Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานวิจัย

งานวิจัย

Published by วรวุฒิ อรชุน, 2021-06-27 02:47:14

Description: งานวิจัย

Search

Read the Text Version

การพฒั นาชุดฝก ทักษะการคิดแกป ญหา เรอ่ื ง สรรพสง่ิ ในธรรมชาติ ดว ยเทคนิคหมวก 6 ใบ สําหรบั นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 4 โดย นางสาวนฤมล มโี สภา วิทยานิพนธน เี้ ปนสว นหนงึ่ ของการศึกษาตามหลกั สตู รปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอนสงั คมศึกษา ภาควชิ าหลักสตู รและวิธสี อน บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ปก ารศกึ ษา 2550 ลิขสทิ ธ์ิของบณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

การพัฒนาชดุ ฝก ทักษะการคดิ แกปญหา เรอ่ื ง สรรพสิง่ ในธรรมชาติ ดว ยเทคนิคหมวก 6 ใบ สาํ หรับนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปท ี่ 4 โดย นางสาวนฤมล มโี สภา วิทยานิพนธน เ้ี ปนสวนหนงึ่ ของการศึกษาตามหลักสตู รปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอนสงั คมศกึ ษา ภาควชิ าหลกั สตู รและวิธสี อน บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ปการศึกษา 2550 ลขิ สทิ ธขิ์ องบณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

THE DEVELOPMENT OF THINKING PACKAGE FOR PROBLEM SOLVING SKILLS ON THE NATURE ENVIRONMENT WITH THE SIX THINKING HATS TECHNIQUE FOR PRATHOMSUKSA 4 STUDENTS By Narumol Meesopa A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF EDUCATION Department of Curriculum and Instruction Graduate School SILPAKORN UNIVERSITY 2007























บทท่ี 1 บทนํา ความเปน มาและความสําคญั ของปญ หา โลกในยุคปจจุบันเปนโลกแหงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี อุตสาหกรรม และขาวสาร ขอมูลสมัยใหมโดยแท การเปล่ียนแปลงทางดานเทคโนโลยีของประเทศตาง ๆ ในโลกจึงสงผลตอ การเปล่ยี นแปลงของสงั คมและวิถกี ารดําเนินชีวิตของไทยในหลาย ๆ ดานเราจึงจําเปนตองคํานึงถึง แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของโลกและการกําหนดทิศทางสภาพสังคมท่ีพึงปรารถนา และพิจารณา ถึงคุณลักษณะของเด็กไทยที่จะตองพัฒนาใหสอดคลองกับสภาพสังคมอนาคต ซ่ึงเปนการชวย เตรียมใหผูเรียนเปนประชากรท่ีมีคุณภาพในสังคม เม่ือเปนเชนน้ีหลักการและรูปแบบการพัฒนา เด็กไทยควรใหเด็กสามารถชวยแกปญหาของสังคมได ฉะนั้นเด็กยุคใหมจึงจําเปนตองมี ความสามารถสูงในการตัดสินใจที่ถูกตอง พรอมที่จะแกปญหาอยางสรางสรรค และสามารถใช เทคโนโลยีไดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสามารถท่ีจะเลือกส่ิงท่ีดีที่สุดและสรางคุณภาพตาง ๆ ใหมใี นตนไดเ ปน อยางดี (สาํ นักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง ชาติ 2541 : คํานํา) แนวทางในการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 มาตรา 24 ได กลาวถึงการจัดกระบวนการเรียนรูของสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของใหมี ลักษณะดังตอไปนี้ คือ มีการฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และ ประยุกตความรูเพ่ือนํามาใชปองกันและแกไขปญหา โดยการจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจาก ประสบการณจ รงิ ฝกปฏิบตั ิใหท ําได คิดเปน มีจุดมุง หมายใหผูเรียนมีความสามารถในการแกปญหา ควบคไู ปดวยกนั ซึ่งจะสงผลตอการพัฒนาตนเองและสังคมในระยะยาว เน่ืองจากผูเรียนสามารถนํา ความรู และประสบการณจากสิ่งท่ีเรียนมาปรับใชในการแกปญหาไดจริงในการดําเนินชีวิต สอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ท่ีมีจุดมุงหมายในการจัดการศึกษา ขอที่ 4 ระบุวา ใหเด็กมีทักษะกระบวนการ โดยเฉพาะทางคณิตศาสตร ทักษะการคิด การสราง ปญญาและทักษะในการดําเนินชีวิต (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2544 : 3-4) ซึ่งทักษะใน การดําเนินชีวิต หมายถึง การเรียนรูที่ทําใหผูเรียนมีทักษะในการดําเนินชีวิตที่สําคัญและจําเปนมี ดังนี้ การรูจักคิดวิเคราะหวิจารณ (Critical Thinking) มีความคิดสรางสรรค (Creative Thinking) มี ความตระหนักรูในตน (Self Awareness) มีความเห็นใจผูอ่ืน (Empathy) มีความภูมิใจในตนเอง (Self Esteem) มีความรับผิดชอบตอสังคม (Social Responsibility) รูจักการสรางสัมพันธภาพและ 1

2 การส่ือสาร (Inter Personal Communication) รูจักตัดสินใจและแกปญหาในตนเอง (Self Esteem) มีความรับผิดชอบตอสังคม (Social Responsibility) รูจักการสรางสัมพันธภาพและการสื่อสาร (Inter Personal Communication) รูจักตัดสินใจและแกปญหา (Decision Making and Problem Solving) รูจักการจัดการกับอารมณและความเครียด (Coping with Emotion and Streets) กระบวนการเรียนรูจึงเปนบทบาทสําคัญของผูเรียนท่ีจะตองฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ และการประยุกตความรูไปใชในชีวิตประจําวัน (จําเริญ จิตรหลัง 2544 : 24) ฉะน้ันผูเรียนจึงตอง ไดรับการพัฒนากระบวนการคิด รวมถึงการแกปญหาอยางมีประสิทธิภาพดวยการตัดสินใจอยาง ไตรตรอง รอบคอบและพรอมท่ีจะรับผิดชอบตอสิ่งที่ตนเองเลือก ตลอดถึงการเรียนรูท่ีตอเนื่อง ตลอดชีวติ จากแนวนโยบายที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาท่ีกลาวมาขางตน สามารถสรุปถึง เปาหมายที่สําคัญในการจัดการศึกษา คือ เพื่อพัฒนาคุณภาพของผูเรียนที่เปนผลผลิตทางการศึกษา โดยมุงเนน ท่ีจะพัฒนาใหผูเรียนเปนผูที่มุงม่ัน รูทันโลก คิดการณไกล มองโลกกวางไกลสนใจใฝรู อยูรวมกับผูอื่นไดอยางสันติ รักความกาวหนามั่นคง รูคิดรูทํา รูจักรับผิดชอบ รูถูกรูผิด คิดแก ปญหาเปน และเปนคนท่ีมีคุณภาพอยางแทจริง หรือมุงพัฒนาระดับสติปญญา (IQ : Intelligence Quotient) เชาวปญญา สติอารมณ การเขาใจอารมณ ความรูสึกนึกคิดของผูอ่ืน (EQ : Emotional Quotient) ระดับสติปญญาทางศีลธรรม (MQ : Moral Quotient) และการอดทน ทนลําบากได สามารถแกป ญหา ฟง คนอ่ืนมากขนึ้ (AQ : Adversity Quotient) (นภเนตร ธรรมบวร 2545 : 2) การฝกกระบวนการคิดเปนสิ่งท่ีสําคัญที่สุดในการพัฒนาศักยภาพของมนุษยเพราะ ความสามารถทางความคดิ จะนาํ ไปสูการพัฒนาในดานอื่นๆชนิดไมรูจบ ผูเรียนสามารถนําความคิด ไปประยุกตใชเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการศึกษาวิชาตางๆ และใชความสามารถในการแกปญหา การคิดสรางสรรคสิ่งใหม ๆ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต ผูท่ีมีทักษะการคิดระดับสูงจึงจะสามารถ ดํารงชีวิตไดอยางมีคุณภาพในสังคมปจจุบัน (อรพรรณ พรสีมา 2543 : 30) ฉะน้ันการคิดจึงเปน กลไกสําคัญท่ีใชในการเรียนรู และแยกแยะส่ิงที่ดีและไมดี การคิดจึงเปนสวนหนึ่งที่จําเปนตอ การเรียนรู เปนคุณลักษณะหนึ่งที่ตองการสงเสริมใหเกิดขึ้น การคิดนั้นเปนทักษะไมใชพรสวรรค เพราะสามารถฝกฝนได การสงเสริมทักษะการคิดเปนพื้นฐานสําคัญในการปลูกฝงกระบวนการคิด ที่มีความซับซอนมากข้ึนและมีเปาหมายชัดเจนในการนําไปใชประโยชน ไดแก การคิดวิเคราะห คิดแกปญหา เพ่ือการตัดสินอยางถูกตองภายใตการพิจารณาไตรตรองอยางรอบคอบ มีเหตุผล (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2542 : 2) และความสามารถในการคิดยังมีความสําคัญยิ่ง สําหรับการจัดการศึกษาในปจจุบันเพราะความสามารถในการคิดมีความจําเปนสําหรับการเรียนรู ตลอดชีวิต การดํารงชีวิตและการปฏิบัติงานใหประสบผลสําเร็จ สรุปไดวายุคของขอมูลขาวสาร

3 ทักษะทสี่ ําคัญทส่ี ุดคอื ทักษะการคิดของบคุ คล ที่จะนาํ มาจัดการในการดํารงชีวิตไดอยางมีความสุข ในสงั คมโลกทม่ี ีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วในทกุ ๆ ดาน (วัชรา เลา เรยี นดี 2549 : 1) การคิดแกปญหาเปนทักษะที่มีความสําคัญตอการพัฒนาดานสติปญญาของเด็ก ซึ่งเปน ลักษณะท่ีพึงประสงคของการพัฒนาเด็กไทยและเปาหมายที่สําคัญของการจัดการศึกษา แตปรากฏ วาในสภาพปจจุบันการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิดแกปญหาของเด็กยังพบนอยมาก เน่ืองจากครูผูสอนมุงเนนแตทางดานเนื้อหา มุงแตทางดานความรูความจําของผูเรียนมากกวา การพฒั นาความสามารถทางการคดิ ดังขอคิดของประสาร มาลากุล ณ อยุธยา (2523 : 124) กลาววา ครูควรมีความตระหนักเพ่ิมขึ้นเก่ียวกับจุดมุงหมายและวิธีสอนใหเด็กแกปญหาเปน และโดยท่ัวไป พบวา การสอนทักษะการคิดแกปญหาโดยตรงยังทํากันนอยมาก ครูสวนใหญมักเนนการเรียน การสอนท่ียึดเนื้อหารายวิชามากกวาการสอนในกระบวนการแกปญหา ซึ่งสอดคลองกับขอคนพบ ของ สมพงษ จิตระดับ (2538 : 69) กลาววา พฤติกรรมการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา ทุกระดับสวนมากใหเด็กจดจําเน้ือหา และเนนการปฏิบัติตามตัวอยาง และมุงสอนใหเด็กสอบได คะแนนสูง ๆ มากกวาจะสอนใหเด็กรูจักคิดอยางมีเหตุผล วิเคราะหวิจารณ หรือแกปญหาเปน วิธีการสอนของครูยังคงเปนไปในรูปแบบเดิมที่ครูเปนศูนยกลางของการเรียนรู การเสริมสรางและ พัฒนาการคิดใหแกนักเรียนยังไมไดบรรลุผลอยางแทจริงในทางปฏิบัติ เพราะเด็กไทยสวนใหญ ยังคงเรียนดวยการทองจําทองจําใหไดมากกวาสามารถวิเคราะหเน้ือหาสาระส่ิงท่ีเรียนรูได นอกจากนี้การสอนเพื่อเสริมสรางและพัฒนาการคิดใหกับนักเรียนยังมิไดมีการปฏิบัติอยางจริงจัง ในโรงเรียน ตลอดจนไมสามารถจัดการเรียนการสอนเพ่ือสงเสริมทักษะกระบวนการคิดแกปญหา ใหกับนักเรียน อันเนื่องมาจากการไมเขาใจวิธีการจัดการเรียนรู ขาดสื่อ นวัตกรรมและอุปกรณ การเรียนรู จากสภาพการจัดการเรียนรูดังกลาวทําใหเด็กขาดทักษะการคิด การแกปญหา ซ่ึงจะ สงผลตอ พฒั นาการทางสติปญ ญาของเดก็ วิชาสงั คมศกึ ษาเปนวชิ าหน่ึงที่มุงพัฒนาผูเรียนใหรูจักคิดเปน แกปญหาเปน แตปจจุบัน ยงั ไมป ระสบความสาํ เร็จ เพราะครยู งั ไมเ ปล่ียนวธิ กี ารสอน พนิดา สินสุวรรณ (2529 : 22, อางถึงใน บงกชกร ทับเท่ียง 2546 : 2) กลาววา ครูสังคมศึกษายังใชวิธีสอนแบบบรรยายเปนสวนใหญ และ เนนใหผูเรียนทองจําเพียงอยางเดียวทําใหผูเรียนขาดทักษะการคนควาหาเหตุผลและไมมีความคิด เปนของตนเอง วิธีการถายทอดแบบครูเปนศูนยกลางน้ี ผูเรียนจึงขาดทักษะในการ คิดวิเคราะห คิดอยางมีวจิ ารณญาณ คดิ แกป ญหา และคดิ อยางสรางสรรค ดังนั้นครูสังคมศึกษาจําเปนตองเปลี่ยน บทบาทจากผูบอก ผูอธิบายใหผูเรียนทองจํา มาสรางกิจกรรมการฝกทักษะการคิดและหาวิธีการที่ จะสงเสริมใหผูเรียนมีทักษะการคิดและจากผลการวิจัยของ นุตอนงค ทัดบัวขํา (2540 : บทคัดยอ) ท่ีศึกษาบทบาทของครูในการพัฒนาทักษะการคิดการแกปญหาของเด็กวัยอนุบาล พบวา ครูขาด

4 ความรูความเขาใจเก่ียวกับการพัฒนาทักษะการคิดแกปญหา และไมเปดโอกาสใหเด็กคิดแกปญหา ดังน้ันการจัดการเรียนการสอนตองมุงใหเด็กไดฝกคิด ฝกปฏิบัติจริง อยาใหครูเปนศูนยกลางมาก เกินไป และการสอนท่ีเนนครูเปนศูนยกลางมากเกินไป เน่ืองจากครูขาดประสบการณในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนใหเด็กแกปญหาและในการเรียนการสอนของครูมักจะยึดตนเอง เปนศูนยกลาง โดยการสอนใหนักเรียนทองจําเน้ือหาเพื่อใหสอบไดคะแนนสูงๆ มากกวาที่จะสอน ใหเด็กสามารถคิดแกปญหา อีกประการหน่ึงก็คือ ครูขาดความรูความเขาใจในเทคนิควิธีการสอน ในการจัดการสอนใหนักเรียนคิดแกปญหาไดรวมท้ังไมเห็นความสําคัญในการสงเสริม ความสามารถในการคิดแกปญหาของเด็ก (ประพันธ สุเสารัจ 2541 : 1-2) นอกจากน้ี ประทีป ชูหม่ืนไวย (2541 : 3) ยังกลาววา การสอนใหผูเรียนคิดเปน แกปญหาเปน ครูทุกคนตองพยายามทํา ใหบังเกิดผลตอนักเรียน ครูตองเปลี่ยนบทบาทตนเองจากผูสอนผูบอกเปนผูวางแผน ผูเตรียมการ ผูสรางนวัตกรรมการสอนใหมๆ เพ่ือเปนเคร่ืองมือในการพัฒนาทักษะการคิดแกปญหา เพราะจาก การศกึ ษาผลการประเมนิ มาตรฐานโรงเรียนสว นใหญนั้นตองการใหนักเรียนมีความสามารถในการ คิดระดับสูง (Higher Order Thinking) แตจากรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพบวานักเรียนยังมีความสามารถอยูในระดับต่ํา ซ่ึงเปนเร่ืองท่ีผูเกี่ยวของ กบั การจัดการศึกษาทุกฝายจะตองใหความสนใจ และพัฒนาทักษะการคิดแกปญหาของนักเรียนให สูงขึ้นดวยการจัดการเรียนรูโดยใชประสบการณที่เหมาะสมและตอเน่ือง และในปจจุบันยังพบวา คุณภาพการศึกษาของเด็กไทยนาเปนหวง ความรูความสามารถของเด็กไทยโดยเฉลี่ยออนลง โดยเฉพาะในดานกระบวนการคิด ลาสุดจากผลการจัดการแขงขันความสามารถทางดานการคิด ระหวางประเทศประจําปโดยสถาบัน IME (International Institute for Management Development) พบวา ในป 2543 เด็กไทยมีความสามารถทางดานการคิดจัดอยูในอันดับท่ี 47 จาก 47 ประเทศที่เขา รวมการแขงขัน และในป 2544 เด็กไทยมีความสามารถทางดานการคิดจัดอยูในอันดับที่ 49 จาก 49 ประเทศที่เขา รว มการแขง ขัน (สมบัติ กาจนารกั พงษ 2545 : 2) ความสามารถในการคิดแกปญหามีความสําคัญมากสําหรับนักเรียนในยุคปจจุบัน ดังนั้นการจัดการเรียนรูท่ีเนนทักษะการคิดแกปญหาจึงเปนส่ิงที่มีความจําเปน ผูบริหาร ครูผูสอน ควรหาวิธีการแกไขอยางเรงดวนสําหรับการแกปญหามีหลากหลายวิธีที่ใชในการแกปญหาท่ีมี ประสิทธิภาพน้ันควรมีลักษณะเปนการคิดท่ีมุงแกปญหาหรือคิดคนหาคําตอบ เปนวิธีการที่แปลก ใหมแตกตางจากเดิมท่ีมีอยู เปนสามารถปฏิบัติได มีความหลากหลายเหมาะสมกับสภาพปญหา แตละกรณี และมีคุณคามีประโยชน (ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา 2537 : 84, อางถึงใน กิตติพงษ จําปา 2543 : 66) การเรียนรูที่มุงพัฒนากระบวนการคิดแกปญหาโดยเนนประสบการณและการฝก ปฏิบัติจริงนั้นสามารถปฏิบัติไดโดยการสังเกต การเปรียบเทียบ การต้ังคําถาม แปลความหมาย

5 ตีความ ขยายความ อางอิงคาดคะเน การสรุป ความคิดสรางสรรค และกระบวนการคิดวิเคราะห กลยุทธและเครอื่ งมือการเรียนรู เชน การเรียนรจู ากการปฏิบัตจิ รงิ การเรียนรูแบบมีสวนรวม การใช กระบวนการแกปญหา วิธีสอนแบบอริยสัจ 4 วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน การสอนแบบ โครงงาน เปนตน หรือรูปแบบการสอน เทคนิควิธีเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดแกปญหา เชน วิธีการระดมสมอง (Brainstorming) ซึ่งเปนวิธีท่ีมุงเนนการสรางบรรยากาศและทัศนคติที่ดีตอ การคิด รูปแบบการคิดแกปญหาในอนาคต (Future Problem Solving Model) ของ ทอรแรนซ (Torrance) ซึง่ เปน วธิ ีทมี่ ุง สงเสรมิ ใหผูเรยี นพัฒนาการคดิ แกปญหาโดยการมองสูอนาคตและวิธีการ คิดนอกกรอบ (Lateral Thinking) ของ เดอ โบโน (De Bono) ซ่ึงเปนวธิ ีกระตนุ ใหผเู รยี นพยายามคดิ ใหแตกตางไปจากกรอบแนวคิดแบบเดิมซ่ึงเปนเทคนิควิธีที่ผูวิจัยใหความสนใจ และไดศึกษา แนวคิดทฤษฎีในการจัดการเรียนการสอนที่สามารถสงเสริมกระบวนการทางดานการคิดแกปญหา ของ เดอ โบโน (De Bono 1990 : 101) ท่ีไดเสนอแนวคิดแบบหมวก 6 ใบ ซ่ึงสามารถนํามาใชใน การพฒั นาทกั ษะการคิด อารมณค วามรสู ึก และการแกปญหาไดอยางเปนขั้นตอน พรอมท้ังสามารถ พัฒนาความคิดของผูเรยี นไดโ ดยไมจาํ กัดเชอ้ื ชาติและวัฒนธรรมนําไปใชไ ดง า ย เพราะเปนกิจกรรม ท่ีไมซับซอน โดยใชสีหมวกเปนสัญลักษณของการคิดในแตละดาน ไดแก หมวกสีขาว เปนการ ระบุขอเท็จจริง หมวกสีแดง เปนการแสดงความรูสึกตอสิ่งที่กําลังพิจารณา หมวกสีดํา เปนการระบุ ขอ บกพรอ งหรอื จดุ ออน หมวกสีเหลือง เปนการระบุประโยชน จุดดี ขอดี หมวกสีเขียว เปนการคิด แกปญหา สวนหมวกสีฟา เปนการสรุปความคิด แนวคิดนี้จะทําใหผูเรียนไดรูจักการคิดวิเคราะห อยางเปนระบบและมีเหตุผล แยกความคิดออกเปนดาน ๆ ไดอยางชัดเจน ไมคิดทุกดานในเวลา เดียวกัน คิดอยางเปนระบบ เปนแนวคิดที่พยายามหาแนวทางท่ีดีที่สุดในเรื่องที่คิด ทําใหคิดอยาง รอบคอบ และไมยึดติดความคิดดานเดียว ซึ่งการจะไดบทสรุปมาก็ตองมีการคิดวิเคราะหจุดดี จุดดอยแลวนํามาพิจารณาทางเลือกท่ีเหมาะสม โดยตั้งอยูบนหลักเหตุผลท่ีสอดคลองกับการคิดที่ เปนทักษะการคิดที่มีจุดมุงหมายในการพิจารณาตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องที่คิดโดยอาศัยความรู ความคิดและประสบการณข องตนเองในการหาหลักฐานเพ่ือใชในการตัดสินใจและนําไปใชในการ แกป ญหาในชีวติ ประจาํ วนั ได จากปญหา และการศึกษาแนวคิด หลักการของ เดอ โบโน (De Bono) นั้นผูวิจัยสนใจท่ี จะนําแนวคิดแบบเทคนิคหมวก 6 ใบมาเปนแนวทางในการจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาทักษะการคิด แกปญหา เรื่อง สรรพส่ิงในธรรมชาติ เพ่ือใชแกปญหาในการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปน ศูนยกลาง นอกจากนี้การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลางน้ันมีดวยกันหลายวิธี เชน การ จัดการเรียนรูดวยการทําโครงงาน การจัดการเรียนรูแบบรวมมือกัน การจัดการเรียนรูดวย กระบวนการทางวิทยาศาสตร การจัดการเรียนรูดวยกระบวนการแกปญหา การจัดการเรียนรูแบบ

6 สืบเสาะความรู และการจัดการเรียนรูโดยใชชุดฝกเสริมทักษะในดานตาง ๆ นั้นก็เปนวิธีหน่ึงท่ีใช ในการจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ จากการศึกษาผลงานวิจัยของ ชัยยงค พรหมวงศ (2538 : 146) พบวา ชดุ ฝก ชว ยเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพกระบวนการเรียนรู ชวยลดภาระของครูผูสอนดวยการพูด เพียงคนเดียว เพราะมีการกําหนดขั้นตอนไวพรอมแลว ชวยใหครูสามารถวัดผล ประเมินผลการ เรียนรตู ามเกณฑท ่ีกําหนดไว เปดโอกาสใหผ ูเ รยี นใชความสามารถตามความตองการของตน ชุดฝก จะชวยใหท ุกคนประสบผลสาํ เรจ็ ในการเรยี นได เดโช สวนานนท (2510 : 159-163) กลา วถึงทฤษฎี ของ ธอรนไดค (Thorndike) ที่ไดต ั้งกฎการเรียนรู 3 กฎ ที่สามารถนํามาใชในการสรางชุดฝก ไดแก 1) กฎแหงความพรอม (Law of Readiness) กฎน้ีกลาวถึง สภาพความพรอมของผูเรียนท้ังทาง รางกายและจิตใจ ความพรอมทางรางกาย หมายถึง ความพรอมทางวุฒิภาวะและอวัยวะตาง ๆ ของ รา งกาย ทางดา นจิตใจ หมายถึง ความพรอมท่ีเกิดจากความพึงพอใจเปนสําคัญถาเกิดความพึงพอใจ ยอมนําไปสูการเรียนรูถาเกิดความไมพึงพอใจจะทําใหไมเกิดการเรียนรูหรือทําใหการเรียนรู หยุดชะงักไป 2) กฎแหงการฝกหัด (Law of Exercise) กฎนี้กลาวถึงการสรางความมั่นคงของการ เช่ือมโยงระหวางส่ิงเรากับการตอบสนองที่ถูกตอง โดยการฝกหัดกระทําซ้ําบอย ๆ ยอมทําใหเกิด การเรียนรูไดนานและคงทนถาวร จากกฎขอนี้แบงออกเปนกฎยอย ๆ อีก 2 ขอ คือ 2.1 กฎแหงการ ใช (Law of Used) เมื่อเกิดความเขาใจหรือการเรียนรูแลว มีการกระทําหรือนําส่ิงท่ีเรียนรูน้ันไปใช บอย ๆ จะทําใหการเรียนรูนั้นคงทนถาวร 2.2 กฎแหงการไมใช (Law of Disused) เมื่อเกิดความ เขาใจหรือการเรียนรูแลว ไมมีการกระทําซํ้าบอย ๆ หรือไมไดนําไปใช จะทําใหการเรียนรูน้ันไม คงทนถาวร หรือในที่สุดทําใหเกิดการลืมจนไมสามารถเรียนรูไดอีกเลย และ 3) กฎแหงผลท่ีไดรับ (Law of Effect) กฎน้ีกลาวถึง ผลท่ีไดรับเมื่อแสดงพฤติกรรมการเรียนรูแลววาถาไดรับผลท่ีพึง พอใจ ผูเรียนยอมอยากจะเรียนรูอีกตอไป แตถาไดรับผลที่ไมพึงพอใจ ผูเรียนยอมไมอยากเรียนรู หรือเกิดความเบ่ือหนายตอการเรียนรู ดังนั้นถาจะทําใหการเช่ือมโยงระหวางส่ิงเรากับการ ตอบสนองมีความมั่นคงถาวร ตองใหผูเรียนไดรับผลท่ีพึงพอใจ ซ่ึงข้ึนอยูกับความพึงพอใจของแต ละบุคคล นอกจากนี้ สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย (2538 : 137-138) ท่ีไดเสนอหลัก จิตวิทยาเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนซึ่งสามารถนํามาใชเปนแนวทางในการสรางชุดฝกดังน้ี 1) ความแตกตา งระหวางบุคคล 2) การเรยี นรโู ดยผานการฝก ฝน และ 3) การเสรมิ กําลังใจ จากแนวคิดดังกลาว ทําใหผูวิจัยสนใจท่ีพัฒนาชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เรื่อง สรรพส่ิงทางธรรมชาติ ดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 เพ่ือพัฒนา ทักษะการคิดแกปญหาของนักเรียน เพราะจะเห็นวาการจัดการเรียนรูดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ น้ัน สามารถพัฒนาทักษะการคิด อารมณความรูสึกไดอยางเปนขั้นตอน และสามารถพัฒนาความคิด ของผูเรียนไดโดยงายเพราะเปนกิจกรรมท่ีไมซับซอน โดยใชสีหมวกเปนสัญลักษณของการคิดใน

7 แตล ะดา น และจากการศึกษาเอกสาร ตาํ รา และงานวิจัยตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับการพัฒนาชุดฝกพบวา ชุดฝกนั้นมีประสิทธิภาพและมีความพรอมที่จะนํามาพัฒนาเปนเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู ท่ีเนนใหผูเรียนไดใชกระบวนการในการแสวงหาความรู ผูเรียนมีความกระตือรือรนในการเรียน ศึกษาคนควาหาความรูดวยตนเอง และเพื่อสนับสนุนสงเสริมการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปน ศูนยกลาง ซึ่งสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษา พุทธศักราช 2542 มาตรา 22 การจัดการศึกษา ที่ระบุวาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียน มีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาไดตามธรรมชาติ และเตม็ ตามศกั ยภาพของผูเ รียน กรอบแนวคดิ ทใี่ ชในการวิจยั การคิดแกปญหาเปนทักษะที่มีความสําคัญตอการพัฒนาดานสติปญญาของเด็ก ซึ่งเปน ลักษณะที่พึงประสงคของการพัฒนาเด็กไทยใหมีคุณภาพ เปนเปาหมายที่สําคัญของการจัด การศึกษา แตปรากฏวา ในปจจุบนั การจัดการเรียนรูเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการคิดแกป ญหายงั พบนอ ยมาก ดังน้ันการจัดการเรียนรูที่เนนทักษะการคิดแกปญหาจึงเปนส่ิงที่มีความจําเปนท่ีผูบริหาร ครูผูสอน ควรหาวิธีการแกไข สําหรับเทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรูที่ใชในการพัฒนาทักษะการคิด แกปญหามีดวยกันมากมายหลากหลายวิธี เชน การจัดการเรียนรูดวยการทําโครงงาน การจัดการ เรียนรูแบบรวมมือกัน การจัดการเรียนรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร การจัดการเรียนรูแบบ 4 MAT การจัดการเรียนรูโดยใชชุดฝกเสริมทักษะในดานตาง ๆ การจัดการเรียนรูโดยใชปญหา เปน ฐาน (PBL) การจัดการเรยี นรูโดยใชเ ทคนิคการคิดแกปญหาอนาคต ของ ทอรแรนซ (Torrance) และการคิดนอกกรอบหรือการคิดดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ ของ เดอ โบโน (De Bono) เปนตน งานวิจัยนี้ผูวิจัยจะใชชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา โดยใชเทคนิคหมวก 6 ใบ ในการพัฒนาทักษะ การคิดแกปญหา จากการศึกษาแนวคิดของ ชัยยงค พรหมวงค (2538 : 146) พบวา ชุดฝกชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพกระบวนการเรียนรู ชวยลดภาระของครูผูสอนดวยการพูดเพียงคนเดียว เพราะมีการ กาํ หนดข้ันตอนไวพรอมแลว ชวยครูสามารถประเมนิ ผลเพอ่ื วดั ผลการเรียนรูตามเกณฑท่ีกําหนดไว เปดโอกาสใหผูเรียนใชความสามารถตามความตองการของตน ชุดฝกจะชวยใหทุกคนประสบ ผลสําเร็จในการเรียนได โดยมีนักวิชาการหลายทานไดเสนอขั้นตอนในการพัฒนาชุดฝกไว ดังน้ี ชีลส และ กลาสโกว (Seals and Glasgow 1990 : 50) ไดเสนอขั้นตอนการพัฒนาชุดฝก คือ 1) วเิ คราะหปญ หา กาํ หนดเปาหมายการสอน โดยรวบรวมปญ หาจากการประเมนิ ความตองการของ ผูเรียน 2) วเิ คราะหภ าระงาน โดยรวบรวมขอมูลจากทักษะตาง ๆ รวมไปถึงพฤติกรรมทางการเรียน และทัศนคติจากน้ันจึงวิเคราะหการสอนเพื่อกําหนดวิธีการที่ตองการ 3) เขียนจุดประสงคเชิง

8 พฤติกรรม และกําหนดเกณฑการทดสอบเพ่ือใหสัมพันธกับจุดประสงค 4) กําหนดกลวิธีการสอน 5) เลือกรปู แบบการสอนและส่อื ท่ีจะนํามาสรางเปน ชุดฝก 6) วางแผนผลิตและพัฒนาสอื่ ตรวจสอบ ขนั้ ตอนในการพัฒนาส่อื เพ่อื ใหส อดคลองกบั โครงการสอน 7) วางแผนและกําหนดกลวิธีท่ีจะใชใน การประเมินข้ันปฏิบัติการ 8) วางแผนข้ันตอนในการใชเคร่ืองมือ 9) ดําเนินการประเมินผลขั้นสรุป และ 10) นําชดุ ฝกทผ่ี ลิตออกเผยแพร และสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2531 : 174) ไดเสนอขั้นตอนการพัฒนาชุดฝก คือ 1) ศึกษาปญหาและความตองการโดยศึกษาจากการ ผา นจดุ ประสงคก ารเรยี นและผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน หากเปนไปไดศึกษาความตอเนื่องของปญหา ทุกระดับชั้น 2) วิเคราะหเนื้อหาหรือทักษะท่ีเปนปญหาออกเปนทักษะยอย ๆ เพื่อใชในการสราง ชุดฝก 3)พิจารณาวัตถุประสงค รูปแบบ และขั้นตอนการใชชุดฝก เชน นําชุดฝกไปใชอยางไรใน แตละชุดประกอบดวยอะไรบาง 4) สรางแบบทดสอบ ซึ่งอาจจะมีแบบทดสอบ ดังน้ี 4.1) แบบทดสอบเชิงสํารวจ 4.2) แบบทดสอบเพื่อวินิจฉัยขอบกพรอง 4.3) แบบทดสอบ ความกาวหนาเฉพาะเร่ือง 5) สรางบัตรฝกหัดเพ่ือพัฒนาทักษะยอย แตละทักษะในแตละบัตรจะมี คําถามใหนักเรียนตอบ กําหนดรูปแบบ ขนาดของบัตรโดยพิจารณาตามความเหมาะสม 6) สราง บัตรอางอิง เพื่อใชอธิบายคําตอบหรือแนวทางการตอบแตละเร่ือง 7) สรางแบบบันทึก ความกาวหนา เพือ่ ใชบ ันทึกผลการทดลอง หรือผลการเรียนที่จัดขึ้นเปนตอน ๆ 8) ทดลองใชชุดฝก ที่สรางขึ้น 9) ปรับปรุงแกไข และ 10) รวบรวมเปนชุด จัดทําคําชี้แจง สารบัญ เพื่อเปนประโยชน ตอไป จากการศึกษาผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับชุดฝกอีกหลายทาน เชน พธู ท่ังแดง (2534 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเร่ือง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิการเขียนสะกดคําของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปท่ี 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาเลย ท่ีเรียนโดยใชแบบฝกและไมใชแบบฝก ซึ่งมี ข้ันตอนการพัฒนาแบบฝก ดังนี้ 1) ศึกษาจุดมุงหมายของหลักสูตร จุดประสงคการเรียนรู และ คําอธิบายรายวิชา 2) ศึกษาลักษณะและแนวทางการสราง แบบฝกจากตํารา เอกสาร และงานวิจัยที่ เกี่ยวของ 3) คัดเลือกเนื้อหาที่จะนํามาใชในการสรางแบบฝก 4) สรางแบบฝก 5) นําแบบฝกให ผูเช่ียวชาญตรวจสอบ 6) หาประสิทธิภาพของแบบฝก 7) ทดลองใช และ 8) ประเมินผลและ ปรับปรุงแบบฝก ผลการวิจัยพบวา กลุมทดลองที่เรียนโดยการใชชุดแบบฝกมีผลสัมฤทธ์ิการเขียน สะกดคําสูงกวากลุมควบคุมท่ีเรียนโดยไมใชแบบฝกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 และ อารีย บัวคุมภัย (2540 : 31) ไดพัฒนาแบบฝกทักษะเพื่อเสริมทักษะการใชถอยคําในงานเขียนรอย แกวสําหรับนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ 5 ไดเสนอขัน้ ตอนในพัฒนาชดุ ฝก ดงั นี้ 1) ศกึ ษาจุดมุงหมาย ของหลักสูตร จุดประสงคการเรียนรู และคําอธิบายรายวิชา 2) ศึกษาเนื้อหาวิชาจากหนังสือ แบบเรียน และตําราทางวิชาการ ตลอดจนงานวิจัยท่ีเก่ียวของ 3) ศึกษาลักษณะและแนวทางการ พัฒนาชุดฝกจากตํารา เอกสาร และงานวิจัยที่เก่ียวของ 4) คัดเลือกเน้ือหาที่จะนํามาใชในการพัฒนา

9 ชุดฝกและ 5) สรางชุดฝก 6) ทดลองใช และ 7) ปรับปรุงแกไขใหเหมาะสม ผลการวิจัยพบวา กลุม ทดลองท่ีเรียนโดยการใชแบบฝกทักษะเสริมทักษะในการเขียนรอยแกวน้ันมีผลสัมฤทธิ์ในการ เขียนรอยแกวสูงกวากลุมที่ไมไดเรียนโดยใช แบบฝกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ประกอบกับการคิดนอกกรอบหรือการคิดดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ ของ เดอ โบโน (De Bono) เปน วธิ กี ระตุนใหผ ูเ รยี นพยายามคิดใหแตกตางไปจาก กรอบแนวคิดแบบเดิม ๆ และเปนเทคนิคที่ไดรับ ความนิยมมาก เดอ โบโน (De Bono 1990 : 101) ไดเสนอแนวคิดแบบหมวก 6 ใบ ท่ีสามารถ นํามาใชในการพัฒนาทักษะการคิด อารมณความรูสึก และแกปญหาไอยางเปนข้ันตอนพรอมทั้ง สามารถพัฒนาผูเรียนไดโดยไมจํากัดเช้ือชาติ และวัฒนธรรมสามารถนําไปใชงายเน่ืองจากไมมี ความซับซอน ซ่ึงจะชวยใหผูเรียนไดพยายามคิด ซึ่งเปนการคิดอยางรอบคอบ คิดท้ังจุดดีจุดดอย จุดทีน่ าสนใจ ความรูสกึ ท่มี ีตอ สิง่ สิ่งน้นั แทนทีจ่ ะยึดติดอยูก ับความคิดเพยี งดานเดียวหรอื รปู แบบใด รูปแบบหน่ึงแตจะชวยใหคิดอยางรอบคอบ กลาวคือ สามารถคิดไดหลายแบบในสถานการณ หน่ึง ๆ เพื่อใหสามารถหาทางแกไขไดอยางชัดเจน โดยใช สีหมวกเปนสัญลักษณของการคิดในแต ละดาน ไดแก หมวกสีขาว เปนการระบุขอเท็จจริง หมวกสีแดง เปนการแสดงความรูสึกตอสิ่งท่ี กําลังพิจารณา หมวกสีดํา เปนการระบุขอบกพรองหรือจุดออน หมวกสีเหลือง เปนการระบุ ประโยชน จุดดี ขอดี หมวกสีเขียว เปนการคิดแกปญหา สวนหมวกสีฟา เปนการสรุปความคิด ประกอบกับ กุลยา ตันติผลาชีวะ (2546 : 18) กลาววา การคิดดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ ไปใชกับเด็ก ประถมสามารถทําได แตเน่ืองจากเปนการฝกคิดเร่ืองท่ีนํามาใชตองเปนการแกปญหาที่งายและ เหมาะสมสาํ หรับเดก็ กอนที่จะใชวิธีการสอนครูตองไมลืมที่จะฝกใหเด็กจําสีหมวกใหไดกอน และ การใชหมวกกับเด็กจึงไมควรทําใหเด็กสับสน และครูผูสอนจะตองเปนผูเสนอปญหา แลวใหเด็ก คิดวาส่ิงใดคือสาเหตุของปญหา และมีวิธีในการแกปญหากี่วิธี เลือกวิธีท่ีดีที่สุดโดยใชหมวกสี เหลือง แลวสรุปผลพรอมนําไปปฏิบัติ และติดตามผล ประกอบดวย 1) เสนอปญหา 2) กําหนด ปญหา เปนขั้นตอนของการคนหา 3) เสนอวิธีแกปญหา ใหนักเรียนชวยกันเสนอวิธีแกปญหาให มากที่สุด 4) ประเมินวิธีท่ีแกปญหา เปนขั้นของการพิจารณาแกปญหาตาง ๆ ท่ีนําเสนอเพื่อเลือกใช แกปญหาท่ีดีท่ีสุด และ 5) สรุปวิธีแกปญหา จากการศึกษาผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับการพัฒนา ทักษะการคิดแกปญหา ดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ เชน ประภาศรี รอดสมจิตร (2542 : บทคัดยอ) ได พัฒนาโปรแกรมสงเสริมความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณ สําหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปที่ 6 โดยใชแนวคิดหมวก 6 ใบ ของ เอ็ดเวิรด เดอ โบโน ผลการวิจัยพบวา คาเฉล่ีย ของคะแนนความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนหลังเขารวมโปรแกรมสูงกวา กอนการเขาโปรแกรมอยางมีนยั สําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 สุนันทา สายวงค (2544 : บทคัดยอ) ได ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 ท่ี

10 เรยี นวชิ าสงั คมศึกษาดวยการสอนโดยใชเทคนิคการคดิ แบบหมวกหกใบและการสอนแบบซนิ ดเิ คท ผลการวิจัยพบวากลุมทดลองและกลุมควบคุมมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและการคิดอยางมี วิจารณญาณแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และปยวรรณ สันชุมศรี (2547 : บทคัดยอ ) ไดเปรียบเทียบความสามารถในการคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยท่ีไดรับการจัดกิจกรรม การเรียนรูตามแนวของเอ็ดเวิรด เดอ โบโน และการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบปกติ ผลการวิจัย พบวา 1) เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดของ เอ็ดเวิรด เดอ โบโน มี ความสามารถในการคิดเชิงเหตุผลหลังการทดลองสูงกวากอนทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี ระดับ .01 2) เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบปกติมีความสามารถในการคิดเชิง เหตุผลหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และ 3) เด็ก ปฐมวัยท่ีไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดของ เอ็ดเวิรด เดอ โบโน และการจัดกิจกรรม การเรยี นรูแ บบปกติมคี วามสามารถในการคิดเชิงเหตผุ ลหลังการทดลองแตกตา งกันอยา งมีนัยสาํ คัญ ทางสถิติที่ระดับ.01โดยกลุมที่ไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดของ เอ็ดเวิรด เดอ โบโน มีคา เฉลี่ยความสามารถในการคดิ เชิงเหตผุ ลสงู กวากลุมทีไ่ ดรบั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูแบบปกติ จากแนวคิด หลักการและผลงานวิจัยท่ีเก่ียวของในการพัฒนาชุดฝกทักษะการคิด แกปญหา ดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 ดังที่กลาวมาในของตน ผูวิจัยไดสังเคราะหเปนกรอบแนวคิดในการทําการวิจัยโดยอาศัยระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R & D) ซ่ึงมีกระบวนการพัฒนาประกอบดวย 4 ข้ันตอน ดังน้ี ข้ันตอนท่ี 1 การวิจัย (Research) การศึกษาขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เร่ือง สรรพส่ิงในธรรมชาติ ดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ ข้ันตอนที่ 2 การพัฒนา (Development) เปนการ พัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดฝก โดยชุดฝกที่ผูวิจัยสรางขึ้นประกอบดวย คํานํา คําชี้แจง สาํ หรับครู คาํ ช้แี จงสําหรับนักเรยี น วัตถปุ ระสงค ใบความรู ใบกิจกรรม แบบประเมินทักษะการคิด แกปญหา และแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู ข้ันตอนท่ี 3 การวิจัย (Research) การนําชุดฝกไป ทดลองใชจ ริงและศกึ ษาความคิดเห็นของนกั เรียนท่ีมีตอ การจัดการเรียนรโู ดยใชชดุ ฝกทกั ษะการคดิ แกปญหา และขั้นตอนที่ 4 การพัฒนา (Development) เปนการประเมินและปรับปรุงชุดฝกทักษะ การคดิ แกป ญหา เรอ่ื ง สรรพสิง่ ในธรรมชาติ ดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ โดยมีกรอบแนวคิดในการวิจัย สรปุ ไดด ังแผนภาพที่ 1 วัตถุประสงคของการวิจยั 1. เพ่ือพัฒนาชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เร่ือง สรรพสิ่งในธรรมชาติ ดวยเทคนิค หมวก 6 ใบ สาํ หรบั นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 4 ใหมปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ 80/80

11 ศกึ ษาขอ มูลพ้นื ฐานเก่ียวกบั พฒั นาชุดฝก ทางการคดิ แกป ญ หา ทดลองใชช ุดฝก ประเมนิ และปรบั ปรุง การพฒั นาชดุ ฝก ทดลองใชกับนักเรียนชัน้ ชดุ ฝก 1.นาํ ขอ มลู ทไี่ ดศ ึกษามาสังเคราะห ประถมศึกษาปที่ 4/1 1.ศึกษาหลกั สูตร 2.พฒั นาชุดฝกทักษะการคิด โรงเรยี นชมุ ชนวดั ดอน 1.ผลการเรียนรู สถานศึกษากลมุ สงั คมศกึ ษา แกป ญ หาเร่อื งสรรพส่ิงใน คลงั มิตรภาพท่ี 178 2.ทกั ษะการคดิ ศาสนา และวัฒนธรรม ธรรมชาตดิ วยเทคนิคหมวก 6 ใบ จํานวน 30 คน และหาคา แกปญ หา 2.วเิ คราะหโ ครงสรา ง ประกอบดวย คํานาํ คําชแ้ี จง ประสิทธิภาพ E1/ E2 3.ความคดิ เหน็ ของ หลักสูตรสถานศึกษาในกลุม สําหรบั ครู คําช้แี จงสําหรบั นักเรียน เกณฑที่ตง้ั ไว 80/80 นกั เรียนทม่ี ีตอชดุ ฝก สาระการเรียนรูส ังคมศกึ ษา วตั ถุประสงค ใบความรู ใบ ทกั ษะการคดิ แกปญ หา ศาสนา และวัฒนธรรม ของ กจิ กรรม แบบประเมิน ทักษะการ ไมผ า น โรงเรียนชมุ ชนวัดดอนคลงั คิดแกปญหา และแบบทดสอบ ผลการ มติ รภาพที่ 178 ในระดับชว ง วดั ผลการเรียนรู ประเมนิ ช้ันที่ 2 ช้ันประถมศึกษา ปท่ี 4 ตรวจสอบประสทิ ธภิ าพของชุดฝก 3.ศกึ ษาเอกสารแนวคดิ โดยผูเช่ยี วชาญ และหาคาดัชนี หลักการและผลงานวิจยั ท่ี ความสอดคลอ ง เกยี่ วขอ งกับการพัฒนา ชุดฝกทักษะการแกป ญหา ปรบั ปรงุ แกไ ข 4.ศกึ ษาเอกสารแนวคิด หลักการและผลงานวจิ ยั ที่ หาคาประสทิ ธภิ าพ E1/ E2 เก่ยี วของกับเทคนคิ หมวก รายบุคคล (Individual Tryout) 6 ใบ ของ เดอ โบโน เกณฑท ี่ตั้งไว 60/60 ปรบั ปรงุ แกไ ข หาคา ประสิทธภิ าพ E1/ E2 แบบ ปรับปรุง ผาน กลมุ เล็กหรอื กลมุ ยอย (Small Group Tryout) เกณฑท ตี่ ง้ั ไว 70/70 ปรบั ปรุงแกไข ชุดฝก ฉบับสมบรู ณ หาคาประสิทธิภาพ E1/ E2 แบบ กลมุ ใหญห รอื ภาคสนาม (Field Tryout) เกณฑท่ีต้งั ไว 80/80 ปรับปรุงแกไ ข แผนภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ ในการทาํ การวจิ ยั

12 2. เพื่อศึกษาผลการเรียนรูกอนเรียนและหลังเรียน เรื่อง สรรพสิ่งในธรรมชาติ โดยใช ชุดฝกทกั ษะการคิดแกป ญ หา ดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ 3. เพื่อศึกษาทักษะการคิดแกปญหาของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 โดยใชชุดฝก ทกั ษะการคิดแกปญหา ดวยเทคนคิ หมวก 6 ใบ 4. เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 ท่ีมีตอชุดฝกทักษะ การคดิ แกปญหา เรือ่ ง สรรพส่ิงในธรรมชาติ ดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ คําถามการวิจยั 1. ชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เรื่อง สรรพสิ่งในธรรมชาติ ดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ สาํ หรบั นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 4 มีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ 80/80 หรอื ไม 2. ผลการเรียนรูหลังเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 4 ท่ีเรียนดวยชุดฝกทักษะ การคดิ แกปญหา เรอ่ื ง สรรพสิ่งในธรรมชาติ ดว ยเทคนคิ หมวก 6 ใบ สูงกวากอนเรียนหรอื ไม 3. ทักษะการคิดแกปญหาของนักเรียนหลังเรียนดวยชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เร่อื ง สรรพสิง่ ในธรรมชาติ ดว ยเทคนคิ หมวก 6 ใบ สงู ข้ึนหรือไม 4. ความคิดเห็นของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 ท่ีมีตอการจัดการเรียนรูโดยใช ชดุ ฝกทักษะการคิดแกปญ หา เรื่อง สรรพส่งิ ในธรรมชาติ ดว ยเทคนิคหมวก 6 ใบอยใู นระดบั ใด สมมติฐานการวิจยั 1. ชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เร่ือง สรรพสิ่งในธรรมชาติ ดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ สาํ หรับนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 4 มปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ 80/80 2. ผลการเรียนรูของนักเรียนหลังเรียนดวยชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เร่ือง สรรพสิ่งในธรรมชาติ ดว ยเทคนคิ หมวก 6 ใบ สูงกวา กอนเรียน ขอบเขตในการวจิ ยั 1. ประชากรและกลมุ ตวั อยา ง 1.1 ประชากร ไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนชุมชนวัดดอนคลัง มิตรภาพ 178 อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา แหงชาติ สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาราชบุรีเขต 2 จํานวน 2 หองเรียน มีนักเรียน 58 คน ซึ่งกําลัง ศกึ ษาในภาคเรียนที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2550

13 1.2 กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 4/1 โรงเรียนชุมชนวัด ดอนคลังมิตรภาพท่ี 178 อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี จํานวน 1 หองเรียนมีนักเรียน 30 คน ซ่ึงไดมาจากการสุมอยางเจาะจง (Purposive Sampling) เน่ืองจากโรงเรียนชุมชนวัดดอนคลัง มิตรภาพที1่ 78 มนี ักเรยี นระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 4 เพยี ง 2 หอ งเรยี น นกั เรียนในชั้นประถมศึกษา ปท ่ี 4 /1 มจี าํ นวน 30 คน สวนนักเรียนในช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 4/2 มจี ํานวน 28 คน 2. ตวั แปรทศี่ กึ ษา ตัวแปรตน คอื การจดั การเรยี นรโู ดยใชชุดฝกทกั ษะการคดิ แกปญ หา เร่อื ง สรรพส่ิง ในธรรมชาติ ดว ยเทคนคิ หมวก 6 ใบ สําหรับนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปที่ 4 ตวั แปรตาม คอื 1) ผลการเรียนรูหลังการใชชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เร่ือง สรรพสิ่งใน ธรรมชาติ ดว ยเทคนคิ หมวก 6 ใบ 2) ทักษะการคิดแกปญหาของนักเรียนหลังการใชชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เร่อื ง สรรพส่ิงในธรรมชาติ ดว ยเทคนคิ หมวก 6 ใบ 3) ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ท่ีมีตอการจัดการเรียนรูดวย ชุดฝก ทักษะการคิดแกปญหา เรอ่ื ง สรรพสิง่ ในธรรมชาติ ดว ยเทคนิคหมวก 6 ใบ 3. เน้ือหา เนอ้ื หาทนี่ าํ มาใชในการพฒั นาชดุ ฝกทกั ษะการคดิ แกปญ หาคร้ังน้เี ปนสว นหนงึ่ ของ รายวิชา ส 21101 : สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หนวยการเรียนรูท่ี 8 เรื่อง สรรพสิ่งใน ธรรมชาติ เน้ือหาท่ีนํามาใชในการพัฒนาชุดฝกทักษะการคิดแกปญหาประกอบดวย เน้ือหา ดังตารางตอไปน้ี 4. ระยะเวลาในการใชช ดุ ฝก ผูวิจัยไดกําหนดเวลาในการใชชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เรื่อง สรรพส่ิงใน ธรรมชาติ ดวยเทคนิคหมวก 6 ใบในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2550 สัปดาหละ 2 ช่ัวโมง จํานวน 5 สัปดาห รวมระยะเวลา 10 ชั่วโมง และใชในการปฐมนิเทศชุดฝกทักษะการคิดแกปญหาชุดที่ 1 เร่ือง การคิดดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ จาํ นวน 1 ชว่ั โมง รวมทัง้ ส้นิ 11 ชั่วโมง ตารางท่ี 1 เน้ือหารายวชิ า ส 21101 : สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หนว ยการเรยี นรทู ี่ 8 เรือ่ ง สรรพสิง่ ในธรรมชาติ

ลําดับท่ี เนือ้ หา รายวิชา ส 21101 : สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 14 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 8 เรื่อง สรรพสิ่งในธรรมชาติ จํานวน 1 ปฐมนเิ ทศการคิดดว ยเทคนคิ หมวก 6 .ใบ ชัว่ โมง 2 สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ 3 มลพษิ ทีม่ ผี ลตอ ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น 1 4 การอนุรักษท รพั ยากรธรรมชาติในทอ งถน่ิ 2 5 สง่ิ แวดลอ มทางสังคมและวฒั นธรรม 2 6 ประชากรกบั ส่ิงแวดลอม 2 2 รวม 2 11 นยิ ามศัพทเ ฉพาะ ชุดฝก หมายถึง ส่ือการสอนท่ีผูวิจัยสรางข้ึนเพ่ือใชในการพัฒนาทักษะการคิด แกปญหาและผลการเรียนรูของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 4 ชุดฝกท่ีผูวิจัยสรางขึ้นประกอบดวย คํานํา คําช้ีแจงสําหรับครู คําชี้แจงสําหรับนักเรียน วัตถุประสงค ใบความรู ใบกิจกรรม แบบ ประเมินทักษะการคดิ แกป ญ หา และแบบทดสอบวดั ผลการเรยี นรู ทักษะการคิดแกปญหา หมายถึง ความสามารถของนักเรียนในการนําความรู ความคิด และประสบการณเดมิ มาใชป ระกอบในการคดิ การตดั สินใจแกป ญ หาในชวี ติ ประจําวันได การพัฒนาชุดฝก หมายถึง กระบวนการในการสรางและหาประสิทธิภาพชุดฝกทักษะ การคดิ แกปญหา เรือ่ ง สรรพสิง่ ในธรรมชาติ โดยอาศยั ระเบียบวธิ ีการวจิ ัยและพฒั นา (Research and Development : R&D) ที่มีขั้นตอน 4 ขั้นตอน คือ 1) การวิจัย : (Research) การศึกษาขอมูลพ้ืนฐาน 2) การพัฒนา (Development) : การพัฒนาชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา รวมถึงการพัฒนาเครื่องมือ ที่ใชในการวิจัย และหาประสิทธิภาพของชุดฝก 3) การวิจัย (Research) : การทดลองใชจริงและ ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา และ 4) การพัฒนา (Development) : การประเมนิ และปรบั ปรุงชดุ ฝกทักษะการคิดแกปญหา เทคนิคหมวก 6 ใบ หมายถึง กลวิธีการจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดโดยใชสี ของหมวกเปน สื่อแสดงการคดิ แตล ะดาน ตามแนวคิดของ เดอ โบโน (De Bono) ประกอบดว ย หมวกสีขาว แสดงถึงความเปนกลาง หมายถึง ขอเท็จจริงตาง ๆ ท่ีเปนตัวแทนของ ขอ มลู ขา วสาร ไมเ จือปนกับส่งิ อนื่ ๆ

15 หมวกสแี ดง แสดงถึงอารมณท เี่ ปน การแสดงความรสู กึ ของผูคดิ รวมถึงความประทับใจ หมายถึง การแสดงถึงอารมณและความรูสกึ ของผูคิดในดานของความโกรธ ความสนุก ความอบอุน และความพึงพอใจ หมวกสีดํา แสดงถึงความมืดคร้ึม หมายถึง เหตุผลทางดานลบท่ีรวมถึง ขอเสียและ อปุ สรรคตาง ๆ หมวกสีเหลือง แสดงถึงความสวางไสวและความสดใส หมายถึง การคนหาขอดี คุณคา และประโยชนจากการคิด หมวกสีเขียว แสดงถึงความเจริญเติบโต ความสมบูรณ หมายถึง ความคิดสรางสรรค และความคิดใหม ๆ หมวกสีฟา แสดงถึงความเยือกเย็น ทองฟา ซึ่งอยูเหนือทุกสิ่งทุกอยาง หมายถึง การจัด ระเบียบทางความคิด หรอื การสรปุ ขอเท็จจรงิ ตา ง ๆ สรรพส่ิงในธรรมชาติ หมายถึง หนวยการเรียนรูวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรมในระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 4 สาระการเรียนรูวิชาภูมิศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 8 ที่ผูวิจัยใชในการพัฒนาชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา ประกอบดวยเนื้อหาสาระท่ีเกี่ยวของกับ สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ มลพิษที่มีผลตอทรัพยากรธรรมชาติในทองถ่ิน การอนุรักษ ทรพั ยากรธรรมชาติในทอ งถน่ิ สิ่งแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรม และประชากรกับส่ิงแวดลอ ม ประสิทธิภาพของชุดฝก หมายถึง คุณภาพของชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เรื่อง สรรพสิ่งในธรรมชาติ ดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ ที่ผูวิจัยสรางขึ้นมาใชในการจัดการเรียนรู ผูวิจัยต้ัง เกณฑไว8 0/80 มีความหมาย ดังนี้ 80 ตัวแรก หมายถึง คาเฉลี่ยรอยละ 80 ของคะแนนที่นักเรียนทั้งหมดทําไดจากการทํา แบบทดสอบวัดผลการเรียนรูระหวางเรียนรูโดยใชชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา ดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ 80 ตัวหลัง หมายถึง คาเฉล่ียรอยละ 80 ของคะแนนท่ีนักเรียนทั้งหมดทําไดจากการทํา แบบทดสอบวดั ผลการเรียนรูหลังจากใชช ุดฝก ทกั ษะการคดิ แกปญหา ดวยเทคนคิ หมวก 6 ใบ นักเรียน หมายถึง ผูที่กําลังศึกษาอยูในชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 โรงเรียนชุมชนวัด ดอนคลงั มติ รภาพท่ี 178 อาํ เภอดาํ เนนิ สะดวก จงั หวัดราชบุรี ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550

16 ความคิดเห็น หมายถึง ความรูสึกนึกคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4/1 ท่ีมีตอ ชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เร่ือง สรรพสิ่งในธรรมชาติ ดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ ในดานเน้ือหา ดา นกจิ กรรมการเรียนรู และดา นประโยชน ผลการเรียนรู หมายถึง คะแนนของนักเรียนท่ีไดจากการทําแบบทดสอบวัดผล การเรียนรู เรอ่ื ง สรรพสิ่งในธรรมชาติ ดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ จําแนกเปน 2 ประเภท คือ ผลการเรียนรูกอนเรียน หมายถึง คะแนนของนักเรียนที่ไดจากการทําแบบทดสอบ วัดผลการเรยี นรูกอนเรียนดวยชดุ ฝกทกั ษะการคดิ แกป ญหา ผลการเรียนรูหลังเรียน หมายถึง คะแนนของนักเรียนที่ไดจากการทําแบบทดสอบ วัดผลการเรยี นรหู ลังเรยี นดว ยชดุ ฝกทกั ษะการคดิ แกป ญ หา

บทท่ี 2 วรรณกรรมที่เก่ยี วขอ ง การวิจัยเรื่องการพัฒนาชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เรื่อง สรรพส่ิงในธรรมชาติ ดวย เทคนิคหมวก 6 ใบ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนชุมชนวัดดอนคลังมิตรภาพ ที่ 178 ผูวจิ ยั ไดศึกษาคน ควา รวบรวม ทฤษฎี หลกั การ แนวคดิ และงานวิจัยทเ่ี ก่ยี วขอ ง ดังนี้ 1. หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานสถานศึกษากลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม 2. ชดุ ฝก 3. ทกั ษะการคิดแกปญ หา 4. เทคนคิ หมวก 6 ใบ ของ เดอ โบโน 5. งานวจิ ัยท่เี กย่ี วขอ ง หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานสถานศึกษา กลมุ สาระสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทักษะกระบวนการคิดและการแกปญหาเปนกลไกสําคัญในการจัดการศึกษา เพื่อมุงเนนพัฒนาคุณภาพของผูเรียนใหเปนผูที่มีความคิด ความมุงมั่น รูทันโลก คิดการณไกล อยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางสันติ รักความกาวหนา รูคิดรูทํา รูถูกรูผิด คิดแกปญหาเปน และเปนคนที่มี คุณภาพอยางแทจริงตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 มาตรา 24 ได กลาวถึงการจดั กระบวนการเรียนรขู องสถานศึกษาและหนวยงานทเี่ กี่ยวขอ งใหม ลี ักษณะดังตอไปนี้ คือ มีการฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และประยุกตความรู เพื่อนํามาใชปองกันและแกไขปญหา โดยการจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกปฏิบัติใหทําได คิดเปนมีจุดมุงหมายใหผูเรียนมีความสามารถในการแกปญหาควบคูไปดวยกัน ซ่ึงจะสงผลตอการพัฒนาตนเองและสังคมในระยะยาว เนื่องจากผูเรียนสามารถนําความรู และ ประสบการณจากสิ่งท่ีเรียนมาปรับใชในการแกปญหาไดจริงในการดําเนินชีวิตของตนเอง สังคม และประเทศชาติไดอยางถูกตองและเหมาะสม ดังน้ันการท่ีจะใหผูเรียนมีทักษะกระบวนการคิด และการแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพก็ตองเริ่มที่จะพัฒนาเด็กตั้งแตในระดับชวงช้ันที่ 1 ท่ี 2 เปนตนไป เพราะจะชวยใหผูเรียนไดฝกคิด ฝกปฏิบัติ ฝกท่ีจะเผชิญกับปญหาจนเกิดความชํานาญ 17

18 และเม่ือตองเผชิญกับปญหาที่เกิดข้ึนจริงก็สามารถท่ีจะนําความรูหรือประสบการณเดิมของตนเอง มาประยกุ ตใชในแกป ญหาไดเปน อยางดี หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนวัดดอนคลังมิตรภาพที่ 178 จัดหลักสูตรรายวิชา ส 21101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 เปนหลักสูตรที่สอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 หลักสูตรจัดการศึกษาเนนใหผูเรียนเปนผูที่มีความเจริญงอกงามในดานความรู ดานทักษะ กระบวนการ ดานเจตคติรวมท้ังดานการจัดการและการปฏิบัติ สําหรับดานทักษะและกระบวนการ นั้น รายวิชา ส 21101 ไดเนนพัฒนาผูเรียนใหมีทักษะการคิดและทักษะการแกปญหา โดยใชสาระ หรือเนื้อหาเปนส่ือกลางในการฝกทักษะการคิดแกปญหาใหแกผูเรียน โดยเฉพาะในหนวยการ เรียนรูที่ 8 เรื่อง สรรพส่ิงในธรรมชาติ เปนเร่ืองท่ีใกลตัวนักเรียน สามารถพบเห็นไดทั่วไปใน ชีวิตประจําวันหรือในทองถิ่นของนักเรียน ซึ่งจะชวยใหนักเรียนมองเห็นภาพของปญหาท่ีเกิดข้ึน เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมไดอยางชัดเจนและสามารถหาวิธีในการแกไขปญหาไดอยางเหมาะสมกับ ทองถิ่นของตน ผูวิจัยไดเนนพัฒนาทักษะการคิดแกปญหา โดยใชเทคนิคหมวก 6 ใบ ของ เดอ โบโน (De Bono) เปนเครื่องมือในการพัฒนา เพื่อฝกใหผูเรียนเกิดทักษะกระบวนการคิด แกปญ หาอยา งเปนระบบจนสามารถนาํ ไปประยุกตใชในชวี ิตประจาํ วันได สาระการเรียนรูรายวิชา ส 21101 : สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ในชวงชั้นที่ 2 ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศึกษา 2550 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห รวมท้งั สิ้น 80 ช่วั โมง คาํ อธบิ ายรายวิชา ส 21101 : สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รูและเขาใจประวัติความเปนมาของศาสนา ศาสดาและคัมภีรตลอดทั้งประพฤติ ปฏิบัติการทําความดีตอสังคมและสิ่งแวดลอมในชุมชนทองถิ่นภาคและประเทศในชีวิตประจําวัน ตอพิธีกรรมและ วันสําคัญตาง ๆ ทางศาสนา ศาสดาที่ตนนับถือประพฤติปฏิบัติตามวิถีชีวิต ประชาธิปไตยกับตนเองและบุคคลอื่นในระดับสังคมทองถิ่นและประเทศชาติตลอดทั้งเรื่องสิทธิ เสรีภาพในการคุมครองเด็กและผูอ่ืน เปนบรรทัดฐานในระบอบประชาธิปไตย โดยมีกฎหมาย รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด การใชทรัพยากรที่ผลิตและบริโภคไดจากเทคโนโลยีที่ผลิตและ บริการกับเศรษฐกิจอยางพอเพียงที่จะนําไปสูนโยบายหลักการหุนและปนผลกําไรขาดทุนของ สหกรณ การเงินตาง ๆ เขาใจทศวรรษ ศตวรรษ ความหมายขอมูลตาง ๆ ทางประวัติศาสตรและ โบราณคดที ีเ่ ปลยี่ นแปลงตามวถิ ีชีวิตของคนในจงั หวดั ทอ งถ่ินและประเทศภูมิศาสตรทีม่ ีอทิ ธิพลตอ ภูมิปญญาทองถิ่นตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน องคประกอบทางภูมิศาสตรท่ีจัดทําแผนที่และเครื่องมือ ตรวจวัดความสัมพันธของโลกดวงอาทิตย ดวงจันทรทางภูมิประเทศและภูมิอากาศท่ีทําใหเกิดน้ํา

19 ขึ้น น้ําลงและฤดูกาลตาง ๆ ทีมี อิทธิพลตอสังคมวัฒนธรรมการตั้งถ่ินฐานและการอพยพยายถ่ิน ท่อี ยูอาศยั การแบงหนวยการเรียนรูของรายวิชา ส 21101 : สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม แบง การจัดการเรยี นรอู อกเปน 8 หนว ยการเรยี นรู ใชเวลารวม 80 ช่ัวโมง รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 หนว ยการเรยี นรรู ายวชิ า ส 21101 : สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม หนวยที่ เรอ่ื ง จาํ นวน/ชวั่ โมง 6 1 ศาสนาในประเทศไทย 10 12 2 ศีลธรรมนําชีวิต 16 10 3 พลเมืองทีน่ า ชนื่ ชม 8 8 4 การเมือง การปกครอง 10 80 5 เศรษฐศาสตรเบอ้ื งตน 6 พออยพู อกนิ 7 ภูมศิ าสตรน ารู 8 สรรพสง่ิ ในธรรมชาติ รวมจํานวน สําหรับหนวยการเรียนรูท่ี 8 เรื่อง สรรพส่ิงในธรรมชาติ ใชเวลาเรียน 10 ช่ัวโมง ประกอบดว ยเน้ือหา รายละเอียดดังตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 เน้อื หาในหนว ยการเรยี นรูที่ 8 เรอ่ื ง สรรพสงิ่ ในธรรมชาติ หนวยที่ เรอื่ ง จาํ นวน/ช่วั โมง 2 8 1. สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ 2 2 2. มลพิษที่มีผลตอ ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นทอ งถ่นิ 2 2 3. การอนรุ ักษท รัพยากรธรรมชาติ 10 4. สิ่งแวดลอมทางสงั คมและวฒั นธรรม 5. ประชากรกบั ส่ิงแวดลอ ม รวมจํานวน

20 สอดรับกับมาตรฐาน ส 5.2 : เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทาง กายภาพ ท่ีกอใหเกิดการสรางสรรควัฒนธรรม และมีจิตสํานึก อนุรักษ ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพ่อื การพัฒนาท่ยี งั่ ยืน ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวงั 1. รูและเขาใจเก่ียวกับลักษณะเฉพาะ ความสําคัญและความแตกตางของสิ่งแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติในทองถน่ิ 2. เขาใจถึงสาเหตุและผลกระทบท่ีเกิดขึ้นจากการกระทําของมนุษย และ การเปล่ยี นแปลงสิ่งแวดลอมและทรัพยากรทางธรรมชาติในทอ งถิน่ 3. รูและเขาใจเก่ียวกับวิธีการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติในทองถ่ิน และสามารถ นําไปใชใ นการดําเนินชีวติ ได 4. รูและเขาใจเกี่ยวกับความแตกตางและความสัมพันธของส่ิงแวดลอมทางสังคมและ วฒั นธรรมในภาคตาง ๆ 5. รูและเขาใจเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงของประชากร ปจจัยที่ทําใหเกิดการยายถ่ิน และผลกระทบทีเ่ กิดขน้ึ จากการยา ยถนิ่ ของประชากร ชุดฝก ชุดฝกมีผูใชคําเรียกแตกตางกัน เชน ชุดฝก ชุดฝกเสริมทักษะ ซึ่งคําเรียกเหลานี้ หมายถึงสิ่งเดียวกัน (ชัยยงค พรหมวงค และคณะ 2520 : 146) ในท่ีนี้ผูวิจัยจะขอใชคําวา “ชุดฝก” ซ่ึงจะนําเสนอหัวขอดังตอไปนี้ ความหมายของชุดฝก ขั้นตอนในการพัฒนาชุดฝก หลักจิตวิทยา ในการพฒั นาชุดฝก หลกั ในการใชช ุดฝก ลกั ษณะของชดุ ฝกทด่ี ี และประโยชนของชดุ ฝก ความหมายของชดุ ฝก ชุดฝก (Training Package) เปนนวัตกรรมการศึกษา / สื่อการเรียนประเภทหนึ่งสําหรับ ใหนักเรียนฝกปฏิบัติ เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจและพัฒนาทักษะในดานตาง ๆ เพิ่มข้ึน ชุดฝก หรือชุดฝกเสริมทักษะน้ันโดยท่ัวไปมีลักษณะเปนแบบฝกหัดที่สรางขึ้นดวยลักษณะหรือรูปแบบ ท่ีหลากหลาย โดยมีจุดประสงคเพ่ือมุงเสริมทักษะตาง ๆ ใหเกิดแกผูเรียนซ่ึงมีนักการศึกษาทั้งใน และตางประเทศและนักวชิ าการหลายทา นไดใหความหมายของชดุ ฝก ไวดงั น้ี ชัยยงค พรหมวงศและคณะ (2520 : 146-147) กลาววา ชุดฝก หมายถึง ส่ิงท่ีนักเรียน ตองใชควบคูกับการเรียน มีลักษณะเปนแบบฝกหัดท่ีครอบคลุมกิจกรรมที่นักเรียนพึงกระทํา อาจกําหนดแยกเปนแตล ะหนว ยหรอื อาจรวมเลมกไ็ ด

21 ชาญชัย สวิตรังสีมา และเชิดวิทย ฤทธิประศาสน (2523 : 144, อางถึงใน บงกชกร ทับเที่ยง 2546 : 22) ไดใหความหมายของชุดฝกวาเปนการจัดสภาพการณเพ่ือใหผูฝกเปลี่ยน พฤติกรรมจนสามารถปฏบิ ตั งิ านตามทรี่ ับมอบหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ สวัสดิ์ สุวรรณอักษร (2531 : 107, อางถึงใน ดารณี เทียมเมือง 2545 : 62) ไดใหคํา จํากัดความของชุดฝกวา หมายถึง ชุดฝกเสริมทักษะเพ่ิมเติมภาคปฏิบัติ เมื่อครูไดอธิบายภาคทฤษฎี หรือใหความรูดานเนื้อหาไปแลวโดยมุงใหนักเรียนฝกทําดวยตนเอง เพ่ือจะไดมีทักษะหรือความ ชาํ นาญเพ่มิ ขนึ้ สนิท สันโยภาส (2533 : 15) ไดใหความหมายของชุดฝกวาเปนส่ือการเรียนการสอน ประเภทหนังสือและสิ่งพิมพที่ครูใชเปนเครื่องมือในการใหนักเรียนไดฝกฝนจนเกิดทักษะใน การเรียนรูวิชาตางๆซึ่งทักษะที่เกิดข้ึนไดก็ตอเมื่อไดทําซ้ําๆจนเกิดความชํานาญ คลองแคลว วองไว และถกู ตอ ง เพ่ือใหน กั เรยี นเกิดทักษะในวิชาน้ัน ๆ กนั ตดนยั วรจิตตพิ ล (2542 : 34) ไดสรปุ วา ชุดฝก คือ เคร่ืองมือทางการเรียนอยางหนึ่ง ของนักเรียนที่มุงใหนักเรียนฝกทําดวยตนเอง เพ่ือจะไดมีทักษะหรือความชํานาญเพ่ิมมากข้ึน หลงั จากที่ไดเ รยี นรูในภาคทฤษฎหี รือดานเนื้อหาแลว สรุปไดวา ชุดฝก ส่ือการเรียนการสอนประเภทหน่ึงท่ีใหนักเรียนใชควบคูกับการเรียน โดยใหนักเรียนไดปฏิบัติเพ่ือใหเกิดทักษะในการเรียนรูวิชาตาง ๆ เมื่อไดกระทําซํ้า ๆ อยางตอเนื่อง กจ็ ะเกิดความชาํ นาญ และสามารถนาํ ความรูไปใชไดอ ยางถูกตอง ข้นั ตอนในการพฒั นาชดุ ฝก ในการพัฒนาชุดฝกใหมีประสิทธินั้น มีนักวิชาการไดเสนอขั้นตอนในการพัฒนาชุดฝก ไวดังนี้ ชีลส และกลาสโกว (Seals and Glasgow 1990 : 50) กลาวถึงขั้นตอนการพัฒนาชุดฝก ดังน้ี 1. วิเคราะหปญหา กําหนดเปาหมายการสอน โดยรวบรวมปญหาจากการประเมิน ความตอ งการของผูเรียน 2. วิเคราะหภาระงาน โดยรวบรวมขอมูลจากทักษะตาง ๆ รวมไปถึงพฤติกรรม ทางการเรยี นและทศั นคติ จากน้นั จงึ วเิ คราะหการสอนเพื่อกาํ หนดวิธีการที่ตองการ

22 3. เขียนจุดประสงคเชิงพฤติกรรม และกําหนดเกณฑการทดสอบเพ่ือใหสัมพันธกับ จดุ ประสงค 4. กาํ หนดกลวิธกี ารสอน 5. เลอื กรูปแบบการสอนและส่ือทจ่ี ะนาํ มาสรางเปนชดุ ฝก 6. วางแผนผลิตและพัฒนาสื่อ ตรวจสอบขั้นตอนในการพัฒนาสื่อเพื่อใหสอดคลอง กับโครงการสอน 7. วางแผนและกําหนดกลวิธที ีจ่ ะใชในการประเมินข้ันปฏิบตั ิการ 8. วางแผนข้ันตอนในการใชเ ครอื่ งมือ 9. ดําเนินการประเมินผลขน้ั สรุป 10. นาํ ชดุ ฝกที่ผลติ ออกเผยแพร สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2531 : 174) ไดเสนอข้ันตอน การสรา งชุดฝก สาํ หรับขาราชการครู ดงั น้ี 1. ศึกษาปญหาและความตองการโดยศึกษาจากการผานจุดประสงคการเรียนและ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน หากเปนไปไดศ กึ ษาความตอเนอ่ื งของปญ หาทกุ ระดับช้ัน 2. วิเคราะหเนื้อหาหรือทักษะท่ีเปนปญหาออกเปนทักษะยอย ๆ เพื่อใชในการสราง ชดุ ฝก 3. พิจารณาวัตถุประสงค รูปแบบ และขั้นตอนการใชชุดฝก เชน นําชุดฝกไปใช อยางไรในแตล ะชดุ ประกอบดวยอะไรบาง 4. สรา งแบบทดสอบ ซงึ่ อาจจะมีแบบทดสอบดงั น้ี 4.1 แบบทดสอบเชิงสํารวจ 4.2 แบบทดสอบเพอื่ วนิ ิจฉยั ขอบกพรอ ง 4.3 แบบทดสอบความกาวหนา เฉพาะเรอ่ื ง 5. สรางบัตรฝกหัดเพื่อพัฒนาทักษะยอย แตละทักษะในแตละบัตรจะมีคําถามให นกั เรยี นตอบ กาํ หนดรูปแบบ ขนาดของบตั รโดยพจิ ารณาตามความเหมาะสม 6. สรางบัตรอา งองิ เพอื่ ใชอ ธบิ ายคาํ ตอบหรือแนวทางการตอบแตละเรื่อง 7. สรางแบบบันทึกความกาวหนา เพ่ือใชบันทึกผลการทดลอง หรือผลการเรียนที่จัด ขนึ้ เปนตอน ๆ 8. ทดลองใชช ุดฝกท่สี รางขนึ้ 9. ปรบั ปรงุ แกไข 10. รวบรวมเปนชดุ จัดทําคําชี้แจง สารบัญ เพ่อื เปนประโยชนตอ ไป

23 จากขอมูลที่กลาวมาขางตน ผูวิจัยไดใชข้ันตอนในการพัฒนาชุดฝกของสํานักงาน คณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ เปนแนวทางในการพัฒนาชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เรื่องสรรพสิง่ ในธรรมชาติดวยเทคนคิ หมวก 6 ใบ ดงั นี้ 1. ศึกษาปญหาและความตองการโดยศึกษาจากจุดประสงคการเรียนรู ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของนกั เรยี น 2. วเิ คราะหป ญ หาและทักษะที่เปน ปญ หา 3. พิจารณาวัตถุประสงค รูปแบบ และขั้นตอนการใชชุดฝก เชน ในแตละชุด ประกอบดว ยอะไรบาง 4. สรา งแบบทดสอบวดั ผลการเรียนรู 5. ทดลองใชช ุดฝก 6. ปรับปรุงแกไ ข หลกั จติ วทิ ยาในการพัฒนาชดุ ฝก มีนกั จติ วิทยาไดเ สนอแนวทางในการสรา งชดุ ฝกไวดังน้ี เกสร รองเดช (2522 : 36-37, อางถึงใน อารี บัวคุมภัย 2540 : 20) เสนอแนวทางสราง ชดุ ฝกดงั น้ี 1. การสรางชดุ ฝกควรใหเหมาะสมกบั วยั ของนักเรยี น คือไมงา ยไมยากจนเกินไป 2. เรยี งลําดับชดุ ฝก จากงายไปหายาก 3. ชดุ ฝก บางชดุ ควรใชภ าพประกอบเพือ่ ดึงดูดความสนใจใชเวลาในการฝก ประมาณ 30-45 นาที รัชนี ศรีไพวรรณ (2527 : 42, อางถึงใน อารี บัวคุมภัย 2540 : 21) ไดใหขอคิดเกี่ยวกับ การสรา งชดุ ฝก/แบบฝก ดงั นี้ 1. สรางชุดฝกใหสอดคลองกับหลักจิตวิทยา และพัฒนาการของนักเรียน ตามลําดับ ขั้นการเรียนรู ชุดฝกทักษะตองอาศัยรูปภาพจูงใจผูเรียน และควรจัดเรียงเนื้อหาตามลําดับจากงาย ไปยากเพ่อื ชว ยใหน กั เรยี นมีกาํ ลงั ใจทาํ ชุดฝก 2. มีจุดประสงคที่แนนอนวาตองการฝกทักษะในดานใดแลวจัดเนื้อหาใหตรงกับ จดุ ประสงค 3. ตองคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลของนักเรียน ถาสามารถทําไดควรแบง นักเรยี นออกเปนกลมุ ยอ ยตามความสามารถ แลว จึงจดั แบบฝก

24 4. แบบฝกที่ดีตองมีคําช้ีแจงงาย ๆ สั้น ๆ ที่นักเรียนสามารถอานแลวเขาใจงาย และ สามารถทาํ แบบฝกไดด ว ยตนเอง 5. แบบฝกตองมีความถูกตอง ครูควรพิจารณาใหรอบคอบ ทดลองทําดวยตนเอง เสยี กอ นอยา ใหมีขอ ผิดพลาด 6. ใหนักเรยี นทําแบบฝก แตละครั้งตอ งเหมาะสมกบั เวลาและความสนใจ จากการที่กลาวมาขางตน ผูวิจัยสามารถสรุปหลักจิตวิทยาท่ีจะนํามาใชในการพัฒนา ชดุ ฝก ทกั ษะการคดิ แกป ญหา เรอ่ื ง สรรพสิ่งในธรรมชาติ ดว ยเทคนิคหมวก 6 ใบ ไดด ังน้ี 1. การสรางชุดฝกตองคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล เหมาะสมกับวัยของ นกั เรยี น คอื ไมง า ยไมย ากจนเกินไป 2. เรยี งลาํ ดับเนือ้ หาจากงายไปหายาก 3. ชดุ ฝกตอ งอาศัยรูปภาพประกอบในการจูงใจผูเรียน 4. ตอ งมจี ุดประสงคท ีแ่ นน อนวา ตอ งการพฒั นาทกั ษะในดา นใด 5. ตองมีคําช้ีแจงงาย ๆ สั้น ๆ ท่ีนักเรียนสามารถอานแลวเขาใจและสามารถทําชุดฝก ไดดว ยตนเอง 6. การทําชุดฝก ในแตละครง้ั ตอ งเหมาะสมกับเวลาและความสนใจของนักเรียน หลกั ในการใชช ุดฝก มีนักการศึกษา นักวิชาการ และสํานักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแหงชาติ (2532 : 167) ไดเ สนอหลกั การสรา งชุดฝกไว ดงั น้ี 1. การฝก ควรใหผูฝก ทราบข้นั ตอนในการฝกที่ถูกตอ ง 2. ชวงเวลาในการฝก ควรเปนระยะเวลาส้ัน ๆ ฝกบอย ๆ จะทําใหไมเกิดความ เบ่อื หนา ย 3. กิจกรรมการฝกควรหลากหลาย 4. การฝกทม่ี คี วามมงุ หมายจะมปี ระโยชน ชุดฝก จะมีคณุ คา 5. ควรศึกษาคูมอื การฝกใหเ ขาใจเสยี กอ น 6. เวลาท่ใี ชใ นการฝก สามารถยดื หยนุ ไดต ามความเหมาะสม 7. ข้ันตอนในการฝกตองดาํ เนนิ ตามลาํ ดบั ขั้นตอนทจ่ี ดั ไว 8. การฝก ปฏบิ ตั พิ ยายามใหผูฝก ไดฝกใหม ากที่สุด

25 ศศธิ ร อนิ ตนุ (2535 : 27) ไดเสนอหลักการในการใชช ดุ ฝกไวดงั น้ี 1. กอนการฝก ควรสอนใหผูเรียนเขาใจเสียกอน เพราะจะชวยใหผูเรียนเขาใจและ ทราบเหตผุ ลท่ีตองใชช ุดฝก การฝกอยา งไมเขาใจความหมายอาจไมท ําใหเ กดิ ทกั ษะ 2. การฝกควรใหผ ูเ รียนไดรับการฝกตามข้ันตอนท่ีถูกตองภายใตการแนะนําที่ดี ถาฝก ทักษะผิด จะทําใหเ สยี เวลาอยางมากในการแกไ ข 3. ชวงเวลาการฝกสั้น ๆ บอย ๆ ดวยชุดฝกท่ีคัดเลือกไวแลวเปนอยางดี จะมี ประสิทธิภาพกวาการฝก ชวงยาว ๆ ซ่ึงผเู รยี นจะไมส นใจ 4. กจิ กรรมการฝกควรจะหลากหลาย นอกจากแบบฝกหัดตา ง ๆ แลว อาจใชเกมปญหา หรอื กจิ กรรมอ่นื ๆ บา ง 5. การฝกอยางมีจดุ มงุ หมายจะเกิดประโยชนม าก ถา ผเู รียนเหน็ คุณคาและความจําเปน ของสงิ่ ท่ีเรียน หรือฝกโดยอาจใชใ นการทดสอบภายหลังจากใชชดุ ฝก 6. การฝกควรสัมพันธกับเหตุผล ขณะฝกควรใหผูเรียนใชความคิดหาเหตุผลควบคู ไปดว ย จากการที่กลาวมาขางตน ผูวิจัยสามารถสรุปหลักในการใชชุดฝกเพ่ือเปนแนวทางใน การพัฒนาชุดฝกทักษะการคดิ แกปญหา เรื่อง สรรพสง่ิ ในธรรมชาติ ดว ยเทคนคิ หมวก 6 ใบ ไดด ังน้ี 1. กอนการฝก ควรใหผฝู กทราบข้นั ตอนการฝกทถี่ กู ตอง 2. ระหวางการฝก ผูฝกควรไดรับคําแนะนําที่ดี เพราะถาหากฝกผิดจะทําใหเสียเวลา 3. ชวงเวลาในการฝก ควรเปนระยะเวลาเพยี งส้นั ๆ 4. กจิ กรรมการฝก ควรมีหลากหลาย 5. การฝก ท่มี จี ดุ หมายจะเกิดประโยชนมากแกผูเรยี น 6. เวลาทใี่ ชใ นการฝก สามารถยืดหยนุ ไดตามความเหมาะสม จากการศึกษาขั้นตอนและหลักจิตวิทยาในการพัฒนาชุดฝกแลวผูวิจัยไดสังเคราะห แนวคิดขางตนเพ่ือนํามาใชในการสรางชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เร่ือง สรรพสิ่งในธรรมชาติ ดวยเทคนิคหมวก 6 ใบ คือ ชุดฝกทักษะการคิดแกปญหา เรื่อง สรรพส่ิงในธรรมชาติ ดวยเทคนิค หมวก 6 ใบ ท่ีสรางข้ึนประกอบดวย บทนํา คําชี้แจงสําหรับครู คําชี้แจงสําหรับนักเรียน ใบความรู ใบกิจกรรม แบบประเมินทักษะการคิดแกปญหาและแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู โดยชุดฝกที่ สรางขึน้ ไดคาํ นึงถงึ ความแตกตางระหวางบคุ คล คอื ไมง า ยไมย ากจนเกินไป มกี ารเรียงลําดับเน้ือหา จากงายไปหายาก มีภาพประกอบจูงใจที่เหมาะสมกับเนื้อหา มีจุดประสงคที่แนนอนในการเรียน

26 ดวยชุดฝก มีคําช้ีแจงส้ัน ๆ เขาใจงาย และระยะเวลาท่ีใชมีความเหมาะสมกับเน้ือหาและวัยของ นกั เรยี น ลกั ษณะของชุดฝก ทีด่ ี ชุดฝกเปนเครื่องมือสําคัญในการฝกทักษะชนิดหน่ึง ท่ีครูนํามาจัดกิจกรรมการเรียน การสอนใหบรรลผุ ล และมีความจําเปนสําหรับเตรียมความพรอมดานภาษา ในการสรางชุดฝกใหมี ประสิทธิภาพ ตองศึกษาองคประกอบและพิจารณาเลือกใหเหมาะสมกับระดับความสามารถของ นกั เรยี น มีผูเสนอแนะลกั ษณะชดุ ฝก ท่ีดไี ว ดงั นี้ ริเวอร (River 1970 : 97-105) กลา วถึงลักษณะชุดฝกทีด่ ไี วด ังนี้ 1. ตองมกี ารฝกนกั เรยี นมากพอควรในเรือ่ งหนึง่ ๆ กอ นที่จะมีการฝกเรอื่ งอ่นื ๆ ตอไป 2. เปนชุดฝกที่นักเรียนใชความคิดดวยตนเอง และควรมีหลาย ๆ แบบเพ่ือใหนักเรียน เกิดความสนใจ 3. ควรฝก ใหนักเรียนสามารถใชส ิง่ ท่เี รยี นแลว และนําไปใชใ นชวี ติ ประจําวันได 4. ประโยคท่ีฝก ควรเปนประโยคสน้ั ๆ 5. ฝก ใหนักเรยี นสามารถใชสิ่งที่เรยี นแลวตดิ ตอ กับผอู น่ื ได สามารถ มีศรี (2530 : 28) กลาววา แบบฝกที่ดีตองเก่ียวกับบทเรียนท่ีเรียนมาแลว เหมาะสมกับวัยของผูเรียน มีคําส่ังและคําอธิบาย มีคําแนะนําการใชแบบฝก มีรูปแบบที่นาสนใจ และมกี ิจกรรมทห่ี ลากหลายรูปแบบ โรจนา แสงรุงระวี (2531 : 22) กลาววา แบบฝกหรือชุดฝกเสริมทักษะที่ดีนอกจาก มคี าํ อธบิ ายชัดเจนแลวควรเปน แบบฝกสน้ั ๆใชเ วลาในการฝกไมนานเกนิ ไป และมีหลายรูปแบบ จากความเห็นดังกลาวสรุปไดวา ลักษณะของแบบฝกหรือชุดฝกเสริมทักษะท่ีดี มีลกั ษณะดงั น้ี 1. มีคําส่ังอธิบายและคําแนะนําในการใชชุดฝกที่ชัดเจนและเขาใจงาย มีรูปแบบที่ นา สนใจ 2. เปน ชดุ ฝกสั้น ๆ ใชเ วลาในการฝกไมน านและมหี ลายรปู แบบ 3. ฝกใหผ เู รยี นสามารถนําประโยชนจ ากการฝกไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั 4. ฝก ใหน กั เรียนสามารถใชสิ่งที่เรยี นแลวตดิ ตอกับผอู ื่นได

27 ประโยชนของชุดฝก การท่ีจะทําใหนกั เรยี นเกิดความชํานาญ ความแมนยาํ มีพัฒนาการทางดานภาษาเพิ่มพูน ครูผูสอนจําเปนตองจัดประสบการณการเรียนรูใหกับนักเรียน โดยสรางชุดฝกใหเหมาะสมกับเน้ือ เรอ่ื งท่จี ะสอน เพื่อใหเกิดทักษะและความรคู วามเขาใจเพิ่มมากข้ึน เพ็ตตี้ (Petty 1963 : 469-472) ไดก ลา วถึงประโยชนข องแบบฝกไว ดงั น้ี 1. เปนการเพ่ิมเติมหนังสือเรียนใหการเรียนรูท่ีฝกทักษะเปนอุปกรณการสอนที่ชวย ลดภาระครูไดมาก 2. ชวยเสริมทักษะการใชทางภาษา แบบฝกหัดเปนเคร่ืองมือชวยเด็กในการฝกฝน ทักษะการใชภ าษาใหด ขี ึน้ 3. ชุดฝก ชว ยเสริมใหท ักษะทางภาษาคงทน ชยั ยงค พรหมวงศ และคณะ (2523 : 23) กลาวถึงประโยชนข องชดุ ฝก วา 1. ชวยใหผูสอนถายทอดเนื้อหา และประสบการณที่ซับซอน หรือมีลักษณะเปน นามธรรมสูง เชน การทํางานของเคร่ืองกล อวัยวะในรางกาย การเจริญเติบโตของสัตวช้ันตํ่า ฯลฯ ซ่ึงผสู อนไมส ามารถถา ยทอดดว ยการบรรยายไดดี 2. ชวยเราความสนใจนักเรียนตอส่ิงที่ศึกษา เพราะจะเปดโอกาสใหผูเรียนไดศึกษาหา ความรดู วยตวั เอง 3. เปดโอกาสใหผูเรียนไดแสดงความคิดเห็น ฝกการตัดสินใจ แสวงหาความรูดวย ตนเอง มีความรบั ผดิ ชอบตอตวั เอง สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2531 : 173-175) ไดกลาวถึง ประโยชนข องชุดฝก ไวดังน้ี 1. แบบฝกเปนสวนเพิ่มหรือเสริมหนังสือแบบเรียนในการเรียนวิชาทักษะ เปนส่ือ การสอนทีช่ ว ยลดภาระของครู 2. ชวยเสริมทักษะในการใชภาษา เปนเครื่องมือที่ชวยฝกทักษะการใชภาษาใหดีข้ึน แตตองอาศยั การสง เสรมิ และความเอาใจใสจ ากครู 3. แบบฝกเปน เคร่อื งวัดผลการเรียนหลงั บทเรียนแตล ะครั้ง 4. การใหนักเรียนทําแบบฝกชวยใหครูมองเห็นจุดเดนหรือปญหาตาง ๆ ของเด็กได ชดั เจน ซงึ่ จะชว ยใหค รดู ําเนินการปรบั ปรุงแกไ ขปญ หาน้นั ๆ ไดทันทวงที

28 อดลุ ย ไทรเลก็ ทมิ 2528 : 25, อางถึงใน อารี บัวคุมภัย 2540 : 25) ไดกลาวถึงประโยชน ของชดุ ฝกดังนี้ 1. เปน ส่งิ ทจ่ี ัดทําขนึ้ อยา งมรี ะเบยี บ เปน อปุ กรณการสอนทช่ี ว ยลดภาระครไู ดม าก 2. เปน เครือ่ งชว ยใหน ักเรียนไดฝ กฝนทกั ษะการใชภ าษาใหดีข้ึน 3. ชวยในเร่ืองความแตกตางระหวางบุคคล 4. ชว ยเสรมิ ทักษะภาษาใหคงทน โดยมกี ารฝกซํา้ หลาย ๆ ครงั้ จากความเห็นขางตนสรุปไดวา การใชชุดฝกเสริมทักษะประกอบการเรียนการสอนน้ัน กอใหเกิดประโยชนตอตัวครแู ละนักเรียน ชุดฝก จะเปน เครื่องชวยใหนกั เรยี นไดฝ ก ฝนทักษะการคิด และการใชภาษาไดดีขึ้น ชวยในเรื่องความแตกตางระหวางบุคคล ชวยใหครูประหยัดเวลาและ แรงงาน ชวยใหครมู องเหน็ จุดเดน และปญหาตา ง ๆ ของนกั เรยี นไดช ัดเจน ซง่ึ ครสู ามารถดาํ เนินการ ปรับปรงุ และแกปญ หานน้ั ๆ ไดท นั ทว งที และนอกจากนั้นชวยใหการเรยี นการสอนมีประสทิ ธิภาพ มากย่งิ ขนึ้ แตท ั้งนี้จะตอ งอาศยั การสงเสริมและความเอาใจใสจากครูผสู อนดวย ทักษะการคดิ แกปญ หา การคิดแกปญหา เปนการคิดท่ีตองใชความสามารถของสมองและอาศัยประสบการณ เดิมในการท่ีจะนํามาใชในการตัดสินใจแกปญหาได ดังน้ันในการศึกษาเก่ียวกับทักษะการคิด แกป ญ หาในทน่ี ี้ผวู จิ ยั นําเสนอในหัวขอ ดังตอไปน้ี ความหมายของการคดิ ความหมายของทกั ษะการ คิดแกปญหาความสําคัญของทักษะการแกปญหา ประเภทและลักษณะของทักษะการคิดแกปญหา องคประกอบท่ีมีอิทธิพลตอทักษะการคิดแกปญหา การสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดแกปญหา และ การสงเสริมความสามารถในการคิดแกป ญ หา ความหมายการคดิ มีนักการศึกษาและนักจิตวิทยาหลายทาน ไดใหความหมายของ “การคิด” ไวหลาย ทศั นะ ดังนี้ บรูเนอร และคณะ (Bruner and other, อางถึงใน กมลรัตน หลาสุวงษ 2528 : 46) ให ความหมายที่สอดคลองกันวาการคิดเปนกระบวนการท่ีใชในการสรางแนวความคิดรวบยอด (Concept Formation) ดวยการจาํ แนกความแตกตางของการจดั กลุมและกําหนดเรียกชื่อขอ ความจริง ท่ีไดรับ และเปนกระบวนการท่ีใชในการแปลความหมาย ขอมูลรวมถึงการสรุปอางอิงดวยการ จําแนกรายละเอียด การเชื่องโยง ความสัมพันธของขอมูลที่ไดรับ และนํากฎเกณฑตาง ๆ ไป ประยุกตใชง านไดอ ยางเหมาะสม

29 กิลฟอรด (Guildford 1967 : 176) ใหทรรศนะวา การคิดเปนการคนหาหลักการโดย การแยกแยะคณุ สมบัติส่งิ ตางๆ หรอื ความจรงิ ท่ไี ดรบั แลวทาํ การวิเคราะหเพื่อหาขอมูลสรุปอันเปน หลกั การของความจรงิ นัน้ ๆ รวมถงึ การนาํ หลกั การไปใชในสถานการณท ่ีตางไปจากเดิม ไอแซง และคนอื่น ๆ (Eysenck and other 1972 : 317) อธิบายวา การคิด หมายถึง การจัดระบบของความสัมพันธระหวางวัตถุของสิ่งตาง ๆ (Object) และการจัดระบบของ ความสัมพนั ธระหวา งภาพหรอื ตัวแทน (Representation) ของวัตถุสิง่ ของนั้น จายาสวลั (Jayaswal 1974 : 7) ใหค วามหมายเก่ียวกับการคิดวา การคิดเปนปฏิกิริยาของ จิตมนุษย ซ่ึงจะชวยใหแตละคนสามารถปรับตัวเขากับสังคม ส่ิงแวดลอม และยังชวยใหแตละคน เกิดความพยายามและสมั ฤทธ์ิผลในจุดมงุ หมายทเี่ ขาตอ งการดงั นนั้ การคิดจึงนําไปสูการกระทําและ การปรบั ตวั ทีด่ ีข้ึนกวา เกา มอดกิล และ มอดกิล (Modgil and Modgil 1984 : 23, อางถึงใน กมลรัตน หลาสุวงษ 2528 : 47) ไดใหคําจํากัดความของการคิดไววา การคิดประกอบดวยแนวคิดพ้ืนฐาน 3 อยาง คือ กระบวนการภายในสมองเกิดขึ้นที่ภายในหรือระบบความคิด ซ่ึงแสดงออกจากพฤติกรรม การคิด คือ กระบวนการท่ีนําความรูไปใชในการแกปญหาของการเรียนรูในระบบของความรูความเขาใจ จากการคิด คอื ผลของพฤตกิ รรมของเงือ่ นไขในการแกป ญหา การใชเ หตุผล ตา ง ๆ บุญสม ครุฑทา (2525 : 9) ไดส รุปธรรมชาตขิ องการคิดไวด ังนี้ 1. การคิดเกี่ยวของกับปฏิกิริยาของสมองที่เกิดจากความรูสึกสงสัยหรือไมพอใจ ส่ิงแวดลอ ม 2. การคิดเกิดจากความจาํ เปน พื้นฐานสาํ คญั ในกระบวนการคิด 3. การคดิ มีประโยชนทําใหเกดิ การปรับตัวและสภาพแวดลอมท่ีดีขึ้น 4. การคิดทําใหมนุษยเกิดความพยายามใหถึงจุดหมายที่ตองการอันเปนสิ่งแสดงถึง ความเจรญิ ของมนุษย และเปนส่ิงสําคญั ในการดาํ รงชีวติ ประจาํ วัน พิอาเจท (Piaget, อางถึงใน กมลรัตน หลาสุวงษ 2528 : 48) กลาววาการคิด คือ ความสามารถในการวางแผนและปรับตัวใหเขากับส่ิงแวดลอม ความสามารถดังกลาวจะพัฒนาจาก ความคดิ ความเขา ใจในระดบั งายๆ ในวัยเด็กไปสรู ะดบั ท่ีซับซอนในวยั ผใู หญ เยาวพา เดชะคุปต (2528 : 27) การคิด คือ กระบวนการรับรูและเขาใจส่ิงแวดลอมของ เด็กโดยใชส่ิงที่เขารูตอบสนองหรือมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมโดยกําหนดเกี่ยวกับพฤติกรรม

30 การคิดที่ควรฝกฝนใหกับเด็กมี 7 ประการ คือ ความตั้งใจ การรับรู ความจํา ความคิดรวบยอด ภาษา ทา ทางและการแกป ญหา สมเจตน ไวยาวัจกรณ (2530 : 13) ใหความหมายของการคิดไววา การคิดเปนทั้ง กระบวนการและผลผลิตซึ่งมีลักษณะท่ีตอเน่ืองกัน แยกออกจากกันโดยเด็ดขาดไมได แตอาจ นํามาใชตางกัน คือ ในกรณีท่ีกลาวถึงกระบวนการก็จะใชวิธีการคิดหรือทักษะการคิดมาอธิบาย สวนในกรณีของผลผลิตก็จะกลาวถึงคุณภาพของการคิด ซึ่งเปนผลจากการใชวิธีการคิดท้ังใน ลักษณะของกระบวนการ หรือวิธีการคิดท่ีดีเพื่อใหไดผลผลิตของการคิดที่มีคุณภาพ สามารถ นําไปใชในการแกปญหาท้ังในเชิงวิชาการ และไมใชวิชาการตลอดจนสรางคุณลักษณะประจําตัว ใหเปนไปตามจดุ มงุ หมาย จํานง วิบูลยศรี (2536 : 29) ไดใหคําจํากัดความของการคิดไววา หมายถึง กระบวนการ ทํางานของจิตใจมนุษยในขณะท่ีพยายามหาคําตอบหรือทางออกเกี่ยวกับเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง เชน การคดิ เพอื่ ตอบปญ หา หรือแกป ญ หาในชวี ติ ประจาํ วัน ประพันธ สุเสารัจ (2541 : 3) ไดใหความหมายของการคิดวา เปนกลไกของสมองที่ เกดิ ขึ้นเกือบตลอดเวลา ซึ่งเปนไปตามธรรมชาตขิ องมนษุ ย ความคิดเปน ผลท่ีเกิดขน้ึ จากการที่สมอง ถูกรบกวนจากสิง่ แวดลอม สังคมรอบตัว ศรีสุรางค ทีนะกุล (2542 : 8) กลาวถึงการคิดวาเปนกระบวนการท่ีเกิดขึ้นภายในสมอง ซ่ึงมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตมนุษยอยางมาก นักจิตวิทยาเชื่อวามนุษยจะมีความคิดเกิดข้ึน ไดต ลอดเวลา ไมวาจะอยใู นสถานท่ีใดและอริ ยิ าบถใด ซงึ่ อาจจะไดร บั จากสิ่งเราใดเปน พเิ ศษ จากความหมายของการคิดดังกลาว สรุปไดวา การคิดเปนกระบวนการทางสมองท่ี สัมพันธกับกระบวนการทาํ งานของจิตใจมนุษยใ นการแปลความหมายของขอ มูลทีไ่ ดรบั โดยอาศัย ประสบการณเ ดิมและประสบการณใหมเ พ่อื ใหเ กิดความรู ความเขาใจ และสรา งความเขา ใจเกยี่ วกบั สิ่งแวดลอม แสดงออกมาเปนพฤติกรรมในการกระทํา การตัดสินใจ ตลอดจนการแกไขปญหา รวมท้ังเปนพื้นฐานการเรียนรูส่ิงตาง ๆ ดังนั้นการสิ่งเสริมทักษะกระบวนการคิดใหกับผูเรียนเปน สงิ่ ท่ีสาํ คัญเพราะเปนพื้นฐานของการเรียนรู และเปนประสบการณท่ีผูเรียนสามารถนําไปใชในการ แกปญหาในชวี ติ ประจาํ วนั ไดอ ยางมีความสุข

31 ความหมายของทกั ษะการคดิ แกป ญหา ทกั ษะการคิดแกป ญ หา เปนการคิดวิเคราะหที่มีเหตุผล ซ่ึงเราจะพบวาในชีวิตประจําวัน ของเรามีเรื่องท่ีตองแกปญหาอยูตลอดเวลา ต้ังแตปญหางาย ๆ ท่ีแกไขไดโดยเร็วไปจนถึงปญหา ที่ซับซอนท่ีแกไขยากหรือแกไขไมได ฉะน้ันบุคคลควรฝกหัดใชสติปญญา คิดวิเคราะหแกปญหา ซ่ึงจะทาํ ใหส ามารถดํารงชีวิตไดอ ยา งมคี วามสขุ นักการศกึ ษาและนักจิตวิทยาหลายทานไดใหความหมายของทักษะการคิดแกปญหาใน ทศั นะทต่ี า ง ๆ กันดังนี้ ไบเยอร (Beyer 1985 : 137) กลาววา ทักษะการคิดแกปญหาเปนการพิจารณาเลือก ข้ันตอนหรอื วิธกี ารท่ีเหมาะสมกบั สถานการณ หรือเหตุการณใดเหตุการณห นง่ึ ชม ภมู ิภาค (2523 : 98) กลาววา ทกั ษะการคิดแกปญหาเปนส่ิงที่มีความหมายกวางมาก รวมทั้งพฤติกรรมที่ซับซอนในรูปตาง ๆ มากมาย พฤติกรรมในการแกปญหาจะเกิดขึ้นก็ตอเม่ือมี งานหรอื เปาหมายที่จะตอ งใหบรรลุเพ่อื งานน้นั กมลรัตน หลาสุวงษ (2628 : 259) ไดกลาววา ทักษะการคิดแกปญหา หมายถึง การใช ประสบการณเดิมจากการเรียนรูท้ังทางตรงทางออม (มีผูอบรมสั่งสอน) และทางออม (เรียนรูดวย ตนเอง) มาแกป ญ หาใหมท่ปี ระสบ ประณีต ภูโอบ (2532 : 66) กลาววา ทักษะการคิดแกปญหาเปนกระบวนการท่ีตอง อาศัยความรู ความคิด ประสบการณ วิธีการและขั้นตอนในการพิจารณาโครงสรางและสถานการณ ของปญ หา เพ่ือใหบรรลุจดุ หมายทตี่ องการ กุญชรี คาขาย (2540 : 144) กลาววา ทักษะการคิดแกปญหาเปนกระบวนการที่ผูเรียน คนพบการรวมกันของกฎและหลักการท่ีไดเรียนรูไปแลววาสามารถนําไปประยุกตใชเพ่ือแกไข สถานการณท เี่ ปนปญ หา กาเย (Gagne, อางถึงใน เพราพรรณ เปล่ียนภู 2542 : 188) กลาววา ทักษะการคิด แกปญหา คือ ความสามารถขั้นสูงสุดของมนุษย เปนความสามารถในการสรางกฎในระดับสูงท่ี เกิดขึ้นจากการสัมพันธของกฎตั่งแต 2 กฎขึ้นไป ผลลัพธที่เกิดข้ึนจะเปนผลงานใหมท่ีเกิดจากการ มองเห็นความสัมพันธของกฎตา ง ๆ

32 จิต นวนแกว (2543 : 11) กลาววา ทักษะการคิดแกปญหาเปนการพิจารณาข้ันตอน ตางๆ ท่ีนาํ มาใชใ นการแกป ญ หา เพอื่ ใหบรรลุเปาหมายตามท่ตี อ งการ จากความหมายดังกลาวสามารถสรุปไดวา ทักษะการคิดแกปญหา คือ แบบแผนการ กระทําท่ีมีจุดมุงหมาย เพื่อขจัดขอสงสัย ความกังวลใจ หรือยุงยากใจใหหมดไปหรือสําเร็จลงได กอใหเกดิ ความเจริญงอกงามทางปญ ญา ความสาํ คัญของทักษะการคดิ แกปญหา ทักษะการคิดแกปญหาของแตละบุคคลขึ้นอยูกับประสบการณ ความสนใจ ท่ีนําไปใช ใหเ ปนประโยชนต อการแกป ญ หาและดํารงชวี ติ ดงั ท่ี ฉนั ทนา ภาคบงกช (2528 : 51-55) กลาววา ทกั ษะการคดิ แกปญหามีความสําคัญในการ สอน ใหเด็กบรรลุจุดมุงหมายถึงขั้นนําไปใชในชีวิตประจําวันไดน้ันมิใชส่ิงที่งาย ๆโดยท่ัวไปมักมี การฝกฝนทางดานความคิด หรือการอภิปรายโดยใชความคิดระดับสูง ครูจึงมีบทบาทสําคัญใน การเสริมสรางใหผูเรียนหรือเด็กไดมีโอกาสฝกคิดอยูเสมอเพ่ือจะทําใหเด็กมีความสามารถใน การแกป ญหาอยา งมีประสิทธิภาพ อุบลรัตน เพ็งสถิต (2532 : 202) กลาววา ทักษะการคิดแกปญหาเปนเร่ืองที่สําคัญย่ิง สําหรับชีวิตมนุษยเรา บุคคลทุกคนจะตองเผชิญกับส่ิงที่ยุงยากตลอดเวลา มนุษยเราตองพยายาม คลี่คลายปญหาน้ันใหได ฉะนั้นการแกปญหาจะมีลักษณะเฉพาะบุคคล การแกปญหาเดียวกันจึงมี ความแตกตางกันเพราะทุกคนมีประสบการณ การเรียนรู ความสามารถ การนึกคิด วุฒิภาวะท่ี แตกตางกนั จากความสําคัญดังกลาวสรุปไดวา ทักษะการคิดแกปญหามีความสําคัญตอมนุษยเรา เพราะปจจุบันสังคมเกิดการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วซึ่งเกี่ยวของกับปญหาท้ังสิ้น ฉะนั้นการศึกษา จึงเปนกลไกสําคัญในการพัฒนา การสงเสริมการคิดแกปญหาสําหรับเยาวชน โดยเฉพาะอยางย่ิงมี ความสําคัญตอเดก็ ซึ่งจะเติบโตเปนผูใหญใ นอนาคต ประเภทและลกั ษณะของทักษะการคิดแกปญ หา ในการแกปญหาเพื่อใหบรรลุผลสําเร็จตามความตองการนั้น บุคคลตองมี การเปล่ยี นแปลงแบบแผนของพฤตกิ รรมหรอื การกระทําจากการพิจารณาลักษณะ และประเภทของ ทกั ษะการคิดแกปญหาตา ง ๆ ดงั น้ี

33 บุญเลี้ยง พลวุธ (2526 : 23) ไดแบงประเภทของปญหาท่ีเราประสบอยูทุกวันออกเปน 2 ประเภทคือ 1. ปญหาในชีวิตประจําวันเปนปญหาที่คนเราตองพบและตองแกไขอยูเสมอ โดย แตล ะคนจะพบปญหาท่ีแตกตางกันไป บางครั้งก็สามารถแกปญหาได ซึ่งปญหาในชีวิตประจําวันนี้ เกดิ จากความตอ งการที่จะแกไ ขใหห มดส้นิ เปนสว นมาก 2. ปญหาทางสติปญญา เปนปญหาที่เกิดจากความตองการและความอยากรูอยากเห็น ของมนุษยปญหาเหลาน้ีจึงสงเสริมใหคนฉลาดขึ้นเร่ือย ๆ และเปนผลกอใหเกิดความเจริญข้ึน ในหลาย ๆ ดาน เฟรดเดอริคสัน (Frederickson 1984, อางถึงใน ฉันทนา ภาคบงกช 2528 : 25) ไดแบง ประเภทของปญหาออกเปน 2 ประเภทดังน้ี 1. ปญหาซึง่ กาํ หนดชัดเจนหรือปญ หาท่ีมคี วามสมบรู ณ มกั นยิ มใชใ นวิชาคณิตศาสตร หรือวิทยาศาสตร การฝกฝนการแกปญหาประเภทนี้ชวยใหเกิดกระบวนการคิดท่ีฉับไว และ อัตโนมัติ เนนการแกปญหาเฉพาะดาน ครูสามารถพบขอบกพรองและทําการแนะนําชวยเหลือได โดยงายจงึ ใหผ ลรวดเรว็ แตย ากทจี่ ะนําไปสูค วามคดิ ในระดับสงู 2. ปญหาซ่ึงไมกระจายชัดเจนหรือมีความไมสมบูรณในตัวปญหา ซึ่งเปนตัวปญหา ทําใหมีความซับซอน ในการทําใหปญหากระจางข้ึนจะสามารถแกปญหาไดอยางรวดเร็ว ผูเรียน จําเปนตองหาความสัมพันธ และแยกแยะประเด็นของปญหาโดยอาศัยความรูดานการคิดและ ความจําที่เกี่ยวของกับกฎตาง ๆ เหลาน้ี เขามาชวยกอนท่ีจะดําเนินการคิดตามขั้นตอนของ การแกป ญ หา คูทซ (Ktuz 1991 : 93, อางถงึ ใน กรมวิชาการ 2544 : 26) ไดแบงทักษะการคิดแกปญหา ออกเปน 2 ประเภท คือ 1. ทักษะการคิดแกปญหาท่ีพบเห็นท่ัวไปหรือโจทยปญหา (Routine or Word Solving) ปญหาที่พบเห็นโดยท่ัวไป หรือปญหาที่นักเรียนคุนเคย (Routine Problem) เปนปญหาที่มี โครงสรา งไมซบั ซอ น ผูแกป ญหามคี วามคนุ เคยกับโครงสราง ลกั ษณะและวธิ กี ารแกไขปญหา 2. ทักษะการคิดแกปญหาท่ีไมเคยพบเห็นมากอน (Non-Routine Problem Solving) เปนปญหาที่ไมเคยพบเห็นมากอน (Non-Routine Problem) เปนปญหาที่มีโครงสรางซับซอน ผู แกป ญหาจะตอ งประมวลความรูความคดิ รวบยอดและหลักการตาง ๆ ที่นํามาใชในการแกไขปญหา ซง่ึ แบง ออกเปน 2 ลักษณะคอื

34 2.1 ปญหากระบวนการ (Process Problem) เปนปญหาท่ีตองใชกระบวนการคิด อยา งมลี ําดับขนั้ ตอนในการแกไ ขปญ หา 2.2 ปญ หาในรูปปริศนา (Puzzle Problem) เปน ปญหาทีท่ า ทายใหความสนกุ สนาน สุวิทย มูลคาํ (2547 : 24) ไดจ ัดลักษณะของทกั ษะการคดิ แกป ญหา ดงั น้ี 1. การคิดแกปญหา ตองเปนการกระทําท่ีมีจุดมุงหมาย การกระทําที่ขาดจุดมุงหมาย ไมนบั วาเปน การแกป ญหา 2. การคิดแกปญหามีหลากหลายวิธี ผูแกปญหาจะตองเลือกวิธีการที่มีความเหมาะสม กับความตองการและความสามารถของตน 3. วิธีการคิดแกปญหาแตละปญหาอาจจะใชวิธีการที่แตกตางกันจะข้ึนอยูกับความ เหมาะสมของ ปจจยั หรอื บรบิ ททเี่ กี่ยวของกบั การแกปญหา 4. การคิดแกปญหาตองอาศัยความรูแจงเห็นจริง คือ ในการแกปญหาแตละครั้งนั้น จะตอ งศึกษาปญหาใหเขาใจถองแทเสยี กอนจึงจะสามารถแกไขปญ หาได 5. การคิดแกปญ หาเปนการสรางสรรค คือ เม่ือแกปญหาน้ันไดสําเร็จจะตองไดความรู ใหมเกิดขนึ้ และผูแ กตอ งมีปญ ญางอกงามข้นึ 6. ปญหาท่ีนํามาแกตองไมเปนกิจกรรมที่เกิดข้ึนอยูเปนประจํา เพราะกิจกรรมที่เกิด ข้ึนอยูเปนประจาํ ไมถ อื วา เปนปญหา 7. กระบวนการทที่ ําไปโดยไมมีแบบแผน 8. กิจกรรมทีน่ ํามาใชใ นการแกปญหาเดมิ ไมได ไมถือวา เปน กระบวนการแกป ญหา 9. กิจกรรมทท่ี ําไปเพือ่ หลีกเล่ียงปญ หา ไมถ อื วา เปน กระบวนการแกป ญ หา 10. การคดิ แกป ญหายอมประกอบดวยการวพิ ากษ วจิ ารณ วิเคราะหและสงั เคราะห จากทกี่ ลาวมาจะเหน็ ไดว า ลกั ษณะของปญหาจะเปน ปญ หาทพ่ี บเห็นท่วั ไปและปญ หาที่ ไมเ คยพบมากอ น โดยปญ หาทพี่ บในชีวิตประจําวันนั้นตอ งใชส ติปญญาในการคิดแกป ญหา ฉะน้ัน ผูท่ีจะคิดแกปญหาไดจะตองรูจักปญหา เขาใจปญหาที่เกิดข้ึน แลวจึงคิดหาวิธีแกปญหานั้น ครูจึง เปนผูมีความสําคัญในการพิจารณาขอจํากัดในเรื่องตาง ๆ เพ่ือจะไดจัดประสบการณหรือ สถานการณ เพ่อื สงเสริมความสามารถในการแกป ญ หาไดอ ยางเหมาะสม องคป ระกอบที่มอี ิทธิพลตอการคดิ แกปญหา การคิดแกปญหาจะสําเร็จไดตามเปาหมายท่ีวางไวมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับ องคประกอบตาง ๆ ซ่ึงนักการศึกษาหลายทานไดกลาวไวดงั นี้

35 กมลรัตน หลาสุวรรณ (2528 : 259-260) กลาววา การคิดแกปญหาแตละครั้งจะสําเร็จ หรอื ไมข นึ้ อยูก ับองคประกอบดงั ตอ ไปน้ี 1. ระดับความสามารถเชาวปญญา ผูเรียนท่ีมีระดับเชาวปญญาสูงยอมสามารถ แกปญ หาไดดกี วาผเู รยี นทมี่ รี ะดบั เชาวปญ ญาตาํ่ 2. การเรียนรูหากผูเรียนเกิดการเรียนรูไดเร็วและเขาใจหลักการเม่ือประสบปญหาท่ี คลา ยคลงึ กนั กจ็ ะสามารถแกปญ หาน้นั ๆ ไดอยา งถกู ตอ ง 3. การรูจักการคิดแบบเปนเหตุเปนผลโดยตองอาศัยขอเท็จจริงและความรูจาก ประสบการณเดิม จุดมุงหมายในการคิดและแกไขปญหา จุดมุงหมายในการคิดและแกปญหา ตลอดจนระยะเวลาในการไตรตรองหาเหตผุ ลท่ีดีท่สี ุด อุบลรัตน เพ็งสถิตย (2532 : 208) กลาววา องคประกอบท่ีมีอิทธิพลตอทักษะการคิด แกปญหาสามารถจําแนกได ดังนี้ 1. ตัวผูเรียน ระดับสติปญญา เพศของผูเรียน แรงจูงใจและบุคลิกภาพ ซ่ึงมี ความสําคัญตอการพัฒนาการทางความคิดของมนุษยมากท่ีสุด ก็ทําใหความสามารถใน การแกปญ หาของบุคคลมคี วามแตกตา งกัน 2. สถานการณท่ีเปนปญหาที่นาสนใจจะทําใหผูเรียนเกิดแรงจูงใจท่ีจะเรียนรูและ แกปญหา เชน จํานวนตัวเลือกในการแกปญหา การแนะนํา การลําดับขั้น และความคลายคลึงของ ปญ หาและคําตอบ 3. การคิดแกปญหาเปนกลุม จะชวยใหการแกปญหาประสบผลสําเร็จไดอยางรวดเร็ว เพราะมีการทํางานหลายคน สามารถปรึกษาหารือและคล่ีคลายปญหา ทําใหผูเรียนบรรลุเปาหมาย ในการเรยี นอยางรวดเรว็ และชวยกระตนุ ใหผเู รยี นอยากแกปญ หา กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ (2544 : 38) กลาววา องคประกอบในการคิด แกป ญหา มีดังน้ี 1. ประสบการณของผูเรียน 2. จิตพิสยั ในดา นความสนใจ ความตง้ั ใจ เปน ตน 3. สตปิ ญญาความสามารถในการอา น การจาํ ความสามารถในการใชเ หตุผล เปนตน จากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวาความสามารถในการแกปญหาของเด็กจะประสบ ความสําเร็จหรือไมนั้นครูจะตองคํานึงถึงองคประกอบสําคัญ ดังนี้ ตัวผูเรียน สถานการณ ระดับ สติปญญา การใชเหตุผล การสงเสริมใหทํางานเปนกลุม เพื่อใหเด็กพัฒนาความคิดนําไปสูการ แกปญหาได เพราะการคิดแกปญหานั้นข้ึนอยูกับประสบการณเดิม ระดับเชาวปญญาและความ

36 แตกตางระหวางบุคคล ตลอดจนการนําไปใชอยางถูกตองและรวดเร็ว ก็จะชวยสงเสริมใหเด็ก พฒั นาความสามารถในการแกป ญ หาไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ การสอนเพ่ือพัฒนาทกั ษะการคดิ แกป ญหา นักวิชาการหลายทานไดกลาวถึงขั้นตอนในการสอนเพ่ือพัฒนาทักษะการแกปญหาไว ดงั น้ี พรรณี ชูทัย (2522 : 219-220) ไดเสนอวิธีการสอนเพ่ือกอใหเกิดความสามารถใน การคดิ แกป ญ หาไวด งั น้ี 1. ขั้นแรกสอนความรู ความคิดรวบยอดและหลักการ ซ่ึงถือวาเปนพ้ืนฐานท่ีสําคัญ สําหรบั แสวงหาความรูตอ ไป 2. สอนเทคนิคในการคิดแกป ญ หา ดังน้ี 1) ข้นั เตรยี ม ครเู ปนผเู สนอปญหา หรือกระตุนใหนกั เรยี นต้งั ปญ หาดวยตนเอง 2) ขั้นสํารวจ ครูตองกระตุน และชวยใหนักเรียนหาขอมูลซึ่งเกี่ยวของกับปญหา ครูอาจชว ยไดดวยการสอนใหใชหนงั สืออางอิง การใชห อ งสมุด หรอื การใชคําถาม 3) ข้ันของการคิดแกปญหาใหนักเรียนเขียนวิธีที่ตนเองคิดวาจะแกปญหาได ซึ่ง บางคร้ังอาจไมตองการการทดสอบก็ใหเด็กหยุดอยูเพยี งขน้ั น้นั แตถาตองการการทดสอบเพ่ือยืนยัน ผลก็ใหปฏบิ ัติขนั้ ตอไป 4) ข้ันทดสอบ ใหน ักเรยี นทดสอบตามขั้นตอนที่กําหนดไว ลัดดา กิตติภาค (2526 : 195-200) ไดอธิบายการสอนการคิดแกปญหาโดยใชวิธีการ กลมุ ในการคิดแกปญหา ตามข้ันตอนวธิ ีสอนดังนี้ 1. ขัน้ ทําความเขาใจกับปญ หา หรือกําหนดปญหา เปนขั้นแรกของการสอน โดยเร่ิมจากครูเสนอปญหาใหกลุมทราบ ใหสมาชิกกลุม ชวยกันตีความหมายใหไดวา ปญ หานัน้ คอื อะไร พยายามทาํ ความเขาใจกับปญ หานน้ั 2. ขน้ั รวบรวมขอ มลู ในขั้นนี้สมาชิกในกลุมพยายามท่ีจะหากรณีตัวอยางหรือเหตุการณตาง ๆ ที่จะชวย สนบั สนนุ หรือทาํ ใหปญ หานนั้ ชัดเจนขนึ้ 3. ขัน้ วจิ ยั และวิเคราะหสาเหตุ ในข้ันนส้ี มาชกิ ในกลุมพิจารณาสาเหตุทีน่ า จะเปน ตวั กอ ใหเ กิดปญหาน้นั 4. ขั้นระดมความคิด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook