Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรํฐศาสตร์ (รภ อุดร)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรํฐศาสตร์ (รภ อุดร)

Published by ronmvsk90, 2021-05-15 04:10:26

Description: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรํฐศาสตร์ (รภ อุดร)

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน วิชา ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั รัฐศาสตร์ (PA 51105) (Introduction to Political Science) ชลาทพิ ย์ ชยั โคตร ศศ.ม. (รฐั ศาสตร)์ ศนู ย์การศึกษาบงึ กาฬ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี 2560



คำนำ เอกสารประกอบการสอนรายวิชา PA 51105 ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์ เป็นรายวิชาเอก บังคับ สาหรับนักศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี เล่ม นี้ได้แบ่งเน้ือหาการเรียนการสอนไว้ 9 บทเรียน ซ่ึงประกอบด้วย ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับวิชารัฐศาสตร์ รัฐ และทฤษฎีกาเนิดรัฐ อานาจอธิปไตย แนวความคิดทางการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันทาง การเมือง กระบวนการทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เอกสารประกอบการสอนนี้จัดทาข้ึนเพื่อเป็นเอกสารการเรียนหลกั มงุ่ เน้นใหผ้ ู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ ในเน้อื หาวชิ าความรู้เบื้องตน้ เกี่ยวกับรัฐศาสตร์ จนถึงการนาความรู้ไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างย่ิง เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ แก่ผู้เรียน และ ผู้สนใจในศาสตร์ทางด้านรัฐศาสตร์ ตลอดจนเกิดความรู้ความเข้าใจของประชาชนที่มีส่วนร่วมกับ กระบวนการทางการเมืองในชีวิตประจาวัน และขอขอบคุณงานเขียนทุกท่านท่ีถูกอ้างอิงในเอกสาร ประกอบการสอนเลม่ น้ี หากทา่ นที่นาไปใชม้ ีข้อเสนอแนะผู้เรยี บเรียงขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ีด้วย ชลาทพิ ย์ ชัยโคตร มกราคม 2560



สารบัญ หนา้ คานา (1) สารบญั (3) สารบัญตาราง (9) สารบัญภาพ (11) แผนบรหิ ารการสอนประจาวิชา (13) แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 1 บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกย่ี วกบั วชิ ารฐั ศาสตร์ 1 3 1.1 ความหมายของวิชารัฐศาสตร์ 3 1.2 ขอบขา่ ยของวชิ ารฐั ศาสตร์ 5 1.3 สาขาวชิ ารัฐศาสตร์ 7 1.4 วิธีการศกึ ษารฐั ศาสตร์ 9 1.5 ความสมั พันธ์ของวชิ ารัฐศาสตร์กับสาขาวิชาอนื่ 12 1.6 บทสรุป 15 1.7 คาถามทา้ ยบท 16 1.8 เอกสารอา้ งอิง 17 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 2 บทท่ี 2 รฐั และทฤษฎีกาเนดิ รฐั 19 2.1 ความหมายของรฐั 21 2.2 องค์ประกอบของรฐั 21 2.3 แนวคดิ ทฤษฎกี ารกาเนดิ รัฐ 22 2.4 พัฒนาการของรัฐ 24 2.5 การรบั รองรฐั 27 2.6 ความเป็นรัฐชาติ 29 2.7 พัฒนาการสคู่ วามเปน็ รฐั สมัยใหม่ 30 2.8 รูปแบบของรฐั 31 2.9 บทสรุป 32 2.10 คาถามทา้ ยบท 33 2.11 เอกสารอ้างองิ 34 35

(4) หนา้ สารบัญ (ตอ่ ) 37 39 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 3 39 บทท่ี 3 อานาจอธิปไตย 40 41 3.1 ความหมายของอานาจอธปิ ไตย 43 3.2 วิวฒั นาการของแนวความคดิ อานาจอธปิ ไตย 45 3.3 ลกั ษณะของอานาจอธปิ ไตย 47 3.4 ประเภทของอานาจอธิปไตย 49 3.5 เจา้ ของอานาจอธปิ ไตย 51 3.6 การแสดงออกซ่งึ อานาจอธปิ ไตยของประชาชน 52 3.7 ขอบเขตของอานาจอธิปไตย 53 3.8 บทสรปุ 3.9 คาถามท้ายบท 55 3.10 เอกสารอา้ งอิง 57 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 4 57 บทที่ 4 แนวความคดิ ทางการเมือง 64 4.1 แนวความคดิ ทางการเมืองในยุคกรกี 65 4.2 แนวความคดิ ทางการเมอื งในยุคโรมัน 67 4.3 แนวความคิดทางการเมืองในยุคกลาง 70 4.4 แนวความคิดทางการเมืองในยุคฟ้นื ฟู 75 4.5 แนวความคิดทางการเมืองในยุคสมยั ใหม่ 79 4.6 แนวความคิดทางการเมอื งยุคสมยั ใหม่ 81 4.7 ยุคแหง่ ความรุ่งโรจน์ 83 4.8 ปฏิวตั อิ ุตสาหกรรม 85 4.9 บทสรปุ 86 4.10 คาถามทา้ ยบท 4.11 เอกสารอ้างอิง

สารบญั (ต่อ) (5) แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 5 หนา้ บทที่ 5 อดุ มการณ์ทางการเมือง 87 5.1 ความหมายของอุดมการณ์ทางการเมอื ง 89 5.2 ประโยชนข์ องอดุ มการณ์ทางการเมอื ง 89 5.3 ประเภทของอุดมการณ์ทางการเมือง 90 5.4 อุดมการณท์ างการเมอื งทสี่ าคญั 92 94 5.4.1 อดุ มการณอ์ รฐั นิยม 94 5.4.2 อดุ มการณ์สังคมนิยม 97 5.4.3 อุดมการณค์ อมมวิ นิสต์ 100 5.4.4 อุดมการณป์ ระชาธิปไตย 104 5.4.5 อุดมการณ์ฟาสซิสม์ 109 5.5 บทสรปุ 112 5.6 คาถามทา้ ยบท 113 5.7 เอกสารอ้างอิง 114 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 6 บทท่ี 6 สถาบันทางการเมอื ง 117 6.1 รฐั ธรรมนูญ 119 6.2 สถาบันฝ่ายนติ บิ ัญญตั ิ 119 6.3 สถาบนั ฝ่ายบริหาร 128 6.4 สถาบนั ฝ่ายตลุ าการ 136 6.5 กฎหมาย 141 6.5.1 ความหมายของกฎหมายในทางรฐั ศาสตร์ 145 6.5.2 ประเภทของกฎหมาย 145 6.5.3 ท่ีมาของกฎหมาย 146 6.5.4 กฎหมายกับศีลธรรม 149 6.6 บทสรปุ 151 6.7 คาถามท้ายบท 152 6.8 เอกสารอ้างองิ 154 155

(6) หนา้ สารบญั (ต่อ) 157 159 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 7 159 บทท่ี 7 กระบวนการทางการเมอื ง 164 171 7.1 พรรคการเมอื ง 175 7.2 การเลอื กตงั้ 179 7.3 กลมุ่ ผลประโยชน์ 181 7.4 ระบบราชการ 183 7.5 สอ่ื มวลชน 184 7.6 บทสรุป 7.7 คาถามท้ายบท 185 7.8 เอกสารอ้างองิ 187 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 8 187 บทท่ี 8 ความสมั พันธ์ระหว่างรฐั กบั ประชาชน 189 8.1 จุดมุ่งหมายของรัฐ 190 8.2 หน้าทข่ี องรัฐทีด่ ี 191 8.3 ความเป็นพลเมือง 193 8.4 สภาพของสทิ ธิและความหมายของเสรีภาพ 201 8.5 แนวความคดิ เกี่ยวกับสิทธเิ สรีภาพของพลเมอื ง 202 8.6 บทสรุป 203 8.7 คาถามท้ายบท 8.8 เอกสารอ้างอิง 205 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 9 207 บทท่ี 9 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งประเทศ 207 9.1 ความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 208 9.2 ขอบเขตการศกึ ษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศ 209 9.3 จดุ ม่งุ หมายในการศกึ ษาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ 210 9.4 ความสาคญั ของการศึกษาความสัมพันธร์ ะหวา่ งประเทศ 210 9.5 เคร่ืองมอื ในการวิเคราะห์ความสัมพนั ธร์ ะหว่างประเทศ 213 9.6 ตัวแสดงในความสัมพันธร์ ะหวา่ ง 213 9.7 ผลประโยชน์ของชาติ

สารบัญ (ต่อ) (7) บทท่ี 9 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ (ตอ่ ) หนา้ 9.8 ปัจจัยกาหนดผลประโยชน์ของชาติ 9.9 ความสามารถของชาติ 215 9.10 ดุลแห่งอานาจ 220 9.11 องคก์ ารระหว่างประเทศ 224 9.12 บทบาทขององคก์ ารระหวา่ งประเทศทางด้านการเมอื ง 226 9.13 บรรษทั ข้ามชาติ (Multi National Corporations - MNCs) 232 9.14 บทสรุป 235 9.15 คาถามท้ายบท 238 9.16 เอกสารอ้างองิ 240 241 บรรณานกุ รม ภาคผนวก 243 ประวัติผ้สู อน 247 249

(8)

สารบญั ตาราง (9) ตารางท่ี 1 ตารางการเสนอรูปแบบระบบการเมือง 6 ประเภทของอริสโตเติล หน้า 63

(10)

สารบญั ภาพ (11) ภาพที่ 1 นายกประยุทธ์พบประธานาธิบดีทรมั ป์ทท่ี าเนียบขาว หนา้ ภาพท่ี 2 พลังสังคมในทางการเมือง 8 ภาพที่ 3 กาเนดิ รัฐชาติ 11 ภาพที่ 4 พระเจา้ สร้างรัฐ 24 ภาพท่ี 5 นครรัฐกรกี -โรมัน 25 ภาพท่ี 6 รัฐชาติ 28 ภาพท่ี 7 รปู แบบของรัฐเดยี่ วประเทศตา่ ง ๆ 30 ภาพที่ 8 อานาจอธิปไตยเปน็ ของประชาชน 32 ภาพที่ 9 อานาจอธปิ ไตยทางกฎหมาย 43 ภาพท่ี 10 นกั ปรัชญาเพลโต : Plato 50 ภาพท่ี 11 นกั ปรัชญาอริสโตเติล : Aristotle 59 ภาพท่ี 12 นักปรชั ญาซเิ ซโร : Cicero 62 ภาพท่ี 13 นักปรัชญาเซนต์ ออกสั ตนิ : Augustine (Of hippo),Saint 66 ภาพท่ี 14 นกั ปรัชญาเซนต์ โทมสั อะไควนสั St. Thomas Aquinas 68 ภาพท่ี 15 นักปรชั ญาแมคเคียวเวลลี, นิคโคโล : Niccolo Machiavelli 69 ภาพที่ 16 นักปรัชญามารต์ ิน ลูเธอร์ : Martin Luther 71 ภาพที่ 17 นกั ปรชั ญาจัง โบแดง : Jean Bodin 73 ภาพที่ 18 นกั ปรชั ญาโทมัส ฮอบส์ : Thomas Hobbes 74 ภาพท่ี 19 นักปรัชญาจอห์น ลอ๊ ค : John Locke 76 ภาพที่ 20 นกั ปรชั ญามองเตสกเิ ออ : Montesquieu 77 ภาพที่ 21 นักปรัชญายัง ยาคส์ รสุ โซ : Jean – Jacques Rousseau 79 ภาพท่ี 22 นกั ปรชั ญาอิมนานูเอล คานท์ : Immanuel 80 ภาพท่ี 23 ความเปน็ พลเมอื งตามวถิ ีประชาธปิ ไตย 82 191



(13) แผนบริหารการสอน รายวิชา ความรู้เบื้องตน้ เกยี่ วกบั รัฐศาสตร์ (Introduction to Political Science) รหัสวิชา PA51105 จานวน 3 หนว่ ยกิต 3(3-0-6) 3 ชั่วโมง อาจารยช์ ลาทพิ ย์ ชยั โคตร คาอธิบายรายวิชา ศึกษาถึงธรรมชาตแิ ละวิธีการทางรฐั ศาสตรค์ วามสัมพันธ์ระหว่างวิชารัฐศาสตร์กับศาสตร์สาขาวิชา แนวคดิ ทฤษฎีทางรัฐศาสตร์ หลักการเกี่ยวกับอานาจ การใช้อานาจ ความสัมพันธ์ระหว่างรฐั กับประชาชน สถาบันทางการเมือง พลังทางการเมอื ง กระบวนการทางการเมอื ง ความสมั พันธ์ระหวา่ งประเทศ จดุ ม่งุ หมายของรายวิชา เม่ือนกั ศึกษาเรียนรายวิชาน้ีแล้ว นักศึกษาจะเกิดการเรียนร/ู้ ความสามารถ/สมรรถนะท่ีต้องการใน ดา้ นต่างๆ 1. เพือ่ ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจในความหมายความรู้เบ้ืองต้นเก่ยี วกับรัฐศาสตร์ และ รัฐ 2. เพอ่ื ให้มคี วามรู้ ความเข้าใจในรฐั ศาสตรก์ บั ศาสตร์สาขาวิชาและแนวคิดทฤษฎีทางรัฐศาสตร์ได้ 3. เพ่อื ใหม้ คี วามเข้าใจเกี่ยวกับอานาจอธิปไตย และอานาจทางการเมืองได้ 4. เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวความคิดของนักปรัชญาทางการเมือง และอุดมการณ์ทาง การเมอื งได้ 5. เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสถาบันทางการเมือง อาทิเช่น พระมหากษัตริย์ รัฐธรรมนูญ สถาบนั นติ บิ ัญญัติ บรหิ าร ตลุ าการ อื่นๆ ทีส่ าคญั เปน็ ต้น 6. เพอื่ ใหเ้ กิดการเรียนรูเ้ ก่ียวกบั การมสี ่วนรว่ มทางการเมืองและนาไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตประจาวนั 7. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจกับตัวแสดงสาคัญในเวทีความสัมพันธ์ระหวา่ งเทศทเี่ ปน็ ปัจจัยสาคัญ ในการเชอ่ื มองค์การระหวา่ งประเทศกับประเทศเพื่อนบ้านไดเ้ ปน็ อย่างดี 8. เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา ต่างๆ เก่ียวกับรัฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง และเรียนรู้ที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่างๆ กับการมีส่วนร่วมทางการเมืองที่เป็น พลังความขบั เคล่ือนทางการเมือง ของประชาชนเป็นอยา่ งดี

(14) แผนบรหิ ารการสอน วิชาความร้เู บ้อื งตน้ เกี่ยวกับรัฐศาสตร์ สปั ดาห์ หัวขอ้ /รายละเอียด จานวน กจิ กรรมการเรยี นการสอน ท่ี ชั่วโมง และสอ่ื ทีใ่ ช้ 1. แนะนาเน้ือหาวชิ าและวธิ ี 3 บรรยาย ( 1 ชว่ั โมง) การศกึ ษา บทที่ 1 ความรู้ท่ัวไปเกยี่ วกับวิชา - อธิบาย Course Outline รายละเอียด รฐั ศาสตร์ วิชา เน้ือหา เกณฑก์ ารให้คะแนน กฎกตกิ า 1. ความหมายของวิชารัฐศาสตร์ ในการเรียน กจิ กรรมท่ีต้องทา - บรรยายเนือ้ หา และศกึ ษาจากเอกสาร 2. ขอบข่ายของวชิ ารฐั ศาสตร์ หลัก กิจกรรม (2 ชั่วโมง) 3. สาขาวิชารัฐศาสตร์ - แบง่ กลมุ่ ตอบคาถามก่อนเรียน 4. วธิ กี ารศกึ ษารฐั ศาสตร์ - แบง่ กลมุ่ อภิปรายและทา.ใบงาน 5.ความสัมพนั ธ์ของวิชา - อาจารย์สรุปขอ้ คาถามจากการทากิจกรรม รฐั ศาสตรก์ บั สาขาวิชาอื่น - ทาคาถามทา้ ยบทที่ 1 6. บทสรุป 7. คาถามทา้ ยบท 8. เอกสารอ้างอิง 2. บทท่ี 2 รฐั และทฤษฎีกาเนดิ รฐั 3 บรรยาย ( 1 ชั่วโมง) 1.ความหมายของรฐั - บรรยาย 2. องค์ประกอบของรฐั - ศกึ ษาจากเอกสารหลกั 3. แนวคดิ ทฤษฎีการกาเนดิ รัฐ กิจกรรม (2 ชัว่ โมง) 4. พฒั นาการของรัฐ - ดูวดี ที ศั นเ์ ร่ืองการกาเนดิ รฐั 5. การรับรองรฐั - อาจารย์สรุปเนอ้ื หาสาคญั และทาใบงาน - พรอ้ มทาคาถามทา้ ยบทท่ี 2 3. บทท่ี 2 รัฐและทฤษฎีกาเนดิ รัฐ 3 บรรยาย ( 1 ชั่วโมง) (ตอ่ ) - บรรยาย 6.ความเป็นรฐั ชาติ - ศกึ ษาจากเอกสารหลัก 7.พฒั นาการสคู่ วามเปน็ รฐั สมยั ใหม่ กิจกรรม (2 ชว่ั โมง) 8.รูปแบบของรฐั - แบ่งกลุม่ วเิ คราะหป์ ระเดน็ หวั ขอ้ 9.บทสรปุ พัฒนาการสู่ความเป็นรัฐสมยั ใหม่ 10. คาถามท้ายบท -นาเสนอรายงานหนา้ ชัน้ เรยี น สรปุ และ 11. เอกสารอ้างองิ อภิปรายผลร่วมกันจากประเด็นหัวข้อ - อาจารย์สรุปเนื้อหาสาคญั และทาใบงาน

