Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาขยาต-กิตก์

อาขยาต-กิตก์

Description: อาขยาต-กิตก์

Search

Read the Text Version

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 101 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò แบบประเมินผลตนเองกอนเรยี น หนวยท่ี ๕ จุดประสงค เพ่ือประเมินความรเู ดมิ ของนักเรยี นเก่ยี วกับเรื่อง “วาจก ปจ จัย” คำส่งั ใหนักเรียนอานขอความตอไปน้ี แลวทำเคร่ืองหมายถูก ( ) หนาขอคำตอบท่ีถูกตอง และทำเครื่องหมายผิด ( ) หนาขอ คำตอบที่ผิด ( ) ๑. วาจก คอื กลาวบททเ่ี ปนประธานของกริ ิยา ( ) ๒. อ เอ ย ณุ ณา นา ณฺหา โอ เณ ณย เปน ปจ จยั ประจำของกัตตุวาจก ( ) ๓. กริ ยิ าศพั ทท ก่ี ลา วถงึ ผทู ำ ซงึ่ ทำหนา ทปี่ ระธานในประโยค ชอ่ื กมั มวาจก ( ) ๔. ประโยควา “เตน ภยู เต” เปน ประโยคภาววาจก ( ) ๕. ย ปจจัย พรอมทัง้ อิ อาคมหนา ย ใชล งในประโยคเหตุกตั ตวุ าจก ( ) ๖. ในประโยคกตั ตวุ าจก ยกตัวกรรมข้ึนเปนประธานในประโยค ( ) ๗. เณ ณย ณาเป ณาปย ปจจยั เปน เครื่องหมายเหตุกมั มวาจก ( ) ๘. บทกตั ตาในประโยคกมั มวาจก ตอ งประกอบดวยปฐมาวภิ ตั ติ ( ) ๙. บทเหตกุ รรม ในประโยคเหตุกมั มวาจก ตอ งประกอบดว ยทุตยิ าวภิ ัตติ ( ) ๑๐. ประโยควา “สามิเกน สูเทน โอทโน ปาจาปยเต” เปน เหตกุ ัตตุวาจก ( ) ๑๑. บทวา “ปาเจติ” เปนกริ ยิ าในเหตุกตั ตุวาจก ( ) ๑๒. ในภาววาจก กิริยาตองใชอกัมมธาตุ ย ปจจัย วิภัตติฝายอัตตโนบท ประถมบุรุษ เอกวจนะ ( ) ๑๓. ข, ฉ, ส ปจจัย เปนไปในความปรารถนา และตอ งทำอัพภาสธาตุดวย ( ) ๑๔. อาย อิย ปจจัย ใชประกอบกับนามศัพท ทำใหเปนกิริยาศัพท เปนไป ในความประพฤติ ( ) ๑๕. เณ ณย ณาเป ณาปย ปจจัย เปนปจจัยเนื่องดวย ณ เมื่อลงแลว ตอ งลบ ณ ท้งิ เสมอ 101

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 102 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò แบบประเมินผลตนเองหลังเรยี น หนวยที่ ๕ จุดประสงค เพ่ือประเมินความกาวหนาของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง “วาจก คำส่ัง ปจ จัย” ใหนักเรียนอานขอความตอไปน้ี แลวทำเคร่ืองหมายถูก ( ) หนาขอคำตอบที่ถูกตอง และทำเครื่องหมายผิด ( ) หนาขอ คำตอบที่ผดิ ( ) ๑. วาจก คอื กลา วบททีเ่ ปน ทตุ ยิ าวภิ ตั ติของกิริยา ( ) ๒. อ เอ ย ณุ ณา นา ณหฺ า โอ เณ ณย เปน ปจ จยั ประจำของเหตกุ มั มวาจก ( ) ๓. กริ ยิ าศพั ทท ก่ี ลา วถงึ ผทู ำซงึ่ ทำหนา ทป่ี ระธานในประโยค ชอ่ื กตั ตวุ าจก ( ) ๔. ประโยควา “เตน ภูยเต” เปนประโยคกตั ตุวาจก ( ) ๕. ย ปจจัย พรอ มท้งั อิ อาคมหนา ย ใชล งในประโยคกัมมวาจก ( ) ๖. ในประโยคกมั มวาจก ยกตวั กรรมขึ้นเปนประธานในประโยค ( ) ๗. เณ ณย ณาเป ณาปย ปจจัย เปนเครื่องหมายเหตกุ ัตตุวาจก ( ) ๘. บทกัตตาในประโยคกมั มวาจก ตองประกอบดว ยตติยาวิภัตติ ( ) ๙. บทเหตุกรรม ในประโยคเหตกุ มั มวาจก ตองประกอบดว ยปฐมาวิภตั ติ ( ) ๑๐. ประโยควา “สามเิ กน สเู ทน โอทโน ปาจาปยเต” เปนเหตกุ ัมมวาจก ( ) ๑๑. บทวา “ปาเจติ” เปน กิรยิ าในภาววาจก ( ) ๑๒. ในกัมมวาจก กิริยาตองใชอกัมมธาตุ ย ปจจัย วิภัตติฝายอัตตโนบท ประถมบรุ ุษ เอกวจนะ ( ) ๑๓. อาย อยิ ปจจัย เปนไปในความปรารถนา และตองทำอพั ภาสธาตดุ วย ( ) ๑๔. ข ฉ ส ปจจัย ใชประกอบกับนามศัพท ทำใหเปนกิริยาศัพท เปนไปใน ความประพฤติ ( ) ๑๕. ณุ, ณา ปจจัย เปน ปจจยั เนือ่ งดวย ณ เม่อื ลงแลวตอ งลบ ณ ทิง้ เสมอ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 102

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 103 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เฉลยแบบประเมนิ ผล หนวยที่ ๕ ขอ กอ นเรียน หลงั เรยี น ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 103

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 104 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ภาคผนวก กริ ยิ าอาขยาต การเรียนอาขยาตก็เพื่อจะไดทราบกิริยาศัพท กิริยาศัพทยอมมีมูลมาจาก ธาตเุ ปน สว นมาก ฉะนน้ั ในทน่ี จ้ี ะไดน ำกริ ยิ าศพั ทพ รอ มทง้ั ธาตแุ ละเครอ่ื งปรงุ ประกอบกบั วิธีทำจนสำเร็จรูปมาแสดงพอเปนตัวอยาง เพื่อเปนการสะดวกแกผูศึกษาจะไดสังเกต และจดจำวิธีทำไว ดังตอไปนี้ :- อ อกฺกมติ ยอมเหยยี บ อา บทหนา กมฺ ธาตุ ในความกา วไป อ ปจจัย ติ วภิ ตั ติ รัสสะ อา เปน อ ซอน ก.ฺ อกโฺ กจฉฺ ิ ไดด าแลว กสุ ฺ ธาตุ ในความดา อ ปจ จัย อี วิภัตติ แปลง อี เปน จฺฉิ ดวยอำนาจ กุสฺ ธาตุ ในความดา ลบท่ีสุดธาตุเสีย พฤทธิ์ อุ ที่ กุ เปน โอ ลง อ อาคมตน ธาตุ ซอน กฺ. อกฺโกสติ ยอมดา อา บทหนา กสุ ฺ ธาตุ ในความดา อ ปจ จยั ติ วภิ ตั ติ รัสสะอา เปน อ พฤทธิ์ อุ แหง กุ เปน โอ ซอน กฺ. อกฺขายติ ยอมกลาว อา บทหนา ขา ธาตุ ในความกลาว ย ปจจัย ติ วิภัตติ รัสสะ อา เปน อ ซอน กฺ. อกตฺถ ไดทำแลว กรฺ ธาตุ ในความทำ อ ปจจัย ตฺถ อัชชัตตนีวิภัตติ ลบ ท่ีสดุ ธาตุ ลง อ อาคมหนา ธาตุ. อกสุ ไดทำแลว กรฺ ธาตุ ในความทำ อ ปจจัย อุ อชั ชัตตนีวภิ ัตติ แปลง กรฺ เปน กา เอา อุ เปน อส ุ ลง อ อาคมหนาธาต.ุ อกาสิ ไดทำแลว กรฺ ธาตุ ในความทำ อ ปจจัย อี อัชชตั ตนวี ิภัตติ แปลง กรฺ เปน กา เอา อี เปน อิ ลง ส อาคมหลงั ธาต.ุ อคจฺฉา ไดไป-ถึงแลว คมฺ ธาตุ ในความไป-ถึง อ ปจจัย อา หิยัตตนีวิภัตติ แปลง คมฺ เปน คจฺฉ ลง อ อาคมหนาธาต.ุ อคจฺฉิสฺสา จักไดไป-ถึงแลว คมฺ ธาตุ ในความไป, ถึง อ ปจจัย สฺสา วิภัตติ แปลง คมฺ เปน คจฺฉ ลง อ อาคมหนาธาตุ และ อิ อาคมหลงั ธาต.ุ 104

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 105 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò อคมา ไดไป-ถึงแลว คมฺ ธาตุ ในความไป, ถึง อ ปจจยั อา วภิ ัตติ ลง อ อาคม อคมาสิ อคฺฆาเปสิ หนาธาต.ุ อจจฺ าวทติ ไดไป-ถึงแลว คมฺ ธาตุ ในความไป, ถงึ อ ปจจยั อี วภิ ัตติ รัสสะ อี เปน อจเฺ จติ อจฺฉติ อิ ลง อ อาคมหนาธาตุ ลง ส อาคม ทีฆะ อ ท่สี ดุ ธาตเุ ปน อา. อจฉฺ าเทติ ใหต ีราคาแลว อคฺฆ ธาตุ ในความมีราคา-มคี า ณาเป ปจจัย อี วภิ ัตติ อจฉฺ นิ ฺทิ รัสสะ อี เปน อิ ลง ส อาคม. อจฉฺ นิ ฺทติ ยอ มกลา วลว งเกนิ -พดู เกยี้ ว อต+ิ อา บทหนา วทฺ ธาตุ ในความกลา ว อจฺฉุปติ อจเฺ ฉชชฺ ิ อ ปจ จัย ติ วิภตั ติ แปลง ติ ที่ อติ เปน ตยฺ แลว เอาเปน จจฺ . ยอมลวงไป อติ บทหนา อิ ธาตุ ในความไป ย ปจจัย ติ วิภัตติ อชนิ ิ อเชสิ แปลง อิ ธาตุ เปน เอ แปลง ติ เปน ตฺย แลว เอาเปน จจฺ . ยอมอย-ู น่ัง อาสฺ ธาตุ ในความอยู-นงั่ ย ปจ จยั ติ วิภัตติ เอา ย กบั ส ทส่ี ดุ ธาตเุ ปน จฺฉ รสั สะ อา เปน อ. ยอ มนงุ หม อา บทหนา ฉทฺ ธาตุ ในความปกปด เณ ปจ จยั (กตั ตวุ าจก) ติ วิภัตติ ทีฆะตนธาตุ เพราะปจจัยท่ีเนื่องดวย ณ รัสสะ อา เปน อ ซอ น จฺ. ไดต ดั แลว ฉิทฺ ธาตุ ในความตดั อ ปจ จัย อี วิภตั ติ รัสสะ อี เปน อิ ลงนคิ คหิตอาคม แลว แปลงเปน นฺ ลง อ อาคมหนา ธาตุ ซอ น จ.ฺ ยอมแยง-ชิง-ปลน อา บทหนา ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด อ ปจจัย ติ วภิ ตั ติ ลงนิคคหติ อาคม แลว แปลงเปน นฺ ซอน จ.ฺ ยอมถูกตอง-ทาบลง-ดามลง อา บทหนา ฉุปฺ ธาตุ ในความถูกตอง อ ปจจัย ติ วภิ ัตติ รสั สะ อา เปน อ ซอ น จ.ฺ ไดต ัดแลว ฉทิ ฺ ธาตุ ในความตัด ย ปจจัย อี วภิ ัตติ รสั สะ อี เปน อิ เอา ย กับ ทฺ ทีส่ ดุ ธาตุเปน ชฺช พฤทธ์ิ อิ แหง ฉทิ ฺ เปน เอ ลง อ อาคม หนาธาตุ ซอน จ.ฺ ไดช นะแลว ชิ ธาตุ ในความชนะ นา ปจ จัย อี วิภัตติ รัสสะ อี เปน อิ ลง อ อาคมหนาธาต.ุ ไดชนะแลว ชิ ธาตุ เอ ปจ จัย อี วิภตั ติ รัสสะ อี เปน อิ ลง ส อาคม. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 105

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 106 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) อชฺฌาจรติ ยอมลวงละเมิด-ประพฤติผิด อธิ+อา บทหนา จรฺ ธาตุ ในความ ประพฤติ อ ปจ จยั ติ วิภตั ติ แปลง อธิ เปน อชฌฺ . อชฌฺ คา ไดบรรลุแลว อธิ บทหนา คมฺ ธาตุ ในความถึง อ ปจจัย อา วิภัตติ แปลง อธิ เปน อชฌฺ ลบท่สี ดุ ธาตุ ลง อ อาคมหนาธาตแุ ลวลบเสยี . อชฺฌายติ ยอมศึกษา-เลาเรียน-ทองบน อธิ บทหนา อิ ธาตุ ในความเลาเรียน อ ปจจัย ติ วิภัตติ แปลง อธิ เปน อชฺฌ พฤทธิ์ อิ เปน เอ แลว เอาเปน อาย. อชฺฌาวสติ ยอมครอบครอง อธิ+อา บทหนา วสฺ ธาตุ ในความอยู อ ปจจัย ติ วภิ ตั ติ แปลง อธิ เปน อชฌฺ . อชฺฌเุ ปกขฺ ติ ยอมเพง-วางเฉย อธิ+อุป บทหนา อิกฺข ธาตุ ในความเห็น อ ปจจัย ติ วิภตั ติ แปลง อธิ เปน อชฌฺ พฤทธิ์ อิ แหง อิกฺข เปน เอ. อชเฺ ฌสติ ยอมเชื้อเชิญ-ขอรอง อธิ บทหนา เอสฺ ธาตุ ในความเชิญ อ ปจจัย ติ วิภตั ติ แปลง อธิ เปน อชฺฌ. อชฺโฌหรติ ยอมกลืนกิน อธิ+โอ บทหนา หรฺ ธาตุ ในความนำไป อ ปจจัย ติ วิภัตติ แปลง อธิ เปน อชฌฺ . อตถฺ ยอมมี-เปน อสฺ ธาตุ ในความมี - ความเปน อ ปจจัย ถ วิภัตติ แปลง ถ เปน ตฺถ แลว ลบท่สี ุดธาตุ. อตฺถิ มี-เปนอยู อสฺ ธาตุ อสฺ ธาตุ ในความมี - ความเปน อ ปจจัย ติ วภิ ตั ติ แปลง ติ เปน ตถฺ ิ แลว ลบที่สดุ ธาต.ุ อททฺ กขฺ ิ ไดเ หน็ แลว ทสิ ฺ ธาตุ ในความเหน็ อ ปจ จยั อี วภิ ตั ติ รสั สะ อี เปน อิ แปลง ทสิ ฺ เปน ทกขฺ ซอ น ทฺ รสั สะ อา เปน อ ลง อ อาคมหนาธาตุ. อททฺ ส ไดเ ห็นแลว ทสิ ฺ ธาตุ ในความเห็น อ ปจ จยั อา หิยตั ตนวี ิภัตติ ลบ อิ ตนธาตุ ซอน ทฺ รสั สะ อา เปน อ ลง อ อาคมหนาธาตุ. อทาสิ ไดใหแลว ทา ธาตุ ในความให อ ปจจัย อี วิภัตติ รัสสะ อี เปน อิ ลง อ อาคม หนาธาตุ และ ส อาคม. อธิวาเสติ ยอมยัง...ใหอยูทับ, รับ-อดกลั้น อธิ บทหนา วสฺ ธาตุ ในความอยู เณ ปจจัย (เหตุกัตตุวาจก) ติ วภิ ตั ติ ลบ ณ เสยี ทฆี ะตนธาตุ 106

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 107 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò อนฺตรธายิ หายไปแลว อนฺตร (ระหวาง) บทหนา ธา ธาตุ ในความทรงไว อเนวตฺ ิ อนพุ นธฺ ิ ย ปจ จัย อี วภิ ตั ติ รัสสะ อี เปน อ.ิ อนุโภติ ยอมไปตาม อนุ บทหนา อิ ธาตุ ในความไป อ ปจจัย ติ วิภัตติ อนโุ มทติ อนยุ ุฺชติ แปลง อุ แหง อนุ เปน อว แลวแปลง อิ ธาตุ เปน เอ. อนุรชุ ฌฺ ติ ติดตามแลว อนุ บทหนา พนฺธฺ ธาตุ ในความผูก อ ปจจัย อี วิภัตติ อปโพเธติ รัสสะ อี เปน อ.ิ อปรชฺฌติ ยอมเสวย อนุ บทหนา ภู ธาตุ ในความมี-เปน อ ปจจัย ติ วิภัตติ อปโลเกสุ อเปติ พฤทธ์ิ อู แหง ภู ธาตุ เปน โอ. อพรฺ วิ ยอมชื่นชม อนุ บทหนา มุทฺ ธาตุ ในความบันเทิง ติ วิภัตติ พฤทธ์ิ อพฺภาจกิ ฺขิ อุ เปน โอ. ยอมตามประกอบเนอื ง ๆ อนุ บทหนา ยุชฺ ธาตุ ในความประกอบ อ ปจจยั ติ วภิ ตั ติ ลง นิคคหิตอาคม หนา ธาตุ แลว แปลงเปน . ยอมยินดี อนุ บทหนา รุธิ ธาตุ ในความยินดี-รักใคร ย ปจจัย ติ วิภัตติ ลบ อิ ทีส่ ุดธาตุ แลว แปลง ย ปจ จัยกบั ธฺ เปน ชฺฌ. ยอ มนำปราศ (ซง่ึ ความหลบั ), ตน่ื อยู อป บทหนา พธุ ฺ ธาตใุ นความตน่ื เณ ปจจัยในกัตตุวาจก ติ วิภัตติ ลบ ณ เสีย พฤทธิ์ อุ แหง พุธฺ เปน โอ. ยอมผิด อป บทหนา รธฺ ธาตุ ในความเบียดเบียน-ทำราย ย ปจจัย ติ วภิ ัตติ แปลง ธฺ ทสี่ ดุ ธาตุกบั ย เปน ชฺฌ. อำลา-บอกเลา-แจงความแลว อป บทหนา โลกฺ ธาตุในความเห็น- แลดู เณ ปจ จัย ในกัตตุวาจก อุ วภิ ตั ติ ลง ส อาคม. ยอมหลีกไป อป บทหนา อิ ธาตุ ในความไป อ ปจจัย ติ วิภัตติ แปลง อิ เปน เอ. ไดก ลา วแลว พรฺ ู ธาตุ ในความกลา ว อ ปจ จยั อี วภิ ตั ติ รสั สะ อี เปน อิ พฤทธ์ิ อู ท่ี พรฺ ู เปน โอ แลว เอาเปน อว ลง อ อาคมหนาธาต.ุ กลาวตูแลว อภิ+อา บทหนา จิกฺขฺ ธาตุ ในความกลาว อ ปจจัย อี วภิ ัตติ แลว รสั สะ แปลง อภิ เปน อพฺภ. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 107

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 108 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) อภภิ วติ ยอมครอบงำ อภิ บทหนา ภู ธาตุ ในความมี-เปน อ ปจจัย ติ วิภตั ติ พฤทธิ์ อู แหง ภู เปน โอ แลว เอาเปน อว. อภิตถฺ วิ ชมเชยแลว อภิ บทหนา ถุ ธาตุ ในความชมเชย อ ปจจัย อี วิภัตติ แลวรัสสะ พฤทธ์ิ อุ ท่ี ถุ เปน โอ แลวเอาเปน อว ซอ น ต. อภิรหุ ติ ยอมขึ้น อภิ บทหนา รุหฺ ธาตุ ในความงอก อ ปจ จัย ติ วภิ ตั ติ. อภวิ าเทสิ กราบไหวแลว อภิ บทหนา วที ธาตุ ในความกราบไหว-ชมเชย เณ ปจจัยในกัตตุวาจก อี วิภัตติ แลวรัสสะ ทีฆะ ตนธาตุ ลบ อี ที่ ที ลง ส อาคม. อภิสฺสป สาป-แชงแลว อภิ บทหนา สปฺ ธาตุ ในความสาป-แชง อ ปจจัย อี วภิ ัตติ แลว รัสสะ ซอน สฺ. อภสิ งฺขโรติ ยอมปรุงแตง อภิ+ส บทหนา กรฺ ธาตุในความทำ โอ ปจจัย ติ วภิ ตั ติ แปลงนคิ คหิตที่ ส เปน งฺ แลว แปลง ก แหง กรฺ เปน ข. อลงกฺ โรติ ยอมประดับ อล ศพั ทเปนบทหนา กรฺ ธาตุ ในความทำ โอ ปจ จยั ติ วิภัตติ แปลงนิคคหิตที่ อล เปน งฺ (ศัพทน้ีถาแปลใชเต็มที่ก็วา “ยอมทำซึง่ การประดับ” หรอื “ยอ มกระทำใหพ อ” อลตถฺ ไดไดแลว ลภฺ ธาตุ ในความได อ ปจจัย อี วิภัตติ เพราะ ลภฺ ธาตุ แปลง อี เปน ตฺถ ลบทสี่ ุดธาตุ ลง อ อาคมตนธาต.ุ อลตถฺ  ไดไดแลว ลภฺ ธาตุ ในความได อ ปจจัย อึ วิภัตติ เพราะ ลภฺ ธาตุ แปลง อึ เปน ตฺถ ลบท่สี ุดธาตุ ลง อ อาคมตน ธาต.ุ อลภสิ ฺส จักไดไดแลว ลภฺ ธาตุ ในความได อ ปจจัย สฺสา วิภัตติ รัสสะ อา แหง สฺสา เปน อ ลง อิ อาคมที่สุดธาตุและปจจัย และลง อ อาคม หนา ธาตุ. อวจ ไดก ลา วแลว วจฺ ธาตุ ในความกลาว อ ปจ จยั อ วภิ ตั ติ ลง อ อาคม หนา ธาต.ุ อโวจ ไดกลาวแลว วจฺ ธาตุ ในความกลาว อ ปจจัย อา วิภัตติ แลวรัสสะ เสยี เอา อ ที่ ว แหง วจฺ เปน อุ แลว พฤทธ์ิ อุ เปน โอ ลง อ อาคม หนาธาตุ. 108

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 109 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò อวชาเนยฺย พึงดูหม่ิน อว บทหนา า ธาตุ ในความรู นา ปจจัย เอยฺย วิภัตติ แปลง า เปน ชา. อวฌายนฺติ ยอ มซบเซา อว บทหนา เฌ ธาตุ ในความเพง อ ปจ จยั อนฺติ วิภตั ติ แปลง เอ ที่ เฌ เปน อาย. อวตถฺ ริ ทวมทับแลว อว บทหนา ถรฺ ธาตุ ในความลาด-ปู อ ปจ จยั อี วิภัตติ รสั สะ อี เปน อิ ซอ น ตฺ. อวมฺเถ พงึ ดูหม่นิ อว บทหนา มนฺ ธาตุ ในความร-ู สำคัญ ย ปจจัย เอถ วภิ ตั ติ แปลง ย ปจจยั กับ นฺ ทีส่ ุดเปน ธาตุ ฺ. อเวกฺขติ ยอ มเล็งเหน็ อว บทหนา อิกขฺ ฺ ธาตุ ในความเห็น อ ปจ จยั ติ วิภัตติ พฤทธ์ิ อิ แหง อกิ ฺขฺ เปน เอ. อสโฺ สสิ ไดฟงแลว สุ ธาตุ ในความฟง อ ปจจัย อี วิภัตติ ลง อ อาคมตน ธาตุ ซอน สฺ พฤทธิ์ อุ แหง สุ เปน โอ รัสสะ อี เปน อิ ลง ส อาคม. อสสฺ าเทติ ยอ มยนิ ดี อา บทหนา สทฺ ธาตุ ในความยนิ ดี เณ ปจ จยั (กตั ตวุ าจก) ติ วภิ ตั ติ เพราะปจ จยั ทเ่ี นอื่ งดว ย ณ ทฆี ะ อ แหง สทฺ เปน อา ซอ น ส.ฺ อหาสิ ไดลักแลว หรฺ ธาตุ ในความนำไป อ ปจจัย อี วิภัตติ รัสสะ อี เปน อิ ลง อ อาคมหนา ธาตุ และลง ส อาคม แลว ลบที่สดุ ธาตุ ทีฆะ อ ท่ี ห เปน อา. อากฑตฺ ิ ฉดุ -ครามาแลว อา บทหนา กฑฺฒ ธาตุ ในความ ฉดุ -ครา อา ปจ จัย อี วภิ ตั ติ รัสสะ เปน อิ. อากริ ติ ยอมเรย่ี ราย-โปรย อา บทหนา กิรฺ ธาตุ ในความโรย-โปรย อ ปจจยั ติ วภิ ัตต.ิ อาโกเฏสิ เคาะแลว อา บทหนา กุฏ ธาตุ ในความเคาะ-ตี-ทุบ เณ ปจจัย (กัตตุวาจก) อี วภิ ตั ติ รสั สะ อี เปน อิ เพราะ ณ ปจจยั พฤทธ์ิ อุ ท่ี กุ เปน โอ แลวลง ส อาคม. อาจิกฺขิ บอกแลว อา บทหนา จิกฺขฺ ธาตุ ในความกลาว อ ปจจัย อี วิภัตติ แลว รสั สะ อี เปน อิ. 109

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 110 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò อาณาเปสิ สั่ง-บงั คบั แลว อา บทหนา า ธาตุ ในความรู ณาเป ปจจยั อี วิภัตติ แลวรัสสะเสีย ลง ส อาคม แปลง า ธาตุ เปน ณา ถาจะแปลตาม อาทิยติ รูปเดิมก็ตองวา “ยัง...ใหรูท่ัว” ก็เทากับ อาาเปสิ น่ันเอง เมื่อแปล อานยึสุ ถือเอาความจึงเปนรูปสยกัตตาวา “สั่ง-บังคับแลว” ศัพทนี้ เม่ือเปน อาปุจฉฺ ิ รปู นามกิตก ถาเปนนามนาม เปน อาณตตฺ ิ ก็มี อาณาปน ก็มี แปลวา อามนเฺ ตสิ คำสั่ง-บังคบั บา ง ความสง่ั -บงั คบั บา ง ถาเปน คุณนาม เปน อาณาโก อาราเธสิ ผูส่ัง-บังคับ. ท่ีเปนรูป อาณา เฉย ๆ ก็มี เชน ราชาณา อำนาจของ อาโรเจสิ พระราชา อาณาจกกฺ  จักรคอื อำนาจ อาณาปวตฺติฏ าน ทีเ่ ปน ทเ่ี ปนไป อาโรเปสิ แหงอำนาจ อาณ ปวตฺเตติ ยังคำส่ังใหเปนไป (ออกคำสั่ง) เปนกริ ยิ ากิตกไดรปู เปน กมั มวาจกวา อาณตโฺ ต อนั ...สั่ง-บงั คับแลว กม็ ี เปน เหตุกัตต.ุ วา อาณาเปตฺวา สัง่ บงั คบั แลว กม็ ี แตใ น อภธิ านปปฺ ทปี ก าสจู ิ ทา นกลา ววา เปน อาณฺ ธาตุ ในความสง ไป, แตไ ดค น ดใู นปทานกุ รม Rhys Davids และ Childers กลา ววา เปน า ธาตุท้งั นั้น. ยอมถือเอา อา บทหนา ทา ธาตุในความให ย ปจจัย (กัมมวาจก) อิ อาคม ติ วภิ ตั ต.ิ นำมาแลว อา บทหนา นี ธาตุ ในความนำไป อ ปจจัย อุ วิภัตติ แลวแปลงเปน อึสุ พฤทธิ์ อี ที่ นี เปน เอ แลวเอาเปน อย. อำลาแลว อา บทหนา ปุจฺฉ. ธาตุ ในความถาม อ ปจจัย อี วิภัตติ แลว รสั สะ. เรยี กมาแลว อา บทหนา มนตฺ ฺ ธาตุ ในความปรึกษาหารือ เณ ปจจยั (กตั ตวุ าจก) อี วภิ ตั ติ แลวรัสสะ ลง ส อาคม. ใหย ินดีแลว อา บทหนา ราธฺ ธาตุ ในความสำเรจ็ พรอม-ยนิ ดี เณ ปจ จยั (เหตกุ ตั ตวุ าจก) อี วภิ ตั ติ รสั สะ อี เปน อิ แลว ลง ส อาคม. บอกแลว อา บทหนา รุจฺ ธาตุ ในความชอบใจ เณ ปจจัย (กัตตุวาจก) อี วภิ ตั ติ รสั สะ อี เปน อิ พฤทธ์ิ อุ ท่ี รุ เปน โอ แลว ลง ส อาคม. ยกขนึ้ แลว อา บทหนา รปุ ฺ ธาตุ ในความปลกู เณ ปจ จยั (กตั ตวุ าจก) อี วิภตั ติ รัสสะ อี เปน อิ พฤทธ์ิ อุ ท่ี รุ เปน โอ แลว ลง ส อาคม. เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 110

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 111 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò อาวภิ วิสฺสนฺติ จกั ม-ี เปนแจง อาวิ บทหนา ภู ธาตุ ในความมี - ความเปน อ ปจจัย สสฺ นตฺ ิ วภิ ัตติ พฤทธิ์ อู แหง ภู เปน โอ แลว เอาเปน อว แลว ลง อิ อาคม. อาวณุ ิ รอ ยแลว อา บทหนา วุ ธาตุ ในความรอ ย ณา ปจจยั อี วิภตั ติ รัสสะ อี เปน อิ. อาสึสติ ยอ มหวงั อา บทหนา สสึ ฺ ธาตุ ในความหวงั อ ปจ จัย ติ วิภตั ต.ิ อาห กลา วแลว พรฺ ู ธาตใุ นความกลาว อ ปจจยั อ ปโรกขาวภิ ตั ติ แปลง พรฺ ู เปน อาห. อจิ ฺฉติ ยอ มปรารถนา อสิ ฺ ธาตุ ในความอยาก ย ปจจัย ติ วิภัตติ แปลง ย กบั สฺ ท่สี ุดธาตเุ ปน จฺฉ. อิชฺชเต ยอ มบชู า ยชฺ ธาตุ ในความบูชา ย ปจ จยั เต วภิ ัตติ แปลง ย กับ ชฺ ทีส่ ดุ ธาตุเปน ชฺช แปลง ย แหง ยชฺ ธาตุเปน อ.ิ อิชฌฺ นตฺ ุ จงสำเรจ็ อธิ ฺ ธาตุ ในความสำเร็จ ย ปจจยั อนฺตุ วิภัตติ แปลง ย กบั ธฺ ที่สุด ธาตุเปน ชฌฺ . อุกขฺ ิปติ ยอมยกขึ้น อุ บทหนา ขิปฺ ธาตุ ในความทิ้ง-ขวาง-โยน อ ปจจัย ติ วิภตั ติ ซอ น กฺ. อุคฺคณฺหาติ ยอมเรียน อุ บทหนา คหฺ ธาตุ ในความถอื เอา ณหฺ า ปจ จยั ติ วภิ ัตติ ซอ น คฺ. อคุ ฺโฆเสสิ ปาวรองแลว อุ บทหนา ฆุสฺ ธาตุ ในความกึกกอง-เกรียวกราว เณ ปจจยั ในกัตตุวาจก อี วภิ ตั ติ รสั สะ อี เปน อิ ลง ส อาคม ซอน ค.ฺ อจุ จฺ นิ าติ ยอ มเลอื กเก็บ อุ บทหนา จิ ธาตุ ในความกอ -สัง่ สม นา ปจจยั ติ วภิ ัตติ ซอ น จฺ. อชุ ฺฌายิ ยกโทษ-โพนทนาแลว อุ บทหนา เฌ ธาตุ ในความเพง อ ปจจัย อี วิภัตติ รัสสะ อี เปน อิ แปลง เอ ท่ี เฌ เปน อาย ซอน ช.ฺ อุทกิ ขฺ ติ ยอมแลด-ู เหน็ อุ บทหนา อกิ ขฺ ฺ ธาตุ ในความเห็น อ ปจ จัย ติ วิภตั ติ ลง ท อาคมท่ี อกิ ฺขฺ. อปุ จฺจคา เขาไปลวงแลว อุป+อติ บทหนา คมฺ ธาตุ ในความไป-ถึง ยา ปจจัย อ หิยตั ตนีวภิ ตั ติ แปลง ติ เปน ตฺย แลว เอาเปน จจฺ ลงทสี่ ุดธาตุ. 111

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 112 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) อปุ จฺฉชิ ชฺ ิ เขาไปตัดแลว อุป บทหนา ฉทิ ฺ ธาตุ ในความตดั ย ปจ จยั อี วิภตั ติ รัสสะ อี เปน อิ แปลง ย กบั ทฺ ทีส่ ุดธาตุเปน ชชฺ ซอน จฺ หนาธาตุ. อุปปฺ ชชฺ ติ ยอมเกิดขึ้น อุ บทหนา ปทฺ ธาตุ ในความถึง ย ปจจัย ติ วิภัตติ แปลง ย กับ ทฺ ที่สดุ ธาตุ เปน ชชฺ ซอน ปฺ หนา ธาตุ. อปุ ธาเรติ ใครครวญอยู อุป บทหนา ธรฺ ธาตุ ในความทรงไว เณ ปจจัย ใน กัตตุวาจก ติ วิภตั ติ ทฆี ะ อ ท่ี ธ เปน อา. อปุ ธาวสึ ุ วิ่งเขาไปแลว อุป บทหนา ธาวฺ ธาตุ ในความว่ิง-แลน อ ปจจัย อุ วภิ ตั ติ แปล อุ เปน อสึ ุ. อุปนสิ ีทนตฺ ิ ยอมเขาไปนงั่ ใกล อุป+นิ บทหนา สทฺ ธาตุ ในความจม อนฺติ วภิ ตั ติ แปลง สทฺ เปน สีทฺ. อุปปริกขิสสติ ยอมเขาไปน่ังใกล อุป + ป บทหนา อิกฺข ธาตุ ในความเห็น อ ปจ จัย สฺสติ วภิ ตั ติ ลง อิ อาคมหลังธาตุและปจ จยั ลง ร อาคม อปุ สงกฺ มึสุ เขา ไปแลว อุป+ส บทหนา กมฺ ธาตุ ในความกาวไป อ ปจ จยั อุ วิภัตติ แปลง อุ เปน อึสุ แปลงนิคคหิตท่ี ส เปน งฺ ดวยอำนาจพยัญชนะ ก วรรคอยูเบ้ืองหลัง. อุเปติ ยอมเขาถึง อุป บทหนา อิ ธาตุ ในความถงึ อ ปจ จยั ติ วภิ ัตติ แปลง อิ ธาตุ เปน เอ. อมุ มฺ หิ นตฺ ิ ยอ มถา ยปส สาวะรด อุ บทหนา มหิ ฺ ธาตุ อ ปจ จยั อนตฺ ิ วภิ ตั ติ ซอ น ม.ฺ อสุ ฺสหติ ยอมอาจ อุ บทหนา สหฺ ธาตุ ในความอดกลั้น อ ปจจัย ติ วิภัตติ ซอ น ส.ฺ อุสฺสาปยิสฺสติ จักยัง...ใหยกขึ้น อุ บทหนา สี ธาตุ ในความนอน ณาปย ปจจัย สฺสติ วภิ ตั ติ ซอ น สฺ ลง อิ อาคมหลังธาตุและปจ จัย. อหุ ทนตฺ ิ ยอ มถา ยอจุ จาระรด อุ บทหนา หทฺ ธาตุ อ ปจจัย อนฺติ วิภตั ต.ิ เอธติ ยอมประสบ-ได เอธฺ ธาตุ ในความได อ ปจ จยั ติ วภิ ัตต.ิ โอทหสึ ุ ตง้ั ลง-เงีย่ -คอยฟงแลว โอ บทหนา ธา ธาตุ ในความทรงไว อ ปจจยั อุ วิภตั ติ แปลง อุ เปน อสึ ุ แปลง ธา ธาตุ เปน ทห.ฺ 112

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 113 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò โอรมสิ สฺ ติ จกั งดเวน โอ บทหนา รมฺ ธาตุ ในความเลน-ยินดี อ ปจจยั สฺสติ ลง อิ โอสรนฺติ อาคมหลังธาตแุ ละปจจัย. กถยึสุ ยอมรวมลง-ประชุม โอ บทหนา สรฺ ธาตุ ในความไป-ถึง อ ปจจัย กนฺทติ กปเฺ ปติ อนตฺ ิ วภิ ตั ติ. กยริ า กาหติ ก กิลมิสสฺ ติ กุชฌฺ ติ กลา ว-บอกแลว กถฺ ธาตุ ในความกลาว ย ปจจยั อุ วภิ ตั ติ แปลง อุ กปุ ปฺ ติ กพุ ฺพนฺติ เปน อสึ .ุ ยอมคร่ำครวญ กทิ ธาตุ ในความครวญ อ ปจจัย ติ วิภัตติ ลง กุรุเต นิคคหติ อาคม ที่ ก แลวแปลงเปน นฺ เพราะมี ท อยหู ลงั ลบ อิ ท่ี ทิ ยอมสำเร็จ-คิดนึก-ดำริ กปฺป ธาตุ ในความสำเร็จ เณ ปจจัยในกัตตุ วาจก ติ วิภตั ติ. พึงทำ กรฺ ธาตุ ในความทำ ยิร ปจจัย เอยฺย วิภัตติ แปลง เอยฺย เปน อา ลบที่สุดธาตุ. จักทำ กรฺ ธาตุ อา ปจจยั สฺสติ วภิ ตั ติ เพราะภวสิ สฺ นตฺ ิ วิภัตติ แปลง กรฺ เปน กาห ลบ สฺส แหง สฺสติ วิภตั ตเิ สยี คงไวแต ติ. จักลำบาก-เหน็ดเหน่ือย กิลมฺ ธาตุ ในความลำบาก อ ปจจัย สฺสติ วิภตั ติ ลง อิ อาคมหลงั ธาตุและปจจัย. ยอมโกรธ กธุ ฺ ธาตุ ในความโกรธ ย ปจ จัย ติ วิภัตติ แปลง ย กับ ธฺ ทสี่ ดุ ธาตเุ ปน ชฺฌฺ. ยอมกำเรบิ กุปฺ ธาตุ ในความกำเรบิ ย ปจ จยั ติ วิภตั ติ แปล ย กับ ปฺ ทีส่ ดุ ธาตุเปน ปปฺ (บางแหง หมายความวา โกรธ กม็ ี). ยอมทำ กรฺ ธาตุ ในความทำ โอ ปจจัย อนฺติ วิภัตติ แปลง โอ เปน อุ แปลง อุ เปน อ แปลง อ เปน พ แลวซอน พฺ เอา อ ที่ ก แหง กรฺ ธาตุ เปน อุ ลบทส่ี ดุ ธาตุเสยี . ยอมทำ กรฺ ธาตุ ในความทำ โอ ปจจัย เต วิภัตติ แปลง โอ เปน อุ แลว เอา อ ท่ี ก แหง กรฺ ธาตุ เปน อ.ุ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 113

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 114 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ขมาเปสิ ข ขายติ ยัง...ใหอดโทษแลว ขมฺ ธาตุ ในความอด ณาเป ปจจัย อ วิภัตติ ลง ส อาคม. ขยี นตฺ ิ ยอมปรากฏ เข ธาตุ ในความปรากฏ อ ปจจัย ติ วิภัตติ แปลง เอ ขุพภฺ ติ ท่ี เข เปน อาย. ยอ มแคน เคอื ง-คอ นขอด ขี ธาตุ ในความโกรธ ย ปจ จยั อนตฺ ิ วภิ ตั ต.ิ ขุเ สติ ยอมกำเริบ-ปนปวน ขุภฺ ธาตุ ในความกำเริบ ย ปจจัย ติ วิภัตติ เขปนฺติ แปลง ย กบั ภฺ ท่สี ดุ ธาตเุ ปน พฺภ. ยอมดา ขสุ ฺ ธาตุ ในความดา เณ ปจ จัยในกตั ตวุ าจก ติ วภิ ัตติ. คชฺชติ ยอมยัง...ใหส้ินไป ขิ ธาตุ ในความส้ิน ณาเป ปจจัย อนฺติ วิภัตติ พฤทธิ์ อิ ท่ี ขิ เปน เอ ลบ ณา คงไวแ ต เป. คเณติ ค ครหติ คเวสนตฺ ิ ยอมคำรน-กระหึ่ม คชฺชฺ ธาตุ ในความออกเสียง-รอง อ ปจจัย ติ คายติ วิภัตติ. ยอมนับ-คำนวณ คณฺ ธาตุ ในความนับ เณ ปจจัยในกัตตุวาจก คิชฺฌติ ติ วภิ ตั ติ ไมท ีฆะตน ธาต.ุ ยอ มติเตียน ครหฺ ธาตุ ในความตเิ ตยี น อ ปจจัย ติ วภิ ตั ติ. คลิ ติ ยอ มแสวงหา คเวสฺ ธาตุ ในความแสวงหา อ ปจ จัย อนฺติ วิภัตต.ิ คูหยติ ยอมขับรอ ง เค ธาตุ ในความขับรอง อ ปจ จยั ติ วภิ ตั ติ เอา เอ แหง เค เปน อาย. ยอมกำหนัด-ยินดี-มักมาก คิธฺ ธาตุ ในความอยากจัด ย ปจจัย ติ วภิ ัตติ แปลง ย กบั ธฺ ทสี่ ุดธาตุ เปน ชฌฺ . ยอ มกลืนกนิ คิลฺ ธาตุ ในความกลนื อ ปจจยั ติ วภิ ัตติ. ยอมซอน คุหฺ ธาตุ ในความซอน ณฺย ปจจัย ในกัตตุวาจก ติ วิภัตติ ลบ ณ แหง ณฺย เสีย ทฆี ะตน ธาตุ. เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 114

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 115 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò โคเปติ ยอมคุมครอง คุปฺ ธาตุ ในความคุมครอง เณ ปจจัย ในกัตตุวาจก ติ วิภัตติ พฤทธิ์ อุ แหง คปุ ฺ เปน โอ. ฆเฏสิ ฆ ฆาตเย พากเพียร-สืบตอแลว ฆฏ ธาตุ ในความสืบตอ เณ ปจจัยในกัตตุ ฆรุ ฆุ รุ ายติ เฆปฺปติ วาจก อ วภิ ัตติ รสั สะ อี เปน อิ ไม ทฆี ะตอ นธาตุ ลง ส อาคม. พึงยังบุคคลอื่นใหฆา หนฺ ธาตุ ในความฆา ณฺย ปจจัยในเหตุกัตตุ วาจก เอยฺย วิภัตติ แปลง หนฺ เปน ฆาต ลบ ยฺย ท่ีสุดแหง เอยฺย คงไวแ ต เอ แลว ลบ ณ แหง ณฺย ปจจัย เหลือไวแ ต ย. ยอมประพฤติเสียงดัง คุรุ ๆ (ยอมกรนดังครืดครอก) ฆุรุฆุรุ นามศัพทบทหนา อาย ปจจัย ติ วภิ ตั ต.ิ ยอมถือเอา คหฺ ธาตุในความถือเอา ปฺป ปจจัย ติ วิภัตติ แปลง คหฺ เปน เฆ. จงฺกมติ จ จาเลต๓ิ ยอมกาวไป-จงกรม กมฺ ธาตุในความกาวไป อ ปจจัย ติ วิภัตติ จาเวติ จมุ ฺพติ ทำ เทฺวภาวะ ก ไวข างหนา ลงนิคคหติ อาคมเหมือนพยัญชนะอัพภาส เจตยติ แปลง ก เปน จ แลวแปลงนคิ คหติ เปน ง.ฺ ยอมยัง...ใหไหว-สั่น-กระดิ่ง จลฺ ธาตุ ในความไหว เณ ปจจัย ติ วภิ ตั ติ ทฆี ะ อ ตน ธาตุ เปน อา เพราะปจจยั ที่เนื่องดวย ณ. ยอ มยงั ...ใหเคล่อื น จุ ธาตุ ในความเคลือ่ น เณ ปจจัย ติ วิภตั ตพิ ฤทธ์ิ อุ ท่ี จุ เปน โอ แลว เอาเปน อาว. ยอมจูบ จุพฺ ธาตุ ในความประกอบแหงปาก อ ปจจัย ติ วิภัตติ ลง นคิ คหติ อาคมที่ จุ แลวแปลงเปน มฺ เพราะมี พ อยูหลงั ลบ อ ท่ี พ ยอมจงใจ-ตั้งใจ เจตฺ ธาตุ ณฺย ปจ จยั ในกตั ตวุ าจก ติ วภิ ตั ติ. ๓ ธาตุนี้ แปลโดยพยัญชนะ ใชใ นอรรถแหง เหตกุ ตั ตุ เชน สุนโข นงคฺ ถฏ จาเลติ สนุ ขั ยอ มยังหางใหไหว. แปลโดยอรรถ เปน สยกตั ตุ กไ็ ดวา สุนขั ยอ มกระดิกซง่ึ หาง. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 115

ฉนิ ฺทติ ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 116 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ฉฑฺเฑสิ ฉิชชฺ สึ ุ ฉ ชคฺฆติ ยอมตัด ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด อ ปจจัย ติ วิภัตติ ลง นิคคหิตอาคม ชเนติ หนาธาตุ แลว แปลงนคิ คหิตเปน นฺ เพราะ ท อยูเบ้ืองหลงั . ชมฺภสิ ทิ้งแลว ฉฑฑฺ ธาตุ ในความทิ้ง เณ ปจจัย ในกัตตุวาจก อี วิภัตติ รสั สะ ชหนฺติ อี เปน อิ ลบ ณ เหลือไวแต เอ. ขาดแลว ฉทิ ฺ ธาตุ ในความขาด ย ปจจัย อุ วิภตั ติ แปลง ย กบั ทฺ ทส่ี ดุ ชายติ ธาตเุ ปน ชฺช แปลง อุ เปน อึส.ุ ชาเลส๔ิ ชิคสึ ติ ช ยอ มซกิ ซี้-หวั เราะ ชคฆฺ ฺ ธาตุ ในความหวั เราะ อ ปจ จยั ติ วภิ ัตติ. ยอมยงั ...ใหเ กิด ชนฺ ธาตุ ในความเกิด เณ ปจ จัย ติ วิภัตต.ิ ยอมเหยียดกาย-บิดกาย ชภฺ ธาตุ อ ปจจัย ติ วิภัตติ ลงนิคคหิต ตน ธาตุ แลวแปลงเปน มฺ เพราะมี ภ อยูหลงั . ยอ มละ หา ธาตุ ในความละ อ ปจจยั อนฺติ วภิ ตั ติ ทำ เทฺวภาวะ หา ไวข า งหนา ธาตุ แลว แปลง ห ซึ่งเปน ตวั อัพภาส เปน ช รัสสะอา ที่ หา เปน อ. ยอมเกิด ชนฺ ธาตุ ในความเกิด ย ปจจัย ติ วิภัตติ แปลง ชนฺ ธาตุ เปน ชา. ยงั ...ใหล กุ โพลง-จุดแลว ชลฺ ธาตุ ในความโพลง เณ ปจ จยั อี วภิ ตั ติ แลวรสั สะเสยี ทฆี ะตน ธาตุ ลง ส อาคม. ยอมปรารถนาจะนำไป หรฺ ธาตุ ในความนำไป ส ปจจัย ติ วิภัตติ ทำเทฺวภาวะ ห ไวหนาธาตุ แลวแปลงเปน ช เอาสระแหงพยัญชนะ อพั ภาสเปน อิ ดวยอำนาจ ส ปจ จยั แปลง หรฺ เปน ค.ึ ๔ ธาตนุ ี้ แปลโดยพยญั ชนะใชใ นอรรถแหง เหตกุ ตั ตุ เชน ปทปี  ชาเลสิ (เขา) ยงั ประทปี ใหล กุ โพลงแลว . แปลโดยอรรถเปน สยกตั ตุ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ก็ไดวา (เขา) จุดแลวซึ่งประทปี . 116

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 117 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ชิยยฺ ติ ยอ มแก ชรฺ ธาตุ ในความคร่ำครา อ ปจ จัย ติ วิภัตติ แปลง ชรฺ เปน ชยิ ฺย. ชริ ติ ยอมเจริญ-แกข ึน้ ชิรฺ ธาตุ อ ปจ จัย ติ วภิ ัตต.ิ ชวี ติ ยอ มเปน อยู ชีวฺ ธาตุ อ ปจจัย ติ วิภัตต.ิ เชยยฺ พึงชนะ ชิ ธาตุ ในความชนะ อ ปจจยั เอยยฺ วภิ ัตติ ลบ อิ แหง ชิ โชเตติ ยอมยัง.. ใหโพลง - สวา ง ชุตฺ ธาตุ เณ ปจจยั ติ วิภตั ติ พฤทธ์ิ อุ ท่ี ชุ เปน โอ ฌาเปส๕ิ ฌ ฌายสิ ยัง...ใหไ หมแ ลว-เผาแลว ฌาปฺ ธาตุในความไหม-เผา เณ ปจ จยั อี วิภัตติ รัสสะ อี เปน อิ ลง ส อาคม. ยอมซบเซา เฌ ธาตุ ในความคิด อ ปจจัย สิ วิภัตติ แปลง เอ แหง เฌ เปน อาย.  ปยึสุ ตั้งไว-วางไวแ ลว ปฺ ธาตุ ในความต้งั ไว ย ปจ จยั อุ วิภัตติ แปลง อุ เปน อสึ .ุ สสฺ ติ จกั ต้งั -ดำรงอยู า ธาตุ ในความตั้งอยู อ ปจจัย สสฺ ติ วิภัตติ ลบ อา ท่ี า. าติ ยอมตงั้ า ธาตุ ในความตัง้ อยู อ ปจ จยั ติ วิภตั ต.ิ ฑยฺหเร ฑ อันไฟยอมไหม-เผา ทหฺ ธาตุ ในความทำใหเปนเถา ย ปจจัย อนฺติ วิภัตติ แปลง ทหฺ เปน ฑหฺ แลวแปร ห ไวเบื้องหลัง ย ไวเบื้องหนา แปลง อนฺติ เปน เร. ๕ ธาตนุ ้ี แปลโดยพยญั ชนะ ใชใ นอรรถแหง เหตกุ ตั ตุ เชน โส เคห ฌาเปสิ เขา ยงั เรอื นใหไ หมแ ลว . แปลโดยอรรถเปน สยกตั ตุ กไ็ ด วา เขา เผาแลว ซง่ึ เรอื น. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 117

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 118 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ฑหติ ยอมไหม-เผา ทหฺ ธาตุ ในความทำใหเ ปนเถา อ ปจ จยั ติ วิภตั ติ แปลง ทหฺ เปน ฑห.ฺ ฑส ติ ยอ มกดั ฑสฺ ธาตุ ในความกดั อ ปจ จยั ติ วภิ ัตติ. ตชฺเชสฺสติ ต ติกจิ ฉฺ ติ จกั คกุ คาม ตชชฺ ฺ ธาตุ ในความข-ู คกุ คาม เณ ปจ จยั ในกตั ตุวาจก สฺสติ ตฏิ  ติ ติตกิ ขฺ ติ วิภตั ติ. ตีเรติ ยอมเยียวยา-รักษา กิตฺ ธาตุ ในความรักษา ฉ ปจจัย ติ วิภัตติ ทำ ตสุ สฺ ติ เทฺวภาวะ กิ ไวขางหนาธาตุ แลวแปลง ก เปน ต ดว ยอำนาจ ฉ ปจจัย แปลงที่สดุ ธาตเุ ปน จฺ. ยอ มตงั้ อยู า ธาตุ ในความตงั้ อ ปจ จยั ติ วภิ ตั ติ แปลง า เปน ตฏิ  . ยอมอดกลั้น ติชฺ ธาตุ ในความอดกลั้น ข ปจจัย ติ วิภัตติ ทำ เทวฺ ภาวะ ติ ไวข า งหนา ธาตุ ดว ยอำนาจ ข ปจ จยั แปลงทสี่ ดุ ธาตเุ ปน ก.ฺ ยอมไตรตรอง ตีรฺ ธาตุ ในความไตรตรอง เณ ปจจัย ในกัตตุวาจก ติ วภิ ตั ติ. ยอมยินดี-แชมช่ืน ตุสฺ ธาตุ ในความยินดี ย ปจจัย ติ วิภัตติ แปลง ย กับ สฺ ทส่ี ุดธาตุเปน สฺส. ถ ถเกติ ยอมปด ถกฺ ธาตุ เณ ปจจยั ในกัตตุวาจก ติ วภิ ตั ต.ิ ถนุ าติ ยอ มชมเชย-ยกยอง ถุ ธาตุ นา ปจจัย ติ วิภตั ต.ิ เถเนติ ยอ มลกั -ขโมย เถนฺ ธาตุ เณ ปจจยั (กตั ตวุ าจก) ติ วิภตั ติ. โถเมติ ยอมชมเชย-ยกยอง โถมฺ ธาตุ เณ ปจ จยั (กตั ตุวาจก) ติ วิภัตติ. เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 118

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 119 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ทกขฺ ิสฺสติ ท ทชฺชา ททาติ จกั เห็น ทิสฺ ธาตุ ในความเหน็ อ ปจจัย สสฺ ติ วิภตั ติ แปลง ทสิ ฺ ธาตุ ทธาติ เปน ทกขฺ ลง อิ อาคมหลังธาตุ. ทมฺมิ พึงให ทา ธาตุ ในความให อ ปจจัย เอยฺย วิภัตติ แปลง ทา ธาตุ ทยิ ฺยติ ทปิ ปฺ ติ เปน ทชฺช แปลง เอยยฺ เปน อา. ทสิ สฺ ติ ยอมให ทา ธาตุ ในความให อ ปจจัย ติ วิภัตติ ทำเทวฺภาวะ ทา ทสิ ฺสต๖ิ ทียติ ไวขา งหนาธาตุ รัสสะ อา แหง พยัญชนะอพั ภาสเปน อ. ยอ มทรงไว ธา ธาตุ ในความทรงไว อ ปจ จยั ติ วภิ ตั ติ ทำ เทวฺ ภาวะ ธา ทเู สติ เทเสติ ไวข า งหนา ธาตุ แปลง ธ ซ่งึ เปน พยัญชนะท่ี ๔ เปน ท ซึ่งเปน พยญั ชนะ ที่ ๓ แลว รัสสะ อา แหง พยัญชนะอัพภาส. ยอมให ทา ธาตใุ นความให อ ปจจัย มิ วภิ ัตติ เพราะ มิ อยหู ลงั เอา อา แหง ทา เปน นิคคหติ แลว แปลงเปน ม.ฺ ยอ มให ทา ธาตุ ในความให ย ปจ จัย ติ วภิ ัตติ เอา อา แหง ทาเปน อิ ซอ น ยฺ. ยอมสอ งสวาง ทิปฺ ธาตุ ย ปจ จยั ติ วิภตั ติ แปลง ย กับ ปฺ ทสี่ ุดธาตุ เปน ปปฺ . ยอ มเหน็ ทสิ ฺ ธาตุ ในความเหน็ อ ปจ จยั ติ วภิ ตั ติ แปลง ทสิ ฺ เปน ทสิ สฺ . อนั ... ยอ มเห็น, ยอ มปรากฏ ทสิ ฺ ธาตุ ย ปจจัย (กมั มวาจก) ติ วิภตั ติ แปลง ย กบั สฺ ทสี่ ดุ ธาตุ เปน สฺส. อนั ... ยอ มให ทา ธาตุ ย ปจ จัย อิ อาคม ติ วภิ ตั ติ แปลง อา ท่ี ทา เปน อิ แลว ทฆี ะ อิ เปน อี ทีเ่ ปน ทยิ ยฺ ติ กม็ ี ตางแตซอ น ยฺ และไมมที ีฆะ เทานัน้ . ยอ มประทุษรา ย ทสุ ฺ ธาตุ ในความประทษุ รา ย เณ ปจจยั ในกัตตุวาจก ติ วภิ ตั ติ ลบ ณ คงไวแ ต เอ แลว ทฆี ะ อุ ตนธาตเุ ปน อู. ยอ มแสดง ทสิ ฺ ธาตุ เณ ปจจยั ในกัตตวุ าจก ติ วิภตั ติ ลบ ณ คงไวแ ต เอ แลวพฤทธ์ิ อิ ตนธาตุเปน เอ. ๖ ธาตนุ ้ี ถา แปลถอื เอาความเปน กตั ตวุ าจก กไ็ ดว า ยอ มปรากฏ วธิ แี ละเปลย่ี นแปลงดใู น ทสิ สฺ ติ ตวั ตน . เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 119

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 120 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò นหายติ น นายเร นิทฺทายติ ยอมอาบ นหา ธาตุ ในความทำใหส ะอาด ย ปจ จัย ติ วภิ ตั ติ. นพิ ฺพาติ ยอมรู า ธาตุ ในความรู ย ปจจัย (กัมมวาจก) อนฺติ วิภัตติ แปลง นพิ พฺ นิ ทฺ ติ า เปน นา แปลง อนฺติ เปน เร. นิมฺมิเลติ ยอมประพฤติหลบั นิ บทหนา ทา ธาตุ ในความหลบั อาย ปจ จยั ติ นยิ ฺยาเทสิ วิภัตติ ซอ น ท.ฺ นริ ุชฺฌติ ยอ มดบั นิ บทหนา วา ธาตุ ในความดับ อ ปจจยั ติ วภิ ัตติ แปลง ว นิวตฺตติ นิสที ิ แหง วา เปน พ ซอ น พฺ. ยอมเบ่ือหนาย นิ บทหนา วิทฺ ธาตุ ในความปล้ืมใจ-ยินดี อ ปจจัย ติ วิภัตติ ลงนิคคหิตอาคมที่ วิ แลว แปลงเปน นฺ เพราะมี ท อยู หลงั แลวแปลง ว เปน พ ซอ น พฺ. ยอมหลับ (ตา) นิ บทหนา มิลฺ ธาตุ ในความกะพริบตา เณ ปจจัย ในกตั ตุวาจก ติ วิภัตติ ซอ น ม.ฺ มอบใหแ ลว นิ บทหนา ยตฺ ธาตุ ในความอปุ การะ-อดุ หนุน เณ ปจจยั ในกตั ตวุ าจก อี วิภตั ติ รสั สะ อี เปน อิ เพราะปจจัยเน่อื งดว ย ณ ทีฆะ อ ท่ี ย เปน อา แปลง ตฺ เปน ท ซอ น ย.ฺ ยอมดับ นิ บทหนา รุธฺ ธาตุ ในความดับ ย ปจจัย ติ วิภัตติ แปลง ย กบั ธฺ ที่สุดธาตุ เปน ชฺฌ. ยอ มกลบั นิ บทหนา วตฺตฺ ธาตุ ในความเปน ไป อ ปจจยั ติ วิภัตต.ิ นั่งแลว นิ บทหนา สทฺ ธาตุ ในความจม อ ปจจัย อี วิภัตติ รัสสะ อี เปน อิ แปลง สทฺ เปน สที ฺ. ปกกฺ ามิ ป หลีกไปแลว ป บทหนา กมฺ ธาตุ ในความกาวไป อ ปจ จัย อี วภิ ัตติ รสั สะ อี เปน อิ ทีฆะ อ ตนธาตุ เปน อา ซอ น กฺ. เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 120

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 121 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ปฺาเปสิ ปูลาด-แตงต้ังแลว ป บทหนา ปฺ ธาตุ เณ ปจจัย ในกัตตุวาจก อี วิภัตติ แลวรัสสะ ทีฆะตนธาตุ ซอน ฺ ลง ส อาคม (ไมทีฆะตน ธาตุกม็ ี เชน ปฺ เปต)ิ . ปฏิยาเทสิ ตกแตงแลว ปฏิ บทหนา ยตฺ ธาตุ เณ ปจจยั ในกตั ตุวาจก อี วภิ ตั ติ แลว รัสสะ ทฆี ะ อ ที่ ย เปน อา แปลง ตฺ เปน ท ลง ส อาคม. ปฏิสาเมสิ เก็บงำแลว ปฏิ บทหนา สมฺ ธาตุ เณ ปจจัย ในกัตตุวาจก อี วิภัตติ แลว รสั สะ ทีฆะตนธาตุ ลง ส อาคม. ปเณติ ยอ มบญั ญัติ-แตงต้ัง ปณฺ ธาตุ เณ ปจ จยั ในกตั ตวุ าจก ติ วิภตั ติ ปติฏ หิ ต้ังอยูเฉพาะ-ดำรงอยแู ลว ป บทหนา า ธาตุ ในความตั้งอยู อ ปจจยั อี วิภัตติ รัสสะ อี เปน อิ แปลง า ธาตุ เปน ติฏ ลง ห อาคม (บางมตวิ า ปฏิ บทหนา แปลง ฏ เปน ต และแปลง า เปน ห) ปตฏิ  าสิ ตั้งอยเู ฉพาะแลว ป หรือ ปฏิ บทหนา า ธาตุ อ ปจ จัย อี วภิ ัตติ รสั สะ อี เปน อิ, ถา ป เปน บทหนา แปลง า ธาตุ เปน ตฏิ  ทฆี ะ อ ท่ี ตฏิ  เปน อา ลง ส อาคม. ปทาเลสิ ทำลายแลว ป บทหนา ทลฺ ธาตุ เณ ปจจัยในกัตตุวาจก อี วิภัตติ แลวรัสสะ ลง ส อาคม ทฆี ะ อ ท่ี ท เปน อา. ปปโฺ ปติ ยอ มถงึ ป บทหนา อปปฺ ธาตุ โอ ปจจยั ติ วภิ ตั ติ. ปยริ ปุ าสติ ยอมเขาไปหา ปริ+อุป บทหนา อาสฺ ธาตุ ในความน่ัง อ ปจจัย ติ วิภตั ติ ลง ย อาคมท่ี อุป เปน ปรยิ ปุ แลวแปร ร ไวห ลัง ย ไวห นา เปน ปยริ ปุ . ปรามสติ ยอมลบู คลำ-จบั ตอ ง-ยึดม่นั ป+อา บทหนา มสฺ ธาตุ อ ปจ จัย ติ วภิ ตั ติ ลง ร อาคมท่ี อา. ปรทิ เหสสฺ ติ จกั นงุ หม ปริ บทหนา ธา ธาตใุ นความทรงไว เอ ปจจยั สฺสติ วิภตั ติ แปลง ธา เปน ทห. ปรภิ าสติ ยอ มวา ปริ บทหนา ภาสฺ ธาตุ ในความกลาว อ ปจ จยั ติ วิภัตติ. ปรยิ าปุณาติ ยอมเรียน ปริ บนหนา อาปฺ ธาตุ ในความถึง-บรรลุ อุณา ปจจัย ติ วภิ ัตติ ลง ย อาคม. 121

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 122 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ปริสกกฺ ติ ยอ มตะเกียกตะกาย ปริ บทหนา สกฺ ธาตุ ในความพยายาม ย ปจจยั ติ วภิ ัตติ แปลง ย เปน ก. ปรหิ ายติ ยอ มเสอ่ื มรอบ ปริ บทหนา หา ธาตุ ในความเสอ่ื ม ย ปจ จยั ติ วภิ ตั ติ (แปลง อา ที่ หา เปน อิ ก็มี เชน ปหิยิ เสอ่ื มรอบแลว ) ปลายึสุ หนไี ปแลว ป บทหนา ลา ธาตุ ในความไป ย ปจ จัย อุ วิภตั ติ แปลง อุ เปน อสึ .ุ ปเลติ ยอ มบินไป ปลฺ ธาตุ ในความไป เณ ปจ จัย ในกตั ตวุ าจก ติ วภิ ัตติ ปสฺสติ ยอมเห็น ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น อ ปจจัย ติ วิภัตติ แปลง ทิสฺ เปน ปสฺส. ปหิณิ สงไปแลว ป บทหนา หิ ธาตุ ในความไป นา ปจจัย อี วิภัตติ แลว รสั สะ แปลง นา เปน ณา. ปหยี ติ อนั ... ยอ มละ ป บทหนา หา ธาตุ ย ปจ จยั อ อาคม ติ วิภัตติ แปลง อา ที่ หา เปน อิ ทฆี ะ อิ เปน อ,ี ทีเ่ ปน ปหยิ ยฺ ติ กม็ ี ตางกนั แตซ อน ยฺ และไมทฆี ะเทานัน้ . ปโหติ ยอมเพียงพอ ป บทหนา หุ ธาตุ ในความมี-เปน อ ปจจัย ติ วิภัตติ พฤทธิ์ อุ ท่ี หุ เปน โอ. ปาปณุ าติ ยอ มบรรล-ุ ถงึ ป บทหนา อาปฺ ธาตุ ในความถงึ อณุ า ปจ จยั ติ วภิ ตั ติ ปลนฺธสิ สฺ ามิ จักประดับ-ตกแตง ปลธิ ธาตุ อ ปจจัย สฺสามิ วิภัตติ ลง นิคคหิต อาคมที่ ล แลวแปลงเปน นฺ. ปวติ ยอมดื่ม ปา ธาตุ ในความด่ืม อ ปจจัย ติ วิภัตติ แปลง ปา ธาตุ เปน ปว. ปวาสติ ยอมปรารถนาจะดื่ม ปา ธาตุ ส ปจจัย ติ วิภัตติ ทำเทฺวภาวะ ปา ไวข า งหนา ธาตุ แปลงสระแหงพยญั ชนะอัพภาสเปน อิ เพราะ ส ปจจัย อยูเบือ้ งหลัง แปลง ปา ธาตุ เปน วา. ปเ หติ ยอมกระหยิ่ม-รักใคร ปหฺ ธาตุ ในความปรารถนา เณ ปจจัย ใน กตั ตวุ าจก ติ วภิ ัตติ 122

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 123 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ปเุ รติ ยอมยงั ...ใหเ ต็ม ปรู ฺ ธาตุ ในความเต็ม เณ ปจจยั ติ วิภัตต.ิ เปเสสิ สงไปแลว ปสฺ ธาตุ เณ ปจ จัย ในกตั ตวุ าจก อี วิภตั ติ แลวรสั สะ พฤทธิ์ อิ ท่ี ป เปน เอ ลง ส อาคม. โปเถติ ยอมโบย-ตี โปถฺ ธาตุ ในความกล้ิง-หมุน เณ ปจจัย ในกัตตุวาจก ติ วภิ ัตติ โปเสติ ยอมเลี้ยงดู ปุสฺ ธาตุ ในความเล้ียง-ปรนปรือ เณ ปจจัย ในกัตตุ วาจก พฤทธ์ิ อุ ที่ ปุ เปน โอ ลบ ณ. ผลสิ ฺสติ ผ ผาเลติ จักแตก-สำเร็จ-เมล็ดผล-ผล ผลฺ ธาตุ ในความผลิ อปจจัย สฺสติ ผนุ าติ วภิ ตั ติ ลง อิ อาคมหลงั ธาตแุ ละปจ จยั . ผลุ ฺลติ ยอมผา ผาลฺ ธาตุ ในความขีด-ทำใหเปนรอย เณ ปจจัย ในกัตตุ- ผสุ ติ วาจก ติ วิภตั ติ. ยอ มฝด-โปรย ผุ ธาตุ นา ปจ จยั ติ วภิ ตั ติ. ยอมบาน-แตก ผุลฺลฺ ธาตุ อ ปจจยั ติ วิภตั ต.ิ ยอมถกู ตอง ผสุ ฺ ธาตุ อ ปจ จยั ติ วภิ ตั ติ. พนฺธติ พ พยฺ ากาสิ ยอมผกู -มัด พนธฺ ฺ ธาตุ อ ปจจยั ติ วิภัตติ. พรฺ เู หยยฺ ไดทำใหแจง-ไดยืนนัย-ไดกลาวทายแลว วิ บทหนา กรฺ ธาตุ ใน ความทำ แปลง ว ที่ วิ เปน พ พฤทธิ์ อิ ท่ี วิ เปน เอ แลวเอาเปน อย สนธกิ บั พ เปน พยฺ ลง อ อาคมหนา ธาตุ. พึงเจริญ-พอกพูน พฺรูหฺ ธาตุ ในความเจริญ-รุงเรือง อ ปจจัย เอยฺย วิภตั ติ. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 123

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 124 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ภกฺขามิ ภ ภเชติ ภชชฺ ติ ยอมกิน ภกฺขฺ ธาตุ ในความกิน-บริโภค อ ปจจัย มิ วภิ ตั ติ. ภชฺ ติ ยอ มคบหา ภชฺ ธาตุ เอ ปจ จยั ในกัตตุวาจก ติ วิภัตต.ิ ภาเชติ ยอมค่งั ภชชฺ ธาตุ อ ปจจยั ติ วภิ ตั ต.ิ ภาติ ยอมหกั ภฺชฺ ธาตุ อ ปจจัย ติ วิภตั ติ. ภายนฺติ ยอมแบง ภชฺ ธาตุ ในความแจก-ใหป น เณ ปจจัย ในกตั ตุวาจก ติ วภิ ตั ติ. ยอมสองสวาง ภา ธาตุ อ ปจ จยั ติ วิภัตติ. ภาสติ ยอ มกลัว ภี ธาตุ ในความกลัว อ ปจจัย อนตฺ ิ วิภัตติ พฤทธิ์ อี ที่ ภี ภิชชฺ สิ ฺสติ เปน เอ แลวเอาเปน อาย. ภนิ ฺทนฺติ ยอ มกลาว ภาสฺ ธาตุ ในความพดู อ ปจ จัย ติ วภิ ตั ติ. จกั แตก-ทำลาย ภทิ ฺ ธาตุ ในความแตก-ทำลาย ย ปจจยั สสฺ ติ วภิ ตั ติ ภุ ชฺ สฺสุ แปลง ย กบั ทฺ ที่สุดธาตเุ ปน ชฺช ลง อิ อาคมหลังธาตแุ ละปจจยั . ยอมทำลาย ภิทฺ ธาตุ อ ปจจัย อนฺติ วิภัตติ ลง นิคคหิตอาคม แลว แปลงเปน นฺ เพราะมี ท อยหู ลัง. จงบริโภค ภุชฺ ธาตุ ในความบริโภค อ ปจจัย สฺสุ วิภัตติ ลงนิคคหิต อาคม แลวแปลงเปน ฺ เพราะมี ช อยหู ลงั . มฺ ิสฺสติ ม มทฺทิตถฺ มาเนติ จักสำคัญ-รู มฺน ธาตุ ในความรู ย ปจจัย สฺสติ วิภัตติ แปลง ย กับ มาเปสิ นฺ ท่ีสุดธาตเุ ปน ฺ ลง อิ อาคมหลังธาตแุ ละปจจยั . ยำ่ ยี-เหยียบยำ่ แลว มทฺทฺ ธาตุ อ ปจจยั ตถฺ วิภัตติ ลง อิ อาคมหลัง ธาตุและปจจัย. ยอ มนับถอื มานฺ ธาตุ ในความนับถอื เณ ปจจยั ในกตั ตวุ าจก ติ วิภตั ติ ลบ ณ แหง เณ เสีย. เนรมิต-สรา งแลว มาปฺ ธาตุ ในความกอ สราง เณ ปจ จัย ในกตั ตวุ าจก อี วภิ ัตติ แลว รัสสะ อี เปน อิ ลบ ณ แหง เณ ลง ส อาคม. เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 124

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 125 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò มาราเปสิ ยงั ...ให ๆ ตาย-ใหฆาแลว มรฺ ธาตุ ในความตาย ณาเป ปจจัย อี วภิ ตั ติ มาเรสิ มินาติ รัสสะ อี เปน อิ ลบ ณ แหง ณาเป ทีฆะตน ธาตุ ลง ส อาคม. มยี ติ ยัง...ใหต าย-ฆา แลว มรฺ ธาตุ เณ ปจจยั อี วภิ ตั ติ รัสสะ อี เปน อิ ลบ มยิ ฺยติ มิลายิ ณ แหง เณ ทีฆะตน ธาตุ ลง ส อาคม. โมกฺขนตฺ ิ ยอมนบั -ตวง มา ธาตุ ในความนับ-วดั นา ปจ จัย ติ วภิ ัตติ แปลงอา ที่ มา เปน อิ. อัน...ยอมนบั มา ธาตุ ในความนับ ย ปจ จยั อิ อาคมหนา ย ติ วิภตั ติ แปลง อา ที่ มา เปน อิ แลวทีฆะ. ยอ มตาย มรฺ ธาตุ อ ปจจยั ติ วิภัตติ แปลง มรฺ ธาตุเปน มิยฺย. เหีย่ วแหง -รวงโรยแลว มเิ ล ธาตุ อ ปจ จัย อี วภิ ัตติ แลวรัสสะ อี เปน อิ พฤทธิ์ เอ ท่ี เล เปน อาย. ยอมพน โมกขฺ ฺ ธาตุ ในความพน -หลดุ อ ปจจยั อนฺติ วิภตั ต.ิ ยมาม ย ยาจติ ยอมยุบยับ ยมฺ ธาตุ ในความฉิบหาย อ ปจจัย ม วิภัตติ ทีฆะที่สุด ยาติ ยาเปติ ธาตเุ ปน อา เพราะลง ม วภิ ัตติ. ยชุ ฺชติ ยอ มขอ ยาจฺ ธาตุในความขอ อ ปจ จัย ติ วภิ ตั ติ. ยอ มไป ยา ธาตุ ในความไป-ถงึ -บรรลุ อ ปจ จยั ติ วิภัตต.ิ ยชุ ฺเฌติ ยอ มยงั ...ใหเ ปน ไป ยา ธาตุ ในความเปน ไป ณาเป ปจจยั ติ วภิ ัตต.ิ ยอมควร ยุชฺ ธาตุ ในความมั่นคง-แข็งแรง ย ปจจัย ติ วิภัตติ แปลง ย กบั ชฺ ท่ีสดุ ธาตุเปน ชฺช. ยอมรบ ยธุ ฺ ธาตุ ในความรบ ย ปจ จัย ติ วิภัตติ แปลง ย กบั ธฺ ที่สดุ ธาตเุ ปน ชฌฺ . เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 125

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 126 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ร รเจติ ยอ มรอยกรอง-แตง-ประพันธ รจฺ ธาตุ เณ ปจ จยั (กตั ตุวาจก) ติ วภิ ัตติ รชฺ ติ ยอ มกำหนดั -ยอ ม-ยินดี รชฺ ธาตุ อ ปจจยั ติ วภิ ัตติ ลงนคิ คหติ อาคมที่ ร แลว แปลงเปน ฺ เพราะมี ช อยูเบื้องหลงั . ริฺจติ ยอมทอดท้ิง ริจฺ ธาตุ ในความแยกออก-พราก อ ปจจัย ติ วิภัตติ ลงนิคคหติ อาคมที่ ริ แลวแปลงเปน ฺ เพราะมี จ อยูเบ้อื งหลัง. รจุ ฺจติ ยอ มชอบใจ รุจฺ ธาตุ ในความชอบใจ ย ปจจยั ติ วภิ ัตติ แปลง ย กบั จฺ ที่สุดธาตเุ ปน จจฺ . รชุ ฺชติ ยอ มเสยี ดแทง รชุ ฺ ธาตุ ในความเบียดเบยี น ย ปจ จัย ติ วิภตั ติ แปลง ย กบั ชฺ ที่สุดธาตเุ ปน ชฺช. รุหติ ยอ มงอก รุหฺ ธาตุ ในความงอก อ ปจ จัย ติ วิภัตติ. โรเจสิ ชอบใจแลว รุจฺ ธาตุ ในความชอบใจ เณ ปจ จยั (กัตตุวาจก) อี วภิ ัตติ รสั สะ อี เปน อิ เพราะปจจัย เน่อื งดว ย ณ พฤทธ์ิ อุ ที่ รุ เปน โอ. โรทติ ยอมรองไห รุทฺ ธาตุ ในความหล่ังออกซึ่งน้ำตา อ ปจจัย ติ วิภัตติ พฤทธ์ิ อุ ท่ี รุ เปน โอ. โรเปติ ยอมปลูก รุปฺ ธาตุ ในความปลูก เณ ปจจัย (กัตตุวาจก) ติ วิภัตติ พฤทธ์ิ อุ ท่ี รุ เปน โอ. โรเสติ ยอมเดือดดาล-โกรธ-ข้ึง รุสฺ ธาตุ เณ ปจจัย (กัตตุวาจก) ติ วิภัตติ พฤทธ์ิ อุ ท่ี รุ เปน โอ. ล ลงฺฆติ ยอ มกระโดด ลงฺฆฺ ธาตุ เณ ปจ จัย (กัตตวุ าจก) ติ วิภัตติ. ลจฉฺ สิ จักได ลภฺ ธาตุ อ ปจจัย สฺสสิ วิภัตติ แปลง สฺสสิ วิภัตติกับที่สุดธาตุ เปน ฉสิ ซอ น จฺ. ลชฺชติ ยอ มละอาย ลชชฺ ธาตุ อ ปจ จัย ติ วิภัตต.ิ ลพฺภติ อัน...ยอมได ลภฺ ธาตุ ในความได ย ปจจัย (กัมมวาจก) ติ วิภัตติ แปลง ย กับ ภฺ ท่ีสุดธาตุเปน พฺภ. 126

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 127 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ลขิ ติ ยอมเขียน-ขดี -ขูด ลิขฺ ธาตุ อ ปจจัย ติ วภิ ัตต.ิ ลุ จฺ สึ ุ ถอน-ย้อื แยงแลว ลุจฺ ฺ ธาตุ ในความถอน-ทิ้ง-ฉุดขึ้น อ ปจจยั อุ วภิ ัตติ แปลง อุ เปน อึสุ. เลหติ ยอมเลยี ลหิ ฺ ธาตุ ในความเสยี อ ปจจัย ติ วิภัตติ พฤทธิ์ อิ ท่ี ลิ เปน เอ. วชชฺ ุ ว วเฺ จสิ พึงกลา ว วทฺ ธาตุ อ ปจ จยั เอยยฺ ุ วภิ ัตติ แปลง วทฺ เปน วชชฺ ฺ แลวลบ วฑฺฒติ เอยยฺ คงไวแต อุ. วฑฺเฒติ ลวงแลว วจฺ ธาตุ ในความลวง เณ ปจ จัย (กตั ตุวาจก) อี วิภัตตริ ัสสะ วณเฺ ณสิ อี เปน อิ ลง ส อาคม. ยอ มเจริญ วฑฒฺ ฺ ธาตุ ในความเจริญ อ ปจจัย ติ วิภตั ต.ิ วตฺตสิ ยอมตัก-คด วฑฺฒฺ ธาตุ ในความโปรยลง-ตัก เณ ปจจัย (กัตตุวาจก) วทติ ฺถ ติ วภิ ตั ต.ิ วนฺทติ ยกยอ งแลว -พรรณนาแลว วณฺณ ธาตุ ในความยกยอ ง-กลา ว เณ ปจจัย วลฺเชติ (กัตตวุ าจก) อี วิภตั ติ รัสสะ อี เปน อิ ลง ส อาคม. ววตถฺ เปติ ยอมประพฤติ วตตฺ ฺ ธาตุ ในความเปน ไป อ ปจจัย สิ วิภัตต.ิ กลา วแลว วทฺ ธาตุ ในความกลาว-พูด อ ปจจัย ตถฺ วภิ ัตติ ลง อิ อาคม วหติ วายติ หลังธาตแุ ละปจจยั . วายมติ ยอมไหว วนทฺ ฺ ธาตุ ในความกราบไหว- ชมเชย อ ปจจัย ติ วภิ ตั ติ. วาเรติ ยอมใชส อย วลชิ ธาตุ เอ ปจจยั ติ วภิ ตั ติ ลงนิคคหติ อาคมท่ี ล แลว แปลง เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) เปน ฺ เพราะมี ช อยหู ลงั . ยอ มตง้ั ลงตา ง-กำหนด ว+ิ อว บทหนา ถปฺ ธาตุ ในความตงั้ ไว- วางไว เณ ปจจัยในกัตตวุ าจก ติ วภิ ัตติ ลบ อิ ที่ วิ ซอ น ตฺ ยอมนำไป วหฺ ธาตุ ในความนำไป อ ปจจัย ติ วภิ ัตติ. ยอ มฟงุ ไป วา ธาตุ ในความไป-ถึง-เปนไป ย ปจจยั ติ วิภตั ติ. ยอมพยายาม วายมฺ ธาตุ ในความหมนั่ -ขยนั อ ปจ จัย ติ วภิ ตั ต.ิ ยอมหา ม วรฺ ธาตุ ในความหา ม-กัน เณ ปจจยั ในกตั ตุวาจก ติ วภิ ัตติ ทีฆะ อ ที่ ว เปน อา. 127

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 128 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò วิกตฺเถยฺย พึงยกยอ วิ บทหนา กตถฺ ฺ ธาตุ ในความชมเชย-ยกยอ ง อ ปจ จัย เอยยฺ วชิ ฺชติ๗ วชิ ฺฌิ วิภัตติ. วชิ มฺภติ มีอยู วิทฺ ธาตุ ในความมี-เปน ย ปจจัย ติ วิภัตติ แปลง ย กับ ทฺ วชิ ายิ วินฺทติ ทีส่ ุดธาตุ เปน ชชฺ . วนิ สสฺ ติ แทงแลว วิธฺ ธาตุ ในความแทง-เจาะ-ไช ย ปจจัย อี วิภัตติ รัสสะ อี วนิ าติ วิปฺปสที ติ เปน อิ แปลง ย กับ ธฺ ทีส่ ุดธาตุ เปน ชฺฌ. วิโรจติ ยอมเหยียดหยัด วิ บทหนา ชภฺ ธาตุ ในความบิดกาย-เหยียดกาย วหิ รติ วเิ หเติ อ ปจ จยั ติ วิภตั ติ ลงนคิ คหติ อาคมที่ ช แลวแปลงเปน มฺ วเิ หเติ คลอดแลว วิ บทหนา ชนฺ ธาตุ ในความเกิด ย ปจ จยั อี วิภัตติ รสั สะ อี เปน อิ แปลง ชนฺ เปน ชา. ยอมประสพ วิทฺ ธาตุ ในความได-ประสพ อ ปจจัย ติ วิภัตติ ลง นิคคหติ อาคมท่ี วิ แลวแปลงเปน นฺ ยอมฉิบหาย วิ บทหนา นสฺ ธาตุ ในความไมเห็น-หาย ย ปจจัย ติ วิภตั ติ แปลง ย กับ สฺ ทส่ี ุดธาตุ เปน สสฺ . ยอ มทอ วิ ธาตุ ในความทอ นา ปจจยั ติ วิภัตต.ิ ยอมแจมใส-ผองใส วิ+ป บทหนา สิทฺ ธาตุ ในความซานไป-แผไป อ ปจจยั ติ วภิ ตั ติ ทีฆะ อิ ท่ี สิ เปน อี ซอ น ปฺ ยอ มสองสวา ง-รงุ โรจน วิ บทหนา รจุ ฺ ธาตุ ในความสองสวา ง-ชอบใจ อ ปจ จยั ติ วิภัตติ พฤทธ์ิ อุ ท่ี รุ เปน โอ. ยอมอยูอาศัย วิ บทหนา หรฺ ธาตุ ในความเปนไป-เปนอยู อ ปจจัย ติ วภิ ตั ต.ิ ยอ มเบยี ดเบยี น วิ บทหนา เหฺ ธาตุ ในความทำใหล ำบาก เอ ปจ จยั ติ วิภตั ต.ิ ยอ มเบียดเบียน วิ บทหนา เหฺ ธาตุ ในความทำใหลำบาก เอ ปจ จยั ติ วิภัตต.ิ ๗ ศัพทน ้ี บางแหงทานเปนรปู กมั มวาจกกม็ ี แต วทิ ฺ ธาตุ ตองเปน ไปในความไดประสพและลง ย ปจจัยในกมั มวาจก เชน น วชิ ชฺ เต ชคติปปฺ เทโส ประเทศคอื แผนดนิ (อันใครๆ ) ยอ มหาไมไ ด. หรอื จะแปล วา ประเทศคือแผนดนิ ยอ มไมม ี ก็ไดเชนกนั . เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 128

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 129 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò วจุ ฺจติ อัน...ยอมกลา ว วจฺ ธาตุ ย ปจ จัย ติ วิภตั ติ แปลง ว แหง วจฺ ธาตเุ ปน วสุ สฺ ติ โวทาเปยฺย วุ แลว แปลง ย กับ จฺ ทสี่ ุดธาตเุ ปน จจฺ . โวโรเปสิ อนั ...ยอมอยู วสฺ ธาตุ ย ปจจัย ติ วิภตั ติ แปลง ว แหง วสฺ ธาตเุ ปน วุ โวหเรยฺย แลว แปลง ย กบั สฺ ทีส่ ุดธาตเุ ปน สฺส. พงึ ยงั ... ใหผ อ งแผว ว+ิ โอ บทหนา ทา ธาตุ ในความชำระ ณาเป ปจจัย เอยยฺ วภิ ัตติ ลบ อิ ที่ วิ แลว สนธกิ ับ โอ เปน โว. ปลงลงแลว วิ+โอ บทหนา รุปฺ ธาตุ ในความปลูก-หวาน เณ ปจจัย ในกัตตวุ าจก อี วภิ ตั ติ แลว รัสสะ ลบ อิ ท่ี วิ สนธิกับ โอ เปน โว พฤทธิ์ อุ ท่ี รุ เปน โอ ลง ส อาคม. พงึ กลา ว ว+ิ โอ บทหนา หรฺ ธาตุ ในความนำไป อ ปจจยั เอยยฺ วิภตั ติ ลบ อิ ที่ วิ แลว สนธิกับ โอ เปน โว. ส สกฺกเุ ณยฺย พึงอาจ สกกฺ ฺ ธาตุ ในความอาจ อณุ า ปจ จยั เอยยฺ  วิภตั ติ. สงกฺ ลิ ิสสฺ ติ จักเศราหมอง ส บทหนา กิลิสฺ ธาตุ อ ปจจัย สฺสติ วิภัตติ แปลง นคิ คหติ ท่ี ส เปน งฺ สงฺขุภิ กำเรบิ -กระฉอนแลว ส บทหนา ขุภฺ ธาตุ ในความไหวพรอ ม-ปนปวน อ ปจ จยั อี วภิ ัตติ รสั สะ อี เปน อิ แลว แปลงนิคคหิตที่ ส เปน งฺ สงฺคณฺหาติ ยอมสงเคราะห ส บทหนา คหฺ ธาตุ ในความถือเอา ณฺหา ปจจัย ติ วภิ ัตติ แปลงนคิ คหิตที่ ส เปน งฺ เพราะมี ค อยูห ลัง. สจฉฺ กิ โรติ ยอ มทำใหแ จง สจฉฺ ๘ิ บทหนา กรฺ ธาตุ ในความทำ โอ ปจ จยั ติ วภิ ตั ต.ิ สชเฺ ชสิ จัดแจง-เตรียมแลว สชฺชฺ ธาตุ ในความเตรียม-จัดแจง เณ ปจจัย ใน กตั ตวุ าจก อี วิภัตติ แลวรัสสะ อี เปน อิ ลง ส อาคม. สนฺตปเฺ ปสิ ยัง...ใหอิ่มหนำ-เลี้ยงดูแลว ส บทหนา ตปฺปฺ ธาตุ ในความอิ่ม เณ ปจ จยั อี วภิ ตั ติ แลว รสั สะ ลง ส อาคม แปลงนคิ คหติ ท่ี ส เปน นฺ ๘ สจฺฉิ น้ี ตามอภิ. กลา ววา เปนปจ จกั ขัตถนบิ าต คือเปนนิบาตลงในอรรถวาทำใหแ จง ใหใส เปนจำพวกอัพยยศพั ท. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 129

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 130 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò สนฺธาเรสุ ทรงไวพรอมแลว ส บทหนา ธารฺ ธาตุ ในความทรง-ต้ัง-รับ-วาง เอ สนฺธาวิสสฺ  สนฺนยหฺ ติ ปจ จยั อุ วภิ ัตติ ลง ส อาคม แปลงนคิ คหติ ที่ ส เปน นฺ สนนฺ ิปตึสุ จักแลนไปพรอมแลว ส บทหนา ธาวฺ ธาตุ ในความว่ิงไป อ ปจจัย สมเนวสฺ ติ สฺส วิภัตติ ลง อิ อาคมหลังธาตแุ ละปจจยั แปลงนคิ คหติ ท่ี ส เปน นฺ สมฺปชชฺ ติ ยอมผกู สอด (สวมเกราะ) ส บทหนา นหฺ ธาตุ ในความผูก ย ปจจยั สมฺปฏิจฉฺ ิ ติ วภิ ตั ติ แปลง ย กบั หฺ ทส่ี ดุ ธาตเุ ปน ยหฺ แปลงนคิ คหติ ที่ ส เปน นฺ ประชุมกันแลว ส+นิ บทหนา ปตฺ ธาตุ ในความตกไป อ ปจจัย สมปฺ าเปสิ สมมฺ สติ อุ วภิ ตั ติ แปล อุ เปน อสึ ุ แปลงนคิ คหิตเปน นฺ สมาทเปติ ยอมคนหา ส+อนุ บทหนา อิสฺ ธาตุ ในความแสวงหา อ ปจจัย สมิชฌฺ ติ ติ วิภัตติ แปลงนิคคหิตท่ี ส เปน ม พฤทธ์ิ อุ ที่ อนุ เปน โอ แลว สมีรติ เอาเปน อว พฤทธิ์ อิ แหง อิสฺ ธาตุ เปน เอ. ยอมถึงพรอม-สำเร็จ ส บทหนา ปทฺ ธาตุ ในความถึง ย ปจจัย ติ วิภัตติ แปลง ย ปจ จัยกบั ทฺ ที่สุดธาตเุ ปน ชฺช แลวแปลงนคิ คหติ ที่ ส เปน มฺ รับพรอมแลว ส+ปฏิ บทหนา อสฺ ธาตุ ในความปรารถนา ย ปจจัย อิ วิภัตติ รัสสะ อี เปน อิ แปลง ย กับ สฺ ที่สุดธาตุเปน จฺฉ แปลง นคิ คหิตที่ ส เปน มฺ ยงั ...ใหถ งึ พรอ มแลว ส+ ป บทหนา อาปฺ ธาตุ ในความถงึ เณ ปจ จยั อี วภิ ตั ติ รสั สะ อี เปน อิ ลง ส อาคม แปลงนคิ คหติ ท่ี ส เปน มฺ ยอมพจิ ารณา ส บทหนา มสฺ ธาตุ ในความจับตอง-ลูบคลำ อ ปจ จยั ติ วิภตั ติ แปลงนคิ คหิตที่ ส เปน มฺ ยอ มยัง...ใหถ อื เอาพรอม-ชกั ชวน ส+อา บทหนา ทา ธาตุ ในความ ให ณาเป ปจจัย ติ วิภัตติ ลบ อา ที่ ทา และ ณ ที่ ณาเป แปลง นคิ คหิตที่ ส เปน มฺ ยอ มสำเรจ็ ส บทหนา อิธฺ ธาตุ ในความสำเรจ็ ย ปจ จยั ติ วภิ ตั ติ แปลง ย กบั ธฺ ท่สี ุดธาตเุ ปน ชฌฺ แปลงนิคคหิตที่ ส เปน ม. ยอมหว่นั ไหว ส บทหนา อรี ฺ ธาตุ ในความไหว-ส่ัน-สะเทอื น อ ปจ จยั ติ วิภตั ติ แปลงนิคคหิตที่ ส เปน ม. เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 130

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 131 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò สมทุ าจรติ ยอมรองเรียก ส+อุ+อา บทหนา จรฺ ธาตุ ในความประพฤติ-เท่ียวไป อ ปจจัย ติ วิภตั ติ แปลงนิคคหติ ท่ี ส เปน ม แลว ลง ท อาคมที่ อา. สโมสรติ ยอ มประชมุ กนั ส+โอ บทหนา สรฺ ธาตุ ในความแลนไป อ ปจจัย ติ วภิ ตั ติ แปลงนิคคหิตท่ี ส เปน ม. สลลฺ กฺเขยยฺ พึงกำหนดพรอม ส บทหนา ลกฺขฺ ธาตุ ในความกำหนด อ ปจจัย เอยยฺ วภิ ตั ติ แปลงนคิ คหิตท่ี ส เปน ลฺ เพราะมี ล อยูเบอื้ งหลงั . สลฺลปติ ยอมเจรจา ส บทหนา ลปฺ ธาตุ ในความกลา ว-พดู อ ปจ จยั ติ วิภตั ติ แปลงนิคคหติ ท่ี ส เปน ลฺ เพราะมี ล อยเู บอ้ื งหลงั . สว ิทหิ จดั แจงแลว ส+ วิ บทหนา ธา ธาตุ ในความทรงไว อ ปจ จยั อี วภิ ตั ติ รัสสะ อี เปน อิ แปลง ธา เปน ทห.ฺ สเวเชติ ยอมยัง...ใหสลด ส บทหนา วิชิ ธาตุ ในความกลัว-หวาดหวั่น เณ ปจ จัย ติ วิภัตติ พฤทธิ์ อิ ท่ี วิ เปน เอ แลวลบ อิ ท่ี ชิ. สส นฺเทติ ยอมสนทนา-เปรียบ ส บทหนา สนฺทฺ ธาตุ ในความหลั่งไหล เอ ปจจัย ติ วภิ ตั ต.ิ สาเธติ ยอ มยัง...ใหส ำเรจ็ สาธฺ ธาตุ ในความสำเร็จ เณ ปจจัย ติ วิภัตติ. สาเวติ ยอมยัง...ใหไดยิน-สวดประกาศ สุ ธาตุในความฟง เณ ปจจัย ติ วภิ ตั ติ พฤทธ์ิ อุ ที่ อุ เปน โอ แลวเอาเปน อาว. สกุ ขฺ สิ สฺ ติ จักแหง สุกฺขฺ ธาตุ ในความแหง อ ปจจัย สฺสติ วิภัตติ ลง อิ อาคม หลังธาตแุ ละปจจยั . เสวนฺติ ยอมสองเสพ-คบหา สิวฺ ธาตุ ในความสองเสพ-คบหา อ ปจจัย อนฺติ วิภตั ติ พฤทธิ์ อิ ท่ี สิ เปน เอ. โสจติ ยอมเศราโศก สุจฺ ธาตุ ในความแหง อ ปจจัย ติ วิภัตติ พฤทธ์ิ อุ ท่ี สุ เปน โอ. โสเธนตฺ ิ ยอมยัง...ใหหมดจด สุธฺ ธาตุในความสะอาด-หมดจด เณ ปจจัย อนตฺ ิ วิภัตติ พฤทธ์ิ อุ ที่ สุ เปน โอ. โสสสฺ ามิ จกั ฟง สุ ธาตใุ นความฟง อ ปจ จยั สสฺ ามิ วภิ ตั ติ พฤทธิ์ อุ ท่ี สุ เปน โอ. 131

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 132 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò หฺต๙ิ ห หนตฺ ๑ิ ๐ ยอมเดอื ดรอ น-เบียดเบียน หนฺ ธาตุ ในความเบียดเบยี น ย ปจจยั ติ หรติ วิภัตติ แปลง ย กบั นฺ ทสี่ ดุ ธาตุ เปน ฺ. หรายติ ยอมเบียดเบียน-ฆา หนฺ ธาตุ ในความฆา-เบียดเบียน-กำจัด-กระทบ หสติ หึสติ อ ปจ จัย ติ วภิ ัตต.ิ ยอมนำไป หรฺ ธาตุ ในความนำไป อ ปจจยั ติ วิภัตต.ิ หเี ฬติ ยอมละอาย หเร ธาตุ อ ปจ จัย ติ วภิ ตั ติ พฤทธ์ิ เอ ที่ เร เปน อาย. ยอ มหวั เราะ หสฺ ธาตุ ในความรา เริง อ ปจ จยั ติ วิภัตติ ยอมเบียดเบียน หิสิ ธาตุ ในความ-เบียดเบียน-ทำราย อ ปจจัย ติ วภิ ัตติ ลงนคิ คหิตอาคมที่ หิ เปน หึ ลบ อิ ท่ี ส.ิ ยอ มเยยหยัน-ดหู มนิ่ หิฬฺ ธาตุ ในความนา ติ เณ ปจ จัย ในกตั ตุวาจก ติ วิภัตต.ิ จบภาคผนวก กิริยาอาขยาต ๙ ศพั ทน ี้ ใชใ นอรรถแหงกมั มวาจกกไ็ ด เชน กุชฺ โร ทนฺเตสุ หฺเต ชาง (อันเขา) ยอ มฆา ในเพราะ งา ท. ตโต วาตาตโท เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) โฆโร สฺชาโต ปฏิหฺติ แตนัน้ ลมและแดดอนั กลา อนั เกิดขึ้นแลว (อนั วหิ าร) ยอมกำจดั เสยี ได. ๑๐บางแหงใช น ท่ีสุดธาตุท่ีเปนตัวสะกดก็มี เชน ผล เว กทลึ หนฺติ ผลกลวยแล ยอมฆา ซึ่งตนกลวย. สีต อุณฺหํ ปฏิหนฺติ (เสนาสนะ) ยอ มกำจดั เสยี ได ซง่ึ เยน็ รอน. น้เี ฉพาะเอก. สวนพหุ.คงตามรปู เดิม เชน หนนฺติ โภคา ทมุ ฺเมธ โภคะ ท. ยอ มฆา ซง่ึ คนมปี ญญาทราม. 132

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 133 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò แบบฝก หัดประเมนิ ผลนักเรยี น เร่ือง อาขยาต รวมหนว ยที่ ๑ - ๕ จุดประสงค เพื่อประเมินความรูค วามเขาใจของนกั เรียนเกย่ี วกบั เร่อื ง “อาขยาต” หนวยการเรียนการสอนที่ ๑–๕ คำสัง่ แบบฝกหัดทั้งหมดมี ๓ ตอน ใหเวลาในการทำแบบฝกหัด รวม ๓ ชัว่ โมง ตอนที่ ๑ ใหนกั เรยี นตอบคำถามตอ ไปน้ีใหถ กู ตอง (ขอละ ๑๐ คะแนน) ตอนที่ ๒ ใหนักเรียนอานคำถามแลวเขียนวงกลมลอมรอบขอคำตอบ ทีถ่ ูกตอ งท่สี ดุ เพียงขอ เดยี ว (ขอ ละ ๒ คะแนน) ตอนที่ ๓ ใหนักเรียนทำเคร่ืองหมายถูก ( ) หนาขอที่ถูกตอง และ ทำเครือ่ งหมายผิด ( ) หนา ขอ ทีผ่ ิด (ขอละ ๑ คะแนน) ตอนท่ี ๑ ใหน กั เรยี นตอบคำถามตอ ไปนใ้ี หถ กู ตอ ง (ปญ หามี ๕ ขอ ๆ ละ ๑๐ คะแนน) ๑. วิภัตติอาขยาตเปนเคร่ืองหมายใหรูอะไร ? จงเขียนวิภัตติอาขยาตหมวด วัตตมานา ปญ จมี และภวสิ สนั ติ เฉพาะฝา ยปรัสสบทมาดู ? ๒. วภิ ตั ตอิ าขยาตทงั้ หมดมกี ห่ี มวด ? แตล ะหมวดบอกกาลอะไร ? และมคี ำแปล ประจำหมวดวา อะไร ? ๓. ธาตุทานจัดไวเ ปน กีห่ มวด ? อะไรบาง ? และหมวดนน้ั ลงปจ จยั อะไร ? ๔. อะไรจัดเปนวาจก มีเทาไร ? อะไรบาง ? แตละวาจกมีความหมายวาอะไร จงตอบพรอ มยกอทุ าหรณประกอบดว ย ? ๕. ปจจยั ทานจัดลงในวาจกไวอ ยา งไร ? ข ฉ ส อาย อิย ปจจัย มวี ธิ ใี ชอยางไร ? จงตอบพรอ มยกอุทาหรณประกอบดวย ? เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 133

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 134 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ตอนที่ ๒ ใหนักเรียนอานคำถามแลวเขียนวงกลมลอมรอบขอคำตอบที่ถูกตอง ทีส่ ุดเพียงขอเดยี ว (ปญ หามี ๒๕ ขอ ๆ ละ ๒ คะแนน) ๑. คำวา “อาขยาต” มีวเิ คราะหว า อยางไร ? ก. อาขยฺ าติ ตนฺติ อาขยฺ าตํ ข. กิรยิ ํ อาขฺยาติ เตนาติ อาขยฺ าตํ ค. กิรยิ ํ อาขฺยาติ เอตถฺ าติ อาขยฺ าตํ ง. กริ ยิ ํ อาขยฺ าตีติ อาขฺยาตํ ๒. เครื่องปรงุ อาขยาตที่จะขาดไมไดเลยคอื อะไรบาง ? ก. วภิ ตั ติ วาจก ปจ จยั ข. กาล ธาตุ ปจจยั ค. บท วจนะ บุรษุ ง. วิภตั ติ ธาตุ ปจ จัย ๓. อนฺติ วิภตั ติ ในหมวดวตตฺ มานา แปลงเปน อะไรไดบาง ? ก. แปลงเปน เร ข. แปลงเปน เอ ค. แปลงเปน อา ง. แปลงเปน า ๔. ในประโยควา “ภิกขฺ ุ คามํ ปณฺฑาย ปวิสติ.” ศพั ทใดเปน กิริยาอาขยาต ? ก. ภกิ ขฺ ุ ข. คามํ ค. ปณฺฑาย ง. ปวิสติ ๕. วิภตั ติใดตอ ไปนเ้ี ปน วภิ ัตตอิ าขยาต ? ก. โย ข. นา ค. เอยยฺ ง. สฺมึ ๖. อี อชั ชัตตนีวิภตั ติ ประถมบรุ ุษ เอกวจนะ ปรัสสบท ใชแ ทนวิภตั ติใดได ? ก. อุ ประถมบุรษุ พหุวจนะ ปรัสสบท ข. โอ มธั ยมบรุ ษุ เอกวจนะ ปรสั สบท ค. ตฺถ ประถมบุรษุ เอกวจนะ ปรัสสบท ง. อึ อตุ ตมบรุ ุษ เอกวจนะ ปรัสสบท เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 134

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 135 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๗. ในอาขยาตแบง กาลโดยยอ ไวเ ทาไร ? ก. ๓ ข. ๔ ค. ๕ ง. ๖ ๘. คำวา “กาล” หมายถึงอะไร ? ก. เวลา ข. สถานที่ ค. ตาย ง. คำประพนั ธ ๙. วภิ ัตติอาขยาตหมวดสตั ตมีบอกความกำหนด แปลวา “พึง” มขี อสังเกต อยา งไร ? ก. ไมม นี ิบาตกำกบั ไว ข. มนี ิบาตคอื เจ, ยทิ, สเจ อยดู ว ย ค. มนี ิบาตคือ อปเฺ ปว นาม อยดู ว ย ง. มีนิบาตคือ ยนนฺ ูน อยดู วย ๑๐. วภิ ัตตฝิ ายปรัสสบท เปน เครื่องหมายใหรวู าจกอะไร ? ก. กตั ตวุ าจก ข. กมั มวาจก ค. ภาววาจก ง. เหตุกมั มวาจก ๑๑. มิ ปญ จมีวภิ ัตติ ขึ้นประธานวา อะไร ? ก. ตฺวํ ข. ตุมฺเห ค. อหํ ง. มยํ ๑๒. อุ อัชชัตตนวี ภิ ตั ติ ขึ้นประธานวาอะไร ? ก. โส ข. เต ค. ตวฺ ํ ง. ตุมฺเห ๑๓. บุรุษในอาขยาต แบงเปนเทาไร ? ก. ๒ ข. ๓ ค. ๔ ง. ๕ ๑๔. สสฺ ํ กาลาตปิ ตตวิ ภิ ัตติ เปน บุรุษ และวจนะอะไร ? ก. ประถมบุรุษ เอกวจนะ ข. มัธยมบุรุษ เอกวจนะ ค. มัธยมบุรุษ พหุวจนะ ง. อุตตมบุรุษ เอกวจนะ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 135

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 136 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๑๕. คำวา “ธาต”ุ หมายถงึ อะไร ? ก. ศัพททเ่ี ปน มลู ราก ข. ศัพทเ รยี กพรหม ค. ศพั ทเรยี กกระดกู ง. ศัพททเ่ี ปนสารเนื้อเดียว ๑๖. ธาตโุ ดยยอแบง ออกเปนเทา ไร ? ก. ๒ ข. ๓ ค. ๔ ง. ๕ ๑๗. กิริยาศัพทใดตอไปนคี้ ือธาตุท่เี รยี กหากรรม ? ก. ขยี ติ ข. มรติ ค. กโรติ ง. ชาคโรติ ๑๘. กิริยาศัพทใ ดตอไปน้ีจดั อยูใ นหมวด กี ธาตุ ? ก. สยติ ข. ภุ ฺชติ ค. สณุ าติ ง. จนิ าติ ๑๙. “สสฺ ติ” ในหมวดภวิสสนั ติ เม่อื ลบ สสฺ ทิง้ แลว หุ ธาตมุ ีรูปเปน อะไร ? ก. โห ข. หหุ ค. โหห ง. หุหุ ๒๐. กิรยิ าศัพทใ ดตอไปน้ใี ชศพั ทพ เิ ศษสำหรับนำหนา กิริยา ? ก. อปุ สงฺกมติ ข. มนสิกโรติ ค. นิกฺขมติ ง. อปุ จจฺ คา ๒๑. อกัมมธาตไุ มน ยิ มใชใ นวาจกใด ? ก. กตั ตุวาจก ข. กัมมวาจก ค. ภาววาจก ง. เหตกุ ตั ตุวาจก ๒๒. สกัมมธาตไุ มนิยมใชในวาจกใด ? ก. กัตตุวาจก ข. กมั มวาจก ค. ภาววาจก ง. เหตุกมั มวาจก ๒๓. บทการติ กัมมในประโยคเหตุกตั ตุวาจกตองประกอบดว ยวิภตั ติอะไร ? ก. ปฐมาวิภตั ติ ข. ทุตยิ าวิภัตติ ค. ตตยิ าวิภตั ติ ง. ฉัฏฐวี ภิ ัตติ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 136

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 137 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๒๔. “นา” ปจ จยั ในหมวด “กี” ธาตุ มรี ูปไดหลายอยา ง ยกเวนขอ ใด ? ก. แปลงเปน ณา เชน กณี าติ ข. แปลงเปน ย เชน นายเร ค. แปลงเปน  เชน ชฺ า ง. คงรปู เปน นา เชน ชินาติ ๒๕. กริ ิยาศัพทตอ ไปน้ี ศัพทใดมไิ ดลงปจ จัยนอกแบบ ? ก. เฆปปฺ ติ ข. รนุ ฺธิติ ค. มุยฺหติ ง. ปาปณุ าติ ตอนที่ ๓ ใหนกั เรียนทำเคร่อื งหมายถูก ( ) หนาขอที่ถูกตอง และทำเครอื่ งหมายผดิ ( ) หนาขอ ท่ผี ดิ (ปญ หามี ๒๕ ขอ ๆ ละ ๑ คะแนน) ( ) ๑. คำวา “อาขยาต” หมายถึงศัพทกลาวกริ ยิ า ( ) ๒. วิภัตติอาขยาตคือ “หิ มิ ม” เม่ือลงแลวคงรูปอยูอยางเดิมเทานั้น ไมเ ปลีย่ นแปลงอะไรเลย ( ) ๓. อา หยิ ตตฺ นี ปรสั สบท มักรัสสะเปน อ ( ) ๔. โอ หยิ ตฺตนีและอชชฺ ตตฺ นี มีใชอยทู ั่วไป ( ) ๕. อุ แปลงเปน อึสุ ได ( ) ๖. สฺสา กาลาตปิ ตฺติ ปรสั สบท หามรัสสะเปน อ ( ) ๗. กรฺ ธาตุ แปลงเปน กาห ได ในเมอื่ ประกอบวภิ ัตตหิ มวด ภวสิ สฺ นตฺ ิ ( ) ๘. ปโรกขฺ า มที ีใ่ ชอยู ๒ วิภตั ตเิ ทา น้นั คอื อ อุ ปฐมบรุ ุษ ปรสั สบท ( ) ๙. อ อาคม ลงหนาธาตุ ในวภิ ัตตหิ มวด หยิ ตตฺ นี อชชฺ ตตฺ นี และกาลาตปิ ตตฺ ิ ( ) ๑๐. อิ อาคม ลงท่หี นาธาตุ ในวิภัตตหิ มวด หิยตฺตนี ( ) ๑๑. ส อาคม ลงทายธาตแุ ละปจ จัย ในวภิ ตั ตหิ มวด ภวิสสฺ นฺติ และกาลาติปตตฺ ิ ( ) ๑๒. ห อาคม ลงทา ยธาตทุ ุกตัว ในวภิ ตั ตหิ มวด อชชฺ ตตฺ นี ( ) ๑๓. อํ (นิคคหติ ) อาคม ลงท่ตี น ธาตุ ในหมวด รุธฺ ธาตุ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 137

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 138 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ( ) ๑๔. มจุ ฺ ธาตุ ถา ลงในหมวด รธุ ฺ ธาตุ แปลวา พน ถาลงในหมวด ทิวฺ ธาตุ แปลวา ปลอ ย ( ) ๑๕. พุธฺ ธาตุ ลง ย ปจ จัยแลว แปลง ย กับทสี่ ดุ ธาตเุ ปน ชฺฌ ( ) ๑๖. จรุ ฺ ธาตุ ลง เณ ปจจัยแลว ใหพฤทธิ์ อุ เปน โอ แลว ลบ ณ ท้ิง ( ) ๑๗. กิริยาศัพท คอื “จินตฺ ยต”ิ เปน ธาตุท่ีไมเรยี กหากรรม ( ) ๑๘. กิรยิ าศพั ท คอื “อตถฺ ”ิ ใชไดท ้งั เอก. และพห.ุ ( ) ๑๙. วาจก คือ กลาวบทท่เี ปน ประธานของกิรยิ า ( ) ๒๐. กริ ิยาศพั ททีก่ ลา วถึงผทู ำ ซ่งึ ทำหนาท่ปี ระธานในประโยค ชอ่ื กมั มวาจก ( ) ๒๑. ในประโยคกตั ตวุ าจก ยกตวั กรรมข้ึนเปนประธานในประโยค ( ) ๒๒. บทกตั ตาในประโยคกมั มวาจก ตอ งประกอบดว ยปฐมาวิภตั ติ ( ) ๒๓. บทเหตกุ รรม ในประโยคเหตกุ มั มวาจก ตอ งประกอบดว ยทตุ ยิ าวภิ ตั ติ ( ) ๒๔. ในภาววาจก กิริยาตองใชอกัมมธาตุ ย ปจจัย วิภัตติฝายอัตตโนบท ประถมบรุ ษุ เอกวจนะ ( ) ๒๕. เณ ณย ณาเป ณาปย ปจจัย เปน ปจจยั เนอ่ื งดว ย ณ เมื่อลงแลว ตอ งลบ ณ ท้งิ เสมอ 138

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 139 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เฉลยแบบฝกหดั ประเมนิ ผลนักเรยี น เรอ่ื ง อาขยาต หนวยที่ ๑ - ๕ ตอนท่ี ๑ ใหน กั เรยี นตอบคำถามตอ ไปนใี้ หถ กู ตอ ง (ปญ หามี ๕ ขอ ๆ ละ ๑๐ คะแนน) ๑. วภิ ัตตอิ าขยาตเปน เครอ่ื งหมายใหร ู กาล บท วจนะ บรุ ุษ วตตฺ มานา ปรสฺสปทํ ปุริส. เอก. พห.ุ ป. ติ. อนตฺ .ิ ม. ส.ิ ถ. อุ. มิ. ม. ปจฺ มี ปรสสฺ ปทํ ปรุ ิส. เอก. พห.ุ ป. ตุ. อนตฺ .ุ ม. หิ. ถ. อุ. ม.ิ ม. ภวสิ สฺ นตฺ ิ ปรสฺสปทํ ปุรสิ . เอก. พห.ุ ป. สฺสต.ิ สสฺ นฺต.ิ ม. สฺสส.ิ สสฺ ถ. อุ. สสฺ าม.ิ สสฺ าม. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 139

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 140 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๒. วิภตั ติอาขยาตทงั้ หมดมี ๘ หมวด วตั ตมานา บอกปจ จบุ ันกาล ปจจุบนั แท แปลวา “อย”ู ปจ จบุ ันใกลอดตี แปลวา “ยอ ม” ปจจุบันใกลอ นาคต แปลวา “จะ” ปญ จมี บอกความบังคบั ความหวงั ความออ นวอน ความบงั คบั แปลวา “จง” ความหวงั แปลวา “เถดิ ” ความออนวอน แปลวา “ขอ…จง” สัตตมี บอกความยอมตาม ความกำหนด ความรำพึง ความยอมตาม แปลวา “ควร” ความกำหนด แปลวา “พึง” ความรำพึง แปลวา “พึง” ปโรกขา บอกอดตี กาลลว งแลวไมม กี ำหนด แปลวา “แลว ” หยิ ตั ตนี บอกอดีตกาลลวงแลววานน้ี แปลวา “แลว” ถามี อ นำหนา แปลวา “ได… แลว ” อชั ชตั ตนี บอกอดีตกาลลวงแลววันนี้ แปลวา “แลว” ถามี อ นำหนา แปลวา “ได… แลว ” ภวิสสนั ติ บอกอนาคตแหงปจจบุ นั แปลวา “จกั ” กาลาติปตติ บอกอนาคตแหงอดีต แปลวา “จัก…แลว” ถามี อ นำหนา แปลวา “จักได… แลว” ๓. ธาตทุ านจดั ไวเ ปน ๘ หมวด ดงั นี้ คือ ๑. หมวด ภู ธาตุ ลง อ เอ ปจจยั ประจำหมวด ๒. หมวด รุธฺ ธาตุ ลง อ เอ ปจจยั ประจำหมวด ๓. หมวด ทิวฺ ธาตุ ลง ย ปจ จยั ประจำหมวด ๔. หมวด สุ ธาตุ ลง ณุ ณา ปจ จยั ประจำหมวด ๕. หมวด กี ธาตุ ลง นา ปจ จยั ประจำหมวด 140

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 141 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๖. หมวด คหฺ ธาตุ ลง ณฺหา ปจ จยั ประจำหมวด ๗. หมวด ตนฺ ธาตุ ลง โอ ปจ จยั ประจำหมวด ๘. หมวด จรุ ฺ ธาตุ ลง เณ ณย ปจ จัย ประจำหมวด ๔. กริ ยิ าศพั ทท ่ีประกอบดวยวิภัตติ กาล บท วจนะ บรุ ุษ จดั เปนวาจก คอื กลา วบท ท่ีเปนประธานของกิริยา ๕ อยาง คือ กัตตุวาจก ๑ กัมมวาจก ๑ ภาววาจก ๑ เหตุกัตตวุ าจก ๑ เหตุกมั มวาจก ๑ กิริยาศัพทใดกลาวผูทำ คือ แสดงวาเปนกิริยาของผูทำน้ันเอง กิริยาศัพทน้ัน ชอ่ื กัตตุวาจก มอี ทุ าหรณวา “สูโท โอทนํ ปจติ. พอ ครวั หงุ อยู ซ่งึ ขา วสกุ ” กิริยาศัพทใดกลาวกรรม สิ่งที่บุคคลพึงทำ คือ แสดงวาเปนกิริยาของกรรมนั้น เอง กิริยาศัพทน้ัน ชื่อกัมมวาจก มีอุทาหรณวา “สูเทน โอทโน ปจิยเต. ขาวสุก อัน พอครัว หุงอย”ู กิริยาศัพทใดกลาวแตสักวา ความมี ความเปน เทานั้น ไมกลาว กัตตาและ กรรม กริ ยิ าศัพทน ั้น ช่ือวา ภาววาจก มีอุทาหรณว า “เตน ภูยเต. อนั เขา เปน อย”ู กิรยิ าศัพทใดกลาวผใู ชใหคนอ่นื ทำ คอื แสดงวาเปน กริ ิยาของผูใชใ หผอู ืน่ ทำนน้ั กริ ยิ าศพั ทน นั้ ชอื่ เหตกุ ตั ตวุ าจก มอี ทุ าหรณว า “สามโิ ก สทู ํ โอทนํ ปาเจต.ิ นาย ยัง (ใช) พอ ครัว ใหห ุงอยู ซงึ่ ขา วสุก” กิริยาศัพทใดกลาวส่ิงท่ีเขาใชใหบุคคลทำ คือ แสดงวาเปนกิริยาของสิ่งนั้น กิริยาศัพทนั้น ชื่อเหตุกัมมวาจก มีอุทาหรณวา “สามิเกน สูเทน โอทโน ปาจาปยเต. ขาวสกุ อันนาย ยัง (ใช) พอครวั ใหห ุงอย”ู ๕. ปจ จยั นัน้ จดั เปน ๕ หมวดตามวาจก ดังนี้ ๑. กตั ตวุ าจก ลงปจ จยั ๑๐ ตวั คอื อ, เอ, ย, ณ,ุ ณา, นา, ณหา, โอ, เณ, ณย ๒. กัมมวาจก ลง ย ปจจัย กบั ทั้ง อิ อาคม หนา ย ๓. ภาววาจก ลง ย ปจ จยั ๔. เหตุกตั ตุวาจก ลงปจ จยั ๔ ตวั คือ เณ, ณย, ณาเป, ณาปย ๕. เหตุกัมมวาจก ลงปจจัย ๑๐ ตัวน้ันดวย, ลงเหตุปจจัยคือ ณาเป ดวย, ลง ย ปจจัยกับทง้ั อิ อาคม หนา ย ดวย 141

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 142 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ข, ฉ, ส ปจจัย ๓ ตวั น้ี ใชป ระกอบกับธาตุ แลว ออกสำเนยี งคำแปลวา “ ปรารถนา” อุทาหรณ ดงั นี้ ข ปจจัย เชน ภชุ +ฺ ข = พภุ กุ ฺข+ติ สำเรจ็ รปู เปน พภุ กุ ฺขติ - ปรารถนาจะกิน ฉ ปจจัย เชน ฆสฺ+ฉ = ชิฆจฉฺ +ติ สำเรจ็ รูปเปน ชฆิ จฉฺ ติ - ปรารถนาจะกนิ ส ปจ จยั เชน หรฺ+ส = ชิคสึ +ติ สำเรจ็ รปู เปน ชิคึสติ - ปรารถนาจะนำไป อาย, อยิ ปจจัย ๒ ตวั นี้ ใชส ำหรบั ประกอบกบั นามศพั ท ทำนามศัพท ใหเปน กิรยิ าศัพทม คี ำแปลวา “ประพฤติ” อุทาหรณ เชน อาย ปจจยั เชน จิร+อาย+ติ สำเรจ็ รูปเปน จิรายติ - ประพฤติชาอยู อิย ปจจยั เชน ปุตฺต+อิย+ติ สำเรจ็ รปู เปน ปตุ ตฺ ิยติ-ประพฤตเิ พยี งดังบตุ ร. ตอนที่ ๒ ใหนักเรียนอานคำถามแลวเขียนวงกลมลอมรอบขอคำตอบที่ถูกตองท่ีสุดเพียง ขอ เดยี ว (ปญ หามี ๒๕ ขอ ๆ ละ ๒ คะแนน) ๑. ง ๒. ง ๓. ก ๔. ง ๕. ค ๖. ข ๗. ก ๘. ก ๙. ข ๑๐. ก ๑๑. ค ๑๒. ข ๑๓. ข ๑๔. ง ๑๕. ก ๑๖. ก ๑๗. ค ๑๘. ง ๑๙. ค ๒๐. ข ๒๑. ข ๒๒. ค ๒๓. ข ๒๔. ค ๒๕. ค ตอนท่ี ๓ ใหน กั เรยี นทำเครอื่ งหมายถกู ( ) หนา ขอ ทถี่ กู ตอ ง และทำเครอื่ งหมายผดิ ( ) หนา ขอ ทีผ่ ดิ (ปญหามี ๒๕ ขอ ๆ ละ ๑ คะแนน) ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑. ๒๒. ๒๓. ๒๔. ๒๕. เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 142

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 143 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò แผนการสอนบาลไี วยากรณ หนว ยท่ี ๖ เรือ่ ง “การแปลมคธเปน ไทยและไทยเปนมคธ ในวาจกทั้ง ๕ ทใี่ ชกิริยาอาขยาตคมุ พากย” ๑. การใชก ริ ิยาอาขยาตคมุ พากย ๒. การแปลมคธเปนไทยและการแปลไทยเปนมคธ เวลาทำการสอน ๓ คาบ สาระสำคญั ในการวัดผลประเมินผลของนักเรียนผูไดศึกษาความรูพ้ืนฐานดานบาลี ไวยากรณมาถึงขั้นนี้แลว วิธีการสำคัญอยางหนึ่งที่ผูสอนนิยมใชในการวัดผลความรู ความเขาใจถึงเน้ือหาท่ีไดเรียนผานมาแลว คือ วิธีการแปลมคธเปนไทยและการแปล ไทยเปนมคธ ดังตัวอยางท่ีจะนำมาทดสอบในท่ีนี้ “จะเปนไปในลักษณะ ประโยคที่มี กิริยาอาขยาตเปน กริ ยิ าคุมพากย โดยแสดงตามวาจกทง้ั ๕” จุดประสงค ๑. นักเรียนรูและเขาใจถึงการแปลมคธเปนไทยในวาจกทั้ง ๕ ที่ใชกิริยา อาขยาตคุมพากย ๒. นักเรียนรูและเขาใจถึงการแปลไทยเปนมคธในวาจกทั้ง ๕ ท่ีใชกิริยา อาขยาตคมุ พากย เน้อื หา ๑. การใชก ริ ยิ าอาขยาตคุมพากย ๒. แปลมคธเปน ไทยตามวาจกท้งั ๕ ๓. แปลไทยเปนมคธตามวาจกทั้ง ๕ 143

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 144 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) กิจกรรม ๑. ประเมนิ ผลกอนเรยี น ๒. ครนู ำเขา สูบทเรียน และอธบิ ายเนอ้ื หา ๓. บตั รคำ ๔. ครสู รุปเนอื้ หาท้งั หมด ๕. ประเมินผลหลังเรียน ๖. ใบงาน - ใหนักเรียนแตงวาจกและบอกชนิดของวาจกทก่ี ำหนดให ๗. กิจกรรมเสนอแนะ ครสู อนควรใหน ักเรียน - แตงวาจกและบอกชนิดของวาจกได สอื่ การสอน ๑. ตำราทใ่ี ชประกอบการเรียน-การสอน ๑.๑ หนงั สอื พระไตรปฎก ๑.๒ หนงั สือพจนานกุ รม มคธ-ไทย โดย พนั ตรี ป. หลงสมบุญ สำนักเรยี นวดั ปากน้ำ ๑.๓ หนงั สือพจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ๑.๔ หนงั สือพจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท โดย พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยตุ ฺโต) ๑.๕ หนงั สอื คมู อื บาลไี วยากรณ นพิ นธ โดย สมเดจ็ พระมหาสมณเจา ฯ ๑.๖ หนงั สือปาลทิ เทศ ของ สำนกั เรียนวัดปากนำ้ ๑.๗ คมั ภีรอภิธานัปปทีปก า ๑.๘ หนงั สือพจนานุกรมธาตุ ภาษาบาลี ๑.๙ หนังสืออุภัยพากยป ริวัตน 144

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 145 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๒. อปุ กรณท ี่ควรมปี ระจำหอ งเรยี น ๒.๑ กระดานดำ-แปรงลบกระดาน-ชอลก หรือ กระดานไวทบอรด ๒.๒ เครอ่ื งฉายขามศรี ษะ (Over-head) ๒.๓ คอมพวิ เตอรแ ละเคร่ืองโปรเจคเตอร ๓. บตั รคำ ๔. ใบงาน วิธวี ัดผล-ประเมินผล ๑. สอบถามความเขา ใจ ๒. สังเกตพฤติกรรมการมสี วนรว มในกิจกรรม ๓. สงั เกตความกา วหนา ดา นพฤตกิ รรมการเรยี นรูข องผูเรยี น ๔. ตรวจใบงาน ๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลกอนเรยี น-หลงั เรียน 145

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 146 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò การแปลมคธเปน ไทยและไทยเปน มคธ ในวาจกทัง้ ๕ ทใี่ ชก ริ ยิ าอาขยาตคุมพากย ๑. การใชกริ ยิ าอาขยาตคุมพากย กริ ิยาอาขยาตมีวิธีใช ดังนี้ ๑. กิริยาอาขยาตกับนามนาม หรือปุริสสัพพนาม ซ่ึงเปนประธาน ของประโยค ตองมวี จนะและบรุ ษุ ตรงกัน ดงั น้ี เอก. พห.ุ นาม กิริยา นาม กิริยา ชโน กโรติ ชนา กโรนตฺ ิ โส โหติ เต โหนฺติ ตฺวํ สณุ าสิ ตุมเฺ ห สณุ าถ อหํ ภนิ ทฺ สิ สฺ ามิ มยํ ภนิ ฺทสิ ฺสาม ๒. กิริยาอาขยาตนี้โดยทวั่ ไปเรียงไวท า ยประโยค เชน บาลี : อาจรโิ ย อตตฺ โน สิสสฺ านํ โอวาทํ เทติ ฯ แปล : อ.อาจารย ใหอ ยู ซงึ่ โอวาท แกศ ษิ ย ท. ของตน ฯ - บางทีก็เรียงไวหนาประโยคโดยมุงเนนความหรือเปนประโยคคำถาม เนน ความ เชน บาลี : สณุ าตุ เม ภนฺเต สงโฺ ฆ ฯ แปล : ขาแตท านผเู จริญ อ.สงฆ ขอจงฟง (ซงึ่ คำ) ของขา พเจา ฯ - ประโยคคำถาม เชน บาลี : นตถฺ ิ เต โกจิ อาปจุ ฉฺ ิตพพฺ ยุตฺตโก ฯ แปล : อ.ใครๆ ผูควรแลว แกบ คุ คลอันทานพงึ อำลา ยอ มไมม หี รอื ฯ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 146

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 147 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๓. วิธีใชมัธยมบุรุษ และอุตตมบุรุษ จะไมเขียนตัวประธานลงดวยก็ได แตต อ งใชก ิริยาใหถ ูกตามวจนะ และบรุ ษุ ดังน้ี บาลี : เตนหิ ตํ อาปจุ ฉฺ าหิ ฯ แปล : ถา อยางนั้น อ.ทา น จงอำลา ซงึ่ บุคคลนัน้ ฯ บาลี : กมมฺ ฏานํ เม กเถถ ฯ แปล : อ.พระองค ท. ขอจงตรัสบอก ซง่ึ กัมมัฏฐาน แกขาพระองค ฯ บาลี : วปิ สฺสนาธุรํ ปูเรสสฺ ามิ ฯ แปล : อ.ขาพระองค ยังวปิ ส สนาธรุ ะ จกั ใหเตม็ ฯ บาลี : เตนหิ เอกโต ว คจฺฉาม ภนฺเต ฯ แปล : ขา แตทานผูเจรญิ ถา อยางนั้น อ.เรา ท. จงไป โดยความเปน อันเดยี วกนั ฯ ๔. คณุ นาม ท่เี นอื่ งดว ยกิริยา วา มี วาเปน เรยี งไวห ลงั นามนาม ซงึ่ เปน เจาของ หนา กริ ิยา วามี วาเปน นั้น (วิกติกตั ตา) ดังนี้ บาลี : สคุ นธฺ ํ ปุปผฺ ํ สพฺเพสํ มนาป โหติ ฯ แปล : อ.ดอกไม หอม เปนท่ีชอบใจ ของชน ท. ทัง้ ปวง ยอมเปน ฯ - แมจ ะไมเรียงกริ ิยาวา มี วา เปน ไวด ว ยกไ็ ด ดงั นี้ บาลี : อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ ฯ แปล : อ.ตนแล เปน ทพ่ี ่งึ ของตน ยอมเปน ฯ ๕. อัพยยศัพท คือนิบาตและปจจัยบางตัว เชน สเจ, เตนหิ, ยถา, เอวํ เปน ตน เรยี งไวเ ปน ตัวที่ ๑ ของประโยค เชน บาลี : สเจ ปาป น กเรยฺยาส,ิ สุขํ ลภิสฺสสิ ฯ แปล : ถาวา อ.เจา ไมพึงทำ ซ่ึงบาปไซร, อ.เจา จกั ได ซ่งึ สุข ฯ บาลี : ตทา สาวตฺถยิ ํ สตตฺ มนุสฺสโกฏโิ ย วสนตฺ ิ ฯ แปล : ในกาลนั้น อ.โกฏิแหง มนุษย ท. ๗ ยอมอยู ในเมอื งชือ่ วาสาวตั ถี ฯ - นิบาตท่ีเปน ตนขอความบางตัว เชน ห,ิ จ, ปน, ตุ เปน ตน เรยี งไวเ ปน ตัวท่ี ๒ ของประโยค เชน 147

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 148 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) บาลี : กุหึ ปน ตวฺ ํ วสสิ ฯ แปล : ก็ อ.เจา ยอมอยู ในทไี่ หน ฯ ๖. อาลปนะ ตามสำนวนอรรถกถา เรียงอาลปนะไวตนประโยคบาง ทายประโยคบา ง ดงั นี้ บาลี : ภนฺเต มา มํ นาเสถ ฯ แปล : ขา แตท า นผูเจริญ อ.ทา น ท. ขอจงอยายงั ขาพเจา ใหฉิบหาย ฯ บาลี : เอวํ กโรถ มหาราช ฯ แปล : ขา แตมหาราชเจา อ.พระองค ท. ขอจงทรงทำ อยา งน้ี - อาลปนะ ตามสำนวนบาลีเรียงไวเ ปน ที่ ๒ ในขอความอนั นน้ั เชน บาลี : สงฆฺ มภฺ นเฺ ต อปุ สมปฺ ทํ ยาจามิ ฯ แปล : ขา แตท านผูเจริญ ขา พเจา ขออยู ซ่งึ อุปสมบท กะสงฆ ฯ - ถา มสี พั พนามหรอื นบิ าตอยู เรยี งอาลปนะไวเ ปน ท่ี ๓ บา ง เปน ที่ ๔ บา ง ดงั นี้ บาลี : ธมฺมํ หิ โว ภกิ ขฺ เว เทเสสสฺ ามิ ฯ แปล : แนะ ภิกษุ ท. ก็ อ.เรา จกั แสดง ซง่ึ ธรรม แกเธอ ท. ฯ บาลี : กุหึ ปน ตฺวํ อาวโุ ส วสฺสาวาสํ วสิ ฯ แปล : ดูกอ นผมู ีอายุ ก็ อ.ทาน อยูแ ลว อยูจำพรรษา ในท่ไี หน ฯ ๗. มา ศัพท ซ่ึงแปลวา อยา นิยมใชกับกิริยาที่ลงวิภัตติหมวดปญจมี และหมวดอชั ชตั ตนี ดังน้ี บาลี : มา มํ ภนเฺ ต นาเสถ ฯ แปล : ขาแตทา นผเู จรญิ อ.ทา น ท. ขอจงอยา ยงั ขา พเจา ใหฉ ิบหาย ฯ บาลี : มา เอวํ กริ ฯ แปล : อ.เจา อยา ทำแลว อยางน้ี ฯ - แตกม็ ีใชกบั วิภัตตหิ มวดสตั ตมบี า ง ดงั นี้ บาลี : มาวมเฺ ถ ปุฺ สฺส ฯ แปล : อ.บคุ คล อยาพงึ ดหู มิน่ ซ่งึ บุญ ฯ 148

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 149 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๘. สวน น, โน ศัพท ซง่ึ แปลวา ไม ใชไดก บั วภิ ตั ตอิ าขยาตทว่ั ไป แตไม ใชกับวภิ ตั ตหิ มวดปญ จมี ดงั น้ี บาลี : ภนเฺ ต ตุมฺเห สปปฺ ายํ น กโรถ ฯ แปล : ขา แตท า นผเู จริญ อ.ทา น ท. ยอมไมก ระทำ ซง่ึ ความสบาย ฯ บาลี : ปฏึ น ปสาเรสฺสามิ ฯ แปล : อ.เรา จกั ไมเหยยี ดออก ซ่ึงหลงั ฯ บาลี : โน เจ สกฺขสิ ฺสติ ฯ แปล : หากวา อ.พระผเู ปนเจา จกั ไมอ าจไซร ฯ ๙. ในประโยคทเ่ี ปนคำถาม ถามี กึ ศัพท หรือศพั ทท ่เี ปล่ียนแปลงมาแต กึ ศพั ท เรยี งศพั ทนั้นไวห นา ดังนี้ บาลี : กึ ตยา ปพพฺ ชิตุ น วฏฏ ติ ฯ แปล : อ.อันอันทา น บวช ยอมไมค วร หรือ ฯ บาลี : กจจฺ ติ ถฺ ปริสุทธฺ า ฯ แปล : อ.ทา น ท. เปนผูบรสิ ุทธแ์ิ ลว ยอมเปน แลหรอื ฯ - ในประโยคคำถาม ถาไมมี กึ ศัพทอยูขางหนา ควรเรียงกิริยาไวหนา นิบาต ดงั น้ี บาลี : สกฺขสิ ปน ตฺวํ คหปติ เอเกน ปสเฺ สน สตตฺ มาเส นิปชชฺ ติ ุ ฯ แปล : ดูกอนคฤหบดี ก็ อ.ทาน ยอ มอาจ เพื่ออันนอน โดยขาง ขา งเดยี ว ตลอดเดือน ท. ๗ หรอื ฯ บาลี : ทียติ ปน คหปติ กุเล ทานํ ฯ แปล: แนะคฤหบดี ก็ อ.ทาน ในตระกูล อนั ทาน ใหอยหู รอื ฯ ๑๐. ศัพทท่ีเปนกิริยาวิเสสนะ คือแสดงลักษณะของกิริยาที่แปลกจาก กิริยาอื่น ใชทุติยาวิภัตติ เปนวิเสสนะของกิริยาบทใด เรียงไวหนากิริยาบทน้ัน หรือหนาบทอ่ืน ท่เี นอ่ื งดว ยกริ ิยาบทนน้ั ดังนี้ 149

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 150 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) บาลี : ธมมฺ จารี สุขํ เสติ ฯ แปล : อ.บุคคลผูประพฤติซง่ึ ธรรมโดยปกติ ยอมอยู เปนสขุ ฯ บาลี : ทกุ ฺขํ เสติ ปราชโิ ต ฯ แปล : อ.คนผูพา ยแพแ ลว (แตผ ูอนื่ ) ยอ มอยู เปน ทุกข ฯ ๑๑. นามนาม ท่ีเปนประธานของประโยค ท่ีเปนเอกวจนะหลายศัพท ควบดวย จ ศัพท ตอ งประกอบคณุ นามก็ดี กิรยิ ากด็ ี ของนามนามเหลานั้น เปน พหุวจนะ โดยมาก ดังน้ี บาลี : เทสนาวสาเน กุมารโก จ กมุ ารกิ า จ โสตาปนฺนา อเหสุ ฯ แปล : ในกาลเปนท่ีจบแหงเทศนา อ.กุมารดวย อ.กุมารีดวย เปนโสดาบัน ไดเปน แลว ฯ ๑๒. ถาคุณนาม ที่เนื่องดวยกิริยาวามี วาเปน หลายบท ใหเรียงไวหนา กิรยิ านนั้ แตบทเดยี ว นอกนั้นใหเรียงไวหลงั กริ ิยา (วกิ ตกิ ตั ตา) ดงั น้ี บาลี : เตน โข ปน สมเยน เวสาลี สุภิกฺขา โหติ สุสสฺสา สุลภปณ ฑฺ า ฯ แปล : ก็ โดยสมัยน้ันแล อ.เมืองไพศาลี เปนเมืองมีภิกษาดี เปนเมืองมีขาวกลางาม เปนเมืองมีกอ นขา วหาไดโ ดยงา ย ยอมเปน ฯ ๑๓. กิริยาอาขยาตในทองนิทานใช ๒ วิภัตติคือ วัตตมานา ๑ อัชชัตตนี ๑ แตใชอัชชัตตนี มากกวาวัตตมานา ดังนี้ บาลี : เตน สมเยน พทุ ฺโธ ภควา ราชคเห วิหรติ คิชฌฺ กูเฏ ปพพฺ เต ฯ แปล : โดยสมัยนั้น อ.พระผูมีพระภาค พุทธเจา เสด็จประทับอยู ที่เขาคิชฌกูฏ ใกลก รุงราชคฤห ฯ บาลี : อถโข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ ฯ แปล : ลำดบั นั้นแล อ.พระผมู พี ระภาคเจา ตรสั เรยี กแลว ซง่ึ ภกิ ษุ ท. ฯ 150


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook