท่ี สาธารณะควรไดร้ ับนนั้ น้อยกว่าประโยชน์ที่เอกชนไดร้ ับ อีกทงั้ การทีเ่ ข้าใช้ประโยชนข์ องทรัพยากรธรณียังถูกเข้าถึง ด้วยวิธีการท่ีมีความเสี่ยงต่อการทุจริต เช่น การบิดเบือนประโยชน์ของสาธารณะท่ีได้รับให้ดูสูงกว่าประโยชน์ที่ เอกชนได้รับ แต่ความเป็นจริงเมื่อมีการสารวจใช้ทรัพยากรธรณีแล้ว เอกชนกลับได้ประโยชน์ทางทรัพยากรธรณี มากกว่าท่ีถูกคานวณไว้ ซึ่งประเด็นตัวอย่างท่ีกล่าวมาข้างต้น เป็นเพียงประเด็นย่อยของความเส่ียงต่อการทุจริตใน การเข้าใช้ทรัพยากรธรณีท่ีควรจะมีการสร้างการตระหนักรู้ เพ่ือให้เกิดความหวงแหน นามาสู่การร่วมกันอนุรักษ์ รักษาทรพั ยากรธรณเี พ่อื ให้ประเทศได้รบั ประโยชน์มากทส่ี ดุ ดังนั้น การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี โดยเฉพาะอย่างย่ิง การป้องกันการทุจริตท่ีเก่ียวข้องกับ ประเด็นดังกล่าว เป็นสิ่งท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้ความสาคัญ จึงได้สร้างหลักสูตรการเรียนรู้ด้านการป้องกัน การทุจริต หรือ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เรื่อง การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี ท่ีมีเนื้อหาสอดคล้องและ มีประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน คือ การใช้ทรัพยากรธรณีในลักษณะที่เป็นการละเมิด ( Abuse) ตอ่ ผลประโยชน์สาธารณะ เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นทกุ ระดบั ช้นั ได้มคี วามตระหนักรู้และร่วมพิทักษ์ทรัพยากรธรณีตามบทบาท หนา้ ทีข่ องตน โดยประยกุ ตใ์ ช้ STRONG Model ในการเรยี นการสอนตลอดหลกั สตู ร กลุ่มเป้าหมายท่ีสาคัญในการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เก่ียวข้องกับการต้านทุจริต ในประเด็น “ทรพั ยากรธรรมชาติทางธรณี” สภู่ าคประชาชน คือโคช้ STRONG เนอ่ื งจากโค้ช STRONG เปน็ ผทู้ สี่ ่งต่อความรู้ใน การต่อตา้ นการทุจริตสู่ภาคประชาชนในพื้นท่ี ใหต้ ระหนักร้ถู ึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณแี ละการไม่ละเมิด (Abuse) ประโยชน์สาธารณะ และเฝ้าระวังการใชท้ รัพยากรธรณีในพน้ื ที่อย่างถูกต้อง จงึ นามาสู่การจดั ทาหลักสูตร ต้านทจุ รติ ศกึ ษา เร่อื ง ทรพั ยากรธรรมชาตทิ างธรณี สาหรับกลมุ่ โคช้ STRONG ในครั้งน้ี
120 2. วัตถุประสงค์ของหลกั สูตร 2.1 เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนเกิดการตระหนักรู้คุณคา่ และการใชป้ ระโยชน์ของทรัพยากรธรณีและสามารถถ่ายทอด ได้อย่างถูกต้อง 2.2 เพื่อใหผ้ ู้เรียนสามารถแยกแยะประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์สว่ นรวมในการใชท้ รพั ยากรธรณี 2.3 เพ่อื ให้ผเู้ รยี นมคี วามรับผิดชอบต่อสังคม หวงแหน และอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรณี 2.4 เพอ่ื ให้ผู้เรียนมีจติ พอเพียงเพือ่ นาไปสู่การต้านทจุ รติ เกี่ยวกับทรัพยากรธรณี 2.5 เพ่ือให้ผ้เู รียนเกดิ ความไม่ทนต่อการทจุ ริตจากการใช้ทรพั ยากรธรณี 3. โครงสรา้ งเน้อื หาสาระ ระยะเวลา (ชั่วโมง) ลาดับ เน้ือหาสาระ 1 1 ธรณีวิทยานา่ รู้ - ธรณีวิทยาทัว่ ไป และกาเนิดทรพั ยากรธรณี (หนิ /ดนิ /แร/่ ธาตหุ ายาก/พลงั งาน/ซากดกึ ดาบรรพ)์ 2 - แผนทธี่ รณวี ิทยาและศักยภาพแหลง่ ทรัพยากรธรณี - แหล่งทรพั ยากรธรณี และศักยภาพแหล่งหิน/แร่ 3 - แผนที่สารสนเทศทรัพยากรธรณี (GIS) : เหมอื งแรใ่ นอดตี ,เหมืองแรใ่ นปจั จุบนั และการพฒั นาใน 6 อนาคต 12 - ธรณีพบิ ัติภัยกบั ชวี ิตประจาวัน 2 คุณคา่ ของทรพั ยากรธรณี กับโอกาสในการพัฒนาประเทศและการฟื้นฟเู กยี่ วกับทรัพยากร ธรณี - ทรัพยากรธรณี การสารวจ และการใช้ประโยชน์ - ทรพั ยากรธรณีกบั การพฒั นาประเทศ - ความสาคญั ของทรัพยากรธรณี ต่อประเทศด้านต่าง ๆ ดา้ นเศรษฐกจิ สังคม ส่งิ แวดล้อม การเมือง - การมสี ่วนรว่ มอนรุ กั ษ์ และการฟื้นฟูเก่ียวกบั ทรพั ยากรธรณี - กรณีศกึ ษาการเพมิ่ มลู คา่ ทรัพยากรธรณี (หนิ ออ่ น/หนิ แกรนติ /อญั มณี) 3 ความเสีย่ งในการทจุ รติ เกี่ยวกบั ทรัพยากรธรณี - กฎหมายตา่ ง ๆ ท่เี กี่ยวข้องกับทรพั ยากรธรณี - รูปแบบการทจุ รติ และกรณีศกึ ษาการทจุ ริต (การทาเหมอื งนอกเขตพน้ื ท่ีอนุญาต/การ ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพและสงิ่ แวดลอ้ ม EHIA) 4 ปกป้องทรัพยากรทางธรณี - การสร้างจิตสานึกสาธารณะ เพือ่ แยกแยะประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวม - การมสี ว่ นรว่ มในการปกป้องทรพั ยากรธรณี - การเฝ้าระวงั แจง้ เบาะแส การทุจริตทรพั ยากรธรณี - กรณีศึกษาการมีสว่ นร่วมในการปกป้องทรัพยากรธรรมชาติ รวม
121 STRONG Model : จิตพอเพียงต้านทุจรติ โมเดล STRONG เป็นการนาตัวอักษรแรกของศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีความหมายเชิงบวก จานวน 6 คา มาประกอบเป็นคาศัพท์ส่ือความหมายถึง “ความแข็งแกร่ง” ของบุคคลและองค์กรในการต่อต้านการทุจริต โดยมีความมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้านทุจริต ร่วมกันพัฒนาชุมชนให้ก้าวไปข้างหน้าด้วยการประยุกต์และ บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับความโปร่งใส การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม การตระหนักรู้และใส่ใจปัญหาการทุจริต และร่วมกันพัฒนาชุมชนให้มีความเอื้ออาทรบนพื้นฐานของ จริยธรรมและจติ พอเพียง ตลอดจนเกิดเครือข่ายชมุ ชนจิตพอเพียงต้านทุจริตและเป็นแกนนาสร้างวฒั นธรรมไม่ทน ต่อการทุจริต ซ่ึงโมเดล STRONG ได้มีการสร้างและพัฒนาโดยรองศาสตราจารย์ ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงไดด้ ังแผนภาพ ดงั น้ี แผนภาพท่ี 1 โมเดล STRONG – จติ พอเพียงตา้ นทุจรติ ปี พ.ศ. 2562 จากแผนภาพข้างตน้ สามารถอธบิ ายนยิ ามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารได้ดังน้ี (1) พอเพียง (Sufficient : S) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมที่ระดับท่ีแตกต่างกันตามวิธีคิด สภาพความพร้อมและ ความสามารถ รวมท้งั ตามสถานภาพทางเศรษฐกจิ และสังคมของบคุ คลและครอบครัว กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดท่ีแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และ เป็นอัตโนมัติจะนาไปสู่จิตสานึกที่พอเพียง ไม่กอบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน ไม่เบียดบังรัฐ
122 ไม่รับอามิสสินบนโดยมิต้องจากัดขอบเขตของการประกอบอาชีพที่สุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงินทองได้ตาม ความสามารถ ท้งั นี้ โดยไม่เดอื ดรอ้ นตนเองและผู้อนื่ (2) โปรง่ ใส (Transparent : T) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความโปร่งใส ทาให้เห็นภาพหรอื ปรากฏการณ์ณ์ชัดเจน กลไกหลัก คือ สร้างความรู้ความเข้าใจ และวิธสี งั เกตเกีย่ วกบั ความโปร่งใสของโครงการต่าง ๆ (3) ต่นื รู้ (Realize : R) คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 เมอ่ื บคุ คลร้พู ษิ ภยั ของการทุจรติ และไม่ทนทจี่ ะเหน็ การทจุ รติ เกิดขึน้ กลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์การทุจริตในพื้นท่ี ในชุมชน หรือในกรณีท่ีปรากฏการณ์ทุจริตข้ึน หรอื กรณศี กึ ษาที่เกิดขน้ึ มาแลว้ และมีคาพิพากษาถึงทีส่ ุดแลว้ (4) มุ่งไปข้างหนา้ (Onward : O) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การไมม่ ีการทจุ ริตของภาครัฐ จะทาใหเ้ งินภาษีถูกนาไปใชใ้ นการพฒั นาอยา่ งเต็มที่ กลไกหลัก คือ การป้องกันและการป้องปราม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังพื้นที่ท่ีมี ความเสย่ี ง ในการทุจริต เชน่ การบกุ รุกพื้นทส่ี าธารณะ หรอื เฝ้าระวงั โครงการใหด้ าเนนิ การด้วยความโปร่งใส (5) ความรู้ (Knowledge : N) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความร้ดู ้านต่าง ๆ มคี วามจาเปน็ ตอ่ การป้องกันและป้องปรามการทุจริต กลไกหลัก คอื การให้ความร้ใู นรปู แบบการฝึกอบรม หรอื ให้สอ่ื เรยี นรูอ้ ยา่ งต่อเนือ่ ง เชน่ (1) ความร้เู กี่ยวกับรปู แบบการทุจริตแบบต่าง ๆ ทง้ั แบบสมยั อดตี แบบปจั จบุ ัน และแบบท่อี าจจะ เกิดขึ้นในอนาคต (2) ความร้เู กี่ยวกบั การทจุ ริตในต่างประเทศ (3) วิธีการปอ้ งกนั - ป้องปรามแบบต่าง ๆ (4) ความรเู้ กี่ยวการเฝ้าระวงั (5) ความรเู้ กย่ี วกับกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง (6) เอ้อื อาทร (Generosity : G) คานิยามปี พ.ศ. 2562 การพฒั นาสังคมไทยให้มนี ้าใจ โอบออ้ มอารี เอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ โดยไม่มผี ลประโยชนต์ อบแทนหรือหวัง ผลตอบแทน ในฐานะเพอ่ื นมนุษย์ กลไกหลกั กจิ กรรมจิตอาสา ช่วยเหลือบุคคล ชมุ ชน/สงั คมในยามวิกฤติ หรอื การร่วมมือในการร่วม พฒั นาชุมชน
123 จากนิยามข้างต้น STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจรติ จึงหมายถึง ผู้ที่มีความพอเพียง ไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อ่นื (S) มงุ่ อนาคตทเ่ี จรญิ ท้งั ตนเองและส่วนรวม (O) โดยใชห้ ลกั ความโปร่งใสตรวจสอบได้ (T) พ้นื ฐานจิตใจมี มนุษยธรรมเอื้ออาทร ช่วยเหลอื เพ่ือนมนุษย์โดยไม่เห็นแก่ประโยชน์ต่างตอบแทน (G) ให้ความสาคัญต่อการเรยี นรู้ ตลอดชีวิต เพ่ือการดารงชีวิตในทางที่ชอบ (N) แต่ตื่นรู้เรื่องภัยทุจริตที่ร้ายแรงส่งผลต่อสังคม รังเกียจการทุจริต ประพฤติมิชอบทัง้ ปวง ไม่ยอมทนต่อการทุจริตทกุ รูปแบบ (R) นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการพัฒนาโมเดล STRONG โดยเพ่ิมในเร่ืองของการมีส่วนร่วม (Participation) อันเป็นกลไกสาคัญในการเชื่อมโยงและขับเคล่ือนหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การป้องกัน การทุจริตได้เป็นรูปธรรมอย่างมีประสิทธภิ าพ ซ่ึงการเผยแพร่หลักการของโมเดล STRONG สู่ชุมชน จะดาเนินการ โดยสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด และมีการคัดเลือกผู้แทน/ผู้นาชุมชนในจังหวัดที่มีเครือข่าย มีความสามารถ และทกั ษะในการถา่ ยทอดองคค์ วามรูม้ าอบรมใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับโมเดล STRONG การนาไปประยุกต์ใช้ ในการการต่อต้านการทุจริต เช่น การคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนและความ อายต่อการทุจริต หลักการจิตพอเพียงด้วยวิธีการที่เหมาะสม เป็นต้น เพื่อให้ผู้ได้รับการคัดเลอื กเป็นโค้ช (coach) ถ่ายทอดความรู้เก่ยี วกับหลักการของโมเดล STRONG และการตอ่ ต้านการทุจริตให้แก่ผู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชน รวมถึง ยังมกี ารจัดตั้งชมรม STRONG เพอ่ื ใหท้ ุกภาคสว่ นมีความตระหนักรู้เลง็ เห็นถงึ ความสาคัญของปญั หาการทจุ ริตและ มีสว่ นร่วมในการเฝา้ ระวังและแจง้ เบาะแสการทจุ รติ
124 แผนภาพที่ 2 หลักสตู รต้านทุจริตศึกษา เรื่อง การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี กลุม่ โค้ช
4. หน่วยการเรียนรู้ 12 หนว่ ย เวลา จดุ ประสงคก์ าร เนือ้ หาสาระ ท่ี (ช่ัวโมง) เรยี นรู้ ช่ือหน่วย การพทิ ักษ์ การต ทรพั ยากรทางธรณี 1 ธรณวี ิทยา 1 - ผเู้ รียนมคี วามรู้ - ธรณวี ิทยาทวั่ ไป และกาเนดิ สรา้ งความ นา่ รู้ ความเขา้ ใจเบ้ืองตน้ ทรัพยากรธรณี (หิน/ดนิ /แร/่ ธาตุ ของทรพั ยา เกย่ี วกบั ธรณีวิทยา หายาก/พลงั งาน/ซากดึกดา ตน่ื รู้ (Rea ทรัพยากรธรณี บรรพ์) ผเู้ รยี นมคี ว - ผู้เรยี นมที กั ษะ - แผนทธ่ี รณีวิทยาและศกั ยภาพ ตระหนกั ร้ถู ในการแลกเปลี่ยน แหลง่ ทรัพยากรธรณี และภยั รา้ ย เรียนรู้ - แหล่งทรัพยากรธรณี และ ประพฤตมิ - ผเู้ รียนวิเคราะห์ ศักยภาพแหลง่ หนิ /แร่ ประเทศ ค สภาพทรัพยากร - แผนทสี่ ารสนเทศทรพั ยากร ได้พบเห็นส ธรณีในพน้ื ที่ ธรณี (GIS) : เหมืองแรใ่ นอดตี , การทจุ รติ ใกล้ตัวได้ เหมอื งแร่ในปัจจุบันและการ ระวงั และไ พัฒนาในอนาคต ในท่สี ุด ซง่ึ - ธรณพี บิ ตั ิภยั กับชีวิตประจาวัน เข้าใจ ควา N)เก่ียวกบั เกิดขนึ้ คว ผลกระทบ สว่ นรวม 2 คณุ คา่ 2 - ผู้เรยี นอธิบาย - ทรัพยากรธรณี การสารวจ สร้างความ ของ คุณค่าและความมี และการใช้ประโยชน์ ของทรพั ยา ทรัพยากร จากัดของทรพั ยากร - ทรพั ยากรธรณีกบั การพัฒนา ต่ืนรู้ (Rea ธรณี กบั ธรณี ประเทศ ผู้เรยี นมีคว โอกาสใน - ผเู้ รยี นเกดิ ความ - ความสาคัญของทรัพยากรธรณี ตระหนักร้ถู การ ตระหนกั ถงึ ต่อประเทศดา้ นตา่ ง ๆ ด้าน และภยั รา้ ย พฒั นา ความสาคญั ของ ประพฤตมิ
25 ต่อตา้ นการทุจรติ วิธจี ดั การเรยี นรู้ ส่อื การเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ วธิ ีการ ประเมินผล มตระหนกั ร้ถู งึ คุณคา่ - บรรยาย - เอกสารความรู้ - เวบ็ ไซต์ พพิ ิธภณั ฑ์ - การสงั เกต ากรธรณี - การสอน - ตวั อย่าง ทางธรณีวทิ ยา พฤตกิ รรม - เว็บไซต์ชั้นหิน - การทดสอบ alize : R) เป็นทีม (Team ทรพั ยากรธรณี โผล(่ Outcrop) - การประเมิน หนิ /แร่ และ ตนเอง วามรู้ความเขา้ ใจและ base Learning) - สื่อออนไลน์ จุดสาคญั ทางธรณีวทิ ยา ถงึ รากเหง้าของปัญหา - การสอนแบบ - แอปพลิเคช่นั ยแรงของการทุจรติ สัมมนา - อินโฟกราฟฟิก มิชอบภายในชมุ ชนและ - โมชั่นกราฟฟิก ความตนื่ รจู้ ะบังเกดิ เมอ่ื สถานการณท์ เ่ี ส่ยี งตอ่ ย่อมจะมีปฏกิ ริ ยิ าเฝา้ ไม่ยนิ ยอมต่อการทุจริต งตอ้ งให้ความรู้ความ ามรู้ (Knowledge: บสถานการณ์ทุจรติ ที่ วามร้ายแรงและ บต่อระดบั บคุ คลและ มตระหนกั รู้ถงึ คุณค่า - อภปิ รายกลมุ่ - เอกสารความรู้ - เวบ็ ไซตก์ รม - การสังเกต - ตัวอยา่ ง ทรพั ยากรธรณี พฤตกิ รรม ากรธรณี - การสอนแบบ ทรัพยากรธรณี และกรม - สือ่ ออนไลน์ อุตสาหกรรม alize: R) ระดมสมอง - แอปพลเิ คชัน่ พ้ืนฐานและการ - อนิ โฟกราฟฟกิ เหมืองแร่ วามรคู้ วามเขา้ ใจและ - กรณศี ึกษา - โมชน่ั กราฟฟิก ถงึ รากเหงา้ ของปัญหา ยแรงของการทุจรติ มิชอบภายในชมุ ชนและ
12 ประเทศ ทรัพยากรธรณี เศรษฐกิจ สังคม สงิ่ แวดลอ้ ม ประเทศ ค และการ การเมอื ง ได้พบเห็นส ฟ้ืนฟู - การมสี ว่ นร่วมอนรุ ักษ์ และ การทุจริต เกย่ี วกบั การฟนื้ ฟเู กีย่ วกบั ทรพั ยากรธรณี ระวงั และไ ทรัพยากร - กรณศี กึ ษาการเพ่มิ มลู ค่า ในที่สุด ธรณี ทรพั ยากรธรณี (หนิ ออ่ น/ การแยกแย หนิ แกรนิต/อญั มณี) ส่วนตนแล กบั พอเพีย ปรับวิธคี ดิ ท ผลประโยช สว่ นรวมได และเป็นอตั จิตสานกึ ท ผลประโยช เบยี ดเบยี น ไม่รับอามสิ จากัดขอบ อาชีพทส่ี ุจ ทรพั ย์สนิ เง ความสามา ไม่เดอื ดรอ้ ความรู้ (K เกย่ี วกับสถ เกดิ ขน้ึ คว ผลกระทบ สว่ นรวม
26 - เหมืองแร่ ทอง ยิปซัม ปนู ซีเมนต์ ความตน่ื ร้จู ะบงั เกิดเมอ่ื - เหมืองหนิ สถานการณ์ทเ่ี ส่ยี งตอ่ อตุ สาหกรรมหิน ย่อมจะมีปฏกิ ิรยิ าเฝ้า ก่อสรา้ ง หินปูน ไม่ยินยอมตอ่ การทุจรติ หินอคั นี - ศกั ยภาพแหล่ง ยะเกีย่ วกบั ประโยชน์ แรข่ องไทย ละประโยชน์ เช่ือมโยง ยง (Sufficient: S) ท่แี ยกแยะ ชน์สว่ นตัวและ ดอ้ ย่างถกู ต้อง ชัดเจน ตโนมตั จิ ะนาไปสู่ ทพ่ี อเพยี ง ไม่กอบโกย ชน์โดยมชิ อบ ไม่ นผู้อืน่ ไม่เบยี ดบังรฐั สสนิ บนโดยมติ อ้ ง บเขตของการประกอบ จรติ สามารถหา งินทองไดต้ าม ารถ ทั้งนี้ โดย อนตนเองและผอู้ ่นื Knowledge : N) ถานการณท์ จุ ริตที่ วามร้ายแรงและ บตอ่ ระดับบุคคลและ
12 3 ความ 3 - ผเู้ รียนมคี วามรู้ - กฎหมายตา่ ง ๆ และหนว่ ยงาน โปรง่ ใส (T เส่ยี งใน และเขา้ ใจเกีย่ วกบั ท่เี กย่ี วข้องและการบงั คบั ใช้ บคุ คลทกุ ร การทจุ ริต กฎหมายทรพั ยากร กฎหมายกบั ทรัพยากรธรณี ชุมชนตอ้ งป เกย่ี วกบั ธรณี - รปู แบบการทุจรติ และ ความโปร่ง ทรพั ยากร - ผู้เรียนวิเคราะห์ถงึ กรณศี ึกษาการทุจรติ (การทา ดังน้นั จงึ ต ธรณี รูปแบบ วธิ ีการและ เหมืองนอกเขตพื้นท่ีอนุญาต/ หลักปฏบิ ตั รเู้ ท่าทนั การทจุ รติ การประเมินผลกระทบต่อ กฎหมายด ทางทรพั ยากรธรณี สุขภาพและสิ่งแวดล้อม EHIA/ ตอ้ งให้ควา การพัฒนาทรัพยากรธรณนี อก (knowled เขตพ้นื ทอ่ี นญุ าต) (realize) 4 ปกป้อง 6 - ผ้เู รยี นเกดิ เจตคติ - การสร้างจิตสานึกสาธารณะ การแยกแย ทรพั ยากร หวงแหนมีความรสู้ กึ เพื่อแยกแยะประโยชน์ส่วนตน ส่วนตนแล ทางธรณี ถึงการเป็นเจ้าของ และประโยชนส์ ่วนรวม กับ พอเพยี และเกดิ พฤตกิ รรม - การเฝา้ ระวงั แจง้ เบาะแส การ ปรบั วิธคี ิดท การมสี ่วนร่วม ทจุ รติ ทรัพยากรธรณี ผลประโยช ปกป้องทรัพยากร - การมีสว่ นรว่ มในการปกปอ้ ง สว่ นรวมได ธรณี ทรัพยากรธรณี และเปน็ อตั - ผู้เรียนสามารถ - กรณีศกึ ษาการมีสว่ นรว่ มใน จติ สานกึ ท เสนอแนะวธิ กี าร การปกป้องทรัพยากรธรณี ผลประโยช ปกปอ้ งทรพั ยากร เบยี ดเบยี น ธรณไี ด้ ไมร่ ับอามิส -ผู้เรยี นมที ักษะใน จากัดขอบ การสงั เกตปรากฏ อาชีพที่สุจ การการทุจริต ทรพั ย์สนิ เง
27 Transparent : T) - บรรยาย - เอกสารความรู้ - เว็บไซต์ - การสงั เกต - สื่อออนไลน์ ระดบั องคก์ ร และ - อภิปรายกลมุ่ - แอปพลิเคช่นั กรมอุตสาหกรรม พฤตกิ รรม - อินโฟกราฟฟกิ ปฏิบตั งิ านบนฐานของ กรณีศึกษา - โมชั่นกราฟฟิก พนื้ ฐานและการ - การทดสอบ งใส ตรวจสอบได้ - การสอนแบบ - เอกสารความรู้ เหมืองแร่ - การประเมิน ตอ้ งมีและปฏิบตั ิตาม สมั มนา - สอ่ื ออนไลน์ - กรณศี ึกษา - แอปพลิเคช่ัน - เว็บไซต์ ตนเอง - อนิ โฟกราฟฟิก ติ ระเบียบ ขอ้ ปฏิบตั ิ - โมชน่ั กราฟฟิก กรมทรัพยากรธรณี ดา้ นความโปรง่ ใส ซึง่ - พพิ ิธภัณฑ์ ธรณวี ทิ ยา ามรูค้ วามเข้าใจ - เว็บไซตภ์ าควชิ า dge) และการต่ืนรู้ ธรณวี ิทยาและ ธรณีศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ตา่ งๆ - เว็บไซต์ สานักงาน ป.ป.ช. ยะเกย่ี วกบั ประโยชน์ - การสอนแบบ - เวบ็ ไซต์ กรม - การสงั เกต ละประโยชน์ เชอ่ื มโยง สัมมนา ยง (Sufficient : S) - กรณศี ึกษา ทรัพยากรธรณี พฤตกิ รรม ทแี่ ยกแยะ - อภิปรายกลมุ่ ชน์ส่วนตัวและ - สานักงาน ป.ป.ช. - การทดสอบ ด้อยา่ งถกู ต้อง ชดั เจน ตโนมตั จิ ะนาไปสู่ - การประเมิน ท่พี อเพยี ง ไมก่ อบโกย ชนโ์ ดยมชิ อบ ไม่ ตนเอง นผ้อู ื่น ไมเ่ บียดบงั รฐั สสนิ บนโดยมติ อ้ ง - ประเมินการ บเขตของการประกอบ จริต สามารถหา อภิปรายกลมุ่ งนิ ทองไดต้ าม
และสามารถแจง้ 12 เบาะแสการทจุ รติ ต่อหนว่ ยงานท่ีมี ความสามา หน้าทีไ่ ด้ โดยไมเ่ ดือด เอือ้ อาทร การพฒั นา โอบออ้ มอา โดยไม่มผี ล หรือหวังผล เพอื่ นมนษุ ส่งเสริมกา ช่วยเหลือบ ยามวิกฤติ การร่วมพัฒ มุ่งไปขา้ งห มุ่งเนน้ กระ การเฝา้ ระว ในการทจุ ร พน้ื ทีส่ าธาร โครงการให โปรง่ ใส
28 ารถ ท้งั นี้ ดร้อนตนเองและผอู้ ่ืน (Generosity : G) าสังคมไทยให้มีน้าใจ ารี เอ้อื เฟื้อเผือ่ แผ่ ลประโยชน์ตอบแทน ลตอบแทน ในฐานะ ษย์ โดยกลไกหลกั ารทากจิ กรรมจิตอาสา บุคคล ชมุ ชน/สังคมใน หรือการร่วมมอื ใน ฒนาชุมชน หน้า (Onward : O) ะบวนการมสี ่วนรว่ มใน วงั พ้นื ท่ี ท่ีมีความเสี่ยง รติ เชน่ การบุกรุก รณะ หรือเฝ้าระวัง ห้ดาเนนิ การด้วยความ
129 5. แนวทางการจดั การเรียนรูแ้ ละประเมนิ ผล 5.1 แนวทางการจัดการเรียนรู้ - การจัดการเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning) - การบรรยายและการอภปิ รายกลุ่ม/เดี่ยว - กรณศี ึกษา 5.2 การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้ 5.2.1 การทดสอบ 5.2.2 การประเมินผลตามสภาพจรงิ - การประเมนิ ตนเอง - การสงั เกตพฤตกิ รรม - ฯลฯ 6. แนวทางการนาหลกั สูตรไปใช้ (1) ใชฝ้ กึ อบรมใหก้ ับเจ้าหน้าทข่ี องสานักงาน ป.ป.ช. (2) ใชฝ้ กึ อบรมให้กบั โคช้ STRONG : จติ พอเพยี งต้านทจุ ริต (3) ใช้ฝกึ อบรมให้กับบุคลากรภาครัฐ
หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา พ.ศ. 2564 เรื่อง การพิทักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตนิ ้า และน้าบาดาล
ตารางสรุปภาพรวม เร่ือง การพทิ กั ษ์ทรัพยากร Main Concept เน้ือหาตามก หน่วยการเรียนรู้ ม. ต้น ม. ปลาย ตระหนัก ู้ร ุคณ ่คาของท ัรพยากร ้นา นา้ ผวิ ดนิ นา้ ผวิ ดิน นา้ ผวิ ด และ ้นาบาดาล - วฏั จกั ร - ความแตกต่างในแตล่ ะ - ความ - ประเภท ภูมิภาค/ภูมิศาสตร์ ภูมิภา - องคป์ ระกอบ การเดินทาง นา้ บาดาล นา้ บาดาล นา้ บาด ของสายน้า - กาเนิด - ความ - ประเภท - ความแตกตา่ งในแตล่ ะ ภูมิภา เกิดอะไรข้ึนกบั สายน้า - องคป์ ระกอบ ภูมิภาค/ภมู ิศาสตร์ Tip - การพ การขดั กนั ระหวา่ ง Tip การใช ประโยชนส์ ่วนตน - การพฒั นาและ น้าผวิ การแยกแยะประโยช ์น ่สวนตน กบั ประโยชนส์ ่วนรวม การใชป้ ระโยชน์ S - การพฒั นาและ S - การพ และประโยช ์น ่สวนรวม น้าผวิ ดิน T การใชป้ ระโยชน์ T การใช นกั สืบสายน้า - การพฒั นาและ R น้าผวิ ดิน R น้าบาด การใชป้ ระโยชน์ O - การพฒั นาและ O - การส ความเส่ียงและการทุจริต น้าบาดาล N การใชป้ ระโยชน์ N สร้างก ดา้ นทรัพยากรน้าและน้า - การส่ือสาร G น้าบาดาล G ปรับพ บาดาล เพ่อื สร้างการ - การสื่อสาร - กฎห ตระหนกั รู้ S เพ่ือสร้างการ เก่ียวข T ตระหนกั รู้ - การส - การวเิ คราะห์ R ชุมชน การไ ่มทน ่ตอการ ุทจ ิรต คุณภาพน้าอยา่ งง่าย O - การวเิ คราะห์ S - Wate (เครื่องมือในการ N คุณภาพน้าอยา่ งง่าย T วเิ คราะห์) G (เคร่ืองมือในการ R - มาต วเิ คราะห์) O ท่ีเก่ียว COI N COI G - ผลก การพ ิจตพอเพียงต้าน ุทจ ิรต ผพู้ ิทกั ษส์ ายน้า - ผลกระทบจาก S - ผลกระทบจาก S ถูกตอ้ การพฒั นาที่ไม่ T การพฒั นาท่ีไม่ T ถูกตอ้ ง R ถูกตอ้ ง R - การเฝา้ ระวงั / O - การเฝา้ ระวงั / O แจง้ เบาะแส N แจง้ เบาะแส N (ข้นั พ้นื ฐาน) G (ข้นั พ้ืนฐาน) G COI COI
รธรรมชาตนิ า้ และนา้ บาดาล ตามกลุ่มเป้าหมาย ค-1 กลุ่มเป้าหมาย ทหาร/ตารวจ/อปท. วทิ ยากรตัวคูณ โค้ช อดุ มศึกษา ดนิ ามแตกตา่ งในแตล่ ะ าค/ภมู ิศาสตร์ ดาล มแตกตา่ งในแต่ละ าค/ภูมิศาสตร์ พฒั นาและ S นา้ ผวิ ดนิ S นา้ ผวิ ดิน S นา้ ผวิ ดนิ S ชป้ ระโยชน์ T T T T วดิน R - ความแตกตา่ ง R - ความแตกต่าง R - ความแตกต่าง R พฒั นาและ O ในแตล่ ะภมู ิภาค/ O ในแตล่ ะภมู ิภาค/ O ในแตล่ ะภูมิภาค/ O ชป้ ระโยชน์ N ภมู ิศาสตร์/กฎหมาย N ภูมิศาสตร์/กฎหมาย N ภมู ิศาสตร์/กฎหมาย N ดาล G G G G สื่อสารเพือ่ นา้ บาดาล นา้ บาดาล นา้ บาดาล การตระหนกั รู้/ พฤตกิ รรม - ความแตกต่าง - ความแตกตา่ ง - ความแตกต่าง ในแต่ละภูมิภาค/ ในแต่ละภูมิภาค/ ในแต่ละภมู ิภาค/ ภมู ิศาสตร์/กฎหมาย ภูมิศาสตร์/กฎหมาย ภูมิศาสตร์/กฎหมาย หมายที่ S - การพฒั นาและ S - การพฒั นาและ S - การพฒั นาและ S ขอ้ ง T การใชป้ ระโยชน์ T การใชป้ ระโยชน์ T การใชป้ ระโยชน์ T ส่ือสารต่อ R น้าผวิ ดิน R น้าผวิ ดิน R น้าผวิ ดิน R น O - การพฒั นาและ O - การพฒั นาและ O - การพฒั นาและ O er Footprint N การใชป้ ระโยชน์ N การใชป้ ระโยชน์ N การใชป้ ระโยชน์ N G น้าบาดาล G น้าบาดาล G น้าบาดาล G ตรฐานวชิ าชีพ - การส่ือสาร - การสื่อสาร - การสื่อสาร วขอ้ ง COI เพ่อื สร้างการ COI เพอื่ สร้างการ COI เพอื่ สร้างการ COI ตระหนกั รู้ ตระหนกั รู้ ตระหนกั รู้ กระทบจาก S - ผลกระทบจาก S - ผลกระทบจาก S - ผลกระทบจาก S พฒั นาท่ีไม่ T การพฒั นาท่ีไม่ T การพฒั นาท่ีไม่ T การพฒั นาท่ีไม่ T อง R ถูกตอ้ ง R ถูกตอ้ ง R ถูกตอ้ ง R O O O O COI N COI N COI N COI N G G G G
130 หลกั สตู รต้านทุจรติ ศกึ ษา เรอ่ื ง การพิทักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ น้าและนา้ บาดาล ส้าหรบั ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 1. ความเป็นมาของหลกั สตู ร น้ำเป็นทรัพยำกรธรรมชำติที่มีควำมส้ำคัญต่อมนุษย์และส่ิงมีชีวิตในโลก ท้ังใช้ในกำรอุปโภคบริโภค ในชวี ติ ประจำ้ วัน รวมท้ังใชเ้ พ่ือกำรพำณิชย์และกำรอุตสำหกรรมอีกดว้ ย ดงั นน้ั กำรรักษำดูแลรวมถึงกำรสร้ำง จิตสำ้ นกึ ให้สงั คมมีควำมตระหนักถงึ คุณคำ่ ของน้ำจึงเปน็ เรื่องทจี่ ้ำเปน็ ประเทศไทยนับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ประชำชนนิยมปลูกบ้ำนอยู่ริมฝ่ังแม่น้ำ ประชำชนบำงรำย ได้มีกำรต่อแพไม้และปลูกเรือนอยู่บนแพไม้เพื่อใช้เป็นท่ีอยู่อำศัยริมล้ำคลอง ทั้งนี้ เพื่อควำมสะดวกจำกกำรใช้ น้ำในกำรคมนำคมทำงน้ำ กำรท้ำเกษตรกรรม กำรค้ำขำย และบรรยำกำศริมฝงั่ น้ำยังกอ่ ให้เกิดควำมเย็นสบำย แก่ผู้ที่พักอำศัยอยู่ริมฝ่ังน้ำ จนกลำยเป็นวิถีชีวิตของคนไทยที่อยู่อำศัยร่วมกับสำยน้ำมำโดยตลอด ต่อมำเมื่อ ประเทศได้มีกำรพฒั นำมำกขนึ้ โดยเปล่ยี นจำกสงั คมเกษตรกรรมมำเปน็ สังคมอุตสำหกรรมท้ำให้ควำมต้องกำร ใชพ้ ้นื ทีร่ มิ ฝั่งแม่น้ำจงึ มีสูงขึ้น จึงกอ่ ใหเ้ กิดกำรรุกล้ำล้ำน้ำโดยมีกำรปลูกสร้ำงส่ิงล่วงล้ำลำ้ น้ำ หรอื กำรใชป้ ระโยชน์ จำกทรพั ยำกรจำกแหล่งน้ำมำกย่งิ ขึ้น ในพ้ืนท่ีอ่ืน ๆ ท่ีมิได้อยู่ติดแม่น้ำล้ำคลอง ประชำชนนิยมสูบน้ำบำดำลข้ึนมำใช้เพื่อกำรอุปโภคบริโภค บำงแห่งใช้น้ำบำดำลเพ่ือกำรเกษตรกรรมและอุตสำหกรรม บำงพื้นที่มีกำรขุดเจำะแหล่งน้ำบำดำลจ้ำนวนมำก จนก่อให้เกิดปัญหำดินทรุด หรือบำงพื้นท่ีได้มีกำรขุดหน้ำดินไปขำยจนพื้นที่ดังกล่ำวกลำยเป็นบ่อขนำดใหญ่ จำกน้ันได้มีกำรน้ำขยะมำฝังกลบในบ่อ ส่งผลให้สำรเคมีจำกขยะปนเป้ือนลงสู่น้ำบำดำล หรอื ไหลซมึ ลงสู่แม่น้ำ ล้ำคลอง คณะกรรมกำร ป.ป.ช. เคยได้รับเรื่องกล่ำวหำร้องเรียนเกี่ยวกับกำรกำรใช้ประโยน์จำกทรัพยำกรน้ำใน ลักษณะละเมิด ไม่ว่ำจะเป็นกำรปลูกส่ิงก่อสร้ำงล่วงล้ำล้ำน้ำ กำรทิ้งสิ่งปฏิกูลลงแหล่งน้ำ หรือกรณีอ่ืน ๆ ท่ีส่งผลให้เกิดควำมเสียหำยต่อทรัพยำกรน้ำ โดยมีเจ้ำหน้ำท่ีของรัฐกระท้ำควำมผิดฐำนทุจริตต่อหน้ำที่หรือ กระท้ำควำมผิดต่อต้ำแหน่งหน้ำท่ีรำชกำร โดยกำรละเลย เพิกเฉย หรือเอ้ือประโยชน์ให้แก่เอกชนบำงรำย ซึ่งได้ส่งผลกระทบร้ำยแรงต่อควำมม่ันคงทำงสังคม เศรษฐกจิ และสง่ิ แวดล้อมของประเทศเป็นอยำ่ งมำก ดังน้ัน กำรพิทักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติ “น้ำและน้ำบำดำล” โดยเฉพำะอย่ำงย่ิง กำรป้องกันกำรทุจริต ที่เก่ียวข้องกับประเด็นดังกล่ำว เป็นสิ่งท่ีคณะกรรมกำร ป.ป.ช. ให้ควำมส้ำคัญ จึงได้สร้ำงหลักสูตรกำรเรียนรู้ ด้ำนกำรป้องกันกำรทุจริต หรือหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ เรื่อง กำรพิทักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติน้ำและน้ำบำดำลท่ีมี เนอ้ื หำสอดคล้องและมีประเด็นทีเ่ ก่ยี วข้องกับสถำนกำรณป์ ัจจุบัน คอื กำรใช้ทรัพยำกรน้ำในลักษณะท่ีเป็นกำร ละเมิด (Abuse) ต่อผลประโยชน์สำธำรณะ เพื่อให้ผู้เรียนทุกระดับช้ันได้มีควำมตระหนักรู้และร่วมพิทักษ์ ทรัพยำกรน้ำและน้ำบำดำลตำมบทบำทหน้ำที่ของตน โดยประยุกต์ใช้ STRONG Model ในกำรเรียนกำรสอน ตลอดหลักสูตร โดยนักเรียนในระดับมัธยมศึกษำตอนต้น เป็นผู้ท่ีมีควำมส้ำคัญและจ้ำเป็นอย่ำงย่ิงท่ีจะต้อง เรียนรู้คุณค่ำและควำมส้ำคัญของทรัพยำกรน้ำและน้ำบำดำล เพื่อให้เกิดควำมรู้สึกหวงแหน และมีส่วนรวม ในกำรปกป้องรักษำทรัพยำกรน้ำ ร่วมถึงมีส่วนร่วมในกำรเฝ้ำระวังไม่ให้เกิดกำรใช้ทรัพยำกรน้ำไปในทำงที่ผิด หรือกำรแสวงหำประโยชน์จำกกำรใชท้ รพั ยำกรนำ้ เพือ่ ประโยชนส์ ่วนตนในชมุ ชน สังคมใกลต้ ัว
131 2. วตั ถุประสงค์ของหลกั สูตร 2.1 เพอื่ ให้มคี วำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ยี วกบั ทรัพยำกรน้ำ และน้ำบำดำล 2.2 เพอ่ื ใหส้ ำมำรถวเิ ครำะห์สภำพทรัพยำกรน้ำ และน้ำบำดำลในชุมชนได้ 2.3 เพื่อให้สำมำรถวเิ ครำะห์ผลกระทบเชงิ บวกและเชิงลบของกำรพฒั นำทรพั ยำกรนำ้ และนำ้ บำดำล 2.4 เพอ่ื ให้ตระหนักถงึ ผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบของกำรพัฒนำทรัพยำกรน้ำ และน้ำบำดำล โดย ปฏบิ ัตติ นอยำ่ งเหมำะสม และสอ่ื สำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ 2.5 เพ่ือใหม้ ีควำมรู้ควำมเข้ำใจกำรขดั กันของผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวมเกยี่ วกับ กำรใชท้ รัพยำกรน้ำ และนำ้ บำดำลในชีวติ ประจ้ำวัน 2.6 เพ่อื ให้รูเ้ ท่ำทนั กำรละเมิด หรือกำรกระทำ้ ควำมผดิ เก่ียวกับกำรใช้ทรัพยำกรนำ้ และน้ำบำดำลใน ชีวติ ประจ้ำวัน 2.7 เพอ่ื ให้มคี วำมรู้ควำมเข้ำใจ และทกั ษะในกำรวเิ ครำะห์คุณภำพนำ้ อย่ำงง่ำย (สี กลิน่ รส) 2.8 เพือ่ ให้มเี จตคตหิ วงแหนทรัพยำกรน้ำ และน้ำบำดำล โดยกำรแสดงออกถงึ กำรมีสว่ นร่วมในกำร เฝ้ำระวงั แจง้ เบำะแส กำรใช้ทรัพยำกรน้ำ และน้ำบำดำล 2.9 เพื่อใหส้ ำมำรถแสดงออกอย่ำงเหมำะสมเมื่อพบกำรละเมดิ ทรัพยำกรน้ำ และน้ำบำดำล 3. โครงสรา้ งเนอื หาสาระ ระยะเวลา (ช่วั โมง) ล้าดบั เนอื หาสาระ 2 1 การเดินทางของสายน้า น้ำผิวดิน - วฏั จกั รของน้ำ - ประเภทของแหล่งนำ้ - คณุ คำ่ และกำรใช้ประโยชน์ เชน่ น้ำเพือ่ กำรอปุ โภคบริโภค กำร อุตสำหกรรม กำรเกษตร กำรชลประทำน กำรคมนำคม และกำรท่องเท่ยี ว) - องคป์ ระกอบ ปรมิ ำณ และคณุ ภำพ น้ำบำดำล - ก้ำเนิดน้ำบำดำล - ประเภท (ชั้นทรำย หินแขง็ หนิ ปนู ) - องค์ประกอบ ปริมำณ และคณุ ภำพ Tip - รู้หรือไมว่ ่ำน้ำบำดำลท้ำใหเ้ กิดถำ้ - โอเอซิสและน้ำพุ เกดิ ขึน้ ไดอ้ ย่ำงไร
132 ล้าดบั เนือหาสาระ ระยะเวลา (ชว่ั โมง) 2 เกิดอะไรขนึ กับสายนา้ 4 กำรพัฒนำและกำรใช้ประโยชน์น้ำผิวดิน - กำรขุดลอกแหลง่ น้ำ กำรขดุ บอ่ กำรขดุ สระ กำรพัฒนำและกำรใชป้ ระโยชน์น้ำบำดำล - รจู้ ักบ่อบำดำล เชน่ บ่อตอก บ่อวง และบ่อมำตรฐำน คุณภำพและกำรใชป้ ระโยชน์นำ้ และน้ำบำดำลในชมุ ชน - ผลของกำรพฒั นำท้ังในเชิงบวกและเชงิ ลบ กำรสื่อสำร - กำรสือ่ สำรเพื่อสร้ำงควำมตระหนักรู้และปรับพฤติกรรม - STRONG Model 3 นกั สืบสายน้า 8 นิยำมควำมหมำย - ผลประโยชน์สว่ นตัวและผลประโยชนส์ ำธำรณะ - พฤติกรรมท่ีควรกระท้ำและไม่ควรกระท้ำ - STRONG Model 4 ผพู้ ิทักษ์สายนา้ 6 - ผลกระทบท่เี กิดจำกกำรใช้ทรัพยำกรนำ้ และพฒั นำทีล่ ะเลยมติ กิ ำร อนุรกั ษ์ - กำรปลุกฝังควำมรู้สกึ เป็นเจำ้ ของทรพั ยำกรน้ำในชุมชนหรอื ทอ้ งถ่ิน - กำรปฏบิ ัตติ นเป็นแบบอย่ำง (Role Model) ท่ีดใี นกำรพิทกั ษท์ รัพยำกรนำ้ - กำรร่วมกจิ กรรมสำธำรณประโยชน์เกี่ยวกบั กำรพทิ ักษ์ทรัพยำกรน้ำใน ชุมชนหรอื ทอ้ งถน่ิ รวมทั้งกำรเฝำ้ ระวังและแจ้งเบำะแสกำรละเมิดขัน้ พ้ืนฐำน - STRONG Model รวม 20 โมเดล STRONG เปน็ กำรน้ำตวั อักษรแรกของศัพท์ภำษำอังกฤษที่มีควำมหมำยเชิงบวกจ้ำนวน 6 ค้ำ มำประกอบเป็นค้ำศัพท์สื่อควำมหมำยถึง “ควำมแข็งแกร่ง” ของบุคคลและองค์กรในกำรต่อต้ำนกำรทุจริต โดยมีควำมมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้ำนทุจริต ร่วมกันพัฒนำชุมชนให้ก้ำวไปข้ำงหน้ำด้วยกำรประยุกต์ และบูรณำกำรหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงเข้ำกับควำมโปร่งใส กำรแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์สว่ นรวม กำรตระหนักรู้และใส่ใจปัญหำกำรทุจริต และรว่ มกันพัฒนำชุมชนให้มีควำมเอื้ออำทรบน พื้นฐำนของจริยธรรมและจิตพอเพียง ตลอดจนเกิดเครือข่ำยชุมชนจิตพอเพียงต้ำนทุจริตและเป็นแกนน้ำสรำ้ ง วัฒนธรรมไม่ทนต่อกำรทุจริต ซ่ึงโมเดล STRONG ได้มีกำรสร้ำงและพัฒนำโดยรองศำสตรำจำรย์ ดร. มำณี ไชยธีรำนุวัฒศิริ ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงไดด้ ังแผนภำพ ดังนี้
133 * แผนภาพท่ี 1 โมเดล STRONG – จติ พอเพียงตา้ นทุจริต ปี พ.ศ. 2562 จำกแผนภำพข้ำงต้น สำมำรถอธบิ ำยนยิ ำมเชงิ ปฏบิ ัติกำรได้ดังน้ี (1) พอเพยี ง (Sufficient : S) คำ้ นยิ ำมปี พ.ศ. 2562 ควำมพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมท่ีระดับท่ีแตกต่ำงกันตำมวิธีคิด สภำพควำมพร้อมและ ควำมสำมำรถ รวมทัง้ ตำมสถำนภำพทำงเศรษฐกิจและสงั คมของบุคคลและครอบครวั กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดท่ีแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่ำงถูกต้อง ชัดเจน และเป็นอัตโนมตั ิจะนำ้ ไปสจู่ ิตส้ำนึกท่พี อเพยี ง ไม่กอบโกยผลประโยชน์โดยมชิ อบ ไมเ่ บยี ดเบียนผู้อื่น ไม่ เบียดบังรัฐ ไม่รับอำมิสสินบนโดยมิต้องจ้ำกัดขอบเขตของกำรประกอบอำชีพท่ีสุจริต สำมำรถหำทรัพย์สินเงิน ทองได้ตำมควำมสำมำรถ ทงั้ น้ี โดยไม่เดอื ดร้อนตนเองและผู้อ่ืน (2) โปรง่ ใส (Transparent : T) ค้ำนิยำมปี พ.ศ. 2562 ควำมโปร่งใส ท้ำให้เห็นภำพหรือปรำกฏกำรณ์ชดั เจน กลไกหลกั คือ สรำ้ งควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจ และวิธีสังเกตเก่ียวกบั ควำมโปรง่ ใสของโครงกำรต่ำง ๆ (3) ต่ืนรู้ (Realize : R) ค้ำนยิ ำมปี พ.ศ. 2562 เมือ่ บุคคลรู้พิษภัยของกำรทจุ ริต และไมท่ นที่จะเหน็ กำรทุจรติ เกดิ ขึ้น กลไกหลัก กำรเรียนรู้สถำนกำรณ์กำรทุจริตในพื้นที่ ในชุมชน หรือในกรณีที่ปรำกฏกำรทุจริตข้ึน หรือกรณีศึกษำท่เี กิดขนึ้ มำแล้วและมีคำ้ พิพำกษำถึงทีส่ ุดแล้ว
134 (4) มุง่ ไปข้างหนา้ (Onward : O) ค้ำนยิ ำมปี พ.ศ. 2562 กำรไมม่ กี ำรทจุ รติ ของภำครัฐ จะทำ้ ให้เงนิ ภำษถี กู น้ำไปใช้ในกำรพฒั นำอยำ่ งเต็มที่ กลไกหลัก คือ กำรป้องกนั และกำรป้องปรำม ดว้ ยกระบวนกำรมีส่วนรว่ มในกำรเฝ้ำระวังพื้นท่ีท่ี มีควำมเสี่ยง ในกำรทุจรติ เชน่ กำรบกุ รกุ พน้ื ท่ีสำธำรณะ หรอื เฝ้ำระวงั โครงกำรใหด้ ้ำเนินกำรดว้ ยควำมโปร่งใส (5) ความรู้ (Knowledge : N) ค้ำนยิ ำมปี พ.ศ. 2562 ควำมรู้ดำ้ นตำ่ ง ๆ มีควำมจ้ำเปน็ ต่อกำรป้องกนั และป้องปรำมกำรทุจริต กลไกหลกั คือ กำรใหค้ วำมร้ใู นรปู แบบกำรฝึกอบรม หรอื ใหส้ ่ือเรยี นรูอ้ ยำ่ งต่อเนอื่ ง เช่น (1) ควำมรู้เก่ียวกับรูปแบบกำรทุจริตแบบต่ำง ๆ ทั้งแบบสมัยอดีต แบบปัจจุบัน และแบบที่ อำจจะเกดิ ขน้ึ ในอนำคต (2) ควำมรเู้ กี่ยวกับกำรทจุ รติ ในต่ำงประเทศ (3) วธิ กี ำรป้องกัน - ป้องปรำมแบบต่ำง ๆ (4) ควำมรเู้ กย่ี วกำรเฝำ้ ระวงั (5) ควำมรเู้ กย่ี วกับกฎหมำยทีเ่ กยี่ วขอ้ ง (6) เอืออาทร (Generosity : G) ค้ำนิยำมปี พ.ศ. 2562 กำรพฒั นำสังคมไทยให้มีนำ้ ใจ โอบออ้ มอำรี เอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ โดยไมม่ ผี ลประโยชนต์ อบแทนหรือ หวังผลตอบแทน ในฐำนะเพอ่ื นมนุษย์ กลไกหลกั กจิ กรรมจติ อำสำ ช่วยเหลือบุคคล ชมุ ชน/สงั คมในยำมวิกฤติ หรอื กำรร่วมมือในกำร ร่วมพฒั นำชุมชน จำกนิยำมข้ำงต้น STRONG: จิตพอเพียงต้ำนทุจริต จึงหมำยถึง ผู้ที่มีควำมพอเพียง ไม่เบียดเบียน ตนเองและผู้อ่ืน (S) มุ่งอนำคตท่ีเจริญทั้งตนเองและส่วนรวม (O) โดยใช้หลักควำมโปร่งใสตรวจสอบได้ (T) พ้ืนฐำนจติ ใจมีมนษุ ยธรรมเออ้ื อำทร ช่วยเหลอื เพอื่ นมนุษยโ์ ดยไมเ่ หน็ แก่ประโยชนต์ ่ำงตอบแทน (G) ให้ ควำมส้ำคัญต่อกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อกำรด้ำรงชีวิตในทำงท่ีชอบ (N) แต่ต่ืนรู้เรื่องภัยทุจริตที่ร้ำยแรงส่งผล ตอ่ สังคม รงั เกียจกำรทจุ รติ ประพฤตมิ ิชอบทง้ั ปวง ไม่ยอมทนตอ่ กำรทุจรติ ทุกรปู แบบ (R) นอกจำกน้ี ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีกำรพัฒนำโมเดล STRONG โดยเพ่ิมในเร่ืองของกำรมีส่วนร่วม (Participation) อันเป็นกลไกส้ำคัญในกำรเช่ือมโยงและขับเคล่ือนหลักกำรของโมเดล STRONG ไปสู่กำร ป้องกันกำรทุจริตได้เป็นรูปธรมอย่ำงมีประสิทธิภำพ ซ่ึงกำรเผยแพร่หลักกำรของโมเดล STRONG สู่ชุมชน จะด้ำเนินกำรโดยส้ำนักงำน ป.ป.ช. ประจ้ำจังหวัด และมีกำรคัดเลือกผู้แทน/ผู้น้ำชุมชนในจังหวัดท่ีมีเครอื ขำ่ ย มีควำมสำมำรถและทักษะในกำรถ่ำยทอดองค์ควำมรู้มำอบรมให้มีควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกับโมเดล STRONG กำรน้ำไปประยุกต์ใช้ในกำรกำรต่อต้ำนกำรทุจริต เช่น กำรคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ ส่วนรวม ควำมไมท่ นและควำมอำยตอ่ กำรทจุ รติ หลกั กำรจติ พอเพยี งด้วยวิธีกำรท่เี หมำะสม เปน็ ต้น เพ่ือให้ ผู้ ได้รบั กำรคดั เลอื กเป็นโคช้ (coach) ถำ่ ยทอดควำมรู้เกี่ยวกับหลักกำรของโมเดล STRONG และกำรต่อตำ้ นกำร ทุจริตให้แก่ผู้ที่อำศัยอยู่ในชุมชน รวมถึงยังมีกำรจัดต้ังชมรม STRONG เพื่อให้ทุกภำคส่วนมีควำมตระหนักรู้ เล็งเห็นถึงควำมส้ำคัญของปัญหำกำรทจุ รติ และมสี ่วนร่วมในกำรเฝ้ำระวงั และแจ้งเบำะแสกำรทจุ รติ
135
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315