(15) สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรยี นการสอน ท่ี ช่ัวโมง และสอ่ื ที่ใช้ 4. บทท่ี 3 อานาจอธปิ ไตย - ทาคาถามทา้ ยบทท่ี 2 1. ความหมายของอานาจ 3 บรรยาย ( 1 ชัว่ โมง) อธปิ ไตย 2. ววิ ฒั นาการของแนวความคดิ - บรรยาย อานาจอธิปไตย 3. ลักษณะของอานาจอธิปไตย - ศึกษาจากเอกสารหลกั 4. ประเภทของอานาจอธปิ ไตย 5. เจ้าของอานาจอธิปไตย กิจกรรม (2 ชว่ั โมง) 6. การแสดงออกซึง่ อานาจ อธิปไตยของประชาชน - แบ่งกลุม่ อภปิ รายและวเิ คราะห์ประเด็น 7. ขอบเขตของอานาจอธิปไตย 8. บทสรุป หวั ขอ้ “การแสดงออกซงึ่ อานาจอธปิ ไตย 9. คาถามท้ายบท 10. เอกสารอ้างองิ ของประชาชน” - อาจารยส์ รุปเนื้อหาสาคัญ และทาใบงาน - ทาคาถามทา้ ยบทที่ 3 5. บทที่4 แนวความคิดทาง 3 บรรยาย ( 1 ชัว่ โมง) การเมอื ง - บรรยาย 1. แนวความคดิ ทางการเมืองใน - ศกึ ษาจากเอกสารหลัก ยุคกรกี 2.แนวความคิดทางการเมืองใน 3 กจิ กรรม (3 ชั่วโมง) ยคุ โรมัน - แบ่งกลุม่ วเิ คราะหเ์ กี่ยวกับแนวความคิด 3.แนวความคิดทางการเมืองใน ของนกั ปรชั ญาทมี่ ตี อ่ การเมืองในแต่ล่ะยุค - อาจารย์สรุปเน้อื หาสาคญั และทาใบงาน ยุคกลาง - ทาคาถามทา้ ยบทท่ี 4 4. แนวความคิดทางการเมอื งใน ยคุ ฟ้ืนฟู 5. แนวความคิดทางการเมอื งใน ยคุ สมยั ใหม่ 6. แนวความคิดทางการเมอื งใน ยุคแหง่ ความรุ่งโรจน์

(16) สปั ดาห์ หัวข้อ/รายละเอยี ด จานวน กิจกรรมการเรยี นการสอน ท่ี ชวั่ โมง และสื่อที่ใช้ 7. ปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรม 8. บทสรปุ 9. คาถามท้ายบท 10. เอกสารอา้ งองิ 6. บทที่ 5 อุดมการณ์ทางการเมอื ง 3 บรรยาย ( 1 ชัว่ โมง) 1. ความหมายของอุดมการณ์ - บรรยาย ทางการเมอื ง 2. ประโยชนข์ องอดุ มการณ์ทาง - ศึกษาจากเอกสารหลัก กจิ กรรม (2 ชว่ั โมง) การเมือง -ดูวดี ีทัศน์เร่ือง”อดุ มการณท์ างการ 3. ประเภทของอุดมการณท์ าง เมอื งไทย” การเมือง -ตอบคาถามจากการดวู ีดีทัศน์ และทาใบงาน 7. บทท่ี 5 อุดมการณท์ างการเมือง 3 บรรยาย ( 1 ชั่วโมง) (ตอ่ ) - บรรยาย 4. อดุ มการณท์ างการเมืองท่ี สาคญั - ศึกษาจากเอกสารหลกั 4.1 อดุ มการณอ์ รฐั นิยม กจิ กรรม (2 ชัว่ โมง) 4.2 อดุ มการณ์สังคมนยิ ม - แบง่ กลมุ่ ศกึ ษาพร้อมการเปรยี บเทียบเรื่อง 4.3 อุดมการณ์คอมมวิ นิสต์ 4.4อดุ มการณป์ ระชาธิปไตย “อดุ มการณท์ างการเมอื งท่สี าคัญ” 4.5อดุ มการณ์ฟาสซสิ ม์ 5. บทสรปุ นาเสนอรายงานหนา้ ชัน้ สรปุ อภปิ รายผล 6. คาถามท้ายบท 7. เอกสารอ้างองิ ร่วมกนั สง่ิ ท่ไี ดจ้ ากการศึกษา - ทาคาถามทา้ ยบทท่ี 5 8. ทดสอบยอ่ ยคร้งั ท่ี 1(กลางภาค) 3 ทดสอบคร้งั ท่ี 1 บทท่ี 1-5

(17) สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรยี นการสอน ท่ี ช่วั โมง และส่อื ท่ีใช้ 9. บทท่ี 6 สถาบนั ทางการเมือง 3 บรรยาย ( 1 ชว่ั โมง) 1. รฐั ธรรมนญู 2. สถาบันฝ่ายนติ ิบัญญตั ิ - บรรยาย 3.สถาบันฝ่ายบริหาร - ศกึ ษาจากเอกสารหลกั 4.สถาบนั ฝ่ายตุลาการ กจิ กรรม (2 ชัว่ โมง) -ดวู ดี ที ศั น์เร่อื ง สถาบนั ทางการเมอื งไทย -ร่วมกนั อภิปรายตอบคาถามจากการดู วีดีทศั น์ และทาใบงาน 10. บทท่ี 6 สถาบนั ทางการเมอื ง (ตอ่ ) 3 บรรยาย ( 1 ชัว่ โมง) 5. กฎหมาย - บรรยาย 5.1 ความหมายของ - ศึกษาจากเอกสารหลกั กจิ กรรม (2 ชวั่ โมง) กฎหมายในทางรัฐศาสตร์ - แบง่ กลุ่มทากิจกรรมการสอนแบบ Jigsaw 5.2 ประเภทของกฎหมาย โดยใช้การแบ่งหวั ข้อทก่ี าหนด เรือ่ ง 5.3 ทม่ี าของกฎหมาย กฎหมายในทางรฐั ศาสตร์กับประชาชนในรัฐ 5.4 กฎหมายกับศลี ธรรม - อาจารย์สรุปเนอื้ หาสาคัญ และทาใบงาน - ทาคาถามทา้ ยบทท่ี 6 6. บทสรปุ 7. คาถามท้ายบท 8. เอกสารอ้างอิง 11. บทที่ 7 กระบวนการทางการเมอื ง 3 บรรยาย ( 1 ชั่วโมง) 1. พรรคการเมือง - บรรยาย 2.การเลือกต้งั 3.กล่มุ ผลประโยชน์ - ศกึ ษาจากเอกสารหลัก 4.ระบบราชการ กจิ กรรม (2 ชั่วโมง) 5.สอ่ื มวลชน - ดวู ดี ีทัศน์เรือ่ ง กระบวนการเลอื กตัง้ 6.บทสรปุ 7.คาถามทา้ ยบท - และ แบง่ กลมุ่ แสดงบทบาทสมมุตกิ ารมสี ว่ น 8.เอกสารอ้างอิง รว่ มทางการเมือง เรอื่ ง การเลอื กต้ัง - - อาจารยส์ รปุ เนือ้ หาสาคญั และ จัดกล่มุ ทา รายงานการแสดงบทบาทสมมุติ เรอื่ งการ เลอื กต้ัง - ทาคาถามท้ายบทที่ 7

(18) สปั ดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียนการสอน ท่ี ชว่ั โมง และส่อื ที่ใช้ 12. บทที่ 8 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรฐั 3 บรรยาย ( 1 ช่วั โมง) กับ ประชาชน 1.จดุ มงุ่ หมายของรัฐ - - บรรยาย 2.หนา้ ทขี่ องรัฐทด่ี ี 3.ความเปน็ พลเมอื ง - - ศกึ ษาจากเอกสารหลัก ก กิจกรรม (2 ช่วั โมง) 4.สภาพของสทิ ธแิ ละ -แบ่งกลุ่มโต้วาทีร่วมกันศกึ ษาหวั ขอ้ “สิทธิ ความหมายของเสรีภาพ ทางการเมืองของพลเมอื งชายและหญงิ เท่า 5.แนวความคดิ เก่ยี วกบั สิทธิ เทียมกันหรอื ไม่”(หรอื ประเดน็ ที่นักศึกษา เสรภี าพของพลเมอื ง สนใจ) 6. สทิ ธทิ างการเมอื งและสิทธิ ทางแพง่ -อาจารย์สรุปเนื้อหาสาคัญและทาใบงาน 7. บทสรปุ -ทาคาถามทา้ ยบทท่ี 8 8. คาถามท้ายบท - 9. เอกสารอ้างอิง 13. บทที่ 9 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง 3 บรรยาย ( 1 ชัว่ โมง) ประเทศ - - บรรยาย 1. ความหมายของความสัมพันธ์ - - ศึกษาจากเอกสารหลกั ก กจิ กรรม (2 ชว่ั โมง) ระหว่างประเทศ -ดวู ีดีทัศน์ เร่อื ง ความสัมพันธ์ระหว่าง 2. ขอบเขตการศกึ ษา ประเทศในเวทโี ลก ความสมั พันธ์ระหวา่ งประเทศ - ตอบคาถามและแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ 3. จุดม่งุ หมายในการศึกษา ร่วมกนั ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ - อาจารย์สรปุ เนอ้ื หาสาคัญ และทาใบงาน 4. ความสาคัญของการศกึ ษา - ทาคาถามทา้ ยบทท่ี 9 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ 5. เครอื่ งมือในการวเิ คราะห์ ความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศ 6. ตัวแสดงในความสมั พันธ์ ระหว่างประเทศ

(19) สัปดาห์ หัวขอ้ /รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียนการสอน ท่ี ชว่ั โมง และสอ่ื ทใี่ ช้ 14. บทท่ี 9 ความสัมพันธ์ระหว่าง 3 บรรยาย ( 1 ชั่วโมง) ประเทศ (ต่อ) - บรรยาย 7. ปจั จยั กาหนดผลประโยชนข์ อง - ศกึ ษาจากเอกสารหลัก ชาติ กิจกรรม (2 ชว่ั โมง) 8. ความสามารถของชาติ ศึกษากรณีศกึ ษา จากข่าว บทความ ท่ี ดุลแห่งอานาจ เก่ยี วกบั “บรรษัทข้ามชาติทเี่ ข้ามาใน 9. องค์การระหว่างประเทศ ประเทศไทยกับการลงทนุ ทางดา้ น 10. บทบาทขององคก์ ารระหว่าง เศรษฐกจิ ” ประเทศทางด้านการเมอื ง -พรอ้ มกบั การวเิ คราะหป์ ัญหา สาเหตุ 11. บรรษัทขา้ มชาติ (Multi ผลกระทบ และแนวทางแก้ไข National Corporations - MNCs) -อาจารยส์ รปุ เน้ือหาสาคัญ และทาใบงาน 12. บทสรปุ 13. คาถามท้ายบท 14. เอกสารอ้างองิ 15. สอบเก็บคะแนนคร้งั ที่ 2 3 สอบเกบ็ คะแนนครั้งที่ 2 (บทที่ 6-9) การสอบปากเปล่า การสอบปากเปล่า (Oral Exam) สอบเปน็ รายบุคคล บทที่ 9 16 สอบปลายภาคเรียน 3 สอื่ การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนหลัก รายวิชา ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์ (Introduc- tion to Political Science)PA51105 จานวน 3 หน่วยกติ 3(3-0-6) 3 ชว่ั โมง เรียบเรยี งโดยอาจารย์ ชลาทพิ ย์ ชยั โคตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี 2. Power Point ประกอบการสอนรายวชิ า รายวิชา ความรู้เบ้ืองต้นเกีย่ วกับรัฐศาสตร์ PA51105 3. วดี ที ัศน์ประกอบการเรยี นการสอน 4. หนังสือพมิ พ์ หรอื สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ต่างๆ

(20) แผนการวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้ สปั ดาหท์ ี่ สดั สว่ นของการ ท่ี วิธีการประเมินผลนักศึกษา ประเมิน ประเมนิ ผล 1 - การทดสอบย่อยคร้ังท่ี 1 (หนว่ ยท่ี 1-5) 10% 8 10% - การทดสอบย่อยคร้งั ที่ 2 (หน่วยท่ี 6-9) 15 40% - สอบปลายภาคเรียน 16 30% 2 - กิจกรรมในช้นั เรียน ตลอดภาค - แบบฝกึ หดั การศึกษา 10% - รายงาน 3 - การเข้าเรยี นและการตรงตอ่ เวลา ตลอดภาค - การแต่งกาย การศึกษา - การมีส่วนรว่ ม อภปิ ราย เสนอความคิดเห็นในช้ันเรียน เกณฑ์ค่าระดับคะแนน ระดบั คะแนน A ได้คะแนนรวมตง้ั แต่ 80 – 100 คะแนน ระดบั คะแนน B+ ไดค้ ะแนนรวมตัง้ แต่ 75 – 79 คะแนน ระดบั คะแนน B ได้คะแนนรวมต้งั แต่ 70 – 74 คะแนน ระดับคะแนน C+ ไดค้ ะแนนรวมตงั้ แต่ 65 – 69 คะแนน ระดับคะแนน C ได้คะแนนรวมต้ังแต่ 60 – 64 คะแนน ระดับคะแนน D+ ไดค้ ะแนนรวมตัง้ แต่ 55 – 59 คะแนน ระดับคะแนน D ได้คะแนนรวมตงั้ แต่ 50 – 54 คะแนน ระดับคะแนน F ได้คะแนนรวมตัง้ แต่ 0 – 49 คะแนน การเข้าช้นั เรยี น และการสอบวดั ผล) 1. นักศึกษาจะต้องเข้าช้ันเรียนทุกคร้ัง นอกจากมีเหตุอันจาเป็น เช่น ป่วย หรือมีกิจธุระท่ีสาคัญ ซ่ึงจะต้องแจ้งใหอ้ าจารย์ผู้สอนรบั ทราบ 2. นักศึกษาจะต้องมีระเบียบวนิ ัย ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับมอบหมายให้สาเร็จ ลุลว่ งตามวัตถปุ ระสงค์ และระยะเวลาทก่ี าหนด 3. นักศึกษาจะต้องมีสัมมาคารวะให้ความเคารพครูบา อาจารย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ในการเข้าชั้นเรียน และนอกจากนี้ปิดหรือสั่นแล้วเก็บเคร่ืองมือสื่อสารทุกชนิดในคาบเรียน ยกเว้น จะมกี ารอนุญาตให้ใชไ้ ด้ 4. นักศกึ ษาจะตอ้ งแตง่ กายให้เหมาะสมเรียบรอ้ ย ตามกฎระเบยี บ ขอ้ บังคับต่างๆ ของมหาวทิ ยาลัย 5. การสอบตอ้ งดาเนนิ ไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย ถา้ มเี หตจุ าเปน็ ต้องแจง้ ให้ทราบ เช่น ป่ วย ไม่สบาย ประสบอบุ ตั ิเหตุ บดิ ามารดาเสียชีวติ ติดภารกิจทางราชการ หรืองานอ่ืนๆ เป็นต้น

แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 1 ความรู้ทัว่ ไปเกยี่ วกับวิชารัฐศาสตร์ 1. เน้อื หาประจาบทที่ 1 ความรูท้ ั่วไปเกี่ยวกบั วิชารัฐศาสตร์ 1. ความหมายของวชิ ารฐั ศาสตร์ 2. ขอบขา่ ยของวชิ ารฐั ศาสตร์ 3. สาขาวชิ ารฐั ศาสตร์ 4. วธิ กี ารศึกษารฐั ศาสตร์ 5. ความสัมพันธข์ องวชิ ารฐั ศาสตร์กบั สาขาวชิ าอนื่ 2. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ผู้เรียนศึกษาเน้อื หาบทเรียนนสี้ ามารถ 1. นักศกึ ษาสามารถอธิบายความหมายของวิชารัฐศาสตร์ได้ 2. นักศกึ ษาสามารถเขา้ ใจขอบข่ายของวิชารฐั ศาสตรไ์ ด้ 3. นกั ศึกษาสามารถอธิบายและจาแนกวธิ กี ารศึกษารฐั ศาสตรไ์ ด้ 4. นักศกึ ษาสามารถอธบิ ายถงึ ความสัมพนั ธข์ องวิชารฐั ศาสตร์กบั สาขาวชิ าอื่น 5. นกั ศึกษาสามารถนาความรู้ท่ีได้จาการศกึ ษาวิชารัฐศาสตรไ์ ปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาได้ 3. วธิ ีสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอนประจาบทท่ี 1 1. วธิ สี อน 1.1 ใชว้ ิธกี ารสอนแบบบรรยาย 1.2 เน้นผเู้ รียนมีสว่ นร่วม 1.3 วิธกี ารสอนแบบแบ่งกลุ่ม 1.4 วิธกี ารสอนแบบอภิปรายและวิเคราะห์ 2. กิจกรรมการเรียนการสอน 2.1 ศกึ ษาจากเอกสารประกอบการสอนหลักและตาราอ่นื ๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง 2.2 ศึกษาจาก PowerPoint และสื่ออเิ ล็กทรอนิคส์ต่าง ๆ 2.3 รว่ มกันอภิปรายเนอ้ื หาและสรปุ ประเด็นหวั ขอ้ ร่วมกนั 2.4 ผสู้ อนสรุปประเดน็ เน้อื หาหวั ข้อเพ่มิ เตมิ

2 4. สอ่ื การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนหลกั รายวิชา ความรู้เบ้อื งต้นเก่ยี วกับรัฐศาสตร์ PA 51105 2. PowerPoint และสอื่ อิเล็กทรอนคิ ส์ 3. ใบงาน ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกบั วิชารัฐศาสตร์ 4. แบบฝึกหดั คาถามทา้ ยบท 5. การวดั ผลและการประเมนิ ผล 1. การใหค้ ะแนนเขา้ หอ้ งเรียน 2. การรว่ มกจิ กรรมกล่มุ การนาเสนอหนา้ ช้ันเรียน และการอภิปราย 3. การทาใบงาน 4. ทาแบบฝึกหดั ท้ายบท 5. การมีสว่ นร่วมในชัน้ เรยี นและนอกชั้นเรียน 6. การตอบคาถามในชนั้ เรยี น

3 บทที่ 1 ความรเู้ กี่ยวกบั วชิ ารัฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ คืออะไร ทาไมต้องศึกษารัฐศาสตร์ก่อนที่จะตอบคาถามนี้ขอให้พิจารณาว่าใน ชีวิตประจาวันของพวกเราน้ันเราพบเห็นปัญหาต่างๆ มากมายที่เราไม่สามารถแก้ไขได้โดยลาพัง เช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาโรคเอดส์ ปัญหาไข้หวัดนก ปัญหาความยากจน ปัญหาอาชญากรรมและปัญหา ความรุนแรงสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นต้น ปัญหาเหล่านี้ล้วนแต่เป็นปัญหาท่ีรัฐจะต้องย่ืนมือเข้ามา ใช้อานาจรัฐแก้ไขคล่ีคลายปัญหาให้บรรเทาเบาบางลงซ่ึงรัฐมีอานาจกว้างขวางรัฐมีอานาจกาหนดกรอบ นโยบายการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ มาตรการระหว่างประเทศ รัฐยังมีอานาจเหนือศาสนาวัฒนธรรม เช้ือชาติ การตัดสินใจกระทาการใดๆ หรือไม่กระทาการใดๆ ของรัฐล้วนส่งผลกระทบมหาศาลต่อผู้อยู่ใต้ ปกครองของรัฐเรื่องทเ่ี กี่ยวข้องกับรัฐจึงเป็นเร่ืองของคนทุกคนไม่จาเป็นต้องเป็นนักการเมืองหรือชนชั้นสูง ฐานะร่ารวยท่ีควรมีความรู้เกี่ยวกับการเมืองการปกครอง แต่วิชารัฐศาสตร์เป็นเร่ืองของเราทุกคนท่ีควร ศกึ ษาทาความเข้าใจเพ่ือวัตถุประสงคส์ าคัญ คือ การอยรู่ ่วมกันอย่างสันติและมีชวี ติ อย่างมีคุณภาพ 1.1 ความหมายของวิชารัฐศาสตร์ อานนท์ อาภาภิรม (2545 : 1) ได้อธิบายความของรัฐศาสตร์ว่า รัฐศาสตร์ ถอดศัพท์มาจาก ภาษาองั กฤษว่า Political Science และคาว่า Political น้ันเป็นคุณศัพท์ของคาว่า Politics ซ่ึงมีราก ศัพท์มาจากคาว่า Polis ในภาษากรีก มีความหมายว่า การจัดองค์การทางการเมืองในรูปหน่ึงวิชา รัฐศาสตร์เป็นสาขาหน่ึงของสังคมศาสตร์ (Social Sciences) เป็นวิชาที่มุ่งศึกษาถึงการที่มนุษย์รวม กันอยู่ในสังคมฉะน้ันจึงยังไม่สามารถท่ีจะแสวงหาทฤษฎีหรือกาหนดกฎเกณฑ์ทีแน่นอนเก่ียวกับ พฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม เช่น ในด้านพฤติกรรมทางการเมืองก็ยังไม่สามารถจะวางหลักเกณฑ์ท่ี แน่นอนว่ามีวิธีใดบ้างจึงจะได้รูปแบบการปกครองที่ดีที่สุดหรือจะดาเนินการอย่างไรที่จะมีรัฐบาลที่ดี ท่ีสุดรัฐศาสตร์(Political Science) เป็นศาสตร์ท่ีว่าด้วยรัฐ (the science of the state) ซึ่งถือว่า เป็นสาขาหน่ึงของสังคมศาสตร์ท่ีกล่าวถึงทฤษฎีการจัดต้ังองค์การรัฐบาลและการดา เนินงานของรัฐ (practice of the state) พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว (2526: 1) รัฐศาสตร์ คือ วิชาการที่ว่าด้วยการปกครองและส่ิงท่ีเก่ียวเนื่อง กับการปกครอง เป็นต้นว่า การกาเนิด การรวมตัว การแปลงรูปและความเสื่อมโทรมของชุมชนทาง การเมืองโดยมีขอบข่ายรวมไปถึงรูปธรรมขององค์กร กฎระเบียบ แนวปฏิบัติ อันจะนาไปสู่การแก้ไข ความขดั แย้งของชุมชนและการตดั สนิ ใจของชมุ ชน ในกรณีสาคญั ๆ ตา่ งๆ โกวิท วงศ์สุรวัฒน์ (2543: 12–14) ได้อธิบายว่าก่อนท่ีจะเรียนรู้ว่ารัฐศาสตร์คืออะไรจาเป็นต้อง ทราบว่าวิชาความรมู้ กี ารจาแนกประเภทของความรู้ออกเป็น 3 สาขาใหญ่ๆคือมนุษยศาสตร์(Humanities)

4 วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Science) และสังคมศาสตร์ (Social Sciences) สังคมศาสตร์ คือ ความรู้ เกี่ยวกับสังคมและมนุษย์ที่มาอยู่ร่วมกันในสังคมตลอดจนปรากฏการณ์ต่างๆ ทางสังคมในวิชาสังคม ศาสตร์น้ันการแสวงหาความรู้ก็ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) เช่นกัน แต่ทฤษฎีต่างๆ ทางสงั คมศาสตร์ไดม้ าจากการสงั เกตพจิ ารณามากกว่าการทดลองเพราะเหตุว่าสิ่งแวดล้อมต่างๆ ของสังคม มนุษย์น้ันเราไม่สามารถควบคุมได้อย่างแน่นอน (Lack of control over all Variables)กล่าวคือ สังคม มนุษย์และตัวมนุษย์เองเปลี่ยนแปลงเสมอเพราะการที่จะเอาสังคมทั้งสังคมนามาทาการทดลองเป็นสิ่งท่ี เป็นไปไม่ได้ หรือจะกระทากับบุคคลก็จะเป็นการผิดศีลธรรม เพราะฉะนั้นทฤษฎีในสังคมศาสตร์ จึงไม่ สามารถพิสูจน์ได้แน่นอนเหมือนทฤษฎีวิทยาศาสตร์ธรรมชาติเป็นเพียงการสังเกตการณ์และพยายามอธิ บายปรากฏการณน์ นั้ ๆ วิชาในสาขาสังคมศาสตร์มีรัฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา จิต วิทยา มนุษยวิทยา ภูมิศาสตร์ ฯลฯ รัฐศาสตร์ คือ วิชาที่ว่าด้วยรัฐ (state) โดยเน้นศึกษาในเรื่องของรัฐ บาล (Government) อยา่ งกว้างขวางและเป็นระบบ สนั สทิ ธ์ิ ชวลิตธารง (2546: 1) กล่าวว่า รัฐศาสตร์แปลความหมายตามตรงได้ว่า ศาสตร์ท่ีว่า ด้วย รฐั หรือความรู้ทีเ่ กีย่ วกบั รฐั อไุ รวรรณ ธนสถิตย์ (2543: 2) ใหน้ ิยามวา่ รฐั ศาสตร์เป็นการเรยี นเรื่องเก่ียวกับรัฐในทุกๆ แง่ เป็นวิชาในหมวดสังคมศาสตร์ท่ีเน้นในแง่ของการปฏิบัติ (Practice) เป็นเรื่องท่ีเน้นประวัติความ เป็นมาขององค์การรัฐบาล ภาคทฤษฎีและปฏิบัติเก่ียวกับรัฐเหล่าน้ีเป็นความหมายดั้งเดิมของรัฐ ศาสตร์ ในยุคปัจจุบันแนวความคิดนี้ได้มีการเปล่ียนแปลงของโลกยุคปัจจุบันที่มีความซับซ้อนข้ึน ความหมายของรัฐศาสตร์กลายเป็นกลายเป็นการศึกษาเรื่องการเมือง (politics) ความสัมพันธ์ของ มนุษย์ในแง่การบังคับบัญชาและการถูกบังคับบัญชา การควบคุมและการถูกควบคุม การเป็นผู้ปก ครองและถูกปกครองส่ิงดังกล่าวทั้งหมดเก่ียวกับอานาจหรืออาจเรียกได้ว่าอานาจทางการเมืองความ เกยี่ วพันนี้ เก่ียวพันในแง่ของการไดม้ าซึ่งอานาจและการรักษาไว้ซึ่งอานาจดังกล่าวว่าทาอย่างไรจึงจะ ไดอ้ านาจนม้ี า และเม่อื ได้มาแลว้ จะรักษาไวไ้ ด้อยา่ งไร ณัชชาภัทร อุ่นตรงจิตร (2548: 4) ได้อธิบายความหมายของคาว่า “รัฐศาสตร์” คือการศึกษา การเมืองด้วยหลักการทางวิชาการ การศึกษารัฐศาสตร์จึงเป็นการใช้หลักการแห่งเหตุผล ทฤษฎีข้อมูล เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เพือ่ การศึกษาการเมืองการปกครอง Mackenzie (1971: 11) อ้างอิงใน จกั ษ์ พนั ธ์ชูเพชร (2557: 7) ได้อธิบายถึงท่ีมาของคาว่า Political Science แตกต่างออกไป เช่น การอธิบายผ่านรากศัพท์ในภาษเยอรมันคือคาว่า staatswissenchaft ท่ีเกิด จากการนาคาสองคามารวมกัน คือคาว่า staat ท่ีแปลว่า รัฐ และคาว่า swissenschaft ที่แปลว่า วิทยาการ หรอื การศกึ ษา เม่อื นาทั้งสองคามารวมกนั จงึ แปลได้ว่า “ศาสตร์แหง่ รัฐ” หรือ “รฐั ศาสตร์” เชน่ กนั จากความหมายของคาว่ารัฐศาสตร์ สรุปได้ว่า รัฐศาสตร์ คือ รัฐศาสตร์เป็นสาขาหน่ึงของ สงั คมศาสตร์ ความรู้ได้มาจากวิธีการทางวิทยาศาสตร์โดยการสังเกตการณ์ และอธิบายปรากฏการณ์

5 ไม่ใช่การทดลองพสิ ูจน์และรัฐศาสตร์ เป็นศาสตร์วา่ ด้วยรัฐหรอื ศาสตรว์ า่ ดว้ ยการปกครอง หรือศาสตร์ วา่ ด้วยรัฐบาล หรือศาสตร์ว่าด้วยอานาจ ดังน้ัน รัฐศาสตร์ในปัจจุบันเป็นเร่ืองของการศึกษาเร่ืองของ การเมอื งการปกครอง อานาจหรืออานาจทางการเมือง กล่าวได้ว่า รัฐศาสตร์ คือ วิชาท่ีว่าด้วยของรัฐ การเมืองและการบริหาร 1.2 ขอบขา่ ยของวิชารัฐศาสตร์ วชิ ารฐั ศาสตร์เป็นวิชาท่ีมีขอบข่ายกว้างขวาง โดยมีรัฐบาลเป็นแกนกลางของการศึกษาแม้ว่าจะ ยงั ไม่สามารถหาขอ้ ยตุ ิในการศึกษาถึงรูปแบบการเมืองการปกครองที่มีประสิทธิภาพสูงสุดแต่นักวิชาการ ด้านรัฐศาสตร์ไดพ้ ยายามกาหนดขอบข่ายของวิชารัฐศาสตร์ ดังนี้ เดชชาติ วงศ์โกมลเชษฐ์ (2515: 1) ให้ทัศนะว่าขอบข่ายรัฐศาสตร์ได้รวมส่วนประกอบทุกส่วน ภายในและภายนอกของรัฐอาจจาแนกออกไดเ้ ป็น 6 กลุ่มดว้ ยกนั คือ 1.2.1 ทฤษฎีการเมืองและประวัติความคิดทางการเมือง (Political and History of Political) กลุ่มนี้วิจัยทฤษฎีตาราและความคิดเห็นสาคัญต่างๆ ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบันเพ่ือจะทราบเหตุ ผลรวมทงั้ การสืบตอ่ เนื่องกันของสถาบันทางการเมอื ง 1.2.2 สถาบันทางการเมือง (Political Institutions) กลุ่มนี้มุ่งเน้นวิจัยและนิยมระบบ องคป์ ระกอบและอานาจของสถาบันทางการเมือง ซ่ึงรวมท้ังนโยบายการจัดต้ังและโครงสร้างของการ ปกครองของรัฐ รวมทง้ั การปกครองท้องถ่นิ และการปกครองเปรยี บเทยี บ 1.2.3 กฎหมายสาธารณะ (Public Laws) กลุ่มน้ีวิจัยถึงรากฐานของรัฐรวมท้ังปัญหาการ แบ่งแยกอานาจค้นคว้าความสัมพันธ์ของกฎหมายสูงสุดของรัฐ และปัญหาการบังคับให้มีการปฏิบัติ ตามกฎหมายการพจิ ารณาถึงอานาจหน้าที่ของระบบการศาลยตุ ิธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างจารีต ประเพณีกับกฎหมาย ทินพันธุ์ นาคะตะ (2525 : 20) อธิบายว่า การศึกษากฎหมายมหาชนมุ่งเน้นไปท่ีอานาจและ ขอบเขตแห่งอานาจรัฐการควบคุมกิจการของเอกชนโดยรัฐ รวมท้ังการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ ง ระหว่างรัฐกับบุคคลและยังศึกษาถึงปัญหาในการแบ่งอานาจอธิปไตยความสัมพันธ์ของกฎหมาย รฐั ธรรมนญู อานาจหน้าท่ขี องตุลาการและปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเพราะรัฐกับกฎหมายเป็นสิ่งท่ี แยกออกจากกันไม่ได้ เม่ือมีรัฐต้องบัญญัติกฎหมายขึ้นใช้ภายในอาณาเขตของรัฐอันรวมถึงกฎหมาย ระหว่างรัฐ ซง่ึ การศกึ ษาวิชารัฐศาสตร์ต้องนั้นต้องเริ่มด้วยการศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายสาธารณะ หรือ กฎหมายมหาชนเพราะเก่ียวข้องกับรัฐศาสตร์อย่างมากเพราะกิจกรรมเกือบทุกอย่างของรัฐย่อม จะต้องมคี วามเก่ียวข้องอยู่กบั กฎหมายด้วยเสมอ 1.2.4 พรรคการเมืองกลุ่มอิทธิพลและประชามติ(Political Parties, Pressure Groups, public Opinion)กลุ่มน้ีพิจารณาถึงบทบาทและวัตถุประสงค์ของการจัดต้ังตลอดจนผลของพรรค

6 การเมืองกลุ่มอิทธิพลและประชามติเราจะเห็นได้ว่าความแตกต่างท่ีปรากฏชัดเจนระหว่างพรรค การเมอื ง และกลุ่มผลประโยชน์ก็คือกลุ่มผลประโยชน์ไม่ต้องการเข้าไปจัดตั้งรัฐบาล เพียงแต่ต้องการ มีอิทธิพลเหนอื การตัดสินใจหรอื นโยบายของรฐั บาลเพ่ือให้รัฐบาลสนองตอบต่อข้อเรียกร้องหรือความ ต้องการของตน ในขณะที่พรรคการเมืองมีเจตนารมณ์หรือการตกลงร่วมกันท่ีจะแสวงหาอานาจ ทางการเมืองเพ่ือนาไปสู่การมีโอกาสเข้าไปจัดต้ังรัฐบาล สาหรับประเทศไทยกลุ่มผลประโยชน์ท่ีมี บทบาททางเมืองมากจะเป็นกลุ่มท่ีมีบทบาททางด้านเศรษฐกิจ เช่น สภาหอการค้าแห่งประเทศ ไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ เป็นตน้ 1.2.5 รฐั ประศาสนศาสตร์ (Public Administration) คือ การจัดกาลังคน เงิน และวัสดุ ในอันทจี่ ะปฏิบัติใหเ้ ป็นไปตามเจตจานงของการปกครองของรัฐ กลุ่มน้ีจึงเก่ียวข้องโดยเฉพาะอย่างย่ิง กับการปฏบิ ตั ิ (excution) ให้เป็นไปตามอุดมคติและจุดประสงค์ของรัฐอย่างมีสมรรถภาพ และได้ผล มากทสี่ ดุ โดยมุง่ เน้นในเรื่องของการดาเนินงานในระบบราชการและโครงสร้างของหน่วยงานราชการ และการจัดกิจกรรมของรัฐที่ได้กาหนดข้ึน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้บริการประชาชนด้วยความเสมอ ภาคและยุติธรรม รัฐประศาสนศาสตร์มีขอบเขตท่ีกว้างขวางในการศึกษาและต้องอาศัยศาสตร์ต่างๆ มาอธิบาย รวมไปถึงการแกป้ ัญหาเพือ่ นาไปสูก่ ารบรรลุเป้าหมายของแต่ละกิจกรรม(ของรัฐ)ซ่ึงถือเป็น ความจาเป็นและความพยายามทาให้เกิดความสมบูรณ์ในทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อผลประโยชน์ สูงสุดแก่ประชาชนนนั่ เอง 1.2.6 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations) กลุ่มนี้จะพิจารณาใน ด้านนโยบายหลักและวิธีการในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐแขนงวิชาที่รวมอยู่ในกลุ่มน้ีได้แก่ นโยบาย ต่างประเทศ การเมืองและการบริหารประเทศ องค์การระหว่างประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศ และการดาเนินการทางการทตู อุไรวรรณ ธนสถิตย์ (2543: 4–5) ได้พิจารณาขอบข่ายของรัฐศาสตร์ตามรายวิชาท่ีบัญญัติไว้ใน American Political Science Association ของประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่าการเรียนวิชารัฐศาสตร์ได้ ขยายรวมถงึ สาขาวิชาย่อยต่างๆ รวม 9 สาขาดว้ ยกนั คือ 1. ทฤษฎีการเมอื ง หรอื ปรชั ญาการเมอื ง 2. กฎหมายมหาชน 3. ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศ และองคก์ ารระหว่างประเทศ 4. การปกครอง (ระดับชาติ และราชการบริหารส่วนทอ้ งถ่ิน) 5. การปกครองเปรยี บเทียบ 6. รฐั ประศาสนศาสตร์ 7. พลวตั ทางการเมือง (พรรคการเมอื ง ความคดิ เห็นทางการเมือง) 8. กระบวนการนิตบิ ญั ญัติ

7 9. ธุรกจิ และรัฐบาล สรุป ขอบข่ายของการศึกษารัฐศาสตร์มีพัฒนาการมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและในอนาคต คาดว่า จะมีการเปลีย่ นแปลงให้เหมาะสมกับยุคสมัยตอ่ ไปอีก สาหรับผู้ท่ีเร่ิมต้นศึกษารัฐศาสตร์ผู้เรียบ เรยี งเหน็ วา่ ควรทราบและเขา้ ใจในประเด็นต่อไปน้ี 1. ความรู้เกยี่ วกบั รฐั ศาสตร์ 2. รัฐและทฤษฎีการกาเนดิ รฐั 3. อานาจอธปิ ไตย 4. ปรชั ญาการเมอื ง 5. อดุ มการณท์ างการเมอื ง 6. สถาบนั ทางการเมือง 7. กระบวนการทางการเมือง 8. ความสัมพนั ธร์ ะหว่างรฐั กับประชาชน 9. ความสมั พนั ธร์ ะหว่างประเทศ 1.3 สาขาวชิ าทางรฐั ศาสตร์ อุไรวรรณ ธนสถิต (2543: 4) อธิบายว่า นักวิชาการทางรัฐศาสตร์ได้อธิบายแบ่งสาขาวิชา รฐั ศาสตร์ ไวด้ งั น้ี วิชารฐั ศาสตร์ เป็นวิชาทีว่ ่าดว้ ยเรื่องของรัฐ สามารถแตกแขนงสาขาย่อยไปได้อีกใน ยคุ ก่อนสงครามโลกคร้ังท่ี 1 รฐั ศาสตร์แบ่งการเรียนออกเป็น 4 สาขาใหญ่ๆ คือ ทฤษฎีรัฐศาสตร์ การ ปกครอง การปกครองเปรียบเทียบ และตัวบทกฎหมายแต่ถ้าจะพิจารณาจากท่ีว่ารัฐศาสตร์มุ่งศึกษา เป็นพเิ ศษถึงรัฐ สถาบันทางการเมืองและปรัชญาทางการเมืองโดยท่ัวไปแล้วจะแบ่งออกเป็น 7 สาขา โกวิท วงศ์สรุ วัฒน์ (2543: 15–16) อธิบายไว้ดงั นี้ 1.3.1 รัฐบาล (Government) คือ การศึกษาการศึกษาเก่ียวกับสถาบันทางการเมืองต่างๆ การแบ่งอานาจระหว่างนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ ศึกษารัฐบาลกลางกับรัฐบาลท้องถ่ิน ซึ่งเน้นไป ทางด้านโครงรา่ งของการปกครอง วชิ านเ้ี รียกอีกอย่างหนึง่ ว่า วิชาการปกครอง 1.3.2 กล่มุ การเมือง (Political Parties) คือ การศกึ ษาถึงความสาคัญของพรรคการเมืองที่ มบี ทบาทตอ่ รัฐ ศึกษาประชามติ และกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ ดว้ ย 1.3.3 กฎหมายมหาชน (Public Law) คือ การศึกษาเก่ียวกับรากฐานรัฐธรรมนูญของรัฐ ต่างๆ ปัญหาของการกาหนดและแบง่ อานาจปกครองประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับรัฐ 1.3.4 รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) คือ การศึกษาการบริหารงานของ รัฐบาล การบริหารกฎหมาย การจัดการเกี่ยวกับคน เงินตรา วัตถุ รัฐประศาสนศาสตร์ นับเป็นแขนง วิชาใหม่ของวชิ ารฐั ศาสตรเ์ นื่องจากการท่รี ฐั บาลมีขอบเขตภาระหน้าท่ีกว้างขวางข้ึนตามยุคสมัยทาให้

8 ต้องมีวิชาการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพและรวดเร็วเป็นวิชาท่ีเน้นไปทางปฏิบัติให้เป็นไปตามเจต จานงในการปกครองของรัฐใหเ้ ป็นไปตามจุดประสงคแ์ ละอุดมการณ์อย่างเป็นผลดีและมีประสิทธิภาพ มากท่ีสุดวิชาน้เี รยี กอีกอย่างหน่งึ ว่า การบรหิ ารรฐั กจิ 1.3.5 รัฐบาลเปรียบเทียบ (Comparative Government) คือการศึกษาถึงการปกครองของ ประเทศต่างๆ หลายประเทศเพื่อจะเปรียบกันทางประวัติศาสตร์เป็นพื้นฐานแล้วจึงเปรียบเทียบกับ รัฐธรรมนูญโครงร่างของการปกครองและสถาบันการเมืองต่างๆ เช่น พรรคการเมือง สภานิติบัญญัติ ระบบศาล เป็นตน้ นอกจากน้ยี ังศกึ ษาถึงลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม ขนบธรรมเนียมประเพณีตลอด จนนโยบายต่างประเทศในอดีตเพื่อนามาประกอบการพิจารณาด้วย โดยรวมแล้วคือการศึกษาระบบการ เมืองและการปกครองของแต่ละรัฐหาจุดเด่นจุดด้อยของแต่ละระบบ อันจะนาไปสู่การปฏิรูปการปก ครองที่เหมาะสมกับรัฐของตน ตัวอย่างเช่น การศึกษาวิชารัฐศาสตร์เปรียบเทียบในกรณีระบบรัฐสภา ของประเทศท่ีพฒั นาแลว้ กบั ประเทศกาลังพัฒนา ภาพท่ี 1 นายกประยทุ ธพ์ บประธานาธบิ ดที รมั ปท์ ี่ทาเนยี บขาว เตรยี มหารอื ความม่นั คง เพ่มิ มลู คา่ การค้าทรมั ป์เตรยี มขายของให้ไทยมากข้นึ (ท่ีมา : https://thestandard.co/prayut-trump-meeting-at-whitehouse/) 1.3.6 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างประเทศ (International relations) คือการศึกษาถึงความสัมพันธ์ ระหว่างรัฐต่อรัฐการทูตองค์การระหว่างประเทศและกฎหมายระหว่างประเทศนอกจากนี้ จักษ์ พันธ์ชูเพช (2557: 11-12) อธบิ ายว่า ความสัมพันธร์ ะหวา่ งประเทศเป็นสาขาวิชาท่ศี ึกษาเกย่ี วกับนโยบายหลักการและ วธิ กี ารดาเนนิ การความสมั พันธ์ระหวา่ ประเทศซึ่งในชว่ งแรกศกึ ษาถึงประวตั ิศาสตร์การทูตและอิทธิพลหรือ ส่ิงจูงใจเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จนต่อมาเมื่อมีการพัฒนาไปสู่การศึกษาในเชิงพฤติกรรม ศาสตร์มากขึ้นทาให้การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศให้มีหลายประเด็นมากข้ึน ไม่ว่าจะเป็น พฤตกิ รรมการตดั สินใจการสรา้ งสันตภิ าพและการรวมตัวกันของประเทศประชาคมสาขานี้ได้รับความสนใจ อย่างสูงหลังเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสาเหตุท่ีสาคัญอีกประการหนึ่งก็คือ ความปรารถนาที่จะสร้าง สันติภาพให้แก่มวลมนุษยชาติ โดยหวังว่าความรู้ในศาสตร์น้ีจะสามารถตอบคาถามอธิบายและนาไปใช้ใน แนวทางการสร้างสมานฉันท์ระหว่างประเทศได้ จนในศตวรรษที่ 20 ได้มีการนาแนวความคิดเร่ืองอานาจ

9 มาเป็นแนวทางในการศึกษาวิเคราะห์เพ่ืออธิบายถึงการเมืองระหว่างประเทศ ทาให้สาขานี้ต้องอาศัย ความรูแ้ บบสหวิทยาการเพิ่มขึน้ ทัง้ องคค์ วามรูใ้ นสาขาวิชารบั ศาสตร์และสาขาวิชาอน่ื 1.3.7 ปรัชญาทางการเมือง (Political Philosophy) คือการศึกษาปรัชญาท่ีเก่ียวกับการ เมอื งการปกครองตง้ั แต่สมยั โบราณจนถึงปจั จบุ ันปรัชญาทางการเมืองเป็นเหมือนหลักการเหตุผลและ ความยึดมั่นของรัฐซ่ึงย่อมแตกต่างกันไปการศึกษาก็เพ่ือท่ีจะเรียนรู้เข้าใจทั้งจุดมุ่งหมาย(Ends)และ วิถีทาง (Means) ของแต่ละปรัชญาโดยแสวงหาเหตุและผลนามาปฏิรูปความคิดและการปฏิบัติ ทางดา้ นการปกครองให้ไดร้ ูปแบบทีด่ ขี ้ึนจากตวั อยา่ งความบกพร่องของรฐั อนื่ ๆ สรุป สาขาวชิ าทางรฐั ศาสตร์ประกอบด้วย 7 สาขา คือ รัฐบาล กลุ่มการเมือง กฎหมายมหา- ชน รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐบาลเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ปรัชญาทางการเมืองผู้ ศึกษารัฐศาสตร์จะต้องศึกษาวิชาเหล่านี้เป็นวิชาพ้ืนฐานส่วนผู้เช่ียวชาญขึ้นอยู่กับความรู้ความถนัด และความสนใจว่าจะสนใจเจาะลกึ ศึกษาสาขาใดเป็นพิเศษ 1.4 วธิ ีการศกึ ษาวชิ ารฐั ศาสตร์ ณัชชาภัทร อุ่นตรงจิตร (2548: 6 – 10) ได้เรียบเรียงวิธีการศึกษารัฐศาสตร์ต้ังแต่ สมัยกรีก เร่ือยมาจนถงึ ปจั จบุ ันไว้สามารถสรปุ ได้ ดังน้ี 1.4.1 สมัยกรีก ในยุคกรีกโบราณ การศึกษารัฐศาสตร์เฟ่ืองฟูเป็นอย่างมากนักรัฐศาสตร์คน สาคัญของยุคไดแ้ ก่ เพลโตและอรสิ โตเตลิ การศึกษารัฐศาสตรใ์ นสมยั นี้มีวิธีการศึกษาทั้งทางด้านปรัช- ญาและด้านวิทยาศาสตร์ทางปรัชญายุคกรีกโบราณจะเน้นความสาคัญของศีลธรรมจรรยามุ่งเสาะหา สงิ่ ที่ดที สี่ ดุ มาให้รฐั ในทางหนึ่งยุคกรีกโบราณจึงเป็นการศกึ ษารัฐศาสตร์ในแนวอุดมคติ ส่วนการศึกษา รัฐศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์ คือ การศึกษาการเมืองเปรียบเทียบ อริสโตเติลได้นาการเมืองในนครรัฐ ต่างๆ มาเปรยี บเทียบกนั และพยายามหาจุดรว่ มท่ดี ีท่ีสุดของระบบการเมือง เพื่อสร้างระบบการเมือง ที่ดีท่ีสุด อาจกล่าวได้ว่าเพลโตเป็นบิดาของปรัชญาการเมือง (Political theory) อริสโตเติลเป็นบิดา ของวิชารัฐศาสตร์ (Political Science) ท้ังนี้เพราะเพลโตได้พยายามเสนอหลักการทางรัฐศาสตร์ เก่ียวกับรูปแบบของรัฐที่ดีท่ีสุด ขณะท่ีอริสโตเติลได้นาหลักการเก่ียวกับวิทยาศาสตร์เข้ามาใช้ใน การศกึ ษาวชิ ารัฐศาสตร์มาก โดยอริสโตเติลเป็นคนแรกท่ีศึกษารูปแบบของรัฐหลายๆ รูปแบบเปรียบ เทยี บ วิเคราะห์ และสรุปออกมาเปน็ ทฤษฎี 1.4.2 สมัยโรมัน ขณะที่สมัยกรีกการศึกษารัฐศาสตร์แบบนักคิด สมัยโรมันการศึกษารัฐ ศาสตร์เป็นแบบนักปฏิบัติ (Practical) ชาวกรีกมีความเป็นตัวของตัวเองสูง (individualism) ศึกษา วชิ าศิลปะ ปรัชญาและวิทยาศาสตร์ ชาวโรมันมีระเบียบวินัยเชื่อฟังผู้ปกครองและเคารพกฎหมายใน สมัยโรมนั วชิ ารฐั ศาสตรไ์ ดศ้ กึ ษาในรปู แบบของกฎหมายและการบริหารภาครัฐ (Public dministration) แนวความคิดของการศึกษารัฐศาสตร์ในสมัยน้ี คือ เรื่องของสิทธิส่วนบุคคล ความเท่าเทียมกันของ มนุษยชาติ หลกั การประชาธปิ ไตยการศรทั ธาในความมเี หตผุ ลและศีลธรรมของมนุษย์ ซ่ึงได้กลายเป็น

10 ต้นกาเนดิ ของแนวความคิดทางการเมอื งของตะวันตกนอกจากน้ีในสมัยพระเจ้าจัสติเนียน (Justinian) จักรพรรดิผู้มีชื่อเสียงคนหนึ่งของอาณาจักรโรมัน ได้สร้างประมวลกฎหมายโรมันซ่ึงเป็นรากฐานของ ประมวลกฎหมายในประเทศภาคพ้ืนทวีปยุโรปมาจนถึงทุกวันนี้ และรวบรวมประมวลกฎหมายที่ เรียกว่า corpus juris civilis ซง่ึ เปน็ หลักท่ใี ชก้ นั อยู่ในประเทศไทย อเมริกาใต้ แคนาดาและแอฟริกา- ใต้ จึงถอื ได้วา่ โรมมีอิทธิพลตอ่ สถาบนั รัฐศาสตรใ์ นปจั จบุ ันเป็นอันมาก 1.4.3 ยคุ กลางหรือยุคศักดินา ในยุคกลางหรือยุคศักดินา คือ ยุคท่ีอยู่ระหว่างยุคโรมันและ ยุคฟน้ื ฟู คอื ประมาณ ค.ศ. 5 - ค.ศ. 12 การปกครองในยุคกลางเริ่มต้นท่ีการล่มสลายของจักรวรรดิ - โรมนั โดยการรกุ รานของชนเผ่า อารยชนชาวเยอรมนั การล่มสลายครัง้ น้ที าให้ระบบการปกครองระบบ จักรวรรดิของโรมหมดไป ยุโรปในช่วงนั้นจึงกลายเป็นยุคสมัยท่ีไม่มีรัฐหรือที่เรียกว่ายุคอนาธิปไตย (Anarchy) ในยคุ นี้ กรงุ โรมซงึ่ เป็นศูนยก์ ลางของอานาจแห่งจักรวรรดโิ รมนั สญู สลายไป จึงดูเหมือนว่า ไมม่ รี ัฐอีกต่อไปรฐั จงึ ถกู ทาให้ลดความสาคญั ลงโดยตกเป็นรองความสาคัญของศาสนาคริสต์การศึกษา รัฐศาสตร์จึงวนเวียนอยู่ในพระคัมภีร์ไม่ใช้หลักการเปรียบเทียบหรือหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ได้ คิดคน้ ขน้ึ มาในสมัยกอ่ นหน้าน้ี อยา่ งไรก็ตามยคุ กลางได้ผา่ นพ้นไปโดยสร้างแนวความคิดทางการเมือง ในเร่ืองของโลกเดียว(World unity) คือ ความสามัคคีกันของผองพี่น้องท่ัวโลก ภายใต้การปกครอง ของพระเจ้า การไม่แบ่งแยกโลกน้ีออกเป็นรัฐต่างๆ การใช้ศีลธรรมจรรยานาหน้าการเมืองสันติสุข และกฎหมายธรรมชาติ (Natural law) ซ่ึงได้กลายมาเป็นหลักพื้นฐานของกฎหมายระหว่างประเทศ ในปจั จบุ นั 1.4.4 ยุคฟื้นฟู (Renaissance) หลังจากท่ีรัฐ หายไปในช่วงยุคกลาง รัฐกลับมาอีกคร้ังในยุค ฟนื้ ฟู ในยุคน้ีแนวความคิดของยุคกรีกและยุคโรมันได้ถูกนากลับมาฟ้ืนฟูอีกครั้งโดยสันตะปาปาและผู้นา ทางศาสนาอ่นื ๆ ตอ้ งตอ่ สูก้ ับพลังของการเกดิ ข้นึ ใหม่ของรัฐ โดยเฉพาะอย่างย่ิงพลังของการปฏิรูปศาสนา ท่ีต้องการให้แต่ละชาติมีสิทธิในการสร้างศูนย์กลางศาสนาในท้องถ่ิน โดยไม่ต้องเช่ือฟังคาสั่งของสันตะ ปาปาท่ีกรุงโรมอีกต่อไป นักคิดคนสาคัญในยุคนี้ คือ “เมคเคียวเวลลี” ได้พลิกโฉมหน้าของยุคกลางโดย แยกรัฐออกจากศาสนาให้รัฐเป็นส่วนรวมของความสามัคคีของคนในชาติ ความมั่นคง และสิ่งท่ีสาคัญ ที่สุด คือ ผลประโยชน์แห่งชาติ (National interest) ในยุคนี้ได้เกิดรัฐต่างๆ ขึ้นมากมายเกิดสงครามและ ความพยายามในการขยายดินแดน การเอารัดเอาเปรียบ การขยายตัวทางการค้าและอุตสาหกรรมมีการ แสวงหาอาณานิคมเพ่ือผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอย่างกว้างขวางในปลายกลางยุคนี้รัฐชาติตะวันตกล่า อาณานิคม แสวงหาผลประโยชน์ในอาณานิคมอย่างเป็นล่าเป็นสันการแสวงหาอาณานิคมทากันอย่าง เปิดเผยโดยไมต่ ้องทาภายใตช้ ือ่ หมอสอนศาสนาอยา่ งในอดตี อกี ต่อไป 1.4.5 ยุคสมัยใหม่ การศึกษาวิชารัฐศาสตร์ในยุคสมัยใหม่ คือตั้งแต่หลังยุคฟ้ืนฟูเมื่อประ มาณศตวรรษที่ 15 ได้นาเอาหลักการแบบวิทยาศาสตร์เข้ามาประกอบการศึกษา รัฐศาสตร์ในยุคสมัย ใหม่ ได้รับอิทธิพลขององค์ความรู้ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นใหม่โดยบุคคล 2 คน ที่เป็นนักคิดคนสาคัญในยุค

11 นั้นคือ นิวตัน (Newton) ผู้ค้นพบทฤษฎีแรงโน้มถ่วง และเดสการ์ต (Descartes) ผู้เป็นบิดาของการใช้ เหตุผลและวิชาตรรกศาสตร์ ทั้งสองคนมีอิทธิพลต่อแนวทางการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ในยุคแรกๆ ซ่ึงได้แก่ แนวความคิดแบ่งสรรอานาจ (separation of power) การตรวจสอบถ่วงดุล (check and balance) ซ่ึง เป็นการปรับปรุงนาเอาหลักการของวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเครื่องกลมาใช้ในโครงสร้างของรัฐบาล ในช่วงศตวรรษที่ 19 ทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วิน (Darwin) ได้เข้ามามีอิทธิพลเหนือการศึกษาวิชารัฐ ศาสตร์กลา่ วคอื เนน้ การนาเอาหลักการทางชีววิทยาเข้ามาศึกษาประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการนอก จากน้ี พัฒนาการของวิชาสังคมวิทยา (seciology) ทาให้นักรัฐศาสตร์ความสนใจกับพลังทางสังคม (social for- ces) ท่ีเข้ามามีอิทธิพลต่อรัฐบาล ในการปฏิวัติอุตสาหกรรมได้ส่งผลต่อวิธีการศึกษารัฐศาสตร์ เช่น เดียว กันโดยการปฏิวัติอุตสาหกรรมทาให้เกิดระบอบทุนนิยมพัฒนาไปท่ัวยุโรปตะวันตกผลกระทบจากการ พัฒนาทุนนิยมทาให้เกิดลัทธิมาร์กซิสต์ (Marxist) ขึ้นมาซึ่งเป็นวิธีการนาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองเข้า มาใช้ในรัฐศาสตร์เป็นครั้งแรกนอกจากน้ันวิชาภูมิศาสตร์ได้ส่งผลให้เกิดการศึกษาวิชาภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) ซึ่งจะเน้นการศึกษาภูมิศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจในฐานะท่ีเป็นปัจจัยทางการเมืองของ รฐั เรอื่ งอานาจทรัพยากรและความสามารถของรัฐ ในศตวรรษท่ี 20 โดยมีการนาหลักการทางวิทยาศาสตร์ เชิงประจักษ์ (Empirical scientific methods) เข้ามาใช้ในการศึกษารัฐศาสตร์โดยการสังเกตตั้งสมมติ ฐาน สารวจและสรุป โดยใช้ข้อมูลเชิงปริมาณเข้ามาผนวกกับข้อมูลทางสถิติและได้นาเอาหลักการวิชาการ ทางจิตวิทยากับสังคมวิทยาเข้ามาใช้กับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ตัว อยา่ งเชน่ การสร้างแบบสอบถามเชิงทัศนคติหรือการใช้หลักทางสถิติมาวิเคราะห์การศึกษาแบบรัฐศาสตร์ อย่างไรก็ตาม การศึกษารัฐศาสตร์ในเชิงปริมาณยังมีข้อจากัดในการสร้างทฤษฎีทางรัฐศาสตร์เพราะใน บางครั้งปัจจัยที่เข้ามามีอิทธิพลทางการเมืองมีอยู่หลากหลายมากกว่าที่จะสามารถใช้หลักการทางสถิติใน การวิเคราะห์ได้หมด แต่การศึกษาการบริหารภาครัฐ(Public Administration) ได้ใช้ประโยชน์อย่างมาก จากเครื่องมือในการคานวณเนื่องจากการบริหารงานภาครัฐจะศึกษาเกี่ยวกับเทคนิควิธีการ (how) มากว่า เหตผุ ล (why) ภาพท่ี 2 พลงั สังคมในทางการเมือง (ท่ีมา : https://sites.google.com/site/lawslearinginschool12/)

12 1.4.6 ยุคปัจจุบัน ปัจจุบันการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ได้ให้ความสาคัญกับการศึกษาท่ีเรียกว่า“การ ศึกษาเชิงพฤติกรรม” (behavioral approach) หมายถึงการศึกษาพฤติกรรมในทางการเมืองของคนกล่าว อย่างหน่งึ คือ การศึกษาพลงั ทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจมากกว่าการศึกษารัฐศาสตร์ในรูปแบบของ สถาบันทางการเมือง (เช่น การศึกษารัฐธรรมนูญ กฎหมาย และรัฐบาล เป็นต้น) ผู้ที่ศึกษารัฐศาสตร์ใน แนวการศึกษาเชิงพฤติกรรมจะสนใจกระบวนการทางการเมือง (political process) หรือระบบการเมือง (political system) มากกว่าการศึกษาโครงสร้างทางการเมือง (political structure)ตัวอย่างเช่น ในเร่ือง การเลือกต้ัง นักพฤติกรรมจะสนในการเลือกต้ังในเชิงของความสนใจทางการเมืองของประชาชนการหา เสียงของกลุ่มหรือพรรคการเมืองต่างๆ การเสนอข่าวของสื่อมวลชนความคิดทางการเมืองของประชาชน รวมถึงวัฒนธรรมการเมืองมากกว่าจะให้ความสาคัญกับโครงสร้างที่เป็นกรอบ เช่นกฎหมายเลือกตั้งจา- นวนพรรคการเมืองที่เข้าแข่งขันเป็นต้น สรุป วิธีการศึกษารัฐศาสตร์ต้ังแต่ยุคกรีก จุดเด่นคือ เน้นทางด้านปรัชญา อุดมคติ มากกว่า แนวทางการปฏบิ ัติ มงุ่ หารูปแบบรัฐทด่ี ที ส่ี ดุ นักปราชญ์ทีม่ ีชื่อเสียงได้แก่ เพลโตและอริสโตเติล ต่อมายุค โรมัน ไม่เน้นการคิดหรืออุดมคติ แต่เน้นการปฏิบัติ สร้างรูปแบบกฎหมาย ประมวลกฎหมายและการ บรหิ ารงานภาครัฐ ยุคกลาง สถานการณก์ ารศึกษาทางรัฐศาสตร์ตกต่า เช่ือความคิดว่ามีโลกเดียว มีความ เป็นหนึ่งเดียว และไม่ใช้หลักวิทยาศาสตร์ในการศึกษา ต่อมาเข้าสู่ยุคฟ้ืนฟูศิลปะวิทยาการ เกิดการ ปฏิรูปศาสนา แยกศาสนาออกจากรัฐ เกิดรัฐข้ึนมีการออกไปแสวงหาอาณานิคมและสะสมทุน นัก- ปราชญ์คนสาคัญ คือ เมคเคียวเวลลี ยุคสมัยใหม่ เกิดการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ได้นาหลักการวิทยา- ศาสตร์มาใช้ในการศึกษารัฐศาสตร์ เช่น การแบ่งสรรอานาจ การถ่วงดุลอานาจเหล่านี้ได้รับอิทธิพลจาก วิชาชีววิทยา สังคมวิทยา ภูมิศาสตร์ ในศตวรรษท่ี 20 มีการพยายามสร้างทฤษฎีทางรัฐศาสตร์ โดยใช้ เทคนิคเชิงปริมาณ และสถิติ เป็นการพยายามอธิบายปัญหามากกว่าค้นหาคาตอบที่แท้จริง และสุดท้าย ยุคปัจจุบัน ได้รับอิทธิพลจากการศึกษาเชิงพฤติกรรมศาสตร์ สนใจกระบวนการทางการเมืองมากกว่า โครงสร้างทางการเมือง แตย่ งั มจี ดุ ดอ้ ยที่สาคญั คือ ไม่สามารถทานายอนาคตทางการเมืองได้ 1.5 ความสัมพันธ์ระหวา่ งวิชารฐั ศาสตร์กบั สาขาวชิ าอ่นื วิชารัฐศาสตร์ เป็นสาขาหนึ่งของสังคมศาสตร์(Social Sciences)ประกอบด้วยความรู้เกี่ยว กับสังคมมนุษย์ท่ีมาอยู่ด้วยกันในสังคมตลอดจนปรากฏการณ์ต่างๆ ทางสังคมส่วนวิชารัฐศาสตร์อาจ กล่าว ได้ว่าเป็นวิชาว่าด้วยการเมืองหรือศึกษาเก่ียวกับประเด็นที่มีความขัดแย้งกันเก่ียวกับผล ประโยชน์ของคนหมมู่ าก บรรพต วีระสัยและคณะ (2523: 9) ได้อธิบายว่าการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ให้ แตกฉานถ่องแท้จึงมีความจาเป็นต้องพึ่งพาอาศัยความรู้ความเชี่ยวชาญจากสาขาอื่นๆ ซึ่ง อานนท์ อาภา ภิรม (2545 : 9-11) ได้ช้ีให้เห็นว่าวิชารฐั ศาสตรม์ ีความสัมพันธ์กับสาขาวชิ าอนื่ ๆ ดังนี้

13 1.5.1 ความสัมพันธ์ระหว่างวิชารัฐศาสตร์กับวิชาประวัติศาสตร์ วิชาประวัติศาสตร์ได้ให้ คุณประโยชน์กับวิชารัฐศาสตรห์ ลายประการกลา่ วคอื วชิ าประวตั ศิ าสตร์เป็นหลักฐานให้ทราบเกี่ยวกับ เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนนักรัฐศาสตร์สามารถทราบและเข้าใจถึงแนวทางของปรากฏการณ์ต่างๆ ท่ีเคย เกิดขึ้นมาแล้วในรัฐข้อมูลเกี่ยวกับรัฐในอดีต เช่น ข้อมูลด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคมเพื่อนามา วิเคราะห์ปรับปรุงและแก้ไขปัญหาซึ่งอาจเกิดข้ึนได้ในอนาคตโดยวิเคราะห์จากปรากฏการณ์ที่ทราบ นักรัฐศาสตร์จะสามารถใช้ประวัติศาสตร์วิเคราะห์หาแนวโน้มของเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดข้ึนอีกใน อนาคตนอกจากนี้เหตุการณใ์ นประวัติศาสตร์สามารถทาให้นักรัฐศาสตร์เข้าใจถึงปัญหาต่างๆ หรืออีก นัยหน่ึงส่ิงท่ีประวัติศาสตร์บันทึกไว้จะเป็นสิ่งท่ีให้ความกระจ่างในการวิเคราะห์หาคาตอบปัญหาบาง ประการแกน่ ักรฐั ศาสตร์ 1.5.2 ความสัมพันธ์ระหว่างวิชารัฐศาสตร์กับวิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่ มุ่งศึกษาเกี่ยวกับการผลิต การใช้ทรัพยากร การจัดสรรปันส่วน การบริโภค วิชาน้ีจึงเกี่ยวข้องกับชีวิต ประจาวันของประชาชนโดยทวั่ ไปหรอื พดู งา่ ยๆ คือ เป็นเร่ืองการทามาหากินโดยการแลกเปล่ียนหรือการ จัดสรรปันส่วนกันนั่นเอง ในทางการเมืองการปกครองได้มีการนาวิชาเศรษฐศาสตร์มากาหนดนโยบาย ทางการเมืองด้วย อาจเห็นได้จากทฤษฎีทางการเมืองหลายๆ ทฤษฎีท่ีมุ่งคานึงถึงเศรษฐกิจและความ เป็นอยู่ของมนุษย์ เป็นประการสาคัญ วิชาเศรษฐศาสตร์ยังเป็นส่วนสาคัญที่ทาให้เกิดความเปล่ียนแปลง ในทางการเมือง การปฏิวัติหรือรัฐประหารในปะเทศต่างๆ มักเกิดจากปัญหาทางเศรษฐกิจของประเทศ เชน่ ภาวะเศรษฐกิจตกต่า การว่างงาน การผลิตไม่ได้ผล ฯลฯ ทาให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบข้ึนในสังคม นาไปสู่เหตุการณ์ร้ายแรงในที่สุดนักทฤษฎีรัฐศาสตร์หลายท่านพยายามพูดถึงลัทธิเศรษฐกิจท่ีนามาแก้ วิกฤติการณ์การเมืองไว้ในลักษณะต่างๆ กัน เช่น ระบบรัฐสวัสดิการ (Welfare State) หรือ ระบบลัทธิ Marxism เพราะฉะน้ันการค้นคิดวิธีการดาเนินการทางเศรษฐกิจเพื่อนามาใช้ในการกาหนดนโยบายการ เมืองการปกครองน้ีเป็นส่ิงจาเป็นมากเน่ืองจากเศรษฐกิจเป็นสิ่งท่ีเกี่ยวข้องกับประชากรของรัฐโดย ตรง เพราะทกุ คนตอ้ งดารงชีวิตและมีการแลกเปลี่ยนหรือจัดสรรปันส่วนในการผลิตซึ่งหากมีการกาหนดนโย- บายทางการเมืองการปกครองโดยคานึงถึงหลักเกณฑ์และข้อเท็จจริงทางเศรษฐกิจแล้วรัฐย่อมไม่ประสบ ความยงุ่ ยากในทางการเมอื งและการปกครอง ดังน้ัน วิชาเศรษฐศาสตร์จึงเป็นส่วนสาคัญในอันท่ีจะทาให้ การศึกษาวชิ ารฐั ศาสตรเ์ กิดผลสมบูรณ์ข้ึน 1.5.3 ความสัมพันธ์ระหว่างวิชารัฐศาสตร์กับวิชาจิตวิทยาการปกครองท่ีดี คือการเข้าใจพฤติ- กรรมของมนุษย์เน่ืองจากการปกครองมีความเกี่ยวข้องกับประชาชนทุกคนที่อยู่ภายในรัฐ ประชาชนจะ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิอยา่ งไรก็จะส่งผลกระทบต่อการเมืองท้ังสิ้นการเข้าใจในพฤติกรรมของประชาชนว่าผูก พัน หรือมคี วามเช่อื ในสิ่งตา่ งๆ อยา่ งไร รวมทง้ั มีความเปน็ อยใู่ นสภาพแวดล้อมอย่างไร ย่อมนามาซ่ึงความเจริญ และความมั่นคงของประเทศเพราะปัจจุบันความเจริญและความม่ันคงของประเทศนั้นขึ้นอยู่กับการ สนับสนุนของประชาชน ดังน้ัน ในการกาหนดนโยบายในทางการเมืองจึงต้องศึกษาถึงความต้องการของ

