Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาขยาต-กิตก์

อาขยาต-กิตก์

Description: อาขยาต-กิตก์

Search

Read the Text Version

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 251 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò วเิ คราะหแ หงนามกติ ก ศพั ททุกตัวท่ีจะสำเร็จรปู เปนนามกิตกได ยอ มตองมกี ารต้งั วเิ คราะห คือแยก ใหเห็นรูปเดิมของศัพทน้ันๆ เสียกอน จึงจะสำเร็จรูปเปนสาธนะได ท้ังท่ีเปนนามนาม และคุณนาม เพราะฉะนั้น ปจจัยท้ัง ๓ พวกดังที่กลาวมาแลว ซ่ึงทานจัดไวเปน เคร่ืองหมายรูปและสาธนะน้ัน จึงจำตองมีการตั้งวิเคราะหดวยกันทุกตัว ตามหนาท่ี และอำนาจที่ปจ จยั นน้ั ๆ จะพงึ มีไดอยางไร ซ่ึงจะไดแสดงดงั ตอ ไป น้:ี - ปจ จัยนามกติ กใ นหมวดกิตปจ จยั กฺวิ ปจจยั ปจ จยั ตัวน้ี เมอื่ ลงประกอบกับธาตุแลว โดยมากมักลงทง้ิ เสียไมป รากฏรปู ให เห็น จึงเปน การยากที่จะสังเกตได แตกม็ หี ลักพอท่จี ะกำหนดรไู ดบ า ง คอื :- ๑. ใชล งในธาตุทีม่ บี ทอ่ืนนำหนาเสมอ. ๒. ถา ลงในธาตตุ วั เดยี วคงไว ไมล บธาตุ. ๓. ถา ลงในธาตุสองตัวขนึ้ ไป ลบท่สี ดุ ธาตุ. ๔. เฉพาะ วิทฺ ธาตุ ไมล บที่สดุ ธาตุ แตต อ งลง อู อาคม ๑. ที่วา ใชลงในธาตุท่ีมบี ทอ่ืนนำหนา เสมอ นัน้ หมายความวา ธาตทุ ่ี จะใชลงปจ จยั น้ี ตอ งมีศัพทอื่นเปน บทหนา ของธาตุ คือ เปนนามนามบาง คุณนามบา ง สพั พนามบา ง อุปสัคบา ง นบิ าตบา ง. ก. นามนามเปนบทหนา เชน ภชุ โค สัตวไ ปดว ยขนด (พญานาค) ภชุ บท หนา คมฺ ธาตุ ลง กวฺ ิ และลบทีส่ ดุ ธาตเุ สีย ต้งั ว.ิ วา ภเุ ชน คจฉฺ ตี-ติ ภชุ โค. (สัตวใ ด) ยอมไป ดวยขนด เหตุน้ัน (สัตวนั้น) ชื่อวา ภุชโค (ผูไปดวยขนด) หรือ เชน อุรโค ดงั ท่ที านยก อุ. ไวใ นแบบ. ข. คุณนามเปน บทหนา เชน ตรุ โค สัตวไ ปเร็ว (มา ) ตรุ บทหนา คมฺ ธาตุ ลบ กฺวิ และลบท่สี ุดธาตุเสีย ตั้ง ว.ิ วา ตรุ  คจฺฉตี-ติ ตรุ โค. (สัตวใ ด) ยอมไปเร็ว เหตุ น้นั (สัตวน นั้ ) ชอื่ วา ตรุ โค (ผูไปเรว็ ). 251

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 252 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ค. สัพพนามเปนบทหนา เชน สพฺพาภภิ ู ผูครอบงำซึง่ ธรรมทง้ั ปวง สพพฺ + อภิ บทหนา ภู ธาตุ ลบ กวฺ ิ คงธาตไุ วต ามรปู เดมิ ตงั้ ว.ิ วา สพพฺ  อภภิ วต-ี ติ สพพฺ อภภิ ู แลว เขา สนธเิ ปน สพพฺ าภภิ .ู (พระผมู พี ระภาคเจา ใด) ยอ มทรงครอบงำ ซง่ึ ธรรมทง้ั ปวง เหตุนนั้ (พระผูม พี ระภาคเจา นัน้ ) ชือ่ วา สพฺพาภภิ ู (ผูทรงครอบงำซึ่งธรรมทงั้ ปวง). ง. อปุ สคั เปน บทหนา เชน อภภิ ู (ผเู ปน ยงิ่ ) อภิ บทหนา ภู ธาตุ ลบ กวฺ ิ คง ธาตไุ วต ามรปู เดมิ ตง้ั ว.ิ วา อภิ วสิ ฏิ เ น ภวต-ี ติ อภภิ .ู (พระผมู พี ระภาคเจา ใด) ยอ ม เปน ยงิ่ คอื วา โดยยงิ่ เหตนุ น้ั (พระผมู พี ระภาคเจา นน้ั ) ชอ่ื วา อภภิ ู (ผเู ปน ยงิ่ ) ในที่น้ี อภิ ไขความออก เปน วิสิฏเน ตามลักษณะการตงั้ วิเคราะห จ. นิบาตเปนบทหนา เชน สยมฺภู (ผูเปนเอง) สย (เอง)เปนบทหนา ภู ธาตุ ลบ กวฺ ิ และคงธาตุไวตามรปู เดมิ พงึ ดูวิเคราะหใ นแบบ. ๒. ลงในธาตตุ ัวเดยี วคงไว ไมล บธาตุ หมายความวา ถาธาตทุ ล่ี งปจ จยั นี้ เปนธาตุตัวเดยี ว ใหคงธาตุตวั นนั้ ไว ไมลบ เชน อภภิ ู สยมฺภู. ดังท่ีตง้ั วิ. ใหดแู ลว ขา ง ตน . หรือเชนคำวา มารชิ (ผชู นะมาร) มาร บทหนา ชิ ธาตุในความชนะ วิ. วา มาร ชนิ าตี-ติ มารชิ (พระผูมีพระภาคเจาใด) ยอมชนะ ซึ่งมาร เหตุนน้ั (พระผมู พี ระภาคเจา น้นั ) ชอ่ื วา มารชิ (ผชู นะซ่งึ มาร). ๓. ลงในธาตสุ องตัวขน้ึ ไป ตอ งลบที่สุดธาตุ หมายความวา ถา ธาตทุ ่จี ะ ลงปจจัยนี้มีสองตัวข้ึนไป ใหลบเสียตัวหน่ึง และตัวท่ีถูกลบนั้นตองเปนตัวอยูขางหลัง เชน อุรโค, ตุรโค, ภุชโค ดังทีต่ งั้ ว.ิ ใหดแู ลวขา งตน . ๔. เฉพาะ วิทฺ ธาตุ ไมลบท่ีสุดธาตุ แตตองลง อู อาคม เชน สพฺพวิทู (ผรู ซู ึ่งสิง่ ทงั้ ปวง), โลกวทิ ู (ผรู ูซ่งึ โลก) เปนตน สพพฺ วิทู เปน สพพฺ บทหนา วิทฺ ธาตุ ในความรู ต้ัง วิ. วา สพฺพ วิทตี-ติ สพฺพวิทู. (พระผูมีพระภาคเจาใด) ยอมทางรู ซ่งึ ธรรมท้งั ปวง เหตนุ นั้ (พระผูมพี ระภาคเจานั้น) ช่ือวา สพพฺ วทิ ู (ผรู ซู ่งึ ธรรมท้ังปวง). โลกวิทู เปน โลก บทหนา วิทฺ ธาตุ วิ. วา โลก วิทตี-ติ โลกวทิ ู (พระผูมี พระภาคเจาใด) ยอมทรงรู ซ่ึงโลก เหตุนั้น (พระผูมีพระภาคเจาน้ัน) ชื่อวา โลกวิทู (ผูท รงรซู ่งึ โลก). พงึ สังเกตในบทนสี้ ำหรบั วทิ ฺ ธาตุ ในเวลาต้ังวเิ คราะห ทานมกั ใช า ธาตุ มี วิ เปนบทหนาแทน ซ่ึงแปลวา รูแจง เหมือนกัน.ปจจัยนี้เปนกัตตุรูป กัตตุสาธนะ 252

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 253 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò และใชเปนคุณนามอยางเดียวนำไปแจกในวิภัตตินามไดทั้ง ๒ ลิงค เปลี่ยนแปลงไป ตามตวั นามนามนัน้ ๆ. ณี ปจจัย ปจจัยนี้ลงประกอบกับธาตุแลว ลบ ณ เสีย เหลือไวแตสระ อี และมีอำนาจ ใหทฆี ะและพฤทธิ์ตนธาตทุ ี่เปนรสั สะ เพราะเปน ปจ จยั ท่ีเนื่องดว ย ณ เม่อื จะกลา วตาม หลกั เกณฑของปจจยั น้ี กอ็ าจจะยอมกลา วไดด งั นี้ คอื :- ๑. ตน ธาตุเปนรสั สะ มีอำนาจพฤทธ์ิตน ธาตุได. ๒. ตนธาตเุ ปน ทฆี ะ หรอื มตี ัวสะกด หา มมิใหพฤทธ.ิ์ ๓. มอี ำนาจใหแ ปลงตัวธาตุ หรอื พยญั ชนะทีส่ ุดธาตไุ ด. ๔. ถาธาตุมี อา เปนท่ีสดุ ตองแปลงเปน อาย. อนง่ึ ปจ จยั นโี้ ดยมากใชล งในตสั สลี สาธนะ และเปน สมาสรปู ตสั สลี สาธนะไดด ว ย. ๑. พฤทธติ์ นธาตทุ ่ีเปนรัสสะ นั้น คือ ถาธาตุเปนรสั สะ เชน วท,ฺ กร,ฺ จรฺ เปน ตน เม่ือลง ณี ปจ จัยแลว ตองพฤทธ์ติ น ธาตุ เชน พฤทธิ์ อ เปน อา, อิ เปน เอ, อุ เปน อุ หรอื เปน โอ. ก. พฤทธ์ิ อ เปน อา เชน ปุฺการี ปุฺ (บุญ) บทหนา กรฺ ธาตุ ลง ณี ลบ ณ เสียคงไวแต อี แลวพฤทธ์ิ อ เปน อา ตั้ง วิ. วา ปุฺ กโรติ สีเลนา-ติ ปุ ฺการ.ี (ชนใด) ยอ มทำซึง่ บุญ โดยปกติ เหตนุ น้ั (ชนน้นั ) ช่อื ปุฺการี (ผทู ำซงึ่ บญุ โดยปกต)ิ , หรอื ตง้ั เปน สมาสรปู ตสั สลี สาธนะวา ปุ ฺ  กาตุ สลี -มสสฺ า-ติ ปุ ฺ การ.ี การทำซง่ึ บญุ เปน ปกตขิ องชนนนั้ เหตนุ นั้ (ชนนน้ั ) ชอื่ วา ปุ ฺ การ.ี (ผมู กี ารทำซ่งึ บญุ เปน ปกติ). ข. พฤทธิ์ อิ เปน เอ เชน สนธฺ ิจฺเฉที สนธฺ ิ (ท่ีตอ) บทหนา ฉทิ ฺ ธาตุ ลง ณี ลบ ณ เสียคงไวแต อี พฤทธิ์ อิ ท่ี ฉิทฺ เปน เอ ต้ัง วิ. วา สนฺธึ ฉินฺทติ สีเลนา-ติ สนธฺ จิ เฺ ฉท.ี (ชนใด) ยอมตัดซึ่งที่ตอ โดยปกติ เหตุน้ัน (ชนน้ัน) ชื่อวา สนธฺ ิ ฉนิ ทฺ ติ ุ สลี มสฺสา-ติ สนธฺ จิ เฺ ฉที การตดั ซง่ึ ทตี่ อ เปน ปกติ ของชนนนั้ เหตนุ นั้ (ชนน้นั ) ช่อื วา สนฺธิจเฺ ฉที (ผูมกี ารตัดซึง่ ท่ตี อ เปนปกต)ิ ซอน จฺ หลงั สนธฺ ิ เพราะมี ฉ อยูเบ้อื งหลัง ตามลักษณะของสนธิ. 253

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 254 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ค. พฤทธ์ิ อุ เปน อู เชน ธมมฺ รจู ี ธมมฺ (ธรรม) เปน บท หนา รจุ ฺ ธาตุ ลง ณี ลบ ณ คงไวแ ต อี ทฆี ะ อุ ที่ รุ เปน อู ตัง้ ว.ิ วา ธมมฺ  โรเจติ สเี ลนา-ติ ธมมฺ รูจ.ี (ชน ใด) ยอมชอบใจ ซึ่งธรรม โดยปกติ เหตุนน้ั (ชนนนั้ ) ชื่อวา ธมมฺ รูจี (ผูช อบใจซงึ่ ธรรม โดยปกติ), หรือต้ังเปนสมาสรูปตัสสีลสาธนะวา ธมมฺ  โรเจตุ สลี มสสฺ มา-ติ ธมฺมรูจี. ความชอบใจ ซึ่งธรรม เปนปกติ ของชนนั้น เหตุน้ัน (ชนน้ัน) ช่ือวา ธมฺมรูจี (ผูมี ความชอบใจซึง่ ธรรมเปนปกต)ิ . ง. พฤทธิ์ อุ เปน โอ เชน กามโภคี กาม (กาม) เปนบทหนา ภชุ ฺ ธาตุ ลง ณี เสยี คงไวแ ต อี พฤทธิ อุ ที่ ภุ เปน โอ แปลง ชฺ เปน คฺ ตงั้ ว.ิ วา กาม ภุ ชฺ ติ สีเลนา-ติ กามโภคี. (ชนใด) ยอมบริโภค ซ่ึงกาม โดยปกติ เหตุน้ัน (ชนนั้น) ชื่อวา กามโภคี (ผูบริโภคซ่ึงกามโดยปกติ). หรือต้ังเปนสมาสรูปตัสสีลสาธนะวา กาม ภุฺชิตุ สีลมสฺสา-ติ กามโภคี การบริโภค ซึ่งกาม เปนปกติ ของชนน้ัน เหตุนั้น (ชนน้ัน) ชื่อวา กามโภคี (ผูมีการบริโภคซงึ่ กามเปนปกต)ิ . ๒. ตนธาตุเปนทีฆะหรือมีตัวสะกด หามมิใหพฤทธิ์ หมายความวา อักษรตัวหนาธาตุเปนทีฆะ คือเปนสระยาวอยูแลว เชน ภาสฺ, ชีวฺ เปนตน หรือท่ีมี ตัวสะกดซ่ึงเรียกวา พยัญชนะสังโยค. เชน ลกฺข, จินฺต, มนฺต เปนตน เหลานี้ ไมตอ งพฤทธิ์ ก. ตนธาตุเปนทีฆะ เชน สุภาสิตภาสี สุภาสิต (คำอันเปนสุภาษิต) เปน บทหนา ภาสฺ ธาตุ ลง ณี ลบ ณ เสียคงไวแต อี ต้ัง ว.ิ วา สภุ าสติ  ภาสติ สเี ลนา-ติ สภุ าสติ ภาส.ี (ชนใด) ยอ มกลา ว ซงึ่ คำอนั เปน สภุ าษติ โดยปกติ เหตนุ น้ั (ชนน้ัน) ช่ือวา สุภาสติ ภาสี (ผกู ลา วซ่ึงคำอนั เปนสุภาษติ โดยปกต)ิ , หรือตั้งเปน สมาสรปู ตัสสีลสาธนะ วา สุภาสิต ภาสิตุ สีลมสฺสา-ติ สุภาสิตภาสี. การกลาว ซึ่งคำอันเปนสุภาษิต เปน ปกติ ของชนนั้น เหตุน้ัน (ชนน้ัน) ช่ือวา สุภาสิตภาสี (ผูมีการกลาวซึ่งคำอันเปน สุภาษติ เปนปกติ). ข. ตนธาตุมีพยัญชนะสังโยค เชน วาจานุรกฺขี วาจา (วาจา) บทหนา รกฺข ธาตุ ลง ณี ลบ ณ เสียคงไวแต อี ต้ัง. วิ. วา วาจ อนุรกฺขติ สีเลนา-ติ วาจานุรกฺขี. (ชนใด) ยอมตามรักษา ซึ่งวาจาโดยปกติ เหตุน้ัน (ชนนั้น) ช่ือวา วานานุรกฺขี (ผูตามรักษาซ่ึงวาจาโดยปกติ). หรอื ตง้ั เปนสมาสรปู ตัสสีลสาธนะวา วาจํ 254

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 255 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò อนุรกฺขิตุ สลี มสสฺ า-ติ วาจานรุ กฺขี การตามรกั ษา ซึง่ วาจา เปน ปกติ ของชนน้ัน เหตุ นั้น (ชนน้นั ) ชื่อวา วาจานรุ กฺขี (ผมู ีการตามรกั ษาซึง่ วาจาเปนปกต.ิ ) ๓. มอี ำนาจใหแ ปลงตวั ธาตุ หรอื พยญั ชนะทส่ี ดุ ธาตไุ ด หมายความวา เมอื่ ธาตเุ ดมิ เปน เชน ไร ไมค งไวต ามรปู เดมิ แตแ ปลงใหผ ดิ จากรปู แหง ธาตเุ ดมิ ไปเสยี เชน ภยทสฺสี (ผูเ หน็ ซง่ึ ภัยโดยปกต)ิ เดมิ เปน ภย (ภัย) บทหนา ทสิ ฺ ธาตุ แปลง ทสิ ฺ เปน ทสสฺ , ปาณฆาตี (ผฆู า ซงึ่ สตั วโ ดยปกต)ิ เดมิ เปน ปาณ (สตั ว) บทหนา หนฺ ธาตุ แปลง หนฺ เปน ฆาตฺ แตการแปลธาตุเชนนี้แมในอาขยาตก็มีอำนาจแปลงไดเชนเดียวกัน ภยทสฺสี ตง้ั ว.ิ วา ภย ปสฺสติ สเี ลนา-ติ ภยทสสฺ ี. (ชนใด) ยอ มเหน็ ซงึ่ ภยั โดยปกติ เหตนุ น้ั (ชนนนั้ ) ชอื่ วา ภยทสสฺ ี (ผเู หน็ ซง่ึ ภยั โดยปกต)ิ . ปาณฆาตี ตัง้ ว.ิ วา ปาณ หนติ สีเลนา-ติ ปาณฆาตี. (ชนใด) ยอมฆา ซ่ึง สัตว โดยปกติ เหตุนน้ั (ชนนั้น) ชอ่ื วา ปาณฆาตี (ผูฆา ซ่ึงสัตวโ ดยปกต)ิ . ๔. ธาตุมี อา เปน ทส่ี ดุ แปลงเปน อาย หมายความวา ธาตตุ ัวใดทีม่ ีสระ อา อยูหลัง ใหแปลงเปนอาย เสมอไป เชน อทินฺนาทายี เดิมเปน อทินฺน (ของที่ เขาไมใ ห) อา บทหนา ทา ธาตุ แปลง อา ที่ ทา เปน อาย ลง ณี ปจ จัย ลบ ณ เสีย มชฺชปายี เดมิ เปน มชชฺ (น้ำเมา) บทหนา ปา ธาตุ แปลง อา ที่ ปา เปน อาย ลง ณี ปจ จัย ลบ ณ เสีย. ก. อทินนฺ าทายี ตง้ั ว.ิ วา อทนิ ฺน อาทยิ ติ สีเลนา-ติ อทนิ นฺ าทายี (ชนใด) ยอ มถือเอา ซึ่งสิง่ ของทเ่ี ขาไมให โดยปกติ เหตุน้ัน (ชนน้ัน) ชื่อวา อทินฺนาทายี (ผูถอื เอา ซ่ึงส่ิงของท่ีเขาไมใหโดยปกติ), หรือต้ังเปนสมาสรูปตัสสีลสาธนะวา อทินฺน อาทาตุ สีลมสฺสา-ติ อทินฺนาทานี การถือเอา ซึ่งสิ่งของท่ีเขาไมให เปนปกติ ของชนนั้น เหตุน้ัน (ชนน้นั ) ชื่อวา อทินฺนาทายี (ผมู กี ารถือเอาซ่งึ สง่ิ ของท่เี ขาไมใหเปนปกติ). ข. มชชฺ ปายี ต้งั วิ. วา มชฺช ปว ติ สีเลนา-ติ มชชฺ ปายี (ชนใด) ยอ มด่มื ซ่ึง น้ำเมา โดยปกติ เหตุน้ัน (ชนนั้น) ช่ือวา มชฺชปายี (ผูด่ืมซ่ึงน้ำเมาโดยปกติ). หรือ ตัง้ เปน สมาสรูป ตสั สลี สาธนะวา มชชฺ  ปาตุ สีลมสฺสา-ติ มชชฺ ปายี. การดืม่ ซ่งึ น้ำเมา เปนปกติ ของชนน้ัน เหตุน้ัน (ชนนนั้ ) ชอื่ วา มชฺชปายี (ผูม ีการดื่มซง่ึ นำ้ เมาเปน ปกต)ิ . ปจจัยนี้ เม่ือลงสำเร็จรูปแลว เปนคุณนามลวน แจกไดท้ัง ๓ ลิงค คือ เปน ปงุ ลงิ ค แจกตามแบบ อี การันต (เสฏ ี), ถาเปน อิตถีลงิ ค ลง อนิ ี ปจจัย เชน กามโภคี 255

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 256 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) เปน กามโภคินี, ธมฺมจารี เปน ธมฺมจารินี เปนตน, แลวแจกตามแบบ อี การันต อติ ถลี ิงค (นารี), ถาเปน นปุงสกลิงค ตองรัสสะ อี เปน อิ เชน กามโภคี เปน กามโภค,ิ ธมฺมจารี เปน ธมฺมจาริ เปนตน แลวแจกตามแบบ อิ การนั ต นปงุ สกลิงค (อกขฺ )ิ . ปจ จยั นเี้ ปน ไดเ ฉพาะกตั ตรุ ปู กตั ตสุ าธนะอยา งเดยี ว. ณฺวุ ปจจยั ปจ จยั น้ี เมือ่ ลงประกอบกับธาตุแลว มักแปลงรูปเปนอยา งอ่นื คือ แปลงเปน อก บา ง เปน อานนก บาง และมีอำนาจเชน เดียวกับ ณี เพราะเปนปจ จยั ที่เน่อื งดว ย ณ เมอ่ื จะกลาวโดยหวั ขอ กค็ ือ :- ๑. ตอ งแปลง ณฺวุ เปน อก ในธาตทุ ้งั ปวง. ๒. เฉพาะ า ธาตุ ใหแ ปลงเปน อานนก. ๓. ตนธาตเุ ปนรัสสะ ใหพ ฤทธ์ิได. ๔. ตน ธาตเุ ปนทีฆะหรอื มีตัวสะกด หามมิใหพ ฤทธ.์ิ ๕. ธาตมุ ี อา อยเู บอ้ื งหลงั ลง ย ปจจัยหลงั ธาตุ. ๖. ธาตตุ ัวเดยี วถึงเปน ทีฆะกพ็ ฤทธ์ิได. ๗. มีอำนาจใหแปลงตวั ธาตุไดบา ง. ๑. ตอ งแปลง ณวฺ ุ เปน อก ในธาตุทั้งปวง คือ ธาตทุ กุ ตัวทีน่ ำมาลง ณวฺ ุ ปจจัยแลว ณฺวุ ปจจยั จะตองแปลงเปน อก เสมอไปไมคงไวตามเดมิ เชน อนสุ าสโก, ฆาตโก เปน ตน. ๒. เฉพาะ า ธาตุใหแปลงเปน อานนก คือ มีธาตุน้ีตัวเดียวเทาน้ันท่ี แปลงเปน อานนก เชน ชานนโก (ผูร)ู เปน า ธาตุ แลวแปลงเปน ชา ลง ณฺวุ ปจจยั แลว แปลง ณวฺ ุ เปน อานนก ตง้ั วิ. วา ชานาตี-ติ ชานนโก. (ชนใด) ยอ มรู เหตนุ น้ั (ชนน้ัน) ชอื่ วา ผรู .ู เปนกตั ตุรปู กัตตสุ าธนะ. ๓. ตนธาตุเปนรัสสะใหพฤทธิ์ได เชน โภชโก ภุชฺ ธาตุ ลง ณฺวุ ปจ จยั แลว แปลงเปน อก เพราะ ณวฺ ุ ให พฤทธ์ิ อุ ที่ ภุ เปน โอ ตงั้ ว.ิ วา ภุ ชฺ ต-ี ติ โภชโก. (ชนใด) ยอมบริโภค เหตนุ ั้น (ชนน้ัน) ช่อื วา ผบู รโิ ภค. เปนกตั ตุรปู กัตตสุ าธนะ. 256

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 257 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๔. ตนธาตุเปนทีฆะหรือมีตัวสะกด หามมิใหพฤทธิ์ เชน ยาจโก ยาจฺ ธาตุ ลง ณวฺ ุ ปจ จยั แลว แปลงเปน อก ไมต อ งพฤทธิ์ ตง้ั ว.ิ วา ยาจต-ี ติ ยาจโก. (ชนใด) ยอ มขอ เหตนุ ้นั (ชนนัน้ ) ช่ือวา ผขู อ. รกขฺ โก รกฺข ธาตุ ลง ณวฺ ุ ปจ จยั แลว แปลงเปน อก ไมตองพฤทธ์ิ ตงั้ ว.ิ วา รกฺขต-ี ติ รกฺขโก. (ชนใด) ยอ มรักษา เหตุนนั้ (ชนนั้น) ชือ่ วา ผูรกั ษา. ๒ นี้เปน กตั ตรุ ปู กัตตุสาธนะ. ๕. ธาตุมี อา อยูเบื้องหลัง ลง ย ปจจัยหลังธาตุ เชน ปายโก ทายโก เปนตน. ปายโก ปา ธาตุ ลง ณฺวุ แลวแปลงเปน อก ลง ย ปจจัยหลังธาตุ ต้ัง วิ. วา ปวตี-ติ ปายโก (ชนใด) ยอมด่ืม เหตุน้ัน (ชนน้ัน) ชื่อวา ผูด่ืม. เปนกัตตุรูป กัตตุสาธนะ. สวน ทายโก ตง้ั วิ. เหมอื นในแบบ. ๖. ธาตตุ ัวเดียวแมเปน ทฆี ะกพ็ ฤทธไ์ิ ด เชน นายโก เปน นี ธาตุ พฤทธิ์ อี ท่ี นี เปน เอ แลวเอาเปน อาย ดัง วิ. ในแบบนน้ั . ๗. มีอำนาจใหแปลงตัวธาตุได เชน แปลง หนฺ ธาตุ เปน ฆาต เชน ฆาตโก, แปลง หนฺ เปน วธฺ เชน วธโก, ฆาตโก ตง้ั ว.ิ วา หนต-ี ติ ฆาตโก. (ชนใด) ยอมฆา เหตุน้ัน (ชนนั้น) ช่ือวา ผูฆา. วธโก ตั้ง วิ. วา หนตี-ติ วธโก. (ชนใด) ยอมฆา เหตุนนั้ (ชนนน้ั ) ชอื่ วา ผูฆ า . ๒ น้ีเปน กตั ตรุ ูป กัตตุสาธนะ. อน่ึง ปจจัยน้ี ยังมีอำนาจบังคับ ฉัฏฐีวิภัตติ ใหเปน ทุติยาวิภัตติ ได คือ ออกเสยี งคำแปล ใชอ ายตนบิ าตของทตุ ยิ าวภิ ตั ติ เชน อ.ุ วา สพรฺ หมฺ จารนี  อนกุ มปฺ โก ผูเอน็ ดู ซึ่งเพอ่ื นสพรหมจารีท้ังหลาย, ธมฺมสฺส เทสโก ผแู สดงซง่ึ ธรรม เปนตน. นอกจากนี้ ยังใชเปนเหตุกัตตุวาจก ในเวลาตั้งรูปวิเคราะหอีกดวย เชน สมฺปหสโก, สมตุ เฺ ตชโก, การาปโก เปน ตน . สมปฺ หส โฏ เปน ส+ป บทหนา หสฺ ธาตุ ลง ณฺวุ ปจจัย แลวแปลงเปน อก ต้ัง วิ. วา สมฺปหฺเสตี-ติ สมฺปหสโก. (ชนใด) ยอ มยังชน ใหร าเริง เหตุนัน้ (ชนนน้ั ) ช่อื วา ผูยงั ชนใหร า เรงิ . สมุตฺเตชโก เปน ส+อุ บทหนา ติชฺ ธาตุ ตั้ง วิ. วา สมุตฺเตเชตี-ติ สมุตฺเตชโก. (ชนใด) ยอมยังชน ใหอาจหาญ เหตุนั้น (ชนน้ัน) ช่ือวา ผูยังชน ใหอาจหาญ. การาปโก เปน กรฺ ธาตุ ตั้ง วิ. วา การาเปตี-ติ การาปโก. (ชนใด) ยอ มยงั ชน ใหทำ เหตุนนั้ (ชนนนั้ ) ช่ือวา ผูย งั ชนใหท ำ ๓ นเี้ ปนกัตตรุ ปู กัตตสุ าธนะ. 257

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 258 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) การท่ีจะทราบไดวาเปน เหตุกัตตุวาจก ในรูปวิเคราะห ก็ดวยสังเกตคำแปล คอื ตอ งมคี ำวา “ยงั ” ตดิ อยูเ สมอ เม่ือเปนเชน น้ีในรปู วิเคราะหตอ งตงั้ ใหเปน เหตุกตั ตุ วาจก. สำหรับปจจัยน้ี ก็เปนไดเฉพาะกัตตุรูป กัตตุสาธนะ เชนกัน และเมื่อ สำเร็จรูปแลว ใชเปนคุณนามเทาน้ัน แจกไดทั้ง ๓ ลิงค ในปุงลิงคแจกตามแบบ อ การันต (ปุริส). ในอิตถีลงิ ค ลง อิ อาคมทพ่ี ยัญชนะหลังธาตุ (อิกา) แลวแจกตามแบบ อา การันต (กฺา) เชน นายิกา, ทายิกา, สาวิกา, เปนตน. สวนในนปุงสกลิงค แจกตามแบบ อ การนั ต (กลุ ). ตุ ปจ จัย ปจจัยนี้ เม่ือลงประกอบกับธาตุแลว คงไวตามรูปเดิม ไมเปล่ียนแปลง เชน กตตฺ ุ (ผูท ำ), วตตฺ ุ (ผกู ลา ว) เปนตน แตมีอำนาจในการเปลี่ยนแปลงธาตบุ าง เมอื่ รวม กลา วโดยยอแลวกค็ อื :- ๑. ใหล บท่สี ดุ ธาตไุ ด. ๒. พฤทธสิ์ ระตนธาตไุ ดบ าง. ๓. แปลงพยัญชนะทสี่ ุดธาตเุ ปนอยา งอืน่ ได ๔. ลง อิ อาคมหลังธาตุไดบาง. ๕. ธาตุตวั เดยี วท่เี ปน สระยาวคงไว. ๑. ใหลบที่สุดธาตุได คือ ธาตุท่ีมี ๒ ตัว พยัญชนะตัวหลังเม่ือนำมาลง ปจจัยน้ีใหลบเสีย แลวซอน ต เขามาตัวหนึ่ง ซึ่งเปนพยัญชนะในวรรคเดียวกันตาม หลกั สนธิ เชน วตตฺ ,ุ ขตตฺ ุ เปน ตน วตตฺ ุ เปน วทฺ ธาตุ ลง ตุ ปจ จยั แลว คงไว ลบ ทฺ ที่สดุ ธาตุ ซอ น ตฺ เขา ขางหนา ต.ุ ว.ิ วา วทติ-ตี วตฺตา. (ชนใด) ยอมกลา ว เหตุน้นั (ชนนั้น) ชื่อวา ผกู ลาว. ขตฺตุ เปน ขนฺ ธาตุ ลง ตุ แลวคงไว ลบ นฺ ท่ีสดุ ธาตุ ซอ น ตฺ วิ. วา ขนตี-ติ ขตฺตา (ชนใด) ยอมขุด เหตุนั้น (ชนน้ัน) ชื่อวาผูขุด. ๒ น้ีเขากับปฐมา วภิ ตั ตเิ อกวจนะแหง นามเปน วตฺตา ขตตฺ า โดยวิธีนาม (๖๖), เปนกตั ตรุ ูป กตั ตสุ าธนะ. 258

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 259 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๒. พฤทธิ์สระตนธาตุได เชน โสต,ุ เนต.ุ โสตุ เปน สุ ธาตุ ลง ตุ ปจ จัย แลวคงไว พฤทธิ์ อุ ท่ี สุ เปน โอ. วิ. วา สุณาตี-ติ โสตา. (ชนใด) ยอ มฟง เหตุนัน้ (ชนน้ัน) ช่ือวาผูฟง. เนตุ เปน นี ธาตุ ลง ตุ แลวคงไว พฤทธิ์ อี ที่ นี เปน เอ. ว.ิ วา เนต-ี ติ เนตา (ชนใด) ยอ มนำไป เหตนุ นั้ (ชนนน้ั ) ชอ่ื วา ผนู ำไป ๒ นี้ เปนกตั ตุรูป กัตตุสาธนะ. ๓. แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุได คือ ใหแปลงไดเฉพาะพยัญชนะท่ีจะซอน ต ได คือ ตองเปน พยัญชนะในวรรคเดยี วกับ ต เชน หนตุ, ชนตฺ ุ เปน ตน . หนฺตุ เปน หนฺ ธาตุ ลง ตุ ปจจัยแลวคงไว แปลง น หลงั ธาตุเปน ตัวสะกด คือ เปน นฺ ว.ิ วา หนตี -ติ หนฺตา (ชนใด) ยอ มฆา เหตนุ ้ัน (ชนน้นั ) ช่ือวา ผูฆ า . ชนตฺ ุ เปน ชนฺ ธาตุ ลง ตุ แลว คงไว แปลง น หลังธาตเุ ปน ตวั สะกด คอื เปน นฺ ว.ิ วา ชายต-ี ติ ชนตฺ .ุ (สตั วใ ด) ยอ มเกดิ เหตนุ น้ั (สตั วน นั้ ) ชอื่ วา ผเู กดิ . ๒ น้ี เปน กตั ตรุ ปู กตั ตุสาธนะ. ศัพทน ไี้ มแ จก ตามแบบ สตฺถุ (๖๖) แตแ จกตามแบบ ครุ (๕๐) ป. เอก. จงึ คงเปน ชนฺต.ุ ๔. ลง อิ อาคมหลงั ธาตุได เชน สริตุ เปน สรฺ ธาตุ ในความไป, ระลึก ลง ตุ ปจ จยั และลง อิ อาคมหลังธาตุ วิ. วา สรต-ี ติ สรติ า. (ชนใด) ยอมแลน ไป เหตนุ ั้น (ชนน้ัน) ชอื่ วา ผแู ลน ไป. เปนกัตตุรปู กัตตสุ าธนะ. ๕. ธาตุตวั เดยี วท่เี ปนสระยาวคงไว เชน ทาตุ, าตุ เปน ตน ทาตุ เปน ทา ธาตุ ลง ตุ ปจ จยั ว.ิ วา เทตี-ติ ทาตา (ชนใด) ยอ มให เหตนุ ้ัน (ชนนัน้ ) ชอ่ื วา ผใู ห. าตุ เปน า ธาตุ ลง ตุ ปจ จัย วิ. วา ชานาต-ี ติ าตา. (ชนใด) ยอ มรู เหตนุ น้ั (ชนนนั้ ) ชอื่ วา ผรู .ู ทง้ั ๒ น้ี เปน กตั ตรุ ปู กตั ตสุ าธนะ.ปจ จยั น้ี ทา นใหใ ชเปนตัสสีลสาธนะ กไ็ ด เชน โสตุ ถา จะตงั้ ใหเปน ตัสสลี สาธนะ ก็ตอ งตง้ั ว.ิ วา สณุ าติ สีเลนา-ติ โสตา. (ชนใด) ยอมฟง โดยปกติ เหตุน้ัน (ชนน้ัน) ชื่อวา ผูฟงโดยปกติ. ถึงในศัพทอื่นๆ ก็พงึ ตง้ั ว.ิ ตามนัยน้.ี นอกจากน้ี ยงั มีอำนาจทีจ่ ะบงั คับฉัฏฐีวภิ ตั ติ ซ่ึงเขา ในปจ จยั นี้ ใหล งในอรรถ แหง ทตุ ิยาวิภัตติใชอ ายนิบาตวา “ซึง่ ” ได เชน อุ. วา อคฺคสสฺ ทาตา ชนผใู หซง่ึ ส่งิ ที่ เลิศ. ธมมฺ สฺส อฺาตาโร ชน ท.ผูรูท่ัวถึงซึ่งธรรม เปน ตน . 259

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 260 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) อนึ่ง ปจจัยน้ี เมื่อลงในธาตุสำเร็จรูปแลว ใชเปนกัตตุรูป กัตตุสาธนะ อยาง เดียว และใชเปนคุณนาม แจกไดท้ัง ๓ ลิงค ในปุงลิงคแจกตามแบบ สตฺถุ แตใน อิตถีลิงคและนปุงสกลิงคยังไมปรากฏวามีที่ใช โดยมากมักเปนบทคุณของศัพทที่ เปนกลางๆ ไมเจาะจง เชน ชโน ปุคคฺ โล สตตฺ า เปน ตน . รู ปจ จยั . ปจจยั น้ี เม่ือลงประกอบกบั ธาตแุ ลว ตองลงตัว ร ท้งิ เสยี คงไวแต อู แลวนำ อู ทเ่ี หลอื อยนู นั้ มาประกอบกบั ธาตุ เพอื่ เปน เครอ่ื งหมาย และมอี ำนาจหนา ท่ี ๆ จะตอง ทำกับธาตุดังตอ ไปนี้ คือ :- ๑. ถาลงในธาตุตวั เดียว คงธาตุไว. ๒. ถาลงในธาตุสองตัว มกั ลบทีส่ ดุ ธาต.ุ ๓. ลงในธาตสุ องตัว ถา ไมลบ มกั รสั สะ อู เปน อุ. ๑. ลงในธาตตุ วั เดยี ว คงธาตไุ ว คอื ธาตทุ ล่ี งปจ จยั นเี้ ปน ธาตตุ วั เดยี ว ให คงธาตุไวตามเดิม เชน มตฺตฺู เปน มตตฺ (ประมาณ) บทหนา า ธาตุ ลง รู ปจ จัย ลบ ร คง อู ไว แลว นำมาประกอบดว ย า ธาตุ ลบสระ า ท่ี า เสยี นำ อู มาประกอบ เขา ว.ิ วา มตตฺ  ชานาต-ี ติ มตฺตฺู. (ชนใด) ยอมรู ซ่งึ ประมาณ เหตุนน้ั (ชนน้ัน) ชื่อวา ผูรูประมาณ. เปน กตั ตุรปู กัตตสุ าธนะ. ๒. ลงในธาตุสองตัว มักลบที่สุดธาตุ คือ ถาธาตุสองตัวเม่ือลงปจจัยน้ี แลว ลบตวั ท่อี ยหู ลงั เสียตัวหน่ึง เชน อุ. วา อนตฺ คู เปน อนตฺ (ทส่ี ดุ ) บทหนา คมฺ ธาตุ ลง รู ปจจยั ลบ มฺ ทีส่ ุดธาตเุ สยี ว.ิ วา อนฺต คจฺฉตี-ติ อนตฺ ค.ู (ชนใด) ยอมถึง ซง่ึ ท่ีสดุ เหตนุ ้นั (ชนน้นั ) ชือ่ วา ผูถึงท่สี ดุ . เปน กัตตรุ ูป กตั ตุสาธนะ. ๓. ลงในธาตสุ องตัว ถา ไมล บที่สุดธาตุ ใหรสั สะ อู ที่ รู เปน อ.ุ แลว ลบ ร เสีย เชน อ.ุ ภิกฺขุ ดงั ท่ีทานยกไวในแบบน้ัน. อนึ่ง ปจจัยตัวนี้ ยังใชลงในอรรถแหงตัสสีลสาธนะไดอีก เชน กตฺู ตั้ง ว.ิ เปน ตสั สลี สาธนะวา กต ชานาติ สเี ลนา-ติ กตฺ ู (ชนใด) ยอ มรู ซ่ึงอปุ การะ 260

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 261 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ท่ีชนอื่นทำแลว โดยปกติ เหตุนั้น (ชนน้ัน) ช่ือวา ผูรู ซ่ึงอุปการท่ีชนอ่ืนทำแลวโดย ปกต.ิ แมในศัพทอ นื่ ก็พึงเทียบเคยี งโดยนัยน้ี. ปจจัยนี้ เมื่อลงในธาตุสำเร็จรูปแลว เปนกัตตุรูป กัตตุสาธนะและเปนคุณนาม แจกไดท้ัง ๓ ลิงค แตใชเปนปุงลิงคโดยมาก ลิงคอ่ืนไมคอยมีใช ในปุงลิงค แจกตาม แบบ อู การนั ต (วิฺ )ู , อติ ถลี ิงค แจกตามแบบ อู การนั ต (วธู), ถาตอ งการใหเปน นปงุ สกลิงค ตอ งรัสสะ อู เปน อ.ุ แลว แจกตามแบบ อุ การนั ต (วตถฺ )ุ 261

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 262 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ปจจัยนามกิตกใ นหมวดกิจจปจ จยั ข ปจจัย ปจจัยน้ี เม่ือลงประกอบกับธาตุแลว มักลบทิ้งเสีย และไมมีอำนาจอะไรท่ีจะ แปลงตัวธาตุได หลักที่จะพึงสังเกตในปจจัยนี้ ก็คือ ตองมีบทหนา และบทหนาน้ันก็ จำกัดเฉพาะ ๓ ตวั นี้ คือ ทุ (ชัว่ , ยาก) ๑, ส,ุ (ดี, งาม, งา ย) ๑ และ อีส (หนอยหน่งึ ) ๑ เทา น้นั นอกนี้หาใชไดไ ม พงึ เห็นอุทาหรณด งั ตอไปนี้:- ทุ เปน บทหนา อุ. ทุททฺ ส เปน ทุ บทหนา ทิสฺ ธาตใุ นความเหน็ ข ปจจัย ลบเสยี และ ลบ อิ ที่ ทิ เสยี ดว ย ซอน ทฺ ว.ิ วา ทุกฺเขน ปสฺสยิ เต-ติ ททุ ทฺ ส. (จิตใด) (เตน อันเขา) ยอมเห็นได โดยยาก. เหตุนั้น (จิตนั้น) ช่ือวา อันเขาเห็นไดโดยยาก. น้เี ปนกัมมรปู กัมมสาธนะ. ทุชฺชีว เปน ทุ บทหนา ชีวฺ ธาตุ ในความเปนอยู ซอน ชฺ วิ. วา ทุกฺเขน ชวี ยเต-ติ ทชุ ฺชีว. (เตน อนั เขา) ยอมเปน อยูไ ดโ ดยยาก เหตนุ ้ัน ชอ่ื วา ความเปนอยู โดยยาก. นีเ้ ปนภาวรูป ภาวสาธนะ. สุ เปน บทหนา อ.ุ สลุ ภา เปน สุ บทหนา ลภฺ ธาตุ ว.ิ วา สเุ ขน ลพภฺ ต-ี ติ สุลภา. (ภกิ ษาใด) (เตน อันเขา) ยอมไดโดยงา ย เหตุนน้ั (ภิกษนุ นั้ ) ช่อื วา อันเขาได โดยงาย. นี้เปน กัมมรูป กัมมสาธนะ. สชุ วี  เปน สุ บทหนา ชวี ฺ ธาตุ ข ปจ จยั ลบเสยี ว.ิ วา สเุ ขน ชวี ยเต-ติ สชุ วี . (เตน อันเขา) ยอ มเปน อยูไดโ ดยงา ย เหตุนนั้ ชือ่ วา ความเปน อยไู ดโ ดยงาย. การตั้งวิเคราะหสำหรับศพั ทท ลี่ ง ข ปจจยั ซึง่ มี ท,ุ สุ เปนบทหนา ทุ ทานใช คำวา ทุกเฺ ขน แทน สวน สุ กใ็ ชคำวา สเุ ขน แทนและวางไวห นากิริยาเสมอ. อนึ่ง พงึ สงั เกตศัพททม่ี ี ทุ, สุ เปนบทหนามิใชจ ะลง ข ปจจยั ทง้ั หมด เพราะบทหนาทง้ั ๒ นี้ อาจจะนำไปประกอบกบั ศพั ทอ น่ื มใิ ช ข ปจ จยั กไ็ ด เชน สขุ  ทกุ ขฺ  สคุ ติ ทคุ คฺ ติ เปน ตน เหลานี้ หาใช ข ปจจัยไม สวนศัพทท่ีลง ข ปจจัยน้ัน ตองสังเกตที่ตัวธาตุ คือ ที่สุด ธาตไุ มถกู ลบ คงไวตามรูปเดมิ เชน สุวโจ เปน สุ บทหนา วจฺ ธาต,ุ ทกุ กฺ ร เปน ทุ บท หนา กรฺ ธาต,ุ ททุ ทฺ โม เปน ทุ บทหนา ทมฺ ธาตุ เปนตน. 262

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 263 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò อีส เปน บทหนา เชน อสี กฺกรํ เปน อีส บทหนา กรฺ ธาตุ ลง ข ปจ จัย ลบ นคิ คหิต เสีย ซอน กฺ วิ. วา อสี  กรยิ ต-ี ติ อสี กฺกร.ํ (กรรมใด) (เตน อันเขา) ยอ มทำ หนอยหน่งึ เหตนุ น้ั (กรรมน้นั ) ช่อื วา อันเขาทำหนอยหนงึ่ . เปน กมั มรปู กมั มสาธนะ. สำหรับ อสี  น้ี ทานกลาววา เปนอปั ปต ถวาจกนบิ าต คอื เปน นบิ าตทก่ี ลาว ถึงอรรถวา นอ ย และไมคอยปรากฏวา มใี ชในปกรณต าง ๆ มากนกั . ธาตุที่ลงปจจัยนี้ เม่ือสำเร็จรูปแลวเปน กัมมรูป กัมมสาธนะ ๑ ภาวรูป ภาวสาธนะ ๑ และใชเ ปน นามนามก็ได คุณนามก็ได ถาเปน ภาวสาธนะ ใชเปนนามนาม ถาเปนกัมมสาธนะ ใชเปนคุณนาม แจกไดทั้ง ๓ ลิงค คือ ถาเปนปุงลิงค แจกตามแบบ อ การนั ต (ปรุ สิ ) ถา เปน อติ ถลี งิ ค แจกตามแบบ อา การนั ต (กฺ า) ถา เปน นปงุ สกลงิ ค แจกตามแบบ อ การนั ต (กลุ ) ทใ่ี ชเ ปน นามนาม มกั ใชเ ปน นปงุ สกลงิ ค. ณฺย ปจจัย ปจจยั น้ี เปนปจจยั ทเี่ นือ่ งดวย ณ จึงมอี ำนาจเหมอื น ณี ปจจยั ดงั กลา วแลว และยังมีพิเศษออกไปอีกบาง เม่ือลงประกอบกับธาตุแลว ลบ ณ เสีย คงไวแต ย รวมกลา วไดเ ปนหวั ขอ ดงั ตอไปน้ี:- ๑. ลบ ณฺ แลว แปลง ย กบั พยญั ชนะทีส่ ดุ ธาตเุ ปน อยา งอน่ื . ๒. ลบ ณฺ แลว คง ย ไวบ าง. ๓. เมื่อลบ ณฺ คง ย ไวแลว แปลงที่สดุ ธาตเุ ปน อยา งอื่น. ๔. ธาตุ มี อา เปน ท่สี ุด แปลง ณฺย เปน เอยยฺ . ๕. ธาตมุ ี หฺ เปน ท่ีสดุ ลบ ณฺ แลวแปร ย ไวหนา ห ไวหลัง. ๖. เฉพาะ ภู ธาตุ เมื่อลง ณฺย ปจจัยแลว ใหแปลง อู กับ ณฺย เปน อพพฺ . ๑. ลบ ณฺ แลวแปลง ย กับพยัญชนะท่ีสุดธาตุเปนอยางอ่ืน. นี้ก็ถือ หลักอยางเดียวกับ ณย ปจจัย ในอาขยาตโดยมาก การแปลงน้ัน แปลงเหมือนกับ พยญั ชนะที่สดุ ธาตกุ ็มี ตา งกนั กม็ ี. ก. ท่ีเหมือนกนั เชน คมฺโม เปน คมฺ ธาตุ ในความถึงลง ณฺย ปจ จัย ลบ ณฺ เสีย แปลง ย กบั ที่สดุ ธาตุเปน มฺม ว.ิ วา คมิตพฺโพ-ติ คมโฺ ม. (ธรรมใด) (เตน อนั เขา) พงึ ถึง เหตนุ ั้น (ธรรมน้นั ) ช่ือวา อันเขาพึงถงึ . เปนกัมมรปู กมั มสาธนะ หรอื จะใหเ ปน 263

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 264 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ภาวรูป ภาวสาธนะ ก็เปน คมฺม คมฺ ธาตุ เปนไปในความไป วิ. วา คนฺตพฺพนฺ-ติ คมฺม. (เตน อันเขา) พึงไป เหตุนั้น ชื่อวา ความไป. หรือตั้ง วิ. เปนรูปอาขยาตวา คจฉฺ ยิ เต-ติ คมฺม (เตน อันเขา) ยอ มไป เหตุนนั้ ชอ่ื วา ความไป. หรือ เชน ปพฺพชฺชา เปน ป บทหนา วชฺ ธาตุ ในความไป ลง ณฺย ลบ ณฺ แลวแปลง ย กับท่ีสุดธาตุเปน ชฺช แปลง ว หนา ช เปน พ ตามวิธีสนธิ วิ. วา ปพฺพชิตพฺพนฺ-ติ ปพฺพชฺชา. (เตน อันเขา) พึงบวช เหตุน้ัน ชื่อวา การบวช. เปน ภาวรูป ภาวสาธนะ หรอื เชน ทมฺโม ในแบบน้นั . ข. ท่ตี างกัน เชน วิชชฺ า เปน วิทฺ ธาตุ ในความรู ลง ณยฺ ปจจัย ลบ ณฺ เสยี แปลง ย กบั ทฺ ทสี่ ดุ ธาตเุ ปน ชชฺ ว.ิ วา วิ ฺ าตพพฺ า-ติ วชิ ชฺ า. (ธรรมชาตใิ ด) (เตน อันเขา) พึงรู เหตุน้ัน (ธรรมชาตนิ น้ั ) ชอ่ื วา อันเขาพึงร.ู วชฺฌ เปน วธฺ ธาตุ ในความฆา ลง ณฺย ปจ จยั ลบ ณฺ เสยี แปลง ย กับ ธฺ ทส่ี ุดธาตุเปน ชฺฌ ว.ิ วา วธิตพฺพน-ฺ ติ วชฺฌ. (กเิ ลสชาตใด) (มคเฺ คน อันมรรค) พงึ ฆา เหตุน้ัน (กิเลสชาตนั้น) ชื่อวา อันมรรคพึงฆา. ท้ัง ๒ นี้เปนกัมมรูป กัมมสาธนะ. ถา จะใหเ ปนภาวรปู ภาวสาธนะ. วชิ ชฺ า ว.ิ วา วิชานนํ วชิ ชฺ า. ความรู ชือ่ วา วชิ ชา. วชฌฺ  ว.ิ วา วธติ พพฺ น-ฺ ติ วชฌฺ .ํ (เตน อนั เขา) พงึ ฆา เหตนุ น้ั ชอ่ื วา ความฆา . ๒. ลบ ณฺ แลวคง ย ไว คือ เมื่อลบ ณฺ แลว ใหคง ย ไวไมแปลง เปนอยางอ่ืน แตมีวิธีอีกอยางหนึ่ง คือ ใหลง อิ อาคมที่หลังธาตุบาง แปลงท่ีสุดบาง ซอ นพยัญชนะบาง. ก. ลง อิ อาคม เชน การยิ  เปน กรฺ ธาตุ ลง ณยฺ ปจ จัยลบ ณฺ เสีย คง ย ไว ทฆี ะ อ ท่ี ก เปน อา ลง อิ อา ลง อิ อาคม วิ. เหมือนในแบบ หรือเชน จรยิ า เปน จรฺ ธาตุ ลง ณฺย ปจจยั ลบ ณฺ คง ย ไว ลง อิ อาคม ที่ ร ไมท ฆี ะตน ธาตุ ว.ิ วา จรณ จริยา ความประพฤติ ช่อื วา จรยิ า. เปนภาวรูป ภาวสาธนะ. ข. แปลงที่สุดธาตุ เชน อิจฺฉา เปน อีส ธาตุ ในความปรารถนา ลง ณฺย ปจจัย ลบ ณฺ คง ย ไว แปลกับ สฺ ท่ีสุดธาตุเปน จฺฉ วิ. วา อิจฺฉิตพฺพนฺ-ติ อิจฺฉา. (เตน อนั เขา) พงึ ปรารถนา เหตุน้นั ชือ่ วา ความปรารถนา. เปน ภาวรูป ภาวสาธนะ และพึง ดตู วั อยา ง ในขอ ๑ ดว ย. ค. ซอ นพยัญชนะบาง เชน เวเนยโฺ ย เปน วิ บทหนา นี ธาตุ ลง ณยฺ ปจ จยั ลบ ณฺ เสยี พฤทธ์ิ อิ ท่ี วิ และ อี ที่ นี เปน เอ ซอน ยฺ ว.ิ วา วิเนตพฺโพ-ติ เวเนยฺโย. 264

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 265 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò (ชนใด) (เตน อันเขา) พึงแนะนำได เหตุน้ัน (ชนน้ัน) ชื่อวา อันเขาพึงแนะนำได. เปนกัมมรูป กมั มสาธนะ. ๓. ลบ ณฺ คง ย ไว แปลงที่สุดธาตุเปนอยา งอืน่ เชน อตวิ ากฺย เปน อติ บทหนา วจฺ ธาตุ ลง ณฺย ลบ ณฺ เสยี คง ย ไวแปลง จฺ ท่สี ุดธาตุ เปน กฺ ทฆี ะตน ธาตุ วิ. วา อติ วตฺตพฺพนฺ-ติ อติวากฺย. (คำใด) (เตน อันเขา) พึงกลาวลวงเกิน เหตุนั้น (คำน้ัน) ชอ่ื วา อนั เขาพึงกลาวลวงเกนิ . เปน กัมมรูป กัมมสาธนะ. ๔. ธาตุมี อา เปน ท่ีสดุ แปลง ณฺย เปน เอยฺย เชน เทยยฺ . เปน ทา ธาตุ ลง ณยฺ ปจ จัย แลว แปลงเปน เอยยฺ วิ. วา ทาตพพฺ น-ฺ ติ เทยยฺ . (วตั ถุใด) (เตน อนั เขา) พงึ ให เหตนุ น้ั (วตั ถนุ นั้ ) ชอื่ วา อนั เขาพงึ ให. เปน กมั มรปู กมั มสาธนะ. วิ เฺ ยฺย เปน วิ บทหนา า ธาตุ ณฺย ปจ จยั แลวแปลงเปน เอยฺย ว.ิ วา วิฺาตพฺพนฺ-ติ วิเฺ ยฺย. (อารมณใ ด) (เตน อันเขา) พงึ รูแจง เหตุน้นั อารมณน ้ัน) ชอ่ื วา อันเขาพึงรูแจง . เปนกัมมรูป กัมมสาธนะ. ๕. ธาตุมี หฺ เปน ทสี่ ุด ลบ ณฺ แลว แปร ย ไวห นา หฺ ไวห ลังเชน ปสยฺโห เปน ป บทหนา สหฺ ธาตุ ในความครอบงำ ลง ณฺย ปจ จัย ลบ ณฺ เสยี แลว แปร ย ทคี่ ง อยไู วห นา นำ หฺ ทสี่ ดุ ธาตไุ วห ลงั ว.ิ วา ปสหติ พโฺ พ-ติ ปสยโฺ ห. (ชนใด) (เตน อนั เขา) พงึ ขม เหตนุ น้ั (ชนนน้ั ) ชอื่ วา อนั เขาพงึ ขม . เปน กมั มรปู กมั มสาธนะ แม คารยหฺ  ใน แบบก็เชนกัน. ๖. เฉพาะ ภู ธาตุ เมื่อลง ณฺย ปจจัย ใหแปลง อู กับ ณฺย เปน อพฺพ เชน ภพพฺ  เปน ภู ธาตุ ลง ณยฺ แลว แปลง ณยฺ กับ อู เปน อพพฺ วิ. วา ภูยเต-ติ ภพพฺ . (เตน อนั เขา) ยอ มม-ี เปน เหตนุ นั้ ชอื่ วา ความม-ี เปน . เปน ภาวรปู ภาวสาธนะ. อีกนยั หนง่ึ แปลวา ‘เกดิ ’ กไ็ ด นี้เปน ไดแต ภาวรูป ภาวสาธนะ เทา นั้นเพราะเปน อกัมมธาต.ุ ธาตุที่ประกอบดวยปจจัยน้ี เม่ือสำเร็จรูปแลว เปนไดท้ังนามนามและ คุณนาม และเปนได ๒ สาธนะ คอื กัมมรูป กัมมสาธนะ และภาวรปู ภาวสาธนะ ที่เปนกัมมรูป กัมมสาธนะ ใชเปนคุณนาม ภาวรูป ภาวสาธนะ ใชเปน นามนาม, ทเี่ ปน คณุ นาม เปน ไดท งั้ ๓ ลงิ ค ปงุ ลงิ ค แจกตามแบบ อ การนั ต (ปรุ สิ ), อติ ถลี งิ ค แจกตามแบบ อา การนั ต (กฺ า), นปงุ ลงิ คแ จกตามแบบ อ การนั ต (กลุ ). อนงึ่ ปจจัยตวั นี้ เม่อื ประกอบกบั ธาตุสำเรจ็ รปู แลว ใชเปน กิรยิ าหมายพากย เหมอื นกิริยากติ กก ไ็ ด. 265

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 266 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ปจจยั นามกติ ก ในหมวดกติ กจิ จปจ จยั อ ปจจยั ปจ จยั น้ี เมอ่ื ลงประกอบกับธาตุ ยอมลบเสีย เพราะไมม ตี วั อ ปรากฏ แตที่ ปรากฏไดก็คือเสียงสระ ะ ที่ติดอยูทายธาตุ และปจจัยน้ี มีหลักพึงสังเกตดังตอไปน้ี คือ :- ๑. ถา มศี พั ทหนาเปนกมั ม ใหลง นุ อาคม. ๒. บางศัพทมีกัมมเปนบทหนา แตไมลง นุ อาคม เชนนี้ตองซอน พยัญชนะลงตนธาต.ุ ๓. ถาไมม กี มั มเปนบทหนา ลง นุ อาคมไมได. ๔. เฉพาะ ททฺ ธาตุ ซงึ่ มี ปรุ เปน บทหนา ใหแ ปลง อ แหง ปรุ เปน อ.ึ ๑. ถามีศัพทหนาเปนกัมม ใหลง นุ อาคม หมายความวา ตัวท่ีนำหนา ธาตเุ ปน ตวั กมั ม คือ เปนทุตยิ าวิภตั ติ ใหล ง นุ อาคม อ.ุ ทีปงกฺ โร เปน ทปี บทหนา กรฺ ธาตุ ลง นุ อาคมท่ีศพั ทอนั เปน ท่สี ุดแหง บทหนา แปล นุ นน้ั เปน นิคคหิต แลว จึง แปลงนคิ คหิตนน้ั เปน งฺ เพราะมี ก อยูหลัง วิ. วา ทปี  กโรตี-ติ ทปี งกฺ โร. (ชนใด) ยอ ม ทำ ซง่ึ ทพี่ งึ่ เหตนุ น้ั (ชนนนั้ ) ชอื่ วา ผนู ำซงึ่ ทพี่ งึ่ เปน กตั ตรุ ปู กตั ตุสาธนะ. เวสสฺ นฺตโร เปน เวสสฺ บทหนา ตฺร ธาตุ ลง นุ อาคมที่ ส อันเปน ท่สี ุดของ ศพั ทหนา แปลง นุ เปนนิคคหติ แลวจงึ แปลงนิคคหติ นน้ั เปน นฺ เพราะมี ต อยหู ลงั ว.ิ วา เวสฺส ตรตี-ติ เวสฺสนฺตโร. (ชนใด) ยอมขาม ซ่ึงตรอก เหตุน้ัน (ชนนั้น) ช่ือวา ผขู า มซึง่ ตรอก. เปนกัตตรุ ปู กัตตสุ าธนะ. นุ อาคม มีวธิ แี ปลดังนี้ คือ :- ถา พยัญชนะตนธาตเุ ปน ก วรรค คือ ก ข ค ฆ ง ใหแ ปลงเปน งฺ ถา พยญั ชนะตนธาตเุ ปน ค วรรค คอื จ ฉ ช ฌ  ใหแ ปลงเปน ฺ ถา พยญั ชนะตน ธาตุเปน ฏ วรรค คอื ฏ  ฑ ฒ ณ ใหแ ปลงเปน ณฺ ถาพยญั ชนะตนธาตเุ ปน ต วรรค คอื ต ถ ท ธ น ใหแปลงเปน นฺ ถา พยัญชนะตนธาตเุ ปน ป วรรค คอื ป ผ พ ภ ม ใหแปลงเปน มฺ 266

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 267 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๒. ศัพทท่ีมีกัมมเปนบทหนา แตไมลง นุ อาคม ตองซอนพยัญชนะลง ตนธาตุ คือ ตอ งซอ นตัวสะกดเขา มาขา งหนา ธาตตุ ามวรรคของพยัญชนะตองธาตุ เชน อุ. หิตกฺกโร เปน หิต บทหนา กรฺ ธาตุ ไมลง นุ อาคม แตซอ น กฺ หนา กรฺ ธาตุ ดู ว.ิ ในแบบ ตกกฺ โร เปน ต บทหนา กรฺ ธาตุ ไมล ง นุ อาคม แตซ อน กฺ หนา กรฺ ธาตุ วิ. วา ต กรต-ี ติ ตกฺกโร. (ชนใด) ยอมทำ (ซ่ึงกรรม) น้ัน เหตุนัน้ (ชนนั้น) ชื่อวา ผทู ำซง่ึ กรรมนั้น เปน กตั ตุรปู กตั ตุ-สาธนะ. ๓. ถาไมมีกัมมเปนบทหนา ลง นุ อาคมไมได หมายความวา ถึงมีบท หนา แตม ใิ ชก มั มกด็ ี ไมม บี ทหนา กด็ ี มอี ปุ สคั เปน บทหนา กด็ ี ลง นุ อาคมไมไ ด. ก. มีบทหนาแตมิใชกัมม เชน อนฺตลิกฺขจโร เปน อนิตลิกฺข (กลางหาว) บทหนา จรฺ ธาตุ อ ปจจยั วิ. วา อนตฺ ลิกฺเข จรต-ี ติ อนฺตลิกฺขจโร. (นกใด) ยอมเท่ยี ว ไป ในกลางหาว เหตุนั้น (นกน้ัน) ชื่อวา ผูเท่ียวไปในกลางหาว. เปน กัตตุรูป กัตตุสาธนะ. ข. ไมมีกัมม เชน นโย เปน นี ธาตุ อ ปจจัย พฤทธิ์ อี ท่ี นี เปน เอ แลว เอาเปน อย ว.ิ วา นยน นโย. การนำไป ชอื่ วา นยั , หรือ ชโย เปน ชิ ธาตุ อ ปจจยั พฤทธิ์ อิ ท่ี ซิ เปน เอ แลว เอาเปน อย วิ. วา ชยน ชโย. ความชนะ ช่อื วา ชัย. ๒ นี้ เปนภาวรูป ภาวสาธนะ. หรอื เชน สิกขฺ า ที่ทาน ยก อุ. ไวในแบบนนั้ . ค. มอี ุปสัคนำหนา เชน สนนฺ ิจโย เปน ส+ นิ บทหนา จิ ธาตุในความสั่งสม พฤทธ์ิ อิ ที่ จิ เปน เอ แลวเอาเปน อย วิ. วา สนฺนิจยน สนนฺ จิ โย. การสงั่ สม ชอ่ื วา สนั นิจยะ. หรือเชน ปฏสิ มฺภทิ า ในแบบ. ๔. เฉพาะ ททฺ ธาตซุ ่ึงมี ปรุ เปน บทหนา ใหแ ปลง อ แหง ปุร เปน อึ เชน อุ. วา ปุรินฺทโท เปน ปุร (ในกอน) บทหนา ททฺ ธาตุ ลง อ ปจจัย แปลง อ แหง ปุร เปน อึ เพราะมี ท อยูเบื้องหลัง จึงแปลงนิคคหิตเปน นฺ วิ. วา ปุเร (ทาน) ททาตี-ติ ปุรินฺทโท. (ทาวสักกะใด) ยอมให (ซ่ึงทาน) ในกาลกอน เหตุนั้น (ทา วสักกะน้นั ) ชื่อวา ผูใหทานในกาลกอ น. ศัพทที่ประกอบดวยปจจัยนี้ เมื่อสำเร็จรูปแลว เปนนามนามบาง คุณนาม บาง และเปนไดทุกรูปทุกสาธนะ ที่เปนคุณนาม แจกไดทั้ง ๓ ลิงค ปุงลิงค แจกตาม แบบ อ การันต (ปุริส), อิตถีลิงคแจกตามแบบ อา การันต (กฺา), นปุงสกลิงค แจกตามแบบ อ การนั ต (กุล). 267

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 268 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) อิ ปจจยั ปจจัยน้ี เมื่อประกอบกับธาตุแลว ยอมคง อิ ไวไมลบและไมมีวิธี เปล่ียนแปลงธาตุอยางไร ทั้งไมมีการนิยมบทหนาดวยจึงไมมีหลักอะไรที่จะพึง อธิบายมาก ในมูลกัจจายนทานกลาววาลงไดเฉพาะธาตุ ๒ ตัว คือ ทา และ ธา ธาตุ เทาน้ัน แตไมแนนัก เพราะในธาตุอื่นก็มีอีกมาก เชน นนฺทิ, มุนิ, รุจิ. นนฺทิ เปน นนทฺ ธาตุ ลง อิ ปจ จยั ว.ิ วา นนทฺ น นนฺท.ิ ความเพลดิ เพลินชอื่ วา นนฺท.ิ มนุ ิ เปน มุนฺ ธาตุ ลง อิ ปจจัย วิ. วา มุนาตี-ติ มุนิ. (ชนใด) ยอมรู เหตุน้ัน (ชนน้ัน) ชอ่ื วา ผรู .ู รจุ ิ เปน รจุ ฺ ธาตใุ นความรงุ เรอื ง-ชอบใจ ลง อิ ปจ จยั ว.ิ วา โรเจต-ี ติ รจุ .ิ (ชนใด) ยอ มรุง เรือง เหตนุ ัน้ (ชนน้ัน) ชื่อวา ผรู งุ เรอื ง. โรจน รจุ .ิ ความชอบใจ ชือ่ วา รจุ ิ. เชน นี้เปน ตน. ศัพทท่ีประกอบดวยปจจัยนี้ เม่ือสำเร็จรูปแลว เปนไดท้ังนามนาม และ คุณนาม และทุกรูป ทุกสาธนะแลวแตจะเหมาะ ที่เปนคุณนาม แจกไดท้ัง ๓ ลิงค ปุงลิงค แจกตามแบบ อิ การันต (มุนิ), อิตถีลิงค แจกตามแบบ อิ การันต (รตฺติ), นปุงลงิ ค แจกตามแบบ อิ การนั ต (อกฺข)ิ . ณ ปจ จัย ปจจัยนี้ เปน ณ ปจจัยแท มีอำนาจทีฆะและพฤทธ์ิเชนเดียวกับปจจัยท่ี เนื่องดวย ณ เชน ณี ณวุ ณฺย ดังที่ไดอธิบายมาแลว และปจจัยนี้ เม่ือลงประกอบท่ี ธาตุแลว ยอ มลบเสยี มอี ำนาจและหนา ทที่ ีจ่ ะทำดังตอไปน้ี คอื :- ๑. ตน ธาตุเปนรสั สะ ตอ งพฤทธิ์. ๒. ตน ธาตเุ ปนทฆี ะหรือเปนพยัญชนะสังโยค ไมต อ งพฤทธิ์. ๓. แปลงทส่ี ุดธาตุเปนอยางอนื่ ไดบ า ง ๔. ธาตุมี อา เปนทีส่ ดุ ลง ย ปจจยั . ๕. แปลงตวั ธาตุเปนอยางอน่ื . ๑. ตนธาตุเปนรัสสะ ตองพฤทธิ์. เชน อุ.คาโห เปน คหฺ ธาตุ ลง ณ ปจ จัยแลวลบเสีย ทีฆะตนธาตุ วิ. วา คณหฺ าตี-ติ คาโห. (ชนใด) ยอ มถอื เอา เหตนุ นั้ 268

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 269 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò (ชนน้ัน) ชื่อวา ผูถือเอา นี้เปนกัตตุรูป กัตตุสาธนะ. คหณ คาโห. การถือเอา ชื่อวา คาหะ น้ีเปนภาวรปู ภาวสาธนะ. ปรวิ าโร เปน ปริ บทหนา วรฺ ธาตุ ในความกัน้ -ปด ถือเอาความวา “แวดลอม.” วิ. วา ปริวาเรตี-ติ ปรวิ าโร. (ชนใด) ยอ มแวดลอม เหตุนัน้ (ชนนนั้ ) ช่ือวา ผูแวดลอ ม. เปนกัตตุรปู กตั ตุสาธนะ. มาตุคาโม มาตุ (มารดา) เปนบทหนา คมฺ ธาตุ ในความถึง ว.ิ วา มาตุยา (สมฺภาว) คจฺฉตี-ติ มาตุคาโม. (ชนใด) ยอมถึง (ซ่ึงความเปนผูเสมอ) ดวยมารดา เหตุนน้ั (ชนน้นั ) ชือ่ วา มาตคุ าม (ผหู ญิง). ๒. ตนธาตุเปนทีฆะหรือเปนพยัญชนะสังโยค ไมตองพฤทธ์ิ เชน ที่ เปนทีฆะ อุ. วา อาพาโธ เปน อา บทหนา พาธฺ ธาตุ ลง ณ ปจจัยแลวลบเสีย ไมพฤทธ์ิ วิ. วา อาพาธตี-ติ อาพาโธ. (สภาพใด) ยอมเบียดเบียนย่ิง เหตุน้ัน (สภาพน้นั ) ช่อื วา ผูเบยี ดเบียนยิง่ . เปน กัตตรปู กตั ตสุ าธนะ. ที่เปน พยัญชนะสังโยค. เชน อ.ุ ธมมฺ ตกโฺ ก เปน ธมมฺ บทหนา ตกกฺ ธาตุ ลง ณ ปจ จัยแลวลบเสีย ไมพฤทธิ์ ว.ิ วา ธมฺม ตกเฺ กตี-ติ ธมมฺ ตกฺโก. (ชนใด) ยอมตรกึ ซึง่ ธรรม เหตนุ นั้ (ชนน้นั ) ช่ือวา ผูตรกึ ซงึ่ ธรรม. เปน กตั ตรุ ปู กัตตสุ าธนะ. ๓. แปลงท่สี ดุ ธาตุเปน อยา งอน่ื ไดบ า ง เชน อ.ุ จาโค เปน จชฺ ธาตุ ลง ณ ปจจยั แลว ลบเสีย แปลง ชฺ ท่ีสุดธาตุเปน คฺ แลวทีฆะตนธาตุ วิ. วา จชตี-ติ จาโค. (ชนใด) ยอมสละ เหตุนั้น (ชนน้ัน) ชื่อวา ผูสละ. น้ีเปนกัตตุรูป กัตตุสาธนะ. จชน จาโค. การสละ ชอ่ื วา จาคะ. นเ้ี ปน ภาวรปู ภาวสาธนะ. แม โรโค ในแบบกเ็ ชน เดยี วกนั . โสโก เปน สุจฺ ธาตุ ในความแหง ลง ณ ปจจยั แลว ลบเสีย แปลง จฺ ทีส่ ดุ ธาตุ เปน ก พฤทธ์ิ อุ ที่ สุ เปน โอ วิ. วา โสจต-ี ติ โสโก. (ชนใด) ยอมเศรา โศก เหตนุ ้นั (ชนนั้น) ช่ือวา ผูเศราโศก. โสจน โสโก. ความเศราโศก ช่ือวา โสกะ. แม ปาโก ในแบบก็เชน เดียวกัน. บางคราว ถาธาตุมีตัวสะกด เม่ือแปลงท่ีสุดธาตุแลว ก็มักแปลงตัวสะกดน้ัน เปนนิคคหิต แลวอาเทสเปนพยัญชนะที่สุดวรรคในวรรคเดียวกับตัวที่แปลงนั้น เชน สงฺโค เปน สฺช ธาตุ ลง ณ ปจจัย แลว ลบเสีย แปลง ชฺ เปน คฺ แปลง ฺ เปน นิคคหิต แลวอาเทสเปน งฺ ซึ่งเปนพยัญชนะท่ีสุดวรรคในวรรคเดียวกัน คฺ วิ. วา สชฺ ต-ี ติ สงโฺ ค. (ชนใด) ยอ มของ เหตุนน้ั (ชนน้นั ) ชื่อวา ผูข อง. เปน กัตตุรูป กัตตุ สาธนะ. สฺชน สงฺโค. ความของ ชื่อวา สังคะ. เปน ภาวรปู ภาวสาธนะ. 269

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 270 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) รงฺโค เปน รฺช ธาตุ ณ ปจจยั แลว ลบเสีย แปลง ชฺ เปน คฺ. แปลง ฺ เปน นิคคหิตแลวอาเทสเปน งฺ วิ. วา รฺชตี-ติ รงฺโค. (ชนใด) ยอมกำหนัด เหตุน้ัน (ชนนนั้ ) ชือ่ วา ผูกำหนัด. เปน กตั ตรุ ปู กัตตุสาธน. รฺชติ เอตฺถา-ติ รงฺโค.(ชน) ยอม กำหนัด ในประเทศน่ัน เหตุน้ัน (ประเทศนั้น) ช่ือวา เปนท่ีกำหนัดแหงชน (หมายถึงสถานทีเ่ ตน รำ). เปน กัตตรุ ปู อธิกรณสาธนะ. บางคราว แปลงตน ธาตทุ เี ดยี วก็มี เชน อุ. ปริฬาโห เปน ปริ บทหนา ฑหฺ ธาตุ ในความเผา-รอ น ลง ณ ปจจัยแลว ลบเสีย แปลง ฑ ตน ธาตเุ ปน ฬ แลวทฆี ะตน ธาตเุ ปน อา วิ. วา ปริฑหตี-ติ ปริฬาโห. (ชนใด) ยอ มเรา รอ น เหตนุ ้ัน (ชนน้ัน) ช่อื วา ผเู รารอน. เปนกัตตุรปู กตั ตสุ าธนะ. ปริฑหน ปรฬิ าโห. ความเรารอ น ช่อื วา ปรฬิ าหะ. เปน ภาวรูป ภาวสาธนะ. ๔. ธาตุมี อา เปนที่สุด ลง ย ปจจัย เชน อุ. ทาโย เปน ทา ธาตุ ลง ณ ปจจัยแลวลบเสีย ลง ย ปจจัย หรือ จะกลาววาแปลง อา เปน อาย ก็ได วิ. วา ทาตพฺพนฺ-ติ ทาย. (วัตถุใด) (เตน อันเขา) พึงให เหตุน้ัน (วัตถุน้ัน) ช่ือวา อันเขา พงึ ให. (หมายถงึ รางวัล) เปนกมั มรูป กมั มสาธนะ. ทาน ทาโย. การให ชอ่ื วา ทายะ. เปนภาวรปู ภาวสาธนะ. ๕. แปลงตวั ธาตุเปนอยา งอ่ืน เชน อุ. วโธ. เปน หนฺ ธาตุ ลง ณ ปจจัย แลวลบเสีย แปลง หนฺ เปน วธฺ ว.ิ วา หนต-ี ติ วโธ (ชนใด) ยอ มฆา เหตุนั้น (ชนนัน้ ) ชื่อวา ผูฆา . สงฺขารา เปน ส บทหนา กรฺ ธาตุ ณ ปจจัย แปลง กรฺ เปน ขรฺ ทีฆะ อ ตน ธาตเุ ปน อา แปลนคิ คหติ เปน งฺ ว.ิ วา ส สฏุ  ุ กรยิ นเฺ ต-ติ สงขฺ ารา. (ธรรมทง้ั หลาย เหลา ใด) (ปจฺจเยน อันปจจัย) ยอมทำพรอม คอื วาดว ยดี เหตนุ ้ัน (ธรรมทงั้ หลายเหลา น้ัน) ชอื่ วา อันปจจัยกระทำพรอม. เปน กัมมรูป กัมมสาธนะ. อภิสงฺขาโร. เปน อภิ+ส บทหนา กรฺ ธาตุ ณ ปจจัย วิ. อภิ วิสิฏเน ส สฏุ  ุ กโรต-ี ติ อภสิ งขฺ าโร. (สภาพใด) ยอ มทำ ยงิ่ คอื วา โดยวเิ ศษ ดี คอื วา ดว ยดี เหตุ นนั้ (สภาพนั้น) ชือ่ วา ผทู ำยง่ิ ด.ี เปน กัตตุรูป กัตตสุ าธนะ. ปริกฺขาโร เปน ปริ บทหนา กรฺ ธาตุ ลง ณ ปจจัยแลวลบเสียแปลง กรฺ เปน ขรฺ ทฆี ะตอ งธาตุเปน อา ซอ น กฺ ว.ิ วา ปริ สมนตฺ โต กโรติ เตนา-ติ ปรกิ ขฺ าโร 270

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 271 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò (ชน) ยอ มทำรอบ คอื วาโดยรอบดว ยเครื่องประดบั น้นั เหตนุ ัน้ เครอ่ื งประดบั นน้ั ชือ่ วา เปนเครื่องทำรอบ (แหง ชน). เปนกัตตุรูป กรณสาธนะ. ปุเรกฺขาโร เปน ปุร บทหนา กรฺ ธาตุ ลง ณ ปจจัยแลวลบเสีย แปลง กรฺ เปน ขรฺ ทีฆะตน ธาตุเปน อา ซอ น กฺ วิ. วา ปุเร กรณ ปุเรฺกฺขาโร การทำในเบอ้ื งหนา ชอื่ วา ปเุ รกขาระ. ถอื เอาความวา ความยกยอ ง. ปริกฺขาโร แปลได ๓ นัย คือ : เคร่ืองลอม ไดแก คู เชน นครปริกฺขาโร คเู มอื ง ๑, เครื่องประดับ เชน รโถ เสตปริกฺขาโร รถมเี ครื่องประดับขาว ๑, เครื่องใช เชน ชีวติ ปริกขฺ าโร เครือ่ งใชส ำหรบั ชวี ติ ๑. ปจจัยน้ีเมื่อลงประกอบกับธาตุแลว เปนนามนามก็ได คุณนามก็ได ที่ เปนนาม มใี ชแ ตภาวรปู ภาวสาธนะ สว นสาธนะนอกนน้ั เปนไดเ ฉพาะคุณนาม แจกได ทง้ั ๓ ลงิ ค ปงุ ลงิ ค แจกตามแบบ อ การนั ต (ปรุ สิ ), อติ ถลี งิ ค แจกตามแบบ อา การนั ต (กฺา), นปุงสกลิงค แจกตามแบบ อ การันต (กุล), และเปนไดทุกรูป ทุกสาธนะ ไมม ีจำกัด. เตวฺ ปจ จัย ปจ จยั ตวั นี้ แปลกจากปจ จยั ตวั อนื่ ๆ คอื ไมใ ชล งในรปู และสาธนะอะไรๆ แต เมื่อลงแลว ใชแทนวิภัตตินามได และวิภัตติที่ใชแทนน้ัน ก็เฉพาะจตุตถีวิภัตติเดียว และใชอายตนิบาตวา “เพื่อ” เทานั้น ท้ังจะนำไปแจกตามจตุตถีวิภัตติ หรือวิภัตติ อ่ืนๆ ก็ไมไดทั้งสิ้น จึงนับวาเปนพวก อัพยยปจจัย คือ จะแจกตามวิภัตตินามไมได และไมมีการต้ังวิเคราะหเหมือนปจจัยอ่ืนๆ คือ เมื่อลงประกอบกับธาตุแลว เปนอัน สำเร็จรปู ทเี ดียว ตัวปจจัยเองคงไวตามเดิมไมลบและเปล่ียนแปลง และมีอำนาจใหแปลงตัว ธาตุไดบ าง เชน อุ. กาเตวฺ เพื่อจะทำ เปน กรฺ ธาตุ แปลง กรฺ เปน กา ลง เตฺว ปจจัย แปลงทีส่ ุดธาตบุ าง เชน อุ. คนเฺ ตวฺ เพ่ือจะไป เปน คมฺ ธาตุ แปลง มฺ ทสี่ ุด ธาตุเปน นฺ นอกจากนี้ ก็คงไวตามรูปเดิม เชน อุ. าเตฺว เพ่ือความรู เปน า ธาตุ, ปหาเตวฺ า เพือ่ จะละ เปน ป บทหนา หา ธาตุ. พฤทธิ์ตน ธาตไุ ดบา ง อุ. เนเตฺว เพือ่ จะนำไป เปน นี ธาต.ุ 271

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 272 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ติ ปจจยั ปจ จยั น้ี เมอ่ื ลงประกอบกบั ธาตแุ ลว โดยมากคงรปู เปน ติ ไวเ สมอ ไมล บและ เปล่ียนแปลง แตท่ีเปลี่ยนแปลงเปนอยางอ่ืนก็มีบางและมีอำนาจหนาที่ ๑ จะตองทำ กบั ตวั ธาตุดงั นี้ คอื :- ๑. ธาตุสองตวั ลบพยญั ชนะที่สุดธาตไุ ด. ๒. ธาตตุ ัวเดียว คงไวตามเดมิ . ๓. แปลงพยญั ชนะท่สี ดุ ธาตเุ ปนอยางอ่ืน บา ง. ๔. เฉพาะ า ธาตุ ตองแปลง อ เปน อ,ิ ปา ธาตแุ ปลง อา เปน อ.ี ๕. บางคราวแปลงตวั ปจ จัยเองบา ง. ๖. แปลงตัวธาตบุ า ง. ๑. ธาตุสองตวั ลบพยัญชนะทสี่ ุดธาตุได คือ เมอื่ ลบทีส่ ุดธาตแุ ลว ก็ลง ปจจัยแทนตัวที่ลบน้ัน หลักเกณฑนี้โดยมากอนุโลมตามอยาง ต ปจจัยในกิริยากิตก คือ ธาตทุ ม่ี ี ม,ฺ น,ฺ และ ร,ฺ เปนท่ีสุดใหล บที่สุดธาตเุ สีย เชน อ.ุ รต,ิ สมมฺ ต,ิ วิกต.ิ รติ เปน รมฺ ธาตุ ในความยนิ ดี ลง ติ ปจจัย แลว ลบที่สุดธาตเุ สยี ว.ิ วา รมนํ รต.ิ ความยนิ ดี ชอื่ วา รต.ิ เปน ภาวรปู ภาวสาธนะ. รมติ เอตายา-ติ รต.ิ (ชน) ยอ มยินดี ดวยธรรมชาตินั่น เหตุน้ัน (ธรรมชาตินั่น) ชื่อวา เปนเคร่ืองยินดี (แหงชน). เปน กัตตรุ ูป กรณสาธนะ. แม คติ ในแบบมีนยั เชนกนั . สมฺมติ เปน ส บทหนา มนฺ ธาตุ ในความรู ลง ติ ปจจัยลบท่ีสุดธาตุเสีย แปลงนิคคหิตท่ี ส เปน มฺ เพราะมี ม อยูหลัง วิ. วา ส สุฏุ มฺตี-ติ สมฺมติ. (ธรรมชาติใด) ยอมรูพรอม คือวา ดวยดี เหตุนั้น (ธรรมชาตินั้น) ช่ือวา ผูรูพรอม. เปนกัตตุรูป กัตตุสาธนะ. สมฺมนน สมฺมติ ความรูพรอม ชื่อวา สมฺมติ, เปนภาวรูป ภาวสาธนะ. สํ สุฏุ มฺติ เอตายา-ติ สมฺมติ. (ชน) ยอมรูพรอม คือวา ดวยดี ดวยธรรมชาติน่ัน เหตุนั้น (ธรรมชาตินั่น) ชื่อวา เปนเครื่องรูพรอม (แหงชน). เปน กตั ตุรูป กรณสาธนะ. สนฺตติ เปน ส บทหนา ตนฺ ธาตุ ในความสืบตอ ลง ติ ปจจัยลบที่สุดธาตุ แปลงนคิ คหติ ท่ี ส เปน นฺ เพราะ มี ต อยูห ลัง วิ. วา สนฺตนน สนตฺ ติ ความสบื ตอ ช่ือวา สนตฺ ติ. เปน ภาวรูป ภาวสาธนะ. 272

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 273 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò วิกติ เปน วิ บทหนา กรฺ ธาตุ ในความทำ ลง ติ ปจ จัยลบที่สดุ ธาตุ วิ. วา วิวิเธน อากาเรน กรณ วิกติ. ความทำโดยอาการมีอยางตางๆ ช่ือวา วิกติ. เปน ภาวรูป ภาวสาธนะ แม สติ ในแบบกม็ ีนัยเดยี วกนั . ๒. ธาตุตัวเดยี วคงไวตามเดิม เชน อุ. วิภูติ เปน วิ บทหนา ภู ธาตุ ใน ความมี-เปน ลง ติ ปจ จยั วิ. วา วเิ สสโต ภวต-ี ติ วิภตู .ิ (ธรรมชาตใิ ด) ยอ มเปน โดย วิเศษ เหตุน้ัน (ธรรมชาตินั้น) ช่ือวา ผูเปนโดยวิเศษ. เปนกัตตุรูป กตั ตวุ สาธนะ. วภิ วน วภิ ตู ิ ความเปน โดยวเิ ศษ ชอ่ื วา วภิ ตู .ิ เปน ภาวรปู ภาวสาธนะ. ถตุ ิ เปน ถุ ธาตุ ในความชมเชย ลง ติ ปจจยั วิ. วา ถวน ถตุ .ิ ความชมเชย ช่อื วา ถุติ. เปนภาวรปู ภาวสาธนะ. บางคราวธาตุตัวเดยี วเปน ทีฆะ รสั สะเสียบางกม็ ี เชน อ.ุ ปติ เปน ปา ธาตุ ในความรักษา ลง ติ ปจจยั แลว รัสสะ อา ท่ี ปา เปน อ วิ. วา ปาตี-ติ ปต.ิ (ชนใด) ยอ มรักษา เหตนุ ้ัน (ชนนั้น) ชือ่ วา ผูร กั ษา. (ผวั ,นาย). บางคราวเมือ่ รสั สะแลว ซอน ตฺ กม็ ี อ.ุ วิฺตตฺ ิ เปน วบิ ทหนา า ธาตุ ลง ติ ปจ จัย รสั สะ อา ท่ี า เปน อ ซอน ตฺ ว.ิ วา วิ ฺ าปน วิ ฺตฺติ. การใหร ตู า ง ๆ ชื่อวา วิ ฺตฺติ (การขอ). ๓. แปลงพยญั ชนะที่สดุ ธาตเุ ปน อยา งอ่ืน นี้โดยมากอนโุ มตาม ต ปจ จยั ในกริ ิยากติ กเหมือนกัน คือ ธาตทุ ี่มี จ,ฺ ช,ฺ ป,ฺ และ ทฺ เปน ที่สุด แปลงทส่ี ุดธาตุเปน ตฺ เชน อ.ุ วมิ ตุ ตฺ ิ, ภตฺต,ิ วิภตฺติ, คุตฺติ, อาปตตฺ ิ. วิมุตฺติ เปน วิ บทหนา มุจฺ ธาตุ ในความพน ลง ติ ปจจัยแลวแปลง จฺ ที่สุดธาตุเปน ตฺ วิ. วา วิมุจฺจน วิมุตฺติ. ความพนวิเศษ ช่ือวา วิมุตฺติ. เปนภาวรูป ภาวสาธนะ. ภตตฺ ิ เปน ภชฺ ธาตุ ในความแจกจำแนก-คบ ลง ติ ปจ จยั แปลง ชฺ ท่สี ดุ ธาตุ เปน ตฺ วิ. วา ภชน ภตฺติ. การคบ ช่ือวา ภตฺติ วิภตฺติ วิ บทหนา ภชฺ ธาตุ วิ. วา วิภชน วภิ ตฺติ. การจำแนก ชอื่ วา วภิ ตฺต.ิ เปน ภาวรปู ภาวสาธนะ. คตุ ตฺ ิ เปน คุปฺ ธาตุ ในความคมุ ครอง ลง ติ ปจ จยั แลว แปลง ปฺ ท่ีสุดธาตุ เปน ตฺ ว.ิ วา คปุ น คตุ ตฺ .ิ ความคมุ ครอง ชอื่ วา คตุ ตฺ ิ เปน ภาวรปู ภาวสาธนะ. ติตฺติ เปน ติปฺ ธาตุ ในความอ่ิม ลง ติ ปจจัย แลวแปลง ปฺ ท่ีสุดธาตุเปน ตฺ วิ. วา ตปิ น ติตฺต.ิ ความอ่ิม ชอื่ วา ติตฺต.ิ เปน ภาวรูป ภาวสาธนะ. 273

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 274 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) อาปตฺติ เปน อา บทหนา ปทฺ ธาตุ ในความถึง ลง ติ ปจจัยแลวแปลง ทฺ ท่ีสดุ ธาตเุ ปน ตฺ ว.ิ วา อาปชชฺ น อาปตตฺ .ิ ความตอ ง ชอื่ วา อาปตตฺ .ิ เปน ภาวรปู ภาวสาธนะ. ๔. เฉพาะ า ธาตุ แปลง อา เปน อ,ิ ปา ธาตุ แปลง อา เปน อี อ.ุ ติ ,ิ ปต .ิ ติ ิ เปน า ธาตุ ในความยืน-ตั้งอยู ลง ติ ปจจัย แปลง อา ท่ี า เปน อิ ว.ิ วา าน ิต.ิ ความต้งั อยู ชอ่ื วา ิติ. ปติ เปน ปา ธาตุ ในความดม่ื ลง ติ ปจจยั แปลง อา ที่ ปา เปน อี ว.ิ วา ปวน ปติ. ความดื่ม ช่ือวา ปติ. ๒ นี้เปน ภาวรูป ภาวสาธนะ. ที่กลาวนี้เปนมติ ในมูลกัจจายน แตในอภิธานนัปปทีกาสุจิ กลาววา ปติ เปนธาตุในความใหเอิบอ่ิม ตงั้ ว.ิ วา ปเณตี-ติ ปต .ิ ธรรมชาตใิ ด ยอมยงั ใจใหเ อิบอ่ิม เหตุนั้น ธรรมชาตนิ ้นั ชื่อวา ผยู ังใจใหเ อบิ อม่ิ เรียกวาปต.ิ ความจรงิ นาจะเปน ปนฺ แปลง นฺ เปน ณฺ และทานกก็ ลาว วา ปร ฺ ธาตุ กับ ป ธาตุ มีความอยางเดียวกนั . ปติ โดยมากแปลกนั วา ความเอบิ อ่มิ มิไดแ ปลวา ความด่ืม ๕. บางคราวแปลงตัวปจจัยเองบาง น้ีโดยมากก็ถือตาม หลัก ต ปจจัย ในกริ ยิ ากิตกกเ็ ชน เดียวกัน คอื :- ก. ธาตุมี ธฺ, ภฺ เปน ทีส่ ดุ แปลง ติ เปน ทธฺ ิ แลว ลบที่สุดธาตุ อ.ุ พทุ ฺธ,ิ ลทธฺ ิ, วิสทุ ธฺ ,ิ สมทิ ฺธิ. พุทฺธิ เปน พุธฺ ธาตุ ในความรู ลง ติ ปจจัย แลวแปลง ติ เปน ทฺธิ วิ. วา พุชฺฌติ เอตายา-ติ พุทฺธิ. (ชน) ยอมรูชัดดวยปญญานั่น เหตุนั้น (ปญญานั่น) ชอ่ื วา เปนเครอ่ื งรู (แหง ชน).เปน กตั ตรุ ปู กรณสาธนะ. ลทธฺ ิ เปน ลภฺ ธาตุ ในความได ลง ติ ปจจัย แลว แปลง ติ เปน ทฺธิ วิ. วา ลภติ เอตายา-ติ ลทฺธ.ิ (ชน) ยอมได ดว ยธรรมชาตินั่น เหตนุ ั้น (ธรรมชาติน่ัน) ช่ือวา เปน เหตุได (แหงชน). เปนกัตตรุ ปู กรณสาธนะ. วิสุทฺธิ เปน วิ บทหนา สุธฺ ธาตุ ในความหมดจด วิ. วา วิสุชฺฌน วิสุทฺธิ. ความหมดจด ชือ่ วา วสิ ทุ ธฺ .ิ สมิทฺธิ เปน ส บทหนา อิธฺ ธาตุ ในความสำเร็จ วิ. วา สมิชฺฌน สมิทฺธิ. ความสำเร็จพรอม ชือ่ วา สมทิ ฺธ.ิ ทัง้ ๒ นเี้ ปนภาวรปู ภาวสาธนะ. 274

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 275 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ข. ธาตมุ ี มฺ เปน ทส่ี ดุ แปลง ติ เปน นตฺ ิ แลว ลบทส่ี ดุ ธาตุ อ.ุ นกิ นตฺ ,ิ สนตฺ .ิ นกิ นตฺ ิ เปน นิ บทหนา กมฺ ธาตุ ในความปรารถนา ลง ติ ปจจยั แลวแปลง ติ เปน นฺติ ว.ิ วา นิกมน นิกนฺต.ิ ความใคร ชื่อวา นกิ นฺต.ิ สนตฺ ิ เปน สมฺ ธาตุ ในความสงบ ลง ติ ปจ จยั แลวแปลง ติ เปน นตฺ ิ วิ. วา สมน สนตฺ ิ ความสงบ ชื่อวา สนฺต.ิ ๒ นี้เปน ภาวรปู ภาวสาธนะ. ค. ธาตุมี สฺ เปนท่ีสุด แปลง ติ เปน ฏิ แลวลบที่สุดธาตุ อุ. อนุสิฏิ, สนฺตุฏิ, ทิฏ.ิ อนุสฏิ  ิ เปน อนุ บทหนา สาสฺ ธาตุ ในความสอน ลง ติ ปจ จัย แปลง อา ท่ี ส เปน อิ แลวแปลง ติ เปน ฏิ วิ. วา อนสุ าสน อนสุ ิฏ ิ. การตามสอน ชื่อวา อนสุ ฏิ .ิ สนฺตุฏิ เปน ส บทหนา ตุสฺ ธาตุ ในความยินดี ลง ติ ปจจัยแลวแปลง ติ เปน ฏิ ว.ิ วา สนตฺ สุ ฺสน สนตฺ ุฏ ิ. ความยินดพี รอมช่ือวา สนตฺ ฏุ  .ิ ทิฏ ิ เปน ทิสฺ ธาตใุ นความเหน็ ลง ติ ปจ จยั แลวแปลง ติ เปน ฏ ิ วิ. วา ทสฺสน ทิฏ .ิ ความเหน็ ชือ่ วา ทฏิ .ิ ๒ นเ้ี ปนภาวรปู ภาวสาธนะ. ๖. แปลงตัวธาตุ เชน ชาติ เปน ชนฺ ธาตุ ในความเกิด ลง ติ ปจ จยั แลว แปลง ชนฺ เปน ชา [แตก ารแปลงเชน น้ี ไมเฉพาะแตป จ จัยนี้ แมใ นที่อน่ื ก็แปลงไดเชน ในอาขยาตเปน ชายติ (ยอ มเกิด), กริ ิยากติ กเ ปน ชาโต (เกดิ แลว) เปน ตน ] ว.ิ ชนน ชาต.ิ ความเกดิ ช่อื วา ชาติ. เปนภาวรูป ภาวสาธนะ. ปจจัยน้ี เมื่อลงประกอบกับธาตุสำเร็จรูปแลว เปนไดทุกรูปและทุกสาธนะ ใชเปน นามนามก็ได คณุ นามกไ็ ด เฉพาะภาวรูป ภาวสาธนะ เปนไดแตน ามนาม นอก นน้ั เปนคุณนาม การแจกตามลงิ คมีท่นี ยิ มใชเ ฉพาะ อิ การนั ต อิตถลี ิงค (รตฺต)ิ เทาน้นั . ตุ ปจ จัย ปจจัยน้ี คลายกับ เตฺว ปจจัยที่กลาวแลว คือ ไมลงในรูปและสาธนะอะไร เมือ่ ลงประกอบกบั ธาตสุ ำเรจ็ รปู แลว ใชแทนวภิ ัตตินามได ๒ วภิ ัตติ คือ ปฐมาวิภัตติ และ จุตตถีวิภัตติ ใชอายตนิบาตคือ ปฐมาวิภัตติวา “อันวา อัน-” ถือเอาความวา “การ-” หรอื “ความ-,” จตตุ ถีวภิ ัตติวา “เพือ่ -” แตหาแจกตามวิภัตตนิ ามไดไ ม คงตัว อยูตามรูปเดิม และไมมีการต้ังวิเคราะหเหมือนปจจัยอ่ืน และมีอำนาจหนาท่ีจะทำกับ ธาตุคลา ยกับ ต ปจ จยั ในกิรยิ ากิตกบ างประการ ดงั ตอไปนี้ คอื :- 275

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 276 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๑. ธาตุสองตัว ไมลบ แตตองลง อิ อาคมหลงั ธาต.ุ ๒. ธาตุตัวเดยี วคงไวคงตามเดิมบาง พฤทธิ์ตนธาตบุ าง. ๓. แปลงพยัญชนะทีส่ ุดธาตบุ าง. ๔. แปลงตวั ธาตเุ ปนอยา งอนื่ บาง. ๕. แปลงตัวเองบาง. ๑. ธาตุสองตวั ไมลบ แตต อ งลง อิ อาคมหลังธาตุ หมายความวา ธาตุ สองตัว ใหลง อิ อาคมหลงั ธาตุ ไมม กี ารแปลงตวั ธาตหุ รอื ลบพยัญชนะท่ีสดุ ธาตุ ใหคง ธาตไุ วตามเดมิ เชน อุ. ลภิตุ เปน ลภฺ ธาตุ สมิตุ เปน สมฺ ธาตุ ลง ตุ ปจ จัย คงทส่ี ดุ ธาตุไว ลง อิ อาคมหลงั ธาต.ุ อนงึ่ ธาตทุ สี่ ำเรจ็ รปู มาจากอาขยาตแลว เมอ่ื มาลงปจ จยั นคี้ งอยตู ามรปู เดมิ และ ให ลง อิ อาคม เชน อุ. ลิมฺปตุ เปน ลปิ ฺ ธาตุ ลงนคิ คหิตอาคมแลว แปลงเปน มฺ ตาม หมวด รธุ ฺ ธาตุ เมอื่ ลง ตุ ปจ จยั ตองลง อิ อาคมหลงั ธาต.ุ วิมุจฺจิตุํ เปน วิ บทหนา มจุ ฺ ธาตุ ลง ย ปจจยั หมวด ทวิ ฺ ธาตุ แปลง ย กบั ที่สดุ ธาตุเปน จฺจ เมื่อลง ตุ ปจ จัย ตองลง อิ อาคมหลงั ธาตุ. ชนิ ิตุ เปน ชิ ธาตุ นา ปจจัย หมวด กี ธาตุ ตุ ปจจยั ลง อิ อาคมที่ นา ปจ จัย. ๒. ธาตุตัวเดียวคงไวตามเดิมบาง พฤทธิ์ตนธาตุบาง ท่ีคงไวตามเดิม หมายเอาเฉพาะธาตทุ ่ีเปนทีฆะ คอื เปน สระยาวอยูแ ลว เม่อื ลง ตุ ปจจยั ใหคงไว เชน อ.ุ าตุ เปน า ธาตุ ในความรู. ปาตุ เปน ปา ธาตุ ในความดมื่ . พฤทธิท์ ี่ตน ธาตุ คอื ใหพฤทธ์ิตนธาตุไดเฉพาะที่เปนรัสสะเทาน้ัน เชน อุ เชตุ เปน ชิ ธาตุในความชนะ พฤทธิ์ อิ เปน เอ. โหตุ เปน หุ ธาตุ ในความม-ี เปน พฤทธ์ิ อุ เปน โอ. แตบ างคราว ธาตทุ ีเ่ ปน ไปในความถึงท่ีเปนทีฆะ แตก พ็ ฤทธ์ิไดบ าง อุ. เนตุ เปน นี ธาตุ ในความนำ ไป พฤทธ์ิ อี เปน เอ. สยิตุ เปน สี ธาตุ ในความนอน พฤทธิ์ อี เปน เอ แลว เอาเปน อย. อน่ึง ธาตุตัวเดียวน่ันแหละ เมื่อเปล่ียนแปลงไปเปนสองตัวแลว ก็นับวาเปน ธาตุสองตวั ได และใหน ำหลกั ในขอ ๑ มาใช คอื ใหล ง อิ อาคมที่ตัวหลัง เชน สี ธาตุ เมอื่ แปลง อี เปน เอ แลว เอาเปน อย ไดรูปเปน สย จงึ กลายเปน ธาตุสองตวั ไป ใหล ง อิ อาคมได เปน สยติ ,ุ ภู ธาตุ พฤทธิ์ อู เปน โอ แลว เอาเปน อว เปน ภว ลง อิ อาคม ได อ.ุ ภวติ .ุ หรือท่ีเปลีย่ นแปลงโดยวธิ ีอัพภาส กลายเปน พยัญชนะสองตัวขน้ึ ตอ งลง 276

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 277 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò อิ อาคมเชนกัน อุ. ชหิตุ เปน หา ธาตุ ในความละ เทฺวภาวะ ห ไวหนา แลวแปลง พยัญชนะนน้ั เปน ช ลง อิ อาคม. ๓. แปลงพยัญชนะท่ีสดุ ธาตุ คือ แปลงพยญั ชนะตวั หลังธาตเุ ปน อยางอื่น :- ก. ธาตุมี ทฺ เปนท่ีสุด แปลงท่ีสุดธาตุเปน ตฺ. อุ. ปตฺตุ เปน ปทฺ ธาตุ ในความถงึ ลง ตุ ปจจัย แปลง ทฺ ทส่ี ุดธาตุเปน ต.ฺ วตตฺ ุ. เปน วทฺ ธาตุ ในความกลา ว ลง ตุ ปจจยั แปลง ทฺ ทสี่ ดุ ธาตุ เปน ตฺ. ข. ธาตุมี รฺ เปน ท่ีสุด เชน อ.ุ กตฺตุ เปน กรฺ ธาตุ ในความทำ ลง ตุ ปจ จยั แปลง รฺ ทสี่ ดุ ธาตเุ ปน ต,ฺ หรอื จะเรยี กตามแบบวา ลบ ร ซอ น ตฺ กไ็ ดท งั้ ๒ นยั . ค. ธาตมุ ี มฺ, น.ฺ เปนที่สุด เชน คนฺตุ เปน คมฺ ธาตุ แปลงที่สดุ ธาตุเปน นฺ หนฺตุ เปน หนฺ ธาตุ แปลง นฺ ทสี่ ดุ ธาตเุ ปน ตวั สะกด. ๔. แปลงตัวธาตเุ ปนอยางอน่ื เชน อุ. กาตุ เปน กรฺ ธาตุ ลง ตุ ปจจัย แลวแปลง กรฺ เปน กา, ปวิตุ เปน ปา ธาตุ ในความดื่ม ลง ตุ ปจจัย แลวแปลง ปา เปน ปว .ฺ ๕. แปลงตวั เอง คอื แปลง ตุ ปจ จยั กบั ท่ีสุดธาตุเปน อยา งไร วธิ แี ปลงตอ ง แลวแตพยัญชนะท่ีสุดธาตุ และอนุโลมตาม ต ปจจัยในกิริยากิตกไดบางบางอยาง เชน :- ก. ธาตมุ ี ภฺ เปน ที่สุด แปลง ตุ ปจจยั กบั ที่สดุ ธาตุเปน ทฺธุ อุ. ลทฺธุ เปน ลภฺ ธาตุ ในความได ลง ตุ ปจ จัย แปลง ตุ กับทีส่ ุดธาตุเปน ทธฺ .ุ ข. ธาตุมี สฺ เปนท่ีสุด แปลง ตุ ปจจัยกับที่สุดธาตุเปน ฏุ อุ. ทฏุ เปน ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น ลง ตุ ปจจยั แปลง ตุ กบั ทสี่ ุดธาตุเปน ฏุ ลบ อิ ท่ี ทิ เสีย. ผฏุ  ุ เปน ผสุ ฺ ธาตุ ในความถูกตอ ง ลง ตุ ปจจยั แปลง ตุ กับที่สุดธาตุเปน ฏ .ุ ยุ ปจจัย ปจจัยน้ี เม่ือลงประกอบกับธาตุ หาคงตัวอยูตามเดิมไม คงเปล่ียนแปลงไป และใชลงในตัสสีลสาธนะไดอีกดวย ก็วิธีเปล่ียนแปลงของปจจัยน้ี คงไมมีมากเทาไร นกั เมื่อจะกลา วตามหลักก็เปลีย่ นแปลงได ๓ อยางเทาน้นั คอื :- 277

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 278 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๑. แปลง ยุ เปน อน การแปลงเชน น้ี ใชไ ดในธาตุทั่วไปไมจ ำกัดทีส่ ุดธาตุ คอื ไมวาทีส่ ุดธาตจุ ะเปน เชนไร เม่อื ลง ยุ ปจ จัยแลว ใหแปลง ยุ นน้ั เปน อน เสมอไป อ.ุ วิโรจโน เปน วิ บทหนา รจุ ฺ ธาตุ ในความรุงเรือง ยุ ปจ จัย พฤทธิ์ อุ ที่ รุ เปน โอ แปลง ยุ เปน อน ว.ิ วา วิโรจตี-ติ วโิ รจโน. (ชนใด) ยอ มรงุ เรอื ง เหตนุ ้นั (ชนนัน้ ) ชอ่ื วา ผรู ุง เรือง. เปน กตั ตุรูป กัตตุสาธนะ. วโิ รจติ สเี ลนา-ติ วโิ รจโน. (ชนใด) ยอ มรงุ เรอื ง โดยปกติ เหตนุ นั้ (ชนนัน้ ) ชอื่ วา ผรู งุ เรอื งโดยปกติ เปน กตั ตุรปู ตัสสีลสาธนะ. วจน เปน วจฺ ธาตุ ในความกลาว ลง ยุ ปจจัย แลวแปลงเปน อน วิ. วา วจิตพฺพนฺ-ติ วจน. (สัททชาตใด) (เตน อันเขา) พึงกลาว เหตุน้ัน (สัททชาตนั้น) ชอ่ื วา อันเขาพึงกลาว. เปน กมั มรูป กัมมสาธนะ. วจยิ เต-ติ วจน. (เตน อนั เขา) ยอ ม กลา ว เหตนุ น้ั ชอื่ วา การกลา ว. เปน ภาวรปู ภาวสาธนะ. วจติ เตนา-ติ วจน. (ชน) ยอ ม กลาว ดวยสัททชาตนั้น เหตุนั้น (สัททชาตน้ัน) ช่ือวา เปนเคร่ืองกลาว (แหงชน) เปน กัตตรุ ูป กรณสาธนะ. ๒. แปลง ยุ เปน อณ น้ีแปลงไมไดในธาตุท่ัวไป คือ จำกัดเฉพาะธาตุ บางตวั ท่นี ยิ มใชก ็คือธาตุทม่ี ี ร,ฺ หฺ เปนที่สดุ เทา นั้น. ก. ธาตมุ ี รฺ เปน ทสี่ ดุ เชน อ.ุ ปูรณ เปน ปูรฺ ธาตุ ในความเตม็ ลง ยุ ปจ จยั แปลง ยุ เปน อณ ว.ิ วา ปูรยเต-ติ ปรู ณ. (เตน อันเขา) ยอมใหเต็ม เหตนุ นั้ ชื่อวา ความใหเต็ม (การบำเพญ็ ). มรณ เปน มรฺ ธาตุ ในความตาย ลง ยุ ปจจัย แปลง ยุ เปน อณ วิ. วา มรติ พพฺ น-ฺ ติ มรณ. (เตน อนั เขา) พึงตายเหตนุ นั้ ช่ือวา ความตาย. เปนภาวรปู ภาว สาธนะ. มรติ เอตฺถา-ติ มรณ. (ชน) ยอ มตาย ในท่ีน่ัน เหตนุ นั้ (ที่น่นั ) ชอื่ วา ท่เี ปนที่ ตาย (แหง ชน). เปนกตั ตรปู อธกิ รณสาธนะ. ข. ธาตุมี หฺ เปนทส่ี ดุ เชน อ.ุ คหณ เปน คหฺ ธาตุ ในความถือเอา ลง ยุ ปจจัย แปลง ยุ เปน อณ วิ. วา คเหตพพฺ น-ติ คหณ. (เตน อันเขา) พงึ ถอื เอา เหตนุ ัน้ ชอื่ วา ความถอื เอา. เปน ภาวรูป ภาวสาธนะ. แตธาตุมี หฺ เปนท่ีสุดน้ี ไมสูนิยมแนนอนเหมือนธาตุมี รฺ เปนท่ีสุดนัก คอื อาจแปลงเปน อน กไ็ ด อ.ุ อปุ นยหฺ น เปน อปุ บทหนา นหฺ ธาตุ ในความผกู ลง ย ปจจัย (อาขยาต) แปลง ย กับท่ีสุดธาตุ เปน ยหฺ แลวลง ยุ ปจจัย แปลง ยุ 278

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 279 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เปน อน วิ. วา อปุ นยหฺ ยเต-ติ อปุ นยฺหน. (เตน อันเขา) ยอมเขาไปผูก เหตุนน้ั ชอื่ วา ความผกู เปน ภาวรปู ภาวสาธนะ. นอกจากนี้ บางคราวถึงธาตทุ ่มี ใิ ชมี ร,ฺ หฺ เปน ทีส่ ุด แตแ ปลงเปน อณ กม็ ี ท่ี เปนเชนนี้ กม็ ีโดยสว นนอย เชน อ.ุ ปฺาณ เปน ป บทหนา า ธาตุ ในความรู ลง ยุ ปจ จยั แปลง ยุ เปน อณ ซอ น ฺ ว.ิ วา ปชานาติ เตนา-ติ ปฺาณ. (ชน) ยอม ปรากฏ ดวยคุณชาตน้ัน เหตุน้ัน (คุณชาตน้ัน) ชื่อวา เปนเคร่ืองปรากฏ (แหงชน). เปนกัตตุรูป กรณสาธนะ. แมศัพทวา าณ (คุณชาตเปนเคร่ืองรู), วิฺาณ ความรแู จง (ซ่งึ อารมณ) ซงึ่ ออกจาก า ธาตุ ก็เชนเดยี วกนั . าณ วิ. วา ชานาติ เตนา-ติ าณ. (ชน) ยอมรู ดวยคุณชาตน้ัน เหตุน้ัน (คุณชาตน้ัน) ชื่อวา เปน เครื่องรู (แหงชน). เปนกัตตุรูปกรณสาธนะ. ชานน าณ. ความรู ชื่อวา ญาณ. เปนภาวรูปภาวสาธน. วิฺาณ วิ. วา วิฺาตพฺพนฺ-ติ วิฺาณ. (เตน อันเขา) พึงรูแจง เหตนุ ้ัน ชื่อวา ความรูแจง (ซ่ึงอารมณ) เปนภาวรปู ภาวสาธนะ. สมโณ เปน สมฺ ธาตุ ในความสงบ ลง ยุ ปจ จัย แลว แปลง ยุ เปน อณ วิ. วา สเมตี-ติ สมโณ. (ชนใด) ยอมสงบ เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อวา ผูสงบ. เปนกัตตุรูป กตั ตุสาธนะ. ๓. แปลง ยุ เปน อานน นี้จำกัดใหใชไดแตเฉพาะ า ธาตุตัวเดียว เทานน้ั และ า ตัวนน้ั ตองแปลงเปน ชา เสมอไป อุ.ชานน, วิชานน. ชานน เปน า ธาตุ ในความรู แปลง า เปน ชา ลง ยุ ปจจยั แลวแปลง ยุ เปน อานน ว.ิ วา ชานน ชานน. ความรูช ่อื วา ชานนะ. วิชานน เปน วิ บทหนา า ธาตุ แปลง า เปน ชา ลง ยุ ปจจยั แปลง ยุ เปน อานน วิ. วา วิชานน วิชานน. ความรูแจงช่ือวา วิชานนะ. ๒ น้ี เปนภาวรูป ภาวสาธนะ. ปจ จยั น้ี เมือ่ ลงในธาตสุ ำเรจ็ รูปแลว เปนไดทงั้ นามนามและคณุ นาม. ภาวรปู ภาวสาธนะ เปนนามนาม. นอกนั้นเปนคุณนามที่เปนคุณนามแจกไดทั้ง ๓ ลิงค ในปุงลิงค แจกเหมือน อ การันต (ปุริส), อิตถีลิงค แจกเหมือน อา การันต (กฺ า), นปุงสกลงิ คแจกเหมือน อ การนั ต (กลุ ). 279

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 280 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) อน่ึง ปจจัย ยังมีอำนาจบังคับนามศัพท ซึ่งเปนฉัฏฐีวิภัตติใหแปลอายต- นบิ าตของทตุ ยิ าวิภัตตวิ า (ซ่ึง)ได อ.ุ สพฺพปาปสสฺ อกรณ. การไมท ำ ซึ่งบาปท้ังปวง เปน ตน. ปจจัยในแบบเหลานี้ เม่ือประกอบกับธาตุสำเร็จรูปแลว ที่เปนคุณนาม ยอม แจกไดทง้ั ๓ ลงิ ค และเปลย่ี นรปู ไปตามวิภัตตขิ องนามเสมอ สวนทเ่ี ปนนามนาม ยอม คงตัวอยู คือ เปนลิงคใด ก็คงเปนลิงคนั้น ไมเปล่ียนไป บางศัพทก็นิยมเปนปุงลิงค เมอ่ื เปน ปงุ ลงิ คแ ลว จะเปน ลงิ คอ น่ื ไมไ ด. เชน โกโธ (ความโกรธ) โทโส (ความประทษุ รา ย) เปนตน . บางศพั ทกน็ ิยมเปนอติ ถลี ิงค เชน เจตนา (ความจงใจ), ปพพฺ ชฺชา (การบวช), อจิ ฺฉา (ความปรารถนา) เปน ตน . บางศัพทกน็ ยิ มเปน นปุงลงิ ค เชน กรณ (ความทำ) วจน (คำเปนเคร่อื งกลา ว), สวน (การฟง ) เปน ตน . ฉะน้ัน เมอื่ ตองการเปน วิภัตติอะไร กจ็ งนำไปแจกใหตรงตามลงิ คแ ละการนั ตนน้ั ๆ เถิด. ปจจัยนอกแบบ ปจจัยเหลาน้ี ไดแก ปจจัยท่ีมิไดปรากฏในแบบบาลีไวยากรณแตมีปรากฏ อยูใ นมูลกัจจายน เปนปจจัยซ่งึ มที ่ีใชน อ ย และจดั เปน หมวดหมไู มไ ดส ะดวก เพราะไม แนนอน คือ บางคราวก็ลงไดเฉพาะธาตุบางตัว และบางคราวก็เปนไดแตบางสาธนะ ไมทั่วไป ตอไปนี้จะไดนำมาแสดงไว เพ่ือผูตองการจะเรียนรพู ศิ ดาร จะไดท ราบตาม ความประสงค กป็ จ จยั เหลา นท้ี งั้ หมดดว ยกนั มอี ยู ๑๔ ตวั คือ อาวี, อิน, อิก, ณุก, ตาย, ตกุ , ม, ร, รตถฺ ุ, รมฺม, รจิ ฺจ, ริตุ, รริ ิย, ราตุ. ๑. อาวี ปจจัย ปจ จัยนี้ ใชลงในอรรถแหง ตสั สลี สาธนะ เชน อ.ุ วา ภยทสสฺ าวี เปน ภย บท หนา ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น แปลง ทสิ ฺ เปน ทิสสฺ แลว ลบ อิ ท่ี ทิ ออกเสยี วิ. ภย ปสฺสติ สีเลนา-ติ ภยทสฺสาวี. (ชนใด) ยอมเห็น ซ่ึงภัย โดยปกติ เหตุนั้น (ชนนั้น) ช่อื วา ผเู ห็นซ่ึงภยั โดยปกติ. เปน กัตตุรปู กตั ตสุ าธนะลงในอรรถแหงตสั สลี ะ. 280

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 281 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๒. อนิ ปจ จัย ปจจัยนี้ ใชล งได ๒ สาธนะ คือ กตั ตสุ าธนะ ๑ ภาวสาธนะ ๑ เทานนั้ นอกน้ี หาลงไดไม เชน อ.ุ วา ชิโน, สุปน. ชิโน เปน ชิ ธาตุ ในความชนะ ลง อิน ปจจัย ลง อิ ท่ี ชิ เสีย วิ. วา ชินาตี-ติ ชิโน. (พระผูมีพระภาคเจาใด) ยอมชนะ เหตุนั้น (พระผูมีพระภาคเจาน้ัน) ช่อื วา ผูชนะ. เปน กตั ตรุ ปู กตั ตุสาธนะ. สุปน เปน สุปฺ ธาตุ ในความหลับ ลง อิน ปจจัย วิ. วา สุปยเต-ติ สุปน. (เตน อันเขา) ยอมหลับ เหตุนั้น ช่ือวา ความหลับ, ถือเอาความวา “ความฝน”. เปนภาวรูป ภาวสาธนะ. ๓. อกิ ปจ จยั ปจจยั นี้ มที ใ่ี ชโ ดยมาก เปนกตั ตุรปู กตั ตุสาธนะ และตามคมั ภีรม ลู กจั จายน กลาววา ลงในอรรถวา ควร วิธีตั้งวิเคราะห มีรูปและลักษณะคลายตัทธิต แตบางตัว มิไดลงในอรรถวา ควร เสมอไปเชน อุ. วา คมโิ ก. เปน คมฺ ธาตุ ลง อกิ ปจ จยั ว.ิ วา คนตฺ ุ ภพโฺ พต-ิ คมโิ ก. (ภกิ ษใุ ด) เปน ผคู วรเพอื่ จะไป เหตนุ นั้ (ภกิ ษนุ ั้น) ชือ่ วา ผคู วร เพื่อจะไป. ในอภิธานนัปปทีปกาสูจิ วา ลงในอรรถวา ปรารถนา ก็ได วิ. วา คนฺตุ อิจฺฉตี-ติ คมิโก. (ภิกษุใด) ยอมปรารถนา เพ่ือจะไป เหตุน้ัน (ภิกษุน้ัน) ช่ือวา ผูปรารถนาเพ่ือจะไป, หรือไมลงในอรรถอะไรก็ได วิ. วา คจฺฉตี-ติ คมิโก. (ภิกษุใด) ยอ มไป เหตุนน้ั (ภิกษุนนั้ ) ช่ือวา ผูไป. โอปนยโิ ก เปน อุป บทหนา นี ธาตุ ในความนำไป ลง อกิ ปจจยั พฤทธิ์ อุ ที่ อปุ เปน โอ แปลง อี ที่ นี เปน เอ แลว เอาเปน อย วิ. วา (อตฺตน)ิ อุปเนตุ ภพโฺ พ-ติ โอปนยิโก. (ธรรมใด) เปนสภาพควร เพื่ออันนำเขาไป (ในตน) เหตุน้ัน (ธรรมนั้น) ชอ่ื วา ควรเพอ่ื อนั นำเขา ไป (ในตน). ทตี่ ง้ั ว.ิ เชน น้ี โดยอนโุ ลมศพั ทว า คมโิ ก แตในมูล กัจจายนต้งั วิ. วา อุปนเย นยิ ตุ โฺ ต-ติ โอปนยิโก. (ธรรมใด) ควรแลว ในอนั นอ มเขา ไป เหตนุ นั้ (ธรรมนนั้ ) ชอ่ื วา โอปนยกิ ะ. ศพั ทน ี้ เปน ตทั ธติ กไ็ ด. 281

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 282 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ทีปก า เปน ทิปฺ ธาตุ ในความสองสวา ง ลง อิก ปจ จยั ทฆี ะอิ ท่ี ทิ เปน อี ว.ิ วา ทิปฺปตี-ติ ทีปกา. (ธรรมชาติใด) ยอมสองสวาง เหตุน้ัน (ธรรมชาติน้ัน) ช่ือวา ผูสองสวา ง. ศพั ทนี้มไิ ดใชลงในอรรถวา ควร และใชเปน รูปอติ ถลี ิงคเสมอ. ๔. ณกุ ปจ จยั ปจจยั นีม้ ีนิยมใชเ ปนกัตตรุ ปู กตั ตุสาธนะ. และใชล งในอรรถแหง ตสั สลี สาธนะ. เชน อุ. การุโก เปน กรฺ ธาตุ ในความทำลง ณุก ปจจัย เพราะปจจัยนี้เปนปจจัยท่ี เนื่องดวย ณ จึงมีอำนาจใหทีฆะ อ ตนธาตุเปน อา และลบ ณ เสีย วิ. วา กโรติ สีเลนา-ติ การโุ ก. (ชนใด) ยอมทำ โดยปกติ เหตุนัน้ (ชนน้นั ) ชอ่ื วา ผทู ำโดยปกต.ิ กามโุ ก เปน กามฺ ธาตุ ในความใคร ลง ณกุ ปจ จยั ว.ิ วา กามติ สเี ลนา-ติ กามุโก. (ชนใด) ยอ มใคร โดยปกติ เหตนุ นั้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา ผใู ครโ ดยปกติ. ๕. ตยฺย ปจ จัย ปจจัยน้ี เมอื่ ลงประกอบกบั ธาตุแลว มีลักษณะเชน เดยี วกนั กบั พวกกจิ จปจ จัย เพราะเปนได ๒ สาธนะเหมือนกัน คือ เปนกัมมสาธนะก็ได ภาวสาธนะก็ได และ มอี ำนาจหนาท่ที ่ีจะตอ งทำกับธาตุดงั นี้ คอื :- ๑. ธาตุตวั เดยี วคงไวต ามเดิม. ๒. ธาตุสองตัวแปลงที่สดุ ธาต.ุ ๓. แปลง ต แหง ตยยฺ เปนอยา งอ่นื แลว ลบที่สดุ ธาตุ. ๑. ธาตุตัวเดียวคงไวตามเดิม เชน อุ. วา าตยฺย เปน าธาตุ ในความรู ลง ตยฺย ปจจัย คงธาตุไว วิ. วา าตพฺพนฺ-ติ าตยฺย. (คุณชาตใด) (เตน อันเขา) พึงรู เหตุนน้ั (คุณชาตนนั้ ) ชอ่ื วา อนั เขาพงึ ร.ู ปาตยฺย เปน ปา ธาตุ ในความด่ืม ลง ตยฺย ปจจัย คงธาตุไว วิ. วา ปาตพพฺพนฺ-ติ ปาตยฺย. (น้ำใด) (เตน อันเขา) พึงด่ืม เหตุนั้น (น้ำนั้น) ช่ือวา อนั เขาพึงด่มื . ท้ัง ๒ นี้เปน กัมมรูป กัมมสาธนะ. ๒. ธาตุสองตัวแปลงท่ีสุดธาตุ เชน อุ. วา ปตฺตยฺย เปน ปทฺ ธาตุ ใน ความถงึ ลง ตฺยย ปจจัย แปลง ทฺ ทสี่ ดุ ธาตุเปน ตฺ หรอื จะเรียกวาลบ ทฺ ซอ น ตฺ กไ็ ด 282

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 283 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ว.ิ วา ปตฺตพฺพนฺ-ติ ปตตฺ ยยฺ . (ทใี่ ด) (เตน อนั เขา) พงึ ถึง เหตนุ ้นั (ที่นั้น) ช่อื วา อัน เขาพึงถงึ . เปนกัมมรปู กัมมสาธนะ. ๓. แปลง ต แหง ตยฺย เปนอยางอ่ืน แลวลบที่สุดธาตุ ลักษณะนี้ อนุโลมตาม ต ปจ จัยในกิริยากิตกไดป ระการ เชน :- ก. ธาตมุ ี สฺ เปน ท่สี ุด แปลง ต เปน ฏ อ.ุ ทฏ ยยฺ  เปน ทสิ ฺ ธาตุ ลง ตยยฺ ปจ จยั แปลง ต เปน ฏ ลบ อิ ท่ี ทิ เสยี แลว ลบ ทสี่ ดุ ธาตุ ว.ิ วา ทฏ พพฺ น-ติ ทฏยฺย (รูปใด) (เตน อันเขา) พึงเห็น เหตุนั้น (รูปน้ัน) ช่ือวา อันเขาพึงเห็น. ศัพทน้ีในมูล กัจจายนท านกลา ววา เอา ต แหง ตยยฺ เปน รฏ ลบ ส ท่ีสดุ ธาตุ และ ร แหง รฏ เสยี พรอมท้ังลบ อิ ที่ ทิ ดว ย. แตท แ่ี สดงไวนั้น เหน็ พออนโุ ลมตามหลกั ของ ต ปจจยั ในกริ ิยากิตกก็ได และเปนการงายทีจ่ ะจดจำ เพราะมหี ลักอยแู ลว จึงแสดงไวเ ชน นน้ั . ข. ธาตุมี ภฺ เปนที่สุด แปลง ต เปน ทฺธ อุ. ลทฺธยฺย เปน ลภฺ ธาตุ ใน ความได ลง ตยฺย ปจจัย แปลง ต เปน ทฺธ แลวลบท่ีสุดธาตุ วิ. วา ลภิตพฺพนฺ-ติ ลทธฺ ยยฺ  (สิ่งใด) (เตน อันเขา) พึงได เหตุนั้น (สิ่งน้ัน) ชื่อวา อันเขาพึงได ทั้ง ๒ นี้ เปน กมั มรปู กัมมสาธนะ. ๖. ตุก ปจ จัย ปจจัยน้ี เทาปรากฏเห็น ลงไดเฉพาะ คมฺ ธาตุ มี อา เปนบทหนาตัวเดียว เทา นน้ั เชน อ.ุ วา อาคนตฺ โุ ก เปน อา บทหนา คมฺ ธาตุ ในความไป ลง ตกุ ปจจยั แปลง มฺ ท่ีสุดธาตุ เปน นฺ วิ. วา อาคจฉฺ ต-ี ติ อาคนตฺ ุโก (ภิกษุใด) ยอ มมา เหตุน้นั (ภิกษนุ น้ั ) ช่ือวา ผมู า. เปน กัตตรุ ูป กัตตุสาธนะ. ๗. ม ปจ จัย ปจ จัยน้ี ใชล งไดทกุ ธาตแุ ละทกุ สาธนะ มไิ ดจำกัด เชน อุ. วา ทโุ ม. เปน ทุ ธาตุ ในความเจริญ ลง ม ปจจัย วิ. วา ทวต-ี ติ ทโุ ม. (ตนไมใด) ยอมเจริญ เหตุนั้น (ตนไมน นั้ ) ชอื่ วา ผเู จรญิ . เปน กตั ตุรูป กตั ตสุ าธนะ. อีกนัยเปน ทุ ธาตุ ในความเบียดเบียน วิ. วา ทุนียตี-ติ ทุโม. (ตนไมใด) (เตน อนั เขา) ยอ มเบยี ดเบยี น เหตนุ น้ั (ตน ไมน น้ั ) ชอ่ื วา ผอู นั เขาเบยี ดเบยี น. เปน กมั มรปู กมั มสาธนะ. 283

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 284 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ถาโม เปน า ธาตุ ในความตง้ั อยู ลง ม ปจ จยั แปลง า เปน ถา วิ. วา าตี-ติ ถาโม. (สภาพใด) ยอมตั้งอยู เหตุน้ัน (สภาพนั้น) ช่ือวา ผูต้ังอยู. ถือเอา ความวา “เรย่ี วแรง” เปน กัตตุรูป กตั ตสุ าธนะ. ๘. ร ปจจยั ปจจัยน้ี เม่ือประกอบกับธาตุแลว มีอำนาจใหลบที่สุดธาตุไดและลบตัวเอง ดวย ถึงปจจัยอื่นท่ีเนื่องดวย ร ก็มีนัยเชนเดียวกัน เชน อุ. วา อนฺตโก เปน อนฺต (ทส่ี ดุ) บทหนา กรฺ ธาตุ ในความทำ ลง ร ปจจยั ลบ รฺ ที่สุดธาตุ แลวลบ ร ปจจัยเสยี ว.ิ วา อนตฺ  กโรต-ี ติ อนฺตโก. (สภาพใด) ยอ มทำ ซงึ่ ท่ีสุด เหตนุ น้ั (สภาพน้นั ) ช่อื วา ผูทำซง่ึ ทสี่ ดุ . ถือเอาความวา “ความตาย” เปนกัตตรุ ปู กตั ตสุ าธนะ. ๙. รตฺถุ ปจจยั ปจ จัยนี้ นบั เปน ปจจัยทเ่ี นื่องดว ย ร เพราะฉะนัน้ เม่ือลงประกอบกับธาตแุ ลว จงึ มีอำนาจใหล บทส่ี ุดธาตไุ ด และ ลบ ร เสยี เชน อุ. วา วตฺถุ เปน วสฺ ธาตุ ในความอยู ลง รตถฺ ุ ปจ จยั ลบทสี่ ดุ ธาตุ และลบ ร เสยี ว.ิ วา วสติ เอตถฺ า-ติ วตถฺ .ุ (ชน) ยอมอยูใน ทีน่ ่นั เหตุนัน้ (ทนี่ น่ั ) ช่ือวา เปน ทีอ่ ยู (แหง ชน).เปน กตั ตุรปู อธกิ รณสาธนะ. สตฺถุ เปน สาสฺ ธาตุ ในความสอน ลง รตฺถุ ปจ จัย ลบท่ีสดุ ธาตุน้ัน และลบ ร เสีย วิ. วา สาสตี-ติ สตฺถา (ชนใด) ยอมสอน เหตุนั้น (ชนน้ัน) ช่ือวา ผูสอน. เปน กตั ตรุ ูป กตั ตสุ าธนะ. ๑๐. รมมฺ ปจจยั ปจ จยั นี้ นับวาเปนปจจยั ทเ่ี นื่องดว ย ร จงึ มีอำนาจและหนา ท่ีเชน เดียวกบั ร ปจ จยั เชน อุ. วา กมฺม เปน กรฺ ธาตุ ลง รมฺม ปจจยั ลบ รฺ ทส่ี ุดธาตุ และลบ ร แหง รมฺม ดวย วิ. วา กาตพฺพนฺ-ติ กมฺม (กิจใด) (เตน อันเขา) พึงทำ เหตุนั้น (กิจนั้น) ชื่อวา อันเขาพึงทำ. เปน กัมมรปู กัมมสาธนะ. ธมฺโม เปน ธรฺ ในความทรงไว ลง รมฺม ปจจัย ลบ รฺ ที่สุดธาตุ และลบ ร แหง รมมฺ ดว ย ว.ิ วา ธาเรต-ี ติ ธมโฺ ม (สภาพใด) ยอ มทรงไว เหตนุ นั้ (สภาพนนั้ ) ช่อื วา ผทู รงไว. เปน กตั ตุรปู กตั ตสุ าธนะ. เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 284

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 285 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๑๑. รจิ ฺจ ปจจยั น้ีกเ็ ปน ปจ จัยที่เน่ืองดว ย ร เชน เดยี วกนั แตมีจำกัดใหล งไดเ ฉพาะ กรฺ ธาตุ เทา น้ัน เชน อ.ุ วา กิจฺจ เปน กรฺ ธาตุ ลง ริจฺจ ปจจัย ลบทสี่ ุดธาตุ และลบ ร แหง ริจฺจ เสีย วิ. วา กาตพฺพน-ติ กิจฺจ. (กรรมใด) (เตน อันเขา) พึงทำ เหตุนั้น (กรรมน้ัน) ชื่อวา อันเขาพงึ ทำ. เปนกมั มรูป กมั มสาธนะ. ๑๒. ริตุ ปจจัย นี้เปนปจจัยท่เี นอื่ งดวย ร เชน เดียวกัน มอี ำนาจและหนา ท่ีดังกลาวแลว เชน อ.ุ วา ธตี ุ เปน ธรฺ ธาตุ ในความทรงไว ลง รติ ุ ปจจยั ลบ รฺ ทสี่ ดุ ธาตุ และ ร แหง รติ ุ ทีฆะ อิ แหง ริ เปน อี ว.ิ วา ธรยิ เต-ติ ธตี า. (หญงิ สาวใด) (มาตาปตูหิ อันมารดาและ บิดาทั้งหลาย) ยอมทรงไว เหตุน้ัน (หญิงสาวน้ัน) ช่ือวา ผูอันมารดาและบิดาทรงไว. หมายความวา ธิดา หรือ ลูกหญิง. เปนกัมมรูป กัมมสาธนะ. เขากับปฐมาวิภัตติ เอกวจนะ แหงนาม เปน ธตี า แจกตามแบบ มาตุ โดยวธิ นี าม (๖๘). ปตุ เปน ปา ธาตุ ในความรักษา ลง รติ ุ ปจจยั ลบ อา ที่ ปา เสยี และลบ ร แหง ริตุ ดวย วิ. วา (ปุตฺต) ปาตี-ติ ปตา. (บุรุษใด) ยอมรักษา (ซึ่งบุตร) เหตุนั้น (บุรุษนั้น) ช่ือวา ผูรักษา (ซ่ึงบุตร). หมายความวา บิดา หรือ พอ. เปนกัตตุรูป กตั ตสุ าธนะ. เขา กบั ปฐมาวภิ ตั ติ เอกวจนะ แหง นาม เปน ปต า โดยวธิ นี าม (๖๗). ๑๓. รริ ิย ปจจยั นก้ี ็เปน ปจ จัยทีเ่ นื่องดวย ร ดงั ทีก่ ลาวแลว เชน อ.ุ วา กริ ิยา เปน กรฺ ธาตุ ในความทำ ลง ริริยา ปจจัย ลบ รฺ ที่สุดธาตุและ ร ตัวหนาแหงริริยาดวย ต้ัง วิ. วา กาตพพฺ น-ฺ ติ กริ ยิ า. (ธรรมชาตใิ ด) (เตน อนั เขา) พงึ ทำ เหตนุ นั้ (ธรรมชาตนิ น้ั ) ชื่อวา อันเขาพึงทำ. เปนกัมมรูป กัมมสาธนะ. หรือต้ังเปนภาวรูป ภาวสาธนะก็ได วิ. วา กรณ กิริยา. ความทำ ช่อื วา กริ ยิ า. ศพั ทน ้ีสำเร็จรปู แลว ใชเ ปน อิตถีลิงคเสมอ. 285

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 286 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๑๔. ราตุ ปจ จยั นีก้ ็เปนปจ จยั ทเี่ นื่องดว ย ร ดงั กลา วแลว เชน อุ. วา ภาตุ เปน ภาสฺ ธาตุ ใน ความกลาว ลง ราตุ ปจ จยั ลบ สฺ ทีส่ ดุ ธาตุ และ ร แหง ราตุ ปจ จยั ดวย ต้งั ว.ิ วา (ปุพฺเพ) ภาสตี-ติ ภาตา (ชนใด) ยอมกลาว ในกอน เหตุนั้น (ชนน้ัน) ชื่อวา ผกู ลา วกอ น. หมายความวา ผพู ูดไดกอน ไดแก พี่ชาย เขากบั ปฐมาวิภตั ติ เอกวจนะ แหง นาม เปน ภาตา แจกตามแบบ ปต ุ โดยวธิ นี าม (๖๗). ศพั ทว า ภาตุ น้ี เปน คำกลางๆ อาจหมายถึงพ่ีชายก็ได นองชายก็ได เม่ือจะใหมีความหมายตางกัน โดยมาก พี่ชาย ใช เชฏ เปน เชฏภาตุ พ่ชี าย. นองชายใช กนฏิ  นำหนาเปน กนิฏภาตุ นอ งชาย. ถาใชศัพทโดยเด่ียวและเปนเอก. หมายถึงพี่ชายโดยเฉพาะ และเปนรูป ภาติก ก็มี. ถา เปน พห.ุ แปลวา พ่ชี าย นอ งชาย รวมกนั . มาตุ เปน มนฺ ธาตุ ในความนับถือ ลง ราตุ ปจจัย ลบ นฺ ที่สุดธาตุและ ร แหง ราตุ ปจจัยดว ย ตั้ง วิ. วา (ธมฺเมน ปุตตฺ ) มาเนตี-ติ มาตา. (หญิงใด) ยอ มนบั ถอื (ซึ่งบุตร โดยธรรม) เหตุน้ัน (หญิงน้ัน) ช่ือวา ผูนับถือ (ซึ่งบุตร). หมายความวา มารดาหรอื แม. นเ้ี ปน กัตตรุ ปู กัตตุสาธนะ. เขากับปฐมาวิภตั ติ เอกวจนะแหง นามเปน มาตา โดยวธิ ีนาม (๖๘). ปจจัยทั้งหลายท่ีนำมาแสดงเหลานี้ พอเปนตัวอยางเฉพาะท่ีลงในบางศัพท เทาน้ัน นอกจากศัพทที่นำมาแสดงเปนอุทาหรณเหลาน้ีแลว ก็ยังอาจลงในศัพทอื่นได อีกมาก และศัพทที่ลงในปจจัยตัวหนึ่งแลว ยังอาจนำไปใชประกอบกับศัพทอื่นๆ ได อีก ขอน้ียอมแลวแตวาจะไดความในรูปและสาธนะอะไร เมื่อไมการขัดของทางปจจัย ซงึ่ บางตวั ทานจำกดั ใหล งเฉพาะธาตุและสาธนะแลว กน็ บั วา ใชได. จบปจจัยนอกแบบ จบนามกิตกแ ตเทา น้ี. 286

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 287 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò แบบประเมินผลตนเองกอ นเรยี น หนวยที่ ๙ วัตถปุ ระสงค เพื่อประเมินความรูเดิมของนกั เรียนเก่ยี วกับเรอื่ ง “ปจ จยั นามกิตก” คำส่งั ใหนกั เรยี นอานคำถาม แลว เขยี นวงกลมลอมรอบขอ คำตอบท่ีถูกตอ ง ท่ีสุดเพยี งขอ เดียว ๑. ปจจยั ในกติ ปจจยั นยิ มตั้งวเิ คราะหเ ปน รปู และสาธนะอะไร ? ก. กัตตุรปู กัตตสุ าธนะ ข. กัมมรปู กมั มสาธนะ ค. ภาวรูป ภาวสาธนะ ง. กัตตุรูป กรณสาธนะ ๒. ปจจยั ใดตอไปนมี้ ิไดจดั อยูในหมวดกติ ปจ จัย ? ก. ณี ข. ณวฺ ุ ค. ณยฺ ง. ตุ ๓. ปจจัยใดตอไปน้ีไมนิยมลงในอรรถแหงตัสสลี ะ ? ก. กวฺ ิ ข. ณี ค. ตุ ง. รู ๔. กฺวิ ปจจัย ลงแลวมีอำนาจหลายประการยกเวนขอใด ? ก. ลบตวั เองทงิ้ ข. ตอ งมบี ทหนา ค. ธาตตุ ัวเดยี วคงธาตไุ วตามเดิม ง. ธาตุ ๒ ตัวตน ธาตุเปนรัสสะใหพ ฤทธ์ิ ๕. บทตอไปน้ีคอื “ปุ ฺ+กร+ณี” สำเร็จรูปเปน อะไร ? ก. ปุฺกรี ข. ปุ ฺ การี ค. ปุ ฺกรณี ง. ปุ ฺการณี ๖. คำวา “ทายกิ า” มาจากธาตแุ ละปจจยั อะไร ? ก. ทา+กวฺ ิ ข. ทา+ณี ค. ทา+ณฺวุ ง. ทา+ตุ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 287

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 288 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๗. ณฺวุ ปจจยั เม่ือนำมาประกอบกบั ธาตุแลวมีอำนาจหลายประการยกเวนขอใด ? ก. แปลงเปน อก ข. ตนธาตุเปนรสั สะใหพ ฤทธ์ิ ค. ธาตุมี อา เปน ทสี่ ดุ แปลง อา เปน อาย ง. ธาตุ ๒ ตัว ใหลบทส่ี ุดธาตุ ๘. ศัพทใ ดตอ ไปน้ีมิไดสำเรจ็ มาจาก ตุ ปจจัย ? ก. อาจริยา รุกฺขา โลกา ข. วตฺตาโร กตตฺ าโร ขนฺตาโร ค. ชนฺตุ นตตฺ ุ เนตุ ง. โสตา ทาตา สรติ า ๙. ปจ จัยใดตอ ไปนีเ้ มื่อลงในธาตุ ๒ ตวั แลว มักลบทส่ี ุดธาตุ ? ก. ณี ข. ณฺวุ ค. ตุ ง. รู ๑๐. ปจจัยใดตอ ไปนนี้ ยิ มแปลหกั ฉฏั ฐีวภิ ตั ตลิ งในกรรม ? ก. กฺวิ ข. ณี ค. ณฺวุ ง. รู ๑๑. ปจจยั นามกิตกในกจิ จปจจยั นิยมประกอบวิเคราะหเปน รปู และสาธนะอะไร ? ก. กตั ตรุ ูป กัตตสุ าธนะ ข. กัตตุรปู กมั มสาธนะ ค. กัมมรูป กมั มสาธนะ ง. กมั มรูป กรณสาธนะ ๑๒. ปจ จัยใดตอไปนจ้ี ัดอยใู นหมวดกิจจปจ จยั ? ก. ข ณฺย ข. อ อิ ค. ณ เตฺว ง. ตุ ยุ ๑๓. ปจจยั คอื ข นยิ มบทหนา หลายตวั ยกเวน ขอใดตอไปน้ี ? ก. ทุ ข. สํ ค. อสี ง. สุ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 288

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 289 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๑๔. ณฺย ปจ จยั เมอ่ื ลงกบั ธาตแุ ลวมีอำนาจหลายประการยกเวนขอใด ? ก. ลบ ณฺ แลว แปลง ย กบั พยัญชนะทธี่ าตุ ข. ข. ธาตมุ ี อา เปน ที่สดุ แปลง ณยฺ เปน เอยยฺ ค. แปลง ณยฺ กับ อู แหง ภู ธาตุ เปน อพฺพ ง. ลบ ย แลวคง ณฺ ไวบ าง ๑๕. คำวา “ว+ิ า+ณยฺ ” สำเร็จรูปเปน อะไร ? ก. วิายํ ข. วิาณฺยํ ค. วิเฺ ยยฺ ํ ง. วิ ฺาณํ ๑๖. อิ ปจ จยั นยิ มลงกับธาตตุ วั ใด ? ก. ทา ธา ข. กรฺ มรฺ ค. ปจฺ ภุชฺ ง. จนิ ฺตฺ มนฺตฺ ๑๗. ปจจยั นามกิตกห มวดกิตปจ จัยมีเทาไร ? ก. ๒ ตวั ข. ๓ ตวั ค. ๕ ตวั ง. ๗ ตวั ๑๘. ศัพทใ ดตอ ไปนม้ี ไิ ดลง ณ ปจ จัย ? ก. ทาโย โสโก ข. สงฺขาโร จาโค ค. สมโณ คหณํ ง. ปรวิ าโร อาพาโธ ๑๙. ปจจัยในกิตกิจจปจ จัยเปนรูปและสาธนะใดไมได ? ก. กตั ตุรปู กตั ตุสาธนะ ข. กตั ตุรูป กัมมสาธนะ ค. กมั มรปู กรณสาธนะ ง. กมั มรูป ภาวสาธนะ ๒๐. ปจ จยั ในนามกติ กต ัวใดถา มกี รรมเปนบทหนา ใหลง นุ อาคม ? ก. กฺวิ ข. อ ค. ณฺย ง. ตุ ๒๑. ปจ จยั นามกติ กใดไมเ ปนรปู และสาธนะอะไรเลย ? ก. ข ณฺย ข. อ อิ ค. เตฺว ตุ ง. ติ ยุ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 289

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 290 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๒๒. ปจจัยตวั ใดนิยมแปลหกั ฉฏั ฐวี ิภัตติลงในอรรถแหงทุตยิ าวิภตั ติ ? ก. กฺวิ ณยฺ ติ ข. ณี รู ข ค. ณวฺ ุ ตุ ยุ ง. อ อิ ณ ๒๓. ปจจยั ตอ ไปนีเ้ ม่ือลงแลว ตองแปลงเปน อน หรอื อณ เสมอ ? ก. เตฺว ข. ติ ค. ตุ ง. ยุ ๒๔. ตุ ปจ จยั ใชแทนวภิ ตั ตินาม ๒ วิภัตติคืออะไร ? ก. ทตุ ิยาวภิ ัตตแิ ละสตั ตมีวิภัตติ ข. ตติยาวิภตั ติและปญ จมีวภิ ัตติ ค. จตตุ ถีวภิ ัตตแิ ละฉัฏฐีวภิ ัตติ ง. ปฐมาวิภตั ติและจตุตถีวภิ ัตติ ๒๕. รปู วิเคราะหวา “พุชฌฺ ติ เอตายาติ พุทฺธิ” เปนรปู และสาธนะอะไร ? ก. กัตตรุ ปู กัตตสุ าธนะ ข. กตั ตุรูป กัมมสาธนะ ค. กตั ตรุ ปู กรณสาธนะ ง. กตั ตุรปู อธกิ รณสาธนะ ๒๖. ปจ จยั ตอไปน้ตี วั ใดมิใชปจจัยนอกแบบในนามกติ ก ? ก. ยิร ปฺป อี ข. ณกุ ตยฺย ตุก ค. รตถฺ ุ รมฺม ริจฺจ ง. อาวี อิน อกิ ๒๗. รปู วิเคราะหว า “ภยํ ปสสฺ ติ สีเลนาติ ภยทสสฺ าวี” เปน รูปและสาธนะอะไร ? ก. กตั ตรุ ูป กตั ตุสาธนะ ข. กตั ตุรปู ตัสสีลสาธนะ ค. สมาสรูป ตสั ลลี สาธนะ ง. กัตตรุ ูป อปาทานสาธนะ ๒๘. คำวา “โอปนยโิ ก – ควรเพ่อื อนั นำเขาไป(ในตน)” มีวิเคราะหว าอยา งไร ? ก. อปุ เนติ สเี ลนาติ โอปนยโิ ก ข. อปุ เนตุ สลี มสสฺ าติ โอปนยโิ ก ค. อุปเนตุ อิจฺฉตตี ิ โอปนยิโก ง. อปุ เนตุ ภพโฺ พติ โอปนยโิ ก ๒๙. ปจ จัยใดตอ ไปนเี้ มอื่ ลงแลว ไมมอี ำนาจลบท่สี ดุ ธาตุ ? ก. ณฺวุ ข ยุ ข. ริจฺจ รติ ุ ริรยิ ค. ราตุ กวฺ ิ รู ง. ร รตถฺ ุ รมฺม ๓๐. คำวา “มาตุ – ผนู ับถอื (ซึ่งบตุ รโดยธรรม)” มาจากธาตแุ ละปจ จยั อะไร ? ก. นมฺ+ตุ ข. มน+ฺ ราตุ ค. มนฺตฺ+รู ง. มร+ตุ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 290

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 291 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๓๑. อิ ปจจัย นิยมลงกับธาตุตวั ใด ? ก. ทา ธา ข. ปจฺ ภุชฺ ค. กรฺ มรฺ ง. จนิ ตฺ ฺ มนฺตฺ ๓๒. ปจจยั นามกติ กห มวดกติ กจิ จปจจัยมีเทาไร ? ก. ๓ ตวั ข. ๕ ตวั ค. ๑๔ ตัว ง. ๗ ตวั ๓๓. ศพั ทใดตอไปนี้มิไดลง ณ ปจ จยั ? ก. ทาโย โสโก ข. ปรวิ าโร อาพาโธ ค. สมโณ คหณํ ง. สงฺขาโร จาโค ๓๔. ปจ จยั ในกิตกิจจปจ จยั เปนรปู และสาธนะใดไมได ? ก. กมั มรปู กรณสาธนะ ข. กัตตรุ ูป กัมมสาธนะ ค. กัตตุรปู กัตตุสาธนะ ง. กมั มรปู ภาวสาธนะ ๓๕. ปจจัยในนามกิตกตวั ใดถา มีกรรมเปน บทหนา ใหล ง นุ อาคม ? ก. ณยฺ ข. อ ค. กวฺ ิ ง. ตุ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 291

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 292 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò แบบประเมนิ ผลตนเองหลังเรียน หนว ยท่ี ๙ วตั ถุประสงค เพือ่ ประเมินผลความกาวหนาของนักเรียนเกย่ี วกบั เรื่อง “ปจจยั นามกติ ก” คำสงั่ ใหนักเรยี นอานคำถาม แลวเขียนวงกลมลอมรอบขอ คำตอบที่ถูกตอง ทีส่ ุดเพียงขอ เดียว ๑. ปจ จัยในกิตปจ จัย นยิ มตงั้ วเิ คราะหเปน รูปและสาธนะอะไร ? ก. กมั มรปู กมั มสาธนะ ข. กัตตรุ ปู กรณสาธนะ ค. กตั ตรุ ปู กัตตุสาธนะ ง. ภาวรปู ภาวสาธนะ ๒. ปจจยั ใดตอ ไปนี้มไิ ดจ ดั อยูใ นหมวดกติ ปจ จัย ? ก. ตุ ข. ณยฺ ค. ณี ง. ณฺวุ ๓. ปจจัยใดตอไปนไ้ี มน ิยมลงในอรรถแหงตสั สลี ะ ? ก. ตุ ข. รู ค. ณี ง. กฺวิ ๔. กฺวิ ปจ จัย ลงแลว มอี ำนาจหลายประการยกเวนขอใด ? ก. ธาตุ ๒ ตวั ตนธาตเุ ปนรสั สะใหพฤทธิ์ ข. ธาตตุ ัวเดียวคงธาตไุ วต ามเดิม ค. ลบตวั เองทิ้ง ง. ตองมบี ทหนา ๕. บทตอไปนีค้ ือ “ปุ ฺ+กร+ณี” สำเร็จรูปเปนอะไร ? ก. ปุฺกรณี ข. ปุฺ การณี ค. ปุฺ การี ง. ปุ ฺ กรี ๖. คำวา “ทายิกา” มาจากธาตแุ ละปจจัยอะไร ? ก. ทา+ณี ข. ทา+ตุ ค. ทา+กวฺ ิ ง. ทา+ณวฺ ุ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 292

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 293 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๗. ณฺวุ ปจจยั เมอื่ นำมาประกอบกบั ธาตุแลวมีอำนาจหลายประการยกเวน ขอใด ? ก. ธาตมุ ี อา เปนทส่ี ดุ แปลง อา เปน อาย ข. ธาตุ ๒ ตัว ใหลบทีส่ ดุ ธาตุ ค. ตนธาตุเปน รัสสะใหพ ฤทธิ์ ง. แปลงเปน อก ๘. ศัพทใ ดตอไปน้มี ไิ ดส ำเร็จมาจาก ตุ ปจจยั ? ก. วตตฺ าโร กตฺตาโร ขนตฺ าโร ข. อาจรยิ า รกุ ฺขา โลกา ค. โสตา ทาตา สริตา ง. ชนตฺ ุ นตตฺ ุ เนตุ ๙. ปจจยั ใดตอไปนเี้ มือ่ ลงในธาตุ ๒ ตัวแลว มักลบที่สดุ ธาตุ ? ก. รู ข. ตุ ค. ณี ง. ณวฺ ุ ๑๐. ปจจัยใดตอไปนี้นยิ มแปลหกั ฉฏั ฐวี ภิ ตั ตลิ งในกรรม ? ก. ณี ข. รู ค. กฺวิ ง. ณวฺ ุ ๑๑. ปจจยั นามกิตกใ นกิจจปจจัยนยิ มประกอบวิเคราะหเปน รูปและสาธนะอะไร ? ก. กัตตุรูป กัมมสาธนะ ข. กตั ตรุ ูป กัตตสุ าธนะ ค. กมั มรปู กรณสาธนะ ง. กมั มรูป กัมมสาธนะ ๑๒. ปจจัยใดตอ ไปนจ้ี ดั อยใู นหมวดกจิ จปจ จัย ? ก. อ อิ ข. ณ เตวฺ ค. ข ณฺย ง. ตุ ยุ ๑๓. ปจจยั คือ ข นยิ มบทหนาหลายตัวยกเวนขอใดตอ ไปนี้ ? ก. อสี ข. สุ ค. ทุ ง. สํ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 293

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 294 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๑๔. ณฺย ปจ จัยเม่อื ลงกับธาตุแลวมอี ำนาจหลายประการยกเวนขอใด ? ก. ลบ ย แลวคง ณฺ ไวบ าง ข. แปลง ณยฺ กบั อู แหง ภู ธาตุ เปน อพฺพ ค. ลบ ณฺ แลวแปลง ย กับพยัญชนะทีธ่ าตุ ง. ธาตุมี อา เปนท่ีสดุ แปลง ณฺย เปน เอยยฺ ๑๕. คำวา “วิ+า+ณยฺ ” สำเร็จรปู เปน อะไร ? ก. วิ าณฺยํ ข. วิฺเยยฺ ํ ค. วิฺ าณํ ง. วิายํ ๑๖. ททุ ฺทสํ มวี ิเคราะหวาอยางไร ก. ทุกฺเขน ทฏ พโฺ พ-ติ ททุ ฺทสํ. ข. ทกุ ฺเขน ทสฺเสต-ี ติ ททุ ทฺ สํ. ค. ทกุ ฺเขน ปสฺสยิ เต-ติ ทุทฺทส.ํ ง. ทุกฺเขน เทเสต-ี ติ ทุททฺ สํ. ๑๗. นามกิตกบทใดตอ ไปน้ี ไมไดลง ข ปจจัย ก. สุวโจ ข. ทกุ ฺขํ ค. สชุ ีวํ ง. อสี กฺกรํ ๑๘. ปพพฺ ชชฺ า มีวเิ คราะหว าอยางไร ก. ปพฺพชนฺตี-ติ ปพพฺ ชชฺ า. ข. ปพฺพชิตํุ สลี มสสฺ า-ติ ปพพฺ ชชฺ า. ค. ปพฺพาเชติ สเี ลนา-ติ ปพฺพชฺชา. ง. ปพฺพชิตพฺพนฺ-ติ ปพฺพชฺชา. ๑๙. นามกติ กบทใดตอ ไปนี้ ไมไดล ง ณยฺ ปจ จยั ก. ทายํ ข. เทยฺยํ ค. อิจฺฉา ง. คมฺมํ ๒๐. รปู วิเคราะหตอไปน้ี เปน รปู และสาธนะอะไร วิ. “จรณํ จริยา.” ก. กัตตุรปู กัตตุสาธนะ ข. สมาสรูป ตัสสลี ะสาธนะ ค. กัมมรปู กมั มสาธนะ ง. ภาวรูป ภาวสาธนะ ๒๑. ปจ จยั นามกติ กใดไมเ ปน รูปและสาธนะอะไรเลย ? ก. ข ณฺย ข. เตวฺ ตุ ค. อ อิ ง. ติ ยุ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 294

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 295 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๒๒. ปจจยั ตวั ใดนิยมแปลหกั ฉัฏฐีวิภัตตลิ งในอรรถแหง ทุตยิ าวภิ ตั ติ ? ก. ณวฺ ุ ตุ ยุ ข. ณี รู ข ค. กวฺ ิ ณฺย ติ ง. อ อิ ณ ๒๓. ปจจยั ตอไปน้เี มอื่ ลงแลวตอ งแปลงเปน อน หรอื อณ เสมอ ? ก. ติ ข. ยุ ค. ตุ ง. เตวฺ ๒๔. ตุ ปจ จัยใชแทนวภิ ตั ตินาม ๒ วิภตั ตคิ ืออะไร ? ก. ปฐมาวภิ ัตติและจตตุ ถีวิภัตติ ข. ตติยาวิภตั ติและปญจมีวภิ ัตติ ค. จตตุ ถวี ภิ ัตติและฉฏั ฐีวภิ ัตติ ง. ทตุ ิยาวภิ ัตตแิ ละสตั ตมีวภิ ตั ติ ๒๕. รูปวเิ คราะหวา “พชุ ฺฌติ เอตายาติ พุทธฺ ิ” เปน รปู และสาธนะอะไร ? ก. กัตตรุ ปู อธกิ รณสาธนะ ข. กัตตรุ ปู กรณสาธนะ ค. กตั ตุรปู กมั มสาธนะ ง. กตั ตุรูป กตั ตุสาธนะ ๒๖. ปจ จัยตอไปน้ีตวั ใดมิใชปจจัยนอกแบบในนามกติ ก ? ก. ณุก ตยฺย ตกุ ข. รตถฺ ุ รมมฺ รจิ ฺจ ค. ยริ ปฺป อี ง. อาวี อนิ อิก ๒๗. รูปวเิ คราะหว า “ภยํ ปสสฺ ติ สีเลนาติ ภยทสฺสาว”ี เปน รปู และสาธนะอะไร ? ก. กตั ตรุ ปู อปาทานสาธนะ ข. กตั ตุรปู กัตตุสาธนะ ค. สมาสรปู ตสั ลลี สาธนะ ง. กัตตรุ ูป ตัสสลี สาธนะ ๒๘. คำวา “โอปนยิโก – ควรเพ่ืออันนำเขาไป(ในตน)” มวี เิ คราะหวาอยางไร ? ก. อปุ เนตุ สลี มสฺสาติ โอปนยิโก ข. อปุ เนตุ อิจฉฺ ตตี ิ โอปนยิโก ค. อุปเนตุ ภพโฺ พติ โอปนยโิ ก ง. อปุ เนติ สเี ลนาติ โอปนยิโก ๒๙. ปจจยั ใดตอ ไปน้เี มื่อลงแลว ไมม ีอำนาจลบท่สี ุดธาตุ ? ก. ริจฺจ รติ ุ ริริย ข. ราตุ กวฺ ิ รู ค. ร รตฺถุ รมฺม ง. ณฺวุ ข ยุ ๓๐. คำวา “มาตุ – ผูน บั ถอื (ซงึ่ บุตรโดยธรรม)” มาจากธาตุและปจ จัยอะไร ? ก. มนฺตฺ+รู ข. มน+ฺ ราตุ ค. มร+ตุ ง. นม+ฺ ตุ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 295

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 296 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ๓๑. อิ ปจ จัย นยิ มลงกับธาตุตัวใด ? ก. กรฺ มรฺ ข. ปจฺ ภุชฺ ค. ทา ธา ง. จนิ ฺตฺ มนตฺ ฺ ๓๒. ปจจยั นามกติ กห มวดกิตกิจจปจ จัยมีเทา ไร ? ก. ๓ ตัว ข. ๕ ตัว ค. ๗ ตวั ง. ๑๔ ตัว ๓๓. ศพั ทใดตอ ไปนม้ี ไิ ดลง ณ ปจจยั ? ก. สมโณ คหณํ ข. ปรวิ าโร อาพาโธ ค. ทาโย โสโก ง. สงฺขาโร จาโค ๓๔. ปจ จยั ในกติ กจิ จปจ จัยเปนรปู และสาธนะใดไมไ ด ? ก. กมั มรูป กรณสาธนะ ข. กัมมรปู ภาวสาธนะ ค. กัตตุรปู กตั ตสุ าธนะ ง. กัตตุรูป กัมมสาธนะ ๓๕. ปจ จยั ในนามกติ กต วั ใดถา มกี รรมเปน บทหนา ใหล ง นุ อาคม ? ก. อ ข. ณยฺ ค. กวฺ ิ ง. ตุ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 296

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 297 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เฉลยแบบประเมนิ ผลตนเอง หนว ยที่ ๙ ขอ กอนเรยี น หลังเรียน ๑. ก ค ๒. ค ข ๓. ก ง ๔. ง ก ๕. ข ค ๖. ค ง ๗. ง ข ๘. ก ข ๙. ง ก ๑๐. ค ง ๑๑. ค ง ๑๒. ก ค ๑๓. ข ง ๑๔. ง ก ๑๕. ค ข ๑๖. ก ค ๑๗. ค ข ๑๘. ค ง ๑๙. ง ก ๒๐. ข ง เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 297

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 298 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ขอ กอ นเรียน หลงั เรยี น ๒๑. ค ข ๒๒. ค ก ๒๓. ง ข ๒๔. ง ก ๒๕. ค ข ๒๖. ก ค ๒๗. ข ง ๒๘. ง ค ๒๙. ก ง ๓๐. ข ข ๓๑. ก ค ๓๒. ง ค ๓๓. ค ก ๓๔. ง ข ๓๕. ข ก เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 298

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 299 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò แบบฝก หดั ประเมินผลนักเรยี น เร่ือง “กิตก” รวมหนว ยที่ ๗–๙ จุดประสงค เพ่ือประเมินความรูความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับเร่ือง “กิตก” หนว ยการเรียนการสอนที่ ๗–๙ คำสั่ง แบบฝกหัดท้ังหมดมี ๓ ตอน ใหเวลาในการทำแบบฝกหัด รวม ๓ ชว่ั โมง ตอนที่ ๑ ใหน ักเรยี นตอบคำถามตอไปน้ีใหถกู ตอง (ขอละ ๑๐ คะแนน) ตอนที่ ๒ ใหนักเรียนอานคำถามแลวเขียนวงกลมลอมรอบขอคำตอบ ท่ถี กู ตอ งท่ีสุดเพยี งขอเดียว (ขอละ ๒ คะแนน) ตอนท่ี ๓ ใหนักเรียนทำเคร่ืองหมายถูก ( ) หนาขอที่ถูกตองและ ทำเคร่อื งหมายผิด ( ) หนาขอทีผ่ ิด (ขอละ ๑ คะแนน) ตอนท่ี ๑ ใหน กั เรยี นตอบคำถามตอ ไปนใี้ หถ กู ตอ ง (ปญ หามี ๕ ขอ ๆ ละ ๑๐ คะแนน) ๑. อะไรเรียกวา กติ ก ? มเี ทา ไร ? อะไรบา ง ? ๒. ปจจัยในกิริยากิตกมีเทาไร ? อะไรบาง ? ปจจัยไหนบอกกาลอะไร และมี คำแปลวาอะไร ? ๓. ปจ จยั กริ ิยากิตกในหมวดกิตปจจัยเปน ไดก ่วี าจก ? อะไรบาง ? และปจจัยกิริยา กิตกตัวใดบางที่ใชเปนนามกิตกได จงตอบพรอมตัวอยาง ? ทิฏโ,อุปปชช แปลวา อะไร สำเรจ็ มาจากธาตุ และปจจยั อะไร ? ๔. อะไรเรียกวาสาธนะ ? มีเทาไร ? อะไรบาง ? เฉพาะอปาทานสาธนะ หมายความวาอะไร และมีคำแปลประจำสาธนะวาอะไร ? ๕. ปจจัยนามกิตกหมวดกิจจปจจัยมีเทาไร ? อะไรบาง ? และเปนไดกี่รูป ? ก่ีสาธนะ ? อะไรบาง ? ปจจัยนามกิตกตัวใดท่ีใชเปนกิริยากิตกได จงตอบ พรอมตัวอยาง ? นิสสโย ลงปจจัยอะไร ? เปนรูปและสาธนะอะไร ? และ มีวเิ คราะหวา อยา งไร ? เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 299

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 300 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ตอนที่ ๒ ใหน ักเรียนอา นคำถามแลว เขยี นวงกลมลอ มรอบขอ คำตอบทถี่ ูกตองทสี่ ุด เพยี งขอ เดยี ว (ปญหามี ๒๕ ขอๆ ละ ๒ คะแนน) ๑. กติ กม วี เิ คราะหว าอยา งไร ? ก. กิตปจจฺ เยน กรี ยิ เตติ กติ โก ข. กติ ปจจฺ เยน กรี ตตี ิ กิตโก ค. กติ ปจจฺ เยน กรี ติ เอเตนาติ กิตโก ง. กิตปจฺจเยน กรี ติ เอตถฺ าติ กิตโก ๒. ในกิริยากติ กแบงวาจกออกเปน เทาไร ? ก. ๓ ข. ๔ ค. ๕ ง. ๖ ๓. ปจ จัยใดตอ ไปนีเ้ ปน กตั ตุวาจกและเหตกุ ัตตุวาจก ไดเ ทา น้ัน ? ก. อนยี , ตพฺพ ข. อนฺต, ตวนตฺ ,ุ ตาวี ค. มาน, ต ง. ตนู , ตฺวา, ตฺวาน ๔. า ธาตุ ประกอบกบั ตวนฺตุ ปจจัย ในปุลิงค ปฐมาวิภัตติ เอกวจนะ ไดร ปู เปน อะไร ? ก. ชานิตวา ข. ชานติ วนตฺ ุ ค. ชานิตวตี ง. ชานิตวนตฺ ํ ๕. ปจ จัยใดตอไปน้ไี มน ยิ มใชเปนภาววาจก ? ก. อนยี ข. ตพพฺ ค. มาน ง. ต ๖. ปจจัยใดตอ ไปนเ้ี ปน อพั พยศพั ท (แจกดว ยวิภตั ตินามไมได) ? ก. อนตฺ มาน ข. อนีย ตพฺพ ค. ต ตวนตฺ ุ ตาวี ง. ตูน ตวฺ า ตวฺ าน ๗. ตพพฺ ปจ จยั ทเ่ี ปนอิตถลี งิ ค แจกตามแบบอะไร ? ก. อา การันต (กฺ า) ข. อี การนั ต (นาร)ี ค. อุ การันต (รชชฺ )ุ ง. อู การันต (วธู) เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 300


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook