Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สค31001

Description: สค31001

Search

Read the Text Version

หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสังคมศึกษา (สค31001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2557) หามจาํ หนาย หนงั สอื เรยี นเลม น้ี จดั พิมพดว ยเงินงบประมาณแผนดนิ เพื่อการศึกษาตลอดชวี ติ สาํ หรบั ประชาชน ลิขสิทธเ์ิ ปนของ สาํ นกั งาน กศน. สาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สํานกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2557) เอกสารทางวชิ าการลําดบั ที่ 37/2557

คาํ นํา สํานักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดด ําเนินการจัดทําหนังสือเรียน ชดุ ใหมนขี้ ึ้น เพื่อสาํ หรบั ใชใ นการเรียนการสอนตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีมีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหม ีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญ ญาและศักยภาพ ในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคมไดอ ยา งมีความสุข โดยผเู รยี นสามารถนาํ หนังสือเรยี นไปใชดวยวิธกี ารศึกษาคน ควา ดวยตนเอง ปฏิบัติกจิ กรรม รวมทัง้ แบบฝกหัด เพ่ือทดสอบความรูความเขา ใจในสาระเนื้อหา โดยเม่ือศึกษาแลวยังไมเขา ใจ สามารถกลับไปศึกษาใหมไ ด ผเู รยี นอาจจะสามารถเพิ่มพูนความรูหลังจากศึกษาหนังสือเรียนน้ี โดยนําความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพ่ือนในชั้น เรียน ศึกษาจากภูมปิ ญ ญาทองถ่ิน จากแหลงเรยี นรแู ละจากสอื่ อนื่ ๆ ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไดร ับความรว มมือท่ีดีจากผูท รงคุณวุฒิและผูเ กี่ยวขอ งหลายทานท่ีคนควาและเรียบเรียง เนื้อหาสาระจากส่อื ตา งๆ เพอ่ื ใหไ ดสอ่ื ที่สอดคลอ งกบั หลกั สูตรและเปน ประโยชนต อ ผเู รียนทอี่ ยูน อกระบบ อยางแทจริง สาํ นักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา คณะผูเรียบเรยี ง ตลอดจนคณะผจู ดั ทําทุกทา นทีไ่ ดใ หความรวมมือดว ยดี ไว ณ โอกาสนี้ สํานักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวงั วาหนงั สือเรียนชุดนี้จะเปนประโยชน ในการจดั การเรยี นการสอนตามสมควร หากมีขอ เสนอแนะประการใด สํานกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอ มรบั ไวดวยความขอบคุณยง่ิ สํานักงาน กศน.

สารบญั หนา คาํ นํา 1 สารบญั 2 คาํ แนะนาํ ในการใชห นงั สอื เรียน โครงสรา งรายวชิ าสังคมศึกษา (สค31001) 35 บทที่ 1 ภมู ศิ าสตรก ายภาพ...................................................................................... 46 เร่อื งท่ี 1 สภาพภมู ิศาสตรกายภาพ .................................................................... 55 เรื่องท่ี 2 ลกั ษณะการเกิดปรากฏการณทางธรรมชาตทิ ส่ี าํ คญั 78 และการปองกนั อันตราย ..................................................................... 82 เรอื่ งที่ 3 วธิ ใี ชเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร............................................................... 83 เรื่องที่ 4 ปญ หาการทําลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม 88 95 ผลการจดั ลําดับความสาํ คญั ของปญ หาทรัพยากรธรรมชาติ 112 และสง่ิ แวดลอม................................................................................... 132 เร่อื งที่ 5 แนวทางปองกนั แกไ ขปญ หาการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ 137 และสง่ิ แวดลอ ม โดยประชาชน ชุมชน องคก ร ภาครัฐ 174 ภาคเอกชน.......................................................................................... 175 บทท่ี 2 ประวัติศาสตร............................................................................................. 182 เรื่องท่ี 1 การแบง ชว งเวลาและยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร .................................. เรอ่ื งท่ี 2 แหลง อารยธรรมของโลก..................................................................... เรอ่ื งที่ 3 ประวตั ศิ าสตรช าติไทย ........................................................................ เรือ่ งที่ 4 บุคคลสาํ คัญของไทยและของโลกในดา นประวัตศิ าสตร....................... เร่อื งที่ 5 เหตกุ ารณสาํ คัญของโลกท่ีมผี ลตอปจ จบุ ัน........................................... เรือ่ งที่ 6 บทบาทของสถาบนั พระมหากษัตรยิ ในการพฒั นาชาตไิ ทย.............. ..... บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร.............................................................................................. เรอ่ื งท่ี 1 ความรเู บื้องตน เกยี่ วกับเศรษฐศาสตร.................................................. เรื่องที่ 2 ระบบเศรษฐกิจ ...................................................................................

เร่ืองที่ 3 กระบวนการทางเศรษฐกิจ .................................................................. 193 เรอ่ื งท่ี 4 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ.............................................. 212 เรอ่ื งที่ 5 สถาบันการเงินและการเงนิ การคลัง..................................................... 224 เรอื่ งท่ี 6 ความสมั พนั ธและผลกระทบเศรษฐกจิ ระหวางประเทศ 242 กบั ภมู ิภาคตา งๆ ของโลก .................................................................... 249 เรือ่ งที่ 7 การรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ ................................................................... 256 บทท่ี 4 การเมอื งการปกครอง .................................................................................. 257 เรอื่ งท่ี 1 การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย....................................................... 262 เรื่องที่ 2 การปกครองระบบเผดจ็ การ................................................................ เรอ่ื งท่ี 3 พฒั นาการของระบอบประชาธิปไตย 267 274 ของประเทศตา งๆ ในโลก.................................................................... เรอ่ื งที่ 4 เหตกุ ารณสําคญั ทางการเมอื งการปกครองของประเทศไทย ................ 280 เรื่องที่ 5 เหตุการณสําคัญทางการเมอื งการปกครองของโลก 285 291 ท่สี ง ผลกระทบตอ ประเทศไทย ............................................................ 295 เรื่องที่ 6 หลักธรรมมาภบิ าล.............................................................................. 297 แนวเฉลยกจิ กรรม ........................................................................................................... บรรณานกุ รม ……………………………………………………………………………. ...................... คณะผูจัดทาํ ...........................................................................................................

คําแนะนําในการใชห นงั สอื เรยี น หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสังคมศกึ ษา รหสั สค31001 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เปนหนังสือเรียนท่จี ัดทําข้ึน สาํ หรับผเู รียนทเ่ี ปนนักศึกษาการศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรยี นสาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสังคมศกึ ษา ผเู รียนควรปฏิบตั ิดงั น้ี 1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวิชาใหเ ขาใจในหัวขอ สาระสําคัญ ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวัง และขอบขา ยเนือ้ หา 2. ศกึ ษารายละเอยี ดเนื้อหาของแตละบทอยา งละเอียด และทาํ กจิ กรรมตามท่กี าํ หนด แลวตรวจสอบ กบั แนวเฉลยกิจกรรมท่กี ําหนด ถาผเู รยี นตอบผดิ ควรกลับไปศกึ ษาและทําความเขาใจในเนอ้ื หานัน้ ใหมให เขา ใจกอนท่ีจะศกึ ษาเรอ่ื งตอ ไป 3. ปฏิบตั ิกจิ กรรมทายบทของแตละบท เพื่อเปน การสรปุ ความรู ความเขาใจของเนื้อหาในเรื่องนั้นๆ อีกคร้ัง 4. หนงั สือเรยี นเลม น้มี ี 4 บท คอื บทท่ี 1 ภูมิศาสตรกายภาพ บทท่ี 2 ประวัตศิ าสตร บทที่ 3 เศรษฐศาสตร บทท่ี 4 การเมอื งการปกครอง

โครงสรางรายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001) สาระสาํ คัญ ประชาชนทกุ คนมีหนาทีส่ ําคญั ในฐานะพลเมอื งดขี องชาติ การเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายภายใต การปกครองตามระบอบประชาธิปไตย มีความรใู นเร่อื งลักษณะทางกายภาพ การปฏสิ ัมพนั ธระหวา งมนุษยกับ สิ่งแวดลอมและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหเ อ้ือประโยชนต อคนในชาติ การศึกษาความ เปน มาและประวตั ศิ าสตรข องชนชาติไทยทําใหเ กิดความรูความเขาใจและภาคภูมใิ จในความเปนไทย ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวัง 1. อธิบายขอมูลเก่ียวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครองท่ีเก่ียว ของกับประเทศตา งๆ ในโลก 2. วเิ คราะห เปรียบเทียบสภาพภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมืองการปกครอง ของประเทศตางๆ ในโลก 3. ตระหนักและคาดคะเนสถานการณระหวางประเทศทางดา นภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมอื ง การปกครองที่มีผลกระทบตอ ประเทศไทยและโลกในอนาคต 4. เสนอแนะแนวทางในการแกป ญ หา การปอ งกันและการพัฒนาทางดา นการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ และสังคมตามสภาพปญหาทเ่ี กิดขนึ้ เพอ่ื ความม่ันคงของชาติ สาระการเรยี นรู บทที่ 1 ภมู ิศาสตรก ายภาพ บทที่ 2 ประวัตศิ าสตร บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร บทที่ 4 การเมอื งการปกครอง

1 บทที่ 1 ภูมศิ าสตรก ายภาพ สาระสําคญั ลักษณะทางกายภาพและสรรพส่ิงในโลก มคี วามสัมพนั ธซ ่ึงกนั และกนั และมผี ลกระทบตอ ระบบนิเวศ ธรรมชาติ การนาํ แผนทแี่ ละเครื่องมอื ภูมศิ าสตรมาใชใ นการคน หาขอมลู จะชวยใหมขี อมลู ทช่ี ัดเจนและนําไปสู การใชการจดั การไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ การปฏิสัมพนั ธร ะหวา งมนษุ ยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพ ทําให เกิดสรา งสรรควฒั นธรรมและจิตสาํ นึกรวมกนั ในการอนรุ กั ษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ มเพ่อื การพัฒนา ที่ย่ังยืน ตวั ชว้ี ัด 1. มคี วามรูความเขา ใจเก่ียวกับสภาพทางภมู ศิ าสตรกายภาพของประเทศไทยกับทวีปตา งๆ 2. เปรยี บเทียบสภาพภมู ิศาสตรก ายภาพของประเทศไทยกับทวีปตา งๆ 3. มีความรคู วามเขาใจในปรากฏการณทางธรรมชาตทิ ีเ่ กิดขึ้นในโลก 4. มีทกั ษะการใชเ ครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตรท ส่ี ําคญั ๆ 5. รวู ธิ ปี อ งกนั ตนเองใหปลอดภัยเม่ือเกดิ ภัยจากปรากฏการณธ รรมชาติ 6. สามารถวิเคราะหแ นวโนม และวกิ ฤตสงิ่ แวดลอ มทเี่ กดิ จากการกระทําของมนษุ ย 7. มีความรคู วามเขา ใจในการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยดี านส่ิงแวดลอ มเพอื่ พัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมท่ยี ัง่ ยนื ขอบขา ยเนื้อหา เร่อื งที่ 1 สภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพ เรอ่ื งท่ี 2 ลักษณะการเกดิ ปรากฏการณท างธรรมชาติ และการปอ งกันอันตราย เร่อื งที่ 3 วิธใี ชเครื่องมือทางภูมิศาสตร เรอื่ งที่ 4 ปญ หาการทาํ ลายทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ ม การจัดลาํ ดบั ความสําคัญของปญหา ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม เรอ่ื งที่ 5 แนวทางปองกันแกไ ขปญหาการทาํ ลายทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม โดยประชาชน ชุมชน องคกร ภาครัฐ ภาคเอกชน

2 เรื่องท่ี 1 สภาพภมู ศิ าสตรกายภาพ ภูมศิ าสตรก ายภาพประเทศไทย ทาํ เลทีต่ งั้ ประเทศไทยตั้งอยูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซ่ึงประกอบดวยสวนที่เปนแผนดินใหญหรือ เรียกวาคาบสมุทรอินโดจนี หรือแหลมทอง และสว นที่เปนหมเู กาะใหญนอยหลายพันเกาะ ตั้งอยูในแหลมทอง ระหวางละติจูด 5 องศา 37 ลิปดาเหนือกับ 20 องศา 22 ลิปดาเหนือ และลองจิจูด 97 องศา 22 ลิปดา ตะวนั ออก กับ 105 องศา 37 ลิปดาตะวนั ออก ขนาด ประเทศไทยมเี น้อื ที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร ถาเปรียบเทียบขนาดของประเทศไทยกับประเทศใน ภมู ิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใตดัวยกันแลว จะมีพื้นที่ขนาดใหญเปนอันดับที่สาม รองจากอินโดนีเซียและ เมยี นมาร ความยาวของประเทศวัดจาก เหนือสุด ท่ีอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงรายไปจดใตสุดท่ีอําเภอเบตง จังหวัดยะลา ประมาณ 1,260 กิโลเมตร สวนความกวา งมากที่สดุ วดั จากดานพระเจดยี สามองคอ ําเภอสังขละ บุรี จงั หวัดกาญจนบุรีไปจดตะวันออกสุด ท่ีอําเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ยาวประมาณ 780 กิโลเมตร สําหรบั สว นท่แี คบทส่ี ดุ ของประเทศไทยอยูใ นเขตจังหวัดประจวบคีรขี ันธ วดั จากพรมแดนพมาถงึ ฝงทะเลอาว ไทยเปนระยะทางประมาณ 10.5 กิโลเมตร อาณาเขตตดิ ตอ ประเทศไทยมีอาณาเขตติดตอกับประเทศเพื่อนบานโดยรอบ 4 ประเทศคือ เมียนมาร ลาว กัมพูชา และมาเลเซยี รวมความยาวของ พรมแดนทางบก ประมาณ 5,300 กิโลเมตร และมีอาณา เขตติดตอกับชายฝงทะเลยาว 2,705 กิโลเมตร คือ แนวฝง ทะเลดานอาวไทยยาว 1,840 กิโลเมตร และแนวชายฝงดาน ทะเลอันดามันยาว 865 กิโลเมตรดงั น้ี

3 1. เขตแดนทีต่ ดิ ตอกับเมียนมาร เรม่ิ ตน ทอ่ี ําเภอแมส ายจงั หวดั เชียงรายไปทางตะวนั ตก ผานที่ จังหวัดแมฮ องสอน ไปสนิ้ สุดทจ่ี งั หวัดระนอง จังหวัดชายแดนดา นน้ีมี 10 จงั หวดั คอื เชยี งราย เชียงใหม แมฮอ งสอน ตาก กาญจนบรุ ี ราชบุรี เพชรบรุ ี ประจวบคีรีขนั ธ ชมุ พร และ ระนอง มที ิวเขา 3 แนว เปน เสน กัน้ พรมแดน ไดแก ทวิ เขาแดนลาว ทวิ เขาถนนธงชัย และทวิ เขาตะนาวศรี นอกจากนนั้ ยังมแี มน้ําสายสน้ั ๆ เปนแนวก้ันพรมแดนอยูอ ีกคือแมนา้ํ เมย จงั หวดั ตากและแมน ้ํากระบรุ ี จังหวัดระนอง 2. เขตแดนท่ีติดตอกับลาว เขตแดนดานน้ี เริ่มตนที่อําเภอเชียงแสน ไปทางตะวันออกผานอําเภอ เชียงของ จังหวัดเชียงรายเขาสูจังหวัดพะเยา ไปสิ้นสุดที่จังหวัดอุบลราชธานี ดินแดนที่ติดตอกับลาวมี 11 จังหวดั คือ เชียงราย พะเยา นา น อุตรดิตถ พิษณโุ ลก เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อํานาจเจริญ และ อบุ ลราชธานี มแี มนํ้าโขงเปน เสน กนั้ พรมแดนทางน้ําที่สําคัญ สวนพรมแดนทางบกมีทิวเขาหลวงพระบางกั้น ทางตอนบนและทวิ เขาพนมดงรักบางสว นกนั้ เขตแดนตอนลา ง 3. เขตแดนที่ติดตอกับกัมพูชา เร่ิมตนที่พื้นที่บางสวนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางจาก อําเภอน้ํายนื จงั หวดั อุบลราชธานี มาทางทิศตะวันตก แลววกลงใตที่จังหวัดบุรีรัมย ไปส้ินสุดที่จังหวัดตราด จังหวัดชายแดนที่ติดตอกับกัมพูชา มี 7 จังหวัด คือ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร บุรีรัมย สระแกว จนั ทบรุ ี และ ตราด มีทวิ เขาพนมดงรกั และทิวเขาบรรทดั เปนเสนก้ันพรมแดน 4. เขตแดนท่ีติดตอกับมาเลเซีย ไดแก เขตแดนทางใตสุดของประเทศ ในพ้ืนที่ 4 จังหวัด คือ สตูล สงขลา ยะลา และนราธวิ าส มแี นวเทือกเขาสันกาลาคีรี และแมน ํา้ โก-ลกจังหวัดนราธิวาสเปน เสนกน้ั พรมแดน ภาคเหนอื ภาคเหนอื ประกอบดว ยพ้ืนท่ีของ 9 จงั หวัด ไดแก 1. เชยี งราย 2. แมฮองสอน 3. พะเยา 4. เชียงใหม 5. นา น 6. ลาํ พนู 7. ลําปาง 8. แพร 9. อตุ รดติ ถ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศท่ัวไป เปนเทือกเขาสูง ทอดยาวขนานกันในแนวเหนือ-ใต และระหวาง เทือกเขาเหลานี้มีท่ีราบและมีหุบเขาสลับอยูท่ัวไป เทือกเขาที่สําคัญ คือ เทือกเขาหลวงพระบาง เทือกเขาแดนลาว เทอื กเขาถนนธงชยั เทือกเขาผีปน นํ้า เทือกเขาขุนตาลและ เทือกเขาเพชรบูรณ ยอด เขาที่สูงท่ีสุดในภาคนี้ ไดแก ยอดอินทนนท อยูใน จังหวัดเชียงใหม มีความสูงประมาณ 2,595 เมตร จากระดับนาํ้ ทะเล เทือกเขาในภาคเหนือ เปน แหลงกําเนิดของแมนํ้าสายยาว 4 สาย ไดแก แมนํ้าปง วัง ยม และนาน แมน้ําดังกลาวน้ีไหลผานเขตที่ราบหุบเขา พื้นที่ท้ังสองฝงลําน้ําจึงมีดินอุดมสมบูรณเหมาะแกการ เพาะปลกู ทําใหม ีผคู นอพยพไปต้งั หลักแหลงในบริเวณดังกลาวหนาแนนนอกจากน้ีภาคเหนือยังมีแมน้ําสาย

4 สน้ั ๆ อีกหลายสาย ไดแ กแ มนาํ้ กก และแมน าํ้ อิง ไหลลงสู แมนํ้าโขง สวนแมนํ้าปาย แมน้ําเมย และแมน้ํายม ไหลลงสแู มน ํา้ สาละวนิ ภาคกลาง ภาคกลางประกอบดวยพนื้ ทข่ี อง 22 จงั หวดั ไดแก 1. สโุ ขทยั 2. พษิ ณโุ ลก 3. กาํ แพงเพชร 4. พิจิตร 5. เพชรบรู ณ (ภาคกลางตอนบน) 6. นครสวรรค 7. อทุ ัยธานี 8. ชัยนาท 9. ลพบรุ ี 10. สิงหบ ุรี 11. อา งทอง 12. สระบรุ ี 13. สพุ รรณบรุ ี 14. พระนครศรีอยธุ ยา 15. นครนายก 16. ปทมุ ธานี 17. นนทบุรี 18. นครปฐม 19. กรงุ เทพมหานคร 20. สมทุ รปราการ 21. สมุทรสาคร 22. สมุทรสงคราม ลกั ษณะภมู ิประเทศทวั่ ไป เปน ทร่ี าบดินตะกอนท่สี ายนํ้าพดั มาทบั ถม ในบริเวณที่ราบนี้มีภูเขาโดดๆ ซึ่งสวนใหญเ ปนภูเขาหินปนู กระจาย อยทู ว่ั ไป ภูมปิ ระเทศตอนบนของภาคกลางเปน ทรี่ าบลูกฟกู คือเปน ทสี่ ูงๆ ต่าํ ๆ และมีภูเขาท่ีมีแนวตอเน่ืองจากภาคเหนือ เขามาถึงพื้นที่บางสวนของจังหวัดพิษณุโลก และเพชรบูรณ สวนพ้ืนท่ีตอนลางของภาคกลางนั้นเปนดินดอนสามเหล่ียมปากแมน้ําเจาพระยา ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของ แมนํ้าปง วัง ยม นาน นอกจากแมนํา้ เจาพระยา แลวตอนลางของภาคกลางยังมีแมนํ้าไหลผานอีกหลายสาย ไดแ ก แมนา้ํ แมก ลอง แมนาํ้ ทา จนี แมน้าํ ปา สัก และแมน ํา้ นครนายก เขตน้ีเปนที่ราบกวางขวางซึ่งเกิดจากดิน ตะกอน หรือดินเหนียวท่ีสายน้ําพัดพามาทับถมเปนเวลานาน จึงเปนพ้ืนท่ีที่อุดมสมบูรณเหมาะแกการ เพาะปลกู มาก และเปน เขตท่มี ปี ระชากรมากที่สุดในประเทศไทย ฉะน้ันภาคกลางจึงไดช่ือวาเปนอูขาว อูนํ้า ของไทย

5 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ประกอบดว ยพื้นทข่ี อง 19 จังหวดั ไดแ ก 1.เลย 2. หนองคาย 3. อดุ รธานี 4. สกลนคร 5. นครพนม 6. ขอนแกน 7. กาฬสินธุ 8. มุกดาหาร 9. ชัยภมู ิ 10. มหาสารคาม 11. รอ ยเอด็ 12. ยโสธร 13. นครราชสมี า 14. บรุ ีรัมย 15. สรุ นิ ทร 16. ศรีสะเกษ 17. อบุ ลราชธานี 18. อาํ นาจเจริญ 19. หนองบัวลาํ ภู ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไป มีลักษณะ เปนแองคลายจาน ลาดเอียงไปทางตะวันออก เฉยี งใตมีขอบเปนภูเขาสูงทางตะวันตกและทาง ใต ขอบทางตะวนั ตก ไดแ ก เทือกเขาเพชรบูรณ และเทือกเขาดงพญาเย็น สวนทางใต ไดแก เทือกเขาสันกําแพง และเทือกเขาพนมดงรัก พ้ืนท่ีดานตะวันตกเปนที่ราบสูง เรียกวา ท่ีราบ สูงโคราช ภูเขาบริเวณนี้เปนภูเขาหินทราย ที่รูจักกันดีเพราะเปนแหลงทองเที่ยว คือ ภูกระดึง ภูหลวง ในจังหวัดเลย แมนํ้าที่สําคัญของภาคน้ีไดแก แมน้ําชี และแมน้ํามูล ซ่ึงมีแหลงกําเนิดจาก เทอื กเขาทางทิศตะวนั ตก และทางใตแลว ไหลลงสูแมน้ําโขง ทําใหสองฝงแมนํ้าเกิดเปนที่ราบน้ําทวมถึงเปน ตอนๆ พนื้ ที่ราบในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือมกั มีทะเลสาบรปู แอง เปนจาํ นวนมาก แตท ะเลสาบเหลา นจ้ี ะมนี ํา้ เฉพาะฤดูฝนเทาน้ันเม่อื ถึงฤดูรอ นนํา้ ก็จะเหือดแหงไปหมด เพราะดนิ สว นใหญเ ปน ดินทรายไมอุมนํ้า นํ้าจึงซึม ผานไดเร็ว ภาคน้ีจึงมีปญหาเร่ืองการขาดแคลนนํ้า และดินขาดความอุดมสมบูรณ ทําใหพ้ืนท่ีบางแหงไม สามารถใชประโยชนในการเกษตรไดอยา งเต็มท่ี เชน ทุงกลุ ารองไห ซ่ึงมีเน้ือที่ถึงประมาณ 2 ลานไร ครอบคลุม พ้ืนที่ 5 จังหวัด ไดแก รอยเอ็ด สุรินทร มหาสารคาม ยโสธร และศรีสะเกษ ซ่ึงปจจุบันรัฐบาลไดพยายาม ปรบั ปรงุ พ้ืนทใ่ี หด ขี น้ึ โดยใชร ะบบชลประทานสมยั ใหม ทําใหสามารถเพาะปลกู ไดจนกลายเปน แหลง เพาะปลกู ขาวหอมมะลิท่ีดีท่ีสุดแหงหนึ่งของประเทศไทย แตก็ปลูกไดเฉพาะหนาฝนเทาน้ัน หนาแลงสามารถทําการ เพาะปลูกไดเ ฉพาะบางสว นเทานนั้ ยังไมครอบคลมุ บรเิ วณท้งั หมด ภาคตะวนั ตก ภาคตะวันตก ประกอบดว ยพน้ื ที่ของ 5 จงั หวดั ไดแ ก 1. ตาก 2. กาญจนบรุ ี 3. ราชบุรี 4. เพชรบรุ ี 5. ประจวบคีรขี นั ธ ลักษณะภูมิประเทศท่วั ไป สวนใหญเ ปน เทือกเขาสูง ไดแก เทอื กเขาถนนธงชัย และเทือกเขาตะนาว ศรเี ปนแนวภเู ขาท่ซี บั ซอนมีท่ีราบแคบๆ ในเขตหบุ เขาเปน แหง ๆ และมีทร่ี าบเชิงเขาตอ เนอ่ื งกบั ทรี่ าบภาคกลาง เทือกเขาเหลา นเี้ ปน แหลง กาํ เนดิ ของ แมน ํา้ แควนอ ย (แมน ้ําไทรโยค) และแมนํา้ แควใหญ (ศรสี วัสด์)ิ ซึ่งไหลมา บรรจบกนั เปน แมนํ้าแมกลอง ระหวางแนวเขามชี องทางตดิ ตอ กบั ประเทศเมยี นมารไ ด ท่ีสาํ คญั คือ ดานแมละ เมาในจงั หวัดตาก และดา นพระเจดยี สามองค ในจังหวัดกาญจนบุรี

6 ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ออก ประกอบดว ยพนื้ ทขี่ อง 7 จังหวดั ไดแก 1. ปราจีนบุรี 2. ฉะเชงิ เทรา 3. ชลบรุ ี 4. ระยอง 5. จนั ทบรุ ี 6. ตราด 7. สระแกว ลกั ษณะภูมปิ ระเทศท่วั ไป คือ เปนทร่ี าบใหญอยทู างตอนเหนือของภาค มีเทือกเขาจันทบุรีอยูทาง ตอนกลางของภาค มีเทือกเขาบรรทดั อยทู างตะวนั ออกเปน พรมแดนธรรมชาตริ ะหวา งประเทศไทยกบั ประเทศ กมั พูชา และมีทร่ี าบชายฝง ทะเลซ่งึ อยรู ะหวางเทอื กเขาจันทบรุ ีกับอาวไทย ถงึ แมจ ะเปน ท่รี าบแคบๆ แตก็เปน พน้ื ดินท่ีอุดมสมบรู ณเหมาะสาํ หรับการปลกู ไมผ ล ในภาคนมี้ จี งั หวดั ปราจนี บุรีและจงั หวัดสระแกว เปน จงั หวัด ทไ่ี มม ีอาณาเขตจดทะเล นอกนัน้ ทกุ จงั หวดั ลว นมีทางออกทะเลท้ังสิ้น ชายฝง ทะเลของภาคเริม่ จากแมน ํา้ บาง ปะกง จังหวัดฉะเชิงเทราไปถึงแหลมสารพัดพิษ จังหวัดตราด ยาวประมาณ 505 กิโลเมตร เขตพื้นที่ชายฝง ของภาคมีแหลมและอา วอยูเปนจาํ นวนมากและมีเกาะใหญนอยเรียงรายอยูไมหางจากฝงนัก เชน เกาะชาง เกาะกดู เกาะสีชัง เกาะลาน เปน ตน

7 ภาคใต ภาคใตประกอบดวยพืน้ ทีข่ อง 14 จงั หวัดไดแก 1. ชุมพร 2. สรุ าษฎรธ านี 3. นครศรธี รรมราช 4. พัทลงุ 5. สงขลา 6. ปต ตานี 7. ยะลา 8. นราธิวาส 9. ระนอง 10. พังงา 11. กระบ่ี 12. ภเู ก็ต 13. ตรัง 14. สตูล ลักษณะภมู ปิ ระเทศทั่วไป เปน คาบสมทุ รย่นื ไปในทะเล ทางตะวันตกของคาบสมุทรมีเทือกเขาภูเก็ต ทอดตัวเลยี บชายฝง ไปจนถึงเกาะภูเก็ต ตอนกลางของภาคมีเทอื กเขานครศรีธรรมราช สวนทางตอนใตสุดของ ภาคใตม เี ทือกเขาสนั กาลาครี ี วางตัวในแนวตะวนั ออก-ตะวันตก และเปน พรมแดนธรรมชาติกน้ั ระหวา งไทยกบั มาเลเซียดวย พื้นที่ทางชายฝงตะวันออกมีท่ีราบมากกวาชายฝงตะวันตก ไดแก ท่ีราบในเขตจังหวัด นครศรีธรรมราช พัทลงุ สงขลา ปตตานี และนราธวิ าส ชายฝง ทะเลดานตะวนั ออกของภาคใตม ชี ายหาดเหมาะ สาํ หรบั เปน ทต่ี ากอากาศหลายแหง เชน หาดสมหิ ลา จังหวดั สงขลาและหาดนราทศั น จังหวัดนราธิวาส เปน ตน เกาะทส่ี ําคัญทางดา นน้ี ไดแก เกาะสมุยและเกาะพงนั สวนชายฝงทะเลดานมหาสมุทรอินเดีย มีเกาะท่ีสําคัญ คือ เกาะภูเก็ต เกาะตรเุ ตา เกาะยาวและเกาะลันตา นอกจากน้ี ในเขตจงั หวัดสงขลาและพทั ลงุ ยงั มีทะเลสาบ เปด (lagoon) ที่ใหญท ส่ี ดุ แหง หนง่ึ ในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต คอื ทะเลสาบสงขลา มีความยาวจากเหนือจดใต ประมาณ 80 กโิ ลเมตร สว นทีก่ วางที่สุด ประมาณ 20 กโิ ลเมตร คิดเปนเนื้อที่ประมาณ 974 ตารางกิโลเมตร สวนเหนอื สดุ ของทะเลสาบเปน แหลง นาํ้ จดื เรยี กวา ทะเลนอย แตทางสว นลา งน้าํ ของทะเลสาบจะเค็ม เพราะมี นานนา้ํ ตดิ กับอา วไทย น้ําทะเลจงึ ไหลเขา มาได ในทะเลสาบสงขลามีเกาะอยูหลายเกาะ บางเกาะเปนท่ีทํารัง ของนกนางแอน บางเกาะเปนท่ีอยูของเตาทะเล นอกจากน้ีในทะเลสาบยังมี ปลา และกุงชุกชุมอีกดวย สว นชายฝงทะเลดานตะวนั ตกของภาคใตมีลักษณะเวา แหวง มากกวา ดา นตะวันออก ทําใหมีทิวทัศนท่ีสวยงาม หลายแหง เชน หาดนพรตั นธารา จังหวดั กระบ่ี หมเู กาะซิมิลัน จงั หวดั พังงา ชายฝง ตะวนั ตกของภาคใตจ ึงเปน สถานทที่ อ งเท่ียวท่ีสาํ คัญแหง หนึง่ ของประเทศ แมนาํ้ ในภาคใต สว นใหญเ ปน แมน ํา้ สายสัน้ ๆ ไหลจากเทอื กเขา ลงสทู ะเล ท่ีสาํ คญั ไดแก แมนํ้าโก-ลกซงึ่ กน้ั พรมแดนไทยกับมาเลเซียในจังหวัดนราธิวาส แมน้ํากระบุรีซึ่งกั้น พรมแดนไทยกับพมา ในเขตจังหวดั ระนอง แมนํ้าตาปใ นจังหวัดสุราษฏรธานี และแมนํา้ ปต ตานใี นจังหวัดยะลา และปตตานี ทวปี เอเชีย 1. ขนาดที่ตั้งและอาณาเขตติดตอ ทวีปเอเชยี เปน ทวปี ทีม่ ขี นาดใหญท ่ีสดุ มพี นื้ ทป่ี ระมาณ 44 ลานตารางกิโลเมตร เปนทวีปที่มพี นื้ ทกี่ วา ง ทสี่ ดุ ในโลกต้ังอยูทางทิศตะวันออกของโลก ทวีปเอเชียตั้งอยูระหวางละติจูด 1 องศา 15 ลิปดาเหนือถึง 77 องศา 41 ลิปดาเหนอื และลองติจูด 24 องศา 4 ลิปดา ตะวนั ออกถงึ 169 องศา 40 ลิปดาตะวนั ตก

8 อาณาเขตตดิ ตอ ทิศเหนือ ติดกบั มหาสมทุ รอารก ตกิ ทิศใต ติดกบั มหาสมุทรอินเดยี ทศิ ตะวันออก ติดกับมหาสมทุ รแปซิฟก ทิศตะวนั ตก ตดิ กับเทอื กเขาอรู าล ทวปี ยโุ รป 2. ลักษณะภูมปิ ระเทศของทวปี เอเชีย ทวีปเอเชียมีลกั ษณะเดน คอื มีภมู ปิ ระเทศทีเ่ ปน ภเู ขาสูงอยเู กอื บใจกลางทวีป ภูเขาดังกลาวทําหนาที่ เหมือนหลังคาโลกเพราะเปนจุดรวมของเทือกเขาสําคัญๆ ในทวีปเอเชียจุดรวมสําคัญ ไดแก ปามีรนอต ยูนนานนอต และอามีเนยี นนอต เทือกเขาสูงๆ ของทวปี เอเชยี วางแนวแยกยายไปทกุ ทศิ ทกุ ทางจากหลงั คาโลก เชน เทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาคุนลุน เทือกเขาเทียนชาน เทือกเขาอัลตินตัก เทือกเขาฮินดูกูซ เทือกเขา สไุ ลมาน ยอดเขาเอเวอรเรสต มรี ะดับสูง 8,850 เมตร จากระดบั น้าํ ทะเล (29,028 ฟตุ ) เปน ยอดเขาสงู ทีส่ ดุ ใน โลกตง้ั อยบู นเทือกเขาหิมาลัย ระหวางเทือกเขาเหลานี้มีพ้ืนท่ีคอนขางราบแทรกสลับอยู ทําใหเกิดเปนแอง แผน ดนิ ที่อยใู นที่สงู เชน ทร่ี าบสูงทิเบต ท่ีราบสงู ตากลามากัน ทีร่ าบสงู มองโกเลยี ท่รี าบสูงยูนาน ลักษณะภูมิ ประเทศดังกลาวขางตนทําใหบริเวณใจกลางทวีปเอเชียกลายเปนแหลงตนกําเนิดของแมนํ้าสายสําคัญ ที่มี รูปแบบการไหลออกไปทุกทิศโดยรอบหลังคาโลก เชน ไหลไปทางเหนือมีแมนํ้า อ็อบ เยนิเซ ลีนา ทาง ตะวันออกเฉียงเหนือมีแมนํ้าอามูร ทางตะวันออกมีแมน้ําฮวงโห (หวงเหอ) แยงซีเกียง (ฉางเจียง) ซีเกียง (ซเี จยี ง) ทางตะวันออกเฉียงใตมีแมน้ําแดงโขง เจาพระยา สาละวิน อิระวดี ทางใตมีแมน้ําพรหมบุตร คงคา สินธุ ทางตะวันตกมีแมน้ําอามู ดารยา จากที่สูงอามีเนียนนอต มีแมนํ้าไทกรีส ยูเฟรตีส บทบาทของลุมนํ้า เหลา นี้ คือพัดพาเอาตะกอนมาทับถมที่ราบอันกวางใหญไพศาล กลายเปนแหลงเกษตรกรรมและท่ีอยูอาศัย สําคญั ๆ ของชาวเอเชยี โดยเฉพาะท่รี าบดนิ ดอนสามเหลย่ี มปากแมนํ้า จึงกลายเปนแหลงที่มีประชากรอาศัย อยูหนาแนน ทสี่ ดุ 3. ลักษณะภมู ิอากาศของทวปี เอเชยี ทวีปเอเชียโดยสวนรวมประมาณครึ่ง ท วี ป อ ยู ภ า ย ใ ต อิ ท ธิ พ ล ข อ ง ล ม ม ร สุ ม ตั้ ง แ ต ปากีสถานถงึ คาบสมทุ รเกาหลี เปน ผลทําใหมีฝน ตกชุกในฤดมู รสุมตะวันตกเฉียงใต และมีอากาศ หนาวในฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในเขต ละติจดู กลางหรือเขตอบอุน แถบจนี และญี่ปุนจะ ไดรบั อทิ ธิพลจากแนวปะทะอากาศบอ ยคร้ัง ทาง ชายฝง ตะวนั ออกของทวปี ตัง้ แตญ่ีปนุ อินโดนเี ซีย จะไดร ับอิทธิพลของลมไตฝุน และดีเปรสชั่นทําใหด นิ แดนชายฝง ตะวันออกของหมเู กาะไดร บั ความเสยี หายจาก ลมและฝนเสมอ ทางเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเอเชียใต ซึ่งอยูใกลศูนยสูตรจะมีปรากฏการณของหยอม

9 ความกดอากาศตํ่าทําใหมีอากาศลอยตัว กอเปนพายุฟาคะนองเกิดข้ึนเปนประจําในเวลาบายๆ หรือใกลคํ่า แถบทอี่ ยลู กึ เขาไปในทวีปหา งไกลจากทะเลจะมีภมู ิอากาศแหงแลงเปนทะเลทราย 4. สภาพทางสังคม วัฒนธรรม ภาษา ศาสนา เช้อื ชาติเผาพันธุ ประชากร 2 ใน 3 ของประชากรทั้งหมด เปนพวกมองโกลอยด มพี วกคอเคซอยดอยู บาง เชน ชาวรสั เซยี อพยพมาจากยโุ รปตะวันออก ประชากรของเอเชยี มีความหลากหลาย ดานประกอบอาชีพ เศรษฐกิจของประเทศในเอเชยี ขน้ึ อยกู ับภาคเกษตรกรรม ประชากรสวนใหญ ประกอบอาชีพดานการเกษตร คือ การเพาะปลูก ขาว ขาวโพด และมีการเล้ียงสัตว ทั้งเลี้ยงไวเปนอาหาร และทํางาน นอกจากนี้ยังมีการ คาขาย การประมง การทาํ เหมอื งแร ลกั ษณะทางเศรษฐกิจ 1. การเพาะปลูกทําในที่ราบลุมของแมน้ําตางๆ ไดแก ขาว ยางพารา ปาลม ปอ ฝาย ชา กาแฟ ขา วโพด 2. การเลยี้ งสตั ว ในเขตอากาศแหงแลงจะเลี้ยงแบบเรรอนซ่ึงเล้ียงไวใชเน้ือและนมเปนอาหารไดแก อฐู แพะ แกะ โค มา และจามรี 3. การทาํ ปาไม ปาไมใ นเขตเมืองรอ นจะเปน ไมเนอื้ แข็ง ผลผลติ ทไี่ ดสวนใหญนําไปกอ สรา ง 4. การประมง ทาํ ในบริเวณแมนา้ํ ลาํ คลอง หนอง บงึ และชายฝง ทะเล 5. การทาํ เหมืองแร ทวปี เอเชยี อุดมไปดวยแรธ าตนุ านาชนดิ 6. อตุ สาหกรรม การทําอุตสาหกรรมหลายประเทศในเอเชีย เร่ิมจากอุตสาหกรรมในครัวเรือนแลว พฒั นาขน้ึ เปน โรงงานขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ ประชากร ทวีปเอเชียมีประชากรมากท่ีสุดในโลกประมาณ 3,155 ลานคน ประชากรสวนใหญมาจากพันธุ มองโกลอยดป ระชากรอาศยั อยูหนาแนนบริเวณชายฝง ทะเลและท่ีราบลมุ แมนํา้ ตา งๆ เชน ลมุ แมน ้าํ เจา พระยา ลุมแมน าํ้ แยงซีเกยี ง ลมุ แมน้ําแดงและลมุ แมนาํ้ คงคาสวนบรเิ วณที่มีประชากรเบาบาง จะเปนบรเิ วณที่แหง แลง กันดารหนาวเยน็ และในบรเิ วณท่เี ปนภูเขาซับซอน ซ่ึงสวนใหญจ ะเปนบริเวณกลางทวปี

10 ภาษา 1. ภาษาจนี ภาษาท่ีใชกันมากในทวีปเอเชีย โดยใชกันในประเทศจีน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เชน สิงคโปร ประมาณวาประชากรเอเชีย 1,000 ลานคน พูดภาษาจีน แตเปนภาษาที่แตกตางกันไป เชน ภาษาแตจิ๋ว ไหหลาํ จนี กลาง หรือทเ่ี รียกวา ภาษาแมนดารนิ 2. ภาษาอนิ เดยี เปน ภาษาท่ีใชก ันแพรห ลายรองลงมาอนั ดบั 2 โดยสวนใหญใชกันในประเทศอนิ เดีย และปากีสถาน 3. ภาษาอาหรบั เปน ภาษาทใ่ี ชก นั แพรหลายมากอนั ดับ 3 โดยใชก ันในแถบเอเซยี ตะวนั ตกเฉียงใต 4. ภาษารสั เซยี เปนภาษาทใ่ี ชก นั มากอนั ดับ 4 โดยใชกนั ในรสั เซียและเครือจักรภพ ศาสนา ทวีปเอเชียเปนแหลงกําเนิดศาสนาที่สําคัญของโลก เชน ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู และยูดาห ในเอเชียตะวันตกเฉียงใตประชากรสวนใหญนับถือศาสนาฮินดูกวา 500 ลานคนใน อินเดีย รองลงมาคือ ศาสนาอิสลามมีผูนับถือประมาณ 450 ลานคน นอกจากน้ียังมีลัทธิเตา ลัทธิขงจื๋อ ที่ แพรหลายในจนี ลัทธชิ ินโตในญ่ปี นุ ทวีปยโุ รป 1. ขนาดที่ตง้ั และอาณาเขตติดตอ ทวปี ยโุ รปเปนทวปี ทมี่ ีลกั ษณะทางกายภาพท่ีเหมาะสมในการต้งั ถิ่นฐานทง้ั ในดา นลักษณะภมู ิประเทศ ทีม่ ีทรี่ าบลมุ เทอื กเขาทไ่ี มตง้ั ก้นั ทางลม มีแมนํา้ หลายสาย ลกั ษณะภมู ิอากาศที่อบอนุ ชุมช่นื มี ทรัพยากรธรรมชาติ คอื เหลก็ และถานหนิ ซึง่ เปนสวนสาํ คญั อยางยิง่ ตอ การพฒั นาอุตสาหกรรมขนาดใหญ จงึ สงผลใหท วปี ยุโรปมี ประชากรต้ังถ่นิ ฐานหนาแนน ทส่ี ุดในโลก อีกทง้ั เปน ทวปี ทม่ี ี อารยธรรมทเี่ กา แก คือ อารย ธรรมกรกี และโรมนั

11 ทวีปยโุ รป เปน ทวปี ทต่ี งั้ อยรู ะหวางละติจูด 36 องศา 1 ลปิ ดาเหนือถึง 71 องศา 10 ลิปดาเหนือและระหวาง ลองตจิ ดู 9 องศาตะวนั ตก ถึง 66 องศาตะวันออก จากพกิ ัดภูมิศาสตรจะสงั เกตไดวา ทวปี ยโุ รปมีพน้ื ที่ทั้งหมด อยูในซกี โลกเหนือและอยูเหนือเสนทรอปคออฟแคนเซอรมีเสนสําคัญที่ลากผาน คือ เสนอารกติกเซอรเคิล และเสน ลองตจิ ดู ที่ 0 องศา มีเนอ้ื ทป่ี ระมาณ 9.9 ลา นตารางกิโลเมตร จึงเปนทวีปที่มีขนาดเล็ก โดยมีขนาด เล็กรองจากทวีปออสเตรเลยี อาณาเขตตดิ ตอ ทิศเหนือ ติดกับมหาสมุทรอารกติกและข้ัวโลกเหนือ จุดเหนือสุดอยูที่แหลมนอรท (North Cape) ในประเทศนอรเวย ทิศใต ตดิ กบั ทะเลเมดิเตอรเ รเนียน จุดใตสุดอยทู เ่ี กาะครตี ประเทศกรีช ทิศตะวันออก ติดตอ กบั ทวีปเอเชยี โดยมเี ทือกเขาอูราล เทือกเขาคอเคซัสและทะเลแคสเปยนเปน เสนก้ันพรมแดน ทิศตะวันตก ติดตอกับมหาสมุทรแอตแลนติก จุดตะวันตกสุดของทวีปอยูท่ีแหลมโรคาประเทศ โปรตุเกส 2. ลักษณะภมู ปิ ระเทศ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศแบงออกเปน 4 เขต ไดแ ก 1. เขตเทอื กเขาตอนเหนือ ไดแก บรเิ วณคาบสมทุ รสแกนดิเนเวยี ภมู ปิ ระเทศสวนมากประกอบดวย เทือกเขาสงู และที่ราบชายฝงทะเล เทือกเขาที่สําคัญในบริเวณนี้ไดแก เทือกเขาเซอรอนและเทือกเขาแกรม เปย น เนอื่ งจากทวปี ยุโรปเคยถูกปกคลมุ ดวยนํ้าแขง็ มากอน บริเวณชายฝงทะเลถูกธารน้ําแข็งกัดเซาะและทับ ถม ทําใหเกิดชายฝงเวาแหวงและอาวน้ําลึกที่เรียกวา ฟยอรด พบมากในประเทศนอรเวยและแควน สกอตแลนด 2. เขตทีร่ าบสูงตอนกลาง ประกอบดวยที่ราบสูงสําคัญ ไดแก ท่ีราบสูงแบล็กฟอเรสตตอนใตของ เยอรมันนี ท่ีราบสูงโบฮีเมีย เขตติดตอระหวางเยอรมันนีและสาธารณรัฐเช็คท่ีราบเมเซตา ภาคกลางของ คาบสมุทรไซบเี รยี ในเขตประเทศสเปนและโปรตเุ กส ทีร่ าบสงู มัสชีพซองตรัล ตอนกลางของประเทศฝรั่งเศส 3. เขตที่ราบตอนกลาง ครอบคลุมพืน้ ทต่ี ้ังแตช ายฝง มหาสมุทรแอตแลนติกไปจนถึงเทอื กเขา อูราลในรัสเซีย ตะวันตกของฝร่ังเศส ตอนใตของสหราชอาณาจักรเบลเย่ียม เนเธอรแลนด เดนมารก ภาคเหนอื ของเยอรมันนโี ปแลนดและบางสว นของรสั เซยี เปน บรเิ วณท่ีมีประชากรอาศัยอยหู นาแนนท่สี ุด และมี ความสําคัญทางเศรษฐกิจอยางมาก เน่ืองจากเปนพ้ืนที่เกษตรกรรมท่ีสําคัญของทวีปในบริเวณนี้มีแมน้ําที่ สาํ คญั ไดแก แมน าํ้ ไรน แมน าํ้ เชน แมน้าํ ลวั ร และแมน าํ้ เอลเบ 4. เขตเทอื กเขาตอนใต ประกอบดวยเทือกเขาสงู เทือกเขาที่สาํ คญั ในบริเวณน้ไี ดแ ก เทือกเขาแอลป ซ่ึงเปนเทือกเขาที่มีขนาดใหญท่ีสุดในทวีปยุโรป ทอดตัวยาวต้ังแตตะวันออกเฉียงใตของฝร่ังเศส ผานสวิตเซอรแลนด เยอรมนั นี ออสเตรีย เซอรเ บยี ไปจนถงึ ทางเหนอื ของอิตาลี บรเิ วณยอดเขามีธารน้ําแข็ง

12 ปกคลมุ เกอื บตลอดท้ังป บางชวงเปนหุบเขาลึก ยอดเขาที่สูงทส่ี ุดในเทอื กเขาแอลป คอื มองตบ ลังก สูง 4,807 เมตร จากระดบั นํา้ ทะเล นอกจากนยี้ งั ประกอบดว ยยอดเขาคอเคซัส ทางตอนใตของรัสเซียมียอดเขาเอลบรูส สูง 5,642 เมตร จากระดบั น้าํ ทะเล ซ่ึงเปน ยอดเขาท่สี งู ที่สุดในยุโรป แมน้ํา แมนา้ํ ท่ีสาํ คัญในทวีปยโุ รป มดี งั นี้ แมน ํ้าโวลกา เปนแมนํ้าสายยาวทสี่ ดุ ในทวีป มีตน น้ําอยูบรเิ วณตอนกลางของสหพันธรฐั รสั เซียไหลลง สทู ะเลแคสเปยน แมน้ําดานูบ มีตนกําเนิดจากเทือกเขาทางภาคใตของเยอรมัน ไหลผานประเทศออสเตรีย ฮังการี ยโู กสลาเวีย พรมแดนระหวา งประเทศบลั แกเรียกับประเทศโรมาเนีย แลวไหลลงสูทะเลดํา แมนํ้าดานูบเปน แมนา้ํ ที่ไหลผา นหลายประเทศ ดังน้นั จงึ ถือวาเปนแมนํ้านานาชาติแตในดานความสําคัญของการขนสงสินคา อุตสาหกรรมน้ันมไี มมากเทา กบั แมน ํ้าไรน เน่ืองจากแมนํา้ ดานบู ไหลออกสทู ะเลดําซงึ่ เปนทะเลภายใน แมน้ําไรน มีตนกําเนิดจากเทือกเขาแอลปทางตอนใตของสวิสเซอรแลนด ไหลข้ึนไปทางเหนือ ระหวางพรมแดนฝร่ังเศสและเยอรมันไปยังเนเธอรแลนด แลวไหลลงทะเลเหนือ แมน้ําไรนเปนแมนํ้าท่ีมี ความสําคัญมาก มีปริมาณน้ําไหลสมํ่าเสมอ ไหลผานท่ีราบและไหลผานหลายประเทศจึงถือวาเปนแมน้ํา นานาชาติ และยังเปน เสนทางขนสง วัตถุดิบและสินคา ที่สําคญั คือ ถานหิน แรเหล็ก และแปงสาลี โดยเฉพาะ การขนสง ถานหนิ ซ่ึงมีปริมาณมากในยา นอตุ สาหกรรมถานหนิ ของเยอรมัน แมน ํา้ สายน้ีจึงไดรับสมญานามวา “แมนํ้าถานหิน” การขนสงสินคาผานทางแมน้ําไรนน้ี จะออกสูบริเวณปากแมน้ําซึ่งเปนที่ต้ังของเมืองทา รอตเตอรดัม (เนเธอรแ ลนด) ซ่ึงเปนเมืองทาที่สําคัญท่สี ุดของทวีป 3. ลักษณะภูมิอากาศ เขตอากาศ ปจ จัยที่มีอิทธพิ ลตอ ภูมภิ าคอากาศของทวปี ยโุ รป 1. ละตจิ ดู ทวปี ยโุ รปมีทตี่ ั้งอยรู ะหวางละติจดู 36 องศา 1 ลิปดาเหนือ ถึง 71 องศา 10 ลิปดาเหนือ พ้นื ท่สี ว นใหญอยูในเขตอบอนุ มเี พียงตอนบนของทวปี ท่ีอยใู นเขตอากาศหนาวเยน็ และ ไมมีสวนใดของทวีปท่ี อยูในเขตอากาศรอ น 2. ลมประจาํ ลมประจําทพี่ ัดผา นทวปี ยโุ รป คอื ลมตะวนั ตก ซึง่ พดั มาจากมหาสมทุ รแอตแลนตกิ เขา สทู วีปทางดา นตะวันตก มีผลทาํ ใหบรเิ วณฝง ตะวนั ตกของทวีปมีปริมาณฝนคอนขางมาก อุณหภูมิระหวางฤดู รอ นกบั ฤดูหนาวไมค อ ยแตกตางกันมากนัก แตถาลึกเขามาภายในทางดานตะวันออกของทวีปซึ่งติดกับทวีป เอเชียน้นั ปรมิ าณฝนจะลดลงและจะมคี วามแตกตา งของอณุ หภมู ิระหวางฤดรู อ นกับฤดูฝนมากขนึ้ ดว ย 3. ความใกลไ กลทะเล ทวีปยุโรปมีชายฝงทะเลยาวและเวาแหวง ประกอบกับมีพ้ืนท่ีติดทะเลถึง 3 ดาน ทาํ ใหไดรบั อทิ ธพิ ลจากทะเลและมหาสมุทรอยางท่ัวถึง โดยเฉพาะบริเวณที่อยูใกลชายฝง ดังน้ันจึงไมมี พ้ืนทใี่ ดในทวปี ยุโรปท่มี ภี มู อิ ากาศแหงแลง 4. ทิศทางของเทอื กเขา เทอื กเขาสวนใหญใ นทวีป วางตัวในแนวทิศตะวันออกตะวันตก ทําใหไมก้ัน ขวางทางลมตะวันตกท่ีพดั เขา สทู วีป

13 5. กระแสนํ้าในมหาสมุทร บริเวณ ชายฝ งมีกร ะแสนํ้ าอุน แอตแ ลนติก เหนื อ ไหลผานทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือ ของทวีป ทําใหนานนํ้าบริเวณเกาะบริเวนใหญ และประเทศนอรเวยไมเปนนํ้าแข็งในฤดูหนาว จึ ง แ ต ก ต า ง จ า ก บ ริ เ ว ณ ท ะ เ ล บ อ ล ติ ก ที่ น้ํากลายเปนน้ําแข็ง ทําใหประเทศสวีเดน ตอง เปลี่ยนเสนทางการขนสงสินคาจากทางเรือไป เปน การขนสงโดยใชเสนทางรถไฟจากสวีเดนไป ยังนอรเวยแลวจึงนําสินคาลงเรือที่เมืองทา ประเทศนอรเวย

14 เขตภูมอิ ากาศแบงออกไดเ ปน 7 เขต ดงั น้ี 1. ภูมิอากาศแบบทะเลเมดเิ ตอรเ รเน่ยี น ไดแก บริเวณชายฝงทะเลเมดิเตอรเรเนียนในเขตประเทศ อติ าลี ฝร่ังเศส ภาคใตข องสเปน แอลเบเนีย กรีซ บัลแกเรีย และเซอรเบีย ฤดูรอนมีอากาศรอน อุณหภูมิ เฉลยี่ 23 องศาเซสเซยี ส ในฤดหู นาวมอี ากาศอบอนุ และมีฝนตกอุณหภูมิเฉลีย่ 8 องศาเซลเซียส ปรมิ าณฝนตก เฉลีย่ 500 - 1,000 มิลลิเมตรตอป 2. ภมู อิ ากาศแบบทุงหญา ก่ึงทะเลทราย ไดแก บริเวณภาคกลางของคาบสมุทรไซบีเรีย ตอนเหนือ ของทะเลดําและทะเลแคสเปยน ในเขต ประเทศฮังการี ยูเครน โรมาเนีย และตอนใต ของรัสเซีย มีฝนตกนอยมาก เฉลี่ยปละ 250 - 500 มลิ ลเิ มตรตอ ป 3. ภูมิอากาศแบบพ้ืนสมุทร ไดแก สหราชอาณาจักร เนเธอรแลนด ฝร่ังเศส เดนมารก เบลเย่ียม และตอนเหนือของ เยอรมนี มีฝนตกชุกตลอดทั้งปเฉล่ีย 750- 1,500 มิลลิเมตรตอป ฤดูหนาวอากาศไม หนาวจัด อุณหภูมิเฉลี่ย 1 - 7 องศาเซลเซียส เ น่ื อ ง จ า ก ไ ด รั บ อิ ท ธิ พ ล จ า ก ก ร ะ แ ส น้ํ า อุ น แอตแลนติกเหนือ 4. ภูมอิ ากาศแบบอบอนุ ช้ืน ไดแ ก บริเวณทรี่ าบลมุ แมน้ําดานบู ในฮังการตี อนเหนือของเซอรเบียและ โรมาเนีย มีอากาศอบอนุ ฝนตกตลอดทัง้ ปเ ฉลี่ย 500 - 1,000 มิลลิเมตรตอป เน่ืองจากไดรับอิทธิพลความช้ืน จากทะเล 5. ภูมิอากาศแบบอบอุนชื้นภาคพ้ืนทวีป ไดแก ยุโรปตะวันออก และยุโรปกลาง รัสเซีย สาธารณ รัฐเช็ค สาธารณรฐั สโลวกั และโปแลนด ฤดหู นาวมอี ากาศหนาวและแหงแลง ฤดูรอนมีอากาศอบอุนและมีฝน ตก อุณหภูมิเฉลี่ย 19-20 องศาเซลเซยี ส ปริมาณฝน 500-750 มิลลิเมตรตอป 6. ภูมอิ ากาศแบบไทกา ไดแ ก ตอนเหนือของฟนแลนด สวเี ดน และนอรเวย ฤดูหนาวมีอากาศหนาว เย็นและยาวนาน อุณหภูมิเฉล่ีย 6 องศาเซลเซียส ฤดูรอนอากาศอบอุนอุณหภูมิเฉลี่ย 17 องศาเซลเซียส มี ปรมิ าณฝนตกนอยและสวนมากเปนหมิ ะเฉลย่ี 600 มลิ ลเิ มตรตอ ป 7. ภูมิอากาศแบบขั้วโลกหรือภูมิอากาศแบบทุนดรา ไดแก ทางเหนือของทวีปที่มีชายฝงติดกับ มหาสมทุ รอารก ติก ฤดูหนาวมีอากาศหนาวจดั และยาวนานปละ 10-11 เดือน ฤดูรอนมีอากาศอบอุนและสั้น เพียง 1-2 เดอื น อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดท้ังปประมาณ 10 องศาเซลเซียส ปริมาณฝนตกนอยมากและสวนมาก เปน หมิ ะ

15 4. ลกั ษณะเศรษฐกจิ และ สภาพแวดลอ มทางสงั คมวัฒนธรรม ลกั ษณะเศรษฐกจิ ทวีปยุโรปมีความเจริญท้ังในดานเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม โดยมีเขตเกษตรกรรมและ อตุ สาหกรรม ดังน้ี การทาํ เกษตรกรรม 1. เขตปลูกขา วสาลี ไดแก บริเวณท่ีราบภาคกลาง โดยเฉพาะบริเวณประเทศฮังการี โรมาเนยี ยูเครน ซึ่งเปน แหลง ผลติ ขาวสาลแี หลงใหญ 2. เขตทําไรป ศสุ ัตว สว นใหญจะพบในบรเิ วณเขตอากาศแหง แลง ไมคอยเหมาะกับการเพาะปลูกแต มหี ญาทส่ี ามารถเลยี้ งสตั วได เชน บริเวณชายฝง ทะเลแคสเปย น และท่ีราบสงู ของทวีป สตั วท ่เี ลีย้ งไดแ ก โคเนือ้ แกะ แพะ สวนการเลี้ยงโคนม จะพบบริเวณเขตอากาศชื้นภาคพื้นสมุทร เนื่องจากมีทุงหญาอุดมสมบูรณ มากกวา 3. เขตเกษตรกรรมแบบผสม ไดแ ก เขตท่มี กี ารเลยี้ งสัตวค วบคูกับการปลกู พืช เชน การปลกู ขา วสาลี ขา วบาเลย การเลีย้ งสตั ว เชน โคเนื้อ โคนม ซง่ึ พบมากบรเิ วณภาคตะวนั ตก และภาคกลางของทวีป 4. เขตเกษตรแบบเมดเิ ตอรเ รเนยี น พบบริเวณเขตชายฝงทะเลเมดิเตอรเ รเนยี น เชน อิตาลี กรีซ พชื สําคัญ ไดแ ก สม องนุ มะกอก 5. เขตเลยี้ งสตั วแบบเรรอน มกี ารเลีย้ งสตั วแ บบทม่ี กี ารยายถิ่นที่อยเู พื่อหาแหลงอาหารแหลงใหมท่ี อุดมสมบูรณก วา บรเิ วณทีม่ กี ารเลี้ยงสตั วแบบเรร อ น คือ บริเวณท่ีมีอากาศหนาวเย็น เชน ชายฝงมหาสมุทร อารกติก หรือเขตอากาศแบบทนุ ดรา การปา ไม แหลง ปาไมท ส่ี าํ คัญของทวีป คือ เขตภูมิอากาศแบบไทกา บริเวณคาบสมุทร สแกนดิเนเวีย ซึ่งจะมี ปา สนเปน บริเวณกวา ง การประมง จากลกั ษณะภูมิประเทศของทวปี ยุโรปทมี่ ีชายฝง ทะเลยาวและเวา แหวง ตดิ ทะเล ท้ัง 3 ดา น ประกอบ กบั การมกี ระแสนา้ํ อุนแอตแลนตกิ เหนือไหลผา นทาํ ใหในฤดหู นาวน้ําไมเปน น้าํ แข็ง จงึ กลายเปนแหลง ประมงท่ี สาํ คัญของทวีป มชี อื่ วา “ดอกเกอรแบงก (Dogger Bank) การเหมืองแร ทวปี ยโุ รปมีทรัพยากรทม่ี คี วามสําคัญมากตอ การทาํ อุตสาหกรรม ไดแก เหลก็ และถา นหนิ แรถ า นหิน ใชเ ปน เชอ้ื เพลงิ ในการถลงุ เหล็ก โดยมแี หลง ถานหนิ ที่สาํ คญั เชน ภาคเหนอื ของฝรงั่ เศส และภาคกลางของเบลเยยี่ ม เยอรมัน เปน ตน แรเหลก็ เมอื่ ผา นการถลุงแลว จะนําไปใชในอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา โดยมีแหลงแรเหล็กท่ี สาํ คญั เชน ประเทศสวีเดน ฝรงั่ เศส

16 น้ํามันปโตรเลยี มมี 2 แหลง ท่ีสําคัญ คอื ทะเลเหนอื และทะเลดํา การอุตสาหกรรม ทวีปยุโรปเปนศูนยก ลางอุตสาหกรรมทีส่ ําคญั แหงหน่ึงของโลก ประเทศท่ีมีชื่อเสียงมาก คือ สหราช อาณาจักร ฝร่ังเศส เบลเย่ียม สวีเดน โดยบริเวณน้ีจะมีแรเหล็กและถานหินซ่ึงเปนสวนสําคัญในการทํา อตุ สาหกรรม สภาพแวดลอ มทางสงั คมและวัฒนธรรม ลักษณะประชากร 1. มีประชากรมากเปน อนั ดับ 4 ของโลก และหนาแนน มากเปน อนั ดับ 2 ของโลก 2. มีการกระจายประชากรทว่ั ท้ังทวปี เนื่องจากความเหมาะสมในดานสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากร 3. บรเิ วณทีม่ ปี ระชากรหนาแนน คอื บริเวณทร่ี าบภาคตะวนั ตกและภาคกลางของทวปี สวนบริเวณที่ มีประชากรเบาบาง คือ บริเวณคาบสมุทรสแกนดิเนเวยี และเขตยโุ รปตะวันออก ประวัตศิ าสตร แบง ได 3 สมยั คอื 1. สมัยโบราณ หรือ อารยธรรมสมยั คลาสสิค มกี รกี และโรมันเปน ศูนยกลางความเจริญ โดยตั้งมัน่ อยู ทางตอนใตของทวีปยุโรปในแถบทะเลเมดเิ ตอรเ รเนยี น กรีก ชนชาติกรกี ไดถา ยทอดมรดกทางศิลปวัฒนธรรมไวห ลายประการ ไดแก 1. การปกครอง ชาวกรีกไดใหสทิ ธริ าษฎรในการลงคะแนนเสียงเลอื กเจา หนา ท่ีฝา ยปกครอง 2. ศิลปวัฒนธรรม ชาวกรีกมีความสามารถในดานวรรณคดี การละคร และสถาปตยกรรม สถาปตยกรรมท่ีมีช่ือเสียง คือ วิหารพาเธนอน นอกจากน้ียังมีการแขงขันกีฬาที่เปนท่ีรูจักกันดี คือ กีฬา โอลิมปก 3. ปรัชญาความคดิ นักปรัชญากรกี ที่มีชื่อเสยี ง คอื อริสโตเตลิ และเพลโต โรมัน ชนชาติโรมันไดรับความเจริญตางๆ จากกรีก ส่ิงท่ีชาวโรมันไดถายทอดใหกับชนรุนหลังคือ ประมวลกฎหมาย และภาษาละติน 2. สมัยกลาง ในชวงนี้ยุโรปมีศึกสงครามเกือบตลอดเวลา จนทําใหการพัฒนาดานตางๆ ตอง หยุดชะงกั ยุคนจ้ี งึ ไดช อื่ วาเปน “ยุคมดื ” หลังจากผา นพน ชวงสงครามจงึ เปนชว งของการฟนฟูศลิ ปะวิทยาการ เริ่มใหความสาํ คญั กบั มนุษยม ากขน้ึ เรยี กยุคน้ีวา ยคุ เรอเนสซองซ (Renaissance) 3. สมยั ใหม ยคุ น้ีเปนยุคแหง การแสวงหาอาณานิคม ทาํ ใหศ ิลปวัฒนธรรมของชาติตะวันตกแผขยาย ไปยงั ดินแดนตา งๆ นอกจากนย้ี ังมเี หตุการณสําคญั คือ การปฏิวัตวิ ทิ ยาศาสตรแ ละการปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรม

17 ทวปี อเมรกิ าใต 1. ขนาดที่ตัง้ และอาณาเขตติดตอ ทวีปอเมริกาใตเปนทวีปท่ีใหญเปนอันดับ 4 ของโลก รองจากทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา และทวีป อเมริกาเหนือ มีพ้ืนท่ปี ระมาณ 17.8 ลา นตารางกโิ ลเมตร มีประชากรประมาณ 299 ลานคน รูปรางของทวีป อเมริกาใตคลายคลึงกับทวีปอเมริกาเหนือ คือ มีลักษณะคลายรูปสามเหล่ียมหัวกลับ มีฐานกวางอยูทางทิศ เหนือ สวนยอดสามเหลย่ี มอยทู างทศิ ใต ตั้งอยูในแถบซีกโลกใต ระหวางละติจูด 12 องศา 25 ลิปดาเหนือ ถึง 56 องศาใตและลองติจูด 34 องศา 47 ลปิ ดาตะวนั ตก ถงึ 81 องศา 20 ลิปดาตะวนั ตก อาณาเขตของทวปี อเมรกิ าใตมีดงั น้ี อาณาเขตติดตอ ทิศเหนือ ติดกับทวีปอเมริกาเหนือ โดยมีคลองปานามาเปนเสนกั้นเขตแดนและติดตอกับทะเล แครบิ เบยี น ในมหาสมุทรแอตแลนตกิ จุดเหนือสุดอยูท่แี หลมกายีนาสในประเทศโคลอมเบยี ทศิ ใต ติดกับทวปี แอนตารกตกิ า มีชองแคบเดรกเปนเสนก้ันเขตแดน จุดใตสุดอยูที่แหลมโฟรวารด ในคาบสมุทรบรนั สวกิ ประเทศชลิ ี ทศิ ตะวนั ออก ติดกบั มหาสมุทรแอตแลนติก จดุ ตะวันออกสดุ อยูที่แหลมโคเคอรูส ในประเทศบราซิล ทศิ ตะวนั ตก ติดกับมหาสมทุ รแปซิฟก จุดตะวนั ตกสดุ อยทู ่แี หลมปารนี เยสในประเทศเปรู 2. ลกั ษณะภูมิประเทศ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของทวปี อเมริกาใตสามารถแบงออกได 3 ลกั ษณะไดแ ก 1. เขตเทือกเขาตะวนั ตก ไดแ ก บรเิ วณเทือกเขาแอนดีส ซ่งึ ทอดตวั ยาวขนานไปกับชายฝง มหาสมทุ ร แอตแลนติก ต้ังแตทางเหนือบริเวณทะเลแคริบเบียนไปจนถึงแหลมฮอรนทางตอนใต มีความยาวประมาณ 7,200 กิโลเมตร เปนแนวเทือกเขาที่ยาวที่สุดในโลกยอดเขาสูงท่ีสุดในบริเวณน้ี คือ ยอดเขาอะคองคากัว สูงประมาณ 6,924 เมตร จากระดับนํ้าทะเล บริเวณตอนกลางของเทือกเขามีท่ีราบสูงท่ีสําคัญคือ ที่ราบสูง โบลเิ วยี มคี วามสงู ถงึ 4,500 เมตร จากระดับนํา้ ทะเล และมีขนาดกวางใหญเปนอันดับ 2 ของโลก รองจากที่ ราบสูงทิเบต บนที่ราบสูงแหงนี้มีทะเลสาบซึ่งเปนทะเลสาบที่สูงท่ีสุดในโลก ไดแก ทะเลสาบติติกากา ใน ประเทศเอกวาดอร 2. เขตที่ราบสงู ตะวนั ออก ประกอบดว ยท่ีราบสูงสาํ คัญ 3 แหง ไดแ ก ท่ีราบสูงกิอานา ต้ังอยูทางตอนเหนือของทวีป ในเขตประเทศเวเนซูเอลา กายอานาซูรินาเม เฟรนซเ กยี นา และภาคเหนอื ของบราซิล มีลักษณะทเี่ ปนท่รี าบสงู สลับกบั เทือกเขาสลับซบั ซอ น ที่ราบสูงบราซิล ต้ังอยูตอนกลางของทวปี บรเิ วณตะวนั ออกของประเทศบราซลิ ต้งั อยูร ะหวางท่รี าบ ลมุ แมน้าํ แอมะซอน ที่ราบลมุ แมน าํ้ ปารานา และทร่ี าบลุม แมน้ําปารากวัย ทางตะวนั ออกมคี วามสูงชนั จากน้ัน คอ ยๆ ลาดตา่ํ ลงไปทางตะวันตก ที่ราบสงู ปาตาโกเนยี ต้ังอยูท างตอนใตข องทวปี ในเขตประเทศอารเจนตินาทางตะวันออกคอนขาง ราบเรียบและคอยๆ สงู ขน้ึ ไปเรือ่ ยๆ ทางตะวันตก

18 3. เขตท่รี าบลมุ แมนํ้า อยูบรเิ วณตอนกลางของทวปี เปนทีร่ าบดินตะกอนท่ีมีความอุดมสมบูรณและ กวา ง ตง้ั อยรู ะหวา งเทือกเขาแอนดสี และที่ราบสูงทางตะวันออก เขตท่ีราบลุมแมนํ้าที่สําคัญของทวีปอเมริกา ใตม ี 2 บริเวณไดแก ท่ีราบลุมแมนํ้าแอมะซอนหรืออเมซอน เปนท่ีราบลุมแมน้ําที่ใหญท่ีสุดในโลก มีพ้ืนที่ประมาณ 7 ลานตารางกิโลเมตร มีแมนํ้าหลายสายไหลผาน สวนมากมีตนกําเนิดจากเทือกเขาแอนดีสและไหลสู มหาสมทุ รแอตแลนตกิ แมน าํ้ ทีส่ ําคัญทส่ี ดุ ในบรเิ วณนี้คอื แมนํ้าแอมะซอน ท่ีราบลุมแมน้ําโอริโนโค อยูทางตอนเหนือของทวีป ในเขตประเทศโคลอมเบีย และเวเนซุเอลา บรเิ วณนีเ้ ปนเขตเลย้ี งสตั วท สี่ าํ คัญของทวีปอเมรกิ าใต แมน าํ้ ท่สี ําคัญในทวีปอเมรกิ าใต ไดแก แมน้ําแอมะซอน มีความยาว 6,440 กิโลเมตร เปนแมนํ้าที่มีความยาวเปน อันดับ 2 ของโลก รองจากแมนํ้าไนล มีตนกําเนิดจากเทือกเขาแอนดีส ไหลผานประเทศบราซิล ไหลลงสู มหาสมทุ รแอตแลนติก แมนํ้าปารานา มีความยาว 2,800 กิโลเมตรมีตนกําเนิดจากที่สูงทางตะวันออกของทวีป ไหลผาน ประเทศบราซิล ปารากวัย อารเ จนตนิ า ลงสมู หาสมุทรแอตแลนติกบรเิ วณอา วริโอเดอลาพลาตา แมนํ้าปารากวัย มีความยาว 2,550 กิโลเมตร มีตนกําเนิดจากท่ีสูงในประเทศบราซิลไหลผาน ประเทศบราซิล ปารากวยั ไปรวมกับแมน าํ้ ปารานาในเขตประเทศอารเ จนตนิ า 3. ลักษณะภูมิอากาศ ปจ จยั ที่มอี ทิ ธพิ ลตอภมู ิอากาศของทวปี อเมรกิ าใต 1. ละติจดู พ้ืนทสี่ ว นใหญข องทวีปครอบคลุมเขตอากาศรอ น และประมาณ 1 ใน 3 ของพน้ื ท่ีทวีปเปน อากาศแบบอบอุน ภมู ภิ าคทางเหนอื ของทวีปจะมีฤดูกาลทีต่ รงขามกบั ภมู ภิ าคทางใต 2. ลมประจาํ ไดแก 2.1 ลมสินคาตะวันออกเฉียงเหนือพัดผานมหาสมุทรแอตแลนติกจึงนําความชุมชื้นเขาสูทวีป บริเวณชายฝง ตะวันออกเฉยี งเหนือ 2.2 ลมสินคาตะวนั ออกเฉียงใตพ ัดผานมหาสมุทรแอตแลนตกิ จงึ นาํ ความชุม ชน้ื เขาสูทวีปบรเิ วณ ชายฝง ตะวนั ออกเฉยี งใต 2.3 ลมตะวันตกเฉยี งเหนือ พัดผานมหาสมทุ รแปซิฟกจึงนําความชุมช้ืนเขาสูทวีปบริเวณชายฝง ตะวันตกของทวปี ตั้งแตประมาณละติจดู 40 องศาใตลงไป 3. ทิศทางของเทอื กเขา ทวีปอเมริกาใตม ีเทือกเขาสงู อยูทางตะวันตกของทวีป ดังน้ันจึงเปนสิ่งท่ีก้ัน ขวางอิทธิพลจากทะเลและมหาสมุทร ทําใหบริเวณท่ีใกลเทือกเขา คอนขางแหงแลง แตในทางตรงกันขาม ชายฝงดา นตะวันออกจะไดร ับอิทธิพลจากทะเลอยา งเต็มที่ 4. กระแสน้ํา มี 3 สายทสี่ าํ คญั คอื 4.1 กระแสน้ําอนุ บราซิล ไหลเลยี บชายฝง ของประเทศบราซิล

19 4.2 กระแสนา้ํ เย็นฟอลกแลนด ไหลเลยี บชายฝง ประเทศอารเ จนตนิ า 4.3 กระแสนา้ํ เยน็ เปรู (ฮมั โบลด) ไหลเลียบชายฝงประเทศเปรูและชิลี เขตภมู ิอากาศแบงออกไดเ ปน 8 เขต ดงั น้ี 1. ภูมอิ ากาศแบบปาดิบชืน้ ไดแก บรเิ วณท่รี าบลุมแมน้ําแอมะซอน เปน บรเิ วณท่ีมอี ากาศเยน็ ปาดบิ ช้ืนทกี่ วา งใหญท่ีสุดในโลกสว นใหญม พี ้ืนท่ีอยูประเทศบราซลิ มอี ณุ หภูมิสงู เฉลยี่ 27 องศาเซลเซียส มฝี นตกชุก เกือบตลอดทั้งปป ระมาณ 2,000 มลิ ลิเมตรตอ ป 2. ภูมอิ ากาศแบบทงุ หญา เขตรอ น ไดแ ก บรเิ วณตอนเหนือและใตข องลมุ แมนํ้าแอมะซอน มีอากาศ รอนและแหงแลง ฤดูรอนมีฝนตกแตไมชุกเหมือนในเขตปาดิบชื้น อุณหภูมิสูงเฉล่ีย 27 องศาเซลเซียส มี ลักษณะอากาศคลา ยกับภาคกลางและภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทย 3. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย ไดแก ภาคใตของเปรแู ละภาคเหนอื ของชิลี เปนบริเวณท่ีรอนและแหง แลงมาก มปี รมิ าณฝนตกเฉล่ียตาํ่ กวา 250 มลิ ลิเมตรตอ ป และบางครง้ั ฝนไมตกยาวนานติดตอกันหลายเดือน ทะเลทรายท่ีสําคัญในบริเวณน้ีไดแก ทะเลทรายอะตากามาในประเทศชิลี ในบริเวณนี้มีฝนตกนอยกวา 50 มลิ ลิเมตรตอ ป บางคร้งั ฝนไมตกตดิ ตอกันเปนเวลานานหลายป จัดเปน ทะเลทรายท่ีแหงแลง มากทส่ี ุดแหงหนึ่ง ของโลก 4. ภมู อิ ากาศแบบทุงหญา ก่งึ ทะเลทราย ไดแก ทางตะวันออกของประเทศอารเ จนตินาจนถึงทร่ี าบสูง ปาตาโกเนีย อุณหภูมิไมสูงนักเฉล่ีย 18 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวมีอากาศหนาวเย็น ฤดูรอนมีอากาศรอน ปรมิ าณฝนนอ ยประมาณ 500 มิลลเิ มตรตอ ป 5. ภมู ิอากาศแบบเมดิเตอรเรเนียน ไดแก บรเิ วณชายฝง มหาสมทุ รแปซฟิ ก ตอนกลางของประเทศชลิ ี ในฤดูรอนมีอากาศรอ นและแหงแลง ฤดหู นาวมีฝนตก 6. ภูมิอากาศแบบอบอุนชื้น ไดแก บริเวณตะวันตกเฉียงใตของทวีป ต้ังแตตอนใตของบราซิล ปารากวัย อรุ ุกกวยั และตะวันออกเฉียงเหนือของอารเจนตินา อากาศในบริเวณนี้ไมแตกตางกันมากนัก ฤดู หนาวมอี ากาศอบอุน ฤดูรอนมฝี นตกเฉล่ยี 750 – 1,500 มิลลเิ มตรตอ ป 7. ภมู ิอากาศแบบภาคฟน สมทุ ร ไดแ ก บริเวณชายฝง ทะเลอากาศหนาวจัด มีฝนตกเกือบตลอดทั้งป โดยเฉพาะในฤดหู นาวและฤดูใบไมรว งเฉลยี่ 5,000 มลิ ลเิ มตรตอป 8. ภมู ิอากาศแบบท่ีสงู ไดแก บริเวณเทอื กเขาแอนดีส เปนบรเิ วณท่ีมคี วามแตกตางกนั มาก ขึ้นอยูกับ ระดบั ความสูงของพน้ื ที่ คือ บริเวณทร่ี าบมีอณุ หภูมสิ งู และฝนตกชุก เม่ือสูงข้ึนอุณหภูมิและปริมาณนํ้าฝนจะ ลดลงไปเรื่อยๆ ยง่ิ สงู กวาระดบั นํ้าทะเลประมาณ 3,000 เมตร มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั้งปประมาณ 15 องศา เซลเซยี ส ปรมิ าณฝนตกเฉลีย่ 1,000 มลิ ลเิ มตรตอป ในขณะท่ปี ระเทศอ่ืนทอี่ ยูบ รเิ วณเสนศูนยสูตร แตต้ังอยู บนท่ีราบ เชน มาเลเซีย มีอุณหภูมิเฉล่ีย 27 องศาเซียส และมีฝนตกชุกตลอดท้ังปสูงกวา 2,500 มิลลิเมตร ตอป

20 4. ลักษณะเศรษฐกิจและ สภาพแวดลอ มทางสงั คม วัฒนธรรม ลกั ษณะเศรษฐกจิ การทําเกษตรกรรม 1. จากลกั ษณะอากาศของทวีป เหมาะกบั การปลกู พชื เมืองรอน เชน กาแฟ กลวย โกโก ออย ยาสูบ โดยเฉพาะกาแฟมีผผู ลติ รายใหญ คอื บราซิลและโคลมั เบีย 2. บริเวณท่ีราบลุมแมน้ําปารานา – ปารากวัย – อุรุกวัย มีความเหมาะสมในการปลูกขาวสาลี เนือ่ งจากอยใู นเขตอบอนุ และเปนทีร่ าบลมุ แมน ้ําทมี่ ีความอุดมสมบูรณโดยเฉพาะในเขตประเทศอารเ จนตนิ า 3. การเพาะปลูกในทวีปมีทั้งการเพาะปลกู เปนไรการคาขนาดใหญ ท่ีเรียกวา เอสตันเซีย และมีการ เพาะปลกู แบบยงั ชพี การเลี้ยงสัตว การเลี้ยงสัตวในทวีปอเมริกาใตกระทาํ อยา งกวา งขวาง ดังน้ี 1. ทุงหญาปามปส เปน เขตปศุสตั วข นาดใหญ มีการเล้ยี งโคเนอื้ โคนม แกะ 2. ทงุ หญายาโนส และทงุ หญา แกมโปส เปนเขตเล้ียงโคเน้อื 3. ทงุ หญา ก่ึงทะเลทราย บรเิ วณท่ีราบสูงปาตาโกเนีย มีการเลยี้ งแกะพันธขุ น ประเทศท่ีสง เนอ้ื สตั วเ ปน สินคา ออกจํานวนมาก คือ ประเทศอารเ จนตินา อุรุกวยั บราซลิ การประมง แหลงประมงทส่ี าํ คญั ของทวีป คอื บริเวณชายฝง ประเทศเปรแู ละชลิ ี ซ่งึ มีกระแสนาํ้ เย็นเปรู (ฮัมโบลด) ไหลผา น มปี ลาแอนโชวีเปนจํานวนมาก นอกจากน้ียังมีการจับปลาตามลุมแมน้ําตาง ๆ โดยชาวพื้นเมืองอีก ดว ย แตเปนการจับปลาเพ่อื ยังชพี การปาไม การทําปาไมในทวีปมีไมมากนักเน่ืองจากความไมสะดวกในการคมนาคมและการขนสง เขตท่ีมี ความสําคญั ในการทาํ ปา ไม คอื ภาคตะวันออกเฉยี งใตข องบราซิล การทาํ เหมืองแร ทวีปอเมรกิ าใตเ ปน แหลงผลติ พืชเมืองรอนและสินแร การทําเหมืองแรมีความสําคัญรองจากการทํา เกษตรกรรม โดยมีแหลง แรท ี่สําคัญดงั น้ี อตุ สาหกรรม การอุตสาหกรรมในทวปี ยงั ไมคอยมีความเจรญิ มากนัก เน่ืองจากขาดเงินทุน และยังตองอาศัยความ รวมมือและการรวมลงทุนจากตางชาติ ประเทศที่มีความเจรญิ ทางดา นอตุ สาหกรรม คือ อารเจนตินา บราซิล ชลิ ี เวเนซุเอลา

21 ทวีปอเมรกิ าเหนอื 1. ขนาดทีต่ ั้งและอาณาเขตติดตอ ทวีปอเมรกิ าเหนอื เปนทวีปท่ีมีขนาดกวางใหญโดยมีขนาดใหญเปนอันดับท่ี 3 ของโลกรองจากทวีป เอเชยี และทวีปแอฟริกามีพื้นทปี่ ระมาณ 24 ลา นตารางกโิ ลเมตร รปู รางของทวปี อเมรกิ าเหนอื มลี ักษณะคลา ย สามเหลีย่ มหวั กลับมฐี านกวางอยูทางทศิ เหนอื สวนยอดสามเหลี่ยมอยทู างทศิ ใต ดวยความกวางใหญของทวีป จงึ มีความหลากหลายท้งั ในดา นลักษณะทางกายภาพทรัพยากรธรรมชาติและเปนที่รวมของชนชาติหลายเชื้อ ชาตจิ นกลายเปนเบา หลอมทางวัฒนธรรม อีกทงั้ มีความเจริญกาวหนา ในดานเทคโนโลยีและเปนศูนยรวมของ วัฒนธรรมตาง ๆ ตั้งอยูในแถบซีกโลกเหนือระหวางละติจูด 7 องศา 15 ลิปดาเหนือถึง 83 องศา 38 ลิปดา เหนือและลองจจิ ูด 55 องศา 42 ลิปดาตะวันตก 172 องศา 30 ลิปดาตะวนั ออก อาณาเขตติดตอ ทิศเหนือ ตดิ กับทะเลโบฟอรตในมหาสมทุ รอารก ติกและข้วั โลกเหนอื จดุ เหนอื สุดอยูท่แี หลมมอรสิ เจ ซปุ เกาะกรนี แลนดแ ละประเทศแคนาดา ทศิ ใต ตดิ กับทวีปอเมริกาใต (มคี ลองปานามาเปนเสนแบง ทวีป) ทะลแครบิ เบยี นในมหาสมทุ รแปซฟิ ก และอาวเมก็ ซโิ กในมหาสมทุ รแอตแลนตกิ ทิศตะวันออก ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก จุดตะวันออกสุดของทวีปอยูท่ีคาบสมุทรลาบราดอร ประเทศแคนาดา ทศิ ตะวันตก ติดกับมหาสมุทรแปซฟิ ก จุดตะวนั ตกสดุ ของทวีปอยูทแี่ หลมปรนิ ซออฟเวลรัฐอะลาสกา ประเทศสหรฐั อเมริกา

22

23 2. ลักษณะภมู ปิ ระเทศ ลักษณะภมู ิประเทศของทวปี อเมริกาเหนอื สามารถแบง ออกได 3 ลักษณะ ไดแ ก 1. เขตเทอื กเขาภาคตะวันออก เริ่มตั้งแตเกาะนิวฟนดแลนดทางตะวันออกเฉียงเหนือของแคนาดา จนถงึ ตะวนั ออกเฉยี งใตข องสหรฐั อเมริกา ประกอบดว ยเทือกเขาและทร่ี าบสูงแตไมส งู นกั ยอดเขาท่สี ูงที่สุดคือ ยอดเขามติ เชล มคี วามสงู 2,037 เมตร เทือกเขาท่ีสําคัญ คือ เทือกเขาแอปปาเลเซียน นอกจากน้ียังมีที่ราบ แคบ ๆ ขนานไปกบั ชายฝง ทะเล บางสวนลาดลงทะเลกลายเปน ไหลท วีป 2.เขตเทอื กเขาสงู ภาคตะวันตก ไดแก พ้ืนที่ชายฝงตะวันตกดานมหาสมุทรแปซิฟก ต้ังแตเทือกเขา ตอนเหนือสุดบริเวณชอ งแคบแบรงิ ทอดตัวยาวทางใตของทวปี ประกอบดวยเทือกเขาสูงสลับซับซอนจํานวน มาก ยอดเขาท่สี งู ที่สุด คอื ยอดเขาแมกคนิ เลย สูง 6,096 เมตร ในเทอื กเขาอะลาสกา นอกจากนย้ี ังมีเทือกเขา ร็อกกีและเทือกเขาแมกเคนซี ระหวางเทือกเขาสูงมีท่ีราบสูงจํานวนมาก ท่ีสําคัญไดแก ที่ราบสูงอะลาสกา ทร่ี าบโคโรราโด ทรี่ าบสูงเม็กซิโก และทร่ี าบสูงบรติ ชิ โคลมั เบยี เขตเทือกเขาสูงบริเวณน้ีมภี ูมิประเทศที่สวยงาม ที่มที ง้ั เทอื กเขาสงู สลับกบั ที่ราบสงู หุบเขาลึกชนั เกดิ เปน โตรกเขาทีเ่ กดิ จากการกดั เซาะของแมนํ้า โตรกเขาท่ี มีช่ือเสียงท่ีสุด คือ แกรนดแคนยอน (grand canyon) ท่ีเกิดจากการกัดเซาะของแมน้ําโคโรราโด รฐั แอริโซนาประเทศสหรัฐอเมริกา 3. เขตทรี่ าบภาคกลาง เปน ทีร่ าบขนาดกวางใหญ อยูระหวางเทือกเขาตะวันออกและตะวันตก เร่ิม ต้งั แตชายฝง มหาสมทุ รอารติกจนถึงชายฝงอาวเม็กซิโก มลี ักษณะเปนที่ราบลกู คลนื่ อันเกดิ จากการกระทําของ ธารน้าํ แขง็ และการทบั ถมของตะกอนจากแมน ้าํ ที่ราบทสี่ าํ คญั ไดแก ทร่ี าบลมุ ทะเลสาบทงั้ หา ทีร่ าบลมุ แมน้ํา แมกแคนซี ท่ีราบลมุ แมน ํ้ามิสซิสซปิ ป- มสิ ซูร่ี ทีร่ าบแพรีและทีร่ าบชายฝงอาวเมก็ ซโิ ก แมนํ้าท่สี ําคัญในทวปี อเมรกิ าเหนือ มดี ังน้ี แมนํา้ มิสซิสซปิ ป เกดิ จากเทอื กเขาสูงทางตะวนั ตกของทวีป เปน แมน้ําสายทย่ี าวทีส่ ดุ ในทวปี ไหลผา น ทร่ี าบกวา งลงสอู าวเม็กซิโก เปนเขตทร่ี าบทมี่ ตี ะกอนทบั ถมเปนบริเวณกวาง จึงเหมาะแกการเพาะปลูก และ เปนเขตประชากรหนาแนน แมน ํ้าเซนตลอวเ รนซ ไหลจากทะเลสาบเกรตเลค ออกสูมหาสมุทรแอตแลนติก แมน ้าํ สายนใ้ี ชใ นการ ขนสงสินคาหรอื วัตถุดบิ ทางอตุ สาหกรรม (เน่ืองจากบริเวณรอบๆ เกรตเลคเปนเขตอุตสาหกรรม) แตปญหา สาํ คัญของแมนาํ้ สายนี้ คือ จะมีระยะท่ีเดินเรือไมไดในฤดูหนาว ลักษณะพิเศษของแมน้ําเซนตลอวเรนซ คือ มีการขุดรอ งนา้ํ และสรา งประตูก้ันน้ําเปน ระยะๆ เนื่องมาจากบรเิ วณแมน ํา้ มีแกง น้าํ ตกขวางหลายแหง เสน ทาง การขนสง สินคา และเดนิ เรือน้ี เรียกวา “เซนตลอวเรนซซเี วย” (St. Lawrence Seaway) แมน้ําริโอแกรนด กัน้ พรมแดนระหวา งประเทศสหรัฐอเมรกิ ากับประเทศเม็กซโิ ก

24 3. ลักษณะภูมอิ ากาศ ปจ จัยท่ีมอี ิทธพิ ลตอ ภมู ิอากาศของทวีปอเมรกิ าเหนอื 1. ละตจิ ูด ทวปี อเมรกิ าเหนอื ตง้ั อยูระหวางละตจิ ูด 7 องศา 15 ลิปดาเหนือ ถึง 83 องศา 38 ลิปดา เหนอื ใกลข ั้วโลกเหนอื จงึ ทาํ ใหม ีเขตภมู ิอากาศทุกประเภทต้งั แตอากาศรอนไปจนถึงอากาศหนาวเย็นแบบขั้ว โลก 2. ลมประจาํ ลมประจาํ ท่พี ดั ผา นทวีปอเมริกาเหนือ มีความแตกตางกนั ตามชวงละติจูด มลี มประจํา ท่ีสาํ คัญดังน้ี 1) ลมดา นตะวันออกเฉียงเหนือ พัดตั้งแตละติจูด 40 องศาเหนือลงไปทางใตพัดผานมหาสมุทร แอตแลนติกเขาสูทวีป จึงนําความชุม ช้ืนมาใหชายฝงตะวันออกของทวีปตลอดท้ังป ต้ังแตตอนใตของ สหรัฐอเมริกา อเมรกิ ากลางและหมูเกาะอนิ ดสิ ตะวันตก 2) ลมตะวันตกเฉียงใต พัดตั้งแตละติจูด 40 องศาเหนือถึง 60 องศาเหนือ พัดจากมหาสมุทร แปซฟิ กเขาสตู อนกลางถงึ ตอนเหนือของสหรฐั อเมรกิ าและตอนใตข องแคนาดา 3) ลมขัว้ โลก พัดอยูบรเิ วณขั้วโลกนําความหนาวเย็นมาใหพ น้ื ท่ที างตอนบนของทวปี 3. ความใกลไกลทะเล จากลักษณะรปู รา งของทวีปอเมริกาเหนอื ซึง่ ตอนบนจะกวา งใหญ และคอ ยๆ เรียวแคบลงมาทางตอนใต ทําใหตอนบนของทวีปไดรับอิทธิพลจากมหาสมุทรนอย จึงทําใหพ้ืนท่ีตอนบนมี ภมู ิอากาศคอนขา งแหงแลง 4. ทิศทางของเทือกเขา ทิศทางการวางตวั ของเทือกเขาในทวีปอเมรกิ าเหนือเปนสวนสาํ คญั ในการทาํ ใหพ้ืนที่ทางตอนในของทวีปมีอากาศคอนขางแหงแลง โดยเฉพาะเทือกเขาทางตะวันตกของทวีป ซ่ึงเปน เทือกเขายุคใหมทีส่ ูงมาก จงึ ขวางกน้ั ความช้ืนทีม่ ากบั ลมประจาํ 5. กระแสนํา้ ทวปี อเมรกิ าเหนือมีกระแสนาํ้ 4 สาย ซ่งึ มอี ิทธิพลตออากาศบริเวณชายฝงโดยกระแส น้าํ อนุ ทําใหอ ากาศบรเิ วณชายฝง อบอุนชุมชนื สวนกระแสนํา้ เย็นทาํ ใหอากาศบรเิ วณชายฝง เยน็ และแหง แลง 1) กระแสนํา้ อนุ กัลฟสตรมี ไหลเลยี บชายฝงตะวันออกของเมก็ ซโิ ก และสหรัฐอเมรกิ าทางใตข้นึ ไป ทางตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของเกาะนิวฟนดแลนดข องแคนาดา 2) กระแสน้ําเย็นแลบราดอร ไหลเลียบชายฝงตะวันตกของเกาะกรีนแลนดลงมาจนถึงชายฝง ตะวนั ออกของแคนาดา พบกับกระแสน้าํ อุน กัลฟสตรีม บรเิ วณเกาะนิวฟน ดแลนดจึงทําใหบริเวณนี้เปนแหลง ปลาชุม เนือ่ งจากมอี าหารปลาจํานวนมาก กลายเปน เขตทาํ ประมงท่สี ําคญั เรียกบริเวณน้วี า “แกรนดแบงค” (Grand Bank) 3) กระแสนํ้าอุนอลาสกา ไหลเลียบชายฝงตะวันตกของรัฐอลาสกาข้ึนไปทางเหนือจนถึงชอง แคบเบรงิ ทาํ ใหชายฝง อบอุน นํา้ ไมเปน นา้ํ แขง็ สามารถจอดเรอื ไดตลอดป 4) กระแสน้ําเย็นแคลิฟอรเนีย ไหลเลียบชายฝงตะวันตกของสหรัฐอเมริกาลงมาทางใตจนถึง ชายฝงคาบสมทุ รแคลฟิ อรเ นีย ทาํ ใหชายฝงมอี ากาศเยน็ และแหง พายุ พายทุ ม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ ลมฟาอากาศของทวปี อเมริกาเหนือเปน อยา งมากคือ

25 1. พายุเฮอริเคน เปนพายุหมุนเขตรอน เชนเดียวกับใตฝุน พายุน้ีเกิดในทะเล แคริเบียน และอาวเม็กซิโก เปนพายุที่ทําใหฝนตกหนัก คล่ืนลมแรงเคล่ือนตัวจากทะเลเขาสูชายฝงของ สหรฐั อเมรกิ า เมก็ ซโิ ก และหมูเ กาะในทะเลแคริเบียน 2. พายทุ อรนาโด เน่อื งจากบริเวณภาคกลางของสหรัฐอเมริกาเปนพื้นท่ีโลงกวาง ทําใหมวลอากาศ ปะทะกันไดง ายเกิดเปนพายุหมนุ ทอรนาโด มกี ําลังแรงมาก กอใหเกิดความเสียหายกับบานเรือนในรอบ 1 ป เกิดพายุน้ีไดบ อ ยครั้ง จนไดรบั สมญานามวา “พายปุ ระจําถ่ิน” ของสหรัฐอเมรกิ า เขตภมู ิอากาศแบงออกไดเ ปน 12 เขต ไดแ ก 1. ภูมิอากาศแบบรอนช้ืน ไดแก บริเวณชายฝงตะวันออกของอเมริกากลาง และบางสวนของหมู เกาะอินดีสตะวันตก มีอากาศรอนเกือบตลอดทั้งป อุณหภูมิเฉล่ีย 18 องศาเซลเซียสและมีฝนตกชุกเฉลี่ย 1,700 มิลลเิ มตรตอป ในเขตน้ไี มมฤี ดูหนาว 2. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย ไดแก บรเิ วณภาคตะวนั ตกเฉยี งใตของสหรฐั อเมริกาและภาคเหนอื ของ เมก็ ซโิ ก มีอากาศรอนจดั และมีฝนตกนอ ยมาก เฉล่ีย 250 มิลลิเมตรตอ ป 3. ภูมิอากาศแบบทุงหญาเขตรอน ไดแก ชายฝงตะวันตกของอเมริกากลาง พ้ืนท่ีสวนใหญของ เม็กซิโก บางสว นของหมเู กาะอินดสี ตะวนั ตก และทางตอนใตสุดของคาบสมทุ รฟลอรดิ า มอี ณุ หภูมแิ ตกตางกัน มากระหวา งฤดูรอนและฤดหู นาว คือ ฤดูหนาวอากาศหนาวจดั ฤดูรอนมีอากาศรอ นจดั และมีฝนตก 4. ภมู ิอากาศแบบทงุ หญาก่ึงทะเลทราย ไดแก บรเิ วณชายขอบของเขตทะเลทรายเร่ิมตง้ั แตบางสวน ของประเทศแคนาดาและเมก็ ซโิ ก ทางตะวนั ตกและตะวันตกเฉียงใตของสหรัฐอเมรกิ า มลี ักษณะภูมิอากาศก่ึง แหง แลง ฤดหู นาวมอี ากาศหนาวจัด ฤดรู อนมอี ากาศรอนและแหง แลง ปรมิ าณฝนไมมากนัก แตม ากกวา ในเขต ทะเลทราย 5. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอรเรเนียน ไดแก บริเวณชายฝงมหาสมุทรแปซิฟก ในเขตรัฐแคลิฟอรเนีย ของสหรัฐอเมริกา ในฤดูรอนมีอากาศไมรอนจัด ในฤดูหนาวมีอากาศอบอุนแหงแลงและ มฝี นตก 6. ภมู อิ ากาศแบบอบอุนชื้น ไดแก บริเวณที่ราบชายฝงมหาสมุทรแอตแลนติกและท่ีราบตอนกลาง ของทวปี อณุ หภมู ิเฉลย่ี ตลอดทั้งปม ีความใกลเ คยี งกนั มีฝนตกเกือบตลอดทงั้ ปเ ฉล่ยี 750 มลิ ลิเมตรตอ ป 7. ภูมิอากาศแบบภาคพ้ืนสมุทรชายฝงตะวันตก ไดแก ชายฝงมหาสมุทรแปซิฟกในเขต สหรฐั อเมริกาและแคนาดา มีฝนตกชุกเกือบตลอดท้ังปเฉลี่ย 2,000 มิลลิเมตรตอป ฤดูรอนมีอากาศรอนชื้น และ ฤดหู นาวมีอากาศเยน็ สบาย 8. ภูมิอากาศแบบช้ืนภาคพื้นทวีป ไดแก ตอนใตของประเทศแคนาดารอบๆ ทะเลสาบท้ัง 5 และ ภาคเหนอื ของสหรัฐอเมริกา ในฤดูหนาวมีอากาศหนาวเยน็ ในฤดูรอ นมีอากาศอบอนุ และมีฝนตก 9. ภูมิอากาศแบบไทกา ไดแก ภาคเหนือของประเทศแคนาดา และตอนใตของรัฐอะลาสกา สหรฐั อเมริกา เปน บริเวณท่ีมอี ากาศหนาวจดั มีหมิ ะตกตดิ ตอ กนั หลายเดือนฤดูรอนมอี ากาศเย็น มีปริมาณฝน ตกนอ ยและระยะสัน้ ๆ

26 10. ภมู ิอากาศแบบทุนดรา ไดแก ชายฝงมหาสมุทรอารกติก ภาคเหนือของแคนาดา รัฐอะลาสกา ของสหรัฐอเมริกา และชายฝง เกาะกรีนแลนด มอี ากาศหนาวจดั เกอื บตลอดทง้ั ป ฤดูรอ นมชี วงสนั้ และอณุ หภูมิ ต่ําเฉลย่ี ตลอดทง้ั ป 10 องศาเซลเซียส 11. ภมู อิ ากาศแบบขวั้ โลก ไดแ ก ตอนกลางของเกาะกรีนแลนด มีอากาศหนาวจัดมีน้ําแข็งปกคลุม เกือบตลอดทง้ั ป บรเิ วณตอนกลางของเกาะมนี ้าํ แข็งปกคลุมหนาถึง 3,000 เมตร 12. ภูมิอากาศแบบบริเวณภูเขาสูง ไดแก เทือกเขาสูงในภาคตะวันตก เปนบริเวณที่มีอุณหภูมิ แตกตางกันมาก ข้ึนอยูกับความสูงของพ้ืนท่ี เชน ในฤดูรอนดานท่ีรับแสงแดดอากาศรอนจัด ในดานตรงกัน ขา มจะมีอากาศหนาวเยน็ ในแถบหบุ เขาจะมอี ากาศหนาวเยน็ โดยเฉพาะในเวลากลางคนื อุณหภมู จิ ะตํ่าลงเม่ือ ความสูงเพิ่มขนึ้ บรเิ วณยอดเขามนี ํา้ แข็งปกคลมุ อยู ในบรเิ วณน้ีมีฝนตกนอ ย 4. สภาพเศรษฐกิจ และสภาพแวดลอมทางสังคมวัฒนธรรม ลักษณะเศรษฐกิจ ลักษณะเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือจะมีความแตกตางกัน คือ ในสหรัฐอเมรกิ า แคนาดา จะเปน เขตเศรษฐกจิ ท่มี ีความเจริญสูง สว นในเขตของเม็กซโิ ก อเมรกิ ากลางและหมู เกาะอินดีสตะวันตกจะมีท้ังเขตเศรษฐกจิ ท่เี จรญิ แลว และเขตท่ยี ังตองไดร ับการพัฒนา การทาํ เกษตรกรรม 1. เขตปลูกขาวสาลี บริเวณที่มีการปลูกขาวสาลี ซ่ึงถือเปนแหลงสําคัญของโลก คือ บริเวณภาค กลางของแคนาดาและสหรฐั อเมรกิ า 2. เขตทําไรปศุสัตว พบในบริเวณท่ีภูมิอากาศคอนขางแหงแลง เชน ภาคตะวันตกของแคนาดา สหรฐั อเมริกา และเมก็ ซโิ ก สตั วทเ่ี ลย้ี ง คอื โคเนอ้ื 3. เขตเกษตรกรรมแบบผสม ไดแ ก เขตท่มี กี ารเลี้ยงสัตวค วบคกู ับการปลกู พชื เชน ขาวสาลี ขา วโพด สวนสตั วเลยี้ งคือ โคเนอ้ื โคนม การเกษตรลักษณะน้ีพบบรเิ วณทางตะวันออกของสหรฐั อเมริกาและแคนาดา 4. เขตปลกู ฝาย ไดแ ก บริเวณทางตะวันตกของสหรฐั อเมรกิ า ซ่ึงเปนเขตทมี่ ีอากาศคอ นขา งรอ นและ แหง แลง 5. เขตปลูกผกั ผลไมและไรย าสบู ไดแ ก บริเวณที่ราบชายฝง มหาสมทุ รแอตแลนตกิ 6. เขตปลูกพืชเมืองรอน พืชเมืองรอนท่ีนิยมปลูกคือ กลวย โกโก ออย กาแฟ ซึ่งมีมากบริเวณ อเมริกากลางและหมเู กาะอินดสี ตะวันตก การประมง บรเิ วณท่ีมีการทาํ ประมงกัน อยางหนาแนน คือ แกรนดแบงค และบริเวณชายฝงมหาสมุทรแปซิฟก โดยเฉพาะบริเวณท่ีมีกระแสนํา้ เย็นแคลิฟอรเ นยี ไหลผาน การทาํ เหมอื งแร ถานหิน สหรัฐอเมรกิ าและแคนาดา สามารถผลติ ถานหนิ ไดเ ปนจาํ นวนมาก โดยมีแหลงผลิตท่ีสําคัญ คอื บริเวณเทอื กเขาแอปปาเลเซียน ในสหรฐั อเมริกา และมณฑลควเิ บกของแคนาดา

27 เหลก็ แหลง สําคัญ คือ ทะเลสาบเกรตแลค น้ํามันและกาซธรรมชาติ พบบริเวณเทือกเขาแอปปาเลเซียนลุมแมนํ้ามิสซิสซิปป อาวเม็กซิโก แคลิฟอรเ นยี อลาสกา การทําอตุ สาหกรรม สหรัฐอเมริกาเปนประเทศผูนําในการทําอุตสาหกรรมระดับโลก สวนใหญเปน อตุ สาหกรรมขนาดใหญใชเงนิ ทนุ เปน จาํ นวนมาก สวนประเทศเมก็ ซโิ ก และอเมริกากลาง รวมถึงประเทศในหมู เกาะอนิ ดีสตะวันตก อุตสาหกรรมสวนใหญเ ปนอุตสาหกรรมเกษตรการแปรรปู ผลผลติ ตางๆ ซึ่งตองอาศัยการ พัฒนาตอ ไป สภาพแวดลอ มทางสังคมและวัฒนธรรม ประชากร 1. บริเวณที่มีประชากรหนาแนน ไดแก ชายฝงตะวันตกของสหรัฐอเมริกา ลุมแมนํ้ามิสซิสซิปป ลุมแมน ้าํ เซนตลอรวเ รนซ ทรี่ าบสูงในเมก็ ซิโก หมเู กาะอินดีสตะวนั ตก 2. มผี คู นหลากหลายเชอ้ื ชาติ เชน อินเดียนแดง เอสกิโม ยุโรป แอฟริกนั เอเชีย และกลุมเลือดผสม เขตวัฒนธรรม 1. แองโกอเมรกิ า หมายถงึ สหรัฐอเมรกิ าและแคนาดา 2. ลาตนิ อเมริกา หมายถึง กลุมคนในเมกซิโก อเมริกากลาง และหมูเกาะอินดีสตะวันตก (ซ่ึงไดรับ อิทธพิ ลจากสเปนและโปรตเุ กส) ทวปี แอฟรกิ า 1. ขนาดท่ีต้ังและอาณาเขตตดิ ตอ ทวปี แอฟรกิ ามขี นาดใหญเ ปน อันดบั 2 รองจากทวีปเอเชีย มพี ้นื ท่ีประมาณ 30.3 ลานตารางกโิ ลเมตร มปี ระชากร 600 ลา นคน อยรู ะหวางละตจิ ูดท่ี 37 องศา 21 ลปิ ดาเหนอื ถงึ 34 องศา 50 ลปิ ดาใต ลองติจูดที่ 51 องศา 24 ลปิ ดาตะวนั ออกถงึ 17 องศา 32 ลิปดา

28 อาณาเขตติดตอ ทิศเหนือ ติดกับทะเลเมดิเตอรเรเนียน ในมหาสมุทรแอตแลนติก ชองแคบยิบรอลตาร จุดเหนอื สดุ ของทวปี อยูที่แหลมบอน ประเทศตนู ิเซีย ทิศใต ติดกับมหาสมทุ รแอตแลนติก และมหาสมทุ รอินเดีย จุดใตสุดของทวีปอยูท่ีแหลมอะกอลฮัส (Agulhas) ในประเทศแอฟริกาใต ทิศตะวันออก ติดกับทะเลแดง ในมหาสมุทรอินเดีย จุดตะวันออกสุดของทวีปอยูท่ีแหลมฮาฟูน ประเทศโซมาเลยี ทิศตะวันตก ติดกบั มหาสมุทรแอตแลนตกิ จุดตะวันตกสุดของทวปี อยทู ่แี หลมเวิรด ประเทศเซเนกลั 2. ลกั ษณะภูมิประเทศ ลกั ษณะภมู ิประเทศทวีปแอฟรกิ าสามารถแบงออกไดเ ปน 3 ลกั ษณะดงั น้ี 1. เขตท่รี าบสงู พ้ืนท่ีเกือบท้ังหมดของทวีปเปนท่ีราบสูง จนไดรับสมญาวา เปนทวีปแหงที่ราบสูงโดยทางซีก ตะวนั ออกจะสงู กวา ซีกตะวนั ตก ลกั ษณะเดน ของบริเวณทร่ี าบสงู ทางภาคตะวนั ออกของทวีป คือ เปน พน้ื ท่ีทีม่ ี

29 ภูเขาสูง และภูเขาไฟ ภูเขาไฟทมี่ ชี ่อื เสียง คือ ภูเขาคิลิมันจาโร (แทนซาเนีย) และมีทะเลสาบหลายแหง เชน ทะเลสาบวคิ ตอเรีย (ทะเลสาบน้ําจดื ใหญเปนอันดบั 2 ของโลก) ทะเลสาบแทนแกนยกิ าและทะเลสาบไนอะซา 2. เขตท่ีราบ ทวปี แอฟริกามที ร่ี าบแคบๆ บรเิ วณชายฝง ทะเล 3. เขตเทือกเขา เขตเทือกเขาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ คือ เทือกเขาแอตลาส วางตัวขนานกับชายฝงทะเลเมดิ เตอรเ รเนียน เปนเทอื กเขายุคใหม เทือกเขาทางทิศใต คือ เทือกเขาดราเคนสเบิรก วางตัวขนานกับชายฝงมหาสมุทรอินเดีย เปนเทือกเขายคุ เกา แมนํ้า แมนํ้าในทวีปแอฟริกาสวนใหญเกิดจากท่ีราบสูงตอนกลาง และทางตะวันออกของทวีป ซงึ่ มฝี นตกชุก เนือ่ งจากพ้นื ทต่ี างระดับ แมนา้ํ จึงกัดเซาะพน้ื ทใี่ หเกิดเปน แกง น้ําตกขวางลําน้ํา จึงเปนอุปสรรค ตอ การคมนาคม แตสามารถใชป ระโยชนใ นการผลิตกระแสไฟฟา ไดแมน ้าํ ทีส่ ําคัญ ไดแก แมน้าํ ไนล เปน แมนํ้าสายทีย่ าวท่ีสดุ ในโลก ไหลลงสูท ะเลเมดิเตอรเรเนียน ประกอบดวยแควสําคัญ คอื ไวทไ นว บลไู นลแ ละอัตบารา ปากแมน ้าํ เปนเดลตา แมนาํ้ ซาอรี  (คองโก) เปนแมนํ้าสายยาวอนั ดบั 2 ของทวปี และเปนท่รี าบลมุ แมน้ําท่ีกวางขวางน้ําใน แมนํา้ ไหลลงสูมหาสมุทรแอตแลนตกิ แมน้ําไนเจอร ไหลลงสอู า วกนิ ี แมนํ้าแซมเบซี ไหลลงสูมหาสมุทรอินเดีย ไหลผานทร่ี าบสงู และไหลเชีย่ วมาก 3. ลกั ษณะภมู อิ ากาศ เขตอากาศ ปจ จยั ที่มีอิทธิพลตอ ภูมิอากาศของทวปี แอฟริกา 1. ละตจิ ดู ทวีปแอฟรกิ ามีเสน ศูนยส ตู รผานเกอื บก่ึงกลางทวีป และตั้งอยูระหวางเสนทรอปคออฟ แคนเซอร กบั เสน ทรอปค ออฟแคปริคอรน ทําใหมีเขตอากาศรอนเปนบริเวณกวาง มีเฉพาะสวนเหนือสุดและ ใตส ดุ ทีอ่ ยใู นเขตอบอุน 2. ลมประจํา มี 2 ชนิดคอื ลมสินคา ตะวันออกเฉียงใต พัดจากมหาสมทุ รอินเดยี และมหาสมทุ รแอตแลนติกทําใหฝนชุกบริเวณ ชายฝง แอฟรกิ าตะวนั ออกและตะวันออกเฉียงใตก ับชายฝง อาวกนิ ี ลมสินคา ตะวนั ออกเฉียงเหนือ พัดจากตอนในของทวีปมาสูชายฝง จึงนําความแหงแลงมาสูชายฝง ตะวันออกเฉียงเหนอื ของทวีป 3. กระแสนาํ้ ไดแก กระแสนํ้าอนุ กินี ไหลผานชายฝงตะวันตกจากมหาสมทุ รแอตแลนตกิ ไปยงั อา วกินี กระแสน้าํ เยน็ คานารี ไหลเลียบชายฝง ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของทวปี กระแสนาํ้ เยน็ เบงเก-ลา ไหลเลียบชายฝง ตะวนั ตกเฉยี งใตข องทวปี กระแสนํา้ อนุ โมซมั บกิ ไหลผานบรเิ วณชอ งแคบโมซัมบกิ

30 4. ระยะหางจากทะเล ดวยความกวางใหญของทวีป การมีที่สูงอยูโดยรอบทวีปทําใหอิทธิพลของ มหาสมทุ รเขา ไปไมถ ึง ประกอบกับไดร บั อิทธพิ ลจากทะเลทรายของทวปี เอเชียทางดานตะวันออกเฉียงเหนือ ของทวปี ทําใหทวีปแอฟริกามเี ขตภมู ิอากาศแหงแลง เปนบรเิ วณกวา ง ทวปี แอฟรกิ าสามารถแบง เขตอากาศไดเปน 8 เขตดังน้ี 1. ภมู อิ ากาศแบบทะเลทราย ไดแก บรเิ วณทะเลทรายสะฮาราและทะเลทรายลิเบียทางตอนเหนือ ของทวปี ในเขตประเทศไนเจอร ชาด ลเิ บีย มาลี บรุ กินาฟาโซ มอรเิ ตเนีย คดิ เปนพ้ืนทีร่ อยละ 30 ของพนื้ ทใ่ี น ทวีปแอฟริกา และถือเปนเขตทะเลทรายท่ีมีขนาดใหญที่สุดในโลก ทะเลทรายที่สําคัญอีกแหงหนึ่ง คือ ทะเลทรายกาลาฮารี ทางตอนใตข องทวีป ในเขตประเทศบอตสวานาและนามิเบีย มีลักษณะอากาศรอนและ แหง แลงเฉลีย่ สงู กวา 35 องศาเซลเซยี ส อุณหภูมิระหวางกลางวันและกลางคืนแตกตางกันมาก มีฝนตกนอย เฉล่ียตา่ํ กวา 250 มลิ ลิเมตรตอป 2. ภูมิอากาศแบบทุงหญากึ่งทะเลทราย ไดแก บริเวณที่ราบสูงตอนในของทวีปชายฝงตะวันตก และตอนใตของเสน ศูนยส ูตร ในฤดรู อนมีอากาศรอนจัดและมีฝนตกแตไมมากนักประมาณ 600 มลิ ลเิ มตรตอป ฤดหู นาวมอี ากาศหนาวจัด บางคร้ังอาจถงึ จุดเยอื กแขง็ 3. ภูมิอากาศแบบปาดิบช้ืน ไดแก บริเวณลุมแมน้ําคองโก ที่ราบสูงในแอฟริกาตะวันออก ฝง ตะวนั ออกของเกาะมาดากสั การ และชายฝง รอบอา วกินี มอี ากาศรอนอุณหภูมเิ ฉลย่ี 27 องศาเซลเซยี ส และ ฝนตกชกุ ตลอดทง้ั ปม ากถงึ 2,000 มลิ ลิเมตรตอ ป 4. ภูมิอากาศแบบทุงหญาสะวันนา ไดแก บริเวณเหนือและใตแนวเสนศูนยสูตรในเขตประเทศ เอธิโอเปย ซูดาน เคนยา คองโก สาธารณรัฐคองโก แทนซาเนีย และดานปลายลมของเกาะมาดากัสการ มีอุณหภูมิรอนเกือบตลอดทั้งป ในฤดูรอนมีอากาศรอนและมีฝนตกปริมาณ 1,500 – 2,000 มิลลิเมตรตอป ฤดูหนาวมอี ากาศหนาวและแหง แลง 5. ภูมอิ ากาศแบบเมดิเตอรเรเนยี น ไดแ ก บริเวณชายฝงของประเทศตูนิเซีย แอลจีเรีย โมร็อกโก และตอนใตของประเทศแอฟริกาใต มีอุณหภูมิไมแตกตางกันมากนัก ในฤดูรอนมีอากาศรอนและแหงแลง ในฤดูหนาวมอี ากาศอบอนุ และมฝี นตก 6. ภมู ิอากาศแบบมรสุม ไดแก ประเทศไลบีเรีย และโกตดิวัวร เน่อื งจากไดร บั อิทธพิ ลจากลมประจํา ตะวันตกและกระแสน้ําอุนกินี สงผลใหมีฝนตกชุกประมาณ 2,500 มิลลิเมตรตอปและมีอากาศรอนชื้น อณุ หภูมิเฉล่ยี 20 องศาเซลเซียส 7. ภูมิอากาศแบบอบอุนชื้น ไดแก บริเวณตะวันออกเฉียงใตของทวีป ในเขตประเทศแทนซาเนีย แซมเบีย โมซัมบิก ซิมบับเว มาลาวี สวาซิแลนด เลโซโท และแอฟริกาใต ไดรับอิทธิพลจากกระแสนํ้าอุน โมซัมบิก และลมคา ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ทําใหฤดหู นาวมอี ากาศอบอุน ในฤดรู อ นมฝี นตก 8. ภูมิอากาศแบบภูเขา ไดแก ท่ีราบสูงเอธิโอเปย และที่ราบสูงเคนยา ทางตะวันออกของทวีป ลกั ษณะอากาศชนื้ อยกู บั ความสูงของพนื้ ที่ ยง่ิ สูงขนึ้ อากาศจะเยน็ ลง และมีปริมาณฝนตกนอ ยลง

31 4. ลกั ษณะเศรษฐกิจ และสภาพแวดลอมทางสังคมวัฒนธรรม ลักษณะเศรษฐกิจ การเกษตรกรรม 1. การเพาะปลกู แบบยังชพี เปน การปลกู พชื เพือ่ บรโิ ภคภายในครอบครวั 2. การทาํ ไรขนาดใหญ เปนการเพาะปลกู เพ่อื การคา พชื ท่ีปลกู เชน ยางพารา ปาลม นา้ํ มนั 3. การเกษตรแบบผสม คือ การเพาะปลูกแบบเลี้ยงสัตวควบคูกันไป พืชที่ปลูกคือ ขาวโพดขาวสาลี สัตวท ่ีเล้ียง คอื โคเนอ้ื โคนม แกะ 4. การเกษตรแบบเมดเิ ตอรเรเนียน คือปลูกองุน มะกอก บริเวณชายฝงทะเลเมดิเตอรเรเนียนและ ตอนใตข องทวปี 5. การทาํ ไรป ศสุ ตั ว สว นใหญจะเปนการเลี้ยงแบบปลอยคอื การปลอยใหสัตวหากินในทุงหญาตาม ธรรมชาติ 6. การเลย้ี งสตั วแบบเรร อ น เปนการเลีย้ งสตั วในพนื้ ทีท่ ีเ่ ปน ทะเลทราย การปา ไม พ้นื ทที่ มี่ ีความสําคัญในการทําปาไม คือ แอฟริกาตะวันตก แอฟริกากลาง ปาไมสวนใหญสูญเสียไป เนื่องจากการทําไรเ ลื่อนลอยและการขาดการบํารุง การลา สัตวและการประมง ชนพื้นเมอื งจะดาํ รงชพี ดวยการลา สตั ว สวนการประมงมีความสําคัญไมมาก การประมงนํ้าจืดจะทํา ตามลมุ แมนํ้าสายใหญ และทะเลสาบวิคตอเรีย สวนประมงนาํ้ เค็มมกั จะทาํ บรเิ วณท่ีมีกระแสน้ําเย็นเบงเก-ลา ไหลผา น การทําเหมอื งแร เปนทวปี ท่มี ีสนิ แรอยเู ปน จาํ นวนมาก ที่สาํ คญั คือ เพชร ทองคาํ นา้ํ มัน กาซธรรมชาติ การอตุ สาหกรรม การทําอุตสาหกรรมสวนใหญในทวีปแอฟริกา เปนอุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวของกับการแปรรูปผลิตผล การเกษตร การอตุ สาหกรรมสวนใหญย ังไมค อยเจริญมากนกั เน่ืองจากยังขาดเงินทุนและผูเช่ียวชาญดานการ พัฒนาอตุ สาหกรรม ประชากร มีประชากรมากเปนอันดับ 2 รองจากทวปี เอเชีย ประชากรหนาแนน บรเิ วณลมุ แมน ้าํ และบรเิ วณชายฝงทะเล ประกอบดวยเช้ือชาตินิกรอยดและ คอเคซอยด

32 ทวีปออสเตรเลียและโอเซยี เนีย 1. ขนาดท่ตี ง้ั และอาณาเขตติดตอ ทวีปออสเตรเลียและโอเซียเนีย เปนที่ตั้งของประเทศออสเตรเลีย ประเทศนิวซีแลนด ทวปี ออสเตรเลียไดรบั สมญานามวา ทวปี เกาะ สวนหมูเกาะแปซิฟก ซ่ึงเปนท่ีต้ังของประเทศ อ่ืนๆ ตอเน่ืองไป ถึงทวีปแอนตารกติก เรียกวา โอเชียเนีย หมายถึง เกาะ และหมูเกาะในภาคกลางและภาคใตของ มหาสมุทรแปซิฟก รวมท้ังหมเู กาะไมโครนเี ซยี เมลานีเซยี โปลนี ีเซีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด และหมูเกาะ มลายู ทวีปออสเตรเลยี เปนทวีปที่มขี นาดเลก็ ที่สดุ ในโลก มีพืน้ ที่ 7.6 ลา น ตร.กม. มีประชากร 17.5 ลานคน ที่ตั้งของทวีปออสเตรเลียอยูในซีกโลกใตทั้งหมด ต้ังแตละติจูด ที่ 10 องศา 41 ลิปดาใต ถึง 43 องศา 39 ลปิ ดาใต และลองจิจดู 113 องศา 9 ลิปดาตะวันออก ถึง 153 องศา 39 ลิปดาตะวันออก อาณาเขตติดตอ ทิศเหนือ ติดตอ กับทะเลเมดเิ ตอรเรเนียนในมหาสมุทรแปซฟิ ก จดุ เหนอื สดุ ของทวีปอยทู ีแ่ หลมยอรก มีชองแคบทอรเ รสก้ันจากเกาะนิวกนิ ี ทิศตะวันออก ติดกับทะเลคอรัลและทะเลแทสมันในมหาสมุทรแปซิฟก จุดดานตะวันออกสุดอยูท่ี แหลมไบรอน ทศิ ใต ตดิ กบั มหาสมทุ รอนิ เดยี จดุ ใตส ุดอยูทแ่ี หลมวลิ สนั มชี อ งแคบบาสสก ัน้ จากเกาะแทสมาเนีย ทิศตะวันตก ตดิ กบั มหาสมทุ รอนิ เดยี จุดตะวนั ตกสดุ อยูท ีแ่ หลมสตฟี ภูมิภาคและประเทศตางๆ ของทวปี ออสเตรเลีย 1. ออสเตรเลีย ไดแ ก ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด 2. หมูเ กาะในมหาสมุทรแปซิฟก ไดแก ปาปวนิวกินี หมูเกาะเซโลมอน ฟจิ วานูอาตู คิริบาส ซามัว ตะวันตก ตองกา ตูวาลู นาอรู ู ไมโครนีเซยี 2. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของทวปี ออสเตรเลยี และโอเซียเนยี มีเขตทส่ี งู ทางดานตะวนั ออก มฝี นตกชกุ ท่ีสุดของทวีป มีเทือกเขาเกรตดิไวดิงอยูทางดานตะวันออก มลี ักษณะเปน สันปนนํา้ ทแี่ บงฝนทตี่ กลงใหไ หลสูลําธาร เขตที่ราบตํ่าตอนกลาง พื้นที่ราบเรียบ มีลําน้ําหลาย สายไหลมาอยบู รเิ วณน้ี และเขตที่ราบสูงทางดา นตะวนั ตกตอนกลางของเขตนีเ้ ปน ทะเลบรเิ วณทางใตและทาง ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ใชเปนเขตปศุสตั วแ ละเพาะปลูก 3. ลกั ษณะภูมิอากาศของทวีปออสเตรเลยี และโอเซยี เนีย ปจ จยั สาํ คญั ท่ที ําใหทวีปออสเตรเลยี มีภูมอิ ากาศตางๆ กนั คือ ตัง้ อยใู นโซนรอนใตและอบอุนใต มีลม ประจําพัดผาน ลกั ษณะภูมปิ ระเทศและมกี ระแสนาํ้ อุน และกระแสน้าํ เยน็ ไหลผา น

33 ลกั ษณะภูมิอากาศของทวีปออสเตรเลียและโอเซียเนียแบง เขตภมู ิอากาศเปน 6 ประเภทคอื 1. ภมู อิ ากาศทงุ หญาเขตรอ น 2. ภมู ิอากาศทงุ หญากง่ึ ทะเลทราย 3. ภูมิอากาศทะเลทราย 4. ภมู อิ ากาศเมดิเตอรเ รเนียน 5. ภูมิอากาศอบอนุ ช้นื 6. ภมู ิอากาศภาคพน้ื สมทุ รชายฝงตะวันตก 4. สภาพทางสังคม เชอื้ ชาติ เศรษฐกิจ ศาสนาและวฒั นธรรม ประชากร เชื้อชาติเผาพันธุของออสเตรเลีย ชาวพ้ืนเมืองดั้งเดิมเปนพวกผิวดําเรียกวาอะบอริจินสเปนพวกท่ี อพยพมาจากหมเู กาะในมหาสมทุ รแปซิฟก สวนใหญอยทู างภาคเหนอื และภาคตะวันตกปจจุบันมี ชาวผิวขาว ซึง่ สว นใหญเปนชาวอังกฤษอาศัยอยูจํานวนมากรัฐบาลไดจัดท่ีอยูในเขตนอรทเทิรนเทริทอรี่ รัฐควีนสแลนด และรัฐออสเตรเลียตะวันตก พวกผิวเหลืองเปนพวกท่ีอพยพมาภายหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 ไดแก ชาวจีน ญ่ปี นุ พวกผวิ ขาว สวนใหญเปนพวกท่อี พยพมาจากประเทศอังกฤษ มีการประกอบอาชีพทางดานการเกษตร คือปลกู พชื และเลยี้ งสัตว การประมง และอุตสาหกรรม การกระจายประชากร รัฐบาลออสเตรเลียมนี โยบายสงวนพ้ืนที่ไวสําหรับชาวผิวขาว คือ นโยบายออสเตรเลียขาวกีดกันผิว โดยจาํ กดั จาํ นวนคนสผี วิ อืน่ ทไี่ มใชผวิ ขาวเขา ไปตั้งถ่นิ ฐานในออสเตรเลยี บรเิ วณที่ประชากรอาศยั อยูหนาแนน ไดแก ภาคตะวันออกเฉียงใต บริเวณท่ีมีประชากรเบาบาง ไดแก ตอนกลางของทวีป ภาคเหนือ และภาค ตะวันตก ศาสนา ชาวออสเตรเลียนบั ถอื ศาสนาครสิ ตห ลายนกิ าย ไดแ ก แองกลกิ นั โรมนั คาทอลิก โปรแตสแตนส ภาษาท่ีใชม ากคือภาษาอังกฤษ การปกครอง การแบงแยกทางการเมือง ออสเตรเลยี มรี ะบบการปกครองแบบสหพนั ธรฐั ประกอบดวยรฐั ตาง ๆ รวม 6 รฐั และดนิ แดนอสิ ระทไี่ มข้นึ กับรัฐใดๆ อีก 2 แหง คือ 1. รฐั นวิ เซาทเ วล เมืองหลวง ซดิ นยี  2. รฐั วกิ ตอเรีย เมืองหลวง เมลเบิรน 3. รฐั ควนี สแลนด เมอื งหลวง บริสเบรน 4. รัฐออสเตรเลียใต เมืองหลวง แอเดเลด 5. รัฐออสเตรเลียตะวนั ตก เมอื งหลวงเพิรธ 6. รฐั แทนสเมเนีย เมืองหลวง โอบารต

34 ดินแดนอิสระ 2 บริเวณ ไดแ ก นอรท เทริ นแทรทิ อรี เมอื งหลวง ดารวิน ออสเตรเลีย แคปตอลเทริทอรี เมืองหลวงแคนเบอรรา ออสเตรเลียเปนประเทศเอกราชใน เครือจกั รภพองั กฤษ มพี ระนางเจาอลิซาเบธท่ี 2 เปนพระราชินีและเปนประมุขของประเทศ มีขาหลวงใหญ เปน ผูส าํ เร็จราชการแทนพระองค จดั การปกครองระบอบประชาธิปไตยในรูปแบบ สหพันธรัฐการปกครองของออสเตรเลีย เปนแบบ รฐั บาลรวม คอื มีรฐั บาล 2 ระดับ ไดแ ก รัฐบาลกลาง รฐั บาลของรฐั กจิ กรรมที่ 1.1 สภาพภมู ศิ าสตรกายภาพ 1. ใหบ อกลกั ษณะภูมิประเทศและลกั ษณะเศรษฐกิจของประเทศไทยและทวปี ยโุ รป ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ลักษณะเศรษฐกจิ ประเทศไทย ทวีปยุโรป กิจกรรมท่ี 1.1 สภาพภูมศิ าสตรก ายภาพ 2. ปจ จยั ท่มี อี ิทธิพลตอ ภูมิอากาศของทวีปอเมริกาใต คือ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. ปจ จัยสาํ คญั ท่ีทาํ ใหท วปี ออสเตรเลยี มสี ภาพภูมิอากาศทแ่ี ตกตา งกนั .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .........................................................................................................................................................................

35 เรอื่ งท่ี 2 ลกั ษณะปรากฏการณท างธรรมชาติท่ีสําคัญและ การปอ งกนั อนั ตราย ปรากฏการณธรรมชาติ คือ การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ทั้งในระยะยาวและระยะส้ัน สภาพแวดลอมของโลกเปล่ียนแปลงไปตามเวลา ทั้งเปนระบบและไมเปนระบบ เปนสิ่งที่อยูรอบตัวเรา มักสงผลกระทบตอ เรา ในธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงบางอยา งมผี ลกระทบตอเรารุนแรงมาก สาเหตุของการ เปลยี่ นแปลงมีทั้งเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและเปนส่ิงที่มนุษยทําใหเกิดขึ้น ในเร่ืองน้ีจะกลาวถึงสาเหตุและ ลกั ษณะปรากฏการณท างธรรมชาตทิ ่ีสําคญั ดงั นี้ 1) พายุ พายุ คือ สภาพบรรยากาศที่เคลื่อนตัวดวยความเร็วมีผลกระทบตอพื้นผิวโลก โดยบางคร้ังอาจมี ความเร็วที่ศูนยกลางถึง 400 กิโลเมตร/ชั่วโมง อาณาบริเวณท่ีจะไดรับความเสียหายจากพายุวาครอบคลุม เทา ใดข้ึนอยูก ับความเร็วของการเคล่ือนตวั ของพายุ ขนาด ความกวาง เสนผาศูนยกลางของตัวพายุ หนวยวัด ความเร็วของพายุคือ หนวยรกิ เตอรเหมอื นการวดั ความรนุ แรงแผนดินไหว พายุแบงเปน ประเภทใหญๆ คือ 1. พายุฝนฟา คะนอง มลี ักษณะเปนลมพดั ยอ นไปมา หรอื พัดเคลื่อนตัวไปในทิศทางเดียวกัน อาจ เกิดจากพายทุ อ่ี อนตัวและลดความรุนแรงของลมลง หรือเกิดจากหยอ มความกดอากาศตาํ่ รองความกดอากาศ ต่าํ อาจไมมที ิศทางทีแ่ นน อน หากสภาพการณแ วดลอ มตางๆ ของการเกิดฝนเหมาะสม ก็จะเกิดฝนตก มีลม พัด 2. พายหุ มุนเขตรอน (Tropical cyclone) ไดแก เฮอรริเคน ไตฝุน และไซโคลน ซ่ึงลวนเปนพายุ หมุนขนาดใหญเชนเดียวกัน และจะเกิดขึ้นหรือเริ่มตนกอตัวในทะเล หากเกิดเหนือเสนศูนยสูตร จะมีทิศ ทางการหมนุ เวียนทวนเข็มนาฬิกา และหากเกิดใตเสนศูนยสูตรจะหมุนตามเข็มนาฬิกา โดยมีชื่อตางกันตาม สถานท่ีเกิด คอื 2.1 พายุเฮอรริแคน (hurricane) เปนชื่อเรียกพายุหมุนท่ีเกิดบริเวณทิศตะวันตกของ มหาสมุทรแอตแลนติก เชน บริเวณฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อาวเม็กซิโก ทะเลแคริบเบียน เปนตน รวมทั้ง มหาสมทุ รแปซิฟกบรเิ วณชายฝง ประเทศเม็กซโิ ก 2.2 พายุไตฝุน (typhoon) เปนช่ือพายุหมุนที่เกิดทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟก เหนือ เชน บริเวณทะเลจีนใต อาวไทย อาวตังเก๋ีย ประเทศญ่ีปุน แตถาเกิดในหมูเกาะฟลิปปนส เรียกวา บาเกยี ว (Baguio) 2.3 พายุไซโคลน (cyclone) เปนช่ือพายุหมุนท่ีเกิดในมหาสมุทรอินเดียเหนือ เชน บริเวณ อาวเบงกอล ทะเลอาหรับ เปนตน แตถาพายุนี้เกิดบริเวณทะเลติมอรและทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ของ ประเทศออสเตรเลีย จะเรยี กวา พายวุ ิลล-ี วิลลี (willy-willy)

36 2.4 พายุโซนรอน (tropical storm) เกิดขึ้นเมื่อพายุเขตรอนขนาดใหญออนกําลังลง ขณะ เคลื่อนตัวในทะเล และความเร็วที่จุดศูนยกลางลดลงเม่ือเคลือ่ นเขา หาฝง 2.5 พายุดีเปรสชัน (depression) เกิดขึ้นเม่ือความเร็วลดลงจากพายุโซนรอน ซึ่งกอใหเกิด พายุฝนฟา คะนองธรรมดาหรอื ฝนตกหนกั 2.6 พายุทอรน าโด (tornado) เปน ชื่อเรียกพายุหมุนทีเ่ กิดในทวีปอเมริกา มีขนาดเน้ือท่ีเล็ก หรือเสนผาศูนยกลางนอย แตหมุนดวยความเร็วสูง หรือความเร็วที่จุดศูนยกลางสูงมากกวาพายุหมุนอ่ืน ๆ กอ ความเสยี หายไดร ุนแรงในบรเิ วณท่พี ดั ผา นเกิดไดท้งั บนบก และในทะเล หากเกิดในทะเล จะเรียกวา นาค เลนนํ้า (water spout)บางครั้งอาจเกิดจากกลุมเมฆบนทองฟา แตหมุนตัวย่ืนลงมาจากทองฟาไมถึงพ้ืนดิน มรี ูปรา งเหมือนงวงชา ง จงึ เรียกกนั วา ลมงวง อนั ตรายของพายุ 1. ความรนุ แรงและอนั ตรายอันเกิดจากพายไุ ตฝ ุน เมอ่ื พายุทมี่ ีกาํ ลงั ขนาดไตฝ นุ พัดผานทใี่ ดยอมทาํ ใหเกดิ ความเสียหายรายแรงทวั่ ไป เชน บนบกตนไม จะลม ถอนราก ถอนโคน บานเรอื นพงั ทบั ผคู นในบา นและทใ่ี กลเ คียงบาดเจ็บหรอื ตาย สวน ไรนาเสยี หายหนัก มาก เสาไฟฟา ลม สายไฟฟา ขาด ไฟฟาช็อต เกิดเพลงิ ไหมและผูคนอาจเสียชวี ติ จากไฟฟาดดู ได ผคู นท่ีมอี าคาร พักอาศัยอยูร มิ ทะเลอาจถกู น้ําพดั พาลงทะเลจมนํา้ ตายได ดงั เชน ปรากฎการณท่ีแหลมตะลมุ พกุ จังหวดั นครศรธี รรมราช ในทะเลลมแรงจัดมากคลื่นใหญ เรือขนาดใหญ ขนาดหม่ืนตันอาจจะถูกพัดพาไปเกยฝงลมจมได บรรดาเรอื เล็กจะเกดิ อันตรายเรอื ลม ไมสามารถจะตานความรนุ แรงของพายุได คลน่ื ใหญซัดขน้ึ ริมฝงจะทําให ระดบั นํา้ ขนึ้ สูงมากจนทวมอาคารบา นชองริมทะเลได บรรดาโปะจับปลาในทะเลจะถูกทําลายลงโดยคลื่นและ ลม

37 2. ความรุนแรงและอนั ตรายจากพายโุ ซนรอน พายุโซนรอนมีความรุนแรงนอยกวาพายุไตฝุน ฉะนั้น อันตรายจะเกิดจากการที่พายุน้ีพัดมาปะทะ ลดลงในระดับรองลงมาจากพายไุ ตฝุน แตความรุนแรงที่จะทาํ ใหความเสยี หายก็ยงั มมี ากเหมือนกนั ในทะเลลม จะแรงมากจนสามารถทําใหเรอื ขนาดใหญๆ จมได ตนไมถอนรากถอนโคน ดังพายุโซนรอนท่ีปะทะฝงแหลม ตะลุมพกุ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ถาการเตรียมการรับสถานการณไมเพียงพอ ไมมีการประชาสัมพันธใหประชาชนไดทราบเพื่อ หลกี เลย่ี งภัยอนั ตรายอยางทวั่ ถึง ไมมวี ธิ ีการดาํ เนินการท่เี ขม แขง็ ในการอพยพ การชวยเหลือผปู ระสบภยั ตา งๆ ในระหวางเกิดพายุ การสญู เสียกย็ อมมกี ารเสียทง้ั ชีวิตและทรัพยสมบัตขิ องประชาชน

38 3. พายุดีเปรสช่ัน เปนพายุท่ีมีกําลังออน ไมมีอันตรายรุนแรงแตทําใหมีฝนตกปานกลางท่ัวไป ตลอดทางทีพ่ ายดุ ีเปรสชัน่ พดั ผา น และมีฝนตกหนักเปนแหง ๆ พรอมดวยลมกรรโชกแรงเปนคร้ังคราว ซึ่งบาง คราวจะรุนแรงจนทําใหเ กิดความเสยี หายได ในทะเลคอ นขางแรงและคลื่นจัด บรรดาเรือประมงเล็กขนาดตํ่า กวา 50 ตนั ควรงดเวนออกทะเลเพราะอาจจะลมลงได และพายุดีเปรสชั่นน้ีเมื่ออยูในทะเลไดรับไอนํ้าหลอ เลย้ี งตลอดเวลา และไมม ีสงิ่ กีดขวางทางลมอาจจะทวกี ําลังข้นึ ได โดยฉับพลัน ฉะนั้น เม่ือไดรับทราบขาววามี พายุดเี ปรสช่ันขนึ้ ในทะเลก็อยาวางใจวา จะมกี าํ ลังออนเสมอไปอาจจะมีอันตรายไดเหมือนกัน สําหรับพายุพัด จัดจะลดนอยลงเปนลําดับ มีแตฝนตกทั่วไปเปนระยะนานๆ และตกไดมากถึง 100 มิลลิเมตร ภายใน 12 ชวั่ โมง ซง่ึ ตอ ไปกจ็ ะทําใหเ กิดนํ้าปา ไหลบา จากภเู ขาและปาใกลเคียงลงมาทวมบานเรือนไดในระยะเวลาสั้นๆ หลังจากพายุไดผ า นไปแลว 4. ความรุนแรงและอนั ตรายจากพายุฤดูรอน พายุฤดูรอ นเปนพายทุ เ่ี กดิ ข้นึ โดยเหตแุ ละวิธีการตางกับพายุดีเปรสชั่น และเกิดบนผืนแผนดินที่รอน อบอาวในฤดูรอ นแตเ ปน พายุท่มี บี ริเวณยอมๆ มอี าณาเขตเพยี ง 20-30 ตารางกโิ ลเมตร แตอ าจมลี มแรงมากถึง 47 น็อต หรือ 87 กิโลเมตรตอช่ัวโมง พายุน้ีมีกําลังแรงท่ีจะทําใหเกิดความเสียหายไดมาก แตเปนชวง ระยะเวลาสั้นๆ ประมาณ 2-3 ชัว่ โมง อนั ตรายทเี่ กดิ ขึ้นคอื ตน ไมหักลมทับบา นเรือนผูคน ฝนตกหนกั และอาจ มลี กู เหบ็ ตกได ในกรณที ่ีพายุมีกาํ ลงั แรง การเตรยี มการปองกนั อนั ตรายจากพายุ 1. ติดตามสภาวะอากาศ ฟง คําเตือนจากกรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยาสมํา่ เสมอ 2. สอบถาม แจงสภาวะอากาศรอนแกก รมอุตุนยิ มวทิ ยา 3. ปลกู สราง ซอ มแซม อาคารใหแ ขง็ แรง เตรียมปอ งกันภัยใหส ตั วเล้ียงและพชื ผลการเกษตร 4. ฝก ซอ มการปอ งกันภัยพิบัติ เตรียมพรอ มรบั มือ และวางแผนอพยพหากจาํ เปน 5. เตรยี มเคร่อื งอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุกระเปา หว้ิ เพอ่ื ติดตามขา วสาร 6. เตรียมพรอ มอพยพเมือ่ ไดรบั แจงใหอ พยพ 2) น้ําทว ม สาเหตสุ ําคัญข้ึนอยกู บั สภาพทองท่ี และความวปิ ริตผันแปรของธรรมชาติแตใ นบางทองท่ี การกระทํา ของมนุษยกม็ ีสวนสําคญั และ เกิดจากมีน้ําเปนสาเหตุ อาจจะเปนนํ้าทวม นํ้าปาหรืออ่ืนๆ โดยปกติ อุทกภัย เกดิ จากฝนตกหนักตอ เนอ่ื งกันเปน เวลานาน บางคร้งั ทําใหเ กดิ แผน ดินถลม อาจมสี าเหตุจากพายุหมุนเขตรอน ลมมรสุมมีกําลงั แรง รอ งความกดอากาศต่าํ มีกาํ ลงั แรงอากาศแปรปรวน นา้ํ ทะเลหนนุ แผนดนิ ไหว เขอ่ื นพังซ่ึง ทําใหเกิดอทุ กภัยได สาเหตกุ ารเกดิ อทุ กภยั แบงไดเปน 2 ชนดิ ดังน้ี 2.1 จากนํา้ ปา ไหลหลากและนาํ้ ทว มฉับพลัน เกิดจากฝนตกหนกั ตดิ ตอ กันหลายชว่ั โมง ดินดดู ซับไม ทนั นํา้ ฝนไหลลงพื้นราบอยา งรวดเรว็ ความแรงของน้ําทาํ ลายตน ไม อาคาร ถนน สะพาน ชีวติ ทรัพยส นิ

39 2.2 จากน้าํ ทวมขังและนํ้าเออนอง เกิดจากนํ้าในแมน ํ้า ลําธารลนตล่ิง มีระดับสูงจากปกติ ทวมและ แชข งั ทําใหก ารคมนาคมชะงกั เกิดโรคระบาด ทําลายสาธารณปู โภค และพืชผลการเกษตร การปอ งกันนํา้ ทว มปฏิบัตไิ ดด งั นี้ 1. ติดตามสภาวะอากาศ ฟงคาํ เตอื นจากกรมอตุ นุ ิยมวทิ ยา 2. ฝกซอ มการปองกันภยั พบิ ัติ เตรยี มพรอมรบั มอื และวางแผนอพยพหากจาํ เปน 3. เตรยี มนา้ํ ดืม่ เครอ่ื งอุปโภค บรโิ ภค ไฟฉาย แบตเตอร่ี วทิ ยกุ ระเปา หิว้ เพ่ือติดตามขาวสาร 4. ซอ มแซมอาคารใหแข็งแรง เตรยี มปองกนั ภยั ใหสัตวเลีย้ งและพชื ผลการเกษตร 5. เตรียมพรอมเสมอเมื่อไดรับแจงใหอ พยพไปที่สงู เมื่ออยูใ นพ้นื ทเี่ สีย่ งภัย และฝนตกหนักตอ เน่ือง 6. ไมลงเลนน้าํ ไมขับรถผา นน้ําหลากแมอยูบนถนน ถา อยใู กลนาํ้ เตรยี มเรือเพื่อการคมนาคม 7. หากอยใู นพน้ื ทีน่ าํ้ ทว มขงั ปองกนั โรคระบาด ระวังเร่ืองนา้ํ และอาหารตองสุก และ สะอาดกอ น บรโิ ภค 3) แผน ดนิ ไหว เปน ปรากฏการณ การสั่นสะเทือนหรือเขยา ของพน้ื ผวิ โลก สาเหตุของการเกดิ แผน ดินไหวนนั้ สว นใหญ เกดิ จากธรรมชาติ โดยแผนดนิ ไหวบางลกั ษณะสามารถเกดิ จากการกระทาํ ของมนุษยไดเชน การทดลองระเบิด ปรมาณู การปรบั สมดุลเนอื่ งจากนํา้ หนกั ของน้ําท่กี กั เก็บในเขอื่ นและแรงระเบดิ การทําเหมอื งแร เปนตน การปฏบิ ัตปิ องกันตัวเองจากการเกดิ แผน ดินไหว กอนเกิดแผนดนิ ไหว 1. ควรมีไฟฉายพรอมถา นไฟฉาย และกระเปา ยาเตรียมไวใ นบาน และใหทกุ คนทราบวาอยทู ่ไี หน 2. ศกึ ษาการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน 3. ควรมีเครอ่ื งมือดับเพลิงไวในบาน เชน เครื่องดับเพลงิ ถงุ ทราย เปน ตน 4. ควรทราบตําแหนง ของวาลวปด นาํ้ วาลว ปดกา ซ สะพานไฟฟาสาํ หรับตดั กระแสไฟฟา 5. อยา วางสิ่งของหนกั บนชัน้ หรือหงิ้ สูงๆ เม่อื แผนดนิ ไหวอาจตกลงมากเปน อนั ตรายได 6. ผกู เคร่อื งใชหนกั ๆ ใหแนนกับพ้นื ผนงั บาน 7. ควรมีการวางแผนเรื่องจุดนัดหมาย ในกรณีที่ตองพลัดพรากจากกัน เพื่อมารวมกันอีกคร้ัง ในภายหลัง ระหวา งเกิดแผน ดินไหว 1. อยา ตน่ื ตกใจ พยายามควบคมุ สตอิ ยอู ยางสงบ 2. ถา อยใู นบา นใหย ืนหรอื หมอบอยูในสวนของบา นที่มีโครงสรางแขง็ แรงที่สามารถรับน้ําหนักไดมาก และใหอยูหา งจากประตู ระเบียง และหนา ตา ง 3. หากอยูในอาคารสงู ควรต้งั สติ และรีบออกจากอาคารโดยเรว็ หนีใหหางจากสิง่ ทีจ่ ะลม ทับได

40 4. ถาอยูในที่โลงแจง ใหอยูหางจากเสาไฟฟา และส่ิงหอยแขวนตางๆ ท่ีปลอดภัยภายนอกคือ ทีโ่ ลงแจง 5. อยาใช เทยี น ไมขีดไฟ หรือส่ิงที่ทําใหเ กดิ เปลวหรือประกายไฟ เพราะอาจมีแกส ร่ัวอยูบรเิ วณนัน้ 6. ถา กําลงั ขับรถใหหยุดรถและอยูภายในรถ จนกระท่ังการส่นั สะเทือนจะหยดุ 7. หา มใชล ฟิ ทโ ดยเด็ดขาดขณะเกิดแผน ดินไหว 8. หากอยชู ายหาดใหอ ยหู า งจากชายฝง เพราะอาจเกิดคลน่ื ขนาดใหญซ ดั เขาหาฝง หลังเกดิ แผนดินไหว 1. ควรตรวจตัวเองและคนขา งเคียงวา ไดร ับบาดเจบ็ หรือไม ใหทําการปฐมพยาบาลขนั้ ตน กอน 2. ควรรีบออกจากอาคารท่เี สียหายทันที เพราะหากเกิดแผนดินไหวตามมา อาคารอาจพังทลายได 3. ใสร องเทา หุมสน เสมอ เพราะอาจมเี ศษแกว หรือวัสดุแหลมคมอน่ื ๆ และสงิ่ หกั พังท่ิมแทงได 4. ตรวจสายไฟ ทอน้ํา ทอแกส ถาแกสรว่ั ใหป ด วาลว ถังแกส ยกสะพานไฟ อยาจุดไมข ดี ไฟ หรือกอ ไฟจนกวา จะแนใ จวาไมม แี กสรว่ั 5. ตรวจสอบวา แกสรั่ว ดว ยการดมกลนิ่ เทา นนั้ ถา ไดก ล่ินใหเปดประตูหนาตางทกุ บาน 6. ใหอ อกจากบรเิ วณท่ีสายไฟขาด และวสั ดุสายไฟพาดถงึ 7. เปดวิทยฟุ ง คําแนะนําฉกุ เฉิน อยาใชโทรศัพท นอกจากจาํ เปน จริงๆ 8. สํารวจดูความเสียหายของทอสว ม และทอ น้ําทง้ิ กอนใช 9. อยาเขาไปในเขตท่มี ีความเสยี หายสูง หรอื อาคารพัง 4) ปรากฏการณเรือนกระจก คําวา เรอื นกระจก (greenhouse) หมายถงึ อาณาบรเิ วณทปี่ ด ลอ มดวยกระจกหรือวัสดอุ ่ืนซง่ึ มีผลใน การเกบ็ กกั ความรอ นไวภายใน ในประเทศเขตหนาวนยิ มใชเ รอื นกระจกในการเพาะปลูกตนไมเพราะพลังงาน แสงอาทิตยสามารถผา นเขาไปภายในไดแ ตความรอ นที่อยภู ายในจะถูกกกั เกบ็ โดยกระจกไมใ หส ะทอ นหรือแผ ออกสภู ายนอกไดทาํ ใหอ ุณหภมู ิของอากาศภายในอบอนุ และเหมาะสมตอ การเจริญเติบโตของพชื แตกตางจาก ภายนอกทย่ี งั หนาวเย็น นกั วทิ ยาศาสตรจงึ เปรยี บเทยี บปรากฏการณท่ีความรอ นภายในโลกถูกกบั ดกั ความรอ น หรือกาซเรือนกระจก (Greenhouse gases) เก็บกักเอาไวไมใหสะทอนหรือแผออกสูภายนอกโลกวา ปรากฏการณเ รอื นกระจก โลกของเราตามปกติมกี ลไกควบคุมภูมิอากาศโดยธรรมชาติอยแู ลว กระจกตามธรรมชาติของโลก คือ กา ซคารบ อนไดออกไซดและไอน้าํ ซ่งึ จะคอยควบคมุ ใหอณุ หภมู ิของโลกโดยเฉลีย่ มคี า ประมาณ 15 °C และถา หากในบรรยากาศไมม ีกระจกตามธรรมชาตอิ ณุ หภมู ิของโลกจะลดลงเหลือเพยี ง -20°C มนุษยแ ละพืชกจ็ ะลม ตายและโลกก็จะเขา สูยุคนํ้าแขง็ อีกครัง้ หน่ึง

41 สาเหตสุ าํ คญั ของการเกิดปรากฎการณเรือนกระจกมาจากการเพิ่มขึ้นของกาซเรือนกระจกประเภท ตา งๆ ไดแก คารบ อนไดออกไซด (CO2) ไอน้ํา (H2O) โอโซน (O3) มีเทน (CH4)ไนตรัสออกไซด (N2O) และ คลอโรฟลอู อโรคารบอน (CFCs) ในสวนของกาซคารบอนไดออกไซดจะเกดิ การหมนุ เวยี นและรกั ษาสมดุลตาม ธรรมชาติ ปญ หาในเร่ืองปรากฏการณเ รือนกระจกจะไมสงผลกระทบทร่ี นุ แรงตอมนุษยชาตโิ ดยเดด็ ขาด แตปญหาท่ีโลกของส่ิงมีชีวิตกําลังประสบอยูในปจจุบันก็คือ ปริมาณกาซเรือนกระจกที่อยูใน บรรยากาศเกดิ การสญู เสียสมดุลขึ้น ปริมาณความเขมของกาซเรือนกระจกบางตัว เชน คารบอนไดออกไซด มีเทน ไนตรัสออกไซดและคลอโรฟลูออโรคารบอนกลับเพ่ิมปริมาณมากข้ึน นับต้ังแตเกิดการปฏิวัติ อุตสาหกรรม (industrial revolution) หรือประมาณป พ.ศ. 2493 เปนตนมา กจิ กรรมตา งๆ ที่ทําใหเกิดการเพ่ิมขึ้นของกาซเรือนกระจกมีดังน้ีคือ 57% เกิดจากการเผาไหมของ เชื้อเพลิงฟอสซิล (นํ้ามันเชื้อเพลิง ถานหินและกาซธรรมชาติ) 17% เกิดจากการใชสารคลอโรฟลูออโร คารบ อน 15% เกดิ จากการผลิตในภาคเกษตรกรรม 8% เกิดจากการตัดไมทําลายปา สวนอีก 3% เกิดจาก การเปล่ยี นแปลงตามธรรมชาติ นักวทิ ยาศาสตรท ่วั โลกไดติดตามการเพิ่มขึ้นของปรมิ าณกาซเรอื นกระจก โดยการใชว ทิ ยาศาสตรแ ละ เทคโนโลยอี นั ทนั สมัย เชน การใชด าวเทียมสาํ รวจอากาศและสามารถสรปุ ไดวาในแตล ะปสดั สวนของกา ซเรอื น กระจกทถี่ กู ปลอยออกจากโลก โมเลกุลของคารบอนไดออกไซดจะมีผลตอการตอบสนองในการเก็บกักความ รอนนอยมาก แตเนื่องจากปริมาณของคารบอนไดออกไซดท่ีเกิดจากกิจกรรมตางๆ ของมนุษยมีมากท่ีสุด ดังน้นั หัวใจสาํ คัญของการแกป ญ หาจงึ ตอ งมุง ประเด็นตรงไปทก่ี ารลดปริมาณคารบอนไดออกไซดซ่ึงเกิดจาก การเผาไหมของเชื้อเพลิง ฟอสซิลกอนเปนอันดับแรก ตอจากน้ันจึงคอยลดและเลิกการใชคลอโรฟลูออโร คารบ อนรวมถงึ การควบคมุ ปริมาณของมีเทนและไนตรสั ออกไซดทจ่ี ะปลอยข้ึนสบู รรยากาศ ผลกระทบตอมนษุ ยช าติจากการเกดิ ปรากฎการณเ รอื นกระจก จากการคาดการณของนักวทิ ยาศาสตร อณุ หภมู ิโดยเฉล่ียของโลกสูงข้ึนถึงแมการเพิ่มสูงข้ึนจะแสดง ออกมาเปนตวั เลขเพียงเล็กนอย แตอาจสงผลกระทบที่รุนแรงตอโลกของส่ิงมีชีวิต เพราะการเปล่ียนแปลง อุณหภูมิเฉล่ียของโลกดังทเ่ี กดิ ข้ึนในปจ จบุ ันทาํ ใหค วามแตกตา งระหวางอุณหภูมบิ ริเวณเสน ศนู ยส ตู รกบั บริเวณ ข้วั โลกลดนอยลงทาํ ใหเ กดิ ความผันผวนข้ึนในอณุ หภูมอิ ากาศของโลก เชน แนวปะทะระหวางอากาศรอนกับ อากาศเยน็ ของลมเปลย่ี นไปอยางมากเกดิ สภาวะความกดอากาศต่าํ มากข้นึ ทําใหมลี มมรสมุ พัดแรง เกดิ ลมพายุ ชนิดตา งๆ เชน พายโุ ซนรอน ใตฝ นุ ดเี ปรสช่นั และทอรน าโดข้ึนบอยๆ หรืออาจเกิดฝนตกหนักผิดพื้นท่ี สมดุล ทางธรรมชาตจิ ะเปลย่ี นแปลงไปทําใหเ กิดภยั ธรรมชาติ เชน ดินถูกน้าํ เซาะพังทลายหรือเกิดอทุ กภัยเฉียบพลัน เปนตน

42 นอกจากนนี้ กั วทิ ยาศาสตรย ังมคี วามเชือ่ วาหากอณุ หภูมเิ ฉลีย่ ของโลกสูงมากจะทําใหนํ้าแข็งบรเิ วณขวั้ โลกละลาย นํ้าในทะเลและมหาสมุทรจะเพ่มิ ปรมิ าณและทว มทนทําใหเ กาะบางแหงจมหายไป เมืองท่ีอยูใกล ชายทะเลหรอื มีระดับพน้ื ที่ต่ําเชน กรงุ เทพฯจะเกิดปญหานาํ้ ทว มข้นึ และถาน้ําแข็งบริเวณขั้วโลกละลายอยาง ตอเนือ่ ง ก็จะสง ผลใหร ะดับนา้ํ ทะเลท่วั โลกเพิม่ สงู ข้นึ อีกสามเมตรหรือมากกวา นั้น ซึ่งหมายถงึ อุทกภัยครัง้ ใหญ จะเกิดขึ้นในโลกอยางแนนอน จากเอกสารของโครงการสิ่งแวดลอมขององคการสหประชาชาติไดประมาณ การณวาอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกอาจสูงข้ึน 2 ถึง 4°C และระดับนํ้าทะเลอาจสูงข้ึน 20-50 เซนติเมตร ในระยะเวลาอีก 10 – 50 ปนับจากปจจบุ ัน มาตรการปองกันผลกระทบจากการเกดิ ปรากฎการณเรอื นกระจก หลักจากทีเ่ ราไดทราบมลู เหตแุ หง การเกิดปรากฎการณเ รือนกระจกแลว ขอสรุปที่ดีท่ีสุดในการแกไข ปญ หา คอื การลดปรมิ าณกา ซเรอื นกระจกท่ีจะถกู ปลอ ยออกสบู รรยากาศใหอยใู นสัดสวน และปริมาณที่นอย ที่สุดเทาท่ีจะกระทําได การรักษาระดับความหนาแนนของกาซเรือนกระจกในบรรยากาศที่ทั่วโลกกํากลัง ปฏบิ ตั ิมีหลายวิธี ยกตัวอยางเชน มาตรการของ IPCC (Intergovermental Panel on Climate Change) ซง่ึ ประมาณการณเอาไววาการรักษาระดับความหนาแนนของกาซเรือนกระจกในบรรยากาศใหอยูในระดับ เดยี วกับปจจบุ นั จะตองลดการปลดปลอ ยกา ซเรือนกระจกจากการกระทําของมนุษยใ หต่าํ ลงจากเดิม 6% และ ไดเสนอมาตรการตา งๆ ดงั น้ี 1. สงเสรมิ การสงวนและการใชพลงั งานอยา งมปี ระสิทธิภาพสูงสุดดังจะยกตัวอยางในบานเมืองของ เราก็เชน การใชเครื่องไฟฟาท่ีมีสลากประหยัดไฟ หรือการเลือกใชหลอดฟลูออเรสเซนต ชนิดหลอดผอม เปนตน 2. หามาตรการในการลดปริมาณคารบอนไดออกไซด เชน กาํ หนดนโยบายผูทาํ ใหเกิดมลพิษตองเปน ผูรับผิดชอบคาใชจายในการบําบัด ในบางประเทศมีการกําหนดใหมีการเก็บภาษีผูที่ทําใหเกิดกาซ คารบอนไดออกไซดใหมากขน้ึ ทัง้ นี้จะสง ผลตอการประหยดั พลงั งานของประเทศทางออมดว ย 3. เลิกการผลิตและการใชคลอโรฟลูออโรคารบอน (CFCs) รวมทั้งคนหาสารอ่ืนมาทดแทนคลอโร ฟลอู อโรคารบ อน ในบางประเทศกาํ หนดใหใชไ ฮโดรฟลอู อโรคารบอน(HFCs) แทน สําหรับประเทศไทยของ เรามีการสงเสริมการสรางคานิยมในการใชสเปรย และอุปกรณท่ีอยูในประเภทท่ีปราศจากคลอโรฟลูออโร คารบ อน (Non-CFCs) เปนตน 4. หนั มาใชเชอ้ื เพลงิ ทก่ี อใหเ กิดคารบอนไดออกไซดในปริมาณท่นี อยกวา เมือ่ เทยี บกบั คา พลังงานที่ได เชน การกอ สรา งโครงการรถไฟฟาของกรงุ เทพมหานครจะชว ยลดการใชน ้าํ มันเช้ือเพลิงจากการขนสงมวลชน ในแตล ะวนั ไดอยา งดีและประสิทธภิ าพท่สี ดุ 5. สนับสนุนการวิจัยเกี่ยวกับแหลงพลังงานทดแทนอื่นๆ เชน พลังงานแสงอาทิตยและพลังงาน นวิ เคลยี รใหเกดิ เปนรูปธรรมและไดร ับความเช่ือม่ันจากประชาชนวาจะไมกอใหเกิดมหันตภัยมวลมนุษยชาติ ดงั ทีเ่ กิดขน้ึ ในเชอรโ นบวิ ล

43 6. หยุดยั้งการทําลายปาไมและสนับสนุนการปลูกปาทดแทน สําหรับในประเทศไทยการรณรงคใน เร่ืองการปลกู ปาเฉลิมพระเกียรตินบั เปนโครงการที่นา สนับสนนุ อยางมาก 5) ภาวะโลกรอ น ภาวะโลกรอ น หมายถงึ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศท่เี กิดจากการกระทําของมนุษย ท่ีทําใหอุณหภูมิ เฉล่ียของโลกเพิม่ สงู ขึน้ เราจงึ เรียกวา ภาวะโลกรอน (Global Warming) กิจกรรมของมนุษยทีท่ ําใหเกิดภาวะ โลกรอนคอื กิจกรรมท่ที าํ ใหป รมิ าณกา ซเรอื นกระจกในบรรยากาศเพมิ่ มากขึ้น ไดแ ก การเพิม่ ปรมิ าณกา ซเรอื น กระจกโดยตรง เชน การเผาไหมเช้ือเพลิง และการเพิ่มปริมาณกาซเรือนกระจกโดยทางออม คือ การตัดไม ทาํ ลายปา หากไมม กี ารชวยกันแกไขปญ หาโลกในวนั นี้ ในอนาคตจะสง ผลกระทบดังน้ี 1. ทําใหฤ ดกู าลของฝนเปล่ียนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกล่ันตัวจะเร็วขึ้น หมายถึงวา ฝน อาจจะตกบอ ยข้นึ แตนํ้าจะระเหยเรว็ ข้ึนดวย ทําใหด ินแหงเร็วกวาปกติในชวงฤดูกาลเพาะปลูก 2. ผลผลิตทางการเกษตรจะลดลง นอกจากผลกระทบโดยตรงจากอุณหภูมิ ฝน ชว งระยะเวลาฤดกู าล เพาะปลกู แลว ยงั เกดิ จากผลกระทบทางออมอีกดวย คอื การระบาดของโรคพชื ศตั รพู ชื และวชั พืช 3. สัตวน ้ําจะอพยพไปตามการเปลยี่ นแปลงของอุณหภมู ิน้าํ ทะเล แหลงประมงท่ีสําคัญๆ ของโลกจะ เปลี่ยนแปลงไป 4. มนุษยจะเสียชีวิตเน่ืองจากความรอนมากขึ้น ตัวนําเชื้อโรคในเขตรอนเพิ่มมากข้ึน ปญหาภาวะ มลพษิ ทางอากาศภายในเมอื งจะรนุ แรงมากขนึ้ วิธีการลดภาวะโลกรอ น มี 10 วธิ ีดงั น้ี 1. ลดการใชพลงั งานท่ไี มจ ําเปนจากเครื่องใชไฟฟา เชน เครื่องปรับอากาศ พดั ลม หากเปน ไปไดใชวิธี เปด หนาตา ง ซ่งึ บางชว งท่อี ากาศดๆี สามารถทําได เชน หลังฝนตก หรอื ชว งอากาศเย็น เปน การลดคาไฟ และ ลดความรอน เนื่องจากหลักการทําความเย็นนั้นคือ การถายเทความรอนออก ดังน้ันเวลาเราใช เครอ่ื งปรับอากาศ จะเกดิ ปริมาณความรอ นบริเวณหลังเครอ่ื งระบายความรอน 2. เลือกใชร ะบบขนสง มวลชน ในกรณีทส่ี ามารถทาํ ได ไดแ ก รถไฟฟา รถตู รถเมล เน่ืองจากพาหนะ แตละคัน จะเกิดการเผาผลาญเชื้อเพลิง ซึ่งจะเกิดความรอน และกาซคารบอนไดออกไซด ดังน้ันเม่ือลด ปริมาณจาํ นวนรถ ก็จะลดจาํ นวนการเผา ไหมบนทองถนน ในแตล ะวนั ลงได 3. ชวยกันปลูกตน ไม เพราะตน ไมจะคายความชุมชื้นใหกับโลก และชวยดูดกาซคารบอนไดออกไซด ซึง่ เปนสาเหตภุ าวะเรอื นกระจก 4. การชวนกันออกไปเท่ยี วธรรมชาติภายนอก ก็ชวยลดการใชป รมิ าณไฟฟา ได 5. เวลาซื้อของพยายามไมรับภาชนะท่ีเปนโฟม หรือกรณีที่เปนพลาสติก เชน ขวดน้ําพยายามนํา กลบั มาใชอ ีก เนอื่ งจากพลาสติกเหลา น้ที าํ การยอยสลายยาก ตองใชปริมาณความรอน เหมือนกับตอนท่ีผลิต