14 ประชาชนเป็นอันดับแรกการท่ีจะเข้าถึงใจประชาชนโดยใช้ความเข้าใจซึ่งกันและกันศิลปะในการพูดโน้ม นา้ วใจใหต้ รงกับสง่ิ ที่ประชาชนมีความชอบย่อมได้ประโยชน์มากกว่าใช้อานาจ โดยในการที่รัฐจะออกกฎ ข้อบังคับใดๆ ก็ตามไม่ควรทาให้กระทบกระเทือนถึงความเชื่อถือหรือขัดกับพฤติกรรมของมนุษย์เป็น ประการสาคัญท่ีจะสร้างความรู้ความเข้าใจในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์อันเป็นแนวทางท่ีจะช่วยกาหนด นโยบายทางการเมืองทเ่ี หมาะสม 1.5.4 ความสมั พนั ธ์ระหว่างวชิ ารัฐศาสตร์กับวิชาสังคมวิทยาและวิชามนุษย์วิทยาวิชาสังคม วิทยาเป็นการศึกษาถึงเร่ืองราวในสังคมมนุษย์ท้ังหมดตลอดจนโครงสร้างทางสังคมการเปล่ียนแปลงและ การแข่งขันภายในสังคมหรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็นการศึกษาในแง่มนุษยวิทยาซ่ึงวิชามนุษยวิทยาและ สงั คมวทิ ยาเปน็ แขนงวิชาทม่ี คี วามใกลเ้ คยี งกันโดยวิชามนุษย์วิทยาเป็นการศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์ส่วนวิชา สังคมวิทยาเป็นการศึกษาถึงความเก่ียวพันระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ ซึ่งการที่มนุษย์เข้ามาเก่ียวพันกันน้ี เองทาให้เกิดชุมชนหรือสังคมข้ึนอันจะนาไปสู่ปัญหาในการอยู่ร่วมกันทาให้มนุษย์จาต้องยอมรับ กฎเกณฑ์ประเพณีหรือวัฒนธรรมของสังคม ดังนั้น ในการปกครองประเทศจึงมีความจาเป็นต้องศึกษา หลักสังคมวิทยาและมนุษย์วิทยาประกอบดว้ ย 1.5.5 ความสัมพันธ์ระหว่างวิชารัฐศาสตร์กับวิชาภูมิรัฐศาสตร์วิชาภูมิรัฐศาสตร์ (Geopoliti- cs) เป็นวิชาที่กล่าวถึงความสาคัญของรัฐเชิงภูมิศาสตร์อันจะมีผลกระทบต่อลักษณะในการเมืองการปก ครองของประเทศนั้น ๆ สภาพภูมิศาสตร์หลายประการมีความสาคัญต่อการปกครองและดาเนินนโยบาย ท้ังภายในและภายนอกประเทศ เช่น ลักษณะของพรมแดนลักษณะปริมาณและและขนาดของประชากร ลักษณะของทรัพยากรลักษณะท่ีตั้งและลักษณะของภูมิอากาศปัจจัยเหล่านี้มีความสาคัญเก่ียวข้องกับ การเมอื งของประเทศอย่างแท้จริงและจะเป็นปัจจัยบังคับวิถีทางการเมืองของแต่ละประเทศให้ดาเนินไป ในทิศทางใดทิศทางหน่ึง ฉะน้ัน การท่ีจะเข้าใจปัญหาการเมืองของรัฐใดและการคาดการณ์วิถีทาง การเมอื งของประเทศจาเป็นต้องศกึ ษาวิชาภูมริ ัฐศาสตร์ 1.5.6 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งวิชารัฐศาสตร์กับจริยธรรม จริยธรรมมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด กับศีลธรรมและคุณธรรมกล่าวอีกนัยหน่ึงได้ว่าจริยธรรมเป็นคุณค่าที่มนุษย์ยอมรับและนามาใช้ฉะน้ัน จรยิ ธรรมจึงมีคุณประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนเป็นอันมากศีลธรรมและจริยธรรมเป็นปัจจัยจูงใจให้มนุษย์ได้กระทา กรรมดีหรือกระทาส่ิงท่ีเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษย์เพราะฉะน้ันวิชารัฐศาสตร์จาต้องอาศัยจริยธรรม เพราะว่าการปกครองจาบังเกิดผลดีหรือผลเสียย่อมข้ึนอยู่กับความเข้าใจและการยอมรับของผู้ปกครอง และผู้อยู่ใต้ปกครองนอกจากน้ันการดาเนินงานทางการเมืองท้ังภายในและระหว่างประเทศนั้นหากอยู่ ภายในกรอบของจริยธรรมแล้วก็จะอานวยประโยชนต์ ่อมนุษยชาติโดยสว่ นรวม 1.5.7 ความสัมพันธ์ระหว่างวิชารัฐศาสตร์กับนิติศาสตร์ วิชานิติศาสตร์หรือวิชากฎหมายน้ัน เป็นวิชาท่ีว่าด้วยกฎเกณฑ์ข้อบังคับในอันที่จาช่วยให้หมู่ชนอยู่ร่วมกันอย่างมีระเบียบทาให้ประชาชน สามารถรวมตัวกันข้ึนเป็นรัฐหรือประเทศได้ จึงกล่าวได้ว่ากฎหมายเป็นปัจจัยหนึ่งท่ีทาให้ประเทศธารง

15 ความเป็นประเทศอยู่ได้ กฎหมายจึงเป็นเครื่องมือของรัฐในอันท่ีจะส่งเสริมให้หน่วยงานการเมืองและรัฐ ดาเนินได้โดยปราศจากอุปสรรค เพราะฉะนั้นทุกยุคทุกสมัยจะต้องมีกฎหมายขึ้นมาเพ่ือใช้บังคับภายใน รฐั เสมอ สรุปว่าวชิ ารฐั ศาสตร์มคี วามสมั พันธ์กบั สาขาวิชาประวัติศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์วิชา จิตวิทยา วิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา วิชาภูมิรัฐศาสตร์ จริยธรรมและนิติศาสตร์ โดยวิชาประวัติ ศาสตร์ทา ให้นักรัฐศาสตร์ทราบถึงข้อมูลในอดีตเพ่ือนามาหาคาตอบให้กับเหตุการณ์ในปัจจุบันและอนาคตวิชา เศรษฐศาสตร์เกี่ยวข้องกับการแบ่งปันทรัพยากรถ้ามีปัญหาทางเศรษฐกิจย่อมส่งผลต่อการเมืองอย่าง หลีกเลย่ี งมไิ ดว้ ิชารัฐศาสตร์มคี วามสัมพนั ธก์ บั วชิ าจติ วิทยาเพราะถ้ารัฐสามารถเข้าถึงจิตใจของประชาชน ทาให้ประชาชนนิยมชมชอบการกาหนดนโยบายต่างๆ จึงทาได้ไม่ยากนักส่วนวิชาสังคมวิทยาและ มนุษยวิทยาเป็นเรื่องของการอยู่ร่วมกันของคนหมู่มากจึงจาเป็นต้องยอมรับกฎเกณฑ์ประเพณีหรือ วัฒนธรรมของสังคมการปกครองประเทศจึงต้องสอดคล้องกับวัฒนธรรมของสังคมน้ันๆ ด้วยวิชาภูมิ รัฐศาสตร์เกี่ยวขอ้ งกบั ทต่ี ้งั ภูมิศาสตร์ของประเทศจึงส่งผลต่อการกาหนดนโยบายทั้งภายในและภายนอก ประเทศขณะท่ีจริยธรรมมีความสัมพันธ์กับวิชารัฐศาสตร์ คือว่า ในการปกครองประเทศถ้าผู้นาผู้บริหาร ประเทศไร้ซ่ึงจริยธรรมก็จะนาพาความเสียหายใหญ่หลวงต่อประเทศชาติได้และสุดท้ายคือ วิชารัฐศาส- ตร์ มีความสมั พนั ธ์กบั นิติศาสตร์เพราะการปกครองประเทศต้องใช้กฎหมายเป็นกรอบในการปก ครอง 1.6 บทสรปุ วิชารัฐศาสตร์ คือ วิชาว่าด้วยการศึกษาเรื่องราวต่างๆ ท่ีมีรัฐเป็นจุดศูนย์กลางนับตั้งแต่อาณา เขต ท่ีตั้ง ผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง อานาจท่ีใช้ในการปกครองรัฐ การจัดองค์การ การปกครอง อานาจ สูงสุดของรัฐ การได้มาซงึ่ อานาจรฐั วิธกี ารรักษารวมไปถึงการทานุบารุงรัฐการบริหารรัฐให้มีประสิทธิภาพ เป้าหมายของรัฐรวมไปถึงการติดต่อสัมพันธ์กันระหว่างรัฐ ฉะน้ันขอบข่ายในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์จึงมี ความกวา้ งขวางจนแทบจะหาขอบเขตไม่พบ แต่อย่างไรก็ตาม วิชารัฐศาสตร์สามารถแบ่งแยกย่อยออกเป็น 7 สาขา ประกอบด้วย การศึกษาเรื่องรัฐบาลหรือสาขาวิชาการปกครอง การศึกษากลุ่มการเมือง สาขา กฎหมายมหาชน สาขารัฐประศาสนศาสตร์ สาขารัฐบาลเปรียบเทียบ สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และสาขาปรชั ญาทางการเมือง วิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ยุค คือ ยุคโบราณและยุคปัจจุบันวิธีการ ศกึ ษาทางรฐั ศาสตรไ์ ดส้ ั่งสมวธิ ีการศกึ ษา ดงั น้ี ยุคโบราณจะมี 2 แนวทาง คือ แนวทางเน้นปรัชญาแสวงหา ผู้ปกครอง รูปแบบรัฐที่ดีที่สุด กับแนวทางเน้นการปฏิบัติการบริหารการปกครองรัฐท่ีมีประสิทธิภาพโดย รเิ รม่ิ สร้างประมวลกฎหมายในสมัยโรมนั ในการศกึ ษาวิชารัฐศาสตร์น้ัน ได้มีการนาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ นามาใช้ศึกษาโดยการสังเกต ตั้งสมมติฐาน พิสูจน์สมมติฐานด้วยวิธีการเชิงปริมาณและสถิติแล้วสรุปเป็น ทฤษฎซี ง่ึ สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ได้นาไปใชป้ ระโยชน์อย่างมากในยุคปัจจุบันการศึกษาวิชารัฐศาสตร์

16 ได้รับอิทธิพลจากการศึกษาเชิงพฤติกรรม ซึ่งทาให้เกิดความสนใจศึกษากระบวนการทางการเมืองหรือ ระบบการเมือง ถ้าศึกษาในระดับสูงข้ึนไปจะเห็นได้ว่ารัฐศาสตร์มีพลังในการอธิบายปรากฏการณ์ทางการ เมืองที่เกิดข้ึนในสังคมได้ แต่ศักยภาพในการพยากรณ์ปรากฏการณ์ทางการเมืองในอนาคตเป็นส่ิงที่นัก รฐั ศาสตร์ยังคงพัฒนาวธิ ีการศึกษาใหส้ มบูรณ์ต่อไป การศึกษาวิชารัฐศาสตร์ให้เข้าใจชัดเจนแจ่มแจ้งนั้นผู้ศึกษาจะต้องให้ความสาคัญกับสาขาวิชา อื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น วิขาประวัติศาสตร์ทาให้ทราบเรื่องราวของรัฐอดีตเม่ือมีเหตุการณ์ที่เป็นปัญหาเกิด ขึน้ สามารถใช้แนวทางการแก้ปัญหาในอดีตมาเป็นบทเรียนได้ ดังนั้น การศึกษาวิชารัฐศาสตร์จึงเป็นวิชาท่ีผู้ศึกษาได้รับประโยชน์ท้ังทางตรงและทางอ้อม คือ เปน็ พลเมอื งของระบอบประชาธิปไตยรู้จักการใช้สิทธิซ่ือตรงต่อหน้าท่ีปฏิบัติตนภายใต้กฎหมายมีส่วนร่วม ทางการเมืองสนใจความยุติธรรมในสังคมและเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศได้ เช่น ปลัด อาเภอ ปลัด องค์การบริหารส่วนตาบล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนและเป็นพนักงานเจ้าหน้าท่ีในส่วนราชการ ตา่ งๆ ประกอบอาชีพภาคเอกชนและเป็นเจา้ ของกิจการเองเปน็ ต้น คาถามทา้ ยบท 1. จงอธบิ ายความหมายของรัฐศาสตร์ 2. เหตใุ ดจงึ กล่าววา่ วชิ ารัฐศาสตรม์ ขี อบข่ายการศกึ ษากวา้ งขวางจนแทบหาข้อยตุ ิไม่ได้ 3. เหตุใดการศึกษาวิชาวิชาประวตั ศิ าสตรจ์ ึงมีความสมั พันธก์ บั วิชารัฐศาสตร์ 4. วธิ กี ารศกึ ษาทางรัฐศาสตร์นาวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์มาประยกุ ต์ใชอ้ ย่างไร 5. การศึกษาวชิ ารฐั ศาสตร์มีประโยชน์ต่อผศู้ ึกษาอย่างไร 6. รัฐศาสตรแ์ บ่งออกเปน็ กสี่ าขา อะไรบา้ ง และแตล่ ะสาขาศึกษาเกยี่ วกับอะไร 7. รัฐประศาสนศาสตร์ มีความสมั พนั ธก์ ับวชิ ารัฐศาสตรใ์ นดา้ นใด 8. การท่ีวชิ ารฐั ศาสตร์ศึกษาวิชาประวตั ศิ าสตร์มีคุณประโยชน์อย่างไร 9. ผู้ศกึ ษาสามารถนาวิชารฐั ศาสตรไ์ ปประยกุ ต์ใช้ไดอ้ ย่างไร 10. ในชีวิตประจาวัน รฐั ศาสตร์มีส่วนเก่ยี วขอ้ งในดา้ นใดบ้าง

17 เอกสารอา้ งองิ โกวิท วงศ์สุรวัฒน.์ (2543). พ้ืนฐานรัฐศาสตรก์ ับการเมืองในศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพมหานคร: คณะ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. จักษ์ พนั ธช์ เู พชร. (2557). รัฐศาสตร์. พิมพ์คร้งั ที่ 9 กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั เคล็ดไทย จากัด. ณชั ชาภทั ร อุ่นตรงจิตร.(2548). รัฐศาสตร์. พิมพค์ ร้ังท่ี 2 กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ทนิ พันธ์ุ นาคะตะ. (2525). รฐั ศาสตร์. กรงุ เทพฯ: พูนสวสั ด์กิ ารพมิ พ.์ บรรพต วีระสยั , สรุ พล ราชภณั ฑารักษา, บวร ประพฤตดิ ี. (2523). รฐั ศาสตร์ทัว่ ไป. พิมพค์ ร้งั ท่ี 9. กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคาแหง. พรศกั ดิ์ ผอ่ งแผว้ . (2526). รัฐศาสตร์: ขอบขา่ ย สถานภาพ และการศกึ ษาวิจัย. กรงุ เทพมหานคร: เจา้ พระยาการพิมพ์. สนั สทิ ธิ์ ชวลติ ธารง. (2546). รฐั ศาสตรภ์ าพกว้าง. กรงุ เทพมหานคร: สวชิ าญการพิมพ์. อุไรวรรณ ธนสถติ ย์. (2543). รฐั ศาสตรก์ บั การเมืองไทย. กรุงเทพมหานคร: เปเปอร์เฮาส์. อานนท์ อาภาภิรม. (2545). รฐั ศาสตรเ์ บื้องตน้ . พิมพ์ครง้ั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร: โอเดียนสโตร.์



แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 2 รฐั และทฤษฎีกาเนดิ รฐั 1. เนอ้ื หาประจาบทที่ 2 รฐั และทฤษฎีกาเนิดรัฐ 1. ความหมายของรฐั 2. องค์ประกอบของรฐั 3. แนวคิดทฤษฎกี ารกาเนดิ รัฐ 4. พัฒนาการของรัฐ 5. การรบั รองรฐั 6. ความเป็นรัฐชาติ 7. พัฒนาการสคู่ วามเปน็ รัฐสมยั ใหม่ 8. รปู แบบของรัฐ 2. จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ผู้เรียนศกึ ษาเน้ือหาบทเรียนน้ีสามารถ 1. นกั ศึกษาสามารถอธิบายความหมายของรัฐได้ 2. นกั ศกึ ษาสามารถบอกและอธิบายองค์ประกอบของรัฐได้ 3. นกั ศกึ ษาสามารถสรปุ แนวคดิ ทฤษฎีการกาเนิดรฐั ได้ 4. นักศกึ ษาสามารถเข้าใจและอธิบายการพัฒนาของรฐั ได้ 5. นกั ศึกษาสามารถอธิบายและแยกความแตกตา่ งของการรับรองรัฐได้ 6. นกั ศึกษาสามารถอธิบายและวเิ คราะหพ์ ฒั นาการสูค่ วามเปน็ รัฐสมัยใหม่ได้ 7. นกั ศกึ ษาสามารถสรุปวา่ ประเทศไทยในอนาคตควรที่จะเปน็ รัฐแบบใดได้ 3. วธิ สี อนและกจิ กรรมการเรียนการสอนประจาบทที่ 2 1. วธิ ีสอน 1.1 ใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย 1.2 เนน้ ผ้เู รียนมสี ว่ นร่วม 1.3 วิธีการสอนแบบแบง่ กลุ่ม 1.4 วิธีการสอนแบบอภิปรายและวเิ คราะห์ 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน 2.1 ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอนหลกั และตาราอน่ื ๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง

20 2.2 ศกึ ษาจาก PowerPoint และสื่ออิเล็กทรอนคิ สต์ ่าง ๆ 2.3 รว่ มกันอภปิ รายเนอื้ หาและสรุปประเด็นหวั ขอ้ ร่วมกนั 2.4 ผสู้ อนสรุปประเด็นเนอื้ หาหัวขอ้ เพม่ิ เตมิ 2.5 ดวู ดี ที ัศน์ เรอื่ ง การกาเนดิ รฐั 2.6 ตอบคาถามใบงานจากการดูวดี ที ศั น์ 2.7 ผ้สู อนสรปุ เนอ้ื หาจากการชมวีดที ัศน์ 2.8 ทาคาถามทา้ ยบทท่ี 2 4. สื่อการเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนหลกั รายวิชา ความรู้เบอื้ งต้นเกีย่ วกับรัฐศาสตร์ PA 51105 2. PowerPoint และส่ืออเิ ลก็ ทรอนคิ ส์ 3. ใบงาน การกาเนิดรฐั 4. แบบฝกึ หดั คาถามท้ายบท 5. การวดั ผลและการประเมินผล 1. การให้คะแนนเขา้ หอ้ งเรยี น 2. การร่วมกจิ กรรมกล่มุ การนาเสนอหน้าชน้ั เรียน และการอภิปราย 3. การทาใบงาน 4. ทาแบบฝึกหัดท้ายบท 5. การมสี ว่ นรว่ มในชัน้ เรียนและนอกชั้นเรยี น 6. การตอบคาถามในชัน้ เรยี น

21 บทท่ี 2 รัฐและทฤษฎีกาเนดิ รัฐ ในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ มีความจาเป็นอย่างย่ิงที่ต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับ รัฐ หรือประเทศ เป็นอย่างดี ในบทน้ีจะให้ผู้ศึกษาได้เข้าใจความหมาย องค์ประกอบของรัฐ แนวคิดทฤษฎีการกาเนิดรัฐ พฒั นาการของรัฐ การรับรองรัฐ และรปู แบบของรัฐ ซึ่งเป็นเหมือนหัวใจในการศึกษาวิชานีแ้ ละเปน็ พน้ื ฐาน สาคัญในการศึกษาในระดับสงู ขนึ้ ไปรัฐ (State) จึงเป็นหน่วยการเมืองท่ีสาคัญท่ีสุด และเป็นสิ่งที่มีบทบาท อย่างมากในการเมอื งสมัยใหม่ 2.1 ความหมายของรัฐ คาว่า รัฐ มีใช้คร้ังแรกในสมัยกรีก โดยใช้คาว่า Polis ซ่ึงมีความหมายว่า รัฐ เพลโต นักปราชญ์ผู้มี ชื่อเสียงในสมัยนั้นได้ให้ความ เห็นของเขาไว้ในหนังสือท่ีมีชื่อว่า The Republic ว่าบุคคลไม่สามารถอยู่อย่าง โดดเดีย่ วได้ จงึ ตอ้ งมีการสรา้ ง รฐั ขน้ึ มาเพื่อที่จะตอบสนองความต้องการของบุคคล อริสโตเติล (Aristotle) (อ้างใน ธงชัย วงศ์ชัยสุวรรณ, 2552 : 51) อธิบายว่า นครรัฐในสมัยอารย ธรรมกรีกโบราณ คือ ชุมชนทางการเมืองที่มีสถานะสูงสุดเหนือชุมชนอื่น และรวมเอาชุมชนอ่ืนๆไว้ทั้งหมด ดังนน้ั รัฐจะต้องมจี ดุ มุง่ หมายเพ่ือบรรลุความดีที่เหนอื กว่าชุมชนอน่ื ๆ ที่อยภู่ ายในรัฐ แมกซ์ เวเบอร์ (Weber,1864-1920 อ้างใน บูฆอรี ยีหมะ, 2550 : 37) อธิบายว่า รัฐ เป็นองค์กร เพยี งหน่งึ เดียวท่ีมสี ทิ ธิและความชอบธรรมในการใชอ้ านาจและความรุนแรงทั้งหลาย ริชาร์ด ฮักกินส์ (1997 : 273 อ้างใน บูฆอรี ยีหมะ, 2550 : 38) ได้สรุปความหมายไว้ว่ารัฐ หมายถึง สถาบัน องค์การหรือหน่วยงานทั้งหลายท่ีดาเนินงานอยู่ภายในดินแดนหน่ึง โดยมีอานาจหน้าท่ีอย่างชอบ ธรรมเหนอื ตัวเรา และสามารถใช้กาลังความรนุ แรงอย่างชอบธรรมในการแทรกแซงเราหากเราฝา่ ฝืน ไม่ปฏิบัติ ตามกฎหมาย ระเบยี บหรือคาสั่ง เจ.พี. เน็ตเติล (J.P.Nettle อ้างใน ชัยอนันต์ สมุทวานิช, 2539 : 25-26) แจกแจงความหมายของรัฐ ออกเป็น 4 แนวคิด คือ (1) รัฐในฐานะองค์กรที่รวมศูนย์การทาหน้าที่และโครงสร้างไว้เพ่ือการท่ีจะปฏิบัติการได้ อย่างทุกด้าน รัฐจึงมีสถานภาพที่สูงกว่าองค์กรอื่นๆ ในสังคมและอานาจของรัฐเป็นอานาจท่ีเป็นไป ตามกฎหมาย (2) รัฐในฐานะท่เี ป็นหน่วยหน่ึงในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งหมายถึงการท่ีรัฐมีอสิ ระ ในการดาเนินกจิ กรรมต่างๆ กบั รฐั อน่ื ๆ

22 (3) รัฐในฐานะท่ีเป็นองค์กรท่ีมีความเป็นอิสระ เป็นส่วนหน่ึงของสังคมท่ีมีลักษณะเด่น เฉพาะตวั (4) รัฐในฐานะทเ่ี ป็นปรากฏการณ์ทางสงั คม-วัฒนธรรมอยา่ งหน่งึ ในภาษาไทย รัฐ มาจากคาบาลี รฏฐ หรือ ราษฎร ในภาษาสันสกฤต ตามพจนานุกรมราช บัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายว่า บ้านเมือง แว่นแคว้น นอกจากนี้ยังมีนักวิชาการได้ให้ ความหมาย คาจากัดความของ คาว่า รฐั ดังน้ี เดชชาติ วงศ์โกมลเชษฐ์ อธิบายว่า รัฐ คือ สมาคมของมนุษย์จานวนหน่ึงครอบครองดินแดนแห่ง หนึ่งที่มีขอบเขตแน่นอน รวมกันอยู่ภายใต้รัฐบาลหนึ่ง ถ้าเป็นกิจการภายในเป็นองค์การท่ีแสดงออกซึ่ง อธิปไตย แต่ถ้าเป็นกิจการภายนอกเป็นอิสระจากการบังคับบัญชาของรัฐบาลอื่น (เดชชาติ วงศ์โกมลเชษฐ์, ม.ป.ป: 44 อา้ งใน อานนท์ อาภาภริ ม, 2545: 13) จะเห็นได้ว่าการให้ความหมาย หรือคาจากัดความของคาว่า รัฐ นั้นขึ้นอยู่กับมุมมองที่นักวิชาการ แต่ละท่านจะนามาให้ความหมาย หากจะพิจารณาแล้วจะพบว่าทุกๆ ความหมาย จะมีความสาคัญท่ี คลา้ ยคลงึ กนั อยซู่ ่ึงความสาคัญทีว่ ่าน้ีเปน็ องค์ประกอบท่ีทาให้ความหมายของคาวา่ รัฐสมบูรณ์ยิ่งขึ้น 2.2 องค์ประกอบของรฐั การต้ังข้ึนของรัฐหน่ึงๆ จะมีความเป็นรัฐท่ีสมบูรณ์นั้นจะต้องมีองค์ประกอบครบท้ั ง 4 ประการ คอื 2.2.1 ประชาชน (Population) เปน็ องคป์ ระกอบที่สาคัญของรฐั กลา่ วคือ รฐั ทุกรัฐจะตอ้ ง มปี ระชาชนอาศัยอยจู่ ึงจะเป็นรัฐขึ้นมาได้ และประชาชนท่อี าศัยอยู่ในรัฐน้นั จะต้องเปน็ ประชาชนที่มี ที่อยู่อาศัยที่แน่นอน มีแหล่งประกอบอาชีพ หากประชาชนท่ีอยู่ยังมีการเร่ร่อนมิได้ลงหลักปักฐาน ความเปน็ รัฐก็ยงั ไม่เกิดขนึ้ เชน่ ชนกลมุ่ น้อยต่างๆ ท่ีอาศัยอยู่แนวตะเข็บชายแดน ซึ่งทรพั ยากรบุคคล จึงเป็นตัวกาหนดท่ีสาคัญว่ารัฐน้ันจะมีทิศทางไปทางใดหากรัฐใดก็ตามที่มีประชากรท่ีมีคุณภาพ ซ่ึง คุณภาพจะพิจารณาจาก คุณภาพชีวิต คณุ ภาพทางการศึกษา ความมรี ะเบียบวนิ ยั เปน็ ต้น รัฐน้ันกจ็ ะ มแี นวโน้มเปน็ รัฐทเี่ จริญในทางกลบั กันรฐั ทีม่ ีจานวนประชากรสงู แต่ขาดคุณภาพแนวโนม้ ในการพฒั นา รฐั อาจจะไม่สงู เท่าที่ควร ในทางกฎหมายน้ัน ประชาชนของรัฐใดก็จะมสี ัญชาติ (Nationality) ของรัฐ น้ัน ส่วนชาวต่างชาติท่ีมาอาศัยอยู่ในรัฐอื่นเรียกว่าคนต่างด้าว (Alien) คนต่างด้าวเหลา่ น้ีต้องปฏิบัติ ตามกฎหมายของรัฐท่ีตนไปอาศัยอยู่ด้วย อน่ึงมีข้อสังเกตในกรณีที่ราชอาณาจักรไทยมีการกาหนด เรอ่ื งเช้อื ชาติ (Race) เกี่ยวกับประชาชนชาวไทย หรือทีเ่ รยี กว่าเชอื้ ชาตไิ ทย (Thai Race) 2.2.2 ดินแดนท่แี นน่ อน (Territory) เน่ืองจากวา่ ในสมยั ปัจจุบนั ได้มกี ารประดิษฐเ์ ครอ่ื งมือ ในการช่ัง ตวง วัด ท่ีทันสมัยขึ้น ดังนั้นดินแดนท่ีจะถือเป็นองค์ประกอบของรัฐต้องมีอาณาเขตหรือ ดินแดนที่แน่นอน ซ่ึงจะมีทั้งพื้นดิน น่านน้า ทั้งอาณาเขตในแม่น้า ทะเลสาบ และอาณาเขตใต้ทะเล

23 นอกจากน้ียังรวมถึงขอบเขตของท้องฟ้าทอี่ ยู่เหนอื อาณาเขตของพ้ืนดินและทอ้ งนา้ ท้งั หมดอีกด้วยใน อดีตน้นั การแบ่งเขตพรมแดนพ้ืนดินตามหลักการสากลแล้วมักยึดเอาพรมแดนธรรมชาติ เช่น เทือกเขา แม่น้า เปน็ เกณฑ์ สาหรบั ในท่ีราบก็จะมีการปกั เขตแดน ส่วนอาณาเขตในท้องทะเลน้ัน เดิมทีตามหลักสากลจะยึดถือเอาว่าอาณาเขตของรัฐท่ีเรียกว่าเขต อธิปไตยนั้น นับจากชายฝั่งออกไปในทะเล 3 ไมล์ทะเล ต่อมาได้มีการกาหนดอาณาเขตทางท้องทะเลใหม่เป็น 12 ไมล์ และหันไปพิจารณาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เน่ืองจากท้องทะเลน้ันเป็นแหล่งท่ีม่ังค่ังด้วย ทรัพยากรธรรมชาติ ไม่วา่ จะเปน็ สตั ว์นา้ นา้ มนั ทองคา และแร่ธาตุตา่ งๆ ต่อมาได้มีการตกลงกันทาอนุสัญญา (Convention) พ.ศ.2535 ในการประชุมนานาชาติ ท่ีจัดขึ้นโดย องค์การสหประชาชาติ แต่กวา่ จะมีผลบังคับใช้ โดยการท่ีมปี ระเทศให้สัตยาบันครบ 60 ประเทศ ก็เป็นปี พ.ศ. 2537 หลักการสาคัญ คือ ทุกประเทศท่ีมีอาณาเขตติดต่อกับท้องทะเลจะมีอาณาเขตท่ีมอี านาจอธิปไตยอย่าง เต็มที่นับจากชายฝั่งออกไป 12 ไมล์ ส่วนเขตเศรษฐกิจจาเพาะ คือ เขตที่รัฐเจ้าของจะมีสิทธิอธิปไตยออกไป 200 ไมล์ เรียกว่า เขตเศรษฐกิจจาเพาะ (Exclusive Economic Zone) ถือเป็นเขตแดนท่ีรัฐเจ้าของมีสิทธิใน ทรัพยากรท้ังมวลในทะเล บรรดาเรือของรัฐอ่ืนสามารถท่ีจะแล่นผ่านได้ แต่ต้องไม่ทาการจับสัตว์น้าหรือทา กิจกรรมทางธุรกิจใดๆ ทั้งสิ้น (โกวิท วงศ์สุรวัฒน์, 2546: 31) แต่ในทางปฏิบัติการวัดพ้ืนที่แบบนี้ ย่อมทาให้ มีอาณาเขตทที่ ับซ้อนกันอยู่เป็นสว่ นใหญ่ 2.2.3 รฐั บาล (Government) คือ องค์การหรอื สถาบันทางการเมือง ทีจ่ ัดตง้ั ข้ึนมาเพอื่ เป็น ตัวแทนในการดาเนินงานของรัฐบาล ซึ่งมีอานาจในการจัดระเบียบ ออกกฎเกณฑ์ต่างๆ และรักษา ความสงบในการอยู่ร่วมกันของประชาชน ทั้งยังเป็นตวั แทนของประชาชน ทาการทุกอยา่ งในนามของ ประชาชนในดนิ แดนของตนเอง การที่มีรัฐบาลข้ึนได้นั้น จาเป็นจะต้องได้รับความยินยอมจากประชาชน รัฐบาลจะยืนยงอยู่ ได้ก็ด้วยการสนองความต้องการของประชาชน สามารถรักษาผลประโยชน์ของประชาชน ให้ความ ยุติธรรมต่อประชาชน ป้องกันการรุกรานจากประเทศอื่น โดยประชาชนมีหน้าที่เสียภาษีอากรและ ปฏบิ ัตติ ามกฎหมายของรฐั บาลที่บัญญตั ิออกมา นอกจากนรี้ ัฐบาลควรจะไดร้ ับการรับรองจากรฐั อ่นื ๆ เนือ่ งจากในปัจจุบันรัฐ รัฐหนึ่งไม่สามารถตั้งอยู่อย่างเอกเทศได้ จาเป็นตอ้ งมีการสานสัมพันธ์ไม่ว่าจะ ทางการค้า และความสมั พันธ์ระหว่างประเทศ 2.2.4 อานาจอธิปไตย (Sovereignty) เป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ซ่ึงก็คือ การแสดงออกซ่ึงเอกราชของประเทศหน่ึงๆ ที่สามารถจะเป็นตวั ของตวั เองในการกาหนดนโยบายของ ตนเองและนานโยบายของตนออกมาบงั คบั ใช้ไดเ้ ต็มท่ี โดยไมต่ กอยูใ่ ตค้ าบัญชาของประเทศอ่นื ใด อานาจอธิปไตยเป็นแนวคิดทางกฎหมาย ซึ่งอาจแบ่งออกเป็นอานาจอธิปไตยภายใน (Internal Sovereignty) และอานาจอธิปไตยภายนอก (External Sovereignty)

24 2.2.4.1 อานาจอธิปไตยภายใน เป็นอานาจท่ีออกกฎหมายและรักษากฎหมาย ตลอดจนบังคบั ใหป้ ระชาชนปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย 2.2.4.2 อานาจอธิปไตยภายนอก คือ อานาจท่ีประเทศจะดาเนินความสัมพันธ์กับ ประเทศอ่นื ๆ รวมทั้งอานาจที่จะประกาศสงครามและทาสนธิสญั ญาสันติภาพ ดงั น้ัน อานาจอธิปไตย ภายนอก ก็คือ เอกราชนนั่ เอง สาหรับประเทศไทยนั้น ได้ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ได้มีการระบุถึงอานาจ อธิปไตยไว้ชัดเจนว่า อานาจอธปิ ไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผทู้ รงเป็นประมุขทรงใชอ้ านาจ นน้ั ทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล เมื่อพิจารณาจากองค์ประกอบของรัฐท้ัง 4 ประการ แล้ว ทาให้เข้าใจว่า รัฐ ได้ชัดเจน ข้ึน สรุปได้ว่า รัฐ คือ การรวบตัวกันของกลุ่มคนท่ีมีความประสงค์จะอยู่รวมกันในดินแดนหรืออาณาเขตท่ี แน่นอนและรวมกันจัดตั้งรัฐบาลหรือตัวแทนขึ้นมาเพ่ือทาหน้าที่ในการดาเนินกิจกรรมต่างๆในรัฐน้ัน โดย รัฐบาลท่ีจัดต้ังข้ึนมาน้ีต้องได้รับความยินยอมจากคนในรัฐและต้องมีอานาจอธิปไตยเป็นของตัวเอง รัฐอื่นจะ แทรกแซงอธปิ ไตยมไิ ด้ ภาพที่ 3 กาเนิดรฐั ชาติ (ที่มา : https://www.google.co.th) 2.3 แนวคิด ทฤษฎกี ารกาเนดิ รฐั การกาเนิดรัฐ (origin of state) เป็นส่วนหน่ึงที่สาคัญในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ เม่ือมีการ ให้คาจากัดความว่ารัฐคืออะไร นักรัฐศาสตร์จึงพยายามแสวงหาว่ารัฐเกิดข้ึนได้อย่างไร โดยนาเอา หลกั การ แนวคิดท่ีมอี ยมู่ าต้ังเป็นแนวทางในการสบื ค้นโดยตัง้ เป็นสมมตุ ฐิ าน ซง่ึ สมมตุ ฐิ านบางอย่างที่ ตง้ั ขึน้ ในห้วงเวลาต่างกันอาจมีความเช่ือที่แตกต่างกัน ดังนั้นแนวคิดบางเรอื่ งอาจไม่ไดร้ ับการยอมรับ เมือ่ มีข้อเทจ็ จริงท่ีพิสูจนไ์ ด้มาหักรา้ ง

25 อย่างไรก็ดี แนวคิดในการกาเนิดรัฐท่ีได้รับการยอมรับในการศึกษาตลอดมา อานนท์ อาภา ภริ มย์ ไดอ้ ธบิ ายและพอสรุปได้ 2.3.1 ทฤษฎีเทวสทิ ธิ์ (The Divine Theory) เป็นทฤษฎีที่มีความเก่าแก่ที่สุด โดยแนวคิดนี้ เชื่อว่าพระเจ้าได้ดลบันดาลหรือสร้างรัฐขึ้นมา เอง แนวคิดนี้มีต้นกาเนิดมาจากอาณาจักรโบราณแถวตะวันออกกลาง ที่ผู้ปกครองได้รับการยอมรับว่าเป็น เชื้อสายสืบทอดมาจากพระเจ้า ชาวฮิบรูโบราณเช่ือว่าพระเจ้าได้สร้างกฎของการปกครอง แนวคิดน้ีเป็นที่ นิยมที่สุดในช่วงยุคกลาง แต่ก็มีความขัดแย้งระหว่างสันตะปาปากับจักรพรรด์ิแห่งอาณาจักรโรมันอัน ศกั ด์ิสิทธ์เิ กี่ยวกับบทบาทของผู้ปกครองว่าควรจะมากหรือน้อยกว่าสันตะปาปาซ่ึงเป็นผู้นา ทางศาสนาในโลก มนุษย์ ซึ่งทฤษฎีน้ีมีความเชื่อ 3 ข้อหลักคือ ประการแรกรัฐเป็นการดลบันดาลมาจากเจตนารมณ์ของพระเจ้า ประการที่สองมนุษย์ไม่ได้เป็นปัจจัยของการสร้างรัฐ เป็นเพียงองค์ประกอบหนึ่งของรัฐ และประการสุดท้าย ผู้ปกครองรัฐมีหน้าที่เสมือนตัวแทนของพระเจ้า ประชาชนต้องเชื่อฟังและเคารพโดยดุษฎีด้วยเหตุน้ีคนที่มี ความเช่ือในลัทธิเทวสทิ ธิ์ จึงให้ความสาคัญแค่พระเจ้า กับผ้ปู กครอง ผู้ซ่งึ ได้รับคา บัญชาจากพระเจา้ ให้ลงมา ปกครองมนุษย์ มนุษย์เป็นเพียงองค์ประกอบหนึ่งของรัฐเท่าน้ัน ซ่ึงไม่มีความสาคัญและไม่สามารถท้าทาย การคงอยู่ของผู้ปกครองได้ การท้าทายหรือการละเมิดอานาจของผู้ปกครองจึงถือว่าเป็นการละเมิดต่อ พระเจา้ จงึ ถอื ว่ามีโทษและเป็นบาป ภาพที่ 4 พระเจา้ สร้างรฐั (ทีม่ า : https://www.google.co.th) ในเวลาต่อมา เมื่อวิทยาศาสตร์เขา้ มาแทนที่ความศกั ด์ิสทิ ธิของศาสนา ทฤษฎีเทวสิทธิ์นี้ไดถ้ ูก ท้าทายโดยพวกชนชั้นกลางท่ีได้ประโยชน์จากแนวคิดใหม่ท่ีสนับสนุนตัวเองคือแนวความคิดอานาจ อธิปไตยเป็นของปวงชน(popular sovereignty)การปฏวิ ัติในช่วงศตวรรษท่ี 17–18 จงึ เปน็ การปฏิวัติ ในช่ือของประชาชนเพ่ือต่อต้านระบอบการปกครองโดยกษัตริย์ เป็นการล้มล้างลัทธิเทวสทิ ธิ์ให้หมด

26 ส้นิ ไปในทางปฏิบัติทฤษฎีน้ีนิยมกันในหมู่ชนท่ีตอ้ งการจะสนับสนุนอานาจเด็ดขาดของพระมหากษัตริย์ หรอื ในหมชู่ นทีไ่ ม่นยิ มการปกครองระบอบประชาธิปไตย เพราะหากเช่อื ตามนีอ้ านาจของกษัตรยิ จ์ ะมี อยา่ งมากมายลน้ ฟา้ เพราะเปน็ ตวั แทนของพระเจา้ ไม่มใี ครสามารถลม้ ล้างได้ 2.3.2 ทฤษฎสี ญั ญาประชาคม (Social Contract Theory) ทฤษฎีน้ีเชื่อว่า อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน (popular sovereignty) ซ่ึงในที่สุด แลว้ ไดช้ ัยชนะเหนอื ทฤษฎีเทวสิทธิท์ ไ่ี ดก้ ล่าวมา ทฤษฎีสัญญาประชาคมนีม้ ีพื้นฐานอยู่บนความเช่ือว่า รฐั มีต้นกาเนิดมาจากมนุษย์ โดยวิธีการที่เรียกว่าสัญญาประชาคม (social contract) ที่บุคคลแต่ละ คนได้ลงความเห็นไว้ด้วยกัน แนวความคิดนี้เกิดข้ึนมามากมายโดยเฉพาะภายหลังสงครามศาสนา และในช่วงการปฏิวัติโดยประชาชนในประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกาและฝรั่งเศส ซึ่งทฤษฎีสัญญา ประชาคมน้ีมีสาระสาคัญ 3 ประการ คือ ประการแรกรัฐเกิดมาจากมนุษย์ หรอื มนุษย์เป็นผู้สร้างรัฐ ไมใ่ ช่พระเจ้าดังทเี่ คยเชื่อกนั มาอกี ต่อไป ซงึ่ สาเหตุท่ีมนษุ ย์ต้องมาสรา้ งรัฐนัน้ โทมัส ฮอบส์ นักปรชั ญาการเมอื งคนหน่ึงให้ความคิดเหน็ ไวว้ า่ สภาพตามธรรมชาตขิ อง มนุษย์ในความเห็นของฮอบส์นั้นเปน็ สภาพท่ีชว่ั รา้ ย ดังน้นั จึงตอ้ งมีการรวมตวั กนั เพ่อื เปน็ รฐั จอนห์ ล็อค นักปรัชญาการเมืองอีกคนหนึ่ง บอกว่า สภาพเดิมของมนุษย์มีความสุข แต่สาเหตุที่จะต้องมีการรวมกันเป็นรฐั เพ่ือท่ีจะประกันว่าหากมีปัญหาจะมีการแก้ไขข้อขัดแย้งกันได้ ด้วยเหตุนี้มนุษยจ์ งึ สร้างรฐั ขนึ้ ในฐานะที่จะเข้ามาช่วยแกป้ ัญหาต่างๆ ของมนุษย์ รุสโซ มีความเห็นว่า มนุษย์ร่วมตกลงกันอย่างเอกฉันท์ที่จะสร้างชุมชนข้ึนมาให้เป็น ชมุ ชนทางสังคมซ่ึงยึดหลักเจตนารมณ์ท่มี เี หตุผลคอื General Will ซึง่ เป็นแรงผลกั ดันใหร้ ัฐปฏิบัติการ ไปเพื่อประโยชนส์ ุขแกป่ ระชาชนทวั่ ไป โดยเนน้ ถึงประโยชน์สุขรว่ มกนั เม่ือพิจารณาจากความคิดต่างๆ ดังกล่าวจะพบว่า การสร้างรัฐนั้นเป็นวัตถุประสงค์ เป็นไปเพื่อประชาชน ที่เกย่ี วข้องกับชีวติ เสรีภาพ และทรพั ย์สิน มนุษยท์ กุ คนไม่ไดม้ อบสิทธธิ รรมชาติ ให้แก่ผู้ใด สิทธินั้นยังคงอยู่กับมนุษย์ มนุษย์จึงมีสิทธิทุกประการในสังคมหรือรัฐที่ตนได้ก่อต้ังข้ึนมา รปู แบบของรัฐบาลจะเปน็ เช่นใดก็ขน้ึ อย่กู ับเสยี งขา้ งมากซ่ึงทกุ คนท่ีเขา้ ร่วมสญั ญาประชาคมยอมรับท่ี จะปฏิบตั ติ ามเสียงขา้ งมากทุกประการ รัฐสภาจงึ มอี านาจสูงสดุ อย่างไรก็ตาม ในความคิดเห็นท่ีว่ารัฐและรฐั บาลจะต้องมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นไปตาม เจตนารมณ์ของผู้ร่วมทาสัญญาคือประชาชน น้ันถึงแม้ว่าทั้งล็อค และฮ็อบส์ ต่างก็เชื่อเหมือนกันว่า รฐั บาลเปน็ ผลจากสัญญาของประชาชน แต่มีความแตกตา่ งกันคือ ล็อค ถือว่า รัฐบาลต้องรับผิดชอบต่อประชาชนผู้เข้าทาสัญญา หากรัฐบาลทาไม่ถูก ประชาชนสามารถถอดถอนรฐั บาลได้ ฮอบส์ บอกว่า มนุษย์ยอมมอบอานาจให้กับรัฐบาลหมด แต่รัฐบาลที่เกิดข้ึนไม่ได้เป็น คู่สัญญาของประชาชน ดังน้ันจึงไมจ่ าเปน็ ทีจ่ ะต้องรับผิดชอบต่อประชาชน รฐั บาลจะกระทาการใด ๆ

27 กไ็ ด้แม้ว่าจะเป็นการละเมดิ สญั ญาหรือเป็นการใช้อานาจมากเกนิ ไปกต็ ามประชาชนจึงไมส่ ามารถถอด ถอนรัฐบาลได้ทฤษฎีนี้จะเป็นรากฐานของระบอบประชาธิปไตยสมัยปัจจุบันโดยการให้ความสาคัญ ของปจั เจกบุคคล 2.3.3 ทฤษฎีแสนยานุภาพหรอื ทฤษฎีพละกาลงั (Force Theory) ทฤษฎนี ้ีเช่ือว่าการปกครอง มีจุดเรม่ิ ต้นมาจากการเข้ายดึ ครอง (conquest) และการ บงั คบั (coercion) ด้วยเหตุน้ีรากฐานของรัฐ คือ ความอยุติธรรม (injustice) และความชั่วร้าย (evil) ดังน้ันผทู้ ี่เข้มแข็งกว่าจึงสามารถข่มเหงผู้ท่อี ่อนแอกว่า และไดส้ ร้างกฎเกณฑ์(legitimacy) เพ่ือจากัด สิทธิของบุคคลอ่ืน ซึ่งแนวความคิดนพ้ี วกคริสเตยี นในสมยั กลางเช่อื กันว่าอาณาจกั รโรมนั ได้ก่อกาเนิด ข้ึนด้วยแสนยานุภาพ ซ่ึงทางศาสนาเห็นว่าไม่ถูกต้องและไม่เห็นด้วยอย่างไรก็ตาม มีความเห็นกันว่า อานาจหรือพละกาลงั น้ีก็ไม่ใช่ส่งิ ทีเ่ สียหายอยา่ งเดียว ลัทธนิ าซีในเยอรมนั ถือว่าชาตินิยมเป็นลักษณะ ที่สาคัญของรัฐ และเชื่อว่าอานาจเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญของรัฐบาล ทาให้เกิดความถูกต้องและ ความชอบธรรม อานาจสรา้ งความยุติธรรม ดงั นัน้ เผ่าชนทีม่ พี ลังมากที่สดุ คอื เผ่าชนที่ดีท่ีสุด และรฐั คือ องค์การท่ีมีอานาจเหนือองค์การใดๆ ของมวลมนุษย์ นอกจากนั้นรฐั ยังอยู่ในฐานะท่ีสูงกว่าศีลธรรม จรรยาท้ังปวง แต่แนวความคิดนี้ก็สูญสลายลงไปพร้อมๆ กับการพ่ายแพ้ของพวกนาซีในช่วงหลัง สงครามโลกครั้งท่ี 2 2.3.4 ทฤษฎธี รรมชาติ (Natural Theory) ทฤษฎีน้ีเริม่ ต้นขนึ้ ดว้ ยความเชอ่ื ทวี่ า่ โดยธรรมชาติมนษุ ย์เป็นสตั ว์การเมือง อริสโตเติล อธิบายว่า มนุษย์น้นั โดยธรรมชาติเป็นสัตว์การเมือง(political animal)ผู้ซ่ึงสามารถสร้างความสาเร็จ ได้ก็โดยการมีชีวิตอยู่ในรัฐเท่าน้ัน มนุษย์ที่ไม่ได้อาศัยอยู่ในรัฐก็จะไม่ใช่มนุษย์ แต่จะเป็นพระเจ้า (god) หรือไม่เช่นน้ันก็เป็นสัตว์ (beast) ไปเลย ดังนั้นกิจกรรมทางการเมืองของมนุษย์จึงเป็นเร่ือง ธรรมชาติ เพราะมนุษย์กับการเมอื งเปน็ สง่ิ ที่แยกจากกนั มิได้ 2.4 พฒั นาการของรัฐ 2.4.1 ชนเผา่ (Tribel) หรือ กลมุ่ เครือญาติ (Clan) ในลักษณะของการรวมตัวกันของกลุ่ม คนประเภทน้ีจดั เป็นรฐั ท่ีพฒั นาน้อยทีส่ ดุ มักจะเนน้ การรวมตวั กันในกลุ่มเครือญาติหรือกล่มุ คนขนาด เล็กท่ีมีวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี การแต่งกายคล้ายๆ กัน มีการปกครองโดย หัวหน้า หรือผู้อาวุโส การยึดติดอยู่กับดินแดนอาณาเขตท่ีแน่นอนมีน้อย มักจะเร่ร่อนท่ีอยู่เป็นคร้ัง คราว เชน่ อนิ เดยี แดง ชาวเขาเผ่าตา่ งๆ 2.4.2 จักรภพของประเทศตะวันออก (Oriental Empire) คือ เป็นรัฐในรูปแบบรัฐเผด็จ การท่ีมีการปกครองแบบรวมอานาจอยู่ท่ีศูนย์กลางของชนช้ันปกครองมีอานาจเด็ดขาด ในขณะที่ ประชาชนสว่ นใหญ่มชี วี ิตเหมือนขา้ ทาสไม่คอ่ ยมสี ทิ ธมิ เี สยี งเทา่ ไรนกั

28 ภาพท่ี 5 นครรัฐกรกี -โรมนั (ที่มา : https://dreamlovely17noparada.wordpress.com) 2.4.3 นครรัฐ(City State) ตัวอยา่ งทส่ี าคัญ คอื นครรัฐของกรีก ซึ่งมคี วามยึดมนั่ ในเสรภี าพ และมีความนยิ มชมชอบในความเปน็ มนุษย์เป็นอยา่ งย่ิง ชาวกรีกโบราณไม่ยอมอยภู่ ายใตอ้ านาจของผู้ เผด็จการหรือพระในศาสนาใดๆ โลกทศั น์ของชาวกรีกจะเปน็ แบบมีเหตมุ ีผลไมง่ มงายติดอยกู่ ับความ เชื่อหรือศาสนาจนเกินไป ชาวกรีกโบราณถือว่าความอยากรู้อยากเห็นนั้นเป็นส่ิงที่สูงส่ง ดังน้ัน การ แสวงหาความรู้จึงเป็นสิ่งสาคญั และทาให้เกิดมรดกแก่โลกท้ังทางด้านความคิด ปรชั ญา และท่ีสาคัญ มากสาหรับวิชารฐั ศาสตร์ ก็คือ แนวความคดิ ประชาธิปไตย 2.4.4 จกั รวรรดโิ รมนั (The Roman Empire) เป็นจกั รวรรดิท่ีมคี วามเปน็ นิติรฐั ในแง่ทว่ี ่า กฎหมายของโรมันให้ความเท่าเทียมกันแก่บรรดาชาวโรมันท้ังปวง ทั้งยังมีความพยายามทจ่ี ะให้สิทธิ ในการเป็นพลเมอื ง (Citizenship) แกบ่ ุคคลตา่ งชาตทิ ่ีมคี วามสามารถ หรอื ทาประโยชน์ใหแ้ ก่ประเทศ ทง้ั น้ีทุกคนต้องรู้กฎหมาย คือ รทู้ ั้งสิทธแิ ละหน้าทีข่ องตน กฎหมายของโรมนั จะถูกจารึกไว้บนแผ่นไม้ หรือโลหะแลว้ นาไปตัง้ ไว้ตามสถานท่ีสาธารณะต่างๆ เพื่อที่คนทุกคนจะได้อ่านและเข้าใจในสิทธแิ ละ หนา้ ทขี่ องตน สาหรับจักรวรรดโิ รมนั ได้มีการปกครองมาแล้วหลายแบบ ทั้งแบบกงสุล (Consul) การ ปกครองโดยสภา (Senate) และตอ่ มาก็เปน็ จักรพรรดิ (Emperor) 2.4.5 รัฐฟิวดัล (Feudal State) มีลักษณะที่สาคัญ คือ การยึดพื้นท่ีเป็นหลักสาคัญโดย พวกขุนนาง (Lord) บังคับให้ผู้คนเป็นทาสติดที่ดิน(Serf) ทางานรับใช้และเกณฑ์เป็นทหารในยามศึก สงครามด้วย โดยขุนนางจะใหก้ ารค้มุ ครองเป็นผลตอบแทน 2.4.6 รัฐสมัยใหม่ (Modern State) หรือ รัฐชาติ (Nation State) ความเป็นรัฐสมัยใหม่นั้นเป็น แนวความคิดท่ีมีผลสืบเน่ืองมาจากยุดฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ (Renaissance) ที่มีการศึกษาศาสตร์ต่างๆโดย การนาเอาหลักการวิทยาศาสตร์เข้ามาอธิบายปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในสังคม ไม่ได้อ้างอิงกับความเช่ือในเรื่อง ของไสยศาสตร์ อานาจของพระเจ้า ดังน้ันความเป็นรัฐสมัยใหม่จึงต้องมีองค์ประกอบของรัฐครบถ้วนท้ัง 4 ประการ คอื ประชาชน ดินแดนท่ีแนน่ นอน รฐั บาล และอานาจประชาธิปไตยขาดอย่างใดอย่างหนง่ึ มไิ ด้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook