Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาขยาต-กิตก์

อาขยาต-กิตก์

Description: อาขยาต-กิตก์

Search

Read the Text Version

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 51 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò แผนการสอนบาลไี วยากรณ หนวยที่ ๔ เร่ือง ธาตุ เวลาทำการสอน ๓ คาบ สาระสำคัญ บรรดาศัพทน ามและกิริยาท่ปี รากฏอยูในปกรณตาง ๆ นั้น กอนท่ีจะสำเร็จรูป มาเปนศัพทท่ีสมบูรณ เพ่ือจะนำไปใชในที่น้ัน ๆ ลวนแตมีมูลรากของศัพทมากอน ทง้ั สน้ิ ซึ่งมลู รากของศพั ทด งั กลา วน้ี ทางภาษาบาลีเรียกวา “ธาตุ” จุดประสงค ๑. เพือ่ ใหนกั เรียนรแู ละเขา ใจความหมายของธาตุ ๒. เพอ่ื ใหนักเรียนรูวธิ ีใชและจำแนกแบงประเภทของธาตไุ ด ๓. เพอ่ื ใหนกั เรียนนำธาตุไปใชไดถูกตอง เน้อื หา ๑. ธาตุ ๒. ประเภทของธาตโุ ดยยอ และพสิ ดาร ๓. การจัดวาจกในธาตุ ๔. ศัพทพเิ ศษสำหรบั นำหนาธาตุ ๕. การใชอปุ สัคนำหนาธาตุ 51

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 52 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) กิจกรรม ๑. ประเมินผลกอนเรยี น ๒. ใหนกั เรียนทอ งธาตุ ๓. ครนู ำเขา สูบทเรยี น และอธบิ ายเนื้อหา ๔. บตั รคำ ๕. ครูสรปุ เนอื้ หาทัง้ หมด ๖. ประเมนิ ผลหลงั เรียน ๗. ใบงาน - ใหน กั เรยี นแจกธาตแุ ละบอกชนดิ ของธาตทุ กี่ ำหนดใหเ ปน การบา น ๘. กจิ กรรมเสนอแนะ - ใหนกั เรียนทองแมแบบใหได - ใหนักเรียนแจกธาตแุ ละบอกชนิดของธาตุ (สัง่ เปน การบา นดว ย) สือ่ การสอน ๑. ตำราทีใ่ ชประกอบการเรียน-การสอน ๑.๑ หนงั สือพระไตรปฎ ก ๑.๒ หนังสอื พจนานุกรมมคธ-ไทย โดย พนั ตรี ป. หลงสมบญุ สำนกั เรยี น วดั ปากนำ้ ๑.๓ หนังสอื พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ๑.๔ หนังสือพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท โดย พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยตุ โฺ ต) ๑.๕ หนงั สอื คมู อื บาลไี วยากรณ นพิ นธโ ดยสมเดจ็ พระมหาสมณเจา ฯ ๑.๖ หนงั สอื ปาลทิ เทศ ของสำนักเรยี นวัดปากนำ้ ๑.๗ คัมภรี อภิธานปั ปทปี ก า ๑.๘ หนังสอื พจนานุกรมธาตุ ภาษาบาลี 52

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 53 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๒. อปุ กรณท ี่ควรมีประจำหองเรยี น ๒.๑ กระดานดำ-แปรงลบกระดาน-ชอลก หรอื กระดานไวทบอรด ๒.๒ เครือ่ งฉายขามศีรษะ (Over-head) ๒.๓ คอมพวิ เตอร – โปรเจคเตอร ๓. บตั รคำ ๔. ใบงาน วิธวี ัดผล-ประเมนิ ผล ๑. สอบถามความเขาใจ ๒. สังเกตพฤติกรรมการมีสว นรวมในกจิ กรรม ๓. สังเกตความกาวหนาดา นพฤติกรรมการเรียนรูของผูเ รยี น ๔. ตรวจใบงาน ๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลกอ นเรยี น-หลงั เรียน 53

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 54 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ธาตุ บรรดาสรรพสิ่งตางๆ ตลอดถึงคนและสัตว ลวนตองมีส่ิงท่ีเปนมูลเดิม คือตอง ประกอบดวยส่ิงมูลรากประชุมกัน จึงเกิดเปนรูปรางขึ้นฉันใด แมกิริยาอาขยาตก็ ฉันนั้นที่จะสำเร็จเปนรูปขึ้น ลวนมีศัพทท่ีเปนมูลรากเปนตัวด้ังเดิม กลาวโดยท่ัวไป บรรดาศัพทกิริยาทั้งหมด ลวนตองมีศัพทท่ีเปนมูลรากเปนแดนเกิดกอนทั้งน้ัน ถึงแม ศัพทนามก็เชนกัน แตโดยท่ีศัพทนามเราใชกันมาจนชินเสียแลว จึงไมจำเปนตองคน ถึงศัพทที่เปนมูลราก ความจริงก็คงมาจากศัพทท่ีเปนมูลรากเชนเดียวกับกิริยา ถา ตองการทราบละเอียด ก็อาจคนหาศัพทท่ีเปนมูลรากได เชน เดยี วกนั เครอื่ งปรงุ อยา ง อน่ื มวี ภิ ตั ตเิ ปน ตน ทจี่ ะใชป ระกอบได ลว นตอ งประกอบที่ศัพทที่เปนมูลราก ถาขาด ศัพทที่เปนมูลรากเสียอยางเดียว เคร่ืองปรุงตางๆ ก็ไรป ระโยชน เพราะไมม ตี วั ตงั้ ให ประกอบ เมอื่ มศี พั ทท เ่ี ปน มลู ราก เครอ่ื งปรงุ ตา งๆ จึงเขาประกอบได เชนคำวา กโรต,ิ วทติ เปน ตน ศัพทที่เปนมูลรากเหลาน้ีเอง นักปราชญทางดานภาษาบาลีบัญญัติเรียกวา “ธาตุ” ซ่ึงธาตุน้ีเอง เมื่อจะนำไปใช ก็ตองประกอบดวย วิภัตติ และปจจัย ตอน้ัน วภิ ัตติ และปจ จัย จงึ เปน เครอ่ื งสองใหทราบถึง กาล บท วจนะ บรุ ษุ และวาจก อีกช้ัน หนงึ่ ๑. ความหมายของธาตุ คำวา “ธาตุ” น้ัน ไดมีนักวิชาการหลายแขนงใหความหมายไวแตกตางกัน ออกไป ดงั ตอไปนี้ คอื ธาตุ (วิ.) ผทู รงไว. ธา ธารเณ, ต.ุ ผตู ้งั ไว, ผูดำรงอยู. า คตินิวุตตฺ ิย,ํ ตุ. แปลง า เปน ธา. ธาตุ (ปุ.) พระธาดา คอื พระพรหม (พระผทู รงไว พระผูส รา ง ตามหลักของ ศาสนาพราหมณ). ธาตุ (ป.ุ ,อติ .) แร, แรต างๆ, กระดูก, ธาตุ (ทาด) มีความหมาย ดังนี้ คือ.- 54

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 55 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๑. สิง่ ทม่ี อี ยูตามธรรมดา จะแยกตอ ไปอกี ไมได ๒. สงิ่ ทเ่ี ปน ตน เดมิ เปน มลู เดมิ เปน รากของคำ เชน คมฺ ธาตุ ๓. กระดกู ของคนธรรมดาทเ่ี ผาแลว ไดใ นคำวา แปรธาตุ และ ๔. กระดูกของทานผูสิ้นกิเลสาสวะแลว คือพระสัมมาสมั พทุ ธเจา และพระอรหันตสาวก ไดในคำวา ธาตุเจดีย กระดูกของ คนธรรมดาไมบ รรจุเจดยี . คำน้ีเมื่อนำมาใชในภาษาไทยแลว จะมีคำนำหนากระดูกของ พระปจเจกพุทธเจาและพระอรหันตสาวก ใชวา พระธาตุ กระดูกของพระพุทธเจา ใชวา พระบรมธาตุ หรือพระบรม- สารีริกธาตุ. กระดูกของทานผูท่ียังไมส้ินกิเลสเปนสมุจเฉท- ปหาน ไมม ีสิทธ์ใิ ชคำวา พระธาต.ุ (พจนานกุ รม มคธ-ไทย โดย พนั ตรี ป. หลงสมบญุ สำนกั เรยี น วดั ปากน้ำ จดั พิมพ ๒๕๔๐ หนา ๓๖๖) ธาตุ ๑, ธาตุ- [ทาด, ทาตุ-, ทาดตุ-] น. ส่ิงที่ถือวาเปนสวนสำคัญที่คุมกัน เปนรางของสิ่งท้ังหลาย โดยท่ัว ๆ ไปเชื่อวามี ๔ ธาตุ ไดแก ธาตุดนิ ธาตนุ ำ้ ธาตไุ ฟ ธาตลุ ม แตก ็อาจมีธาตอุ น่ื ๆ อกี เชน อากาศธาตุ วิญญาณธาตุ ธาตุไม ธาตุเหล็ก. (ป.). ธาตุโขภ [ทาตุโขบ] น. ความกำเริบของธาตุ ไดแก ธาตุท้ัง ๔ ใน รางกายไมป กติ มอี าหารเสียเปน ตน . (ป.). ธาตเุ บา [ทาด-] ว. ทกี่ นิ ยาระบายออ น ๆ กถ็ า ย. ธาตหุ นกั [ทาด-] ว. ทต่ี องกินยา ระบายมาก ๆ จงึ จะถา ย. ธาตุ ๒ [ทาด, ทาตุ-] น. กระดูกของพระพุทธเจา พระปจเจกพุทธเจา และ พระอรหันต โดยทั่ว ๆ ไป เรียกรวม ๆ วา พระธาตุ, ถา เปน กระดกู ของพระพทุ ธเจา เรยี กพระบรมธาตุ หรือพระบรม- สารีริกธาตุ, ถาเปนกระดูกของพระอรหันต เรียกวา พระธาตุ, ถาเปนกระดูกสวนใดสวนหนึ่งของพระพุทธเจา ก็เรียกตาม ความหมายของคำนั้น ๆ เชน พระอุรังธาตุ พระทันตธาตุ, 55

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 56 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ถาเปนผมของพระพุทธเจาเรียกวา พระเกศธาตุ; ช่ือคัมภีร ในพระพทุ ธศาสนาซึง่ วาดว ยธาตุ เชน ธาตกุ ถา ธาตปุ าฐ. (ป., ส.); (ถิ่น – อีสาน) เจดียที่บรรจุกระดูกคนท่ีเผาแลว. ธาตุครรภ [ทาตคุ บั ] น. สว นสำคญั ของพระสถูป หรือพระปรางคท่ีบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุหรือพระธาตุไวภายใน, ครรภธาตุ หรือ เรือนธาตุ ก็วา. ธาตุเจดีย น. เจดียบรรจุพระธาตุ. ธาตุสถูป น. ธาตุเจดยี . ธาตุ ๓ [ทาด] (วิทยา) น. สารเนื้อเดียวลวนซ่ึงประกอบดวยบรรดา อะตอมที่มโี ปรตอนจำนวนเดยี วกนั ในนวิ เคลยี ส. ธาตุ ๔ [ทาด] น. รากศัพทของคำบาลีสันสกฤตเปนตน เชน ธาตุ มาจาก ธา ธาตุ สาวก มาจาก สุ ธาตุ กริ ยิ า มาจาก กฤฺ ธาต.ุ (พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ หนา ๔๒๓) ธาตุ ๑ สิ่งท่ีทรงสภาวะของมันอยูเองตามธรรมดาของเหตุปจจัย, ธาตุ ๔ คือ ๑.ปฐวีธาตุ สภาวะที่แผไปหรือกินเน้ือท่ี เรียกวา สามัญวาธาตุเขมแข็งหรือธาตุดิน ๒.อาโปธาตุ สภาวะที่ เอิบอาบดูดซึม เรียกสามัญวา ธาตุเหลวหรือธาตุน้ำ ๓.เตโชธาตุ สภาวะท่ีทำใหรอน เรียกสามัญวา ธาตุไฟ ๔.วาโยธาตุ สภาวะท่ีทำใหเคล่ือนไหว เรียกสามัญวา ธาตุลม; ธาตุ ๖ คือ เพ่ิม ๕.อากาศธาตุ สภาวะท่ีวาง ๖.วิญญาณธาตุ สภาวะทรี่ แู จง อารมณ หรอื ธาตุรู ธาตุ ๒ กระดูกของพระพุทธเจาและพระอรหันตทั้งหลาย เรียกรวม ๆ วาพระธาตุ (ถากลาวถึงกระดูกของพระพุทธเจาโดยเฉพาะ เรียกวา พระบรมธาตุ พระบรมสารีริกธาตุ หรือระบุชื่อ กระดกู สว นนนั้ ๆ เชน พระทาฐธาตุ) (พจนานกุ รมพทุ ธศาสนฉ บบั ประมวลศพั ท โดย พระธรรมปฎ ก (ป.อ. ปยุตฺโต) หนา ๑๑๓) 56

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 57 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ในหนังสือคูมือเลมน้ีจะใหความหมายของคำวา “ธาตุ” เชนเดียวกับ นกั วิชาการทานอน่ื ๆ คอื “ศัพทที่เปนมลู ราก” ศพั ทท เี่ ปน มลู ราก คอื เปน ตน เดมิ หรอื รากเหงา สำหรบั ใหเ ครอื่ งปรงุ เหลา อน่ื เขา ประกอบ เรียกวา “ธาตุ” ตามพยัญชนะแปลวา “ทรง” หมายความวา ทรงไวซ่ึง เนอื้ ความของตน ไดแ ก ทรงตวั อยเู ชน นน้ั จะแยกหรอื กระจายออกไปอกี ไมไ ด เนอื้ ความ ของตนมีอยูอยางไรก็คงเน้ือความไวเชนนั้น ไมเปล่ียนแปลง เวนแตบางคราวท่ีมี อุปสัคบางตัวนำหนา ก็อาจเปลี่ยนเน้ือความผิดไปจากเน้ือความเดิมได แตถาโดย ลำพังตัวแลว หาเปลี่ยนแปลงไม ๒. วิธีสังเกตธาตุ การท่ีเราจะสังเกตทราบไดวา ศัพทนี้เปนธาตุอะไร เพื่อท่ีจะไดทราบถึง คำแปลหรือความหมายเดิมของศัพท อันเปนการสะดวกแกการที่จะเขาใจเนื้อความได แนชัดนั้น ตองอาศัยการเขาใจในวิธีแยกศัพทกิริยาน้ันออกเปนสวน ๆ ท้ังตองทราบ เครื่องปรงุ ที่ประกอบกบั ธาตุ คอื วิภัตติ และปจจยั โดยละเอยี ดอีกดวย นอกจากนี้ ยงั มีศัพทอีกประเภทหนึง่ ที่ใชนำหนาธาตุ เพ่อื ทำเนื้อความของธาตุ ใหมีความหมายผิดจากเดิม หรือหนุนใหแรงข้ึน แลวแตศัพทน้ันจะมีความมุงหมายไป ในทางไหน ศพั ทน ค้ี ือ อุปสคั อุปสัคนี้ เมื่อใชนำหนาธาตุแลว นำความหมายของธาตุใหผิดจากเดิมหรือแรง ข้ึนอยางไร จะไดอธิบายตอไปขางหนา ในท่ีน้ี จะอธิบายแตวิธีสังเกตวิธีแยกธาตุ เทา น้ัน ศัพทที่เปนธาตุอยางแทจริง มีเพียง ๑ คำบาง ๒ คำบาง และอยางมากที่สุด เพียง ๓ คำเทาน้ัน นอกน้ัน ถานำหนาก็เปนอุปสัคบาง ศัพทอ่ืนๆ นอกจากน้ีบาง (มหี า งๆ) ถาตามหลักกเ็ ปนวิภัตติบาง ปจจัยบาง ซ่งึ ใชส ำหรับประกอบกับธาตุ ธาตทุ ่มี ีคำเดียว เชน ธนุ าติ ยอ มกำจัด เปน ธุ ธาตุ ในความกำจดั นา ปจ จยั ติ วิภตั ติ เนติ ยอ มนำไป เปน นี ธาตุ ในความนำไป อ ปจจัย ติ วภิ ัตติ, เนติ พฤทธิ์ อี แหง นี เปน เอ 57

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 58 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ธาตุมี ๒ คำ เชน กโรติ ยอ มทำ เปน กรฺ ธาตุ ในความทำ โอ ปจ จัย ติ วภิ ตั ติ ภเชยยฺ พงึ คบ เปน ภชฺ ธาตุ ในความคบ อ ปจ จยั เอยฺย วภิ ตั ติ ธาตมุ ี ๓ คำ เชน กลิ มติ ยอ มลำบาก เปน กลิ มฺ ธาตุ ในความลำบาก อ ปจ จยั ติ วภิ ตั ติ ชาคโรติ ยอ มตน่ื เปน ชาครฺ ธาตุ ในความตนื่ โอ ปจ จยั ติ วิภตั ติ พึงสังเกตในท่ีนี้วา ปจจัย กับ วิภัตติ ตองลงในธาตุทุกตัวจะขาดเสียมิไดเลย สวนอุปสัค นามศพั ท หรอื นบิ าตบางตัวน้นั ไมเปนของจำเปน ซ่งึ จะไมใ ชนำหนา เลย ก็ได นอกจากในท่ีบางแหง ซง่ึ ตองการแปลความหมายของธาตุ หรอื เพอ่ื ใหเ นอ้ื ความ แรง หรือเดน ชดั ข้ึนเทานน้ั นอกจากน้ี ยงั มีธาตบุ างตวั ที่เปลี่ยนแปลงไปผิดรูปเดิมกม็ ี เชน ตฏิ  ติ ยอมยืน า ธาตุ ในความยืน อ ปจจัย ติ วภิ ัตติ แปลง า ธาตุ เปน ติฏ ปสฺสติ ยอมเหน็ ทิสฺ ธาตุ ในความเหน็ อ ปจจัย ติ วภิ ัตติ แปลง ทสิ ฺ ธาตุ เปน ปสฺส บางคราวธาตทุ ่เี ปน รสั สะ ตอ ง ทฆี ะ หรอื พฤทธิ์ บา งก็มี เชน ทเู สติ ยอ มประทษุ ราย ทุสฺ ธาตุ ในความประทษุ ราย เณ ปจ จัย ติ วิภตั ติ ลบ ณ เสีย คงไวแต เอ ทีฆะ อุ ตนธาตุ เปน อู เทเสติ ยอ มแสดง ทสิ ฺ ธาตุ เณ ปจ จยั ลบ ณ คง เอ ไว พฤทธ์ิ อิ ที่ ทิ เปน เอ นอกจากนี้ ยังมีวิธีเปล่ียนแปลงอีกมากมาย อันจะวางหลักใหแนนอนหรือ ตายตัวลงไปหาไดไม ตองอาศยั ทนี่ ักเรยี นหมนั่ สงั เกตและจดจำเปน ตนๆ ไป ซึง่ จะนำ มาแสดงไวในตอนทายท่ีกลาวถึงธาตุอาขยาตพอเปนตัวอยางเฉพาะที่ใชอยูโดยมาก เทา น้นั ๓. ธาตุ ๘ หมวด ๒. หมวด รุธฺ ธาตุ ๔. หมวด สุ ธาตุ ธาตุ จดั เปน ๘ หมวด คือ ๑. หมวด ภู ธาตุ ๓. หมวด ทวิ ฺ ธาตุ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 58

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 59 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๕. หมวด กี ธาตุ ๖. หมวด คหฺ ธาตุ ๗. หมวด ตนฺ ธาตุ ๘. หมวด จรุ ฺ ธาตุ การท่ีทานจัดธาตุเขาเปนหมวดได ๘ หมวดดังนี้ โดยถือปจจัยเปนเกณฑ เพราะหมวดธาตุท้ัง ๘ ลวนมีปจจัยประกอบอยูทุกหมวด ธาตุที่ประกอบดวยปจจัย อยางเดียวกัน ก็จัดเขาไวเปนหมวดเดียวกัน และมีวิธีเปล่ียนแปลงไปตามหมวดของ ตน ซ่ึงจะไดก ลา วในหมวดธาตุน้ันๆ ตอ ไป ดงั นี้ :- ธาตทุ ปี่ ระกอบดว ย อ, เอ ปจ จยั จดั เขา ในหมวด ภู ธาตุ และ รธุ ฺ ธาตุ ธาตุทปี่ ระกอบดวย ย ปจ จัย จัดเขาในหมวด ทิวฺ ธาตุ ธาตุทป่ี ระกอบดวย ณ,ุ ณา ปจจยั จัดเขา ในหมวด สุ ธาตุ ธาตุที่ประกอบดวย นา ปจ จยั จัดเขาในหมวด กี ธาตุ ธาตุท่ปี ระกอบดว ย ณหฺ า ปจจัย จดั เขา ในหมวด คหฺ ธาตุ ธาตุทปี่ ระกอบดวย โอ ปจจยั จัดเขา ในหมวด ตนฺ ธาตุ ธาตทุ ปี่ ระกอบดวย เณ, ณฺย ปจจัย จัดเขาในหมวด จรุ ฺ ธาตุ ธาตอุ าจเปลีย่ นหมวดได มีธาตุบางตวั ถงึ แมวาทา นจะไดจัดไวป ระจำในหมวดธาตุนั้น ๆ แลวกต็ าม แต บางคราวอาจเปลี่ยนแปลงไมคงอยูในหมวดธาตุน้ันเสมอไปก็ได ท่ีเปนเชนนี้ ตองถือ ปจจัยเปน หลัก เมอื่ ประกอบดวยปจ จัยสำหรับหมวดธาตุใด ก็กลายเปนธาตขุ องหมวด นั้นไป ธาตุตวั เดยี วกนั น่ันเอง แตอ าจเปน ไดหลายหมวดตามปจจยั ที่ใชประกอบ เชน า ธาตุ ในความรู ซงึ่ ตามหมวดธาตทุ า นจดั ไวใ นหมวด กี ธาตุ ซง่ึ ตอ งลง นา ปจจัย สำเร็จรูปเปน ชานาติ แตอาจใชลงปจจัยในหมวดธาตุอื่นอีกก็ได เชน ลง ย ปจ จัย ในหมวด ทิวฺ ธาตุ สำเร็จรูปเปน ายติ กก็ ลายเปนหมวด ทิวฺ ธาตไุ ป เชนนี้ เปนตน นอกจากนี้ยังมีอีกมาก ฉะนั้น ตองถือปจจัยในหมวดธาตุน้ันเปนเกณฑ ท่ีทาน จัดไวเชนนั้น โดยถือเอาสวนที่เปนไปโดยมากเทานั้น ธาตุตัวเดียวอาจลงปจจัยใน หมวดธาตอุ ่นื ๆ ไดอีก เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 59

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 60 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๔. การเปลยี่ นแปลงของธาตใุ นหมวดตาง ๆ ๑. หมวด ภู ธาตุ ธาตุหมวดน้ี เมือ่ ลง อ, เอ ปจ จยั แลว มวี ธิ ีเปลย่ี นแปลงดงั นี้ :- * ภู พฤทธิ์ อู แหง ภู เปน โอ บาง อ.ุ อนุโภต,ิ ปจฺจนโุ ภติ แลวแปลง โอ เปน อว อีกบา ง อ.ุ ภวติ, อนุภวติ, แปลง ภู เปน ภูว บา ง อุ. พภูว. * หุ พฤทธ์ิ อุ เปน โอ บา ง อ.ุ โหต,ิ เปน เอ บาง อุ. อเหสุ, เหสสฺ , เหสฺสต.ิ เปน เอห บาง อ.ุ เหหติ, เปน โอห บา ง อุ. โหหต,ิ คงรูปไมเปลย่ี นบาง อ.ุ อหุ * สี พฤทธ์ิ อี เปน เอ บาง อุ. เสติ, เสสฺติ, แปลงเปน อย บาง อุ. สยติ, สยสิ ฺสติ * มรฺ คงรปู ไมเ ปลย่ี น อุ. มรติ, แปลงเปน มิยยฺ บา ง อ.ุ มิยยฺ ติ ปจฺ คงรปู ไมเปลย่ี น อุ. ปจติ, แปลงท่ีสดุ ธาตกุ ับ ย ปจจัย (ในกัมมวาจก) เปน จฺจ บาง อ.ุ ปจฺจติ อิกขฺ คงรปู ไมเปลี่ยน อ.ุ อกิ ขฺ ต,ิ ลงพยัญชนะอาคมท่ีตนธาตุบา ง อุ. อทุ กิ ขฺ ติ ลภฺ คงรปู ไมเปล่ียน อุ. ลภติ, ลบท่สี ดุ ธาตุ อ.ุ อลตฺถ, อลตฺถ, แปลงท่สี ุดธาตกุ บั ย ปจ จัย (เฉพาะกมั มวาจก) เปน พภฺ บา ง อุ. ลพภฺ ติ คมฺ คงรปู ไมเ ปล่ียน อุ. อคมา, อาคม,ิ แปลงเปน คจฉฺ บาง อุ. คจฺฉต,ิ ลบทสี่ ดุ ธาตุบาง อ.ุ อุปจจฺ คม, แปลงเปน ฆมมฺ บาง อ.ุ ฆมมฺ ตุ, ฆมฺมาห (มที ่ใี ชน อ ย) ๒. หมวด รุธฺ ธาตุ ในธาตุหมวดน้ี ลง อ, เอ ปจจัยเหมือนหมวด ภู ธาตุ ตางแตเมื่อลงแลว มกี ฎใหล งนคิ คหติ อาคม ทพ่ี ยญั ชนะตน ธาตทุ กุ ตวั แลว แปลงนคิ คหติ ตวั นน้ั เปน พยญั ชนะ ทสี่ ุดวรรค ๕ ตัวๆ ใดตวั หน่ึง คอื ง  ณ น ม การแปลง ตอ งถือพยัญชนะที่สดุ ธาตุ เปนหลักตามทท่ี านวา งไวในสนธิ คอื :- พยัญชนะที่สุดธาตุอยูใน ก วรรค แปลงเปน งฺ อุ. องฺคติ ยอมกำหนด อคิ ธาตุ พยัญชนะทสี่ ุดธาตุอยใู น จ วรรค แปลงเปน ฺ อ.ุ มุจฺ ติ ยอ มปลอ ย มจุ ฺ ธาตุ 60

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 61 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò พยญั ชนะท่สี ดุ ธาตุอยูใน ฏ วรรค แปลงเปน ณฺ อ.ุ อาหิณฑฺ ติ ยอมเท่ยี วไป อา บทหนา หิฑิ ธาตุ พยัญชนะทส่ี ุดธาตอุ ยใู น ต วรรค แปลงเปน นฺ อุ. รุนฺธติ ยอ มกน้ั รธุ ฺ ธาตุ พยญั ชนะทสี่ ดุ ธาตอุ ยใู น ป วรรค แปลงเปน มฺ อ.ุ ลมิ ปฺ ติ ยอ มฉาบ ลปิ ฺ ธาตุ ธาตใุ นหมวดนี้ มีวธิ ีเปลย่ี นแปลงดงั นี้ :- รธุ ฺ คงรูปไมเปล่ียน อุ. รนุ ธฺ ติ, รนุ เฺ ธติ มุจฺ คงอยูไมเ ปล่ยี น อุ. มุ ฺจติ, มุฺเจติ แปลงทสี่ ุดธาตกุ บั ย ปจ จยั (กตั ตุวาจก หมวด รธุ ฺ ธาตุ แปลวา ปลอ ย, ถา ลง ในหมวด ทวิ ฺ ธาตุ แปลงวา พน ) ภชุ ฺ คงรูปไมเปลย่ี น อ.ุ ภุฺชติ แปลงท่ีสุดวธิ อี พั ภาสเปน พภุ กุ ขฺ ติ บาง * ภิทฺ คงรูปไมเ ปลี่ยน อุ. ภนิ ฺทติ แปลงทธี่ าตุ ย ปจจยั (กัตตุวาจก หมวด ทวิ ฺ ธาต)ุ เปน ชชฺ บา ง อ.ุ ภชิ ชฺ ติ แตว า ภทิ ฺ ธาตนุ ้ี ถา ลงในหมวด รธุ ฺ ธาตุ แปลวา ตอย หรือ ทำลาย ถา ลงในหมวด ทวิ ฺ ธาตุ แปลวา แตก ลปิ ฺ คงรปู ไมเ ปลยี่ น อุ. ลมิ ฺปติ ลง ย ปจจัย (กตั ตวุ าจก หมวด ทวิ ฺ ธาต)ุ แปลง กบั ย เปน ปปฺ บา ง อ.ุ ลปิ ฺปติ ลปิ ฺ ธาตนุ ี้ ลงในหมวด รุธฺ ธาตุแปล ฉาบ-ทา, ถา ลงใน หมวด ทวิ ฺ ธาตุ แปลวา เปอ น ๓. หมวด ทิวฺ ธาตุ ธาตุหมวดน้ี ใชล ง ย ปจ จัย เมือ่ ลงแลว มวี ธิ ี ๒ อยา ง คือ ๑. ถา ธาตตุ วั เดียวใหคง ย ไว อุ. ขยี ต,ิ ชายเร, ชียติ. ๒. ถาธาตุมากกวาตัวเดียว แปลงที่สุดธาตุกับปจจัยเปนพยัญชนะ อนโุ ลมตามพยญั ชนะท่ีสดุ ธาตุ คอื :- ท่ีสุดธาตุเปน ว แปลงกบั ย ปจ จัยเปน พพฺ อ.ุ *ทพิ ฺพติ ทวิ ฺ ธาต,ุ *สิพฺพติ สิวฺ ธาตุ. ที่สุดธาตุเปน ธ แปลงกบั ย ปจ จยั เปน ชฌฺ อ.ุ *พชุ ฺฌติ พุธฺ ธาตุ, *กุชฌฺ ติ กธุ ฺ ธาตุ. 61

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 62 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ท่ีสดุ ธาตุเปน ห แปลงกบั ย ปจจยั เปน ยฺห อุ. *มุยฺหติ มุหฺ ธาตุ. ทส่ี ดุ ธาตุเปน ส แปลงกบั ย ปจ จัยเปน สสฺ อ.ุ *มุสฺสติ มสุ ฺ ธาต,ุ *ปมฺมุสสฺ ติ ป บทหนา มุสฺ ธาต.ุ ทส่ี ดุ ธาตุเปน ช แปลงกับ ย ปจจัยเปน ชชฺ อ.ุ *รชชฺ ติ รชฺ ธาตุ, *ลชฺชติ ลชฺ ธาตุ. ๔. หมวด สุ ธาตุ ธาตุหมวดน้ี ลง ณุ, ณา ปจจัย เมื่อลงแลว ธาตุคงตามรูปเดิมไมเปลี่ยน อุ. สุณาติ, วุณาต.ิ พฤทธ์ิ ณุ ปจจัยเปน โณ ไดบ าง อ.ุ สุโณติ, สวุโณต,ิ สโิ ณติ. แต สุ ธาตุ ยงั เปล่ียนแปลงไดอีก คอื ถา ใช อ ปจ จัย (หมวด ภู ธาต)ุ ประกอบ พฤทธิ์ อุ ท่ี สุ เปน โอ บาง อ.ุ อสโฺ สสิ, อสโฺ สส.ุ พฤทธ์ิ อุ เปน โอ แลวเอาเปน อว ใน เม่ือลง เณ ปจจัย (เหตุกตั ตุวาจก) บา ง อุ. สาเวต,ิ ใช ย ปจ จัย (กัมมวาจก) ประกอบมี รูปเปน สุยฺยเต บาง. ประกอบดวย ส ปจ จยั มรี ปู เปน สสุ สฺ สู ติ บาง. ๕. หมวด กี ธาตุ ธาตหุ มวดน้ี ลง นา ปจจัย เม่ือลงแลว โดยมากคง นา ไว ถึงเปลี่ยนแปลงบา ง กน็ อ ย ดังน้ี :- กี คงรปู ไมเ ปลีย่ น อุ. กีนาติ แปลง นา เปน ณา บา ง อุ. กีณาติ, วิกฺกณี าติ. ชิ คงรูปไมเปลี่ยน อ.ุ ชนิ าติ ลง อ ปจจัย (หมวด ภู ธาตุ) แปลง อิ เปน ย บา ง อ.ุ ชยติ, ชยสฺสต;ิ พฤทธ์ิ อิ เปน เอ บา ง อ.ุ เชต,ิ เชยยฺ ลง ย ปจ จยั (กัมมวาจก) บา ง อุ. ชิยต.ิ ธุ คงรูปไมเ ปลี่ยน อุ. ธุนาต.ิ จิ คงรปู ไมเ ปล่ียน อ.ุ จินาติ ลง ย ปจจยั (หมวด ทิวฺ ธาต)ุ บาง อ.ุ จิยติ. ลุ คงรปู ไมเปล่ียน อุ. ลุนาต,ิ ลง เณ ปจ จยั (หมวด รุธฺ ธาตุ) บาง อ.ุ ลาเวต.ิ า คงรูปไมเปล่ียน อุ. ายติ (ลง ย ปจจัย ในหมวด ทิวฺ ธาตุ). แปลงเปน ชา บา ง อ.ุ ชานาต,ิ เปน ช แลว เอานิคคหิตเปน ฺ บา ง อุ. ชฺ า, เปน นา บา ง อุ. นายเร. 62

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 63 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๖. หมวด คหฺ ธาตุ ธาตหุ มวดน้ี มใี ชใ นอาขยาตเฉพาะ คหฺ ธาตุ ตวั เดยี วเทา นั้น ใชลง ณหฺ า ปจจัย เมื่อลงแลว ลบทสี่ ุดธาตุ อุ. คณฺหาติ, ปฏิคฺคณหฺ าต.ุ อน่ึง เมือ่ ลง ปปฺ ปจ จยั แปลงเปน เฆ บาง อุ. เฆปปฺ ติ (มที ใ่ี ชนอย), ประกอบดวย ย ปจ จัย อิ อาคม (กัมมวาจก) คงรปู ไมเ ปลย่ี นแปลงบาง อุ. คหยิ เต. ๗. หมวด ตนฺ ธาตุ ธาตหุ มวดน้ี ลง โอ ปจ จยั เมอ่ื ลงแลว มีวธิ เี ปลี่ยนแปลง ดังนี้ :- ตนฺ คงรูปไมเ ปล่ียน อ.ุ ตโนต.ิ กรฺ คงรปู ไมเปลีย่ น อุ. กโรติ, ลบทส่ี ุดธาตใุ นเมอื่ ประกอบดวย ยริ ปจ จยั บา ง อ.ุ กยิรา, กยิราถ. แปลง กรฺ เปน กา บาง อุ. อกาสิ, อกสุ. เม่ือลง ภวิสฺสนฺติวิภัตติ มีอำนาจใหแปลงเปน กาห บา ง อ.ุ กาหติ, กาหนตฺ ิ. *สกฺก คงรูปไมเปลย่ี น อุ. สกโฺ กติ, ลง ย ปจจยั (กัมมวาจก, ภาววาจก) ไดร ปู เปน สกกฺ เต บา ง, ลง อุณา ปจ จัย ไดร ปู เปน สกกฺ ณุ าต,ิ สกฺกณุ นฺติ บา ง. ชาครฺ คงรปู ไมเ ปลี่ยน อุ. ชาคโรต.ิ ๘. หมวด จุรฺ ธาตุ ธาตหุ มวดนลี้ ง เณ, ณย ปจจัย เมื่อลงแลวลบ ณ เสีย และมีอำนาจ คอื ถาพยัญชนะตนธาตุมีสระเปน รัสสะ คือ อ อิ อุ ไมมีพยัญชนะสังโยค (ตัวสะกด) อยเู บื้องหลงั ตอง ทฆี ะ คือ อ เปน อา เชน อ.ุ วาเจสิ (วจฺ ธาต)ุ อิ เปน อี เชน อ.ุ ทเี ปติ (ทิปฺ ธาตุ) อุ เปน อู เชน อุ. ทูเสติ (ทุสฺ ธาต)ุ เปนตน วิการ คือ อิ เปน เอ บา ง อุ. เทเสติ อุ เปน โอ บา ง อ.ุ โจเรต,ิ โจรยติ. 63

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 64 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ถาพยัญชนะตนธาตุมีสระเปน ทีฆะ อยูแลว คือ เปน อา อี อู เอ โอ หรือ มีพยญั ชนะสังโยค ใหค งไวตามเดิม ไมต องทำตามวิธดี ังกลาวแลว อุ.*ตกฺเกติ, มนฺตยต,ิ จินฺเตต,ิ จินฺตยติ, เปนตน สำหรบั ธาตใุ นหมวดนี้ ไมม ีทีล่ งปจจยั ในหมวดอน่ื ลงไดเฉพาะ เณ, ณย ปจ จยั เทานั้น จงึ มไิ ดแ สดงวิธเี ปลี่ยนแปลงไว ๕. ธาตุ ๒ บรรดาธาตุท้ังหมด จะเปนธาตุใน ๘ หมวดที่กลาวแลวน้ีก็ดี ธาตุอ่ืนๆ ซ่ึง นอกจากนี้ก็ดี เมื่อจะกลาวใหสั้นโดยรวบยอดแลว ก็คงมีเพียง ๒ คือ อกัมมธาตุ ๑ สกมั มธาตุ ๑ ธาตุตัวใดสำเร็จเนื้อความในตัวเอง ไมตองอาศัยกรรมอ่ืนส่ิงท่ีบุคคลทำเปน เครื่องบงเนอ้ื ความ คอื ไมตองเรียกหากรรม ธาตุตัวน้ันเรียกวา อกมั มธาตุ (ธาตุไมม ี กรรม) ธาตุตัวใดไมสำเร็จเน้ือความในตัวเอง ตองอาศัยกรรมเปนเคร่ืองบง คือตอง เรยี กหากรรม ธาตุตัวนน้ั เรยี กวา สกัมมธาตุ (ธาตุมกี รรม) ๖. วธิ ีสงั เกตธาตุ ๒ ตามท่ีทานกลาวไวในแบบวา ธาตทุ ห่ี มายดอกจัน (*) ไวเ ปนธาตุมกี รรม ที่มิได หมายไวเปนธาตุไมมีกรรม ก็เพ่ือช้ีแนวทางใหสังเกตวา ธาตุท้ัง ๒ น้ี มีความหมาย ตา งกันอยางไร เมือ่ เราใชความสังเกตใหถอ งแทแลว จะเห็นไดว า ธาตทุ ่หี มายดอกจนั ไวทุกตัวลวนเปนธาตุที่ไมสำเร็จความในตัวเอง ยังตองเรียกหากรรม ซ่ึงเปนเหตุชวน ใหถ ามวา “ซึง่ อะไร” อยูเสมอ ถา ขาดกรรมกท็ ำใหเ สียความ สวนธาตุท่ีทานมิไดหมายดอกจันไวทุกตัว ลวนเปนธาตุท่ีสำเร็จความในตัวเอง ไมตองเรียกหากรรมก็ไดค วามเต็มที่ ไมเปนเหตใุ หถ ามวา “ซง่ึ อะไร” ตอไปอกี ฉะนั้น เมอ่ื ทราบไดเชน นี้แลว ถึงแมในที่อื่นกอ็ าจสงั เกตไดเชนกนั 64

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 65 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò วิธีท่ีจะสังเกต ตองอาศัยคำแปลในภาษาไทยเปนเครื่องบงใหทราบดวย มิฉะน้ันจะทราบไมไ ดแ นชดั เลย เมอื่ เราเหน็ ธาตตุ วั ใดตวั หน่ึง ถา ตอ งการทราบวาธาตุ ตัวน้จี ะเปน อกมั ม ธาตุ หรือ สกมั มธาตุ ตอ งทราบคำแปลของธาตุตัวน้นั ดว ย คอื :- อกัมมธาตุ ธาตุตัวใด ในเวลาออกสำเนียงคำแปลเปนภาษาไทย ไดความ เต็มท่ีตามความหมายของธาตุ ไมตองเรียกหาตัวกรรม ถึงจะใชกรรมเพ่ิมเขามาก็หา ประโยชนอะไรมิได ซ่ึงอาจทำใหฟงขัดหู ไมถูกตามภาษานิยม ธาตุเชนนี้ เปนอกัมม ธาตุ เชน สี ธาตุ ในความนอน เมื่อกลาวเพียงวา นอน เทานั้น ก็ทำความหมายให ผฟู ง เขา ใจไดแ ลว ไมต อ งใหถ ามวา นอนซง่ึ อะไรอกี หรอื ถา ขนื เพมิ่ กรรมเขา มาอกี เชน รตตฺ ึ ซึ่งราตรี ฟงดูออกจะขดั หูและเขาหานิยมใชก ันไม เพราะเน้ือความไมก ลมเกลยี ว กัน นอกจากไมมีประโยชนแลว กลับทำใหเสียความดวย ฉะน้ัน ในธาตุเชนนี้พึงลง สันนษิ ฐานวา เปน อกัมมธาตุ ธาตไุ มตองเรยี กหาตัวกรรม สกัมมธาตุ ธาตตุ ัวใด ในเวลาออกสำเนียงคำแปลเปนภาษาไทย ยังไมมคี วาม เต็มท่ีตามความหมายของธาตุ ตองอาศัยตัวกรรมชวยสนับสนุนเพิ่มเน้ือความให กระจาง ถาขาดตัวกรรมเสียยอมทำใหเสียความ และทำใหผูฟงไมเขาใจความหมาย ของผพู ูด ธาตุเชน น้ีเปน สกัมมธาตุ เชน สุ ธาตุ ในความฟง ถากลาวเพียงวา ฟง เทาน้ัน ยังหาทำใหผูฟงเขาใจใน ความหมายไดพอเพียงไม ไมทราบวาฟงอะไร ยังเปนเหตุใหถามอยูร่ำไป ถาขืนไม เพมิ่ กรรมเขา มา ยอ มผดิ ตอ ภาษานิยม เพราะทำใหขาดความไป ตอเม่อื เลอื กตวั กรรม เพมิ่ เขาสักตัวหนง่ึ วา ธมฺม (ซึ่งธรรม) ยอ มทำใหเ น้อื ความสนิท ฟง ไพเราะหู ถูกตอ ง ตามภาษานิยม ฉะน้ัน ในธาตุเชนนี้พึงลงสันนิษฐานวาเปน สกัมมธาตุ ตองเรียงหา ตวั กรรมเสมอ จะขาดมิไดเลย ๗. ธาตุกลับความหมาย ไดกลาวแลว วา อุปสัค เมอ่ื ใชน ำหนาธาตแุ ลว ยอมทำความหมายของธาตุเดิม ใหเปล่ียนผิดปกติไปได เม่ือจะกลาวถึงหนาที่ของอุปสัคท่ีใชนำหนาธาตุโดยสวน สำคญั แลว ก็อาจจำแนกไดเปน ๓ คอื 65

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 66 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๑. อุปสคั สังหารธาตุ ๒. อปุ สัคเบียฬธาตุ ๓. อปุ สัคอนุวัตนตามธาตุ การแปลกิริยาศัพทตางๆ เปนภาษาไทยตามธรรมดายอมแปลตามความของ ธาตุ ธาตุตัวใดมีนิยมใหแปลเปนภาษาไทยวากระไร ก็ตองแปลไปตามความนิยมที่ บัญญตั ิไวน ั้น เชน กรฺ ธาตุ บัญญัติใหแ ปลวา “ทำ” คมฺ ธาตุ ใหแ ปลวา “ไป, ถงึ .” เมื่อประกอบให เปนกริ ยิ าวา กโรติ กแ็ ปลวา “ยอมทำ, ทำอยู, จะทำ.” คจฺฉติ “ยอ มไป, ไปอย,ู จะไป.” เชน นเ้ี ปน ตน แตถาธาตุเหลาน้ีถูกนำไปประกอบกับอุปสัค คืออุปสัคนำหนาแลว ความของ กิริยาหาคงอยูตามรูปเดิมไม ยอมเปลี่ยนแปลงไปได แลวแตความหมายของอุปสัคจะ ทำหนาท่เี ชนไร อุปสัคสังหารธาตุ ไดแก อุปสัคท่ีเม่ือใชนำหนาธาตุท่ีประกอบเปนกิริยาศัพท แลว ทำใหค ำแปลของธาตเุ ดมิ เปลยี่ นไปผดิ รปู จนถงึ ตรงกันขา ม คือ จะใชค ำแปลของ ธาตเุ ดิมไมได เชน นิกขฺ มติ ออกไป เปน นิ อุปสัค ขมฺ ธาตุ ในความอดทน อาคจฺฉติ มา เปน อา อปุ สคั คมฺ ธาตุ ในความไป เชนนี้ เราจะเห็นไดแลววาผิดจากคำแปลของธาตุเดิมอยางตรงกันขามทีเดียว จะแปลตามความหมายของธาตเุ ดิมไมไดเลย อุปสัคเบียฬธาตุ ไดแก อุปสัคท่ีเม่ือใชนำหนาธาตุที่ประกอบเปนกิริยาศัพท แลว ทำใหคำแปลของธาตุเดิมเปล่ียนไปบางเล็กนอย แตไมถึงกับกลับความจน ผดิ รปู เดิม ยังพอสังเกตตนเคาของธาตเุ ดิมได เชน อ.ุ ปฏิกฺกมติ ถอยกลบั เปน ปฏิ อปุ สัค กมฺ ธาตุ ในความกา วไป อธคิ จฺฉติ บรรลุ เปน อธิ อุปสคั คมฺ ธาตุ ใน ความถงึ เชนน้ี เราจะเห็นไดแ ลววา คำแปลของธาตเุ ปล่ียนไปบา ง แตย งั ใชค วามหมาย ของธาตเุ ลง็ เนอ้ื ความ อุปสัคอนุวตั นตามธาตุ ไดแก อุปสคั ท่ีเมื่อใชนำหนาธาตทุ ่ีประกอบเปนกิริยา 66

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 67 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ศพั ทแ ลว ไมท ำใหค ำแปลของธาตเุ ดมิ เปลย่ี นไป เปน เพยี งสง เสรมิ ทำใหธ าตมุ คี วามหมาย แรงข้นึ กวาเดิม เชน อปคจฺฉติ หลีกไป เปน อป อปุ สัค คมฺ ธาตุ ในความไป อติกฺกมติ กา วลวง เปน อติ อปุ สคั กมฺ ธาตุ ในความกาวไป เชนน้ีเราจะเห็นไดแลววา คำแปลของธาตุเดิมก็คงรูปอยู เมื่อเพิ่มอุปสัคเขามา ทำใหคำแปลของธาตุแรงข้ึนกวา เดิม อุปสคั ตาง ๆ ท่ใี ชน ำหนา ธาตุ ไมจำกัดวา จะตองใชกีต่ วั บางคราวก็ใชอปุ สัคนำ เพยี งตวั เดียวบาง เชน อ.ุ วิ - เนติ ฝก อนุ - ยุฺชติ ตามประกอบ บางคราวก็ใชนำซอ นกนั ๒ ตวั บาง เชน อ.ุ ปจจฺ -า-คจฺฉติ กลบั มา เปน ปฏิ+อา อปุ สัค แปลง ฏ หลงั ป เปน ต แปลง อิ เปน ย ไดร ปู เปน ตยฺ แลวแปลง ตยฺ เปน จจฺ อพภฺ ุคฺคจฉฺ ติ ฟงุ ไป เปน อภ+ิ อุ อุปสัค แปลง อภิ เปน อพภฺ บางคราวก็ใชซอ นกันถงึ ๓ ตวั บา ง เชน อุ. สมนฺนาหรติ ประมวลมา เปน ส+อน+ุ อา อปุ สัค หรฺ ธาตุ ในความนำไป เปน ตน ตอ ไปน้ี เปน อุทาหรณข องธาตบุ างตวั ท่เี มอ่ื ใชอุปสคั นำหนา แลว มคี วามหมาย เปลี่ยนแปลงไปจากธาตุเดมิ หรอื ทำใหธ าตุมคี วามแรงข้ึนอยางไร พงึ สงั เกตดังตอ ไปน้ี :- กมฺ ธาตุ ในความกาวไป กมฺ+อ+ติ = กมติ ยอมกาวไป อา+กม+ฺ อ+ติ = อกฺกมติ ยอมเหยยี บ อต+ิ กม+ฺ อ+ติ = อตกิ ฺกมติ ยอ มกาวลว ง อภ+ิ กมฺ+อ+ติ = อภกิ ฺกมติ ยอมกา วไปขางหนา อุป+กม+ฺ อ+ติ = อุปกฺกมติ ยอมเขาไป, ยอมพยายาม อุป+สํ+กม+ฺ อ+ติ = อุปสงฺกมติ ยอมเขาไปหา โอ+กม+ฺ อ+ติ = โอกกฺ มติ ยอ มกา วลง เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 67

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 68 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ป+กม+ฺ อ+ติ = ปกฺกมติ ยอ มหลกี ไป ปฏิ+กมฺ+อ+ติ = ปฏกิ กฺ มติ ยอ มถอยหลัง ว+ิ อต+ิ กมฺ+อ+ติ = วีติกกฺ มติ ยอ มลวงเกนิ , ยอ มลว งละเมิด คมฺ ธาตุ ในความไป คม+ฺ อ+ติ = คจฉฺ ติ ยอ มไป อา+คม+ฺ อ+ติ = อาคจฉฺ ติ ยอมมา อธ+ิ คม+ฺ อ+ติ = อธิคจฉฺ ติ ยอมถึงทบั , ยอมบรรลุ อป+คม+ฺ อ+ติ = อปคจฉฺ ติ ยอ มหลกี ไป อภ+ิ อุ+คม+ฺ อ+ติ = อพภฺ คุ ฺคจฺฉติ ยอ มฟงุ ไป อ+ุ คม+ฺ อ+ติ = อุคคฺ จฺฉติ ยอ มขน้ึ ไป อปุ +คมฺ+อ+ติ = อปุ คจฺฉติ ยอมเขา ไป ปฏิ+อา+คม+ฺ อ+ติ = ปจฺจาคจฺฉติ ยอมกลบั มา ว+ิ คมฺ+อ+ติ = วคิ จฉฺ ติ ยอมไปปราศ สํ+อา+คม+ฺ อ+ติ = สมาคจฺฉติ ยอมมาพรอมกนั , ยอ มมาประชมุ า ธาตุ ในความรู า+นา+ติ = ชานาติ ยอ มรู ยอ มอนญุ าต, ยอ มยินยอม อน+า+นา+ติ = อนุชานาติ ยอ มรูยิ่ง ยอมดูหม่นิ อภิ+า+นา+ติ = อภชิ านาติ ยอมรูทว่ั ยอมรชู ัด อว+า+นา+ติ = อวชานาติ ยอ มปฏิญญา, ยอมยอมรบั ยอ มรูรอบ, ยอมกำหนดรู อา+า+นา+ติ = อาชานาติ ยอมรูแจง ยอมรพู รอ ม, ยอมเขา ใจ, ยอ มจำได ป+า+นา+ติ = ปชานาติ ปฏ+ิ า+นา+ติ = ปฏิชานาติ ปริ+า+นา+ติ = ปริชานาติ วิ+า+นา+ติ = วชิ านาติ ส+ํ า+นา+ติ = สฺชานาติ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 68

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 69 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๘. ศพั ทพ ิเศษทใ่ี ชนำหนา กริ ิยา ศัพทกิริยาอาขยาต ซึ่งนอกจากใชอุปสัคนำหนา ยังมีศัพทพิเศษบางศัพทซ่ึง อาจใหน ำหนากิริยาไดอ กี ศพั ทเหลา นี้มีกำหนดใหใ ชไดบ างตัวเทา นนั้ และเปนศพั ทท ่ี มักใชดื่นในปกรณตางๆ มาก ศัพทเหลานี้เวลาแปลมักแปลตอจากกิริยา คือแปล ภายหลังเมื่อแปลกิริยาเสร็จแลว ไมเหมือนอุปสัคบางตัว ซึ่งบางคราวก็ใชแปลกอน หนา กิริยาได เชน อุคคฺ จฺฉติ ยอ มขึ้นไป อปคจฉฺ ติ ยอมหลีกไป บางคราวกแ็ ปลหลังกิริยา เชน โอกฺกมิ ยอมกา วลง อปุ เนติ ยอมนำเขา ที่แปลเชนน้ี ก็แลวแตความหมายวา แปลเชนไรจะไดความตามภาษาไทย ศพั ทพ ิเศษนอกจากอปุ สัคเหลา นี้ มีตัวอยางทีใ่ ชอ ยบู า ง เชน ครกุ โรติ ยอมทำใหหนัก, ยอ มทำความเคารพ สจฉฺ ิกโรติ ยอ มทำใหแ จง ปาตุภวิ มีปรากฏแลว มนสกิ โรติ ยอมทำไวในใจ พยนฺตกิ าหติ จกั ทำใหสิน้ ไป อาวภิ วสิ ฺสติ จักมแี จง อลงกฺ โรติ ยอมประดับ, ยอ มกระทำใหพ อ (อลํ) สมจฺ เรยยฺ พงึ ประพฤตสิ ม่ำเสมอ (สม)ํ นอกจากนี้ ยังมอี ยูมาก ทย่ี กมาน้พี อเปนตัวอยางเทาน้ัน 69

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 70 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๙. กิริยาศพั ททใี่ ชดจุ คณุ นอกจากน้ี ยังมกี ริ ิยาศพั ทบาง ซง่ึ อาจนำไปใชเ ขา สมาส คือเช่อื มกับศพั ทนาม อน่ื ไดอีก เวลาแปลกลายเปน คณุ ศพั ทไปกม็ ี แตศพั ทเ หลา น้ีมปี รากฏอยูก็เหน็ เพียง ๒ ศัพท คือ อตถฺ ิ (มีอย)ู และ นตฺถิ (ยอ มไมม)ี ซึ่งเปน จำพวก อสฺ ธาตุ เชน อตถฺ ิภาโว ความทีแ่ หง.... มีอยู นตฺถภิ าโว ความทแ่ี หง ....ไมม ี นตฺถปิ โู ว ขนมไมม.ี อสฺ ธาตุ ธาตุนี้เปนไปใน “ความมี” “ความเปน” เปนธาตุซึ่งมีวิธีเปล่ียนแปลงแปลกจาก ธาตุสามัญอื่นๆ มีหลักเกณฑการเปลี่ยนแปลงเฉพาะตนเอง เพราะฉะนั้น เพ่ือความ สะดวกจะไดร วมมากลาวไวในทีน่ ี้เสยี ทีเดยี ว การเปล่ียนแปลงของธาตุนี้ เม่ือรวบรวมเปนหัวขอที่สำคัญแลวก็คือ เมื่อ ประกอบกบั วภิ ตั ติแลว ลบตนธาตุบาง ลบที่สดุ ธาตุบา ง มอี ำนาจใหแ ปลงวภิ ตั ติ แปลง ตวั เองพรอ มทัง้ วภิ ตั ติบา ง ทฆี ะตนธาตุบาง พึงเหน็ ดังตอ ไปนี้ :- คงวิภัตติไว ลบตน ธาตุ อ.ุ สนตฺ ิ. คงวิภตั ติไว ลบทส่ี ุดธาตุ อ.ุ อส.ิ คงวิภตั ติไว ทีฆะตน ธาตุ อุ. อาส, อาส,ุ อาสติ ถฺ , อาสิ, อาสิมฺหา. แปลงวิภตั ติ ลบตนธาตุ อุ. สยิ า, สิย.ุ แปลงวภิ ัตติ ลบท่สี ุดธาตุ อุ. อตฺถิ, อตถฺ , อมฺห,ิ อมฺห. แปลงวภิ ตั ติ กบั ท้ังธาตุ อ.ุ อสสฺ , อสฺส,ุ อสสฺ ถ, อสสฺ , อสสฺ าม. 70

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 71 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò แบบประเมนิ ผลตนเองกอนเรียน หนวยที่ ๔ จดุ ประสงค เพ่ือประเมินความรูเ ดิมของนักเรยี นเก่ยี วกับเร่ือง “ธาตุ” คำส่ัง ใหนักเรียนอานคำถามแลววงกลมลอมรอบขอคำตอบที่ถูกตองที่สุด เพียงขอเดียว ๑. คำวา “ธาตุ” หมายถงึ อะไร ? ก. ศพั ทท ่ีเปนมลู ราก ข. ศพั ทเรยี กพรหม ค. ศัพทเ รียกกระดกู ง. ศัพทท่เี ปน สารเนื้อเดยี ว ๒. ธาตุโดยยอ แบงออกเปนเทา ไร ? ก. ๒ ข. ๓ ค. ๔ ง. ๕ ๓. ธาตุโดยพิสดารแบง เปนเทาไร ? ก. ๔ ข. ๖ ค. ๘ ง. ๑๐ ๔. กิริยาศพั ทใ ดตอ ไปนีค้ อื ธาตุที่เรยี กหากรรม ? ก. ขยี ติ ข. มรติ ค. กโรติ ง. ชาคโรติ ๕. กิรยิ าศพั ทใ ดตอ ไปนีค้ อื ธาตุทไ่ี มเรียกหากรรม ? ก. ปจติ ข. รนุ เฺ ธติ ค. ภวติ ง. จินฺตยติ ๖. กริ ยิ าศพั ทใดตอ ไปนจ้ี ดั อยใู นหมวด กี ธาตุ ? ก. สยติ ข. ภุฺชติ ค. สณุ าติ ง. ชนิ าติ ๗. กิริยาศพั ทใดตอไปนใ้ี ชศพั ทพเิ ศษสำหรบั นำหนา กิรยิ า ? ก. อปุ สงกฺ มติ ข. มนสกิ โรติ ค. นกิ ขฺ มติ ง. อุปจจฺ คา เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 71

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 72 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๘. อกัมมธาตไุ มนิยมใชใ นวาจกใด ? ก. กตั ตวุ าจก ข. กมั มวาจก เหตุกตั ตวุ าจก ค. ภาววาจก ง. ภวนฺติ ๙. กริ ิยาศัพทใดตอไปนีใ้ ชไดท ้งั เอก. และพห.ุ ? กาหติ ก. โหติ ข. กัมมวาจก เหตุกมั มวาจก ค. อตถฺ ิ ง. ๑๐. สกมั มธาตุไมนิยมใชใ นวาจกใด ? ก. กตั ตวุ าจก ข. ค. ภาววาจก ง. เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 72

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 73 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò แบบประเมนิ ผลตนเองหลังเรียน หนวยท่ี ๔ จุดประสงค เพ่ือประเมนิ ความกาวหนาของนักเรยี นเก่ียวกับเร่ือง “ธาต”ุ คำสั่ง ใหนักเรียนอานคำถามแลววงกลมลอมรอบขอคำตอบที่ถูกตองที่สุด เพียงขอ เดียว ๑. คำวา “ธาตุ” หมายถงึ อะไร ? ก. ศัพททีเ่ ปน สารเน้ือเดียว ข. ศพั ทท ี่เปนมูลราก ค. ศัพทเ รยี กกระดูก ง. ศพั ทเรียกพรหม ๒. ธาตโุ ดยยอแบงออกเปนเทาไร ? ก. ๕ ข. ๔ ค. ๓ ง. ๒ ๓. ธาตโุ ดยพสิ ดารแบง เปน เทา ไร ? ก. ๑๐ ข. ๘ ค. ๖ ง. ๔ ๔. กิริยาศัพทใ ดตอ ไปนี้คอื ธาตุท่ีเรียกหากรรม ? ก. มรติ ข. ชาคโรติ ค. ขยี ติ ง. กโรติ ๕. กริ ิยาศพั ทใ ดตอไปนี้คือธาตทุ ี่ไมเรยี กหากรรม ? ก. ภวติ ข. จินตฺ ยติ ค. ปจติ ง. รุนเฺ ธติ ๖. กริ ิยาศพั ทใดตอ ไปนจี้ ดั อยูใ นหมวด กี ธาตุ ? ก. ภุฺชติ ข. ชินาติ ค. สณุ าติ ง. สยติ ๗. กริ ยิ าศพั ทใ ดตอไปน้ีใชศ พั ทพ เิ ศษสำหรับนำหนากริ ิยา ? ก. นิกฺขมติ ข. อุปจจฺ คา ค. มนสิกโรติ ง. อุปสงกฺ มติ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 73

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 74 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ๘. อกมั มธาตไุ มนยิ มใชในวาจกใด ? ก. ภาววาจก ข. เหตกุ ตั ตวุ าจก ค. กมั มวาจก ง. กัตตวุ าจก ๙. กริ ยิ าศัพทใดตอ ไปนีใ้ ชไดท้ัง เอก. และพหุ. ? ก. กาหติ ข. โหติ ค. ภวนตฺ ิ ง. อตถฺ ิ ๑๐. สกัมมธาตไุ มน ยิ มใชใ นวาจกใด ? ก. กมั มวาจก ข. เหตุกมั มวาจก ค. กัตตุวาจก ง. ภาววาจก เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 74

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 75 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เฉลยแบบประเมินผล หนวยท่ี ๔ ขอ กอ นเรียน หลงั เรยี น ๑. ก ข ๒. ก ง ๓. ค ข ๔. ค ง ๕. ค ก ๖. ง ข ๗. ข ค ๘. ข ค ๙. ค ง ๑๐. ค ง เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 75

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 76 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) แผนการสอนบาลีไวยากรณ หนว ยท่ี ๕ เรือ่ ง วาจกและปจ จัย เวลาทำการสอน ๓ คาบ สาระสำคญั กิริยาท่ีกลาวถึงบทที่เปนประธาน คือ บงใหทราบถึงบทที่เปนประธาน ในประโยค เรียกวา “วาจก” และกลุมคำอกี กลุมหนง่ึ ทใ่ี ชลงขา งหนา วิภตั ตเิ ปนเครอื่ ง บงใหทราบถงึ วาจก เรียกวา “ปจ จยั ” จุดประสงค ๑. เพ่อื ใหนกั เรยี นรูและเขา ใจถงึ วาจก ๒. เพอ่ื ใหนักเรียนประกอบประโยคบาลีไดถ กู ตอ งตามวาจกทงั้ ๕ ๓. เพ่ือใหนักเรียนรูและเขาใจถึงปจจัย และนำไปใชประกอบในวาจก ทัง้ ๕ ไดอยา งถูกตอง เนือ้ หา ๑. วาจก ๒. ปจ จัย กิจกรรม ๑. ประเมินผลกอ นเรยี น ๒. ใหนักเรยี นทอ งวาจก ปจ จยั ๓. ครูนำเขาสูบทเรยี น และอธบิ ายเน้อื หา ๔. บัตรคำ 76

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 77 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ๕. ครสู รปุ เนื้อหาทั้งหมด ๖. ประเมินผลหลังเรยี น ๗. ใบงาน - ใหนักเรียนแตงวาจกและบอกชนิดของวาจกที่กำหนดใหเปน การบาน ๘. กจิ กรรมเสนอแนะ - ใหนกั เรยี นทองแมแบบใหได - ใหแ ตง วาจกและบอกชนิดของวาจกได (สัง่ เปนการบานดวย) - ใหนักเรยี นฝกใชป จ จัย สือ่ การสอน ๑. ตำราทใ่ี ชป ระกอบการเรียน-การสอน ๑.๑ หนงั สอื พระไตรปฎ ก ๑.๒ หนงั สือพจนานุกรม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป. หลงสมบญุ สำนกั เรยี นวัดปากนำ้ ๑.๓ หนังสือพจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ๑.๔ หนงั สือพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท โดย พระธรรมปฎ ก (ป.อ.ปยตุ ฺโต) ๑.๕ หนงั สอื คมู อื บาลไี วยากรณ นพิ นธโ ดย สมเดจ็ พระมหาสมณเจา ฯ ๑.๖ หนงั สอื ปาลทิ เทศ ของสำนักเรยี นวดั ปากนำ้ ๑.๗ คัมภีรอภธิ านปั ปทปี ก า ๑.๘ หนังสอื พจนานุกรมธาตุ ภาษาบาลี ๒. อปุ กรณที่ควรมปี ระจำหอ งเรียน ๒.๑ กระดานดำ-แปรงลบกระดาน-ชอลก หรือ กระดานไวทบ อรด ๒.๒ เคร่อื งฉายขามศีรษะ (Over-head) ๒.๓ คอมพิวเตอร – โปรเจคเตอร 77

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 78 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๓. บัตรคำ ๔. ใบงาน วธิ ีวดั ผล-ประเมนิ ผล ๑. สอบถามความเขาใจ ๒. สังเกตพฤตกิ รรมการมสี ว นรวมในกิจกรรม ๓. สังเกตความกา วหนา ดานพฤติกรรมการเรียนรูของผเู รียน ๔. ตรวจใบงาน ๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลกอนเรียน-หลงั เรยี น 78

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 79 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๑. วาจก กริ ิยาศพั ททกี่ ลาวถึงบทซึ่งเปน ประธาน ไดแก บงใหทราบบททีเ่ ปนประธาน ในประโยค กิริยาศัพทนั้น ตองประกอบดวยวิภัตติ กาล บท วจนะ บุรุษ ธาตุ (ดังกลาวแลว) และปจจัย (ซ่ึงจะกลาวขางหนา) กิริยาศัพทซึ่งประกอบดวยเคร่ืองปรุง ดงั กลา วมาน้ี มอี ยใู นประโยคแหง คำพดู ใด ยอ มแสดงใหท ราบถงึ ตวั ประธานในประโยคนน้ั วามีอยู แมจะไมปรากฏตัวในประโยคก็ตาม โดยอาศัยกิริยาน่ันเองเปนเครื่องช้ี กิริยา ศัพทอันบงประธานน้ี นักปราชญท างดา นภาษาบาลีบัญญัติ เรียกวา “วาจก” ๑.๑ ความหมายของวาจก คำวา “วาจก” น้ัน ไดมีนักวิชาการหลายแขนงใหความหมายไวแตกตางกัน ออกไป ดังตอไปน้ี คือ วาจก (ว.ิ ) ผูกลา ว, ผูพดู , ผบู อก. วาจก (ปุ.) กิริยาศัพทผูกลาว, ฯลฯ, วาจก ชื่อของขอความที่สมบูรณ ตอนหนึ่ง ๆ ช่ือของกริ ยิ าท่ปี ระกอบ วิภัตติ กาล บท วจนะ บรุ ษุ และปจ จยั . ในบาลไี วยากรณ มี ๕ วาจก คอื กตั ตวุ าจก กัมมวาจก ภาววาจก เหตุกัตตุวาจก และเหตุกัมมวาจก. (พจนานกุ รม มคธ-ไทย โดย พนั ตรี ป. หลงสมบญุ สำนกั เรยี น วดั ปากน้ำ จดั พิมพ ๒๕๔๐ หนา ๖๓๙) วาจก น. ผูกลา ว, ผูบอก, ผูพูด. (ป., ส.). (พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หนา ๗๕๐) ในหนังสือคูมือเลมนี้จะใหความหมายของคำวา “วาจก” เชนเดียวกันกับ นักวิชาการทา นอน่ื ๆ คือ “กลา วบทท่เี ปน ประธานของกิริยา” ๑.๒ ประเภทของวาจก วาจกนีเ้ มอื่ จะวา โดยประเภทมีอยู ๕ คือ ๑. กัตตุวาจก บง ผูท ำ ยกขึน้ เปน ประธานในประโยค ๒. กัมมาวาจก บง ผถู กู ทำ ยกข้ึนเปน ประธานในประโยค 79

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 80 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๓. ภาววาจก บงเพียงความมคี วามเปน ไมมีตวั ประธาน ๔. เหตกุ ตั ตวุ าจก บง ผูใชใหทำ ยกขึน้ เปน ประธานในประโยค ๕. เหตกุ มั มาวาจก บง ผทู ถี่ กู เขาใชใ หท ำ ยกขนึ้ เปน ประธานในประโยค วาจกเหลา นี้ ผศู ึกษาจะสังเกตใหทราบไดแนช ัดวา เปน วาจกอะไร ตอ งอาศยั ปจจัยซึ่งทานจัดไวประจำหมวดของวาจกน้ันๆ เปนเคร่ืองบงใหทราบ ดังจะอธิบาย วาจกแตละประเภท ตอ ไปนี้ :- ๑. กัตตวุ าจก กริ ิยาศัพทใ ดกลาวผทู ำ คือ ยกผวู า ขึน้ เปนประธานในประโยคแสดงวา ตวั ที่ เปนประธานในประโยคน้ันเปนผูทำเอง และกิริยาที่คุมพากยเปนของผูทำน้ัน กิริยา ศพั ทน ัน้ เปน กตั ตุวาจก กิริยาศัพทใ นวาจกน้ี ใชประกอบดว ยปจ จัย ๑๐ คอื อ, เอ, ย, ณุ, ณา, นา, ณฺหา, โอ, เณ, ณย ตัวใดตัวหน่ึง และวิภัตติก็มักใชประกอบดวยวิภัตติฝายปรัสสบท เปน สวนมาก (ฝา ยอตั ตโนบทก็มีบา ง แตมเี ปนสว นนอ ย) เชน สูโท โอทนํ ปจติ ฯ พอครัว หุงอยู ซ่ึงขา วสกุ ฯ ในทีน่ ี้ ปจติ (หงุ อย)ู เปน กัตตวุ าจก เพราะประกอบดวย อ ปจจยั ติ วภิ ัตติ บงตนเองวาเปนกิริยาของ สูโท (พอครัว) ซ่ึงเปนบทประธานในประโยค ดวยมีปจจัย แลวิภตั ตินัน้ เปน เคร่ืองหมาย สโู ท ก็เปน ผูท ำดวยตนเองในกริ ิยา คอื ปจติ โอทนํ (ซึ่งขาวสุก) เปนกรรม คือ เปนส่ิงที่ถูกศิษยศึกษา แตตัวกรรม ไมสูเปนสิ่งสำคัญในวาจกนี้ เพราะกิริยาศัพทท่ีเปนธาตุไมมีกรรม ก็อาจใชได ในวาจกน้ี เม่ือเปนเชนน้ี ไมจำเปนตองมีก็ได ในเมื่อกิริยาศัพทเปนอกัมมธาตุ เพราะวาจกนี้ ใชกริ ิยาศพั ทท เี่ ปนอกมั มธาตุ และสกมั มธาตุกไ็ ดท ้งั ๒ ชนิด 80

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 81 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò องคป ระกอบของกตั ตวุ าจก มี ๓ อยา ง คอื ๑. กตั ตา ผูทำ ซึ่งเปนตัวประธาน ตอ งประกอบดว ยปฐมาวิภัตติ ๒. กรรม ผู หรือ สิ่งทถี่ ูกทำ ตองประกอบดวยทุติยาวภิ ัตติ ๓. กิริยา อาการท่ีทำ ตองประกอบดวยปจจัยท้ัง ๑๐ ตัว ตัวใดตัวหนึ่ง ดงั ท่กี ลา วมาแลว อน่ึง สำหรบั ธาตุทไี่ มมีกรรม มตี วั สำคัญอยู ๒ คอื กัตตาและกริ ิยา เทานัน้ เชน พหู ชนา อธิ สนฺนิปตึสุ ฯ ชน ท. มาก ประชมุ กันแลว ในที่น้ี ฯ ในประโยคนี้ ชนา เปน กตั ตา เพราะเปนผูทำในประโยค สนฺนปิ ตสึ ุ เปน กริ ิยา เพราะบงตนเองวา เปนกิรยิ าของ ชนา สวน กรรม หามีไม เพราะสนนฺ ปิ ตึสุ เปนธาตุไมม ีกรรม ๒. กัมมวาจก กริ ิยาศพั ทใ ดกลาวกรรม (ผู หรอื สง่ิ ที่ถกู เขาทำ) คือ ยก ผู หรือสิง่ ทีถ่ ูกทำ ข้นึ เปนประธานในประโยค แสดงวา ตัวที่เปน ประธานในประโยคถูกเขาทำ มไิ ดท ำเอง และกริ ยิ าทค่ี มุ พากยก เ็ ปนของ ผู หรือ สงิ่ ท่ถี ูกทำนั้น กริ ยิ าศพั ทนน้ั เปนกัมมวาจก กิริยาศัพทในวาจกนี้ ใชประกอบดวย ย ปจจัยตัวเดียวเทาน้ัน และลง อิ อาคม หนา ย ดวย แต อิ อาคม ไมแนนกั ในบางแหงไมต อ งลงกไ็ ด สว นวิภัตติ โดย มากมักใชฝายอัตตโนบท (ฝา ยปรสั สบทกม็ บี าง แตม ีเปน สวนนอ ย) เชน สเู ทน โอทโน ปจยิ เต ฯ ขาวสุก อันพอครัว หงุ อยู ฯ ปจิยเต (หุงอย)ู เปน กัมมวาจก เพราะประกอบดวย ย ปจจยั และ อิ อาคม หนา ย, เต วิภัตติ บงตนเองวา เปน กิรยิ า ของ โอทโน (ขาวสกุ ) ซ่ึงเปน ประธาน ดว ย ปจจัยและวิภัตติเปน เครือ่ งหมาย สเู ทน (อนั พอครัว) เปน กัตตา ผทู ำ แตมิไดเปน ประธานในประโยค ในวาจกนี้ ยกกรรมขนึ้ เปน ประธาน เพราะฉะนนั้ กริ ยิ าจงึ ตอ งใชส กมั มธาตอุ ยาง เดยี ว จะใช อกัมมธาตหุ าไดไ ม ทเี่ ปนเชน น้ี กเ็ พอื่ ใหตรงกบั ทใ่ี ชก รรมเปน ตวั ประธาน 81

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 82 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) องคประกอบของกัมมวาจก มี ๓ อยาง คอื ๑. กตั ตา ประกอบดว ยตตยิ าวภิ ตั ติ ๒. กรรม ประกอบดว ยปฐมาวภิ ัตติ ๓. กิริยา ประกอบดวย ย ปจจัย และ อิ อาคม หนา ย, ซ่ึงจะขาด อยางใดอยา งหนงึ่ ยอมไมได กิริยาในกัมมวาจกน้ี บางตัวที่ไมตองลง อิ อาคม มักแปลงปจจัย คือ ลง ย ปจจัยแลว ก็แปลง ย กบั ทส่ี ดุ ธาตุ เปนพยญั ชนะเพ่มิ เขามาอกี ตวั หนึง่ ตามวรรค ของตน เชน ปจฺ ธาตุ แปลง จ ทส่ี ุดธาตกุ ับ ย เปน จฺจ สำเร็จรปู เปน ปจฺจติ ลภฺ ธาตุ แปลง ภ ทสี่ ดุ ธาตุกบั ย เปน พภฺ สำเรจ็ รปู เปน ลพภฺ ติ เปน ตน บางคราวถาเปนธาตุตัวเดียว ก็มักซอน ยฺ พยัญชนะที่หนา ย ปจจัยบาง เชน สยุ ยฺ เต เปนตน เชนนไ้ี มตอ งลง อิ อาคม ๓. ภาววาจก กริ ยิ าศัพทใด กลา วเพียงความมคี วามเปน เทา นน้ั ไมก ลา วกัตตา และ กรรม คือ ไมยกผูทำหรือสิ่งท่ีถูกทำข้ึนเปนบทประธานในประโยค กิริยาศัพทน้ันเปน ภาว วาจก กริ ิยาศัพทในวาจกนีใ้ ชประกอบดว ย ย ปจ จัย เหมือนกัมมวาจก ตางแตไมมี อิ อาคมเทาน้ัน และใช เต วิภัตติ ฝายอัตตโนบท ปฐมบุรุษ เอกวจนะ อยางเดียว เทาน้ัน สวนตวั กตั ตา จะใชเ ปน พหุวจนะ และ บุรุษอืน่ ๆ ก็ไดไมจำกัด เชน เตน ภยู เต ฯ อันเขาเปน อยู ฯ เตน เปน กัตตา ใน ภูยเต ภูยเต เปนภาววาจก เพราะประกอบดวย ย ปจจยั เต วภิ ัตติ ฝายอตั ตโนบท ปฐมบุรษุ เอกวจนะ องคป ระกอบของภาววาจก มี ๒ อยาง คือ ๑. กัตตา ตองเปนตติยาวิภัตติเทานั้น สวน วจนะ จะเปน เอก. หรือ พหุ. ก็ใชไ ดท้ัง ๒ ประการ 82

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 83 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๒. กิริยา ตองประกอบดวย ย ปจจัย เต วิภัตติ เอกวจนะ และธาตุท่ีจะ พึงใชประกอบเปนกิริยาในวาจกนี้ นิยมใชเฉพาะอกัมมธาตุเทาน้ัน สกัมมธาตุหาใชไดไม ๔. เหตุกัตตวุ าจก กิริยาศัพทใด กลาวถึงผูที่ใชใหคนอื่นทำ คือ ยกผูใชขึ้นเปนตัวประธานใน ประโยค แสดงวาตวั ประธานของกิริยาซึง่ เปน ตัวคุมพากยใ นประโยคนนั้ มไิ ดล งมือทำเอง เปนแตบังคับใหผูอ่ืนทำ และกิริยา ก็เปนของผูใชน้ัน หาเปนกิริยาของผูถูกใช หรือ ส่ิงท่ีถูกผูถูกใชทำไม กิริยาศัพทน้ันเปน เหตุกัตตุวาจก คือ กลาวผูทำอันเปนเหตุคือ เปนผใู ช ในวาจกน้ีใชประกอบปจจัย ๔ ตัว คือ เณ, ณย, ณาเป, ณาปย ตัวใด ตวั หน่งึ เชน สามิโก สทู ํ โอทนํ ปาเจติ ฯ นาย ยังพอ ครวั ใหหงุ อยู ซึ่งขาวสุก ฯ ปาเจติ (ใหหงุ อย)ู เปน เหตุกตั ตวุ าจก เพราะประกอบดวย ณาเป ปจ จัย ติ วิภัตติ ซ่ึงบงใหทราบวาเปนกิริยาของ สามิโก (นาย) อันเปนตัวประธานของกิริยา ศัพท ดวยมปี จจยั และวภิ ตั ตินนั้ เปนเครอ่ื งหมาย สทู ํ (ยงั พอ ครัว) เปนการติ กรรม คือผถู ูกเขาใช โอทนํ (ซึง่ ขาวสกุ ) เปนกรรม (อวุตตกรรม) คอื สิง่ ทถี่ ูกผถู ูกใชทำ องคประกอบของเหตกุ ตั ตวุ าจก มี ๔ อยา ง คอื ๑. เหตุกัตตา ผูทำทเ่ี ปนเหตุ คือ ผใู ชป ระกอบดว ยปฐมาวิภัตติ ๒. การิตกรรม ผถู กู ใชป ระกอบดวยทตุ ยิ าวิภตั ติบา ง ตตยิ าวิภตั ตบิ าง ๓. กรรม สงิ่ ท่ีถูกผูถกู ใชทำ ประกอบดว ยทตุ ิยาวภิ ตั ติ ๔. กิริยา กริ ยิ าประกอบดวยปจจัยตัวใดตวั หนึ่งใน ๔ ตวั ดังกลาวแลว และ ใชวิภัตติฝายปรัสสบท ธาตุที่ใชในวาจกนี้ใชไดทั้งที่เปนสกัมมธาตุและ อกมั มธาตุ 83

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 84 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๕. เหตุกัมมวาจก กิริยาศัพทใด กลาวส่ิงที่ถูกผูถูกใชทำ คือ ยกส่ิงท่ีถูกผูถูกใชทำขึ้นเปนบท ประธานในประโยค แสดงวาตัวประธานในประโยคนนั้ เปน สง่ิ ทถ่ี กู ผถู กู ใชทำ และกิริยา ศัพทท่ีใชคุมพากย ก็เปนกิริยาของส่ิงน้ัน หาเปนกิริยาของผูใชหรือผูถูกใชไม กิริยา ศัพทน้นั เปนเหตกุ มั มวาจก คือ กลา วสง่ิ ทถี่ ูกผถู กู ใชทำอนั เปนเหตุ ในวาจกน้ีประกอบดวยปจจัยตัวใดตัวหน่ึงในกัตตุวาจก และประกอบดวย ณาเป ปจจัย กับท้ัง ย ปจจัย อิ อาคมหนา ย อีกดวย สวนวิภัตติใชประกอบดวย วภิ ัตติฝา ยอตั ตโนบท เชน สามเิ กน สูเทน โอทโน ปาจาปย เต ฯ ขาวสกุ อนั นาย ยังพอ ครวั ใหห ุงอยู ฯ ปาจาปยเต (ใหห ุงอยู) เปน เหตุกัมมวาจก เพราะประกอบดว ย ณาเป และ ย ปจจยั อิ อาคม บงตวั เองวาเปน กิรยิ าของ โอทโน (ขาวสุก) ซึง่ เปนบทประธานใน ประโยค สามเิ กน (อันนาย) เปนเหตุกัตตา คอื ผูใ ชใ หทำ สเู ทน เปน การิตกรรม คอื ผถู ูกเขาใชใหทำ องคป ระกอบของเหตกุ มั มวาจก มี ๔ อยา ง คือ ๑. เหตุกตั ตา ผูใชป ระกอบดว ยตตยิ าวิภตั ติ ใชอ ายตนิบาตวา “อนั ” ๒. การิตกรรม ผูถูกใชประกอบดวยตติยาวิภัตติเหมือนกัน แตใช อายตนิบาตวา “ยงั ” และประกอบดวยทุตยิ าวภิ ัตตบิ าง ๓. เหตุกรรม ส่ิงที่ผูถูกใชทำ ประกอบดวยปฐมาวิภัตติ เปนประธาน ในประโยค ๔. กิริยา ประกอบดวยเคร่ืองหมายดังกลาวแลว สวนธาตุใชเฉพาะ สกัมมธาตอุ ยางเดียวเทา นน้ั 84

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 85 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò สรปุ ตารางแสดงองคป ระกอบของวาจกทั้ง ๕ วาจก เหตกุ ตั ตา กัตตา กรรม กิริยา (ธาต+ุ ปจ จยั +วภิ ัตติ) กตั ตุ. ----- ป. (อ.) ทุ. (ซงึ่ ) อกัมม.-สกมั ม./ สยกตฺตา อวุตตฺ กมฺม กัมม. ----- ต. (อัน) ป. (อ.) ปจจัย ๑๐ ตวั / ปรสั ส. อนภิหติ กตตฺ า วตุ ตฺ กมฺม สกมั ม. / ย+อิ (อิย) / ภาว. ----- ต. (อนั ) อนภหิ ิตกตฺตา ---- ป. เอก.อัตตโน. เหตุกตั ตุ. ป. (อ.) ทุ. (ยัง) อกมั ม. / ย ปจจยั / เหตกุ ตฺตา การิตกมมฺ ทุ. (ซึง่ ) อวตุ ตฺ กมฺม อตั ตโน. อกมั ม.-สกมั ม. / เหตุกัมม. ต. (อนั ) ท.ุ -ต. (ยัง) ป. (อ.) เณ,ณย,ณาเป,ณาปย / อนภิหติ กตตฺ า ทุ.-การิตกมฺม วตุ ฺตกมมฺ ต.-ตตยิ าการิตฺตกมมฺ ปรสั ส. สกัมม. / ปจจัย ๑๐ ตวั +ณาเป+ย+อิ =ณาปย / อัตตโน. ๑.๓ วธิ ีสลบั วาจก ในวาจกทั้ง ๕ ดังที่กลาวมาแลวนี้ บางคราวในการแปลภาษามคธกลับมา เปนภาษาไทย บางประโยคแปลตามรูปของประโยค และตามวาจกเดมิ ไดความดี, แต บางคราวก็ขัดของตอภาษาไทย คือแปลตามวาจกเดิมไมสูจะไดเน้ือความสนิท ดังน้ัน เพ่ืออนโุ ลมใหเหมาะสมถกู ตอ งกับภาษานยิ ม ทานจงึ มวี ธิ ีใชส ลบั วาจก คอื กลับกนั ได เชน ประโยคท่ีเปนกัตตุวาจก เฉพาะประกอบกับธาตุที่มีกรรม อาจกลับ ความใหเปน กมั มวาจกได อ.ุ วา “ชโน กมฺม กโรติ. ชนทำอยซู ึง่ การงาน.” เปลยี่ นเปน กัมมวาจกวา “ชเนน กมมฺ  กริยเต. การงานอันชนทำอย.ู ” ดังน้กี ไ็ ด กัตตุวาจก เฉพาะธาตุไมมีกรรม อาจกลับความใหเปนภาววาจกก็ได อุ. วา โส คจฺฉติ เขาไปอยู. เปลยี่ นเปน ภาววาจก วา “เตน คจฉฺ ยเต๑ . อันเขาไปอย.ู ” ดังนก้ี ไ็ ด และในฐานะเชนเดียวกัน แตภาววาจกจะกลับไปกัมมวาจกหาไดไม เพราะ ภาววาจกใชไ ดเฉพาะกบั อกมั มธาตุเทา นน้ั ๑ คจฺฉิยเตติป ทิสฺสติ. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 85

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 86 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) อน่งึ ประโยคเหตุกัตตวุ าจก อาจกลับเปน เหตุกัมมวาจกได และในทำนองเดียวกัน ประโยคเหตุกัมมวาจก ก็อาจกลับเปนประโยค เหตกุ ัตตุวาจกได หลักสำคัญของการเปลี่ยนมีอยูเพียงวา ใหเปล่ียนตัว กัตตา กรรม และ ปจ จยั ใหถ กู ตอ งตามวาจกทปี่ ระสงคจ ะเปลย่ี น ดงั ทไี่ ดอ ธบิ ายไวแ ลว ในวาจกนน้ั ๆ ก็นับ วา เปน อันใชได ถาแมในการแปลถอื ความก็เชน เดียวกัน เชน เห็นประโยคท่ีเปนกัมมวาจกวา “ภาริย เม กมฺม กริยเต. กรรมหนัก อันเรายอมทำ.” อาจแปลกลับเปนประโยคกัตตุวาจกก็ไดวา “เรายอม ทำกรรมหนกั .” เชนน้เี ปนตน หรือประโยคเหตุกัตตุวาจกวา “เคห ฌาเปสิ. (เขา) ยังเรือนใหไหมแลว.” อาจแปลกลบั เปนประโยคกัตตุวาจกกไ็ ดว า “(เขา) เผาแลวซ่ึงเรือน” เชนนีเ้ ปนตน ๑.๔ ความสำคญั ของวาจก ในการพูดหรือการแตงหนังสือ ท่ีผูพูดหรือผูแตงตองการใหผูอ่ืนเขาใจความ ประสงคในถอ ยคำของตน หรือในการท่ีเราจะอานหนังสอื ท่ีทา นแตง ไว วาจกจดั วาเปน สำคัญอยางยิ่งประการหน่ึง เพราะถาผูพูด ผูแตง หรือผูอานไมเขาใจ หรือไมมีความ ชำนาญพอเพียงในวธิ ีการใชวาจกแลว ยอ มทำเน้อื ความท่ตี นประสงคใ หเ สยี ไป หรอื มิ ฉะนนั้ ก็อานไมเ ขาใจความหมายท่ีทานแตง ไว การกำหนดวาจกใหแ มน ยำ จึงเปนเครื่องอปุ กรณอ นั สำคญั ย่งิ เพราะในคำพูด ประโยคหนงึ่ ๆ ตองมีวาจกประจำอยูเสมอ จะละเวน เสียมไิ ด เวนแตใ นบางประโยคที่ ไมจ ำตอ งใชกริ ิยาเทา น้ัน แตกม็ เี ปน สว นนอย ฉะนั้น ผูศึกษาจึงควรกำหนดจดจำความหมายของวาจกทั้ง ๕ น้ีใหแมนยำ จักไดเปนผูฉลาดในการใชคำพูดไดถูกตอง ไมผิดพลาดทั้งในการพูด การเขียน และ ในการแปลประโยคตาง ๆ ทีท่ านไดรอ ยกรองไวแ ลว 86

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 87 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๒. ปจจัย ยังมีศัพทอีกพวกหนึ่ง สำหรับใชลงประกอบกับธาตุ ใชลงขางหนาวิภัตติ เปนเคร่อื งแสดงใหทราบถงึ วาจก การทจ่ี ะกำหนดวาจกใหแ มน ยำ ตอ งอาศัยกลุม ศัพท ที่ประกอบนี้เปนเคร่ืองสังเกต เพราะทุกวาจกตางมีกลุมศัพทเหลานี้เปนเคร่ืองชี้บอก ซ่ึงกลุม ศัพทเ หลา นี้นักปราชญทางดา นภาษาบาลบี ญั ญัติเรยี กวา “ปจ จยั ” ๒.๑ ความหมายของปจจัย คำวา “ปจ จัย” น้นั ไดม นี กั วชิ าการหลายแขนงใหความหมายไวแ ตกตางกันไป ดงั ตอไปน้ี คือ ปจฺจย (ป.ุ ) ธรรมเปนแดนอาศัยซ่ึงกันและกันเปนไป, ธรรมเปนท่ีอาศัย เปน ไป, ธรรมเปน แดนอาศัยซงึ่ เหตเุ ปนไป, เหตอุ นั ใหผ ลเปน ไป, ท่ีพึ่ง, ท่ีพำนัก, หัวหนา, เหตุ, มูลเคา, ความเช่ือ, ความค้ำจุน, ความชว ยเหลือ, ความอิม่ ใจ อ.ุ ปจฺจยํ เวทยนตฺ ิ ชนท. ยอ มเสวย ความอิ่มใจ, ปจจัย ชื่อของสวนที่ปรุงธาตุเปนเครื่องบอกวาจก มี อ เปนตน และสวนท่ีปรุงธาตุใหเปนนามมี กฺวิ เปนตน ช่ือเครื่องอาศัยของบรรพชิต ๔ อยาง คือ จีวร (ผา) บิณฑบาต (อาหาร) เสนาสนะ และเภสัช เรียกปจจัย ๔ ปจจัย ๔ อีก อยางหน่งึ คือ กรรม จิต อุตุ และอาหาร. วิ. ปฏิจจฺ ผลเมตสมฺ า เอตตี ิ ปจฺจโย. รปู ฯ ๓๔๗ ว.ิ ปฏิจจฺ เอตสฺมา อตฺโถ เอตีติ ปจจฺ โย. ปฏยิ นฺติ อเนน อตถฺ าตวิ า ปจจฺ โย. รูปฯ ๕๕๒ วิ. ปฏิจฺจ เอตสฺมา ผลเมตีติ ปจฺจโย. ปตปิ ุพฺโพ, อิ คมเน, อ. แปลง ปติ เปน ปจฺจ อิ เปน อย ปฏิ ใน วิ. น้ัน รปู ฯ วาแปลง ปติ เปน ปฏิ. อภฯิ ลง ณ ปจ. ฝายอภิธรรมวา ปจฺจย นี้ไมใชเหตุ แตเปนภาวะที่ อดุ หนุนใหมีกำลงั ใหเ กดิ ผล. (พจนานกุ รม มคธ-ไทย โดย พนั ตรี ป. หลงสมบญุ สำนกั เรยี นวดั ปากนำ้ จดั พิมพ ๒๕๔๐ หนา ๔๑๕) 87

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 88 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ปจจยั น. เหตุอันเปนทางใหเกิดผล, หนทาง, เชน การศึกษาเปน ปจจัยใหเกิดความรูความสามารถ, คำ “ปจจัย” กับ คำ “เหตุ” มักใชแทนกันได; เคร่ืองอาศัยยังชีพ, เคร่ืองอาศัยของ บรรพชิตมี ๔ อยาง คือ ผานุง ผาหม (จีวร) อาหาร (บิณฑบาต) ท่ีอยูอาศัย (เสนาสนะ) ยารักษาโรค (เภสัช) รวมเรียกวา จตุปจจัย คือ ปจจัย ๔, โดยปริยาย หมายถึง เงินตราก็ได; สว นเตมิ ทายศัพทเ พ่อื แสดงความหมาย. (ป.). (พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ หนา ๕๒๕) ปจ จยั ๑. เหตุที่ใหผลเปนไป, เหตุ, เครื่องหนุนใหเกิด ๒. ของสำหรับ อาศยั ใช, เครอื่ งอาศยั ของชวี ติ , สง่ิ จำเปน สำหรบั ชวี ติ มี ๔ อยา ง คอื จวี ร (ผา นงุ หม ) บณิ ฑบาต (อาหาร) เสนาสนะ (ทอ่ี ยอู าศยั ) คลิ านเภสัช (ยาบำบดั โรค) (พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท โดย พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต) หนา ๑๖๑) ในหนังสือคูมือเลมน้ีจะใหความหมายของคำวา “ปจจัย” เชนเดียวกันกับ นักวชิ าการทา นอน่ื ๆ คือ “ชอื่ ของสวนทป่ี รุงธาตเุ ปนเครอ่ื งบอกวาจก มี อ ปจ จยั เปน ตน ” ๒.๒ วธิ ีใชปจ จัย ปจจัยน้ัน ใชสำหรับประกอบศัพทลงทายธาตุ ขางหนาวิภัตติ เปนเคร่ือง แสดงใหทราบถงึ วาจก ตัวอยา งเชน ธาตุ ปจ จัย วภิ ัตติ บทสำเรจ็ กรฺ โอ ติ กโรติ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 88

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 89 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò คำวา กโรติ จงึ ประกอบดว ย กรฺ ธาตุ โอ ปจจัย ติ วัตตมานาวภิ ัตติ กริ ิยา ศัพทน ี้บงใหท ราบวา เปนกตั ตุวาจก แปลวา ยอ มทำ ๒.๓ ประเภทของปจจัย ปจ จัยน้นั ทา นก็จัดไวเปน ๕ หมวด ตามวาจก เมือ่ จะกลา วรวมเปน ตัว ๆ ใน อาขยาตนี้ ทานจัดปจจยั ไว ๒๑ ตวั คือ :- กตั ตุวาจก มีปจ จัย ๑๐ ตัว คือ อ, เอ, ย, ณ,ุ ณา, นา, ณหฺ า, โอ, เณ, ณย ใชลงตวั ใดตัวหน่ึงเปนเครอื่ งหมาย และปจจัยเหลานี้ ทา นจัดลงในธาตุ ๘ หมวด ดงั ที่ ไดอ ธบิ ายไวแลวในหมวดธาตุขา งตน กัมมวาจก มีปจจยั ๑ ตวั คือ ย และลง อิ อาคมหนา ย ภาววาจก มีปจ จัย ๑ ตัว คือ ย เหตุกัตตุวาจก มีปจจัย ๔ ตัว คือ เณ, ณย, ณาเป, ณาปย ใชลงตัวใด ตวั หนึ่งเปนเครอ่ื งหมาย เหตุกัมมวาจก ใชลงปจจัย ๑๐ ตัว ๆ ใดตัวหนึ่งในกัตตุวาจกน้ันดวย ลง ปจจัยในเหตกุ ตั ตวุ าจกอกี ตวั หน่ึง คอื ณาเป ดวย ลง ย ปจ จยั อิ อาคมหนา ย ดวย รวมลงพรอมกัน เปนอันวาเหตุกัมมวาจก ไมมีปจจัยของตนเอง ตองยืมปจจัยในกัมม วาจกและเหตุกตั ตุวาจก ท้ัง ย ปจจัย อิ อาคม ของกัมมวาจกมาใชเ ปนเครือ่ งหมาย นอกจากน้ียังมี ปจจัยพิเศษ สำหรับประกอบกับธาตุและนามศัพทอีก ๕ ตวั คอื ข, ฉ, ส, อาย, อยิ ซึ่งทานมิไดจ ัดลงในวาจกไหน แตเมื่อสงั เกตตามที่ใชใ น ปกรณทัง้ หลาย มีปรากฏใชแ ตใ นกัตตวุ าจกท้ังนั้น วาจกอื่นหามีไม ฉะนั้น จงึ นาจะลง สนั นษิ ฐานไดวา ปจ จัยท้ัง ๕ ตวั นี้ใชล งในกัตตุวาจกเทา น้นั 89

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 90 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๒.๔ วธิ ลี งและเปล่ยี นแปลงปจจยั ในวาจก ปจจยั ในกตั ตุวาจก อ เมอ่ื ลงประกอบกบั ธาตแุ ลว ไมม เี ปลยี่ นแปลง เปน แตล บออกเฉย ๆ และก็ คงทำกิริยาศัพทใหคงอยูตามเดิม คลายกับมิไดลง อ ปจจัยเลย แตอาศัยเสียงที่อาน เปนเครอ่ื งสังเกต คือมีเสยี งสระ -ะ อยูทา ยธาตุและหนาวภิ ตั ติ เชน หรติ, ลภต,ิ อกิ ฺขติ เอ เม่ือลงประกอบกับธาตุ ยอมทำเสียงของพยัญชนะที่สุดธาตุใหเปนเสียง สระ เ- เชน วเทหิ, มุ ฺเจติ, จินเฺ ตสิ ย เมื่อลงประกอบกับธาตุ โดยมากถาธาตุต้ังแตอายุ ๒ ตัวข้ึนไป มักแปลง กับพยัญชนะท่ีสุดธาตุเปนพยัญชนะน้ันๆ ดังไดแสดงไวแลวในหมวด ทิวฺ ธาตุ และ ถาธาตุตวั เดยี วมักคง ย ไว เชน ขยี ติ ณุ เม่อื ลงประกอบกับธาตุ พฤทธิเ์ ปน โณ เชน สุโณติ, สว โุ ณติ ณา เมือ่ ลงประกอบกบั ธาตุ คงไวต ามรูปเดิม เชน สณุ าติ, วณุ าติ นา เมื่อลงประกอบกับธาตุ คงไวตามรูปเดิม เชน ชินาติ, ลุนาติ บางคราว ลบเสียบาง เชน ชฺ า, แปลงเปน ณา บาง เชน วกิ กฺ ณี าติ, อุปจณิ าติ. แปลงเปน ย บา ง เชน นายติ ณหฺ า เมื่อลงประกอบกับธาตุ คงไวตามรูปเดมิ เชน คณฺหาติ ลบ อา แหง ณฺ หา เสียบา ง เชน คณฺหนฺต,ิ ปฏิคคฺ ณฺหตุ โอ เมื่อลงประกอบกับธาตุ ยอมทำพยัญชนะที่สุดธาตุใหเปนเสียงสระ โ- เชน ชาคโรต,ิ สกโฺ กติ แตบางคราวแปลงเปน อุ บา ง เชน กุรเุ ต แปลงเปน อว บา ง เชน กพุ พฺ ติ เณ-ณย เมื่อลงประกอบกับธาตุ ลบ ณ เสียคงไวแตสระ เ- และพยัญชนะ คือ -ย ปจจัย ๒ ตัวนี้ เปน ปจจยั ที่เน่ืองดว ย ณ เมอ่ื ลงแลว มีอำนาจดงั น้ี คอื :- ถาพยัญชนะหนาธาตุเปนรัสสะ คือ เปน อ, อิ, อุ ไมมีพยัญชนะสังโยคคือ ตัวสะกด ตองทำทฆี ะดงั น้ี 90

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 91 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò อ ทีฆะเปน อา อิ ทีฆะเปน อี หรอื วิการเปน เอ อุ ทฆี ะเปน อู หรอื วกิ ารเปน โอ แตถาเปนทีฆะอยูแลว ก็คงไวตามเดิมไมเปล่ียนแปลง พึงตรวจดูตามที่ได อธิบายไวแ ลว ในหมวด จรุ ฺ ธาตุ อน่ึง พึงทราบไวเปนพิเศษอีกวา ณ ปจจัย หรือปจจัยที่เนื่องดวย ณ ในท่ี ทกุ แหง มวี ธิ ลี งและเปลย่ี นแปลงทำนองเดยี วกนั นเ้ี สมอไป แตม ยี กเวน อยู ๓ ตวั เทา นน้ั คือ ณุ, ณา, ณฺหา เพราะปจจัย ๓ ตัวนี้ คงไวไมลบ และไมมีอำนาจท่ีจะทำอะไรแก พยัญชนะตนธาตุเหมอื น ณ ปจ จยั และปจจยั ทเี่ นอ่ื งดวย ณ ตัวอื่นๆ จะเปลยี่ นแปลง บาง ก็เปนการเปล่ียนแปลงตัวเองเทานั้น มิไดเปล่ียนแปลงสระของพยัญชนะตนธาตุ ใหเ ปน อยางอืน่ . ปจจัยในกัมมวาจก ย เมื่อลงประกอบกับธาตุแลว โดยมากคง ย ไว ถาคงไวเชนนั้น ตองลง อิ อาคมขา งหนา ย อีกดว ย เชน ปจิยเต คหยิ เต ถา คงไวไมลง อิ อาคม ตอ งซอ น ยฺ เชน สยุ ยฺ เต อนึ่ง บางคราว แปลงกับพยัญชนะท่ีสุดธาตุเปนพยัญชนะน้ันๆ คือ ตามแต พยัญชนะท่ีสุดธาตุจะเปนพยัญชนะอะไร ก็แปลงเปนพยัญชนะตัวน้ันเพิ่มเขามาเปน ตัวสะกดอกี ตวั หน่งึ เชน ปจฺจต,ิ วจุ จฺ ต,ิ วชิ ชฺ ติ ถาพยัญชนะท่ีสุดธาตุใชเปนตัวสะกดไมได ก็ใหแปลงเปนพยัญชนะท่ีเปน ตวั สะกดไดใ นวรรคเดยี วกนั เชน ลพฺภติ, วยุ ฺหติ วิธแี ปลงเชน นเี้ หมอื นกบั ย ปจจัยในหมวด ทิวฺ ธาตุ แตก ารที่จะสังเกตทราบ ไดว า เปน ย ปจ จยั ในกตั ตวุ าจกหรือกัมมวาจก ตองแลวแตเหตุทีใ่ ช คือ ถา ประกอบ กับธาตุในหมวด ทิวฺ เปนกัตตุวาจก ถาประกอบกับธาตุนอกน้ี และเปนสกัมมธาตุ เทา นน้ั เปน กัมมวาจก 91

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 92 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ปจ จัยในภาววาจก ย เมอ่ื ลงประกอบกบั ธาตแุ ลว คงไวต ามรปู เดมิ ไมม วี ธิ เี ปลย่ี นแปลงอะไร และ ตางจากกมั มวาจก คอื ไมต อ งลง อิ อาคมหนา ย เชน คจฺฉยเต๒, ภูยเต และลงที่อกมั ม ธาตุอยางเดียว. ปจ จัยในเหตุกัตตุวาจก เณ-ณย ๒ ตวั น้ี เมื่อลงประกอบกับธาตแุ ลว มีวิธีเหมอื นดังที่ไดอธิบายแลว ในกตั ตวุ าจก ตางกนั เพยี งวา ถาปจ จยั ๒ ตวั นี้ ลงประกอบกับธาตุในหมวด จรุ ฺ ธาตุ ก็เปนกัตตุวาจก ถาลงประกอบกับธาตุอ่ืนนอกจากหมวด จุรฺ ธาตุแลว เปนเหตุกัตตุ วาจก. ณาเป เมื่อลงประกอบกับธาตุแลว ลบ ณ เสีย คงเหลือไวแต -าเป เปน เครื่องปรากฏแสดงใหท ราบได เชน อาโรจาเปส,ิ คณหฺ าเปติ ณาปย เม่ือลงประกอบกับธาตุแลว ลบ ณ เสีย คงเหลือไวแต -าปย เปน เคร่อื งปรากฏแสดงใหท ราบได เชน ปาจาปยติ, การาปยติ ปจจัยในเหตุกมั มวาจก สำหรบั ปจ จัยในวาจกน้ี ไมมเี ฉพาะ ตองอาศยั ปจจัยในกัตตุวาจก และ ณาเป ปจจัยในเหตุกัตตุวาจก ประกอบกันเปนเคร่ืองลงท่ีธาตุ และตางจาก ณาเป ปจจัยใน เหตุกุตตุวาจกเพียงลง อิ อาคมหนา ย ประจำเสมอไป ซึ่งจะขาดเสียมไิ ด เชน ปาจา ปย เต, การาปย เต, ปติฏาปย เต ๒.๕ ปจ จยั พเิ ศษ – อพั ภาส ข, ฉ, ส ปจจัย ๓ ตัวนี้ มีวิธีเปล่ียนแปลงแปลกจากปจจัยตัวอ่ืนมาก วิธีนี้ ทา นเรยี กวา “อพั ภาส” ๒ คจฉฺ ิยเตตปิ  ทสิ ฺสติ. 92

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 93 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò คำวา “อัพภาส” ไดแก การท่ีทำ เทฺวภาวะ พยัญชนะเพ่ิมลงขางหนาธาตุ อกี ตวั หนึ่ง โดยมากนยิ มใชเฉพาะปจจัย ๓ ตวั คือ ข, ฉ, ส สว นปจ จัยนอกน้ี กม็ บี า ง แตม เี ปน สว นนอ ย เชน พวก อ ปจ จยั ตวั อยา งเชน ชโุ หต,ิ ททาต,ิ จงกฺ มติ เปนตน คำวา “เทวฺภาวะ” หมายความวา การทำพยัญชนะใหเ ปน ๒ ตวั คอื เพม่ิ พยญั ชนะซอ นเขา มาอีกตัวหนง่ึ แตก ารที่จะเพ่ิมเขา มานี้ ตองถือพยญั ชนะทอ่ี ยูต น ธาตุ เปนหลัก คือ พยัญชนะตัวตนของธาตุเปนพยัญชนะอะไร และอาศัยอยูกับสระอะไร ตอง เทฺวภาวะ เพ่ิมพยัญชนะท่ีเปนเชนเดียวกันน้ันกับสระเชนน้ัน ซอนลงขางหนา ของพยัญชนะที่เปนตน ธาตนุ น้ั เชน ฆสฺ ธาตุ ในความกนิ ตอ งทำเทวฺ ภาวะ คือเพิ่ม ฆ เขา ขางหนา พยญั ชนะตน ธาตุอกี ตัวหน่งึ เปน ฆฆสฺ หรฺ ธาตุ ในความนำไป ทำ เทฺวภาวะ ห ไวข า งหนาเปน หหรฺ เปน ตน ประเภทของ เทฺวภาวะ เทวฺ ภาวะ แบงเปน ๒ คอื เทวฺ ภาวะพยญั ชนะ และเทฺวภาวะสระ เทฺวภาวะพยัญชนะ ไดแก พยัญชนะท่ีถูกทำเทฺวภาวะนั้น เรียกวา “พยัญชนะอพั ภาส” เทฺวภาวะสระ ไดแก สระที่ติดกันอยูกับพยัญชนะน้ัน ซ่ึงจะถูกทำเทฺวภาวะ ตามพยัญชนะดว ย เรียกวา “สระของพยญั ชนะอัพภาส” ตามหลกั ท่ีทา นนยิ ม กอ นที่จะทำ เทวฺ ภาวะ ตองลงปจจัยและวภิ ตั ตทิ ต่ี ัวธาตุ นั้นใหส ำเรจ็ เสียกอน เชน คุปฺ ธาตุ ตอ งลง ฉ ปจ จัย ติ วิภตั ติ เปน คปุ ฉติ เสียกอน แลวจงึ เทฺวภาวะ เปน คุคปุ ฉติ เปนตน ตอนนั้ จึงทำวธิ เี ปล่ยี นแปลงเปนลำดบั ไป พยัญชนะที่เปนตัวอัพภาส โดยมากตองเปลี่ยนแปลงใหเปนพยัญชนะอื่นอีก ตอ หนงึ่ แตท ี่คงไวกม็ อี ยบู า ง คอื เดมิ เปนมาอยา งไรก็คงใหเ ปน อยอู ยางน้ัน ขอ น้ไี มสู จะเปนขอยุงยากอะไรนัก แตที่แปลงเปนพยัญชนะอื่นบาง ตองอาศัยมีหลักเกณฑ สำหรบั เปลีย่ นแปลง วธิ เี ปลย่ี นแปลงนั้น มีหลักดังตอไปนี้ :- 93

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 94 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) วธิ ีแปลงพยญั ชนะเปนอัพภาส ๑. ถา พยัญชนะอัพภาส เปน ก วรรค ตอ งเปลีย่ นเปน จ วรรค ขอ สำคญั ของ การเปลี่ยน ตอ งใหตรงตามลำดับอักษรของวรรคน้นั คือ ก เปน อกั ษรท่ี ๑ ก็ตอ งแปลงใหเ ปน จ ซึง่ เปนอักษรที่ ๑ ใน จ วรรคเหมือนกนั ตัวอนื่ กแ็ ปลงโดยทำนองนี้ คอื ข (พยัญชนะท่ี ๒) แปลงเปน ฉ (พยญั ชนะที่ ๒) ค (พยัญชนะที่ ๓) แปลงเปน ช (พยัญชนะท่ี ๓) ฆ (พยัญชนะท่ี ๔) แปลงเปน ฌ (พยญั ชนะท่ี ๔) ง (พยญั ชนะท่ี ๕) แปลงเปน  (พยญั ชนะที่ ๕) ก. แปลง ก เปน จ เชน จงฺกมติ (ยอมจงกรม) เดมิ เปน กมฺ ธาตุ ลง อ ปจ จยั ติ วภิ ัตติ เปน กมติ, ทำ เทวฺ ภาวะ ก ไวข างหนา เปน กกมติ แปลง ก ตัวอัพภาสเปน จ ไดรูปเปน จกมติ, แลวลงนิคคหิตอาคมท่ี จ เปน จกมติ, ตามหลักอาเทสนิคคหิต เม่ือมี ก อยหู ลงั แปลงนคิ คหิตเปน งฺ ได จำสำเรจ็ รูป จงฺกมต.ิ ข. แปลง ค เปน ช เชน ชิคุจฺฉติ (ยอมเกลียดชัง) เดิมเปน คุปฺ ธาตุ ลง ฉ ปจจัย ติ วิภัตติ เปน คุปฉติ, ทำ เทฺวภาวะ คุ ไวข า งหนา เปน คคุ ปุ ฉติ แปลง ค ตวั อพั ภาสเปน ช ไดร ปู เปน ชุคุปฉติ, แปลงสระ อุ ที่ ชุ เปน อิ เปน ชิคุปฉติ, ฉ ปจจัย อยูเบื้องหลัง มีอำนาจใหแปลงท่ีสุดธาตุเปน จ ตามหลักของ พยัญชนะสังโยค คือพยัญชนะท่ี ๑ ซอนหนาพยัญชนะท่ี ๑-๒ ในวรรคของตนได จงึ สำเร็จรปู เปน ชคิ ุจฺฉติ ค. ในท่ีบางแหงท่ีมีลำดับอักษรผิดกันมาแตเดิม ก็มีวิธี คือ ตอง แปลงใหตรงตามลำดับกันเสียกอน แลวจึงแปลงตอไป เชน ชิฆจฺฉติ (ยอมปรารถนาจะกิน) เดิมเปน ฆสฺ ธาตุ ลง ฉ ปจจัย ติ วิภัตติ เปน ฆสฉติ, เทฺวภาวะ ฆ ไวขางหนา เปน 94

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 95 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ฆฆสฉติ, จะแปลง ฆ เปน ช ทีเดียวยังไมไดกอน เพราะ ฆ เปนพยัญชนะท่ี ๔ สวน ช เปนพยัญชนะที่ ๓ ยังผิดลำดับ กันอยู ฉะนั้น จึงจำเปนตองแปลงเปน ค ซึ่งเปนพยัญชนะ ท่ี ๓ เปน คฆสฉติ เพื่อไดลงลำดับกับ ช เสียกอน, ตอน้ันจึง แปลง ค เปน ช ได แลวมีรูปเปน ชฆสฉติ, เอาสระ อ แหง ช เปน อิ เปน ชิฆสฉติ, ฉ ปจจัยอยูเบื้องหลัง มีอำนาจใหแปลง ท่สี ดุ ธาตุเปน จฺ ดงั กลา วแลว จงึ สำเร็จรปู เปน ชฆิ จฺฉติ ๒. ถาพยัญชนะอัพภาสอยูในวรรคอื่น ซึ่งนอกจาก ก วรรคที่กลาวแลว โดยมากมักแปลงเปน พยญั ชนะวรรคเดียวกัน ดงั ที่ทา นตงั้ เกณฑไ ววา พยญั ชนะอัพภาสเปน อกั ษรที่ ๒ ใหแปลงเปนอกั ษรที่ ๑ เปน อักษรท่ี ๔ ให แปลงเปนอักษรที่ ๓ ตัวอยา งเชน จจฺเฉท (ตัดแลว) เดิมเปน ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด ลง อ ปจจัย อ วิภัตติเปน ฉิท, ทำ เทฺวภาวะ ฉิ ไวขางหนา เปน ฉิฉิท, แลวแปลง ฉ (อกั ษรที่ ๒) เปน จ (อักษรท่ี ๑) จงึ เปน จฉิ ิท, เอา อิ แหง จิ เปน อ แลว ซอ น จฺ ไดร ปู เปน จจฉฺ ทิ , พฤทธิ์ อิ แหง ฉทิ ฺ เปน เอ สำเรจ็ รปู เปน จจเฺ ฉท พุภุกฺขติ (ยอมปรารถนาจะกิน) เดิมเปน ภุชฺ ธาตุ ในความกิน ลง ข ปจ จยั ติ วภิ ตั ตเิ ปน ภชุ ขต,ิ ทำ เทวฺ ภาวะ ภุ ไวข า งหนา เปน ภภุ ชุ ขต,ิ แปลง ภ (อักษรท่ี ๔) เปน พ (อักษรท่ี ๓) จึงเปน พุภุชขติ, ข ปจจัย อยูเ บอื้ งหลัง มีอำนาจใหแ ปลงที่สดุ ธาตเุ ปน กฺ สำเร็จรูปเปน พภุ ุกฺขติ ๓. อีกอยางหนึ่ง ยังมีพยัญชนะอัพภาสบางตัว ซ่ึงหาไดแปลงตามหลัก ดังกลาวมาแลวน้ีเสมอไปไม ยังอาจแปลงเปนอยางอื่นไดอีก ซึ่งทานกำจัดไดเฉพาะ ธาตบุ างตัว เชน ใหแปลงพยญั ชนะอัพภาส คอื กิ แหง กติ ฺ ธาตุ เปน ต เชน ติกิจฺฉติ มา แหง มานฺ ธาตุ เปน ว เชน วมี สติ 95

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 96 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ห แหง หรฺ ธาตุ เปน ช เชน ชิคึสติ วธิ ีทำเชนนี้ ยอ มมอี ยโู ดยสว นนอย. สระแหง พยญั ชนะอัพภาส ในที่นี้หมายถึง สระท่ีติดอยูกับพยัญชนะท่ีเปนตัวอัพภาส เพราะพยัญชนะ ทุกตัว ยอมมีสระติดประจำอยูเสมอ ก็สระของพยัญชนะอัพภาสเชนน้ี ตามท่ีเปนไป โดยมาก มักแปลงเปนอยางอื่นอีกตอหนึ่ง แตคงที่ไวก็มีบาง แตเปนสวนนอย เชน พภุ ุกฺขติ เฉพาะท่ีแปลงพงึ สังเกต ดังตอไปน้ี :- ก. สระท่ีติดอยูกับพยัญชนะอัพภาสทั้งหมด มีนิยมใหรัสสะเสมอ ถึงแม เดิมจะเปน ทีฆะอยูก็ตาม ข. สระที่ติดอยูกับพยัญชนะอัพภาส จะเปนสระอะไรก็ตาม หรือจะ มากนอยเทาไรก็ตาม แตเม่ือถึงคราวแปลง ยอมแปลงเปน ๒ ตัว เทา นนั้ คือ ๑. แปลงเปน อ เชน ททาต,ิ ทธาต,ิ ชหาติ ๒. แปลงเปน อิ เชน ชคิ ึสต,ิ ชิฆจฉฺ ต,ิ ชคิ จุ ฺฉติ คำแปลของ ข, ฉ, ส ปจจยั ปจจัย ๓ คือ ข, ฉ, ส เมื่อใชประกอบกับธาตุแลวออกสำเนียงคำแปลวา “ปรารถนา” ท่ีเปนเชนน้ี ก็เฉพาะธาตุบางตัวเทานั้น แตบางตัวก็หาออกสำเนียง คำแปลเชนนั้นไม เมอื่ เปน เชน น้ี พึงสังเกตตามหลักดงั ที่ทานวางไวดังน:้ี - ข, ฉ, ส ๓ ตัวนี้ ก. ถาประกอบกับธาตุ เฉพาะธาตุ ๕ ตัวน้ีเทานั้น คือ ภุชฺ, ฆสฺ, หร,ฺ ส,ุ ปา ตอ งออกสำเนยี งคำแปลวา “ปรารถนา” ไวข า งหนา คำแปลของธาตเุ สมอ เชน 96

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 97 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò (ภชุ )ฺ พุภกุ ขฺ ติ ปรารถนาจะกิน (ฆสฺ) ชฆิ จฺฉติ ปรารถนาจะกนิ (หร)ฺ ชิคสึ ติ ปรารถนาจะนำไป (สุ) สุสสฺ สู ติ ปรารถนาจะฟง (ปา) ปว าสติ ปรารถนาจะดมื่ ข. ถาไปประกอบกับธาตุอื่น นอกจาก ๕ ตัวดังที่กลาวมาแลว นั้น ไมต องออกสำเนียงคำแปลวา “ปรารถนา” เชน ติติกฺขติ ยอมอดกลน้ั (ข ปจ จัย) ชิคุจฉติ ิ ยอ มเกลียดชัง (ฉ ปจ จยั ) ติกิจฉฺ ติ ยอ มรกั ษา (ฉ ปจจยั ) วีมส ติ ยอ มทดลอง (ส ปจจยั ) ข, ฉ, ส ปจ จยั ซง่ึ นอกจากทใี่ หล งในธาตุ ๕ ตวั และแปลวา “ปรารถนา” แลว มักนิยมใหลงในธาตุ ๔ ตัว ดังที่กลาวแลวนี้เทาน้ัน คือ ติชฺ, คุปฺ, กิตฺ, มานฺ ดังอุทาหรณ ที่ยกไวแ ลวตามลำดบั ขางตน อำนาจแปลงธาตุของ ข, ฉ, ส ปจ จัย ปจจัย ๓ ตวั เมอ่ื ลงประกอบกับธาตุแลว มักไมคงธาตุไว ยอ มตองแปลงธาตุ เสมอไป แตการแปลงนน้ั ทา นกำหนดไวดังนี้ :- ข ปจ จยั มอี ำนาจใหแ ปลงทสี่ ดุ ธาตเุ ปน ก ฉ ปจจัย มีอำนาจใหแ ปลงทส่ี ดุ ธาตุเปน จ ส ปจจัย มอี ำนาจใหแปลงตวั ธาตทุ ้ังหมดเปน อยา งอื่น คือ ใหแ ปลง มานฺ ธาตุ เปน ม ใหแปลง หรฺ ธาตุ เปน คึ ใหแ ปลง ปา ธาตุ เปน วา เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 97

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 98 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) วธิ ลี งนคิ คหติ อาคม พยัญชนะอพั ภาสบางตวั มีนิยมใหลงนิคคหติ อาคมไดบ าง แตเ มอ่ื ลงแลว ให แปลงนิคคหติ นัน้ เปนพยญั ชนะทสี่ ุดวรรค ๕ ตัว คือ ง, , ณ, น, ม ตวั ใดตวั หนึ่ง คอื :- ถา อยูใน ก วรรค ใหแปลงเปน งฺ ถา อยใู น จ วรรค ใหแปลงเปน ฺ ถาอยูใน ฏ วรรค ใหแ ปลงเปน ณฺ ถา อยูใ น ต วรรค ใหแ ปลงเปน นฺ ถาอยใู น ป วรรค ใหแ ปลงเปน มฺ อาย - อยิ ปจ จัย อาย - อยิ ปจ จยั ๒ ตวั น้ี ตา งจากปจ จยั อน่ื คอื อาจนำไปใชล งในนามศพั ท และ ทำนามศัพทนั้นใหเปนกิริยาได ซึ่งปจจัยเหลาอื่นลวนมีกำหนดใหลงไดเฉพาะที่ธาตุ เทาน้ัน ฉะน้ัน นามศัพทจึงอาจเปนมูลแหงกิริยาศัพทไดเชนเดียวกับธาตุ ในเมื่อใช ปจ จยั ๒ ตัวนีป้ ระกอบเขา ดังน้ัน จึงตองถือเปนหลักไดตอไปอีกวา ท่ีตั้งท่ีเกิดอันเปนรากเหงาของ อาขยาตนัน้ มี ๒ คือ ธาตุอยา ง ๑ นามศพั ทอ ยาง ๑ ธาตใุ ชไ ดท ว่ั ไปสำหรบั ปจ จยั อนื่ นามศพั ทใ ชไ ดเ ฉพาะปจ จยั ๒ ตวั เทา นนั้ อาย - อยิ ปจ จยั ๒ ตัวน้ี เม่ือใชประกอบกบั นามศพั ทแลว ตองออกสำเนยี ง คำแปลวา “ประพฤติ” และบางคำก็ตอคำวา “เพียงดัง” ซ่ึงเปนคำอุปมาเพิ่มเขามา อีก หลักท่ีจะพงึ สังเกตในท่ีนี้ มีอยดู งั น้ี :- ก. ถาประกอบกับนามศัพทท่ีเปนนามนาม มีสำเนียงคำแปลวา “ประพฤติ เพียงดงั ” เชน ปตุ ตฺ ยิ ติ ยอ มประพฤติใหเปน เพยี งดังบตุ ร ข. ถาประกอบกับนามศัพทที่เปนคุณนาม มีสำเนียงคำแปลวา “ประพฤติ” เชน จิรายติ ประพฤติชา อยู 98

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 99 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ปจจยั ทใ่ี ชนอย มปี จ จยั ทปี่ รากฏอยใู นมลู กจั จายน ซงึ่ ไมส จู ะใชใ นปกรณท ง้ั หลายอกี ๘ ตวั ไดแก อล, อาร, อาล, อ,ิ อ,ี อณุ า, ปปฺ , ยริ และปจ จยั เหลา น้ี ทา นมไิ ดก ลา วไวใ นบาลไี วยากรณ โดยเหตุท่ีมีใชนอยที่สุด แตก็พึงทราบไว เพื่อเปนเคร่ืองประดับความรู จะไดยกมา แสดงพรอ มทัง้ อทุ าหรณ ดงั ตอไปน้ี :- อล เปนปจ จัยนอกหมวดธาตุ อุ. โชตลติ ยอ มรุงเรอื ง อาร เปนปจจยั นอกหมวดธาตุ อุ. สนตฺ รารติ ยอ มขาม อาล เปนปจจัยนอกหมวดธาตุ อุ. อปุ กฺกมาลติ ยอ มกา วไป อิ เปนปจจยั สำหรบั หมวด รุธฺ อุ. รุนธฺ ิติ ยอ มกัน้ -ปด อี เปนปจจัยสำหรบั หมวด รุธฺ อุ. รนุ ธฺ ตี ิ ยอมก้ัน-ปด อณุ า เปนปจจยั สำหรบั หมวด สุ อ.ุ ปาปุณาติ ยอมถงึ -บรรลุ ปปฺ เปน ปจ จยั สำหรับหมวด คหฺ อุ. เฆปปฺ ติ ยอมถอื เอา ยริ เปนปจจัยสำหรับหมวด ตนฺ อ.ุ กยิรา พงึ ทำ ๒.๖ ความสำคัญของปจ จยั ปจจัยยอมเปนสำคัญในการศึกษาอาขยาตสวนหน่ึง เพราะธาตุทุกตัวท่ีใช ประกอบเปนกิริยาศัพทจะขาดปจจัยเสียมิได และปจจัยน้ียังเปนเคร่ืองชี้ในทราบถึง วาจกอีก การแปลก็ดี การผกู ประโยคกด็ ี จำเปนตองทราบและใชก ริ ิยาใหถ ูกตอง และ กิริยาที่ใชในการประกอบประโยคยอมตองหมุนเวียนไปตามลักษณะของวาจก สวน วาจกที่จะเปนรูปขึ้นไดก็ตองอาศัยปจจัยเขาประกอบ จำเปนที่ผูศึกษาจะตองเขาใจ และใชปจจัยใหถูกตองชัดเจน จึงจะแปลและผูกประโยคใหถูกตอง มิฉะนั้นแลวอาจ เขา ใจวาจกผดิ ๆ พลาด ๆ โดยทเ่ี ขา ใจไมถ ถ่ี ว นในปจ จยั ทำใหก ารแปลและผกู ประโยค พลอยผดิ จากความเปน จรงิ ไปดว ย เพราะฉะนน้ั ปจ จยั จงึ นบั วา เปน สว นแหง เครอ่ื งปรงุ ท่ี สำคัญมากสวนหน่ึงแหงอาขยาต ในการที่จะประกอบธาตุใหเปนกิริยาศัพท ความ สำคญั ของปจจยั นน้ั พอสรุปเปน ขอ ๆ ไดดงั น้ี 99

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 100 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๑. ประกอบกบั ธาตใุ หเ ปน กริ ยิ าศพั ท เพราะกริ ยิ าศพั ทจ ะขาดปจ จยั ไมไ ด ๒. เปน เคร่อื งบง ใหท ราบถึงวาจกวา ปจจัยตัวนี้เปนวาจกอะไร ๓. วาจกจะเปน รปู ปรากฏขึ้นมาตอ งอาศัยปจจยั ประกอบ ๔. การแปลก็ดี การผูกประโยคก็ดี จำตองเขาใจและใชปจจัยใหถูกตอง ชดั เจน ************************ จบอาขยาต 100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook