Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดร.พรศักดิ์ สุจริตรักษ์

ดร.พรศักดิ์ สุจริตรักษ์

Published by วิทย บริการ, 2022-07-27 01:54:54

Description: ดร.พรศักดิ์ สุจริตรักษ์

Search

Read the Text Version

รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะครูรองรับการศกึ ษายคุ 4.0มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง พรศกั ด์ิ สุจริตรักษ์ ชนติ า พลิ าไชย งานวิจัยน้ีได้ผ่านการพจิ ารณาจากมหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง และได้รับทนุ อุดหนุนการวิจยั จากมหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 พฤษภาคม 2564 ลขิ สทิ ธ์ิเปน็ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู ้านจอมบึง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะครูรองรับการศกึ ษายคุ 4.0 พรศกั ด์ิ สุจริตรักษ์ ชนติ า พลิ าไชย งานวิจัยน้ีได้ผ่านการพจิ ารณาจากมหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง และได้รับทนุ อุดหนุนการวิจยั จากมหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 พฤษภาคม 2564 ลขิ สทิ ธ์ิเปน็ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู ้านจอมบึง

ชือ่ เร่ือง รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครรู องรบั การศกึ ษายุค 4.0 ผู้วิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรศกั ด์ิ สุจรติ รกั ษ์ ชนติ า พลิ าไชย สาขาวิชา การบริหารการศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บทคัดย่อ การวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. สมรรถนะครูรองรับการศึกษายุค 4.0 2. รูปแบบ การพัฒนาสมรรถนะครูรองรับการศึกษายุค 4.0 และ 3. ยืนยันความเป็นไปได้ ความเป็นประโยชน์ ความถกู ต้องครอบคลุมของรปู แบบการพัฒนาสมรรถนะครูรองรบั การศึกษายุค 4.0 กล่มุ ตัวอย่างท่ีใช้ ในการวิจัย คือ โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาจังหวัดราชบุรี และ สมุทรสงคราม จานวน 196 โรงเรียน ได้มาโดยการเปิดตารางกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่ และมอรแ์ กน จากน้นั ทาการสุ่มแบบแบ่งชั้นโดยใชส้ งั กัดเขตพ้นื ท่ีเป็นชน้ั โดยมีผู้ให้ข้อมูลโรงเรยี นละ 5 คน ประกอบด้วย ผู้อานวยการโรงเรียน 1 คน และคุณครูผู้สอนจานวน 4 คน รวมทั้งส้ิน 784 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็น แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และแบบตรวจสอบความเหมาะสม สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถ่ี ค่าร้อยละ คา่ เฉล่ยี สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหป์ จั จัยเชงิ สารวจ ผลการวิจยั พบวา่ 1. สมรรถนะครูรองรับการศึกษายุค 4.0 มีจานวน 7 สมรรถนะหลัก 122 สมรรถนะย่อย ดังน้ี 1) ด้านหลักสูตรและเนื้อหาวิชา มี 8 สมรรถนะย่อย 2) ด้านการจัดการเรียนการสอน มี 26 สมรรถนะ ย่อย 3) ด้านการพัฒนาตนเองและเทคโนโลยี มี 48 สมรรถนะย่อย 4) ด้านคุณธรรม จริยธรรมมี 9 สมรรถนะย่อย 5) ด้านความสัมพันธ์กับชุมชนและการมีส่วนร่วม มี 11 สมรรถนะย่อย 6) ด้านการให้ ความสาคญั กับผู้เรียน มี 16 สมรรถนะย่อย และ 7) ดา้ นการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ มี 4 สมรรถนะ ย่อย 2. รปู แบบการพฒั นาสมรรถนะครูรองรับการศึกษายคุ 4.0 ประกอบดว้ ย 7 ดา้ น ดังน้ี 1) กิจกรรม เพื่อพัฒนาศาสตร์การสอน 2) การนิเทศ และติดตามผล 3) การใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 4) การ แสวงหาและพัฒนาตนเอง 5) การสร้างเครือข่าย ทีมงาน และความร่วมมือ 6) การเสริมแรง และ 7) การ เปลยี่ นบทบาท 3. ผลการยืนยันรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูรองรับการศึกษายุค 4.0 ผู้ทรงคุณวุฒิมี ความเหน็ สอดคล้องกันวา่ มีความเป็นไปได้ ความมีประโยชน์ และความถกู ต้องครอบคลุม

THESIS TITLE MODEL DEVELOPMENT OF TEACHER COMPETENCIES FOR EDUCATION 4.0 RESEARCHER ASST.PROF.DR.PHORNSAK SUCHARITRAK MS.CHANITA PILACHAI CURRICULUM MASTER OF EDUCATION PROGRAM IN EDUCATIONAL ADMINISTRATION มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง GRADUATION YEAR 2020 KEYWORDS TEACHER, COMPETENCIES, MODEL, EDUCATION 4.0 ABSTRACT The purposes of this research were to 1.explore the teachers' competencies for education 4.0; 2. find out the model development of teachers' competencies for education 4.0; 3. examine the confirmatory of model development in terms of possibilities, usefulness, correctives which covered the teachers' competencies for education 4.0. The sample consisted of the 196 schools under the Primary Education Area office in Ratchaburi and Samut-Songkram. Krejcie & Morgan was used to estimate the sample size. The stratified random sampling was given a particular sample, five informers for each school; 1 school director and 4 teachers were selected, with 784 informers in total. The instruments in this research were structured interviews, open- ended questionnaires, and checklists. The statistical procedures used were descriptive statistics and Exploratory Factor Analysis. The results can be concluded as follows: 1. The teachers' competencies for education 4.0 composed of 4 major elements and 122 minor elements as follows: 1) curriculum and course description, which consisted of 8 minors; 2) teaching and learning include 26 minors; 3) self-development and technology with 48 minors; 4) morals and ethics with 9 minors; 5) community relationship and participation with 11 minors; 6) Learners' concentration and focus; and; 7) environmental learning management with 4 minors. 2. The model development of teachers' competencies for education 4.0 was as follows; 1) science of teaching development activities; 2) supervision and follow- up; 3) technology learning development uses; 4) searching for and self- development; 5) networking building, team and cooperation; 6) enforcement and; 7) changing roles. 3. The experts agreed on the confirmatory model's development of teachers' competencies for education 4.0 that was appropriate, practical, covered, and valuable.

กติ ติกรรมประกาศ วิจัยเรื่อง รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูรองรับการศึกษายุค 4.0 เป็นวิจัยที่ได้ผ่านการ พิจารณาจากมหาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บ้านจอมบึง และได้รบั ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏ หมู่บา้ นจอมบงึ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 5 ทา่ น ประกอบด้วย 1. รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ อนิ ทร์รักษ์ อดีตหัวหน้าภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. รองศาสตราจารย์ ดร.มัทนา วงั ถนอมศักด์ิ หัวหน้าภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยศิลปากร 3. รองศาสตราจารย์ ดร.วิสุทธ์ิ วิจิตรพัชราภรณ์ ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 4. รองศาสตราจารย์ น.ท. ดร.สุมิตร สุวรรณ ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ 5. รองศาสตราจารย์ ดร.ปยิ ะนาถ บญุ มีพพิ ธิ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา สถาบันเทคโนโลยแี ห่งสวุ รรณภมู ิ ขอขอบคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมคิด ดวงจักร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชวน ภารังกูล และ อาจารย์ ดร.สุดจติ หมนั่ ตะคุ ทไี่ ด้ให้ความกรณุ าเปน็ ผู้เชี่ยวชาญตรวจเคร่อื งมือวิจัย ขอบคุณผู้อานวยการและคณะครูโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดราชบุรี เขต 1 และเขต 2 และโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาจังหวัด สมทุ รสงคราม ท่ีใหค้ วามความอนุเคราะห์เป็นกลุ่มตัวอยา่ งในการเกบ็ ข้อมลู วิจัย คุณประโยชน์ท่ีได้รับจากการวิจัยน้ี ผู้วิจัยขอมอบให้แด่คุณพ่อ คุณแม่ ครู อาจารย์ทุกท่านที่ได้ อบรมส่งั สอนแกผ่ ู้วิจัย พรศักด์ิ สุจริตรักษ์ ชนิตา พิลาไชย มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง (ง) สารบญั หน้า บทคัดยอ่ ภาษาไทย………………………………………………………………………………………………..… (ก) บทคดั ย่อภาษาองั กฤษ…………………………...................……………………………….………………… (ข) กติ ติกรรมประกาศ……………..……………………………………….…………………….…………………..… (ค) สารบัญ ……………………………………………………………………………………………………………….. (ง) สารบญั ตาราง...................................................................................................................... (ฉ) สารบญั ภาพประกอบ........................................................................................................... (ฌ) บทที่ 1 บทนา.................................................................................................................... 1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา............................................................... 1 วตั ถุประสงค์ของการวิจัย...................................................................................... 6 สมมติฐานของการวิจยั .......................................................................................... 6 ขอบเขตของการวิจัย............................................................................................. 6 กรอบแนวคิดในการวิจัย........................................................................................ 7 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ................................................................................................... 15 ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั .................................................................................... 15 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้อง............................................................................ 16 แนวคดิ ทฤษฎีท่ีเก่ยี วข้อง..................................................................................... 16 รปู แบบ................................................................................................................. 16 ความเป็นมาประเทศไทย 4.0............................................................................... 21 การศึกษาจากยุค 1.0 สู่ยคุ 4.0............................................................................. 22 ความหมายของสมรรถนะ..................................................................................... 28 สมรรถนะของครรู องรับการศึกษายคุ 4.0............................................................. 29 แนวคิดรปู แบบการพฒั นาสมรรถนะครรู องรบั การศึกษายุค 4.0..….………………… 64 งานวจิ ยั ที่เกีย่ วข้อง............................................................................................... 73 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย.................................................................................................. 79 ขน้ั ตอนการดาเนินการวิจัย.................................................................................... 79 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง................................................................................... 82 การสรา้ งและพัฒนาเคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย........................................................ 83

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง (จ) สารบญั (ตอ่ ) หนา้ เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ัย....................................................................................... 84 การวเิ คราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิจยั .......................................................... 85 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล........................................................................................... 87 ตอนที่ 1 สังเคราะหต์ วั แปรสมรรถนะครูเพ่ือรองรับการศกึ ษายคุ 4.0……………... 87 ตอนที่ 2 สังเคราะห์ตวั แปรรูปแบบการพฒั นาสมรรถนะครเู พ่ือรองรับการศึกษา ยคุ 4.0............................................................................................. 98 ตอนที่ 3 การวเิ คราะห์องค์ประกอบสมรรถนะครูในยุค 4.0…………………….…….. 110 ตอนท่ี 4 การวเิ คราะหต์ ัวแปรการพฒั นาสมรรถนะครรู องรับการศกึ ษายคุ 4.0.. 135 ตอนท่ี 5 การยนื ยนั รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครรู องรับการศกึ ษายคุ 4.0...... 160 บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ....................................................................... 165 สรปุ ผลการวิจยั ..................................................................................................... 165 อภิปรายผลการวิจยั .............................................................................................. 170 ข้อเสนอแนะ......................................................................................................... 182 บรรณานกุ รม.............................................................................................................................. 183 ภาคผนวก................................................................................................................................... 190 ภาคผนวก ก หนังสือขอความอนเุ คราะห์ เคร่ืองมือวิจยั เพ่ือตรวจสอบความตรง และ รายชอื่ ผ้เู ชี่ยวชาญ......................................................................................... 191 ภาคผนวก ข หนังสือขอความอนุเคราะห์ขอทดลองเครอ่ื งมอื วจิ ัย และเคร่ืองมอื วจิ ยั สาหรับการทดลอง..................................................………..………...……………. 200 ภาคผนวก ค หนงั สือขอความอนเุ คราะหเ์ ก็บรวบรวมข้อมูล และแบบสอบถาม………...…. 209 ภาคผนวก ง หนงั สือขอความอนุเคราะห์ขอยืนยนั รปู แบบ แบบสอบถาม และ รายชือ่ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ....................................................................................... 218 ประวัติยอ่ ผู้วิจยั

(ฉ) สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 เปรยี บเทยี บการศกึ ษา 1.0 ถึง 4.0…………………………………………………………………....…… 25 2 สมรรถนะที่ 1 การมุ่งผลสัมฤทธ์ใิ นการปฏิบัตงิ าน (Working Achievement Motivation) 29 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 3 สมรรถนะท่ี 2 การบรกิ ารท่ดี ี (Service Mind)………………………………………………………… 30 4 สมรรถนะท่ี 3 การพัฒนาตนเอง (Self-Development)………………………………………….. 30 5 สมรรถนะท่ี 4 การทางานเป็นทมี (Team Work)……………………………………………………. 31 6 สมรรถนะที่ 5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพครู (Teacher’s Ethics and Integrity) 32 7 สมรรถนะที่ 1 การบรหิ ารหลกั สูตร และการจดั การเรียนรู้ (Curriculum and Learning Management)…………………………………………………………………………………………………… 33 8 สมรรถนะที่ 2 การพัฒนาผเู้ รียน (Student Development)…………………………………… 34 9 สมรรถนะท่ี 3 การบริหารจดั การชน้ั เรียน (Classroom Management)........................ 35 10 สมรรถนะที่ 4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวจิ ัยเพื่อพัฒนาผเู้ รียน (Analysis & Synthesis & Classroom Research)....................................................................... 36 11 สมรรถนะที่ 5 ภาวะผู้นาครู (Teacher Leadership)...................................................... 37 12 สมรรถนะท่ี 6 การสรา้ งความสมั พนั ธแ์ ละความรว่ มมือกบั ชุมชนเพ่อื การจัดการเรียนรู้… 38 13 ข้อบังคับครุ ุสภา................................................................................................................ 40 14 ความรู้และความเขา้ ใจในส่งิ ท่ีจะสอน............................................................................... 41 15 การชว่ ยให้นักเรยี นได้เรยี นรู้............................................................................................. 42 16 การใหช้ มุ ชนมีสว่ นร่วม..................................................................................................... 45 17 การพัฒนาตนเองเป็นครทู ด่ี ีขึ้นในทุก ๆ วนั ...................................................................... 47 18 มาตรฐานสมรรถนะครขู องสหภาพยโุ รปของครรู ะดับประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา....... 53 19 สมรรถนะท่ีจาเปน็ สาหรบั ครู............................................................................................ 56 20 สมรรถนะของครูในยุค 4.0............................................................................................... 59 21 การพฒั นาสมรรถนะครรู องรับการศกึ ษายคุ 4.0.............................................................. 65 22 แสดงขน้ั ตอนการดาเนนิ การวิจยั ...................................................................................... 81 23 จานวนประชากรและกลุ่มตวั อยา่ งที่ใช้ในการวจิ ยั ............................................................ 83 24 ตารางไขวแ้ จกแจงความถ่ี (Cross-tabs) ตัวแปรสมรรถนะครูเพ่ือรองรับการศึกษายุค 4.0.. 88 25 ตารางไขว้แจกแจงความถี่ (Cross-tabs) ตวั แปรการพฒั นาสมรรถนะครูเพื่อรองรบั การศึกษายคุ 4.0............................................................................................................... 99

(ช) สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางท่ี หนา้ 26 จานวนและรอ้ ยละข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม.................................................... 109 27 คา่ เฉลี่ย สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานและระดับความคิดเหน็ ดว้ ยเกยี่ วกบั ตวั แปรสมรรถนะ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ครใู นยคุ 4.0………………………………………………………………………………………………….. 111 28 คา่ Initial และ Extraction ของตวั แปรท่ใี ชใ้ นการวิจยั สาหรับสมรรถนะครูในยุค 4.0… 116 29 ค่า KMO and Bartlett's Test…………………………………………………………………………….. 122 30 คา่ Total Variance Explained ของตัวแปรที่ใช้ในการวจิ ยั สาหรบั สมรรถนะครูในยุค 4.0 123 31 องค์ประกอบที่ 1……………………………………………………………………………………………………. 123 32 องค์ประกอบที่ 2……………………………………………………………………………………………………. 124 33 องค์ประกอบที่ 3……………………………………………………………………………………………………. 126 34 องค์ประกอบที่ 4……………………………………………………………………………………………………. 130 35 องค์ประกอบที่ 5……………………………………………………………………………………………………. 131 36 องคป์ ระกอบท่ี 6……………………………………………………………………………………………………. 132 37 องค์ประกอบที่ 7……………………………………………………………………………………………………. 133 38 ค่าเฉลย่ี สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นดว้ ยเกย่ี วกบั ตวั แปรการพฒั นา สมรรถนะครรู องรับการศึกษายุค 4.0......................................................................... 135 39 ค่า Initial และ Extraction ของตัวแปรทใ่ี ช้ในการวิจัยสาหรับการพฒั นาสมรรถนะครู รองรับการศึกษายคุ 4.0............................................................................................. 142 40 ค่า KMO and Bartlett's Test....................................................................................... 147 41 ค่า Total Variance Explained ของตัวแปรทีใ่ ช้ในการวจิ ัยสาหรบั การพัฒนาสมรรถนะ ครรู องรับการศึกษายุค 4.0......................................................................................... 148 42 องค์ประกอบท่ี 1……………………………………………………………………………………………………. 148 43 องค์ประกอบที่ 2……………………………………………………………………………………………………. 151 44 องคป์ ระกอบท่ี 3……………………………………………………………………………………………………. 152 45 องค์ประกอบท่ี 4……………………………………………………………………………………………………. 153 46 องคป์ ระกอบท่ี 5……………………………………………………………………………………………………. 155 47 องคป์ ระกอบที่ 6……………………………………………………………………………………………………. 157 48 องคป์ ระกอบที่ 7……………………………………………………………………………………………………. 158

(ซ) สารบัญตาราง (ตอ่ ) ตารางที่ หน้า 49 แสดงความถ่ี และรอยละของความเห็นของผูทรงคุณวฒุ ิตอรูปแบบการพฒั นาสมรรถนะ ครรู องรับการศกึ ษายคุ 4.0......................................................................................... 161 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

(ฌ) สารบญั ภาพประกอบ ภาพประกอบท่ี หน้า 1 กรอบแนวคิดการวิจยั .................................................................................................... 14 2 สมรรถนะครรู องรับการศึกษายคุ 4.0…………………………………………………………………. 134 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 3 รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะครรู องรบั การศกึ ษายคุ 4.0………………………………….……. 160

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บทท่ี 1 บทนำ ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปญั หำ กระแสโลกยุคดิจทิ ัลมีอทิ ธพิ ลส่งผลกระทบอย่างยิ่งต่อวิถชี ีวติ ของมนุษยท์ ั้งด้านเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ด้วยความเจริญทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เชื่อมโยงโลกเข้า ด้วยกัน ในลักษณะของโลกไร้พรมแดน มีการไหลเวียนอย่างเสรีและไร้ขีดจากัด โลกยุคปัจจุบันและ อนาคตจึงเป็นโลกของการแสวงหาความรู้ และใช้ความรู้เป็นฐานอย่างเข้มข้น เพื่อเพ่ิมศักยภาพและ ความสามารถในการแข่งขัน และย่ังยืนของแต่ละประเทศ ดังนั้น เมื่อโลกก้าวเข้าสู่สังคมและเศรษฐกิจ ฐานความรู้ จึงเป็นแรงผลักดันให้เกิดการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เร่ืองของการเรียนรู้ตลอดชีวิตมี บทบาทต่อวิถชี ีวิตของมนษุ ย์และพลโลกมากข้นึ ตามไปด้วย การรู้สารสนเทศของผ้เู รียนและประชาชนจึง เป็นเคร่ืองมือและกลไกหลักในการแสวงหาความรู้ในยุคโลกาภิวัตน์ท่ีขับเคล่ือนด้วยเศรษฐกิจ สังคม ฐานความรู้ (พณิ สุดา สิรธิ รงั ศรี, 2564, 1) การเปลี่ยนแปลงแต่ละยุค แต่ละสมัยมนุษย์เริ่มคิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยี สร้างเคร่ืองมือ เคร่ืองจักรกลในการผลิตอาหารและสิ่งอานวยความสะดวกให้มนุษย์ โดยเร่ิมจากยุคเกษตรกรรม ยุคอุตสาหกรรม ยุคเทคโนโลยีและการส่ือสาร มาสู่ยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคที่ 4 ในปัจจุบัน และจาก การคิดค้นพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการส่ือสารเชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่าย (network system) ทาให้วิวัฒนาการของสังคมโลกเป็นไปอย่างรวดเร็วมีอัตราเร่งสูง มีการพัฒนาแอพพลิเคชั่นมาใช้ บนเครื่องคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ ให้สามารถติดต่อสื่อสารบนโลกออนไลน์ โดยใช้ Social Media, Platform, Big Data และ Artificial Intelligence ท่ีมีความฉลาดสามารถติดต่อส่ือสารและส่ังการให้ เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ทางานเองโดยอัตโนมัติ ทาให้เกิด Digital Disruption หรือ การเปลี่ยนแปลง ที่เกิดจากเทคโนโลยีดิจิทัล ทาให้มนุษย์มีความสะดวกสบายและมีคุณภาพชีวิตดีข้ึน ในขณะเดียวกันก็ทา ให้เกิดปัญหาการว่างงาน การเหลื่อมล้าของรายได้และอาชญากรรมทางไซเบอร์ตามมา ดังนั้นองค์กรท้ัง ภาครัฐและเอกชนจึงต้องร่วมมือกันพัฒนาปรับเปล่ียนรูปแบบและการดาเนินกิจกรรมขององค์กรเพื่อให้ สามารถนาเทคโนโลยีในยุค 4.0 มาใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อสงั คมโลก (ปัณณทตั กาญจนะวสติ , 2564, 1) ปัจจุบันสังคมไทยมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการก้าวเข้าสู่โลกยุคดิจิตอลอย่าง เต็มตัวประกอบกับรัฐบาลได้ประกาศนโยบาย Thailand 4.0 ซ่ึงมีหัวใจสาคัญคือ การปรับเปลี่ยน โครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Value–Based Economy) มีการ ขับเคลื่อนประเทศด้วยเทคโนโลยีความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม และเปล่ียนจากการเน้นภาคการ ผลิตไปสู่ภาคบริการมากข้ึน Thailand 4.0 เป็นโมเดลในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยในปี พ.ศ.

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2 2504 ได้เริ่มมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรก ซึ่งก็คือยุค Thailand 1.0 ที่เน้น การเกษตรเป็นหลัก ประชากรประกอบอาชีพด้านการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ ต่อมาก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 2.0 ซึ่งมุ่งเน้นด้านอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ไม่ซับซ้อนมาก เช่น อุตสาหกรรมสิ่งทอ เคร่ืองหนัง เครอ่ื งนุ่งห่ม เป็นต้น และต่อมาก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 3.0 ที่มุ่งเน้นด้านอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ท่ีมีความซับซ้อนและ การส่งออก โดยมีนักลงทุนต่างชาติเข้ามาลงทุน แต่ประเทศไทยเป็นเพียงผู้รับจ้างในการผลิตเท่านั้น เช่น อุตสาหกรรมการผลติ รถยนต์ อุตสาหกรรมไฟฟา้ และอุตสาหกรรมพลาสติก เปน็ ต้น การเข้าสู่ยุค 4.0 ประเทศไทยต้องมีการสร้างนวัตกรรมเป็นของตนเอง โดยไม่ต้องพึ่งพาต่างชาติ เหมือนแต่ก่อน ซึ่งเป้าหมายสาคัญของ Thailand 4.0 คือ การขับเคล่ือนไปสู่การเป็นประเทศที่ “ม่ังค่ัง มั่นคง และย่ังยืน” กล่าวคือการทาให้ประเทศไทยก้าวไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง และมีการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพสูง โดยเฉพาะคนหรือทรัพยากรมนุษย์นับเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญ และมี ความจาเป็นมากที่สุดเพราะเป็นแหล่งความรู้และกาลังสาคัญในการขับเคลื่อนประเทศ โดยการเป็นผู้ที่นา ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ ซ่ึงการที่จะพัฒนาบุคคลให้มีคุณภาพ มีความรู้ ความสามารถสอดคล้องกบั นโยบายดังกล่าวได้นั้น ระบบการศึกษาของประเทศจาเป็นต้องปรบั เปล่ียนและ ก้าวสู่ “การศึกษา 4.0” ด้วยเช่นเดียวกัน เพราะการศึกษาเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการพัฒนาและยกระดับ คุณภาพของบุคคลในแวดวงการศึกษาได้มีการกล่าวถึงการก้าวสู่ยุค Thailand 4.0 กันอย่างกว้างขวาง และมีความตื่นตัวเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการเร่งดาเนินการปฏิรูปการศึกษาให้กับเด็กไทย เพื่อการก้าว เขา้ สูย่ ุค 4.0 ไดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรมในหลาย ๆ ด้าน (พาสนา จลุ รัตน์, 2561, 2365) ในกระบวนการจัดการศึกษา ครูเป็นบุคคลท่ีมีความสาคัญท่ีสุด เพราะนักเรียนเป็นผลผลิตของ ระบบการศึกษา ในขณะท่ีครู คือ บุคลากรซ่ึงประกอบอาชีพหลักทางด้านการเรียนการสอน และการ ส่งเสริมการเรียนการเรียนรู้ และอยู่ใกล้ชิดผู้เรียนมากที่สุด โดยเฉพาะอย่างย่ิงรัฐธรรมนูญ แห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 54 ได้กาหนดจุดมุ่งหมายของการศึกษาไว้ว่า “การศึกษาท้ังปวง ต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน มีความ รับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ” ครูจึงเป็นบุคคลสาคัญที่จะทาให้จุดมุ่งหมาย ดังกล่าวประสบความสาเร็จ ดังน้ันวุฒิการศึกษา ความรู้ และสมรรถนะของครูจึงมีส่วนสาคัญในการเพ่ิม ประสิทธภิ าพกระบวนการทางการศึกษา ครูที่ผ่านมามีการพัฒนาสมรรถนะอย่างต่อเนื่อง เป็นต้นด้านการจัดการเรียนรู้ มีการ ปรับเปล่ียนรูปแบบการเรียนการสอนไปตามการเปล่ียนแปลงของโลก เช่น ครูยุค 1.0 จัดการเรียนการ สอนที่เน้นครูเป็นสาคัญ หรือ Teacher-Centered เป็นการเรียนการสอนโดยครู เน้นให้นักเรียนรู้ เข้าใจ เนื้อหา ทฤษฎี หลักการและแนวปฏิบัติ และอธิบาย ปฏิบัติตามและใช้เครื่องมือท่ีครูสอนได้เป็นอย่างดี ครูยุค 2.0 จัดการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญหรือที่เรียกว่าการจัดการเรียนการสอนแบบ \"Child-Centered\" นักเรียนได้เรียนตามความถนัดและความสนใจจนสติปัญญาได้รับการพัฒนาเต็มท่ี

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 3 ตามศักยภาพ ครูยุค 3.0 จัดการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนมากกว่าการสอน (Learning-Oriented) ครูจึงใช้เวลาในการบรรยายหรือถ่ายทอดน้อยลง แต่ใช้เวลาตามตารางสอนไปเพ่ือทาให้นักเรียนเกิดการ เรียนรู้ เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความม่ันใจในสิง่ ทีเ่ ขาไปศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเองใหม้ ากข้นึ หรอื ทเี่ รียกว่า \"สอนน้อยลง เรียนรู้มากขึ้น” (Teach Less Learn More) ครูยุค 4.0 จะใช้สมรรถนะของครูในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนได้รับทักษะท่ีจาเป็นสาหรับศตวรรษท่ี 21 คือทักษะการคิดวิเคราะห์ การแกป้ ัญหา การคิดสร้างสรรค์ การสร้างนวัตกรรม การเรียนและการทางานร่วมกันเป็นทีม การมีภาวะ ผู้นา การส่ือสาร การใช้ข้อมูลและสารสนเทศ การติดต่อสื่อสารทางไกล การใช้คอมพิวเตอร์และ ปัญญาประดิษฐ์ การคิดคานวณ การสร้างอาชีพและการเรียนรู้ด้วยตนเอง หรือที่พวกเราเรียกกันว่า \"7Cs\" ดังน้ันที่ผ่านมาได้มีนักวิชาการหรือหน่วยงาน ได้ศึกษารูปแบบหรือแนวทางการพัฒนาครูเพ่ือ ยกระดับสมรรถนะครูให้สอดคล้องกับยุคสมัยในปัจจุบัน เช่น สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา (2551, 30) ได้ให้แนวทางในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาไว้ 6 รูปแบบ ได้แก่ 1) การเรียนรู้ด้วย ตนเอง 2) การฝึกอบรมโดยการจัดทาหลักสูตรการฝึกอบรมประจาการและบุคลากรทางการศึกษา 3) การศึกษาดูงาน 4) การศึกษาต่อ 5) การเข้าร่วมกิจกรรมวิชาการ และ 6) การแลกเปล่ียนครูอาจารย์ ระหว่างสถาบันฝึกอบรมกับสถานศกึ ษา โชติชวลั ฟูกจิ กาญจน์ (2556, 30-32) สรุปกระบวนการพัฒนาครู ซ่ึงมหี ลายรูปแบบ ดังต่อไปน้ี 1) การปฐมนิเทศ (Orientation) 2) การบรรยาย (Lecture) 3) การฝึกอบรม เชิงปฏิบัติการ (Workshop training) 4) การระดมสมอง (Brainstorming) 5) การอภิปราย (Discussion) 6) การฝึกอบรมแบบกรณีศึกษา (Case study) 7) การสาธิต (Demonstration) 8) การศึกษาดูงาน (Observation) 9) การฝึกอบรมเพ่ือสุขภาพ (Health training) 10) การฝึกสอน (Coaching) 11) ระบบ พ่ีเลีย้ ง (Mentoring system) 12) การให้คาปรึกษา (Counseling) อรรณพ จีนะวัฒน์ (2559, 1394) สรุป การพัฒนาครูมืออาชีพ ต้องให้ความสนใจกับปัจจัยด้านการใช้เทคโนโลยีเป็นอย่างย่ิง โดยหน่วยงาน สนับสนุน หรือสถานศึกษาควรท่ีจะ 1) ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะของครูด้านเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ พร้อมท้ังเสริมสร้างความเชี่ยวชาญในเนื้อหาสาระของตนเพ่ือจะได้นาเทคโนโลยีมา ประยุกต์ใช้กับเน้ือหาได้อย่างเหมาะสม 2) สร้างโอกาสการเรียนรู้ของครูในการใช้เทคโนโลยีอย่าง สม่าเสมอ 3) สนับสนุนเคร่ืองมือที่จะช่วยให้ครูได้แสวงหาการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง 4) จัดหา ประสบการณ์ท่ีเป็นการเรียนรู้ระยะยาว เพ่ือว่าครูสามารถฝึกฝนการใช้เทคโนโลยีในระหว่างการ ปฏิบัติงานและมีทักษะการใช้อย่างมีประสิทธิภาพ บูช (Bush, 1999, quoted in Villegas–Reimers, 2003, 119-120) ได้กาหนดแนวทางการพัฒนาครูสู่ครูมืออาชีพไว้ดังน้ี 1) พัฒนาค่านิยมขององค์การใน เร่ืองการทางานเป็นหมู่คณะ การเปิดเผย และความไว้วางใจ 2) เปิดโอกาสและให้มีช่วงเวลาคุณภาพ เพ่ือสนทนาแลกเปล่ียนเรียนรู้กัน 3) ให้ครูได้มีโอกาสเรียนรู้และเข้าใจองค์การของตัวเองอย่างแท้จริง 4) ทบทวนบทบาทหน้าท่ีเก่ียวกับความเป็นผู้นาและปรับให้ครอบคลุมถึงบทบาทของครู 5) ส่งเสริมการ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 4 สร้างเครือข่ายทั้งในและนอกสถานศึกษา และความร่วมมือร่วมใจในการทางานอย่างเป็นหนึ่งเดียว 6) เตรียมครูใหเ้ ป็นผนู้ าในวิชาชีพของตนอย่างแท้จริงซึ่งหมายถงึ ให้ครูไดอ้ อกแบบการพฒั นาตนเอง นาสู่ การปฏิบัติและประเมินความก้าวหน้าในวิชาชีพของตนเองได้ ซึ่งผู้บริหารต้องให้เวลาและให้โอกาสครู อัสกา และ ฮามัด (Asghar & Asif Ahmad, 2014, 147) แนวคิดของการพัฒนาครูน้ันเป็นเร่ืองที่ต้อง ระมัดระวัง เพราะมีหลายรูปแบบ มีความหมายต่างกัน ในบริบทท่ีแตกต่างกัน การดาเนินงานเร่ิมจาก ฐานความเชื่อและฐานคุณค่า และมีการแสดงออกท่ีชัดเจนในรูปแบบต่าง ๆ มีความพยายามทบทวน วิธีการต่าง ๆ ในการพัฒนาครู ซึ่งแนวทางสาคัญในการพัฒนาครูที่ได้รับความนิยมในหมู่โรงเรียนและ นักการศึกษา มดี ังนี้ 1) การยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง (Client-centered Approach) 2) การพัฒนาตนเอง ด้วยการสังเกตการณ์ในชั้นเรียน (Self-Development through Class Observation) 3) การรับรู้ตนเอง ผ่านกลุ่มในการพัฒนาครู (Self-awareness through groups in teacher development) 4) การ ร่วมมือกับการประสานงาน (Collaborative Approach Vs Co-operative Approach) 5) การพัฒนาครู ตามฐานข้อมูล (Data-based Teacher Development) แต่อย่างไรก็ตามการพัฒนาครูที่ผ่านมาต้องพบกับปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้คุณภาพผู้เรียนยังไม่ เป็นไปตามท่ีคาดหวังไว้ สะท้อนได้อย่างชัดเจนจากผลการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาครู มีข้อมูลที่แสดงถึง บทวิเคราะห์สถานภาพการพัฒนาครูทั้งระบบและข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาครูเพื่อคุณภาพผู้เรียน ได้ข้อค้นพบที่สาคัญเก่ียวกับสภาพปัจจุบันและปัญหาการพัฒนาครูสรุปได้ 7 ประเด็นดังตอ่ ไปน้ี 1) ระบบ การพัฒนาครูในภาพรวมของประเทศ ยังไม่มีหน่วยงานหรือเจ้าภาพหลักท่ีจะทาหน้าท่ีดูแลกากับติดตาม วางระบบและวางแผนการพัฒนาในภาพรวม การพัฒนาครูมีหลายหน่วยงานจัดอบรมขาดระบบฐานข้อมูล ของครูขาดการวางแผนร่วมกัน ทาให้การพัฒนาไม่มีประสิทธิภาพในการดาเนินงานเกิดความซ้าซ้อนไม่ เกิดความคุ้มค่า 2) กลไกการขับเคลื่อนเพ่ือพัฒนาครูยังขาดกลไกในการรวมพลังขับเคล่ือน เพ่ือพัฒนา วิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพช้ันสูง ไม่มีระบบการบริหารจัดการนิเทศติดตามผลท่ีจะช่วยในการพัฒนาครู ระบบการนิเทศช่วยเหลือครูยังมีความอ่อนแอ 3) หลักสูตรการพัฒนาครูไม่สอดคล้องกับความต้องการ จาเป็นของครู ยังขาดการวิเคราะห์สภาพปัญหาความต้องการจาเป็นในการพัฒนาครู ทาให้ กระบวนการพัฒนาไม่ตอบสนองต่อความต้องการของครู หลักสูตรการพัฒนาครูยังไม่สอดคล้องกับความ เป็นจริงของห้องเรียน ฝ่ายจัดอบรมและพัฒนาครูมักจะกาหนดหลักสูตรตามความจาเป็นของตนเอง ขาดการค้นหาความจาเป็นในการพัฒนาของครูที่แท้จริง 4) วิธีการและสาระการพัฒนาครูยังใช้รูป แบบเดิม ๆ ไม่มีนวัตกรรมใหม่ซ่ึงไม่ตรงกับความต้องการของครู การพัฒนาครูมีระยะเวลาน้อยไม่เหมาะ กบั เนื้อหาส่วนใหญ่ใช้การบรรยายฝึกอบรมและพัฒนาในห้องประชุม ขาดความเช่ือมโยงกับกิจกรรมการ เรียนการสอนในห้องเรียน เน้นในหลักการทฤษฎีมากกว่าการได้ลงมือปฏิบัติ จึงทาให้ครูไม่สามารถ ประยุกต์ใช้ความรู้จากการอบรมพัฒนา ได้สาระจากการพัฒนาเน้นใหค้ วามรู้เก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตร และเทคนิคการสอนมากกว่าด้านอื่น ๆ เป็นการฝึกอบรมระยะสั้น ผลการพัฒนาไม่สามารถปรับเปล่ียน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 5 พฤติกรรมการจัดการเรียนการสอนของครูได้ 5) สถานที่จัดอบรมพัฒนาครูส่วนใหญ่เน้นการอบรมตาม ห้องประชุมในโรงแรมหรือในสถาบันอุดมศึกษา ซ่ึงดึงครูออกจากห้องเรียนส่งผลกระทบต่อการจัดการ เรียนการสอน โดยเฉพาะจะมีปัญหามากในโรงเรียนที่ครูไม่ครบช้นั 6) ระบบการตดิ ตามผลการพัฒนาครู ของแต่ละหน่วยงานขาดระบบการติดตามผลอย่างต่อเนื่อง ส่ิงท่ีปรากฏคือครูที่เข้ารับการอบรมทา รายงานส่งผู้บริหารเพ่ือรับทราบเท่านั้น การติดตามผลหลังการอบรมเพื่อนาไปใช้ในห้องเรียนหรือขยาย ผลไม่ได้มีการดาเนินการอย่างเปน็ รูปธรรม และ 7) แรงจูงใจในการพัฒนาตนเองของครู พบวา่ ครูยังขาด แรงจูงใจในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง เพ่ือพัฒนาตนเองท้ังด้านความรู้และทักษะด้านการ จัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จากผลการศึกษาวิจัยน้ีทาให้หน่วยงานต้นสังกัด โดยเฉพาะอย่างย่ิงสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) จึงได้มีนโยบายในการพัฒนาครู แบบใหม่ ซึ่งคาดว่าจะทาให้การพัฒนาครูประสบผลสาเร็จและจะส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในระยะต่อไป ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนต่างเห็นพ้องต้องกันว่า สาเหตุสาคัญน่าจะเป็นผลมาจากการที่ประเทศ ไทยขาดแคลนครูดีท่ีมีความรู้ความสามารถ และครูประจาการท่ีมีอยู่ยังขาดคุณภาพทั้งด้านการจัดการ เรียนรหู้ ลักสูตรและการใช้ส่ือเทคโนโลยี นอกจากนี้ยังพบว่า รูปแบบวิธีการพัฒนาครูในปัจจุบันมีปัญหา อย่างรุนแรงไม่สะท้อนคุณลักษณะความเป็นครูดี ครูเก่ง เพราะส่วนใหญ่มักจัดกิจกรรมการอบรมที่เน้น เนื้อหาและจัดกิจกรรมในช่วงเวลาราชการทาให้ครูต้องละท้ิงนักเรียน เพ่ือเข้าร่วมกิจกรรมการอบรมอยู่ เสมอ ดังน้ันรูปแบบวิธีการพัฒนาครูน้ีอาจไม่สามารถส่งเสริมครูให้มีความรู้ ความสามารถที่จะจัด การศกึ ษาตามแนวปฏิรูปได้ (สานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา, 2556, 70) นอกจากน้ี พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ และคณะ (2561, 81-82) ยังพบอีกว่า ระบบการพัฒนาครู ไทยของหน่วยงานต่าง ๆ ในปัจจุบัน ยังคงมีลักษณะต่างคนต่างทา ถึงแม้จะมีสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งเป็นหน่วยงานกลางที่จะเช่ือมประสานงานด้านการพัฒนาครู แต่ยังขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ และการประสานงานระหว่างหน่วยงาน เนื่องจากสถาบัน ดังกล่าวเป็นองค์กรขนาดเล็กเทียบเท่าสานักหน่ึงเท่าน้ัน จึงไม่มีอานาจหรือพลังท่ีเพียงพอท่ีจะประสาน การดาเนินงานด้านการพัฒนาครูของหน่วยงานอ่ืน องค์กรจึงขาดภาวะผู้นาในด้านการกาหนดทิศทาง และนโยบาย การพัฒนาครูในภาพรวมของประเทศ การทางานจึงทาได้เพียงการจัดฝึกอบรมให้กับ กลุ่มเป้าหมายขนาดเล็ก หรือทาเฉพาะเรื่อง กอปรกับหน่วยงานนี้มีพ้ืนฐานมาจากการเป็นสถาบันพัฒนา ผู้บริหารการศึกษา จึงมีองค์ความรู้และเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องดังกล่าว ส่วนการวางแผน ทิศทาง นโยบาย ด้านการพัฒนาครูในภาพรวม ยังขาดความร่วมมือจากหน่วยงานผู้ใช้ครู เนื่องจากหน่วยงานผู้ใช้ครูมี งบประมาณเป็นของตนเอง จึงจัดอบรมพัฒนาครูในสังกัดด้วยตนเอง ดังน้ันจึงเกิดปรากฏการณ์ ต่างคน ต่างทา ขาดการวางแผน ขาดการกาหนดทิศทาง และขาดข้อมูลการพัฒนาครูในภาพรวม การพัฒนาครู จึงเกิดความซา้ ซ้อนขาดประสิทธภิ าพ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 6 จากความเป็นมาและความสาคัญ และปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น ยังไม่มีการศึกษวิจัยรูปแบบ หรือแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูเพื่อรองรับการศึกษายุค 4.0 ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะศึกษารูปแบบ การพัฒนาสมรรถนะครูรองรับการศึกษายุค 4.0 เพ่ือนาผลวิจัยที่ได้ไปกาหนดนโยบายเชิงกลยุทธ์ หรือ แนวทางในการพัฒนาครูในสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐานต่อไป วัตถปุ ระสงค์ของกำรวจิ ัย การวิจยั ครัง้ น้มี วี ัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ศึกษาสมรรถนะครูรองรบั การศึกษายุค 4.0 2. เพอ่ื ศึกษารูปแบบการพฒั นาสมรรถนะครูรองรบั การศึกษายุค 4.0 3. เพ่ือยืนยันความเป็นไปได้ ความเป็นประโยชน์ ความถูกต้องครอบคลุม ของรูปแบบการ พฒั นาสมรรถนะครรู องรับการศกึ ษายคุ 4.0 สมมตฐิ ำนของกำรวจิ ัย การวจิ ยั ครั้งนี้ผู้วจิ ัยตง้ั สมมติฐาน ดังน้ี - รปู แบบการพฒั นาสมรรถนะครูรองรบั การศกึ ษายุค 4.0 เป็นพหตุ วั แปรทม่ี ีความสัมพันธกัน ขอบเขตของกำรวิจยั ประชำกร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา จังหวดั ราชบรุ ี และสมุทรสงคราม จานวน 396 โรงเรยี น กลุ่มตัวอย่ำง กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดราชบุรี และสมุทรสงคราม จานวน 196 โรงเรียน ได้มาโดยการเปิดตารางกาหนดขนาดกลุ่ม ตัวอย่างของ เครจซี่และมอร์แกน จากน้ันทาการสุม่ แบบแบ่งช้ันโดยใช้สงั กัดเขตพ้ืนท่ีเป็นชั้น จาแนกเป็น โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาจังหวัดราชบุรี เขต 1 จานวน 87 โรงเรียน โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาจังหวัดราชบุรี เขต 2 จานวน 72 โรงเรียน และ โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดสมุทรสงคราม จานวน 37 โรงเรียน โดย มีผู้ให้ข้อมูลโรงเรียนละ 4 คน ประกอบด้วย ผู้อานวยการโรงเรียน 1 คน และคุณครูผู้สอนจานวน 3 คน (รวมท้งั ส้ิน 784 คน)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 7 กรอบแนวคดิ ในกำรวจิ ยั การวิจัยรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูรองรับการศึกษายุค 4.0 ผู้วิจัยได้ศึกษาองค์ความรู้ จากหนังสือ ตารา เอกสาร และงานวจิ ยั เกี่ยวข้อง ดงั น้ี 1. สมรรถนะของครูท่ีรองรบั กำรศึกษำยคุ 4.0 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (2553, 3-15) ได้ออกกาหนดรายการสมรรถนะครูเพื่อใช้ใน การประเมินสมรรถนะครูในสังกัด ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการในโครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ั งระบบ (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ) ภ ายใต้ แผน ปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 โดยมีรายการสมรรถนะประกอบด้วย สมรรถนะหลัก (Core Competency) 5 สมรรถนะ ดังนี้ 1) การมุ่งผลสัมฤทธ์ิในการปฏิบัติงาน (Working Achievement Motivation) 2) การ บริการท่ีดี (Service Mind) 3) การพัฒนาตนเอง (Self- Development) 4) การทางานเป็นทีม (Team Work) 5) จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครู (Teacher’s Ethics and Integrity) และสมรรถนะประจา สายงาน 6 สมรรถนะ ดังน้ี 1) การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (Curriculum and Learning Management) 2) การพั ฒ นาผู้เรียน (Student Development) 3) การบริหารจัดการชั้นเรียน (Classroom Management) 4) การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Analysis & Synthesis & Classroom Research) 5) ภาวะผู้นา (Teacher Leadership) 6) การสร้างความสัมพันธ์ และความรว่ มมือกบั ชุมชน เพือ่ การจัดการเรียนรู้ (Relationship & Collaborative for Learning) คณะกรรมการคุรุสภา (2562, 19-20) โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการออกข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ 3 ด้านหลัก ดังนี้ 1) การปฏิบัติ หนา้ ทคี่ รู 2) การจดั การเรียนรู้ และ 3) ความสมั พนั ธ์กับผูป้ กครองและชมุ ชน สานักงานเลขาธิการคุรุสภา (The Teachers’ Council of Thailand, 2018, 8-16) ได้จัด ประชุมผู้บริหารระดับสูงจาก 11 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพ่ือกาหนดกรอบสมรรถนะ ครูเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซ่ึงกรอบสมรรถนะน้ี ประกอบด้วยสมรรถนะท่ัวไป 4 ด้าน สมรรถนะท่ัวไป 12 ด้าน สมรรถนะเอ้ือ (enabling competencies) 31 ข้อ และตัวชี้วัด 136 ข้อ ดังน้ี 1.รู้และเข้าใจใน สิง่ ที่ตนเองสอน 1.1 เพิ่มพูนความรู้ ในเรื่องที่ตนเองจะสอนในเชิงกว้างและเชิงลึก 1.2 เข้าใจกระแสนิยม ทางการศึกษา นโยบายและหลักสูตร 1.3 ก้าวทันข้อมูลข่าวสารด้านการพัฒนา ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก 2. การช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้ 2.1 รู้จักนักเรียนของตน 2.2 ใช้กลยุทธ์การเรียนการสอนทมี่ ีประสิทธิผลสงู สุด 2.3 ประเมินผลและใหข้ ้อเสนอแนะด้านการเรียนรู้ ของนักเรียน 3. การให้ชุมชนมีส่วนร่วม 3.1 ร่วมมือกับพ่อแม่และผู้ปกครอง 3.2 ให้ชุมชนมีส่วนร่วม เพื่อช่วยในการเรียนรู้ของนักเรียน 3.3 สนับสนุนการยอมรับนับถือและความหลากหลายของบุคคล 4. การพัฒนาตนเองเป็นครูท่ีดขี ้ึนในทุก ๆ วัน 4.1 รู้จักตนเองและผู้อน่ื 4.2 ประพฤติตนเป็นคนดีทง้ั ใน ชีวติ ส่วนตัวและการทางาน 4.3 เป็นผู้เชี่ยวชาญดา้ นการสอน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 8 สหภาพยุโรป (European Union, 2009, 6-9) แบ่งสมรรถนะครูออกเป็น 2 ระดับ คือ สมรรถนะครูระดับประถมศึกษา ประกอบด้วย 1) ความสามารถในการเรียนรู้ 2) การมีอิสระ 3) การ ตัดสินใจ 4) ชื่นชมความหลากหลายและผู้ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม 5) ความมุ่งมั่นทาง จริยธรรม 6) มีวิจารณญาณในตนเอง 7) ความสามารถในการปรับปรุงการเรียนรู้ของตนเองและ ประสิทธิภาพรวมถงึ การศึกษาและทักษะการวิจัย 8) ความสามารถในการวเิ คราะหส์ ังเคราะห์ประเมินผล ระบุปัญหาและหาแนวทางแก้ไข 9) มีความรู้ในวิชาชีพและปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัด และสมรรถนะครู มัธยมศึกษา ประกอบด้วย 1) ทักษะการวิจัย 2) ทักษะการเป็นผู้นา 3) ความสามารถในการไตร่ตรอง และประเมินประสิทธิภาพของตัวเอง 4) การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง และทักษะที่เก่ียวข้องกับความรู้ การพฒั นาและการสร้างสรรค์ ประเทศสหรัฐอเมริกาได้กาหนดสมรรถนะ 10 ประการของครูสอนดี (Great Teachers) ของ สหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 1) การใส่ใจด้านการสอนและการดูแลนักเรียน 2) การวางเป้าหมายและ จดุ ประสงค์การสอนในแต่ละครง้ั อย่างชดั เจนและดาเนนิ การใหบ้ รรลุผลตามที่ได้วางไว้ 3) การจัดการเชิง บวกในห้องเรียน 4) การจัดการห้องเรียนที่ดี 5) การสื่อสารกับพ่อแม่ผู้ปกครอง 6) มีความคาดหวังต่อ นกั เรียนสูง 7) มีความรู้ด้านหลกั สตู รและมาตรฐาน 8) มีความรู้ในเนอื้ หาวิชาทส่ี อน 9) รักเด็กและรักการ สอน 10) มีความเป็นมิตรและความวางใจต่อนักเรียนสูง (สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และ คุณภาพเยาวชน (สสค.), 2557, 21) สถาบันการสอนและภาวะผู้นาในโรงเรียนแห่งออสเตรเลีย (The Australian Institute for Teaching and School Leadership (AITSL), 2018, 10-22) ได้ร่วมกันกาหนดสมรรถนะท่ีจาเป็น สาหรับครูท่ีครูควรรู้และเป็น สามารถทาได้ จานวน 3 สมรรถนะหลัก และ 7 สมรรถนะย่อย ดังนี้ 1. สมรรถนะด้านความรู้ 1.1 รู้จักนักเรียนและวิธีการเรียนรู้ 1.2 รู้เน้ือหาและวิธีการสอน 2. สมรรถนะ ด้านการปฏิบัติ 2.1 วางแผนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิผล 2.2 สร้างและสนับสนุนสภาพ แวดล้อมการเรียนรู้ท่ีปลอดภัย 2.3 ประเมิน สะท้อนกลับและรายงานเกี่ยวกับการเรียนรู้ของนักเรียน 3. สมรรถนะด้านการมีส่วนร่วม 3.1 มีส่วนร่วมในการเรยี นรูอ้ ยา่ งมืออาชีพ 3.2 มีสว่ นร่วมอยา่ งมืออาชีพ กับเพอื่ นรว่ มงาน ผ้ปู กครองและชุมชน ดิง (Ding, 2016, 95-96) ได้ศึกษาแนวคิดของนักวชิ าการและสงั เคราะห์สมรรถนะของครูใน ยุค 4.0 ไว้ 8 สมรรถนะ ประกอบด้วย 1) สมรรถนะด้านความรู้ท่ีเกี่ยวกับหลักสูตร 2) สมรรถนะด้าน การสอน 3) สมรรถนะดา้ นการประเมิน 4) สมรรถนะดา้ นการบริหารชั้นเรยี น 5) สมรรถนะด้านสังคม การสือ่ สาร และอารมณ์ 6) สมรรถนะดา้ นวัฒนธรรมและข้ามวฒั นธรรม 7) สมรรถนะการเรยี นรู้ และ 8) สมรรถนะดา้ นทัศนคติ จรยิ ธรรม และค่านยิ ม ซีเกอร์ (Zeiger, 2018) กล่าวว่าการเป็นครูในระดับใด ๆ ต้องใช้ความรู้และทักษะเป็นจานวน มาก การให้ความสนใจกับสมรรถนะหลักของครู 10 ด้านดังน้ี 1) มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับนักเรียน 2) การ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 9 สร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ 3) สามารถออกแบบแผนการสอนได้ดี 4) สามารถใช้กลยุทธ์การสอนท่ี หลากหลาย 5) สามารถประเมินได้ 6) สามารถระบุความต้องการของนักเรียน 7) เก่งในการส่ือสาร 8) สามารถทางานร่วมกันได้ 9) การรักษาลักษณะท่ีเป็นมืออาชีพ และ 10) แสดงให้เห็นถึงความมุ่งม่ันที่ มตี อ่ วิชาชพี ฉัตรชัย หวังมีจงมี (2560, 53-59) ได้ศึกษาแนวคิดของนักวิชาการต่าง ๆ และได้สรุปสมรรถนะ ของครูผู้สอนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานในยุคไทยแลนด์ 4.0 ไว้ 7 สมรรถนะ ดังนี้ 1. สมรรถนะด้านการ จัดการเรียนการสอนยึดนักเรียน 2. สมรรถนะด้านการวัดประเมินผลเพื่อการพัฒนาและคานึงถึงความ แตกต่างหลากหลายระหว่างบุคคล 3. สมรรถนะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีและการรู้เท่าทันสื่อ 4. สมรรถนะด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ 5. สมรรถนะด้านการทางานเป็นทีม และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน 6. สมรรถนะด้านการข้ามวัฒนธรรม ความทันสมัยของการคมนาคม และการสอื่ สารรปู แบบใหม่ ๆ และ 7. สมรรถนะด้านการเป็นผอู้ านวยความสะดวกและแนะแนวทาง เนสซิพบายวา (Nessipbayeva, 2012, 151-152) กล่าวถึงสมรรถนะของครูในยุค 4.0 ประกอบด้วย 5 ด้าน ดังน้ี 1) ครูต้องแสดงให้เห็นถึงความเป็นผู้นา 2) ครูสร้างสภาพแวดล้อมสาหรับ รองรับนักเรียนที่มีความหลากหลาย 3) ครูรู้เน้ือหาที่สอน 4) ครูอานวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้กับ นกั เรยี น และ 5) ครตู อ้ งสะท้อนการปฏบิ ัติของนักเรยี น มูลนิธิสยามกัมมาจล (2560) ได้สรุปคุณลักษณะของครูในยุค 4.0 ไว้ 6 ประการดังนี้ 1) ครูมี Growth Mindset ครูเช่ือว่าเด็กทุกคนมีศักยภาพและสามารถพัฒนาได้ 2) ครูเปลี่ยนห้องเรียน ครูสร้าง แรงบันดาลใจให้เด็กอยากเรียน อยากแสวงหาความรู้ และเป็นเจ้าของการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3) ครู เปล่ียนการสอน ครูสอนแบบ Active Learning เพ่ือให้เด็กมีประสบการณ์การเรยี นรู้ด้วยตนเอง มีทักษะ ในการทางาน ฝึกทักษะการคิดและการแก้ปัญหา 4) ครูแสวงหาความรู้ใหม่ และใช้ IT เป็น ครูแสวงหา การเรียนรู้ตลอดเวลาและและสามารถใช้ IT ให้เป็นประโยชน์กับการจัดการเรียนการสอน ครูมีทักษะใน การค้นหาข้อมูล รู้จัก keyword ในการค้นหาข้อมูล 5) ครูผู้เข้าใจสถานการณ์สังคม (จับชีพจรของ สังคม) และชุมชนได้ ครูสามารถวิเคราะห์คุณลักษณะที่พึงประสงค์หรือไม่พึงประสงค์ของเด็กและ เยาวชนต่อการท่ีจะทาให้สังคมดีและก้าวหน้า รวมท้ังสามารถออกแบบการพัฒนา character building ของเด็กได้ (เป็นเด็กดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีสัมมาคารวะ มีสานึกพลเมือง มีจิตอาสา ซ่ือสัตย์ ขยันและ อดทน) และ 6) ครูมีจิตวิญญาณความเป็นครู ครูรัก ห่วงใยลูกศิษย์อย่างจริงใจ เป็นที่พึ่ง ช่วยแก้ปัญหา ใหค้ าปรึกษา ใหค้ าแนะนาดี ๆ สรา้ งความไวใ้ จให้กบั เด็ก วายุ, อินดิระ, เฮอร์เมนโต และ พรามาโน (Wahyu, Indira, Hermanto & Pramono, 2019, 351-352) กล่าวถึงสมรรถนะ 5 ประการท่ีครูต้องมีในยุคปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรม 4.0 ได้แก่ 1) สมรรถนะด้าน การศึกษาเรียนรู้ เป็นการเรียนรู้โดยใช้อินเทอร์เน็ตเป็นทักษะพ้ืนฐาน 2) สมรรถนะด้านพาณิชยกรรม เทคโนโลยี ครูตอ้ งมีความสามารถที่จะนานักเรยี นให้มีความเป็นผ้ปู ระกอบการด้วยเทคโนโลยีสาหรับการ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 10 ทางานของนวัตกรรมของนักเรียน 3) สมรรถนะด้านโลกาภิวัตน์ ครูไม่กลัวการข้ามวัฒนธรรมและ สามารถแก้ปัญหาทางการศึกษาได้ 4) สมรรถนะด้านกลยุทธ์ในอนาคต ครูมีความสามารถในการ คาดการณ์ส่ิงที่จะเกิดข้ึนในอนาคต และกลยุทธ์นั้น หมายถึง การร่วมจัดการเรียนการสอน ร่วมวิจยั ร่วม ใช้ทรัพยากร ร่วมหมุนเวียนและสับเปลี่ยนของบุคลากร และ 5) สมรรถนะด้านการให้คาปรึกษา ครูมี ความสามารถท่ีจะเข้าใจปัญหาในอนาคตของนักเรียน นอกจากจะเข้าใจสื่อการสอน แต่ยังต้องเข้าใจ ปัญหาทางดา้ นจติ วิทยาอีกดว้ ย เอกชัย กี่สุขพันธ์ (2559) กล่าวว่า ครูในอนาคตที่จะเข้าสู่วิชาชีพ จะต้องมีความสามารถในการ พัฒนาความเป็นมืออาชีพได้ นอกจากจะต้องเก่ง มีความรู้ในเน้ือหาในวิชาที่จะสอน (Hard Skills) แล้ว จะต้องได้รับการพัฒนาทักษะท่ีหลากหลายด้าน (Transversal Skills) ควบคู่ไปด้วย เพราะเป็น Soft Skills ท่จี าเป็นในการเสริมสรา้ งการเรียนรู้ การปฏบิ ัติงาน สาหรบั การปฏิบัติตนให้มีความสามารถในการ ปรับตัวพร้อมรับการเปล่ียนแปลงได้ในอนาคตต้องอาศัย 9 ทักษะท่ีมีความหลากหลาย ได้แก่ 1) ทักษะ การคิด ไม่ว่าจะเป็นการคิดวิพากษ์ คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ 2) ทักษะการสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นการใช้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ การส่ือสารในการสอน เป็นต้น 3) ทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ 4) ทักษะ การเรียนรู้ใฝ่เรียนรู้อยู่เสมอเมื่อมีโอกาส 5) ทักษะการทางานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่น 6) ทักษะภาวะผู้นา 7) ทักษะการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ 8) ทกั ษะมนุษยสัมพนั ธ์ และ 9) ทักษะการเป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็ง 2. แนวทำงกำรพัฒนำสมรรถนะครูรองรับกำรศกึ ษำยุค 4.0 แนวทางการพฒั นาสมรรถนะครรู องรบั การศกึ ษายุค 4.0 ได้มีนักวิชาการและนกั การศกึ ษาได้ ให้แนวทางไวอ้ ย่างน่าสนใจ ดังนี้ พิณสุดา สิริรังธศรี (2557, 11) ได้เสนอรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูไว้ดังน้ี 1) จัดให้มีการ สอบเพื่อรับและต่อใบอนุญาตประกอบ 2) กาหนดให้ครูทุกคนต้องพัฒนาตนเองทุกปี 3) พัฒนาระบบ เงินเดือน 4) ประเมินผลการทางานของครูด้วยวิธีการประเมินแบบค่าสัมพัทธ์ 5) ลด/ยกเลิกวิธีการ พัฒนาท่ีเน้นการอบรม 6) นาเทคโนโลยีมาใช้เพื่อการพัฒนาโดยพัฒนาระบบออนไลน์ 7) ส่งเสริมการ พฒั นาตนเองของครูอย่างต่อเน่ือง 8) สร้างเครือขา่ ยการพัฒนา ทั้งในและนอกสถานศึกษา 9) พัฒนาครู แบบมีส่วนร่วม 10) วิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ และการเรียนการสอนของครูให้ทันสมัย 11) จัดให้มีคูปองการพัฒนาประจาปี 12) จัดให้มีการปฐมนิเทศครูใหม่ 13) กาหนดจานวนนักเรียนต่อ ครูให้เหมาะสม และสอดคล้องกบั การเรียนการสอน 14) พัฒนาและจัดสอื่ การสอนที่มีคุณภาพสอดคล้อง กับเน้ือหาสาระวิชา 15) ปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนของครู 16) จัดระบบเครือข่ายและนิเทศการสอน ภายในสถานศึกษา 17) จัดให้มีครูต้นแบบเพื่อเป็นพ่ีเลี้ยง และ 18) จัดต้ังและพัฒนากองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ โชติชวัล ฟูกิจกาญจน (2556, 30-32) สรุปกระบวนการพัฒนาครู ซึ่งมีหลายรูปแบบ ดงั ต่อไปนี้ 1) การปฐมนิเทศ (Orientation) 2) การบรรยาย (Lecture) 3) การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 11 (Workshop training) 4) การระดมสมอง (Brainstorming) 5) การอภิปราย (Discussion) 6) การฝึก อบ รมแบ บ กรณี ศึ กษ า (Case study) 7) การสาธิต (Demonstration) 8) การศึ กษ าดู งาน (Observation) 9) การฝึกอบรมเพื่อสุขภาพ (Health training) 10) การฝึกสอน (Coaching) 11) ระบบพ่เี ลีย้ ง (Mentoring system) และ 12) การใหคาปรกึ ษา (Counseling) อรรณพ จีนะวัฒน์ (2559, 1394) สรุปการพัฒนาครูมืออาชีพ 1) ส่งเสริมการเรียนรู้และ พัฒนาทักษะของครูด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 2) สร้างโอกาสการเรียนรู้ของครูในการใช้เทคโนโลยี อย่างสมา่ เสมอ 3) สนับสนนุ เครอ่ื งมือทีจ่ ะชว่ ยให้ครูได้แสวงหาการเรียนร้ดู ้วยตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง และ 4) จดั หาประสบการณท์ ีเ่ ปน็ การเรยี นรู้ระยะยาว สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2560) ได้ศึกษาระบบและรูปแบบการพัฒนาครูที่ เหมาะสมกับสังคมไทยและความเป็นสากล ดังน้ี 1) การส่งครูไปเข้าร่วมการประชุม อบรม สัมมนาตามท่ี หน่วยงานต่าง ๆ จัดขน้ึ 2) การไปศึกษาดูงาน การจดั อบรมสัมมนาในโรงเรยี น โดยเชญิ วิทยากรภายนอก มาให้ความรู้ 3) การส่งครูไปศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น 4) การนิเทศภายใน 5) การทาวิจัยในชั้นเรียน 6) การมอบหมายให้ครูอ่านหนังสือเก่ียวกบั การปฏิรปู การเรียนรูแ้ ละงานที่เก่ียวข้องกบั ครู 7) การเรียนรู้ จากการปฏิบัติโดยหมุนเวียนครูให้ปฏิบัติงานในหลายหน้าที่ 8) การจัดทีมงานเพ่ือเรียนรู้และปฏิบัติงาน ร่วมกัน 9) การนาโครงการต่าง ๆ จากภายนอกเข้ามาดาเนินการภายในโรงเรียน เพ่ือกระตุ้นการทางาน ของครู 10) การสนับสนุนครูให้ทาผลงานทางวิชาการ เพ่ือเล่ือนวิทยฐานะและขอรับรางวัลจาก หน่วยงานต่าง ๆ 11) การส่งครูไปเป็นวิทยากรในโอกาสต่าง ๆ และ 12) การเข้าร่วมโครงการต่าง ๆ ทั้ง ระดับประเทศและระดับภมู ิภาค เพื่อกระตุ้นให้ครูต่นื ตัวพฒั นาตนเอง เปน็ ตน้ เชาว์ อินใย, จรรยาลักษณ์ วังคีรี และ วัชรี โสธรรมมงคล (2555, 34) ได้เสนอแนวทางการ พัฒนาครู 5 ประการ ดังนี้ 1) การสารวจความต้องการของครู 2) การฝึกอบรม 3) การศึกษาดูงาน โรงเรียนที่ประสบความสาเร็จ 4) การสร้างเคร่ืองมือวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ และ 5) การสร้าง เครือขา่ ยท่ีเชือ่ มโยงกับการนิเทศตดิ ตามงาน สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา (2557, 17) ได้สรุปการพัฒนา ศกั ยภาพหรือสมรรถนะครูสูศ่ ตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย 12 ประเด็นท่ีสาคญั ดงั นี้ 1) ทาให้ผูเ้ รียนเป็น ผู้สร้างความรู้โดยเน้นการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ 2) การพัฒนาทักษะการจัดลาดับการคิดระดับสูง โดยเน้นทักษะการคิดวิเคราะห์และวิจารณญาณ 3) ครูเป็นผู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ที่มี ประสทิ ธิภาพ 4) การวัดและประเมนิ ผลด้วยการผสมผสานเขา้ กับกระบวนการสอนโดยเนน้ พฒั นาการ และความก้าวหน้าของผู้เรียน 5) มีความรู้และประสบการณ์วิชาชีพเพื่อส่งเสริมการพัฒนาชีวิตและ ทักษะวิชาชีพให้ผู้เรียน 6. การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้แบบร่วมมือกับผู้เก่ียวข้อง 7) การพัฒนาครู และผู้เรียนอย่างต่อเนื่องเพ่ือพัฒนาโรงเรียนเป็นองค์กรการเรียนรู้ 8) การสร้างระบบครูผู้เช่ียวชาญ เป็นพี่เล้ียงครูใหม่ 9) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาเป็นกลไกสาคัญในการติดตามความก้าวหน้า

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 12 ทางวิทยาการและความรู้เพื่อการพัฒนาครู 10) มีความรู้ความสามารถและทักษะในการออกแบบการ จัดการเรียนรู้ 11) มีภาวะผู้นาในการพัฒนาการศึกษาและเป็นผู้นาการเปล่ียนแปลง และ 12) การเป็น บุคคลทมี่ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม ศีลธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2555, 34) ศึกษารูปแบบการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐาน โดยมีข้ันตอนในการดาเนินงานดังน้ี 1) การสารวจความต้องการจาเป็นในการ ฝึกอบรม ส่วนใหญ่ใช้กระบวนการกลุ่มและเทคนิคการสนทนากลุ่ม 2) การออกแบบการฝึกอบรม ส่วนใหญใ่ ช้กระบวนการกลุ่มในการออกแบบ 3) การฝกึ ปฏิบัติ ใชก้ ารฝึกปฏิบตั ิรายบุคคลในห้องเรยี น 4) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ใช้การประชุมแลกเปลี่ยน 5) การนิเทศและติดตามผล ส่วนใหญ่ใช้การ สนทนากลุ่มเป็นรายบุคคล 6) การสะท้อนความคิดของครู ส่วนใหญ่ใช้การสัมมนา 7) การประเมิน การฝกึ อบรม ใช้การสมั มนาและการประเมินความพงึ พอใจ บูช (Bush, 1999, quoted in Villegas–Reimers, 2003, 119-120) ได้กาหนดแนวทางการ พัฒนาครูสู่ครูมืออาชีพไว้ดังนี้ 1) พัฒนาค่านิยมขององค์การในเร่ืองการทางานเป็นหมู่คณะ การเปิดเผย และความไว้วางใจ 2) เปิดโอกาสและให้มชี ่วงเวลาคุณภาพเพ่ือสนทนาแลกเปล่ียนเรียนรู้กัน 3) ให้ครู ได้มีโอกาสเรียนรู้และเข้าใจองค์การของตัวเองอย่างแท้จริง 4) ทบทวนบทบาทหน้าท่ีเกี่ยวกับความเป็น ผู้นาและปรับให้ครอบคลุมถึงบทบาทของครู 5) ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายท้ังในและนอกสถานศึกษา และความร่วมมือร่วมใจในการทางานอย่างเป็นหนึ่งเดียว และ 6) เตรียมครูให้เป็นผู้นาในวิชาชีพของ ตนอยา่ งแทจ้ ริง สมาคมครูเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กาหนดแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้มี 3 แนวทาง ประกอบด้วย การเรียนรู้ระหว่างทางาน การเรียนรู้จากผู้อื่น และการเรียนรู้ตาม โครงสร้าง ซึ่งมีรายละเอียด ดงั น้ี 1. การเรียนรู้ระหว่างทางาน 1.1 การรับทางานในส่วนของงานกรรมการหรือการเป็นสมาชิกใน ทีมงาน 1.2 การฝกึ กระบวนการการสอนแบบเปน็ ขนั้ เป็นตอน 1.3 การเรยี นรู้ผา่ นการทดลอง 2. การเรยี นรู้จากผ้อู ่ืน 2.1 การรับการฝึกจากหัวหน้างานหรอื เพื่อนร่วมงาน 2.2 การสังเกตและ จดบนั ทึกการสอนของครทู ่านอ่นื ท่ีประสบความสาเร็จ 2.3 การเป็นสมาชิกในองค์กรทางวิชาชพี 2.4 การ ถามคาถาม 2.5 การอภปิ ราย 2.6 การสร้างเครอื ข่ายกับวชิ าชพี อ่นื 3. การเรียนรู้ตามโครงสร้าง 3.1 การฝกึ อบรม 3.2 การอ่าน 3.3 การดูวิดีโอที่เกี่ยวข้อง 3.4 การ ประชุมวิชาการ สัมมนา และการประชุมเชิงปฏิบัติการ (The Teachers’ Council of Thailand, 2018, 24-27) อัสการ์ และ อาหมัด (Asghar & Ahmad, 2014, 148-151) ได้พยายามศึกษาแนวทางต่าง ๆ ในการพัฒนาครูเพ่ือให้ได้มาซึ่งความหลากหลาย ซึ่งเป็นแนวทางพัฒนาครูที่ได้รับความนิยมในหมู่ โรงเรียนและนักการศึกษา ซ่ึงมีรายละเอียดดังน้ี 1) ยึดครูเป็นศูนย์กลาง (Client-centred Approach)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 13 2) การพั ฒ นาตนเองผ่านการสังเกตการสอนในช้ันเรียน (Self-Development through Class Observation) 3) การตระหนักรู้ในตนเองผ่านกลุ่มครูที่มีการพัฒนา (Self-awareness through groups in teacher development) 4) การทางานร่วมกันกับการทางานบนความร่วมมือ (Collaborative Approach Vs Co-operative Approach) และ 5) การพัฒนาครูโดยใช้ข้อมูล (Data-based Teacher Development) ซมอลียานิโนวา และ เบซิสเวสเนค (Smolyaninova & Ekaterina, 2019) การพัฒนาสมรรถนะ (ด้านไอซีที) ของผู้สอนจะมีประสิทธิภาพมากขึ้นหากได้ดาเนินการ ดังน้ี 1) ศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานการใช้ e-Portfolio 2) กาหนดรูปแบบและเครื่องมือในการสาธิตการเรียนรู้ 3) ให้ข้อเสนอแนะและการสะท้อน ข้อมูลกลับอย่างเป็นระบบ 4) สนับสนุนความเป็นอิสระและสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ 5) มีความ ต่อเน่ืองในการนาเสนอ และใช้วิธีสอนการสอน และ 6) มีการปฐมนิเทศเชิงปฏิบัติและฝึกปฏิบัติอย่าง ต่อเนื่อง เบเนดิก และ โมลนาร์ (Benedek György & Molnár, 2012, 95-99) ส่ิงจาเป็นสาหรับการ ส่งเสริมสมรรถนะครูในศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย 1) เรียนรู้ตลอดชีวิต 2) สอนในระบบโมดูล 3) พัฒนา วิธีการสอนและการใช้สื่อท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 4) ใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย 5) นาเสนอเทคนิค การสอน และการเรียนที่มีประสิทธิภาพที่สง่ เสริมการพัฒนาเป็นรายบุคคล 6) ใชว้ ิธีการสอนแบบร่วมมือ และแบบเครือข่าย 7) ประยุกต์ใช้รูปแบบการสื่อสารด้วยวาจาและอวัจนภาษาท่ีเหมาะสม 8) ใช้เทคนิค การนาเสนอที่ทันสมัย 9) ทาความคุ้นเคยกับวิธิการใหม่ ๆ ด้วย ICT 10) ประยุกตใ์ ช้ข้อมูลที่ใช้ ICT และ ระบบการจัดการความรู้ และ 11) ประยุกต์ใช้กบั สถานศึกษาที่ทันสมัย ศูนย์ซีมีโอ (SEAMEO, 2010) ได้สรุปแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูในเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้แห่งศตวรรษที่ 21 ไว้ดังน้ี 1. อานวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะชีวิตและอาชีพของผู้เรียน 2. การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ท่ีเอ้ืออานวย 3. อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ 4. จัดทา แผนการสอนที่เหมาะสมสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงเรียน 5. การพัฒนาทักษะการคิด ตามลาดับข้ันสูง (HOTS) 6. การพัฒนาและใช้ประโยชน์จากแหล่งการเรียนการสอน 7. เสริมสร้างคุณค่า ทางจริยธรรมและคุณธรรม 8. การประเมินและประเมินผลการเรียนของผู้เรียน 9. มีส่วนร่วมในการ พัฒนาวิชาชีพ 10. การสร้างเครือข่ายกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยเฉพาะกบั ผปู้ กครอง และ 11. การจัดการ สวัสดิการนกั ศกึ ษาและงานอื่น ๆ จากแนวคิดของนักวิชาการและนักการศึกษาดังกล่าว สามารถแสดงกรอบแนวคิดเป็นแผนภาพ ไดด้ งั นี้

14 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง1. แนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะครูรองรับ รูปแบบกำรพัฒนำสมรรถนะครูรองรบั กำรศกึ ษำยุค 4.0 กำรศกึ ษำยุค 4.0 A) คณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน (2553) ผูเ้ ชย่ี วชาญยืนยนั รปู แบบ B) คณะกรรมการคุรุสภา (2562) C) The Teachers’ Council of Thailand (2018) D) European Union (2009) E) สานกั งานส่งเสรมิ สงั คมแหง่ การเรยี นรู้และคณุ ภาพเยาวชน (สสค.) (2557) F) The Australian Institute for Teaching and School Leadership (AITSL) (2018) G) Ding (2016) H) Zeiger (2018) I) ฉตั รชยั หวงั มีจงมี (2560) J) Nessipbayeva (2012) K) มลู นิธสิ ยามกัมมาจล (2560) L) Wahyu, Indira, Hermanto & Pramono (2019) M) เอกชยั กสี่ ุขพันธ์ (2559) 2. แนวคิดเกี่ยวกับกำรพัฒนำสมรรถนะครู รองรบั กำรศกึ ษำยคุ 4.0 i) พณิ สดุ า สิรริ งั ธศรี (2557) II) โชติชวัล ฟกู ิจกาญจน (2556) III) อรรณพ จีนะวฒั น์ (2559) IV) สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (2560) V) เชาว์ อนิ ใย, จรรยาลกั ษณ์ วังคีรี, วัชรี โสธรรมมงคล (2555) VI) สถาบนั พฒั นาครู คณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา (2557) VII) สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (2555) VIII) Bush (1999) IX) The Teachers’ Council of Thailand (2018) X) Asghar & Ahmad (2014) XI) Smolyaninova & Ekaterina (2019) XII) Benedek György & Molnár (2012) XIII) SEAMEO (2010) ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวจิ ัย ทม่ี า : ผวู้ ิจยั (2562)

15 นยิ ำมศัพท์เฉพำะ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ผู้วิจัยจึงให้ความหมายของคาศัพท์เฉพาะ สาหรับศึกษาการทา วจิ ัยในครัง้ นี้ไว้ดังตอ่ ไปนี้ 1. รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูรองรับการศึกษายุค 4.0 หมายถึง รูปแบบทางความคิดของ นักวิชาการต่าง ๆ ในการนาส่ิงใหม่ท้ังท่ีเป็นความคิด หรือแนวปฏิบัติท่ีนามาใช้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะครู เพ่อื รองรับการศึกษายุค 4.0 2. ผู้อานวยการ หมายถึง ผู้ที่เป็นหัวหน้าสถานศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาจังหวัดราชบรุ ี และสมทุ รสงคราม 3. ครู หมายถึง บุคลากรวิชาชีพที่ปฏิบัติหน้าท่ีสอนในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาจังหวัดราชบรุ ี และสมุทรสงคราม ประโยชน์ทคี่ ำดวำ่ จะได้รับ สามารถนารูปแบบการพฒั นาสมรรถนะครูรองรบั การศึกษายุค 4.0 ไปใช้ไดด้ งั นี้ 1. ในระดบั ชาติ - สามารถนาผลวจิ ัยไปใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในกาหนดเป็นนโยบาย/ทศิ ทาง การจัดการศึกษาของชาติ 2. ในระดับสถานศึกษา - สามารถนาผลวจิ ัยไปใช้เปน็ แนวคิด/แนวปฏิบตั ิสาหรับการบริหารสถานศึกษา มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กยี่ วขอ้ ง การวิจัยในครัง้ น้ี เป็นการศึกษานวตั กรรมการบริหารสถานศึกษาสู่การเป็นโรงเรยี นต้นแบบที่ สง่ เสริมทักษะการคิด ซึ่งผู้วิจัยไดศ้ ึกษาค้นควา้ แนวคิด ทฤษฎีและวรรณกรรม จากเอกสาร ตาราและ งานวิจยั ที่เกีย่ วข้องดงั น้ี แนวคิด ทฤษฎีทเี่ ก่ยี วขอ้ ง 1. รูปแบบ 1.1 ความหมายรปู แบบ 1.2 ประเภทของรปู แบบ 1.3 การทดสอบรปู แบบ 2. ความเป็นมาประเทศไทย 4.0 3. การศกึ ษาจากยุค 1.0 สู่ยุค 4.0 4. ความหมายของสมรรถนะ 5. สมรรถนะของครูรองรบั การศึกษายุค 4.0 6. แนวคิดรปู แบบการพฒั นาสมรรถนะครูรองรบั การศึกษายคุ 4.0 งานวิจยั ที่เกยี่ วขอ้ ง 1. งานวจิ ัยในประเทศ 2. งานวจิ ยั ตา่ งประเทศ แนวคิด ทฤษฎีท่เี กีย่ วขอ้ ง 1. รปู แบบ 1.1 ความหมายรูปแบบ พัฒนา พรหมณี, ศรีสุรางค์ เอ่ียมสะอาด และ ปณิธาน กระสังข์ (2560, 130) ได้สรุป ความหมายรูปแบบ หมายถึง แบบจาลองหรือตัวแบบอย่างง่ายหรือย่อส่วนของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่ ผ่านการศึกษาและพัฒนาข้ึนมาเพ่ือแสดงหรืออธิบายปรากฏการณ์ให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น เป็นสิ่งที่สร้างหรือ พฒั นาข้ึนจากหลักปรัชญา ทฤษฎีหลักการ แนวคิดและความเชื่อที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการแสดงโครงสร้าง ทางความคิดหรือองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ขององค์ประกอบท่ีสาคัญเป็นขั้นเป็นตอนสาหรับ ถ่ายทอดความสัมพันธ์ขององค์ประกอบโดยใช้สื่อ หรือเคร่ืองมือเข้าช่วยเพ่ือทาให้เกิดความรู้ เข้าใจได้ งา่ ยและกระชับถกู ตอ้ ง สามารถวัดตรวจสอบ และเปรียบเทียบความรู้ความเขา้ ใจได้

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 17 ศักดิ์ชัย ภู่เจริญ (2558, 2) กล่าวว่า รูปแบบ หมายถึง การจาลองหรือการย่อส่วน แนวความคิด วิธีการ กระบวนการ ขั้นตอนต่าง ๆ ที่มีความเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ ทาให้เข้าใจเรื่อง ยาก ๆ ไดง้ า่ ยข้ึน ชิรวัฒน์ นิจเนตร (2560, 71) สรุปว่า รูปแบบ หมายถึง แบบย่อส่วนของจริงหรือแบบจาลอง ทใี่ ช้เป็นตัวแทนของความเป็นจรงิ ในสาขาวิชาสังคมศาสตรแ์ ละการศึกษา รปู แบบหมายถึงโครงสร้างหรือ ความสัมพันธ์เชิงเหตุผลแบบย่อส่วนของปัจจัยต่าง ๆ ที่ใช้อธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ให้เข้าใจง่ายและ มองเหน็ เป็นรูปธรรม จากแนวคดิ ดังกล่าว สรุปความหมายของรูปแบบ ไดว้ ่า หมายถึง การจาลองหรือการยอ่ ส่วน ทางแนวคิดที่ผ่านการศึกษาและพัฒนาข้ึนมาเพ่ือแสดงหรืออธิบายปรากฏการณ์ให้เข้าใจได้ง่ายข้ึน เป็น สงิ่ ทส่ี ร้างหรือพฒั นาขึ้นจากหลักปรชั ญา ทฤษฎหี ลักการ แนวคดิ และความเช่ือทเ่ี ก่ยี วข้อง 1.2 ประเภทของรปู แบบ รปู แบบมีหลายประเภท ซึง่ ท่ผี ่านมามีนกั วิชาการได้ศกึ ษาและสรุปประเภทของรูปแบบไว้ ดงั น้ี คพี (Keeves, 1988, 561-565) ได้จาแนกรปู แบบออกเปน็ 4 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. รูปแบบเชิงเปรียบเทียบ (Analogue Model) เป็นรูปแบบเชิงกายภาพส่วนให้ญใช้ใน ด้านวิทยาศาสตร์ เช่น รูปแบบโครงสร้างอะตอมสร้างข้ึนโดยใช้หลักการเปรียบเทียบโครงสร้างของ รูปแบบให้สอดคล้องกับลักษณะท่ีคล้ายกันทางกายภาพ สอดคล้องกับข้อมูลและความรู้ท่ีมีอยู่ใน ลักษณะนั้นด้วยรูปแบบท่ีสร้างขึ้นต้องมีองค์ประกอบชัดเจน สามารถนาไปทดสอบด้วยข้อมูลเชิงประ จักษได้และสามารถนาไปใช้ในการหาข้อสรุปของปรากฎการณ์ได้อย่างกว้างขวาง เช่น รูปแบบจานวน นักเรียนในโรงเรียน สร้างข้ึนโดยเปรียบเทียบกับลักษณะถังน้าที่ประกอบด้วยท่อน้าเขาและท่อน้าออก ปริมาณท่ีไหลเขาถังเปรียบเทียบได้กับจานวนนักเรียนท่ีเขาโรงเรียน อัตราการเกิด อัตราการย้ายเขา อัตราการรบั เด็กอายุต่ากว่าเกณฑ์ สว่ นปรมิ าณนา้ ที่ไหลออกเปรยี บเทียบได้กับจานวนนักเรียนทอ่ี อกจาก โรงเรียน เนื่องจากพ้นเกณฑ์การศึกษา การย้ายออกการจบการศึกษา สาหรับปริมาณน้าท่ีเหลือในถัง เปรียบเทียบได้กับจานวนนักเรียนท่ีเหลืออยู่ในโรงเรียน เป็นต้น จุดมุ่งหมายของรูปแบบนี้เพื่ออธิบาย ปรากฎการณก์ ารเปล่ยี นแปลงจานวนนักเรยี นในโรงเรียน 2. รูปแบบเชิงขอ้ ความ (Semantic Model) เป็นรปู แบบที่ใช้ภาษาเป็นสื่อในการบรรยาย หรืออธิบายปรากฎการณ์ที่ศึกษาด้วยภาษา แผนภูมิหรือรูปภาพ เพ่ือให้เห็นโครงสร้างทางความคิด องค์ประกอบ และความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของปรากฎการณ์น้ัน และใช้ข้อความในการอธิบาย เพื่อให้เกิดความกระจ่าง และได้มีการนารูปแบบนี้มาใช้กับการศึกษามากขึ้น เช่น รูปแบบการบริหาร รูปแบบการพฒั นา เปน็ ต้น

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 18 3. รูปแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical Model) เป็นรูปแบบท่ีใช้แสดงความสมั พันธ์ ขององค์ประกอบหรือตัวแปร โดยใช้สัญลักษณทางคณิตศาสตร์ปัจจุบันมีแนวโน้มว่าจะนาไปใช้ใน ด้านพฤติกรรมศาสตร์มากขึ้น โดยเฉพาะในการวัดและประเมินผลทางการศึกษา รูปแบบลักษณะนี้ สว่ นมากพัฒนามาจากรปู แบบเชิงขอ้ ความ 4. รปู แบบเชิงสาเหตุ (Causal Model) เป็นรปู แบบที่เร่มิ จากการนาเทคนิคการวเิ คราะห์ เส้นทาง (Path Analysis) ในการศึกษาเก่ียวกับพันธุศาสตร์รูปแบบเชิงสาเหตุน้ีทาให้สามารถศึกษา รูปแบบเชิงขอ้ ความท่ีมีตัวแปรสลับซับซ้อนได้แนวคิดสาคัญของรูปแบบนี้คือต้องสร้างขึ้นจากทฤษฎีท่ี เกี่ยวข้องหรืองานวิจัยท่ีมีมาแลว รูปแบบจะเขียนในลักษณะสมการเส้นตรงแต่ละสมการแสดง ความสัมพันธ์เชิงเหตุเชิงผลระหว่างตัวแปร จากน้ันมีการเก็บรวบรวมข้อมูลในสภาพการณท่ีเป็นจริง เพื่อทดสอบรปู แบบ รปู แบบเชิงสาเหตุนี้แบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะไดแ้ ก่ 4.1 รปู แบบระบบเส้นเดยี่ ว (Recursive Model) เป็นรปู แบบท่ีแสดงความสัมพันธ์เชิง สาเหตุระหว่างตัวแปรด้วยเส้นโยงที่มีทิศทางของการเป็นสาเหตุในทิศทางเดียวโดยไม่มีความสัมพันธ์ ย้อนกลับ 4.2 รูปแบบระบบเส้นคู่ (Non-recursive Model) เป็นรูปแบบที่แสดงความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรโดยทิศทางความสัมพันธ์ของตัวแปรภายในตัวแปรหน่ึง อาจเป็นท้ังตัวแปร เชิงสาเหตแุ ละเชิงผลพร้อมกนั จึงมที ศิ ทางความสมั พันธ์ย้อนกลบั ได้ สเตียเนอร์ (Steiner, 1988, 39-40) ไดจ้ าแนกรูปแบบออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. รปู แบบเชิงกายภาพ (Physical Model) จาแนกออกเป็น 1.1 รูปแบบของสิ่งใดส่ิงหน่ึง (Model of) เช่น รูปแบบเคร่ืองบินที่สร้างเหมือนจริง แตม่ ีขนาดย่อ 1.2 รูปแบบสาหรับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (Model for) เป็นรูปแบบจาลองท่ีออกแบบไวเพื่อ เป็นตนแบบผลติ สินค้า ต้องสรา้ งรปู แบบเท่าของจริงขึน้ มากอ่ นแลวจึงผลิตสินคา้ ตามรูปแบบน้ัน 2. รูปแบบเชงิ แนวคิด (Conceptual Model) จาแนกออกเป็น 2.1 รูปแบบเชิงแนวคิดของสิ่งหนึ่งสิ่งใด (Conceptual Model of) เป็นรูปแบบหรือ แบบจาลองที่สร้างข้ึนโดยจาลองมาจากทฤษฎีที่มีอยูแล้ว เช่น รูปแบบท่ีสร้างมาจากทฤษฎีการคงอยู่ ของนกั เรียนในโรงเรยี น เป็นตน้ 2.2 รูปแบบเชิงแนวคิดเพื่อสิ่งหนึ่งส่ิงใด (Conceptual Model for) เป็นรูปแบบที่ สร้างข้ึนมาเพ่ืออธิบายทฤษฎีหรือปรากฎการณ์ เช่น รูปแบบท่ีสร้างข้ึนจากทฤษฎีการคัดสรรตาม ธรรมชาติ เพื่อนาไปอธิบายทฤษฎีการคงอยู่ของนักเรียนในโรงเรียน เป็นต้น จากการศึกษาประเภท ของรปู แบบ สรปุ ไดว้ ่าการแบ่งประเภทของรูปแบบจะข้ึนอยู่กับวัตถุประสงคในการอธบิ ายรูปแบบน้ัน ๆ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 19 จากแนวคิดของนักวิชาการดังกล่าว สรุปได้ว่าประเภทของรูปแบบจะแตกต่างกันไปใน วิชาการแต่ละแขนง เช่น รูปแบบทางการศึกษาและสังคมศาสตร์ ได้แบ่งออกเป็นรูปแบบท่ีใช้การ อุปมาอุปมัยเทียบเคียงกับปรากฏการณ์ซึ่งเป็นรูปธรรม เพื่อสร้างความเข้าใจในปรากฏการณ์ท่ีเป็น นามธรรม รูปแบบท่ีใช้ภาษาเป็นสื่อในการบรรยายหรืออธิบายปรากฏการณ์ที่ศึกษาด้วยภาษา แผนภมู ิ รูปภาพ และรปู แบบทน่ี าเอาตัวแปรตา่ ง ๆ มาแสดงความสมั พันธก์ ันเชงิ เหตุและผล 1.3 การทดสอบรูปแบบ จุดมุ่งหมายท่ีสาคัญของการสร้างรูปแบบก็เพื่อทดสอบหรือตรวจสอบรูปแบบนั้นด้วย ข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยการประมาณค่าพารามิเตอร์ของรูปแบบ ดังนั้น รูปแบบท่ีสร้างขึ้นจึงควรมี ความชัดเจน และเหมาะสมกับวิธที ดสอบโดยปกตแิ ล้วการวิจัยทางสงั คมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ มักจะดาเนินการทดสอบรปู แบบด้วยวิธีทางสถิติ ผลของการทดสอบจะนาไปสู่การยอมรบั หรือปฏเิ สธ รูปแบบนั้นและนาไปสู่การสร้างทฤษฎีให้ม่ต่อไปจากที่กล่าวมาแล้ว สรุปได้ว่าการทดสอบหรือ ตรวจสอบรปู แบบสามารถจะกระทาได้ 2 ลกั ษณะ กล่าวคือ 1. การทดสอบรูปแบบด้วยการประเมิน ซึ่งเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการประเมินทาง การศึกษา (Joint Committee on Standards for Educational Evaluation) ได้เสนอหลักการเพ่ือ เป็นหลักฐานของกิจกรรมของการตรวจสอบรูปแบบ ซึ่งจัดเป็น 3 หมวด (Madaus, Scriven & Stufflebeam, 1983, 399-402) ดงั น้ี 1.1 มาตรฐานด้านความเป็นไปได้ (Feasibility Standard) เป็นการประเมินความเป็นไป ไดใ้ นการนาไปปฏบิ ตั ิจรงิ 1.2 มาตรฐานด้านความเป็นประโยชน์ (Utility Standard) เป็นการประเมินการ สนองตอบต่อความต้องการของผใู้ ช้รูปแบบ 1.3 มาตรฐานด้านความถูกต้องครอบคลุม (Accuracy Standard) เป็นการประเมิน ความน่าเช่ือถอื และได้สาระครอบคลุมครบถ้วนตามความต้องการอย่างแท้จรงิ 2. การทดสอบรปู แบบโดยผทู้ รงคณุ วฒุ ิ การทดสอบรูปแบบหรือการประเมินในบางเรือ่ งก็ ไม่สามารถกระทาได้ดว้ ยข้อจากัดสภาพการณต์ ่าง ๆ ซ่ึง ไอซเ์ นอร์ (Eisner, 1976, 135-150) ได้เสนอ แนวคิดของการทดสอบหรือประเมินโดยใช้ผู้ทรงคุณวุฒิ เพราะเห็นว่าการวิจัยทางการศึกษาส่วนใหญ่ ดาเนินการตามหลักการทางวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณมากเกินไป และในบางเร่ืองก็ต้องการความ ละเอียดอ่อนมากกวา่ การได้ตวั เลขแล้วสรุป จึงได้เสนอแนวคดิ การประเมินโดยผู้ทรงคณุ วุฒิซง่ึ จะเน้นการ วิเคราะห์วิจารณ์อย่างลึกซ้ึงเฉพาะในประเด็นที่ถูกนามาพิจารณา ซ่ึงไม่จาเป็นต้องเก่ียวโยงกับ วัตถุประสงค์ หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเสมอไปแต่อาจจะผสมผสานปัจจัยต่าง ๆ ในการ พิจารณาเข้าด้วยกันตามวิจารณญาณของผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับคุณภาพประสิทธิภาพ และความเหมาะสมของสิ่งท่ีจะทาการประเมิน เป็นรูปแบบการประเมินท่ีเป็นเฉพาะทาง (Specialization)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 20 ในเร่ืองที่จะประเมินต้องอาศัยผู้เช่ียวชาญระดับสูงเป็นผู้วินิจฉัย เนื่องจากเป็นการวัดคุณค่าไม่อาจ ประเมินด้วยเครื่องวัดใดๆ และต้องใช้ความรู้ ความสามารถของผู้ประเมินอย่างแท้จริง แนวคิดน้ีได้ นามาประยุกต์ใช้ในแนวทางการศึกษาระดับสูงมากขึ้น ทั้งนี้ เพราะเป็นองค์ความรู้เฉพาะสาขา ผู้ท่ี ศึกษาเร่ืองน้ัน ๆ จึงจะทราบและเข้าใจอย่างลึกซ้ึง ดังน้ัน ในวงการอุดมศึกษาจึงนิยมนารูปแบบน้ีมา ใช้ในเรื่องท่ีต้องการความลึกซ้ึงและความเช่ียวชาญเฉพาะสูง ตัวผู้ทรงคุณวุฒิจะเป็นเครื่องมือในการ ประเมินโดยเช่ือว่าคนเหล่าน้ันเที่ยงธรรมและมีดุลพินิจที่ดี มาตรฐานและเกณฑ์พิจารณาตา่ ง ๆ ก็เกิด ประสบการณแ์ ละความชานาญของผู้ทรงคณุ วฒุ เิ อง เบญจพร แกว้ มีศรี (อ้างถึงใน ชิรวัฒน์ นิจเนตร, 2560, 91-92) ได้เสนอวา่ รปู แบบในบาง เร่อื งต้องการความละเอียดอ่อนมากกว่าการวจิ ัยเชิงปรมิ าณ คือการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ โดยเช่ือ วา่ การรับรู้ท่ีเท่ากันเป็นคุณสมบัติพื้นฐานของผู้รู้และได้เสนอแนวคิดการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ไว้ ดงั นี้ 1. การประเมินในแนวทางนี้ มิได้เน้นผลสัมฤทธ์ิของเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ตามแบบการ ประเมินอิงเป้าหมาย (Goal-Based Model) หรือการตอบสนองความต้องการของผู้ที่เก่ียวข้องตามการ ประเมินแบบตอบสนองความต้องการ (Responsive Model) หรือประเมินเพื่อการตัดสินใจ (Decision Making Model) อย่างหน่ึงอย่างใด แต่เป็นการวิเคราะห์วิจารณ์อย่างลึกซึ้งเฉพาะประเด็นท่ีนามา พิจารณา ซ่ึงไม่จาเป็นต้องเก่ียวโยงกับวัตถุประสงค์หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเสมอไป แต่ อาจจะผสมผสานปัจจัยต่าง ๆ ในการพิจารณาเข้าด้วยกันตามวิจารณญาณของผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อให้ได้ ข้อสรปุ เก่ยี วกบั คุณภาพ ประสทิ ธิภาพหรือความเหมาะสมของส่ิงทท่ี าการประเมิน 2. เป็นการประเมินท่ีเน้นความเชี่ยวชาญเฉพาะทางในเร่อื งท่ีจะประเมินโดยพัฒนามาจาก รูปแบบการวิจารณ์งานศิลปะ (Art Criticism) ท่ีมีความละเอียดอ่อนลึกซ้ึงและต้องอาศัยผู้เช่ียวชาญ ระดับสูงมาเป็นผวู้ ินิจฉัย เน่ืองจากเป็นการวัดคุณค่าท่ีมิอาจประเมินด้วยเคร่ืองวัดใด ๆ ได้ และตอ้ งใช้ ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ของผู้ประเมนิ อย่างแท้จริง 3. เป็นรูปแบบที่ใช้ตัวบุคคล คือผู้ทรงคุณวุฒิเป็นเครื่องมือในการประเมิน โดยเชื่อว่า ผู้ทรงคุณวุฒินั้นมีความเที่ยงธรรมและมีดุลยพินิจท่ีดี มาตรฐานและเกณฑ์การพิจารณาจะเกิดจาก ประสบการณแ์ ละความชานาญของผู้ทรงคุณวฒุ เิ อง 4. เป็นรูปแบบท่ีให้ความยืดหยุ่นในกระบวนการทางานของผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาตาม อธั ยาศัยและความถนัดของแตล่ ะคน นับต้งั แตก่ ารกาหนดประเด็นสาคัญที่จะพิจารณา การบ่งชีข้ ้อมูล ท่ตี อ้ งการ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล การประมวลผล การวนิ ิจฉัยตลอดจนวิธกี ารนาเสนอ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 21 2. ความเป็นมาประเทศไทย 4.0 ในอดีตประเทศไทยมีวิวัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจผ่านโมเดลทางเศรษฐกิจ แบบ 1.0, 2.0, และ 3.0 ก่อนท่ีจะเน้นไปท่ีโมเดล 4.0 ในปัจจุบัน โดย เศรษฐกิจแบบ 1.0 หมายถึง การเน้นระบบ เศรษฐกิจไปท่ีการพัฒนาในภาคการเกษตร เศรษฐกิจแบบ 2.0 คือ การเน้นระบบเศรษฐกิจไปที่การ พัฒนาอุตสาหกรรมเบา และเศรษฐกิจแบบ 3.0 เน้นไปที่การพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก ส่วนเศรษฐกิจ แบบ 4.0 จะเน้นไปทก่ี ารสร้าง “นวตั กรรม” ประเทศไทย 4.0 ต้องการให้โครงสร้างเศรษฐกิจขับเคลื่อนไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วย นวัตกรรม (Value-Based Economy) ด้วยการเปลี่ยนผ่าน 4 องค์ประกอบสาคัญ ได้แก่ 1) เปล่ียน การเกษตรแบบด้ังเดิมให้เป็นการเกษตรสมัยใหม่ 2) เปล่ียนจาก Traditional SMEs ไปสู่การเป็น Smart Enterprises หรือ Startups ที่มีศักยภาพสูง 3) เปล่ียนจาก Traditional Services ไปสู่ High Value Services และ 4) เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่าไปสู่แรงงานท่ีมีความรู้ ความเช่ียวชาญ และทักษะสูง ซ่ึงการจะทาให้องค์ประกอบเหล่านี้เปล่ียนแปลงและประสบ ความสาเร็จได้น้ัน “คน” ถือว่าเป็นหัวใจสาคัญของการขับเคล่ือนดังกล่าว คนที่จะเป็นกาลังสาคัญ เหล่าน้ีน่ีเองที่จาเป็นต้อง ได้รับการเติมเต็มศักยภาพอย่างเต็มท่ีเพ่ือให้เป็นตัวหลักในการขับเคล่ือน การเจริญเติบโต (People for Growth) และจะก่อให้เกิดวงจรในการขับเคล่ือนประเทศไปสู่ ความมั่งคั่ง มั่นคง และย่ังยืนอย่าง แทจ้ รงิ (สวุ ิทย์ เมษินทรยี ์, 2560) ประเทศไทย 4.0 กาหนดเป้าหมายครอบคลุม 4 มิติ ได้แก่ 1. ความม่ังคั่งทางเศรษฐกิจ คือ เป็นระบบเศรษฐกิจที่เน้นการสร้างมูลค่า ขับเคล่ือนด้วย นวัตกรรม เทคโนโลยี และความคดิ สร้างสรรค์ 2. ความอยู่ดีมีสุขทางสังคม คือ สังคมจะต้องเดินหน้าไปด้วยกัน ไม่ทอดท้ิงใครไว้ข้างหลัง พัฒนาคนใหม้ ีศกั ยภาพ 3. การยกระดับคุณค่าของมนุษย์ คือ พัฒนาคนไทยให้เป็น “มนุษย์ที่สมบูรณ์ในศตวรรษท่ี 21” ควบคไู่ ปกับการเป็นคนไทย 4.0 ในโลกท่ีหนึง่ ” 4. การรักษาส่ิงแวดล้อม คือ เป็นสังคมท่ีน่าอยู่ มีระบบเศรษฐกิจท่ีสามารถปรับสภาพตาม ภูมอิ ากาศ และเปน็ “สังคมคารบ์ อนตา่ ” อย่างเตม็ รปู แบบ ประเทศไทย 4.0 ประกอบดว้ ย 5 ว่าระขบั เคลื่อน คอื 1. การเตรียมคนไทย 4.0 ให้พร้อมก้าวสู่โลกที่หน่ึง ซ่ึงเป็นหัวใจสาคัญในการเปล่ียนผ่าน สังคมไทยไปสู่ “สังคมไทย 4.0” นั่นคือสังคมท่ีมีความหวัง สังคมท่ีเป่ียมสุข และสังคมท่ีมีความ สมานฉนั ท์

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 22 2. การพัฒนาคลัสเตอร์เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย ปรับบริบทจาก “ความได้เปรียบ เชิงเปรียบเทียบ” ของการมีความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม ให้เป็น “ความได้เปรียบเชิง แขง่ ขัน” ดว้ ยการขับเคลือ่ นผ่านองค์ความรู้ เทคโนโลยี และความคดิ สร้างสรรค์ 3. การบ่มเพาะผู้ประกอบการและพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจท่ีขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม หลัก คิดของการสร้างความเข้มแข็งจากภายใน คือ การเปลี่ยนการเจริญเติบโตแบบ “รากฝอย” เป็นการ เจริญเติบโตแบบ “รากแก้ว” เพ่ือให้สามารถพึ่งพาตนเอง ยืนอยู่บนขาของตนเอง รวมกันเป็นกลุ่ม อยา่ งมีพลงั ของกลมุ่ เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 4. การเสริมความเขม้ แข็งของเศรษฐกจิ ภายในประเทศผ่าน 18 กล่มุ จังหวดั และ 76 จังหวัด มุ่งเน้นการสร้างสังคมแห่งโอกาสและสังคมแห่งความเท่าเทียม สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึง ทรัพยากร สร้างความสามารถให้แก่ประชาชนในท้องถ่ิน กระจายผลประโยชน์การเติบโตทาง เศรษฐกิจให้เท่าเทียมกัน เพ่ือตอบโจทย์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันพร้อมกับลดความ เหลือ่ มล้าให้อยใู่ นระดบั ท่สี ามารถยอมรบั ได้ 5. การบูรณการอาเซียน เชื่อมประเทศไทยสู่ประชาคมโลก กระแส Globalization, Digitization, Urbanization, Individualization และ Communization ทาให้เกิดการเปล่ยี นแปลง ทั้งในมิติของภูมิรัฐศาสตร์ และภูมิเศรษฐศาสตร์โลก จะส่งผลต่อการดาเนินนโยบายต่างประเทศ นโยบายการค้า และรปู แบบการค้าการลงทุนของภาคเอกชนระบบเศรษฐกจิ ดังนั้นแล้ววัฒนธรรมการเรียนรู้ยุคให้ม่ท่ีจะก่อให้เกิดคนไทย 4.0 จะต้องไม่ผูกขาดความรู้ หรือข้อมูล และเกิดนวัตกรรมจากการแต่กตัวของเทคโนโลยีและนวัตกรรมเดิมตลอดเวลา การที่จะ พฒั นาคนไทยให้เป็นมนษุ ยท์ ี่สมบูรณใ์ นศตวรรษท่ี 21 จะดาเนนิ การผ่านระบบนเิ วศนก์ ารเรยี นรู้ ดังนี้ 1. การเรียนรู้อยา่ งมีความหมาย (Purposeful Learning) เพื่อให้เกดิ การสรา้ งแรงบันดาลใจ 2. การเรยี นรู้อย่างกวา้ งขวา่ ง (Generative Learning) เพื่อให้เกิดการคิดสร้างสรรคน์ วัตกรรม 3. การเรียนรูโ้ ดยคานึงถึงผู้อื่นและสังคม (Mindful Learning) เพ่ือให้เกิดการคิดเพื่อส่วนรวม 4. การเรียนรู้ฐานผลลัพธ์ (Result-Based Learning) จะเป็นหัวใจสาคัญนาไปสู่ “สังคมไทย 4.0” แรงงาน 4.0 ทมี่ คี วามรู้และทกั ษะข้นั สงู (พฤทธิ์ ศริ ิบรรณพทิ กั ษ์ และคณะ, 2561, 7-8) 3. การศึกษาจากยุค 1.0 สู่ยคุ 4.0 การศึกษาไทย 1.0 เป็นการศึกษาในยุคเกษตรกรรม ซ่ึงแนวคิดพ้ืนฐานคือการเกษตรกรรม เน้นการศึกษาแบบพึ่งตนเอง การศึกษาเป็นการศึกษาเพ่ือเกษตรกรรม หลักสาคัญของการจัด การศึกษาคือเพอ่ื ชมุ ชนของตนเอง ทักษะท่ีใช้คือทักษะเพ่ือยังชีพ ได้แก่ การปลูกผัก ทาสวนครัว ช่วย ตวั เอง ครูจะมีบทบาทในการบอกใหผ้ ูเ้ รยี นเขา้ ใจตาม และปฏบิ ัติตามได้ การศึกษาไทย 2.0 เป็นการศึกษาที่อยู่บนพ้ืนฐานของอุตสาหกรรมเบาเป็นการศึกษาเพื่อ ระบบอุตสาหกรรมเป็นการศึกษาเพื่อระบบอุตสาหกรรมเริ่มมีขึ้นในสมัยรัชกาลท่ี 5 หลักการท่ีสาคัญ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 23 สาหรับการศึกษา ในยุคนี้คือ การศึกษาเพ่ือตอบสนองระบบอุตสาหกรรม ทักษะท่ีใช้เป็นทักษะ อตุ สาหกรรม คือการแบง่ งานกนั ทาเป็นส่วน ๆ ต่างคนต่างทาหน้าทข่ี องตนเอง ทต่ี นถนดั ให้ดีทสี่ ุด การศึกษาไทย 3.0 เปน็ การศกึ ษาในยุคเทคโนโลยี ยคุ โลกาภวิ ตั นใ์ นลักษณะท่เี ปน็ แบบ Post globalization โลกาภิวัตน์จะค่อย ๆ เปลี่ยนไปเป็นการศึกษาเพ่ือชุมชนนานาชาติ เน้นทักษะการ ติดต่อส่ือสารทางเทคโนโลยีเป็นหลัก คนจะเปล่ียนไปในลักษณะของการช่วยตัวเองและอยู่กับ เทคโนโลยีมากขึน้ การศึกษาไทย 4.0 ในแนวของ CCPR (สุนันท์ สีพาย และ ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2561, 14-15) ได้กล่าวถึง การศึกษาไทย 4.0 ว่าเป็นการศึกษายุคผลิตภาพ ยุคท่ีต้องการผลผลิต หรือ Products ให้ ได้มากที่สุด เพ่ือประโยชน์ของชุมชนตนเองและชุมชนอ่ืน ๆ และของโลกด้วย ทักษะของการศึกษาจึง ต้องเน้นการทาได้ เรียนเพ่ือจัดทาออกมาเป็นผลผลิตเน้นการศึกษาพัฒนาคนไปสร้างผลผลิตที่เน้นการ พัฒนาผลิตภาพ (Products) หรือเชิงผลผลิต (Product-Oriented Education) เป็นหลักสาคัญซ่ึง บางครั้งเราเรียกว่าเป็นการศึกษาที่เน้นผลผลิต (Product-Based Education) ดังน้ันการศึกษา 4.0 จึงเป็นการศึกษาเพ่ือสนองตอบต่อนโยบายของประเทศในยุค 4.0 เพื่อพัฒนานวัตกรรมให้เป็น Product ที่สนองต่อนโยบายประเทศไทย 4.0 รัฐบาลมีความมุ่งมั่นสูง หลักสาคัญของ 4.0 จึงต้องมีผลผลิตเป็น ตัวหลักให้ได้ถ้าเพียงแต่ใช้เทคโนโลยีใหม่ วิธีการใหม่มี Smart Machine เท่าน้ันยังไม่เรียกว่าเป็น 4.0 ที่แท้จริง การศึกษา 4.0 ท่ีแท้จริงคือจะต้องมีผลผลิตหรือนวัตกรรมด้วยเสมอ ดังนั้นผู้ที่ใช้ 4.0 และ พยายามใช้ 4.0 โดยไม่มี Product ด้วยแล้ว จึงเป็นการใช้ 4.0 เพียงแค่เป็นยุคสมัยตามกาลเวลาที่ เปลี่ยนแปลงเท่าน้ัน แนวคิดน้ีควรมีลักษณะท่ีเน้นผลิตภาพ จะเห็นได้ชัดจากปรัชญา CCPR ท่ีเน้นให้ การศึกษาไทยต้องเปล่ียนจากบริโภคนิยม เป็นผลผลิตที่ต้องการเปล่ียนการเรียนการสอนโดยจากการ สอนให้เด็กคอยทางานตามคนอื่น เปล่ียนเป็นสร้างงานของตนเองข้ึนได้ซ่ึงจะเริ่มต้นให้เด็กวิเคราะห์เป็น (Critical Mind) แล้วจึงคิดสร้างสรรค์ (Creative Mind) เมื่อคิดสร้างสรรค์ได้แล้วก็คิดให้ไปถึงการสร้าง ผลผลิต (Productive Mind) และสุดท้ายให้คิดรับผิดชอบ (Responsible Mind) หรือ CCPR นั่นเอง โดยนาตัวหน้าของท้งั 4 แนวคิดมาเรยี งต่อกันเป็น CCPR ซง่ึ เรยี กว่า CCPR Model นอกจากนี้ อภิภา ปรัชญพฤทธ์ิ (2561, 106-108) ได้สังเคราะห์ความคิดของนักวิชาการต่าง ๆ เก่ยี วกบั การจดั การศึกษาทเ่ี หมาะกบั การศึกษายคุ 4.0 ควรมลี กั ษณะดงั นี้ ด้านปรัชญาการศึกษา ปรัชญาการศึกษาท่ีเหมาะกับการศึกษายุค 4.0 คือ ปรัชญา การศกึ ษาเชิงสร้างสรรค์ และผลิตภาพที่เน้นให้ผู้เรียนสรา้ งผลผลติ สร้างสรรค์ควบคู่กับการรับผิดชอบ ต่อสังคม นอกจากน้ียังมีปรัชญาแนวคิดทางการศึกษาอ่ืน ๆ ท่ีสนับสนุนการเรียนรู้ด้วนการสร้าง ผลผลิต ได้แก่แนวคิดนวัตกรรมศึกษา (innovation education) ของ ธอร์สเตนสัน (Thorsteinsson) และทฤษฎีความรู้สร้างสรรค์ (constructionism) ของ ซีมัวร์ พาเพริ ท์ (Seymour Papert)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 24 ด้านหลักสูตร หลักสูตรท่ีเหมาะกับการพัฒนานวัตกรซึ่งสอดรับกับการศึกษายุค 4.0 และ ศตวรรษท่ี 21 ควรมีลักษณะยืดหยุ่นและตอบสนองความต้องการของผู้เรียนเป็นรายบุคคล (personalize) เช่น หลักสูตรแบบโมดูลที่ออกแบบเปน็ หน่วยการเรยี นท่มี ีลักษณะเบ็ดเสร็จในตนเองและ เน้นสมรรถนะของผู้เรียนเป็นสาคัญ บูรณาการข้ามสาขาวิชา เน้นแก่นความรู้ที่สาคัญ/แนวคิดหลัก เน้น การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงและทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้ รวมถึงพัฒนาทักษะที่จาเป็นสาหรับยุค 4.0 เช่น การคิดวิเคราะห์/แก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์และสร้างนวัตกรรม ภาวะผู้นาและการประกอบ อาชีพ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนั้นหลักสูตรเน้นสมรรถนะจึงเหมาะกับการศึกษายุค 4.0 โดย หลักสูตรแบบนีจ้ ะใช้สมรรถนะเป็นฐานในการจัดหลักสตู ร การเรียนการสอนและการประเมนิ ผล ด้านการเรียนการสอน การเรียนการสอนที่เหมาะกับการศึกษายุค 4.0 และช่วยพัฒนา ศักยภาพด้านนวัตกรรมควรส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ต่อไปนี้ การคิดเชิงออกแบบและสร้างนวัตกรรม/ ผลผลิตการทาโครงงานที่เก่ียวกับการประกอบการและปฏิบัติงานในสถานประกอบการ การทาวิจัย การแก้ปัญหา การร่วมมือทางานและเรียนรู้ในลักษณะชุมชนการเรียนรู้ เรียนรู้จากสถานการณ์จริงและ ปฏบิ ตั งิ านในบรบิ ทจริง การเรยี นร้แู บบสหวทิ ยาการ และการเรียนรู้แบบผสมผสานกบั การใชเ้ ทคโนโลยี ด้านการประเมินผล การประเมินผลแนวใหม่ท่ีเหมาะกับการศึกษายุค 4.0 ควรมีลักษณะดังน้ี 1) ประเมินการเรียนรู้ให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการการเรียนการสอน โดยใช้วธิ ีประเมินที่หลากหลาย 2) ประเมินตามสภาพจริง ได้แก่ การประเมินผลผลิตและผลการปฏิบัติงาน และ 3) ประเมิน ความสามารถในการสร้างผลิตและการคิดสรา้ งสรรค์ 4) การประเมนิ แบบมสี ่วนร่วม ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน งานวิจัยในต่างประเทศพบว่ากิจกรรมเสริมหลักสูตรและ/หรือ กิจกรรมนอกหลักสตู รช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพด้านนวัตกรรม และความเป็นผู้ประกอบการซ่ึงเป็น สิ่งท่ีจาเป็นสาหรับการศึกษายุค 4.0 โดยเฉพาะกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ด้านการ จัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ลักษณะของสภาพแวดล้อมทางกายภาพในและนอกช้ันเรียนในศตวรรษที่ 21 ควรใช้งานได้อเนกประสงค์ ยืดหยุ่น สะดวกปลอดภัย กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ คานึงถึงความ ต้องการของผู้ใช้และเชื่อมโยงพ้ืนท่ีการเรียนรู้ต่าง ๆ และจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เสมือนจริงที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ทุกที่ทุกเวลา ส่วนบรรยากาศการเรียนรู้ควรส่งเสริมความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างผู้สอนและ ผู้เรยี น และในกลุ่มผ้เู รยี น ให้อสิ ระในการเรยี นรู้ และสร้างสรรค์ผลงาน และส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ การศึกษา 4.0 ในแนวการพัฒนานวัตกรรมจากอเมริกา คือแนวคิดท่ีการศึกษา 4.0 เป็น การศึกษาเพ่ือพัฒนานวัตกรรม (Innovation) โดยตรง โดยนักการศึกษา นักวิชาการกลุ่มลีพฟร็อก (Leapfrog) ไดพ้ ฒั นาการศึกษาเป็น 4 ระดับ ดังตารางที่ 1

25 ตารางที่ 1 เปรียบเทียบการศึกษา 1.0 ถึง 4.0 รายการ การศึกษา 1.0 การศึกษา 2.0 การศกึ ษา 3.0 การศกึ ษา 4.0 ความหมาย “Download” “Open Access” Meaning is… ครูสอนให้นักเรยี นเชอ่ื ตาม “Knowledge Producing” “Innovation คาสอน สรา้ งองค์ความรู้ร่วมกัน เทคโนโลยี (Dictated) ดว้ ยความชว่ ยเหลอื จาก Producing” Technology อินเทอรเ์ นต็ (แต่อยู่ใน is… ยดึ ตดิ กบั สอ่ื /อปุ กรณ์ใน วงจากดั ) สร้างองคค์ วามรรู้ ว่ มกนั และ สรา้ งองคค์ วามรู้จาก ห้องเรียน (Socially constructed, การสอน Confiscated at the with aid of (usually สร้างความรู้เดมิ ขนึ้ มาใหม่ ความสนใจรายบุคคล Teaching isมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงclassroom doorlimited) Internet done … (digital refugees) access Socially constructed และจากการรวมตวั ของ ครสู อนนกั เรียน เรม่ิ มีการใชเ้ ทคโนโลยี and contextually คนที่มีแรงผลกั ดันเปน็ ทีม Teacher to student อย่างระมดั ระวัง Cautiously adopted reinvented knowledge เชน่ ทมี ท่ีมนี วตั กรรมเป็น open access (digital immigrants) จุดเนน้ ครูสอนนกั เรียนและ Built through นักเรียนสอนกันเองอนิ เทอรเ์ ปน็ ส่วนหน่ึงใน selective individual กจิ กรรมการเรียนรู้ Teacher to student and team-driven and student to student embodiments in (progressivism); Internet resources are practice, i.e., a normal part of learning activities through focused innovations เทคโนโลยมี อี ยู่ทกุ ๆ ท่ีเพอ่ื เทคโนโลยเี ปล่ยี นแปลง การสรา้ งองค์ความรู้ และ ไปตามผู้เรียนจากการ สง่ ผ่านองค์ความรทู้ ี่มอี ยู่ทกุ คน้ ควา้ ด้วยตนเอง เพ่อื หนแห่ง สรา้ งนวัตกรรม Everywhere (digital Always changing with natives in a digital the direct input of universe) for ubiquitous learners acting as a knowledge construction major source of tech and transmission evolution in the service of innovation production ครูสอนนกั เรยี น,นักเรียนสอน ขยายองค์ความรู้โดยการ กนั เอง นักเรยี นสอนครู, คน- ใหม้ กี ารสะท้อนผล กลบั เทคโนโลยี-คน (ร่วมกันสรา้ ง จากการสรา้ ง นวตั กรรม ความร้โู ดยคนและเทคโนโลยี) เชิงบวก; ความร้เู กดิ ทุกที่ Teacher to student, ทุกเวลา ทัง้ ในชีวติ student to student, student ประจาวนั การเรยี นและ to teacher, people การทางาน technology people(co- Amplified by positive construction of innovation feedback knowledge) loops; ubiquitously and creatively

26 ตารางท่ี 1 (ต่อ) รายการ การศึกษา 1.0 การศึกษา 2.0 การศกึ ษา 3.0 การศกึ ษา 4.0 “Download” “Open Access” “Knowledge Producing” “Innovation Producing” 24/7 in all phases of living, learning, and มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง working; ลักษณะ เรยี นในตกึ อาคาร เรยี นในอาคารหรอื ออนไลน์ เรียนไดใ้ นทกุ ๆ ที่ ในสงั คมที่ เรยี นในโลกไรพ้ รมแดนทีม่ ี โรงเรยี น In a building (brick) Schools แตม่ ีการใช้เวบ็ เพ่อื การเรยี น สร้างสรรค(์ สถานที่เรียนถกู การเชื่อมตอ่ เครอื ข่าย are located….. การสอนแบบเต็มรูปแบบ ผนวกอยู่ในสังคม เช่น รา้ น หรอื ที่ ๆ มกี ารสง่ เสรมิ หรือ แบบไฮบริค เพิม่ ขึ้น ๆ กาแฟ) การสรา้ งนวตั กรรมการ In a building or online Everywhere in the เรยี นรู้ (brick and click), but “creative society” In the globally increasingly on the Web (thoroughly infused into networked human through hybrid and full society: cafes, bowling body, a continuously internet courses alleys, bars, evolving instrument innovatively supplementing มมุ มอง โรงเรียนเปน็ ศนู ย์เล้ยี งเด็ก โรงเรยี นเป็นศนู ย์ เลี้ยงเดก็ โรงเรียนเป็นสถานที่ สาหรบั โรงเรยี นเป็นสถานที่ ผปู้ กครองที่ Daycare มี ตอ่ เวลาที่มหี อ้ ง Lab ช่วยใน นกั เรียนเพ่อื สรา้ งองค์ความรู้ แห่งหนงึ่ ในหลาย ๆ โรงเรียน Parents การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ความรู้ และ เป็นสถานที่ท่ีผู้ปกครอง แห่งที่สรา้ งนวัตกรรม view schools การ เรียนรพู้ ฒั นาอยา่ ง สามารถให้การสนบั สนนุ ใน อยา่ งตอ่ เน่ืองโดย as… คอ่ ยเป็นค่อยไป ผ่านการ รปู แบบต่าง ๆ เชน่ เป็น นักเรียน ครู ผู้ปกครอง เรียนรู้ แบบโครงงาน อาสาสมคั ร ทางานจติ ฯลฯ Daycare with an สาธารณะ และชว่ ยเหลอื Schools are laboratory edge, ทางการเงิน Places for viewed as one of provided by open students to create many innovation access and gradual knowledge, and for venues for movement toward which parents may continuous project based learning provide domestic, innovation by volunteer, civic, and students, teachers, fiscal forms of support parents, etc.

27 ตารางที่ 1 (ต่อ) รายการมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงการศึกษา 1.0การศกึ ษา 2.0 การศกึ ษา 3.0 การศกึ ษา 4.0 บทบาทครู “Download” “Open Access” “Knowledge “Innovation Teachers are… เป็นอาชีพท่ีมี Producing” Producing” ใบอนญุ าต เป็นอาชพี ท่ีมีใบอนุญาต ทกุ คน ทกุ หนแหง่ คือ ทุกคน ทุกหนแหง่ คือครู Hardware และ Licensed ทพี่ ร้อมจะร่วมมอื กบั ครูผู้ให้ความรู้ โดยมี คอื แหล่งสรา้ งนวตั กรรม Software ในโรงเรียน Professionals นักเรียน ผูป้ กครองและ อปุ กรณไ์ ร้ สายท่ี ทไ่ี ดร้ ับการสนบั สนนุ โดย Hardware and คน อน่ื เพอื่ สรา้ ง ออกแบบมา เพอ่ื ให้ หุ้นสว่ นทางซอฟท์แวร์ software in ส่ิงทซ่ี ้อื หามาดว้ ยราคา ประสบการณ์ในชน้ั สามารถ ค้นหาข้อมูล และความรว่ มมอื ของ schools… แพงและไม่ได้ใช้ เรยี นท่ีน่าสนใจอยา่ ง จาก แหล่งต่าง ๆ เปน็ มนษุ ย์ ประโยชน์ คอ่ ยเป็นค่อย ไป ตวั สนับสนุนในการ Everybody, Are purchased at Licensed สรา้ งความรู้ everywhere, is an great cost and Professionals who Everybody, innovation ignored team with students, Everywhere, backed production source parents and others up by wireless backed up by to (gradually) create devices designed to intuitive software more interesting provide information “partners” and class experiences raw material for human knowledge collaborators เป็นแหลง่ ขอ้ มลู ท่ีหาได้ production ในราคาถูก, ไดร้ บั เป็นแหล่งขอ้ มูลราคา ถูกพัฒนาเป็นนวัตกรรม อนญุ าตให้เขา้ ถงึ ไดใ้ น ถูกและถกู ใชอ้ ยา่ งมี ทกุ วัน ซอฟทแ์ วรน์ ามาใช้ ราคาไม่แพงและเปน็ วตั ถุประสงค์ เพอ่ื การ เฉพาะบคุ ค แหล่งเรียนรู้นอกเวลา สรา้ งความรู้อย่าง Are innovated daily, เรยี นและนอกโรงเรียน เฉพาะเจาะจง since virtually all Are open source Are available at low software is person and available at cost and are used specific as an lower cost, purposively, for the unqualified permitting open selective expressions of access “on the production of familiarity and cheap” and beyond knowledge partnership school premises and time frame

28 ตารางที่ 1 (ต่อ) รายการ การศึกษา 1.0 การศึกษา 2.0 การศึกษา 3.0 การศกึ ษา 4.0 “Download” “Open Access” ภาพลกั ษณบ์ ณั ฑิตของ “Knowledge “Innovation มุมมองจากนายจา้ ง Industry views Producing” Producing” graduates as… คนงานตามสายงานที่ คนงานท่ยี ังไม่พร้อม เปน็ เพอื่ นร่วมงาน และ เป็นเพอื่ นรว่ มงาน และ รับมาตามสาขาที่เรยี นจบ ทางานในสภาพสงั คม ผู้ประกอบการทส่ี ามารถ ผู้ประกอบการที่สามารถ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ซ่งึ ได้รับการฝกึ อบรมและ แหง่ การสรา้ งองค์ สนบั สนุนการพฒั นาการ รกั ษาการสรา้ งนวัตกรรม ไม่ไดร้ ับการคาดหวังเร่ือง ความรู้ สร้างองค์ความรอู้ ยา่ งมี ทม่ี จี ุดเนน้ ให้ยง่ั ยนื การทางาน A workers จุดเน้น As innovation Line workers who marginally or ill- As knowledge producing coworkers must be trained and prepared for the producing co-workers and entrepreneurs from whom little knowledge and entrepreneurs who can sustain created is expected producing economy who can support the focused innovation development of construction focused knowledge construction ทม่ี า : Arthur M. Harkins. (2008, 2-3) 4. ความหมายของสมรรถนะ สานักงานเลขาธิการคุรุสภา (2562, 4) ได้ให้คานิยามคาว่า สมรรถนะ หมายถึง การ ผสมผสานระหว่างทักษะ องค์ความรู้พฤติกรรม คุณลักษณะที่จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงานให้ดียง่ิ ข้นึ สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ (2553, 17) ได้สรปุ ความหมายของสมรรถนะ คือ ความรู้ ทักษะ และ คณุ ลักษณะส่วนบคุ คล ทีท่ าใหบ้ คุ คลนั้นทางานในความรับผดิ ชอบของตนไดด้ กี วา่ ผู้อ่นื จิรประภา อัครบวร (2554) สมรรถนะ (Competency) หมายถึง ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) และคุณลักษณะ (Attributes) ที่จาเป็นในการปฏิบัติงานใดงานหน่ึง (Job Roles) ให้ ประสบความสาเร็จและมีความโดดเดนกว่าคนอ่ืน ๆ ในเชิงพฤติกรรม เช่น มากกวา่ เพื่อนร่วมงาน ใน สถานการณทีห่ ลากหลายกวา่ และไดผ้ ลงานดีกวา่ คนอ่นื เปน็ ตน แมคเคลแลน (McClelland, 1973, 14) ได้สรุปความหมายสมรรถนะ คือ บุคลิกลักษณะท่ี ซ่อนอยภู่ ายในปัจเจกบุคคล ซ่ึงสามารถผลักดันให้ปัจเจกบุคคลน้ันสร้างผลการปฏิบตั ิงานที่ดหี รอื ตาม เกณฑ์ที่กาหนดในงานที่ตนรับผิดชอบ และสมรรถนะอาจกาหนดว่าเป็นคุณลักษณะของบุคคล หรือ กลุ่มนิสัยซึ่งมีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ คุณลักษณะพื้นฐานเหล่านี้เป็นสิ่งคงที่มีแบบ แผนหรอื พฤตกิ รรม ตลอดจนอารมณท์ ่คี งที่

29 จากความหมายของนักวิชาการข้างต้น สรุปความหมายได้ว่า สมรรถนะ คือ ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะส่วนบคุ คล ท่ีทาใหบ้ คุ คลน้นั ทางานบรรลุความสาเรจ็ ไดด้ กี ว่าผูอ้ นื่ 5. สมรรถนะของครูรองรับการศกึ ษายุค 4.0 5.1 สมรรถนะของครูไทยตามแนวคดิ ของคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ปี พ.ศ. 2553 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (2553, 3-15) ได้ออกกาหนดรายการ สมรรถนะครูเพื่อใช้ในการประเมินสมรรถนะครูในสังกัด ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการในโครงการ ยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ) โดยมีรายการสมรรถนะประกอบด้วย สมรรถนะหลัก 5 สมรรถนะ และสมรรถนะประจาสายงาน 6 สมรรถนะ มีรายละเอยี ดดังน้ี 1) สมรรถนะหลกั (Core Competency) สมรรถนะท่ี 1 การมุ่งผลสัมฤทธ์ิในการปฏิบัติงาน (Working Achievement Motivation) หมายถึง ความมุ่งม่ันในการปฏิบัติงานในหน้าท่ีให้มีคุณภาพ ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ มีความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ โดยมีการว่างแผน กาหนดเป้าหมาย ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน และปรับปรุงพัฒนา ประสิทธิภาพและผลงานอย่างต่อเน่ือง มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ตารางท่ี 2 สมรรถนะท่ี 1 การมุ่งผลสัมฤทธ์ใิ นการปฏิบตั ิงาน (Working Achievement Motivation) สมรรถนะ ตวั บง่ ชี้ รายการพฤติกรรม 1. การมุ่งผลสมั ฤทธิ์ ในการ ปฏิบัตงิ าน (Working 1.1 ความสามารถในการว่างแผน การ 1. วเิ คราะหภ์ ารกจิ งานเพ่อื วา่ งแผนการแกป้ ญั หาอยา่ ง Achievement Motivation กาหนดเป้าหมาย การวเิ คราะห์ เปน็ ระบบ สังเคราะห์ภารกจิ งาน 2. กาหนดเป้าหมายในการปฏบิ ัติงานทกุ ภาคเรียน 3. กาหนดแผนการปฏบิ ตั ิงานและการจดั การเรยี นรู้อย่าง เปน็ ขั้นตอน 1.2 ความมุง่ มนั่ ในการปฏิบัตหิ นา้ ที่ ให้ 1. ใฝ่เรยี นรู้เกีย่ วการเรียนรู้ มีคุณภาพ ถกู ต้อง ครบถ้วนสมบรู ณ์ 2. รเิ ริม่ สร้างสรรค์ในการพฒั นาการจัดการเรียนรู้ 3. แสวงหาความรทู้ เ่ี กย่ี วกับวชิ าชีพใหม่ ๆ เพอ่ื การ พัฒนาตนเอง 1.3 ความสามารถในการตดิ ตาม 1. ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง ประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน 1.4 ความสามารถในการพัฒนา การ 1. ใชผ้ ลการประเมินการปฏบิ ตั ิงานมาปรับปรงุ / ปฏิบตั งิ านใหม้ ีประสิทธิภาพอย่าง พัฒนาการทางานให้ดีย่ิงขึ้น ตอ่ เนอ่ื งเพอ่ื ให้งานประสบ 2. พฒั นาการปฏบิ ัตงิ านเพอ่ื ตอบสนองความต้องการของ ความสาเร็จ ผ้เู รียน ผปู้ กครอง และชุมชน

30 สมรรถนะท่ี 2 การบริการท่ีดี (Service Mind) หมายถึง ความตั้งใจและความเต็มใจในการ บริการ และการปรับปรุงระบบบริการให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง เพ่ือตอบสองความต้องการของ ผู้รบั บริการ ตารางท่ี 3 สมรรถนะท่ี 2 การบรกิ ารทดี่ ี (Service Mind) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง สมรรถนะ ตัวบง่ ชี้ รายการพฤติกรรม 2. การบรกิ ารทด่ี ี (Service 2.1 ความต้ังใจและเต็มใจในการ 1. ทากจิ กรรมต่าง ๆ เพอ่ื ประโยชน์สว่ นรวมเมอ่ื มีโอกาส Mind) ใหบ้ ริการ 2. เต็มใจ ภาคภูมิใจ และมีความสุขในการให้บริการแก่ ผูร้ ับบรกิ าร 2.2 การปรับปรุงระบบบริการให้มี 1. ศึกษาความต้องการของผู้รับบริการ และนาข้อมูลไป ประสิทธิภาพ ใชใ้ นการปรับปรุง 2. ป รับ ป รุงและพั ฒ นาระบ บ การให้ บ ริก ารให้ มี ประสทิ ธภิ าพ สมรรถนะท่ี 3 การพัฒนาตนเอง (Self-Development) หมายถึง การศึกษาค้นคว้า หา ความรู้ ติดตาม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการ และวิชาชีพ มีการสร้างองค์ ความรู้ และนวัตกรรม เพอื่ พัฒนาตนเอง และพฒั นางาน ตารางที่ 4 สมรรถนะท่ี 3 การพฒั นาตนเอง (Self-Development) สมรรถนะ ตวั บง่ ชี้ รายการพฤติกรรม 3. การพัฒ นาตนเอง (Self- 3.1 การศกึ ษาค้นคว้าหาความรู้ 1. ศกึ ษาคน้ ควา้ หาความรู้ มุง่ มน่ั และแสวงหาโอกาส Development) ตดิ ตาม องค์ความรใู้ หม่ ๆ ทาง พัฒนาตนเองด้วยวธิ ีการ ที่หลากหลาย เช่น การเข้าร่วม วิชาการและวชิ าชีพ ประชุม/สมั มนา การศกึ ษาดงู าน การคน้ คว้า ดว้ ยตนเอง 3.2 การสร้างองคค์ วามรแู้ ละ 1. รวบรวม สงั เคราะหข์ อ้ มูล ความรู้ จดั เป็นหมวดหมู่ นวัตกรรมในการพฒั นาองค์กรและ และปรับปรงุ ใหท้ นั สมัย วชิ าชพี 2. สรา้ งองคค์ วามรู้และนวัตกรรมเพื่อพฒั นาการจัดการ เรยี นรู้ องคก์ รและวชิ าชพี 3.3 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ 1. แลกเปลี่ยนเรียนร้กู ับผ้อู ืน่ เพอื่ พัฒนาตนเอง และ สร้าง เครือขา่ ย พัฒนางาน 2. ให้คาปรึกษา แนะนา นิเทศ และถา่ ยทอดความรู้ ประสบการณท์ างวชิ าชพี แก่ผ้อู น่ื 3. มีการขยายผลโดยสรา้ งเครอื ขา่ ยการเรียนรู้

31 สมรรถนะท่ี 4 การทางานเป็นทีม (Team Work) หมายถึง การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ สนับสนุนเสริมแรงให้กาลังใจแก่เพ่ือนร่วมงาน การปรับตัวเข้ากับผู้อ่ืน หรือทีมงาน แสดงบทบาทการ เป็นผู้นา หรือผู้ตามได้อย่างเหมาะสมในการทางานร่วมกับผู้อื่น เพ่ือสร้างและดารงสัมพันธภาพของ สมาชกิ ตลอดจนเพอื่ พฒั นาการจัดการศึกษาใหบ้ รรลุผลสาเรจ็ ตามเป้าหมาย มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงตารางท่ี 5 สมรรถนะที่ 4 การทางานเป็นทีม (Team Work) สมรรถนะ ตวั บ่งชี้ รายการพฤตกิ รรม 4. การทางานเปน็ ทมี 4.1 การให้ความรว่ มมอื ชว่ ยเหลือ 1. สร้างสัมพนั ธภาพท่ีดใี นการทางานรว่ มกับผ้อู ่ืน (Team Work) และสนบั สนุนเพอื่ นรว่ มงาน 2. ทางานรว่ มกบั ผู้อ่นื ตามบทบาทหนา้ ท่ที ่ีไดร้ ับ มอบหมาย 4.2 การเสรมิ แรงให้กาลังใจเพือ่ น 3. ช่วยเหลือ สนับสนนุ เพือ่ นรว่ มงานเพือ่ สู่เป้าหมาย ร่วมงาน ความสาเร็จร่วมกนั 4.3 การปรบั ตัวเข้ากบั กลุ่มคนหรือ 1. ให้เกยี รติ ยกย่องชมเชย ให้กาลังใจแก่เพือ่ นร่วมงาน สถานการณท์ ี่หลากหลาย ในโอกาสท่ีเหมาะสม 1. มที กั ษะในการทางานร่วมกบั บุคคล/กลมุ่ บุคคลได้ 4.4 การแสดงบทบาทผ้นู าหรอื ผตู้ าม อย่างมปี ระสิทธภิ าพทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษา และในสถานการณต์ า่ ง ๆ 4.5 การเข้าไปมีส่วนร่วมกับผูอ้ ื่นใน 1. แสดงบทบาทผ้นู าหรอื ผูต้ ามในการทางานร่วมกับผู้อนื่ การพัฒนาการจัดการศกึ ษาใหบ้ รรลุ ไดอ้ ย่างเหมาะสมตามโอกาส ผลสาเรจ็ ตามเป้าหมาย 1. แลกเปล่ยี น/รบั ฟังความคดิ เห็นและประสบการณ์ ภายในทีมงาน 2. แลกเปล่ยี นเรยี นร/ู้ รับฟังความคดิ เหน็ และ ประสบการณร์ ะหว่างเครือขา่ ยและทมี งาน 3. ร่วมกบั เพอ่ื นรว่ มงานในการสร้างวัฒนธรรมการ ทางานเปน็ ทีมใหเ้ กดิ ข้นึ ในสถานศกึ ษา สมรรถนะที่ 5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู (Teacher’s Ethics and Integrity) หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนถูกต้องตามหลักคุณธรรม จริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพครู เป็น แบบอยา่ งท่ีดีแกผ่ เู้ รียน และสงั คม เพื่อสรา้ งความศรทั ธาในวิชาชีพครู

32 ตารางที่ 6 สมรรถนะที่ 5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพครู (Teacher’s Ethics and Integrity) สมรรถนะ ตวั บง่ ชี้ รายการพฤตกิ รรม 5. จริยธรรม และ 5.1 ความรักและ 1. สนบั สนุน และเข้าร่วมกจิ กรรมการพฒั นาจรรยาบรรณวชิ าชพี จรรยาบรรณ ศรทั ธา 2. เสียสละ อุทิศตนเพ่ือประโยชนต์ ่อวชิ าชีพ และเปน็ สมาชกิ ทดี่ ีขององค์กรวชิ าชีพ วิชาชพี ครู ในวิชาชพี 3. ยกยอ่ ง ชื่นชมบุคคลท่ปี ระสบความสาเร็จในวชิ าชพี (Teacher’s 4. ยดึ ม่ันในอุดมการณ์ของวิชาชีพ ปกปอ้ งเกยี รติและศักด์ศิ รีของวิชาชพี Ethics and 5.2 มวี นิ ยั และ 1. ซ่อื สัตยต์ อ่ ตนเอง ตรงตอ่ เวลา วา่ งแผนการใชจ้ ่าย และใช้ทรพั ยากรอยา่ งประหยัด Integrity) ความรบั ผดิ ชอบ ใน 2. ปฏบิ ตั ิตนตามกฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับ และวฒั นธรรมท่ดี ีขององค์กร วิชาชพี 3. ปฏบิ ตั ิตนตามบทบาทหน้าที่ และมุ่งม่ันพัฒนาการประกอบวชิ าชพี ให้ก้าวหนา้ 4. ยอมรับผลอนั เกดิ จากการปฏบิ ัตหิ นา้ ทขี่ องตนเอง และหาแนวทางแกไ้ ขปัญหา 5.3 การดารงชวี ิต อปุ สรรค อยา่ งเหมาะสม 1. ปฏบิ ตั ิตน/ดาเนินชีวิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดเ้ หมาะสมกบั สถานะ ของตน 5.4 การประพฤติ 2. รกั ษาสิทธิประโยชน์ของตนเอง และไม่ละเมิดสิทธิของผูอ้ ืน่ ปฏิบัตติ น เป็น 3. เอื้อเฟอ้ื เผ่ือแผ่ ชว่ ยเหลือ และไม่เบียดเบียนผู้อื่น แบบอยา่ งที่ดี 1. ปฏิบตั ิตนไดเ้ หมาะสมกับบทบาทหนา้ ที่ และสถานการณ์ 2. มีความเปน็ กัลยาณมิตรตอ่ ผู้เรียน เพอื่ นร่วมงาน และผูร้ ับบรกิ าร 3. ปฏิบตั ิตนตามหลกั การครองตน ครองคน ครองงานเพื่อใหก้ ารปฏิบัติงานบรรลุผล สาเร็จ 4. เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ใี นการสง่ เสริมผ้อู ื่นใหป้ ฏบิ ตั ติ นตามหลกั จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ วชิ าชพี ครู และพฒั นาจนเป็นทยี่ อมรบั มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2) สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) สมรรถนะที่ 1 การบริหารหลักสูตร และการจัดการเรียนรู้ (Curriculum and Learning Management) หมายถึง ความสามรถในการสร้าง และพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการเรียนรู้อย่าง สอดคล้องและเป็นระบบ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้และพัฒนาส่ือนวัตกรรมเทคโนโลยี และการวัดประเมนิ ผลการเรียนรู้ เพือ่ พฒั นาผู้เรยี นอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธผิ ลสูงสุด

33 ตารางที่ 7 สมรรถนะที่ 1 การบริหารหลักสูตร และการจัดการเรยี นรู้ (Curriculum and Learning Management) สมรรถนะ ตวั บ่งชี้ รายการพฤติกรรม 1. การบรหิ ารหลกั สูตร และ การจัดการเรียนรู้ 1.1 การสร้างและพัฒนา 1. สร้าง/พฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนร้ทู ่ีสอดคล้องกบั (Curriculum and Learning Management) หลกั สูตร หลักสตู รแกนกลางและท้องถิน่ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2. ประเมนิ การใชห้ ลักสตู รและนาผลการประเมินไปใชใ้ นการ พฒั นาหลกั สูตร 1.2 ความรู้ ความสามารถในการ 1. กาหนดผลการเรยี นรู้ของผู้เรยี นทเ่ี น้นการวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ออกแบบการเรียนรู้ ประยกุ ต์ รเิ ริ่มเหมาะสม กับสาระการเรยี นรู้ ความแต่กตา่ ง และธรรมชาตขิ องผ้เู รียนเปน็ รายบคุ คล 2. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรอู้ ย่างหลากหลายเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั วยั และความ ตอ้ งการของผู้เรยี น และชุมชน 3. เปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นมสี ่วนรว่ มในการออกแบบการเรียนรู้ การ จัดกิจกรรมและการ ประเมินผลการเรียนรู้ 4. จัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้อยา่ งเปน็ ระบบโดยบูรณาการอย่าง สอดคลอ้ งเชอ่ื มโยงกนั 5. มีการนาผลการออกแบบการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรยี นรู้ และปรบั ใช้ตามสถานการณอ์ ยา่ งเหมาะสมและเกิดผลกบั ผ้เู รยี น ตามทีค่ าดหวัง 6. ประเมนิ ผลการออกแบบการเรยี นรเู้ พอื่ นาไปใชป้ รับปรุง/ พฒั นา 1.3 การจดั การเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ผู้เรยี น 1. จัดทาฐานขอ้ มลู เพือ่ อกแบบการเรียนรูท้ ีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ เปน็ สาคัญ 2. ใช้รปู แบบ/เทคนคิ วิธีการสอนอยา่ งหลากหลายเพอื่ ใหผ้ เู้ รยี น พฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพ 3. จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีปลกู ฝงั /ส่งเสรมิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์และสมรรถนะของ ผู้เรยี น 4. ใชห้ ลกั จติ วทิ ยาในการจดั การเรียนร้ใู หผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ อยา่ งมีความสขุ และพฒั นา อย่างเตม็ ศักยภาพ 5. ใชแ้ หล่งเรยี นร้แู ละภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ในชุมชนในการจดั การ เรียนรู้ 6. พัฒนาเครอื ข่ายการเรยี นร้รู ะหวา่ งโรงเรียนกับผ้ปู กครอง และ ชุมชน

34 ตารางท่ี 7 (ต่อ) ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม 1.4 การใชแ้ ละพัฒนาสื่อนวัตกรรม 1. ใช้สอ่ื นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจดั การเรยี นรู้ สมรรถนะ เทคโนโลยเี พื่อการจดั การเรยี นรู้ อย่างหลากหลาย เหมาะสมกับเน้ือหา และกิจกรรมการ เรยี นรู้ 1.5 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 2. สบื ค้นข้อมลู ผา่ นเครือข่ายอนิ เตอรเ์ นต็ เพ่อื พัฒนาการ จัดการเรยี นรู้ 3. ใช้เทคโนโลยีคอมพวิ เตอรใ์ นการผลิตสื่อ/นวัตกรรมท่ี ใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ 1. ออกแบบวธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับเนอ้ื หา กิจกรรม การเรียนรู้ และผู้เรยี น 2. สร้างและนาเครื่องมอื วัดและประเมนิ ผลไปใชอ้ ย่าง ถูกตอ้ งเหมาะสม 3. วดั และประเมนิ ผลผเู้ รยี นตามสภาพจรงิ 4. นาผลการประเมนิ การเรยี นรู้มาใช้ในการพฒั นาการ จดั การเรียนรู้ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง สมรรถนะที่ 2 การพัฒนาผู้เรียน (Student Development) หมายถึง ความสามารถในการ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกาย และสุขภาพจิต ความเป็นประชาธิปไตย ความภูมใิ จในความเป็นไทย การจัดระบบดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รียน เพอื่ พฒั นาผเู้ รียนให้มีคุณภาพ ตารางท่ี 8 สมรรถนะที่ 2 การพฒั นาผู้เรียน (Student Development) สมรรถนะ ตัวบง่ ชี้ รายการพฤตกิ รรม 2. การพฒั นาผู้เรียน (Student 2.1 การปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม 1. สอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรมแก่ผู้เรยี นในการจดั การ Development) ใหแ้ กผ่ เู้ รียน เรยี นรู้ในชนั้ เรียน 2. จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรมโดยใหผ้ ู้เรยี นมี 2.2 การพฒั นาทกั ษะชีวิต และ สว่ นร่วมในการว่างแผนกจิ กรรม สขุ ภาพกาย และสขุ ภาพจิตผ้เู รียน 3. จดั ทาโครงการ/กจิ กรรมที่สง่ เสริมคุณธรรมจรยิ ธรรม ให้แก่ผ้เู รียน 2.3 การปลกู ฝังความเป็น 1. จัดกจิ กรรมเพื่อพัฒนาผู้เรยี นดา้ นการดูแลตนเอง มี ประชาธปิ ไตย ความภมู ใิ จใน ความ ทกั ษะในการเรยี นรู้ การท างาน การอยรู่ ว่ มกนั ใน เปน็ ไทยให้กับผเู้ รยี น สงั คมอยา่ งมีความสุข และรู้เท่าทนั การเปลยี่ นแปลง 1. สอดแทรกความเปน็ ประชาธิปไตย ความภูมิใจใน ความเป็นไทย ให้แก่ผเู้ รียน 2. จัดทาโครงการ/กจิ กรรมส่งเสรมิ ความเป็นประชาธิปไตย ความภมู ิใจในความเปน็ ไทย

35 ตารางที่ 8 (ต่อ) ตวั บง่ ช้ี รายการพฤติกรรม 2.4 การจดั ระบบดแู ลชว่ ยเหลือ 1. ใหผ้ ้เู รียน คณะครผู ู้สอน และผู้ปกครองมีส่วนรว่ มใน สมรรถนะ นกั เรยี น ดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นรายบุคคล 2. นาข้อมูลนกั เรียนไปใชช้ ว่ ยเหลอื /พฒั นาผู้เรยี นท้ังด้าน การเรยี นรแู้ ละปรบั พฤตกิ รรมเป็นรายบคุ คล 3. จัดกิจกรรมเพอ่ื ปอ้ งกันแกไ้ ขปญั หา และสง่ เสรมิ พัฒนาผ้เู รยี นให้แก่นกั เรียนอยา่ งท่วั ถงึ 4. ส่งเสริมให้ผู้เรยี นปฏิบตั ติ นอยา่ งเหมาะสมกบั คา่ นยิ ม ท่ีดงี าม 5. ดแู ล ชว่ ยเหลอื ผู้เรยี นทุกคนอย่างทวั่ ถึง ทันการณ์ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง สมรรถนะท่ี 3 การบริหารจัดการช้ันเรียน (Classroom Management) หมายถึง การจัด บรรยากาศการเรียนรู้ การจัดทาข้อมูลสารสนเทศ และเอกสารประจาช้ันเรียน/ประจาวิชา การกากับ ดแู ลชนั้ เรยี นรายช้ัน/รายวชิ า เพื่อส่งเสริมการเรยี นรอู้ ย่างมีความสุข และความปลอดภยั ของผู้เรยี น ตารางท่ี 9 สมรรถนะที่ 3 การบรหิ ารจดั การชั้นเรียน (Classroom Management) สมรรถนะ ตัวบง่ ชี้ รายการพฤติกรรม 3. การบริหารจดั การช้ันเรยี น 1. จัดบรรยากาศทสี่ ง่ เสรมิ การเรียนรู้ 1. จัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน และภายนอก (Classroom Management) ความสุขและความปลอดภัยของ หอ้ งเรยี นท่ีเอ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ ผ้เู รียน 2. ส่งเสรมิ การมปี ฏิสัมพันธ์ทด่ี ีระหวา่ งครูกบั ผเู้ รยี น และ ผู้เรียนกบั ผู้เรยี น 2. จัดทาข้อมลู สารสนเทศและ 3. ตรวจสอบส่งิ อานวยความสะดวกในหอ้ งเรียนให้พร้อม เอกสาร ประจาชน้ั เรียน/ประจาวชิ า ใชแ้ ละปลอดภยั อยู่เสมอ 1. จัดทาขอ้ มูลสารสนเทศของนักเรียนเป็นรายบคุ คล 3. กากับดแู ลชัน้ เรียนรายช้นั /รายวิชา และเอกสารประจาชัน้ เรียนอย่างถกู ตอ้ ง ครบถว้ น เป็น ปจั จุบนั 2. นาข้อมลู สารสนเทศไปใชใ้ นการพฒั นาผู้เรียนได้เตม็ ตามศักยภาพ 1. ใหผ้ ูเ้ รียนมีส่วนรว่ มในการกาหนดกฎ กตกิ า ข้อตกลง ในชนั้ เรยี น 2. แกป้ ัญหา/พัฒนานกั เรยี นดา้ นระเบียบวนิ ัยโดยการ สร้างวนิ ยั เชิงบวกในชน้ั เรยี น 3. ประเมนิ การกากบั ดแู ลช้นั เรียน และนาผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนา

36 สมรรถนะที่ 4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Analysis & Synthesis & Classroom Research) หมายถึง ความสามารถในการทาความเข้าใจ แยกประเด็นเป็น ส่วนย่อย รวบรวม ประมวลหาข้อสรุปอย่างมีระบบ และนาไปใช้ในการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน รวมทั้ง สามารถวิเคราะห์องค์กร หรอื งานในภาพรวม และดาเนนิ การแกป้ ัญหา เพือ่ พัฒนางานอยา่ งเป็นระบบ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงตารางที่ 10 สมรรถนะท่ี 4 การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และการวิจยั เพือ่ พัฒนาผเู้ รยี น (Analysis & Synthesis & Classroom Research) สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤตกิ รรม 4. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และ 1. การวเิ คราะห์ 1. สารวจปัญหาเก่ยี วกบั นกั เรียนทีเ่ กิดขน้ึ ในช้นั เรยี นเพ่อื การวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาผเู้ รียน ว่างแผนการวจิ ยั เพื่อพัฒนาผเู้ รียน (Analysis & Synthesis & 2. วเิ คราะหส์ าเหตขุ องปญั หาเกย่ี วกบั นกั เรยี นท่ีเกดิ ขึ้น Classroom Research) ในชนั้ เรยี นเพ่อื กาหนดทางเลือกในการแก้ไขปัญหาระบุ สภาพปจั จบุ นั 2. การสังเคราะห์ 3. มกี ารวิเคราะหจ์ ดุ เด่น จดุ ด้อย อุปสรรคและโอกาส ความสาเร็จของการวิจยั เพือ่ แก้ไขปญั หาท่ีเกดิ ข้ึนในช้ันเรยี น 3. การวิจัยเพือ่ พฒั นาผู้เรียน 1. รวบรวม จาแนกและจดั กลมุ่ ของสภาพปญั หาของ ผู้เรียน แนวคิดทฤษฎแี ละวธิ กี าร แก้ไขปัญหาเพื่อสะดวก ตอ่ การนาไปใช้ 2. มีการประมวลผลหรอื สรุปข้อมลู สารสนเทศที่เปน็ ประโยชนต์ อ่ การแกไ้ ขปัญหาในชั้นเรยี นโดยใช้ขอ้ มูล รอบดา้ น 1. จดั ทาแผนการวิจยั และดาเนินกระบวนการวิจัยอยา่ ง เป็นระบบตามแผนดาเนนิ การ วจิ ยั ทกี่ าหนดไว้ 2. ตรวจสอบความถกู ต้องและความนา่ เช่อื ถอื ของ ผลการวจิ ยั อยา่ งเปน็ ระบบ 3. มกี ารนาผลการวิจยั ไปประยกุ ต์ใชใ้ นกรณศี กึ ษาอน่ื ๆ ทม่ี บี ริบทของปญั หาที่คล้ายคลงึ กัน สมรรถนะท่ี 5 ภาวะผู้นาครู (Teacher Leadership) หมายถึง คุณลักษณะและพฤติกรรม ของครูที่แสดงถึงความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ส่วนบุคคล และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน ทั้งภายใน และภายนอกห้องเรียนโดยปราศจากการใช้อิทธิพลของผู้บริหารสถานศึกษา ก่อให้เกิดพลังแห่งการ เรียนรเู้ พ่ือพฒั นาการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ

37 ตารางท่ี 11 สมรรถนะท่ี 5 ภาวะผนู้ าครู (Teacher Leadership) สมรรถนะ ตัวบ่งช้ี รายการพฤติกรรม 5. ภาวะผนู้ า 1. วฒุ ภิ าวะความเป็นผใู้ หญ่ 1. พิจารณาทบทวน ประเมินตนเองเกี่ยวกับพฤตกิ รรมที่แสดงออกต่อผู้เรยี นและ (Teacher ทีเ่ หมาะสมกบั ความเปน็ ครู ผู้อนื่ และมีความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและส่วนรวม Leadership) (Adult Development) 2. เห็นคุณคา่ ให้ความสาคัญในความคิดเหน็ หรอื ผลงานและให้เกยี รติแก่ผู้อนื่ 3. กระตุ้นจงู ใจ ปรับเปลยี่ นความคิดและการกระทาของผูอ้ ืน่ ให้มีความผูกพันและ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง2. การสนทนาอยา่ งสร้างสรรค์มุ่งม่นั ต่อเปา้ หมายในการทางานร่วมกัน (Dialogue) 1. มปี ฏิสัมพันธ์ในการสนทนา มบี ทบาท และมสี ่วนร่วมในการสนทนาอย่าง สรา้ งสรรคก์ ับผู้อื่น โดยมุ่งเน้นไปทกี่ ารเรียนรู้ของผู้เรยี นและการพัฒนาวชิ าชีพ 3. การเป็นบุคคลแห่งการ 2. มีทักษะการฟงั การพดู และการตั้งคาถาม เปิดใจกวา้ ง ยืดหยุ่น ยอมรบั ทัศนะท่ี เปล่ียนแปลง (Change หลากหลายของผอู้ ่ืน เพื่อเปน็ แนวทางใหม่ ๆ ในการปฏบิ ัตงิ าน Agency) 3. สืบเสาะขอ้ มูล ความรู้ทางวิชาชพี ใหม่ ๆ ท่ีสร้างความท้าทายในการสนทนาอย่าง สร้างสรรค์กบั ผูอ้ น่ื 4. การปฏบิ ตั ิงานอยา่ ง 1. ให้ความสนใจต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเป็นปจั จุบนั โดยมีการว่างแผนอยา่ งมี ไตรต่ รอง (Reflective วิสัยทศั นซ์ ่ึงเชอ่ื มโยงกบั วิสยั ทัศน์ เป้าหมาย และพนั ธกจิ ของโรงเรียนร่วมกับผ้อู ่นื Practice) 2. ริเรม่ิ การปฏบิ ตั ิที่นาไปสู่การเปลย่ี นแปลงและการพฒั นานวตั กรรม 3. กระตุน้ ผ้อู นื่ ใหม้ ีการเรียนร้แู ละความร่วมมือในวงกว้างเพ่ือพัฒนาผู้เรียน 5. การม่งุ พฒั นาผลสัมฤทธ์ิ สถานศกึ ษา และวชิ าชพี ผ้เู รยี น (Concern for 4. ปฏบิ ัตงิ านรว่ มกบั ผอู้ ่ืนภายใต้ระบบ/ขนั้ ตอนทเี่ ปลีย่ นแปลงไปจากเดิมได้ improving pupil 1. พิจารณาไตรต่ รองความสอดคลอ้ งระหวา่ งการเรยี นรู้ของนักเรียน และการ achievement) จดั การเรยี นรู้ 2. สนับสนุนความคดิ ริเร่มิ ซ่ึงเกิดจากการพจิ ารณาไตรต่ รองของเพอื่ นร่วมงาน และมีส่วนรว่ มในการพฒั นานวตั กรรมต่าง ๆ 3. ใชเ้ ทคนิควธิ กี ารหลากหลายในการตรวจสอบ ประเมนิ การปฏิบัตงิ านของ ตนเอง และผลการดาเนินงานสถานศึกษา 1. กาหนดเปา้ หมายและมาตรฐานการเรยี นรทู้ ีท่ า้ ทายความ สามารถของตนเอง ตามสภาพจริง และปฏิบตั ใิ ห้บรรลุผลสาเร็จได้ 2. ใหข้ ้อมลู และข้อคิดเหน็ รอบดา้ นของผ้เู รยี นต่อผูป้ กครองและผเู้ รียนอยา่ งเป็น ระบบ 3. ยอมรบั ขอ้ มลู ปอ้ นกลับเกยี่ วกับความคาดหวังดา้ นการเรียนรูข้ องผเู้ รยี นจาก ผูป้ กครอง 4. ปรบั เปล่ียนบทบาทและการปฏิบตั งิ านของตนเองใหเ้ อ้ือต่อการพัฒนา ผลสมั ฤทธผ์ิ ู้เรยี น 5. ตรวจสอบข้อมลู การประเมนิ ผูเ้ รยี นอยา่ งรอบดา้ น รวมไปถงึ ผลการ วิจัยหรือ องคค์ วามรู้ต่าง ๆ และนาไปใช้ในการพฒั นาผลสมั ฤทธิผ์ เู้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ

38 สมรรถนะท่ี 6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ (Relationship & Collaborative - Building for Learning Management) หมายถึง การประสาน ความร่วมมือ สร้างความสัมพันธ์ท่ีดีและกับเครือข่ายผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรอ่ืน ๆ ท้ังภาครัฐและ เอกชน เพอ่ื สนับสนุนส่งเสริมการจดั การเรยี นรู้ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงตารางที่ 12 สมรรถนะที่ 6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมอื กับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ สมรรถนะ ตัวบ่งช้ี รายการพฤติกรรม 6. การสรา้ งความสมั พนั ธ์ และ 1. การสรา้ งความสมั พันธ์ และความ 1. กาหนดแนวทางในการสร้างความสมั พันธท์ ดี่ ี และ ความรว่ มมือกบั ชมุ ชน เพอื่ การ รว่ มมือกับชมุ ชน เพอื่ การจัดการ ความร่วมมอื กบั ชมุ ชน จดั การเรียนรู้ (Relationship & เรียนรู้ 2. ประสานให้ชุมชนเข้ามามีสว่ นรว่ มในกิจกรรมต่าง ๆ Collaborative for Learning) ของสถานศกึ ษา 2. การสร้างเครือข่าย ความรว่ มมือ 3. ให้ความรว่ มมอื ในกจิ กรรมต่าง ๆ ของชุมชน เพ่ือการจดั การเรียนรู้ 4. จดั กิจกรรมทเ่ี สริมสรา้ ง ความสมั พนั ธ์และความ รว่ มมือกับผ้ปู กครอง ชมุ ชน และองค์กรอน่ื ๆ ทงั้ ภาครฐั และเอกชนเพอ่ื การจดั การเรียนรู้ 1. สร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมือระหวา่ งครู ผู้ปกครอง ชมุ ชน และองคก์ รอืน่ ๆ ทั้งภาครฐั และเอกชน เพ่ือ สนบั สนนุ ส่งเสรมิ การจัดการเรยี นรู้ 5.2 สมรรถนะครไู ทยตามแนวคดิ ของคณะกรรมการคุรุสภา พ.ศ. 2556 คณะกรรมการคุรุสภา (2556, 45-46) ไดก้ าหนดสมรรถนะของผปู้ ระกอบวิชาชีพครู ตาม ขอ้ บังคบั ครุ ุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชีพ พ.ศ. 2556 ตามมาตรฐานความรู้ ดงั น้ี 1. ความเป็นครู ประกอบด้วยสมรรถนะ 1) รอบรู้ในเนื้อหาวิชาท่ีสอนและกลยุทธ์การสอน เพ่ือให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ๆ ได้ 2) แสวงหาและเลือกใช้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้เพ่ือให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง 3) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียนที่ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพ ผู้เรยี น (4) มีจติ วญิ ญาณความเปน็ ครู 2. ปรัชญาการศึกษา ประกอบด้วยสมรรถนะ 1) ประยุกต์ใช้เพ่ือพัฒนาสถานศึกษา 2) วิเคราะห์เก่ียวกับการศึกษาเพ่ือการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน 3. ภาษาและวัฒนธรรม ประกอบด้วยสมรรถนะ 1) สามารถใช้ทักษะการฟัง การพูด การ อ่าน การเขียนภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ เพื่อการสื่อความหมายอย่างถูกต้อง 2) ใช้ภาษาและ วัฒนธรรมเพอื่ การอยูร่ ว่ มกันอย่างสันติ 4. จิตวิทยาสาหรบั ครู ประกอบด้วยสมรรถนะ 1) สามารถใหค้ าแนะนาช่วยเหลือผู้เรียนให้มี คณุ ภาพชีวติ ท่ดี ขี นึ้ 2) ใช้จิตวิทยาเพ่ือความเข้าใจและสนับสนุนการเรียนรู้ของผูเ้ รียนให้เต็มศักยภาพ

39 5. หลักสูตร ประกอบด้วย สมรรถนะ 1) วิเคราะห์หลักสูตรและสามารถจัดทาหลักสูตรได้ 2) ปฏบิ ตั ิการประเมนิ หลักสตู รและนาผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการพัฒนาหลักสูตร 6. การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ประกอบด้วยสมรรถนะ 1) สามารถจัดทา แผนการเรียนรู้และนาไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลจริง 2) สามารถสร้างบรรยากาศการจัดการชั้นเรียนให้ ผูเ้ รียนเกิดการเรยี นรู้ 7. การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ประกอบด้วยสมรรถนะ 1) สามารถนาผลการวิจัยไปใช้ใน การจดั การเรียนการสอน 2) สามารถทาวิจยั เพอ่ื พฒั นาการเรยี นการสอนและพัฒนาผู้เรยี น 8. นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ประกอบด้วยสมรรถนะ 1) ประยุกต์ใช้ และประเมินส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้ 2) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การส่ือสาร 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ประกอบด้วยสมรรถนะ 1) สามารถวัดและประเมินผล ได้ 2) สามารถนาผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการพัฒนาผเู้ รียน 10. การประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วยสมรรถนะ 1) สามารถจัดการคุณภาพการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 2) สามารถดาเนินการจัดกิจกรรม ประเมนิ คณุ ภาพการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ได้ 11. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ประกอบด้วยสมรรถนะ 1) ปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างท่ีดี มีจติ สานึกสาธารณะและเสียสละให้สังคม 2) ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ สาระ การฝึกทกั ษะและสมรรถนะของผ้ปู ระกอบวิชาชพี ครูตามมาตรฐานประสบการณ์วชิ าชพี 5.3 สมรรถนะของผ้ปู ระกอบวชิ าชีพครไู ทยของคณะกรรมการครุ สุ ภา พ.ศ. 2562 คณะกรรมการคุรุสภา (2562, 19-20) โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารออกข้อบังคับคุรุสภา วา่ ด้วยมาตรฐานวชิ าชพี มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook