Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาขยาต-กิตก์

อาขยาต-กิตก์

Description: อาขยาต-กิตก์

Search

Read the Text Version

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 301 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๘. ลภฺ ธาตุ ลง มาน ปจ จัย ทีเ่ ปนกัมมวาจกมีรูปเปน อยางไร ? ก. ลภมาโน ข. ลพภฺ มาโน ค. ลาภาเปมาโน ง. ลาภาปย มาโน ๙. กตั ตสุ าธนะหมายถงึ อะไร ? ก. ศัพททเี่ ปน ชือ่ ของผทู ำ ข. ศพั ทท ี่เปน ช่อื ของส่งิ ทีถ่ ูกทำ ค. ศัพททเ่ี ปนช่อื ของเคร่ืองมอื ท่ใี ชทำ ง. ศพั ททเ่ี ปนชื่อของสถานที่ๆทำ ๑๐. ขอ ใดตอ ไปนเี้ ปน คำแปลของกตั ตรุ ปู กรณสาธนะ ? ก. เปน ที.่ . ข. เปนเครื่อง.. ค. เปนแดน.. ง. ผ.ู .โดยปกติ ๑๑. รูปวิเคราะหใ ดตอไปนี้ จัดเปนกัตตรุ ปู อธกิ รณสาธนะ ? ก. กมฺมํ กโรตตี ิ กมมฺ กาโร ข. คมนํ คมนํ ค. ปหรติ เตนาติ ปหรณํ ง. สยติ เอตถฺ าติ สยนํ ๑๒. รูปวเิ คราะหแหงสาธนะทานแบง ไวเ ทา ไร ? ก. ๒ รปู ข. ๓ รูป ค. ๔ รปู ง. ๕ รปู ๑๓. ปจจยั นามกิตกในกิตปจจัย นยิ มตง้ั วเิ คราะหเ ปน รปู และสาธนะอะไร ? ก. กตั ตุรปู กัตตสุ าธนะ ข. กมั มรูป กัมมสาธนะ ค. ภาวรปู ภาวสาธนะ ง. กตั ตุรูป กรณสาธนะ ๑๔. ปจจัยใดตอไปน้ีไมน ิยมลงในอรรถแหงตสั สีละ ? ก. กฺวิ ข. ณี ค. ตุ ง. รู ๑๕. บทตอ ไปนี้คือ “ปุฺ+กร+ณ”ี สำเรจ็ รูปเปนอะไร ? ก. ปุ ฺกรี ข. ปุ ฺ การี ค. ปุ ฺกรณี ง. ปุ ฺการณี เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 301

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 302 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ๑๖. ณฺวุ ปจจัย เมือ่ นำมาประกอบกับธาตแุ ลว มีอำนาจหลายประการยกเวนขอใด ? ก. แปลงเปน อก ข. ตน ธาตเุ ปนรัสสะใหพ ฤทธิ์ ค. ธาตมุ ี อา เปน ทส่ี ุด แปลง อา เปน อาย ง. ธาตุ ๒ ตวั ใหล บท่สี ดุ ธาตุ ๑๗. ปจจัยคอื ข นยิ มบทหนาหลายตัวยกเวน ขอ ใดตอ ไปน้ี ? ก. ทุ ข. สํ ค. อีส ง. สุ ๑๘. คำวา “วิ+า+ณยฺ ” สำเร็จรปู เปน อะไร ? ก. วิายํ ข. วิ าณฺยํ ค. วิเฺ ยยฺ ํ ง. วิ ฺ าณํ ๑๙. ปจ จัยนามกติ กหมวดกติ กิจจปจ จัยมีเทาไร ? ก. ๒ ตัว ข. ๓ ตัว ค. ๕ ตัว ง. ๗ ตวั ๒๐. ปจ จัยในกิตกิจจปจจยั เปน รูปและสาธนะใดไมไ ด ? ก. กัตตรุ ปู กัตตุสาธนะ ข. กัตตุรปู กัมมสาธนะ ค. กัมมรปู กรณสาธนะ ง. กมั มรปู ภาวสาธนะ ๒๑. ปจ จยั นามกิตกใ ดไมเ ปนรูปและสาธนะอะไรเลย ? ก. ข ณยฺ ข. อ อิ ค. เตวฺ ตุ ง. ติ ยุ ๒๒. ปจ จัยตอไปน้เี ม่อื ลงแลวตอ งแปลงเปน อน หรือ อณ เสมอ ? ก. เตฺว ข. ติ ค. ตุ ง. ยุ ๒๓. รูปวเิ คราะหว า “พุชฌฺ ติ เอตายาติ พทุ ฺธ”ิ เปนรูปและสาธนะอะไร ? ก. กัตตุรูป กตั ตุสาธนะ ข. กตั ตรุ ูป กมั มสาธนะ ค. กตั ตรุ ูป กรณสาธนะ ง. กัตตุรปู อธิกรณสาธนะ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 302

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 303 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๒๔. รูปวเิ คราะหว า “ภยํ ปสฺสติ สเี ลนาติ ภยทสสฺ าว”ี เปนรปู และสาธนะอะไร ? ก. กตั ตุรปู กตั ตุสาธนะ ข. กตั ตุรูป ตสั สีลสาธนะ ค. สมาสรูป ตัสลลี สาธนะ ง. กตั ตุรปู อปาทานสาธนะ ๒๕. ปจ จัยใดตอไปนี้เมอ่ื ลงแลวไมมอี ำนาจลบทส่ี ดุ ธาตุ ? ก. ณฺวุ ข ยุ ข. ริจฺจ ริตุ รริ ยิ ค. ราตุ กวฺ ิ รู ง. ร รตฺถุ รมมฺ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 303

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 304 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ตอนที่ ๓ ใหนกั เรียนทำเครือ่ งหมายถูก ( ) หนาขอท่ถี ูกตอ ง และทำเคร่อื งหมายผดิ ( ) หนา ขอท่ผี ิด (ปญหามี ๒๕ ขอ ๆ ละ ๑ คะแนน) ( ) ๑. กาลแหง กิริยากิตกว า โดยยอ มี ๒ คอื ปจจบุ นั ๑ อนาคต ๑ ( ) ๒. ปจ จัยคือ อนยี , ตพพฺ ไมใชเปนกัตตวุ าจกและเหตกุ ัตตุวาจก ( ) ๓. ปจ จัยกริ ยิ ากติ กคือ อนต ตวนตุ ตาวี ใชเ ปน กิริยาคมุ พากยไ ด ( ) ๔. คำวา คจฺฉนฺโต ในประโยควา “เสฏ คามํ คจฺฉนฺโต กมฺมนฺตํ อกาสิ ฯ” ประกอบถูกตามหลักไวยากรณ ( ) ๕. ตวนต ุ ปจ จยั ในปุงลงิ คแจกตามแบบ ภควนตุ ศพั ท ( ) ๖. ต ปจ จัย ไมน ยิ มใชเปนกตั ตวุ าจกและกัมมวาจก ( ) ๗. ตูน ตวฺ า ตวฺ าน ปจจยั ในที่ ๆ มอี ปุ สคั นำหนา นยิ มแปลงเปน ย ( ) ๘. ต ปจจยั ทป่ี ระกอบกบั อกมั มธาตุ ใชเ ปนไดท ุกวาจก ( ) ๙. คำวา “นามกติ ก” หมายถึงกิตกท่ีใชเปนสัพพนาม ( ) ๑๐. รปู วิเคราะหว า “ภุชฺ ิตพพฺ นตฺ ิ โภชนํ” เปน ภาวรูป ภาวสาธนะ ( ) ๑๑. รูปวิเคราะหวา “ธมฺมํ วตฺตุ สีลมสฺสาติ ธมฺมวาที” เปนสมาสรูป ตสั สีลสาธนะ ( ) ๑๒. รูปวเิ คราะหแหงสาธนะทีเ่ ปน เหตกุ ตั ตวุ าจก จัดเปน เหตุกตั ตุรปู ( ) ๑๓. ปจ จยั นามกติ กค ือ อ อิ ณ มิไดจัดอยใู นหมวดกิตปจจยั ( ) ๑๔. กฺวิ ปจจัย ลงแลว ตอ งลบ กวฺ ิ ทิง้ และตอ งมีบทหนาเสมอ ( ) ๑๕. คำวา “ทายิกา” มาจาก ทา ธาตุในความให ณวฺ ุ ปจจยั ( ) ๑๖. ปจจัยคอื ณี และ ณฺวุ เมอื่ ลงในธาตุ ๒ ตัวแลว มักลบที่สดุ ธาตุ ( ) ๑๗. ณฺย ปจจัยเม่ือลงกับธาตุแลวใหลบ ณ แลวแปลง ย กับพยัญชนะท่ีสุด ธาตเุ ปน อยางอื่น ( ) ๑๘. อิ ปจ จัย นิยมลงกับ ทา หรือ ธา ธาตุ เชน อุทธิ เปน ตน ( ) ๑๙. ศพั ทต อ ไปนค้ี อื ทาโย โสโก สงขฺ าโร จาโค มไิ ดล ง ณ ปจ จยั ในนามกติ ก ( ) ๒๐. ปจ จัยในนามกิตกคือ ตุ ถามีกรรมเปน บทหนาใหลง นุ อาคม 304

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 305 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ( ) ๒๑. ปจจัยนามกิตกคือ ณฺวุ ตุ ยุ นิยมแปลหักฉัฏฐีวิภัตติลงในอรรถแหง ทุตยิ าวิภตั ติ ( ) ๒๒. ตุ ปจจยั ใชแ ทนวภิ ัตตนิ าม ๒ วิภัตตคิ ือ จตุตถีวิภตั ติและฉัฏฐีวภิ ตั ติ ( ) ๒๓. ปจจยั ตอ ไปนคี้ ือ รมมฺ รตฺถุ ริจฺจ เปนปจ จยั นอกแบบในนามกิตก ( ) ๒๔. คำวา “โอปนยิโก – ควรเพื่ออันนำเขาไป (ในตน)” มีวิเคราะหว า “อุปเนตุ สีลมสสฺ าติ โอปนยิโก” ( ) ๒๕. คำวา “มาตุ – ผูนับถือ (ซ่ึงบุตรโดยธรรม) ” มาจาก มนฺ ธาตุในความ นบั ถือ ตุ ปจ จยั 305

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 306 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) เฉลยแบบฝก หัดประเมินผลนกั เรียน เร่ือง “กติ ก” รวมหนว ยท่ี ๗–๙ ตอนท่ี ๑ ใหนกั เรียนตอบคำถามตอไปน้ใี หถ กู ตอ ง (ปญหามี ๕ ขอ ๆ ละ ๑๐ คะแนน) ๑. ศัพทท่ีประกอบปจจัยหมูหน่ึงเปนเครื่องหมายของนามศัพทและกิริยาศัพท ทตี่ า งกนั เรยี กวา กติ ก ฯ แบง เปน ๒ คอื นามศพั ทอ ยา ง ๑ กริ ยิ าศพั ทอ ยา ง ๑ ฯ ๒. ปจจยั ในกริ ิยากติ กแ บงออกเปน ๓ หมวด คือ ๑. กติ ปจ จยั มีปจ จยั ๓ ตัว คอื อนตฺ ตวนตฺ ุ ตาวี ๒. กิจจปจจัย มปี จจยั ๒ ตวั คอื อนีย ตพพฺ ๓. กติ กิจจปจจยั มปี จจยั ๕ ตวั คอื มาน ต ตนู ตฺวา ตฺวาน อนตฺ มาน ๒ ตัวนบ้ี อกปจ จุบนั กาล แปลวา “อย”ู “เมอ่ื ” ตวนตฺ ุ ตาวี ต ตนู ตวฺ า ตวฺ าน ๕ ตวั นบ้ี อกอดตี กาล แปลวา “แลว ” “ครนั้ ….แลว ” อนยี ตพพฺ ๒ ตัวนี้บอกความจำเปน แปลวา “ควร” “พงึ ” ฯ ๓. ปจจัยกิริยากิตกในหมวดกิตปจจัยเปนได ๒ วาจก คือ กัตตุวาจกและ เหตกุ ตั ตวุ าจก ฯ ปจ จยั กิรยิ ากติ กท ่ใี ชเปน นามกติ กไดมี ๒ ตวั คอื อนยี และ ต ฯ อนีย ปจจัย อุ. ขาทนีเยน โภชนีเยน ปณีเตน ปริวิสิ ฯ เขา อังคาสแลว ดวย ของควรเคี้ยว ดว ยของควรบรโิ ภค อันประณตี ฯ ต ปจจยั อุ. พุทโฺ ธ พระพุทธเจา ฯ ทิฏโ แปลวา อันเขาเห็นแลว มาจาก ทิสฺ ธาตุในความเห็น ต ปจจัย สิ ป. เอก. ธาตุมี ส เปนท่ีสุดอยูหนาแปลง ส กับ ต เปน ฏ เอา อ กับ สิ เปน โอ สำเรจ็ รูปเปน ทฏิ โ . อุปฺปชฺช แปลวา เกิดขึ้นแลว มาจาก อุ บทหนา ปท ธาตุ ในความถึง ตูนาทิ ปจจัย ซอน ปฺ หนา ป มีอุปสัคอยูหนา แปลง ตูนาทิปจจัย เปน ย แลว แปลง ย กบั ท ท่ีสดุ ธาตุ เปน ชฺช สำเรจ็ รปู เปน อุปปฺ ชชฺ . 306

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 307 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๔. ศัพทที่ทานใหสำเร็จมาแตรูปวิเคราะหชื่อสาธนะ มี ๗ คือ กัตตุสาธนะ ๑ กัมมสาธนะ ๑ ภาวสาธนะ ๑ กรณสาธนะ ๑ สัมปทานสาธนะ ๑ อปาทาน สาธนะ ๑ อธกิ รณสาธนะ ๑ ฯ ผูทำไปปราศจากของสิ่งใดหรือจากผูใด ศัพทท่ีเปนช่ือของส่ิงน้ันหรือของ ผูน้ัน ช่ือ “อปาทานสาธนะ” เปนตนวา ปภสฺสโร (เทวกาโย) แดนซานออก แหงรัศมี เปนกตั ตรุ ปู อยา งเดียว แปลวา “เปนแดน…” ฯ ๕. ปจจัยนามกิตกหมวดกิจจปจจัยมี ๒ คือ ข ณฺย ฯ ปจจัยนี้เปนได ๒ รูป ๒ สาธนะ คอื กัมมรูป กมั มสาธนะ และ ภาวรปู ภาวสาธนะ ฯ ปจจัยนามกิตกท่ีใชกิริยากิตกไดคือ ณฺย ปจจัย อุ. เต จ ภิกฺขู คารยฺหา ฯ อนงึ่ ภิกษุ ท. อนั ทา น พงึ ตเิ ตียน ฯ นิสฺสโย ลง อ ปจ จัย เปน กัตตุรูป กัมมสาธนะ ว.ิ นิสฺสาย นํ วสตตี ิ นิสฺสโย ฯ ตอนที่ ๒ ใหน กั เรยี นอา นคำถามแลว เขยี นวงกลมลอ มรอบขอ คำตอบทถ่ี กู ตอ งทส่ี ดุ เพยี งขอ เดยี ว (ปญ หามี ๒๕ ขอ ๆ ละ ๒ คะแนน) ๑. ข ๒. ค ๓. ข ๔. ก ๕. ค ๖. ง ๗. ก ๘. ข ๙. ก ๑๐. ข ๑๑. ง ๑๒. ข ๑๓. ก ๑๔. ก ๑๕. ข ๑๖. ง ๑๗. ข ๑๘. ค ๑๙. ง ๒๐. ง ๒๑. ค ๒๒. ง ๒๓. ค ๒๔. ข ๒๕. ก เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 307

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 308 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ตอนท่ี ๓ ใหน กั เรยี นทำเครอื่ งหมายถกู ( ) หนา ขอ ทถี่ กู ตอ ง และทำเครอื่ งหมายผดิ ( ) หนาขอทผ่ี ิด (ปญหามี ๒๕ ขอ ๆ ละ ๑ คะแนน) ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑. ๒๒. ๒๓. ๒๔. ๒๕. เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 308

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 309 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò แผนการสอนบาลีไวยากรณ หนว ยที่ ๑๐ เรื่อง “การใชกิริยากิตก” (การใชก ริ ิยากติ กในการแปลมคธเปนไทยและการแปลไทยเปน มคธ) สาระสำคญั ในการวัดผลประเมินผลของนักเรียนผูไดศึกษาความรูพื้นฐานดานบาลี ไวยากรณมาถึงขั้นนี้แลว วิธีการสำคัญอยางหนึ่งที่ผูสอนนิยมใชในการวัดผลความรู ความเขาใจถึงเนอ้ื หาที่ไดเรียนผา นมาแลว คือ วธิ กี ารแปลมคธเปน ไทยและการแปลไทย เปนมคธ ดังตัวอยางที่จะนำมาทดสอบในที่น้ี จะวาดวยการใชกิริยากิตกในการแปล มคธเปน ไทยและการแปลไทยเปนมคธ จดุ ประสงค นักเรียนรูและเขาใจถึงการใชกิริยากิตกในการแปลมคธเปนไทยและ การแปลไทยเปนมคธ โดยใชเปนกิริยาคุมพากยบาง ใชเปนกิริยาในระหวางบาง ใช เปนวกิ ตกิ ตั ตาบาง เนอ้ื หา การใชกิริยากิตกในการแปลมคธเปนไทยและการแปลไทยเปนมคธ โดย ลักษณะ ๕ ประการ คอื ๑. ใชเปน กริ ยิ าคมุ พากยตามวาจก ๒. ใชเ ปน วิกตกิ ัตตา ๓. ใชเ ปนกริ ิยาคมุ พากยอ นาทร และลกั ขณะ ๔. ใชเ ปนกิริยาในระหวาง ๕. การใช ตวฺ า, ตุ ปจ จยั และนามกิตก 309

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 310 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) กิจกรรม ๑. ประเมินผลกอ นเรยี น ๒. ครนู ำเขาสบู ทเรยี น และอธบิ ายเนื้อหา ๓. บตั รคำ ๔. ครูสรุปเน้ือหาท้งั หมด ๕. ประเมินผลหลังเรียน ๖. ใบงาน ใหน ักเรยี นแตงประโยคท่ีมกี ิรยิ ากิตก ใชเ ปนกิริยาคุมพากยต ามวาจก ๑ ใชเปนวิกติกัตตา ๑ ใชเปนกิริยาคุมพากยอนาทร และลักขณะ ๑ ใชเปนกิริยาใน ระหวาง การใช ตวฺ า, ตุ ปจจยั และนามกติ ก ๑ และบอกชนิดของประโยคที่กำหนดใหได ๗. กิจกรรมเสนอแนะ ครสู อนควรใหน ักเรียน แตงประโยคท่ีมีกิริยากิตกเปนกิริยาคุมพากยตามวาจกท้ัง ๕ ประโยค ท่ีมีกิริยากิตกเปนวิกติกัตตา ประโยคอนาทรและลักขณะ ประโยคที่มีกิริยากิตก เปน กิริยาในระหวา ง การใช ตฺวา ปจจยั ตุ ปจ จัย และนามกิตก และสามารถบอกชนดิ ของประโยคได สอ่ื การสอน ๑. ตำราทใ่ี ชประกอบการเรยี น-การสอน ๑.๑ หนงั สอื พระไตรปฎ ก ๑.๒ หนงั สอื พจนานกุ รม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป. หลงสมบญุ สำนกั เรยี นวัดปากน้ำ ๑.๓ หนังสือพจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ๑.๔ หนงั สอื พจนานุกรมพทุ ธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท โดย พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยตุ โฺ ต) ๑.๕ หนังสอื คมู อื บาลไี วยากรณ นพิ นธ โดย สมเด็จพระมหาสมณเจาฯ ๑.๖ หนังสือปาลิทเทศ ของ สำนกั เรยี นวัดปากนำ้ ๑.๗ คมั ภรี อภิธานปั ปทปี ก า 310

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 311 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๑.๘ หนังสือพจนานุกรมธาตุ ภาษาบาลี ๑.๙ หนงั สืออภุ ยั พากยป รวิ ัตน ๒. อปุ กรณทีค่ วรมปี ระจำหองเรียน ๒.๑ กระดานดำ-แปรงลบกระดาน-ชอลก หรือ กระดานไวทบอรด ๒.๒ เคร่ืองฉายขา มศรี ษะ (Over-head) ๓. บตั รคำ ๔. ใบงาน วธิ วี ัดผล-ประเมนิ ผล ๑. สอบถามความเขาใจ ๒. สังเกตพฤตกิ รรมการมสี ว นรว มในกิจกรรม ๓. สงั เกตความกา วหนาดา นพฤตกิ รรมการเรยี นรูของผเู รียน ๔. ตรวจใบงาน ๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลกอนเรยี น-หลงั เรยี น 311

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 312 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) การใชกริ ยิ ากติ ก กิริยากิตก แบง ออกเปน ๒ พวกกอน คือ ๑. ไมใ ชอัพยยะ (แจกวิภัตติได) ไดแก อนตฺ , ตวนตฺ ,ุ ตาว,ี อนยี , ตพพฺ , มาน, ต ๒. เปนอัพยยะ (แจกวภิ ัตติไมไ ด) ไดแ ก ตนู , ตฺวา, ตฺวาน มีการนำมาใชในการแปลไทยเปน มคธ และการแปลมคธเปนไทย ไดหลายวิธี ตามความเหมาะสมแกประโยคน้ันๆ คือ ใชเปนกิริยาคุมพากยบาง ใชเปนกิริยาใน ระหวางบา ง ใชเปนวกิ ตกิ ัตตาบาง ซ่งึ พอสรปุ ไดด ังน้ี ๑. ใชเปน กริ ยิ าคุมพากยต ามวาจก ๒. ใชเ ปน วิกติกัตตา ๓. ใชเ ปน กิริยาคุมพากยอนาทร และลกั ขณะ ๔. ใชเปน กริ ยิ าในระหวาง ๕. การใช ตฺวา, ตุ ปจ จยั และนามกติ ก การใชก ริ ิยากิตกในการแปลมคธเปน ไทย และการแปลไทยเปนมคธ ๑. ใชเ ปนกิริยาคุมพากยต ามวาจก ปจจยั ในกิริยากติ กท่ใี ชค ุมพากยไ ดม ี ๓ ตวั คือ อนยี , ตพพฺ , ต ปจ จยั เหลา น้ี ตองประกอบใหมีลิงค วจนะ วิภัตติ เหมือนกันกับนามนามท่ีเปนประธาน และ เรียงไวต วั สุดทา ยของประโยค แปลมคธเปนไทย ก. ประโยคกตั ตวุ าจก เชน บาลี : พทุ โฺ ธ โลเก อุปปฺ นโฺ น ฯ คำแปล : อ.พระพุทธเจา เสดจ็ อบุ ตั ิแลว ในโลก ฯ บาลี : ราชินี นารนี ํ มชเฺ ฌ ิตา ฯ คำแปล : อ.พระราชินี ประทับยืนอยูแลว ในทา มกลาง แหง นารี ท. ฯ บาลี : สปฺปสสฺ ภาชนํ ภนิ นฺ ํ ฯ คำแปล : อ.ภาชนะ ของเนยใส แตกแลว ฯ 312

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 313 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ข. ประโยคกมั มวาจก เชน บาลี : ปตุ ตฺ านํ มาตรา ธนํ ทาตพพฺ ํ ฯ คำแปล : อ.ทรพั ย อนั มารดา พงึ ให แกบตุ ร ท. ฯ บาลี : อิทํ ปณณฺ ํ มม สหายเกน ตยุ ฺหํ เปสติ ํ ฯ คำแปล : อ.หนังสอื นี้ อันสหาย ของเรา สง ไปแลว แกทา น ฯ ค. ประโยคภาวภาวาจก เชน บาลี : อวสฺสํ มยา มรติ พพฺ ํ ฯ คำแปล : อนั เรา พึงตาย แนแ ท ฯ บาลี : การเณเนตฺถ ภวติ พฺพํ ฯ คำแปล : อันเหตุ ในเรอ่ื งนี้ พึงมี ฯ ฆ. ประโยคเหตกุ ตั ตุวาจก เชน บาลี : ภควา สเทวกํ ตารยนโฺ ต ... วหิ รติ ฯ คำแปล : อ.พระผมู พี ระภาคเจา ทรงยงั โลกนก้ี ับทัง้ เทวโลก ใหข ามอย.ู ..ยอมประทับอยู ฯ บาลี : เอโก หตถฺ มิ ารโก หตถฺ ึ มาเรตวฺ า ... ชีวิตํ กปเฺ ปสิ ฯ คำแปล : อ.บคุ คลผยู งั ชา งใหต าย คนหนงึ่ ยังชา ง ใหตายแลว... สำเร็จแลว ซึ่งชีวิต ฯ ง. ประโยคเหตุกัมมวาจก เชน บาลี : อยํ ถูโป ปตฏิ าปโ ต ฯ คำแปล : อ.พระสถปู น้ี (อันเขา) ใหต งั้ จำเพาะแลว ฯ บาลี : ขมาปโ ต ปน โว ภนฺเต สตฺถา ฯ คำแปล : ขาแตทานผูเจรญิ ก็ อ.พระศาสดา อนั ทาน ท. ใหอ ดโทษแลว หรอื ฯ แปลไทยเปน มคธ ก. ประโยคกัตตวุ าจก เชน ไทย : อ.ตนไม ท. งอกขนึ้ แลว ในสวน ของพระราชา ฯ บาลี : รกุ ขฺ า รฺโ อุยยฺ าเน รุฬหฺ า ฯ ไทย : อ.กิง่ ไมแหง ตกแลว จากตนไม ฯ บาลี : สุกฺขา สาขา รุกขฺ า ปติตา ฯ 313

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 314 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ไทย : อ.ดอกบัว เขียว เกิดแลว ในน้ำ ฯ บาลี : นีลํ อุปปฺ ลํ อทุ เก ชาตํ ฯ ข. ประโยคกัมมวาจก เชน ไทย : อ.ธรรม นี้ อันพระศาสดา ของเรา ท. แสดงแลว ฯ บาลี : อมหฺ ากํ สตฺถารา อยํ ธมโฺ ม เทสิโต ฯ ไทย : ดกู อ นภิกษุ ท. อ.ที่สดุ ท. ๒ อยา ง เหลา น้ี อันบรรพชิต ไมพ ึงเสพ ฯ บาลี : เทฺวเม ภกิ ฺขเว อนฺตา ปพฺพชเิ ตน น เสวติ พพฺ า ฯ ค. ประโยคภาววาจก เชน ไทย : อันเรา ชนะแลว อนั เรา ชนะแลว ฯ บาลี : ชติ ํ เม ชติ ํ เมฯ ไทย : อันอันตราย พึงมี ฯ บาลี : อนฺตราเยน ภวิตพพฺ ํ ฯ ฆ. ประโยคเหตกุ ัตตุวาจก เชน ไทย : อ.มนุษย ท. เหลาน้ัน ยังภิกษุ รูปอ่ืน ใหกลาวแลว กลาวดวยบท..ฟงแลว ซ่ึงธรรม ฯ บาลี : เต (มนสุ ฺสา) อเฺ น (ภิกขุนา) ปทภาณํ ภณาเปตฺวา..ธมฺมํ สุณสึ ุ ฯ ไทย : อ.ผีเสื้อน้ำ ยังจันทกุมาร แมน้ัน ใหเขาไปแลว สูน้ำ วางไวแลว ในภพ ของตน ฯ บาลี : ทกรกฺขโส ตมฺป (จนทฺ กมุ ารํ) อุทกํ ปเวเสตฺวา อตฺตโน ภวเน เปสิ ฯ ง. ประโยคเหตุกัมมวาจก เชน ไทย : อ.ธิดา ของกุฎม พี อนั สามี ของตน ใหต ายแลว ฯ บาลี : อตตฺ โน สามเิ กน กฏุ ม พฺ ิกสสฺ ธีตา มาริตา ฯ ไทย : ก็ อ.ชา งนาฬาคีรี อนั เทวทัต ยงั บุคคล ใหปลอยแลว ฯ บาลี : เทวทตเฺ ตน ปน ปคุ คฺ ลํ นาฬาคริ ิ วิสสฺ ชชฺ าปโต ฯ 314

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 315 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๒. ใชเปนวิกตกิ ตั ตา กริ ยิ ากติ กท ี่ไมใ ชอ ัพยยะ ถา มีกริ ยิ าวามี วา เปน อยูข างหลัง ใหแ ปลวา เปน แปลมคธเปน ไทย บาลี : สงฺฆสสฺ จวี รํ อสุ สฺ นฺนํ โหติ ฯ คำแปล : อ.จวี ร เปน ของหนาขึน้ แลว แกสงฆ ยอมเปน ฯ บาลี : อยํ (รกุ ฺโข) มเหสกฺขาย เทวตาย ปรคิ คฺ หิโต ภวสิ สฺ ติ ฯ คำแปล : (อ.ตน ไม) น้ี เปนตนไมอ นั เทวดา ผูม ีศกั ด์ิใหญ กำหนดถอื เอารอบแลว จักเปน ฯ แปลไทยเปนมคธ ไทย : อ.คำ นี้ เปน คำอนั อปุ ช ฌาย ของทา น กลา วแลว ไดเปน แลว ฯ บาลี : อิทํ วจนํ เต อุปชฌฺ าเยน วุตฺตํ อโหสิ ฯ ไทย : อ.ลกู ชาย ของทา น เปนผอู นั ชนพาล ตแี ลว จกั เปน ฯ บาลี : ปตุ โฺ ต เต พาเลน ปหโต ภวสิ สฺ ติ ฯ ๓. ใชเปนกริ ิยาคุมพากยอนาทร และลกั ขณะ ถามีขอความเรื่องอ่ืน แทรกเขามาในระหวางแหงประโยคนามนามท่ีเปน ประธาน ในขอความน้นั ใชฉ ัฏฐีวิภัตติ (อนาทร) หรือสัตตมวี ิภตั ติ (ลักขณะ) กิริยาของ นามนามบทน้นั ใชก ิรยิ ากติ ก (นยิ มใช อนตฺ , มาน, ต) มี ลงิ ค วจนะ วิภตั ติ เหมอื นนาม นามนัน้ แทรกเขามาทไี่ หนกเ็ รยี งไวใ นทน่ี ้ัน แปลมคธเปน ไทย ประโยคอนาทร เชน บาลี : ทารกสสฺ รทุ นตฺ สสฺ , ปต า ปพพฺ ชิ ฯ คำแปล : เมือ่ เด็ก รองไหอยู, อ.บดิ า บวชแลว ฯ บาลี : เถรสสฺ นทิ ฺทํ อโนกกฺ มนฺตสฺส, ปมมาเส อตกิ ฺกนฺเต, อกฺขิโรโค อปุ ปฺ ชชฺ ิ ฯ คำแปล : เมือ่ พระเถระ ไมกา วลงอยู สูความหลบั , คร้ันเมอ่ื เดือนที่หน่ึง กา วลวงแลว , อ.โรคในนยั นต า เกดิ ขึ้นแลว ฯ 315

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 316 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ประโยคลักขณะ เชน บาลี : ปทมุ านิ, สรุ ิเย อุคคฺ เต, ปุปผฺ นตฺ ิ, ตสฺมึ อตฺถงคฺ เต, ปตตฺ านิ ปทหนฺติ ฯ คำแปล : อ.ดอกปทมุ ท., คร้ันเมอื่ พระอาทติ ย ขึ้นไปแลว , ยอมบาน, ครน้ั เมือ่ พระอาทติ ยน น้ั ตกแลว, อ.กลบี ท. ยอ มหุบ ฯ แปลไทยเปน มคธ ประโยคอนาทร เชน ไทย : เมอ่ื เรา กา วลงอยู ขา มขนึ้ แลว , อ.ชางพัง ท. ยอมเขาไปเสียดสอี ยู ซ่งึ กาย ไป ฯ บาลี : โอคาหนฺตสสฺ เม อุตตฺ ณิ ฺณสสฺ , หตฺถนิ โิ ย กายํ อปุ นิฆํสนฺตโิ ย คจฉฺ นฺติ ฯ ประโยคลกั ขณะ เชน ไทย : อ.คนจน ท. เขาไปแลว สูเมือง, ทำแลว ซึ่งการงาน, ครนั้ เมอื่ คา จาง อนั ตน ไดแ ลว , ซ้อื แลว ซึ่งอาหาร (ดว ยคา จา ง) นน้ั บริโภคแลว ฯ บาลี : มนุสสฺ ทลิททฺ า นครํ ปวสิ ิตฺวา, กมฺมนตฺ ํ กตฺวา, ภตยิ า อตตฺ นา ลทฺธาย, ตาย (ภติยา) อาหารํ กีณิตฺวา, ปริภุฺชสึ ุ ฯ ๔. ใชเปน กริ ิยาในระหวา ง ในความทอนเดียว ถามีกิริยาซึ่งเนื่องกันตอๆมาโดยลำดับหลายตัว ใชกิริยา อาขยาตแตต วั หลังตวั เดียว บรรดากริ ยิ าขางหนา ใชกิริยากิตกเปนอัพยยะบาง ไมเปน อพั ยยะบา ง ทงั้ ส้นิ แตท่ีใชก ริ ยิ ากิตกที่เปน อพั ยยะ คือกิริยาทล่ี ง ตวฺ า ปจ จยั มากกวา อยา งอืน่ แปลมคธเปน ไทย บาลี : สพฺเพ สกณุ า ปุพฺพณฺเห อตตฺ โน กุลาวกา นกิ ฺขมิตวฺ า สกลํ ทิวสํ จรติ ฺวา สายณเฺ ห ปฏนิ วิ ตตฺ นตฺ ิ ฯ คำแปล : อ.นก ท. ทั้งปวง ออกแลว จากรัง ของตน ในเวลาเชา เที่ยวไปแลว ตลอดวนั ท้งั สนิ้ ยอมกลบั คนื มา ในเวลาเย็น ฯ บาลี : เอโก เวชโฺ ช คามนคิ เม จริตฺวา เวชฺชกมมฺ ํ กโรนโฺ ต เอกํ จกขฺ ุทพุ พฺ ลํ อติ ฺถึ ทสิ ฺวา ปุจฺฉิ ฯ 316

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 317 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò คำแปล : อ.หมอ คนหนึ่ง เท่ียวไปแลว ในบานและนิคม กระทำอยู ซึ่งการงาน ของหมอเหน็ แลว ซ่งึ หญิง ผมู ีจกั ษุมกี ำลังอนั โทษประทุษรายแลว คนหนึ่ง ถามแลว ฯ แปลไทยเปน มคธ ไทย : อ.พระราชา ยังราชบุรุษ ท. ใหจับแลว ซ่ึงสมณะเปลือย ท. มีรอยหาเปน ประมาณยงั ราชบุรษุ ท. ใหฝ ง ไวแ ลว ในหลมุ ท. มสี ะดอื เปนประมาณ ท่ีเนิน ของพระราชากับ ดวยโจร ท. มีรอยหาเปนประมาณ ยังราชบุรุษ ท. ให ปกปด แลว ดวยฟอ น ท. ยังราชบุรษุ ท. ใหใ หแลว ซง่ึ ไฟ ฯ บาลี : ราชา ปฺจสเต นคฺคสมณเก คาหาเปตวฺ า ปฺจสเตหิ โจเรหิ สทธฺ ึ ราชงคฺ เณ นาภิปฺปมาเณสุ อาวาเฏสุ นิกฺขนาเปตฺวา ปลาเลหิ ปฏิจฺฉาทาเปตฺวา อคฺคึ ทาเปสิ ฯ ไทย : ก็ ในกาลนั้น อ.บุรุษ ท. มีรอยหาเปนประมาณ กระทำแลว ซึ่งกรรม ท. มีการฆาซึ่งชาวบานเปนตน เปนอยูอยู ดวยกิริยาอันเปนของมีอยูแหงโจร ผอู นั มนษุ ยผูอยูในชนบท ท. ตดิ ตามแลว หนีไปอยู เขา ไปแลว สปู า ไมเ ห็นอยู ซึง่ ทพ่ี ง่ึ อะไรๆ ในปา นน้ั เหน็ แลว ซ่ึงภิกษุ ผอู ยใู นปา รูปใดรูปหน่งึ ไหวแ ลว กลาวแลววา “ขาแตทานผูเจริญ อ.ทาน ท. เปนท่ีพึ่งเฉพาะ ของเรา ท. จงเปน ดังนี้ ฯ บาลี : ตสฺมึ ปน กาเล ปฺจสตา ปุริสา คามฆาตกาทีนิ กตฺวา โจริกาย ชีวนฺตา ชนปทมนุสฺเสหิ อนพุ ทฺธา ปลายมานา อรฺ ปวิสิตวฺ า ตตถฺ กิ ฺจิ ปฏิสรณํ อปสฺสนฺตา อฺตรํ อารฺกํ ภิกฺขํ ทิสฺวา วนฺทิตฺวา “ปฏิสรณํ โน ภนฺเต โหถาติ วทึสุ ฯ ๕. การใช ตฺวา, ตุ ปจจัย และนามกติ ก ก. ตวฺ า ปจจยั ใชใ นอรรถ ๘ อยาง คือ แปลมคธเปน ไทย (๑) เปน กริ ยิ าทำกอ น แปลวา “แลว” (ปุพพฺ กาลกริ ยิ า) เชน บาลี : อปุ าสกา อารามํ คนตฺ ฺวา ทานํ ทตวฺ า สลี ํ สมาทยิตฺวา ธมฺมํ สณุ นฺติ ฯ 317

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 318 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) คำแปล : อ.อบุ าสกและอบุ าสกิ า ท. ไปแลว สูอาราม ถวายแลว ซึ่งทาน สมาทานแลว ซง่ึ ศลี ยอมฟง ซึง่ ธรรม ฯ (๒) ทำพรอมกับกริ ยิ าอ่นื แปลไมอ อกสำเนยี งปจจัย (สมานกาลกิรยิ า) เชน บาลี : สตฺถา ... อนุสนฺธึ ฆเฏตฺวา ธมฺมํ เทเสนโฺ ต อมิ า คาถา อภาสิ ฯ คำแปล : อ.พระศาสดา ... เมื่อทรงสืบตอ ซึง่ อนสุ นธิ แสดง ซ่งึ ธรรม ไดท รงภาษติ แลว ซึง่ พระคาถา ท. เหลานี้ ฯ (๓) ทำหลงั กริ ยิ าคุมพากย แปลวา “แลว ” (อปรกาลกริ ยิ า) เชน บาลี : เสฏี “คจฺฉ อิมสฺมึ นคเร อุปธาเรตฺวา, สหสฺสํ ทตฺวา อชฺช ชาตทารกํ คณฺหิตฺวา เอหตี ิ อาห ฯ คำแปล : อ.เศรษฐี กลา วแลววา “อ.เจา จงไป ใครครวญแลว ในเมือง, อ.เจา ใหแ ลว ซง่ึ พนั แหง ทรพั ย รับเอาแลว ซงึ่ ทารกผเู กิดแลว ในวนั นี้ จงมา ดังนี้ ฯ (๔) เปน เหตุ แปลวา “เพราะ” (เหต)ุ เชน บาลี : ตสฺส (กนฏิ สสฺ ) ปริยตตฺ ึ นสิ ฺสาย มหาปรวิ าโร (อทุ ปาทิ), ปริวารํ นสิ ฺสาย ลาโภ อทุ ปาทิ ฯ คำแปล : อ.บริวารมาก (ไดเ กดิ ข้นึ แลว ) (แกน องชาย) นัน้ เพราะอาศยั ซึ่งปริยัติ, อ.ลาภ ไดเ กดิ ขนึ้ แลว เพราะอาศัย ซึ่งบริวาร ฯ (๕) ทำหลงั กริ ิยา แปลไมออกสำเนียงปจ จยั (กริ ยิ าวเิ สสน) เชน บาลี : อถ สตถฺ า ตํ พยฺ าธนิ า อภภิ ตู ํ กตฺวา เทเสสิ ฯ คำแปล : ลำดับนั้น อ.พระศาสดา ทรงแสดงแลว ซึ่งรูปน้ัน กระทำใหเปนรูปอัน พยาธิครอบงำแลว ฯ (๖) ทำซ้ำกับกิริยาขา งตน แปลวา “ครัน้ .....แลว ” (ปรโิ ยสานกาลกริ ยิ า) เชน บาลี : ราชา .... สตถฺ ารํ อปุ สงกฺ มิ, อปุ สงฺกมิตฺวา จ ปน วนฺทิตวฺ า เอกมนฺตํ นิสีทิ ฯ คำแปล : อ.พระราชา .... เขาไปเฝาแลว ซ่ึงพระศาสดา, ก็แล (อ.พระราชา) คร้นั เขาไปเฝาแลว ถวายบังคมแลว ประทบั นง่ั แลว ณ ทส่ี ุดขางหนึ่ง ฯ (๗) เปน คำขยายนามนาม แปลไมออกสำเนียงปจ จยั (วเิ สสน) เชน บาลี : อิทานสิ สฺ มํ เปตวฺ า อฺ  ปฏิสรณํ นตฺถิ ฯ คำแปล : อ.ท่ีพง่ึ อ่ืน เวน ซง่ึ เรา ยอมไมมี แกภกิ ษุ นัน้ ในกาลน้ี ฯ 318

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 319 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò (๘) ใชค ุมพากย แปลวา “แลว ” (กริ ิยาปธานนัย) เชน บาลี : ปจฺ ป ชนา อาหารํ คเหตฺวา, เอโก กณณฺ ิกมณฑฺ ลํ วนิ วิ ิชฺฌิตวฺ า (นกิ ฺขมิ), เอโก ฉทนสสฺ ปรุ ิมภาคํ (วินวิ ิชฌฺ ติ ฺวา นกิ ฺขม)ิ ฯ คำแปล : อ. ชน ท. แมท้งั หา รบั เอาแลว ซึ่งอาหาร, อ.สามเณร รูปหน่ึง เจาะทะลแุ ลว ซ่ึงมณฑลแหงชอฟา (ออกไปแลว), อ.สามเณร รูปหนึ่ง (เจาะทะลุแลว) ซงึ่ สว นอันมใี นเบ้ืองบน แหง หลงั คา (ออกไปแลว) ฯ แปลไทยเปนมคธ (๑) เปน กริ ิยาทำกอน แปลวา “แลว ” (ปุพฺพกาลกริ ยิ า) เชน ไทย : อ.พระเถระ ท. ในกาลกอ น อยแู ลว ส้นิ ฤดูฝน ตลอดเดอื น ท. ๓, ปวารณาแลว ยอมเที่ยวไป สทู ีจ่ ารกิ ฯ บาลี : ปพุ เฺ พ เถรา ตโย มาเส วสสฺ ํ วสติ ฺวา, ปวาเรตวฺ า, จาริกํ วจิ รนตฺ ฯิ (๒) ทำพรอ มกับกิริยาอ่ืน แปลไมอ อกสำเนียงปจ จยั (สมานกาลกริ ยิ า) เชน ไทย : อ.พระปจเจกพุทธเจา องคหนง่ึ นัง่ เขา ซ่ึงฌานแลว ฯ บาลี : เอโก ปจเฺ จกพทุ ฺโธ ฌานํ สมาปชชฺ ติ ฺวา นสิ ที ิ ฯ (๓) ทำหลงั กิริยาคมุ พากย แปลวา “แลว” (อปรกาลกริ ยิ า) เชน ไทย : อ.พระธรรมกถึก นั่งแลว บนธรรมาสน จับแลว ซึง่ พดั อนั วิจติ ร ฯ บาลี : ธมฺมกถโิ ก ธมฺมาสเน นิสีทิ วจิ ิตตฺ วีชนึ คเหตฺวา ฯ (๔) เปน เหตุ แปลวา “เพราะ” (เหตุ) เชน ไทย : อ.ความรักเพียงดังบุตร เกิดข้ึนแลว แกบุคคลผูอยูในรานตลาด เพราะเห็น ซึง่ สามเณร เทียว ฯ บาลี : อาปณกิ สฺส สามเณรํ ทสิ ฺวา ว ปุตตฺ สเิ นโห อปุ ปฺ ชฺชิ ฯ (๕) ทำหลังกริ ยิ า แปลไมอ อกสำเนียงปจ จัย (กริ ยิ าวเิ สสน) เชน ไทย : อ.พราหมณ ผูกแลว ซง่ึ ผา กมั พล ผนื หนงึ่ กระทำ ใหเปนเพดาน ในเบอ้ื งบน แหง ทีเ่ ปน ที่บรรทม แหง พระศาสดา ในภายในแหง พระคนั ธกุฎี ฯ บาลี : พฺราหฺมโณ เอกํ กมพฺ ลํ อนโฺ ตคนฺธกฏุ ยิ ํ สตถฺ ุ สยนสฺส อปุ ริ วิตานํ กตฺวา พนฺธิ ฯ (๖) ทำซ้ำกับกริ ยิ าขางตน แปลวา “ครนั้ .....แลว” (ปรโิ ยสานกาลกริ ยิ า) เชน ไทย : อ.นางกุลธิดา ผแู กลวกลา จักกระทำ ซง่ึ การสงเคราะห แกเ รา, กแ็ ล อ.นางกลุ ธดิ านน้ั ครั้นกระทำแลว จกั ได ซ่ึงสมบตั ิมาก ฯ 319

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 320 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) บาลี : วิสารทา กุลธีตา มม สงคฺ หํ กรสิ สฺ ติ, กตวฺ า จ ปน มหาสมฺปตฺตึ ลภิสสฺ ติ ฯ (๗) เปนคำขยายนามนาม แปลไมออกสำเนยี งปจจัย (วเิ สสน) เชน ไทย : (อ.ชน ท.) ผูเหลือ เวน ซ่ึงพระราชาและมหาอำมาตย ท. ยอ มประชุมกัน ฯ บาลี : ราชมหามตเฺ ต เปตวฺ า เสสา (ชนา) สนนฺ ิปตนฺติ ฯ (๘) ใชคมุ พากย แปลวา “แลว” (กริ ยิ าปธานนัย) เชน ไทย : แตวา ในวันรุงขึ้น (อ.พระเถระ ท. ๒ เหลาน้ัน) เขาไปแลว เพ่ือกอนขาว แยกกัน, อ.พระอนุเถระ มาแลว กอนกวา ไดยืนแลว ในศาลาเปนท่ีบำรุง, อ.พระมหาเถระ ไดไปแลว ในภายหลัง ฯ บาลี : ปนุ ทวิ เส ปน (เต เทฺว เถรา) วิสํ ปณ ฺฑาย ปวิสติ วฺ า, อนเุ ถโร ปเุ รตรํ อาคนตฺ ฺวา อปุ ฏฐานสาลายํ อฏ าสิ, มหาเถโร ปจฉฺ า อคมาสิ ฯ ข. ตุ ปจ จัย ใชในอรรถ ๒ อยาง แปลมคธเปน ไทย (๑) ใชในอรรถปฐมาวิภัตติ แปลวา “อ.อัน...” (ตมุ ตถฺ กตฺตา) เชน บาลี : เอวํ ปริตฺตเกน กมฺเมน เอวรูป สมฺปตฺตึ ลภิตฺวา อิทานิ มยา ปมชฺชิตุ น วฏฏ ติ ฯ คำแปล : อ.อันอันเรา ได ซึ่งสมบัติ อันมีอยางนี้เปนรูป ดวยกรรม อันนิดหนอย อยา งน้ี แลว จงึ ประมาท ในกาลนี้ ยอ มไมควร ฯ บาลี : เต (สตเฺ ต) ชานิตุ ตว อวสิ โย (โหต)ิ ฯ คำแปล : อ.อันรู (ซึง่ สตั ว ท.) เหลา นัน้ เปนธรรมชาตมิใชวสิ ัย ของเธอ (ยอมเปน ) ฯ (๒) ใชใ นอรรถจตุตถวี ิภัตติ แปลวา “เพอ่ื อัน...” (ตุมตฺถสมฺปทาน) เชน บาลี : คนฺถิกตฺเถโร เอกํป (ปหฺ ํ) กเกตุ นาสกขฺ ิ ฯ คำแปล : อ.พระคนั ถกิ ตั เถระ ไมไ ดอ าจแลว เพ่ืออนั กลา ว (ซงึ่ ปญ หา) แมข อ หน่งึ ฯ บาลี : อหํ ภนฺเต มหลฺลกกาเล ปพฺพชิโต น สกขฺ สิ สฺ ามิ คนถฺ ธรุ ํ ปเู รตุ ฯ คำแปล : ขา แตพระองคผูเจรญิ อ.ขาพระองค บวชแลว ในกาลแหง ตนเปนคนแก จักไมอ าจ เพื่ออันยงั คนั ถธรุ ะใหเต็ม ฯ 320

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 321 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò แปลไทยเปนมคธ (๑) ใชในอรรถปฐมาวิภัตติ แปลวา “อ.อนั ...” (ตมุ ตถฺ กตตฺ า) เชน ไทย : อ.อันอันเธอ ท. กระทำซึ่งความอุตสาหะ เพื่ออันยังไฟ ท. มีราคะเปนตน ใหดับไป ยอ มควร ฯ บาลี : ตุมเฺ หหิ ราคาทีนํ อคคฺ นี ํ นิพพฺ าปนตถฺ าย อสุ สฺ าหํ กาตุ วฏฏ ติ ฯ ไทย : อ.อันอันเรา ไป สูสำนัก ของพระศาสดา แลวจึงกระทำ ซ่ึงการอุปฎฐาก ซึ่งคนไข ยอ มควร ฯ บาลี : มยา สตฺถุ สนตฺ กิ ํ คนฺตฺวา คิลานปุ ฏ านํ กาตุ วฏฏติ ฯ (๒) ใชใ นอรรถจตุตถีวิภตั ติ แปลวา “เพื่ออัน...” (ตุมตฺถสมปฺ ทาน) เชน ไทย : อ.จิตอันสัมปยุตแลวดวยความตระหน่ี อันมีประมาณเทาน้ี ของเรา ดวงน้ี เมอื่ เจริญ จกั ไมใ ห เพ่ืออนั ยกขึ้น ซง่ึ ศีรษะ จากอบาย ท. ๔ ฯ บาลี : อิทํ มม เอตฺตกํ มจฺเฉรจติ ตฺ ํ วฑฒฺ มานํ จตหู ิ อปาเยหิ สสี ํ อุกขฺ ิปตุ น ทสฺสติ ฯ ไทย : อ.พระเถระนน้ั เปน ผูไ ปตามซง่ึ เวทนาโดยปกติ เปน ไมไดอ าจแลว เพอ่ื อนั ยัง สตใิ หเขา ไปต้งั ไวเฉพาะ ฯ บาลี : โส (เถโร) เวทนานุวตตฺ ี หตุ ฺวา สตึ ปจจฺ ุปฏาเปตุ นาสกขฺ ิ ฯ ค. นามกติ ก ใชใน ๒ แผนก คอื เปนนามนาม ๑ เปนคณุ นาม ๑ แปลมคธเปน ไทย (๑) เปนนามนาม คอื นามกติ กท ่ีสำเรจ็ มาจากภาวสาธนะ หากมีกิรยิ าขา งหนา ตอง ประกอบดวย ตฺวา ปจจัย และตัวกรรมท่ีเขากับนามกิตกนั้นใชฉัฏฐีวิภัตติแทน ทุตยิ าวภิ ตั ติ บาลี : อตฺถิ ภนฺเต ทานํ อทตวฺ า สีลํ อสมาทยิตวฺ า สจจฺ มตตฺ ํ รกฺขิตฺวา สคฺคสสฺ คมนํ ฯ คำแปล : ขาแตพระองคผเู จรญิ อ.การไมถ วายแลว ซงึ่ ทาน ไมสมาทานแลว ซ่งึ ศลี รกั ษาแลว ซงึ่ คุณสักวาสัจจะ ไป สูส วรรค มีอยหู รอื ฯ บาลี : สพพฺ ปาปสสฺ อกรณํ กสุ ลสฺสูปสมปฺ ทา สจิตตฺ ปริโยทปนํ เอตํ พทุ ฺธาน สาสนํ (โหติ) ฯ คำแปล : อ.การไมก ระทำ ซ่งึ บาปทงั้ ปวง อ.การยงั กุศลใหถ งึ พรอม อ.การทำจิตของตนใหผองแผว อ.กรรมอนั มีอยาง ๓ นนั่ เปนคำสอน ของพระพทุ ธเจา ท. (ยอมเปน ) ฯ 321

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 322 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) (๒) เปนคุณนาม คือ นามกิตกท่ีสำเร็จมาจากกัตตุสาธนะ กัมมสาธนะ กรณสาธนะ สมั ปทานสาธนะ อปาทานสาธานะ และอธิกรณสาธนะ ใชข ยายนามนาม ประกอบมี ลงิ ค วจนะ วิภัตติ เหมอื นนามนาม บาลี : ภควา อนตุ ตฺ รํ สมฺมา สมโฺ พธึ ปตฺโต, ตสสฺ สาสนํ โลเก ปตฺถตํ ฯ คำแปล : อ.พระผมู พี ระภาคเจา บรรลแุ ลว ซ่งึ ปญญาเปนเครือ่ งตรัสรูพรอม โดยชอบ อันหาธรรมอืน่ ย่งิ กวามไิ ด, อ.คำสอน ของพระผูม ีพระภาคเจา พระองคน ้นั แผไปแลว ในโลก ฯ บาลี : โส สตถฺ ารํ วนทฺ ติ ฺวา อตฺตนา สหคามโิ น ภิกฺขู ปรเิ ยสนโฺ ต สฏ ี ภิกฺขู ลภติ วฺ า .... ตตฺถ สปริวาโร ปณ ฑฺ าย ปาวิสิ ฯ คำแปล : อ.พระเถระ น้ัน ถวายบงั คมแลว ซึ่งพระศาสดา แสวงหาอยู ซ่ึงภกิ ษุ ท. ผูมอี ันไปกับดว ยตนเปน ปกติ ไดแ ลว ซ่งึ ภกิ ษุ ท. ๖๐ รูป ..... ผูเปนไปกับดวยบรวิ าร ไดเ ขา ไปแลว ในบา นนน้ั เพือ่ กอนขาว ฯ แปลไทยเปนมคธ (๑) เปนนามนาม ไทย : ดูกอนนางเทพธิดา อ.การกระทำซ่ึงความสำรวม น่ันเทยี ว เปนภาระ ของกัสสปะ ผูเปน บุตร ของเรา (ยอ มเปน ) ฯ บาลี : เทวธเี ต มม ปตุ ฺตสฺส กสสฺ ปสฺส สํวรกรณเมว ภาโร (โหต)ิ ฯ ไทย : อ.โสดาปตติผล เปนของประเสริฐ กวาความเปนเอกราชในแผนดินหรือ หรือวา กวาการไปสสู วรรค หรอื วา กวาความเปน ใหญใ นโลกทงั้ ปวง (ยอ มเปน) ฯ บาลี : ปพยฺ า เอกรชเฺ ชน สคคฺ สสฺ คมเนน วา สพพฺ โลกาธิปจฺเจน โสตาปตฺติผลํ วรํ (โหติ) ฯ (๒) เปนคุณนาม ไทย : ดังจะกลา วโดยพสิ ดาร ในวนั หน่ึง อ.ชน ท. ผอู ยใู นเมอื งช่ือวาอาฬวโี ดยปกต,ิ ครัน้ เมื่อพระศาสดา เสด็จถงึ พรอ มแลว ซึ่งเมืองช่อื วาอาฬว,ี ทลู นมิ นตแ ลว ไดถ วายแลว ซ่งึ ทาน ฯ 322

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 323 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò บาลี : เอกทิวสํ หิ อาฬวีวาสิโน, สตถฺ ริ อาฬวึ สมฺปตฺเต, นมิ นเฺ ตตฺวา ทานํ อทํสุ ฯ ไทย : ครั้งนน้ั (อ.ราชบรุ ุษ ท.) นำไปแลว (ซึง่ บรุ ุษ) นั้น สทู ี่เปน ทน่ี ำมาฆา คดิ แลว วา อ.เรา ท. จกั ฆา ดังน้ี (ยงั บรุ ษุ นน้ั ) ใหน อนหงายแลว บนหลาว ฯ บาลี : อถ นํ (ราชปรุ ิสา) อาฆาตนํ เนตฺวา “ฆาเตสสฺ ามาติ สเู ล อุตตฺ าเสสุ ฯ หลกั การแปลมคธเปน ไทย และแปลไทยเปนมคธ การแปลมคธเปน ไทย มลี ำดับการแปล ๘ ประการ ดังน้ี ๑. อาลปนะ ๒. นบิ าตตนขอความ หรอื กาลสัตตมี ๓. ประธาน ๔. บททเ่ี นอื่ งดว ยประธาน ๕. กิริยาในระหวาง และประโยคแทรก ๖. บททีเ่ นอ่ื งดว ยกริ ยิ าในระหวาง และบทที่เน่อื งดวยประโยคแทรก ๗. กริ ยิ าคุมพากย ๘. บททเี่ นือ่ งดวยกริ ิยาคุมพากย การแปลมคธเปนไทยนั้นตองดำเนินการตามหลักการแปลทั้ง ๘ ประการ แตบางประโยคอาจจะไมครบทั้ง ๘ ประการ หลักการแปลขอใดมี ก็พึงแปลใหเปนไป ตามหลักการนั้นเทอญ. 323

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 324 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ตวั อยาง แปลมคธเปน ไทย บาลี : เอโก๑ กริ ๒ กฏุ ม พฺ ิกปตุ โฺ ต,๓ ปต ร๔ิ กาลกเต๕ (สมาเน),๖ เขตฺเต๗ จ๘ ฆเร๙ จ๑๐ สพพฺ กมฺมาน๑ิ ๑ อตฺตนา๑๒ ว๑๓ กโรนฺโต๑๔ มาตร๑ํ ๕ ปฏชิ คคฺ ิ๑๖ ฯ ไทย : ไดยินวา๒ อ.บุตรของกุฎมพี๓ คนหน่ึง,๑ ครั้นเมื่อบิดา๔ เปนผูมีกาละอัน กระทำแลว ๕ (มอี ย)ู ,๖ กระทำอย๑ู ๔ ซ่งึ การงานท้ังปวง ท.๑๑ ในนา๗ ดวย๘ ในเรือน๙ ดวย๑๐ ดว ยตน๑๒ เทียว๑๓ ปรนนบิ ัติแลว ๑๖ ซงึ่ มารดา๑๕ ฯ เอโก : บททีเ่ นือ่ งดว ยประธาน กิร : นิบาตตน ขอความ กุฏมพฺ กิ ปุตโฺ ต : ประธาน ปต ริ : ประธานของประโยคแทรก กาลกเต : บททเ่ี นือ่ งดวยกริ ยิ าพากยางคข องประโยคแทรก (สมาเน) : กิริยาพากยางคของประโยคแทรก เขตเฺ ต จ ฆเร จ สพฺพกมฺมานิ อตฺตนา ว : บททเ่ี นอ่ื งดว ยกิรยิ าในระหวา ง กโรนฺโต : กิรยิ าในระหวาง มาตรํ : บททเี่ นื่องดว ยกิริยาคมุ พากย ปฏชิ คคฺ ิ : กริ ิยาคุมพากย บาลี : ภนเฺ ต๑ อรหตฺตสฺส๒ อปุ นสิ ฺสเย๓ สต,ิ ๔ กสฺมา๕ (เถโร)๖ อนฺโธ๗ ชาโต๘ ฯ ไทย : ขา แตพระองคผ เู จริญ๑ คร้ันเม่อื ธรรมอันเปน อุปนสิ ยั ๓ แหงความเปนแหง พระอรหันต๒ มีอยู๔, (อ.พระเถระ)๖ เปน ผูบอด๗ เกิดแลว ๘ เพราะเหตไุ ร๕ ฯ ภนเฺ ต : อาลปนะ อรหตฺตสสฺ : บททีเ่ นือ่ งดว ยประธานของประโยคแทรก อุปนิสสฺ เย : ประธานของประโยคแทรก สติ : กริ ยิ าพากยางคของประโยคแทรก เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 324

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 325 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò กสมฺ า : บทท่เี น่ืองดวยกิริยาคมุ พากย (เถโร) : บทประธาน อนฺโธ : บททีเ่ นอื่ งดว ยกริ ิยาคมุ พากย ชาโต : กิรยิ าคุมพากย บาลี : อเถกทวิ ส๑ํ วนิ จิ ฉฺ เย๒ กฏุ ฏฏปราชติ า๓ มนุสสฺ า๔ พนฺธลุ ํ๕ อาคจฉฺ นตฺ ๖ํ ทิสฺวา๗ มหาวริ วํ๘ วริ วนตฺ า๙ วนิ จิ ฺฉยมจฺจานํ๑๐ กฏุ ฏฏ กรณ๑ํ ๑ ตสฺส๑๒ (พนฺธุลสฺส)๑๓ อาโรเจส๑ุ ๔ ฯ ไทย : คร้ันภายหลงั ณ วนั หนงึ่ ๑ อ.มนุษย ท.๔ ผพู ายแพแลว เพราะคดโี กง๓ ในโรงเปนที่วินิจฉัย๒ เห็นแลว๗ ซึ่งเสนาบดีชื่อวาพันธุละ๕ ผูมาอยู๖ รองอยู๙ รองดงั ๘ บอกแจงแลว ๑๔ ซงึ่ การกระทำซ่ึงคดโี กง๑๑ แหง อำมาตยผ ูวินจิ ฉัย ท.๑๐ (แกเ สนาบดีช่ือวา พันธุละ)๑๓ น้นั ๑๒ ฯ อเถกทวิ สํ : กาลสัตตมี วนิ จิ ฉฺ เย กุฏฏฏ ปราชิตา : บททเ่ี นื่องดวยประธาน มนุสสฺ า : ประธาน พนฺธุลํ อาคจฉฺ นฺตํ : บททีเ่ น่อื งดว ยกิริยาในระหวาง ทสิ ฺวา : กิริยาในระหวา ง มหาวิรวํ : บททเ่ี น่ืองดว ยกิรยิ าในระหวา ง วริ วนตฺ า : กริ ิยาในระหวา ง วนิ ิจฉฺ ยมจจฺ านํ กุฏฏฏ กรณํ ตสฺส (พนธฺ ลุ สฺส) : บทท่เี น่อื งดว ยกริ ิยาคมุ พากย อาโรเจสุ : กริ ยิ าคุมพากย อเถกทวิ สํ : กาลสตั ตมี วินิจฺฉเย กุฏฏฏ ปราชติ า : บทท่ีเนื่องดว ยประธาน มนสุ สฺ า : ประธาน พนฺธลุ ํ อาคจฺฉนฺตํ : บททีเ่ นอ่ื งดว ยกิรยิ าในระหวาง ทิสฺวา : กริ ยิ าในระหวาง มหาวิรวํ : บททเ่ี นื่องดว ยกริ ยิ าในระหวาง เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 325

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 326 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò วริ วนตฺ า : กิริยาในระหวาง วนิ ิจฺฉยมจจฺ านํ กุฏฏฏกรณํ ตสฺส (พนธฺ ุลสฺส) : บทท่เี นอ่ื งดวยกริ ยิ าคมุ พากย อาโรเจสุ : กิรยิ าคุมพากย การแปลไทยเปน มคธ มีหลักการดงั ตอ ไปนี้ กอนท่ีจะเรียนรูวิธีการเรียงศัพทเขาประโยค เพื่อใหไดเนื้อความและถูกตอง ตามหลกั จำเปน ที่จะตองศึกษาโครงสรางของประโยคกอน เพือ่ จะไดท ราบวาในแตล ะ ประโยคน้ันประกอบดวยโครงสรางอยางไรและควรวางสวนประกอบน้ันๆ ไวท่ีไหน เปน ตน เมือ่ ศกึ ษาขอ น้ไี ดด แี ลว กจ็ ะเปนการสะดวกทจี่ ะศกึ ษาขน้ั ตอไป การวางศัพทต างๆ อันเปนสว นประกอบของประโยค มีกฎเกณฑม ากมาย แตม ี หลกั เปน พ้นื ฐานกอ นวา ศัพทใ ดขยายศัพทใด ใหวางเรียงไวหนา ศัพทน ้นั ในเบ้ืองตนตองกำหนดเน้ือความไทยใหทราบกอนวา ใคร–ทำอะไร–ที่ไหน– เมื่อไร –อยางไร การประกอบกิริยาสวนมากในประโยค กัตตุวาจก เหตุกัตตุวาจก ประกอบดวยกิริยาอาขยาต และใชวิภัตติหมวดวัตตมานา–อัชชัตตนี โดยมาก สวน กมั มวาจก ภาววาจก มกั ประกอบ ดว ยกิรยิ ากติ ก โครงสรา งของประโยคมีสว นประกอบ ๘ สวน มีหลักการดงั น้ี ๑. อาลปนะ เรยี งไวเ ปนตวั ที่ ๑ หรอื ๒ หรอื ตัวสดุ ทาย ก็ได ๒. นิบาตตนขอความ บางตัวเรียงไวเปนตัวท่ี ๑ เชน สเจ, เตนหิ, ยถา, เอวํ เปนตน บางตวั เรยี งไวเ ปน ตัวท่ี ๒ เชน หิ, จ, ปน, ต,ุ เจ เปนตน หรอื กาลสัตตมี เรยี งไวเปนตวั ที่ ๑ หรือตอ จากนบิ าตตน ขอความท่ตี องเรยี งไวเปน ตวั ท่ี ๑ ๓. ประธาน เรยี งไวตอ จากบทกาลสัตตมีและนิบาตตน ขอ ความ ๔. บทท่เี น่อื งดวยประธาน เรียงไวห นาประธาน ๕. กิรยิ าในระหวา ง เรียงไวหลังประธาน หนากิริยาคุมพากย และประโยคแทรก ขอ ความแทรกมาทีไ่ หน ใหเรยี งไวท ีน่ ั้นโดยไมปะปนกบั ประโยคหลกั ๖. บทท่ีเน่ืองดวยกิริยาในระหวาง เรียงไวหลังประธาน หนากิริยาในระหวาง และบทที่เนอื่ งดวยประโยคแทรก ใหเรยี งไวก ับประโยคแทรกโดยไมป ะปนกบั ประโยคหลัก เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 326

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 327 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๗. กิริยาคุมพากย เรียงไวสดุ ทา ยของประโยค ๘. บททเี่ นื่องดว ยกิรยิ าคมุ พากย เรยี งไวหลงั กิรยิ าในระหวาง หนา กิรยิ าคมุ พากย โครงสรางของประโยคท้ัง ๘ สวนน้ี บางประโยคอาจมีครบ บางประโยคอาจมี ไมค รบ แตก็นับเปน ประโยคทีส่ มบรู ณไดใ นเมื่อใจความครบแลว และสว นตา งๆ น้บี างคราว ก็อาจวางไวนอกจากกฎเกณฑน้บี า ง ซง่ึ เปนกฎพเิ ศษ เม่ือศกึ ษาดแี ลว ยอ มเขา ใจได. ตัวอยา ง แปลไทยเปนมคธ ไทย : ก็๑ คร้ันเมื่อพระกุมาร๒ ผนวชแลว ๓, อ.ความทุกข๔ อนั มปี ระมาณยิง่ ๕ เกดิ ขนึ้ แลว๖ แกพ ระราชา๗ เพราะทรงสดับ๘ (ซึง่ ความเปนไปทั่ว)๙ น้ัน๑๐ ฯ บาลี : ปพฺพชิเต๓ ปน๑ กุมาเร๒, รฺโ๗ ตํ๑๐ (ปวตฺตึ)๙ สุตฺวา๘ อธิมตฺตํ๕ ทุกฺขํ๔ อปุ ปฺ ชชฺ ๖ิ ฯ ก็ : นบิ าตตน ขอความ คร้นั เม่อื พระกมุ าร : ประธานของประโยคแทรก ผนวชแลว : กริ ยิ าพากยางคป ระโยคแทรก อ.ความทกุ ข : ประธาน อันมีประมาณยิ่ง : บททีเ่ นือ่ งดวยประธาน เกิดขน้ึ แลว : กิริยาคมุ พากย แกพระราชา เพราะทรงสดบั (ซงึ่ ความเปนไปทว่ั ) น้นั : บททีเ่ น่อื งดว ยกิริยาคมุ พากย ไทย : ดกู อนภกิ ษุ ท.๑ อ.กมุ ารชือ่ วา ทีฆาว,ุ ๒ คร้ันเมอ่ื บดิ าและมารดา ท.๓ (อนั บุคคล)๔ แมป ลงลงอย๕ู จากชีวิต๖, ไมกาวลว งแลว ๗ ซึ่งโอวาท๘ (ของบดิ าและมารดา ท.)๙ เหลา น้ัน๑๐ ไดแลว ๑๑ ซง่ึ ธิดา๑๒ ของพระเจาพรหมทัต๑๓ (ยังบคุ คล)๑๔ ใหก ระทำแลว ๑๕ ซ่งึ ความเปนแหง พระราชา๑๖ ในแควน ช่ือวา กาสีและแควนช่อื วาโกศล ท.๑๗ สอง๑๘ ในภายหลัง๑๙ ฯ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 327

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 328 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò บาลี : ภิกฺขเว๑ ทฆี าวุกุมาโร๒, มาตาปต สู ๓ุ ชวี ติ า๖ (ปคุ คฺ เลน)๔ โวโรปยมาเนสปุ ๕ , เตส๑ํ ๐ (มาตาปต นู )ํ ๙ โอวาทํ๘ อนติกฺกมติ วฺ า๗ ปจฉฺ า๑๙ พรฺ หฺมทตตฺ สสฺ ๑๓ ธตี รํ๑๒ ลภติ ฺวา๑๑ ทวฺ สี ๑ุ ๘ กาสโิ กสลรฏเ สุ๑๗ (ปคุ ฺคล)ํ ๑๔ รชฺชํ๑๖ กาเรส๑ิ ๕ ฯ ดูกอ นภิกษุ ท. : อาลปนะ อ.กุมารชือ่ วาทีฆาวุ : ประธาน ครัน้ เม่อื บดิ าและมารดา ท. : ประธานประโยคแทรก (อนั บุคคล) : ตวั อนภหิ ิตกัตตากิรยิ าพากยางคป ระโยคแทรก แมป ลงลงอยู : กริ ิยาพากยางคป ระโยคแทรก จากชวี ติ : บทที่เน่ืองดวยกิรยิ าพากยางคประโยคแทรก ไมกาวลว งแลว : กริ ิยาในระหวา ง ซ่ึงโอวาท (ของบดิ าและมารดา ท.) เหลาน้ัน : บททเี่ นอ่ื งดวยกริ ยิ าในระหวาง ไดแลว : กริ ิยาในระหวา ง ซง่ึ ธิดา ของพระเจา พรหมทัต : บททเ่ี นื่องดว ยกริ ยิ าในระหวา ง (ยงั บคุ คล) : การติ กรรม ใหกระทำแลว : กิรยิ าคุมพากย ซ่งึ ความเปน แหงพระราชา ในแควน ชอ่ื วา กาสีและแควน ชือ่ วาโกศล ท. : บททีเ่ น่อื งดวยกิริยาคุมพากย สอง ในภายหลงั ไทย : ดังจะกลา วโดยพิสดาร๑ ในสมยั ๒ หน่ึง๓ อ.พระอคั รสาวก ท.๔ สอง๕ บาลี : พาเอาแลว๖ ซงึ่ บริวาร ท.๗ ของตน๘ มีรอ ยหา เปนประมาณ๙ มรี อ ยหาเปนประมาณ๑๐ ทลู ลาแลว๑๑ ซ่ึงพระศาสดา๑๒ ไดไปแลว๑๓ สูกรงุ ราชคฤห๑ ๔ จากพระวิหารชือ่ เชตวัน๑๕ ฯ เอกสมฺ ึ๓ หิ๑ สมเย๒ เทฺว๕ อคฺคสาวกา๔ ปฺจสเต๙ ปฺจสเต๑๐ อตตฺ โน๘ ปรวิ าเร๗ อาทาย๖ สตถฺ ารํ๑๒ อาปจุ ฺฉติ วฺ า๑๑ เชตวนโต๑๕ ราชคหํ๑๔ อคมํส๑ุ ๓ ฯ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 328

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 329 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ดังจะกลาวโดยพิสดาร : นิบาตตน ขอ ความ ในสมยั หนงึ่ : กาลสัตตมี อ.พระอัครสาวก ท. : ประธาน สอง : บทท่ีเนื่องดว ยประธาน พาเอาแลว : กิรยิ าในระหวา ง ซงึ่ บริวาร ท. ของตน มีรอ ยหาเปนประมาณๆ : บทที่เนือ่ งดวยกิริยาในระหวา ง ทูลลาแลว : กิริยาในระหวา ง ซึง่ พระศาสดา : บทที่เนอื่ งดว ยกริ ิยาในระหวาง ไดไ ปแลว : กิรยิ าคุมพากย สกู รงุ ราชคฤห จากพระวิหารช่อื เชตวัน : บททเ่ี น่ืองดว ยกริ ิยาคมุ พากย เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 329

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 330 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ประโยคมคธตอไปนี้ใหนกั เรียนแปลเปนไทย ๑. เสฏโน ภริยา รเถน วถี ยิ ํ คตา ฯ ๒. วาณิชสสฺ มาตา สาสเน ปสนฺนา, ตาย สงฺฆสสฺ ทานํ ทนิ นฺ ํ ฯ ๓. ปคุ ฺคเลน สพพฺ ํ (วตถฺ ุ) ปหาย คนฺตพพฺ ํ ฯ ๔. ตฺวํ อิมํ (ยกฺขิน)ึ เนตวฺ า อตตฺ โน เคเห (ยกขฺ นิ ึ) นวิ าเสตฺวา อคฺคยาคุภตเฺ ตหิ ปฏชิ คฺคาหิ ฯ ๕. กึ ตยา เถโร ขมาปโต ฯ ๖. นวกสสฺ ภิกขฺ ุโน อนภิรติ อุปฺปนนฺ า โหติ ฯ ๗. นโิ คฺรธสฺส ปตตฺ าน,ิ เทเว วุฏเ, ผลนฺติ ฯ ๘. สูโท ตณฑฺ ลุ ํ โธวติ วฺ า อุกขฺ ลิยํ ปกขฺ ิปตฺวา อทุ กํ ทตวฺ า อทุ ฺธนํ อาโรเปตวฺ า, ภตฺเต ปกเฺ ก, โอตาเรสิ ฯ ๙. มยหฺ ํ อปุ ชฺฌาเย มํ อาทาย คจฉฺ นเฺ ต, คมิสสฺ ามิ ... ภนฺเต ฯ ๑๐. อเถกทิวสํ ตาปโส นกฺขตตฺ โยคํ โอโลเกนฺโต ปรนฺตปสสฺ นกขฺ ตตฺ ปฬนํ ทิสวฺ า “ภทฺเท โกสมพฺ ยิ ํ ปรนตฺ ปราชา มโตติ อาห ฯ 330

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 331 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เฉลยแปลเปน ไทย ๑. อ.ภรรยา ของเศรษฐี ไปแลว บนถนน ดว ยรถ ฯ ๒. อ.มารดา ของพอคา เลือ่ มใสแลว ในพระศาสนา, อ.ทาน อันมารดานนั้ ถวายแลว แกส งฆ ฯ ๓. อันบุคคล พึงละ (ซึง่ วัตถ)ุ ท้ังปวง ไป ฯ ๔. อ.เธอ นำไปแลว (ซง่ึ นางยกั ษณิ )ี นี้ (ยงั นางยกั ษณิ )ี ใหอยแู ลว ในเรอื นของตน จงปรนนิบตั ิ ดวยขาวตม และขาวสวยอนั เลิศ ท. ฯ ๕. อ.พระเถระ อันทา น ใหอดโทษแลว หรือ ฯ ๖. อ.ความไมยินดยี งิ่ เปน คุณชาติเกิดขน้ึ แลว แกภกิ ษุ ผใู หม ยอมเปน ฯ ๗. อ.ใบ ท. ของตนไทร, ครั้นเม่ือฝน ตกแลว , ยอ มผลอิ อก ฯ ๘. อ.พอครัว ซาวแลว ซงึ่ ขาวสาร ใสเ ขาแลว ในหมอขา ว เติมแลว ซึง่ นำ้ ยกข้ึนแลว สูเตา, ครั้นเมอื่ ขาวสวย สุกแลว , ยังหมอ ขาว ใหข ามลงแลว ฯ ๙. ขา แตพระองคผเู จรญิ ครั้นเมอื่ อุปช ฌาย ของขา พระองค พาเอา ซง่ึ ขาพระองค ไปอย,ู อ.ขาพระองค จักไป ฯ ๑๐. ครั้นภายหลัง ณ วันหนึ่ง อ.ดาบส ตรวจดูอยู ซ่ึงอันประกอบซึ่งนักษัตร เหน็ แลว ซง่ึ อันบีบคน้ั ซ่ึงนกั ษตั ร ของพระราชาพระนามวาปรนั ตปะ กลา ว แลววา “แนะนางผูเจริญ อ.พระราชาพระนามวาปรันตปะ ในพระนครช่ือ วา โกสัมพี สวรรคตแลว ดงั นี้ ฯ 331

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 332 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ประโยคมคธตอไปนีใ้ หน กั เรยี นแปลเปนมคธ ๑. อ.ผลไม หน่ึงผล ตกลงแลว จากตนไม ฯ ๒. อ.ส่ิงของ ท. มาก อันพอคา ท. นำมาแลว จากทา ฯ ๓. อันภิกษุ ผอู ยอู ยู ในปาชา ไมพ ึงประพฤติหลับ ในกลางวนั ฯ ๔. อ.พระศาสดา เสด็จถงึ แลว ซงึ่ อุปจารแหงบาน ยังชาง ใหน ำมาแลว ซ่งึ บาตรและจวี ร ไดเ สด็จเขาไปแลว สูบาน เพือ่ กอนขา ว ฯ ๕. อ.นาคผพู ระราชา อนั สามเณร ผนู ำไปอยู ซึง่ นำ้ ใหละอายแลว ฯ ๖. อ.ทรพั ย ของคนจน เปน ของอนั โจร ลกั แลว ยอมเปน ฯ ๗. ครนั้ เมอ่ื พระศาสดา ประทบั อยู ในวหิ ารชือ่ วา เชตวนั , อ.พระเถระชอื่ วา นนั ทะ กระสันขึน้ แลว ไดบอกแจงแลว ซึง่ เนอ้ื ความน้นั แกภิกษุ ท. ฯ ๘. อ.พอ คา ท. ไปแลว สูสมทุ ร ดวยเรือ, คร้ันเมือ่ เรอื น้นั ถึงพรอ มแลว ซงึ่ ทา แหง เมอื ง, ไดไ ปแลว สูฝ ง แหงเมอื ง นั้น ฯ ๙. แนะ แม อ.เจา น่ังแลว ในภายในแหง มาน ไหวแลว ซ่ึงบรุ ษุ น้นั จงเรียนเอา ซึ่งมนต ฯ ๑๐. ครั้งนั้น ในวันหน่ึง อ.พระเจาอุเทน ตรัสแลววา “แนะหญิงคอม โวย อ.ปากของเจา เปน อวยั วะมีรมิ ฝปากและกระพุงแกมอนั หนายิ่ง (ยอมเปน), (อ.เจา) จงกลาว ชื่ออยางนี้ ดังนี้ (กะนางวาสุลทัตตา) น้ัน แมผูอันตน กลาวอยู บอยๆ ผไู มอาจอยู เพือ่ อนั กลา ว ซ่งึ บทแหง มนต ฯ 332

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 333 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เฉลยแปลเปน มคธ ๑. เอกํ ผลํ รุกขฺ สฺมา ปติตํ ฯ ๒. วาณเิ ชหิ ติตฺถมหฺ า พหนู ิ ภณฺฑานิ อานตี านิ ฯ ๓. สสุ าเน วสนเฺ ตน ภิกขฺ นุ า ทิวา น นิทฺทายิตพฺพํ ฯ ๔. สตฺถา คามูปจารํ ปตฺวา (หตถฺ )ึ ปตฺตจีวรํ อาหราเปตวฺ า คามํ ปณ ฑฺ าย ปาวสิ ิ ฯ ๕. อทุ กํ หรนฺเตน สามเณเรน นาคราชา ลชฺชาปโต ฯ ๖. โจเรน ทลิทฺทสฺส ธนํ หรติ ํ โหติ ฯ ๗. สตถฺ ริ เชตวเน วหิ รนเฺ ต, นนทฺ ตฺเถโร อุกกฺ ณฺตวฺ า ภิกฺขูนํ ตมตถฺ ํ อาโรเจสิ ฯ ๘. วาณิชา นาวาย สมุทฺทํ คนตฺ ฺวา, ตสสฺ ํ (นาวาย) นครสสฺ ติตถฺ ํ สมปฺ ตฺตาย, ตสฺส ตรี ํ อคมํสุ ฯ ๙. อมมฺ ตวฺ ํ อนโฺ ตสาณิยํ นสิ ีทิตวฺ า ตํ ปรุ สิ ํ วนทฺ ิตฺวา มนฺตํ คณหฺ ฯ ๑๐. อถ นํ เอกทวิ สํ (วาสลุ ทตฺตํ) ปุนปฺปนุ ํ วุจจฺ มานํป มนฺตปทํ วตฺตุ อสกโฺ กนตฺ ึ “อเร ขุชฺเช ตว มขุ ํ อตพิ หโลฏกโปลํ (โหต)ิ , (ตวฺ ํ) เอวํ นาม วเทหตี ิ อาห ฯ 333

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 334 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò นามศัพท – กริ ิยาศพั ท – คำแปล นามศัพท คำแปล มชฺฌ (นปุง.) ทามกลาง ภาชน (นปงุ .) ภาชนะ อวสฺสํ (อัพ.นบิ าต) แนแ ท สเทวก (ว.ิ ) อนั เปนไปกับดวยเทวโลก หตถฺ มิ ารก (ปุง.) คนยังชา งใหตาย,พรานชา ง ถปู (ปงุ .) สถปู อุยฺยาน (นปงุ .) อุทยาน,สวน นลี (วิ.) สเี ขียว อุปฺปล (นปงุ .) ดอกอุบล,ดอกบัว อนฺต (ปงุ .) ที่สุด,ริม,ลำไส,สวน อนฺตราย (ปุง.) อนั ตราย,ความขัดขอ ง ปทภาณ (นปุง.) การกลา วดวยบท,การสวดดว ยบท ทกรกฺขส (ปุง.) ผเี สื้อน้ำ ภวน (นปุง.) ภพ,ทเี่ ปน ทอ่ี ยู นาคราช (ปงุ .) นาคผพู ระราชา,นาคราช มเหสกขฺ (วิ.) ผมู ีศกั ด์ิใหญ,ผูมเหศกั ด์ิ นทิ ทฺ า (อิต.) ความหลบั ,นทิ รา อกขฺ โิ รค (ปุง.) โรคในนยั นตา ปทุม (นปุง.) ดอกบัว,บวั หลวง,ดอกปทมุ สุริย (ปงุ .) พระอาทิตย, สุริยะ ปตตฺ (นุปง.) ใบ,กลบี ,แผน กาย (ปงุ .) กาย มนุสฺสทลทิ ฺท (ปุง.) คนจน,มนุษยผ ูข ัดสน เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 334

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 335 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò นามศพั ท คำแปล กมมฺ นตฺ (ปุง.) การงาน ภติ (อิต.) คาจา ง,บำเหน็จ อาหาร (ปุง.) อาหาร,ส่งิ อนั บคุ คลพงึ กลนื กิน สกณุ (ปงุ .) นก ปุพฺพณหฺ (ปงุ .) เวลาเชา,สมัยอนั เปน เบ้อื งตน แหง วัน กลุ าวก (นปุง.) รงั ,รังนก สกล (ว.ิ ) ทง้ั สนิ้ สายณหฺ (ปุง.) เวลาเยน็ ,สมยั อันเปน ท่สี ุดแหง วนั เวชชฺ (ปุง.) หมอ,แพทย คามนิคม (ปงุ .) บานและนิคม เวชชฺ กมฺม (นปุง.) การงานของหมอ จกฺขทุ พุ ฺพล (ว.ิ ) ผูมจี กั ษอุ ันโทษประทุษรายแลว ปฺจสต (วิ.) มรี อ ยหาเปน ประมาณ นคฺคสมณก (ปงุ .) สมณะเปลือย ราชงฺคณ (ปงุ .) เนนิ แหง พระราชา, พระลานหลวง, สนามหลวง นาภปิ ปฺ มาณ (ว.ิ ) มีสะดือเปนประมาณ อาวาฏ (ปงุ .) หลมุ ,บอ,ปลอ ง ปลาล (นปุง.) ฟาง,ฟอ น คามฆาตกาทิ (ว.ิ ) มีการฆาซึ่งชาวบา นเปน ตน โจริกา (อติ .) กิริยาอันเปนของมอี ยแู หง โจร ชนปทมนสุ สฺ (ปุง.) มนุษยผูอยใู นชนบท,คนบา นนอก อรฺ (นปุง.) ปา ปฏสิ รณ (นปุง.) ทีพ่ ง่ึ เฉพาะ อารฺ ก (ว.ิ ) ผูอยใู นปา เปนวัตร เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 335

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 336 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò นามศพั ท คำแปล อนุสนฺธิ (อิต.) อนสุ นธ,ิ การตอเนือ่ ง คาถา (อติ .) คาถา,กลอน,วาจาอนั บัณฑติ ผูกไว สหสสฺ (นปงุ .) พันแหงทรัพย ชาตทารก (ปงุ .) เดก็ ผูเ กิดแลว กนฏิ (ปุง.) นอ งชายผูนอยทสี่ ุด ปริยตตฺ ิ (อิต.) ปรยิ ัต,ิ บาลอี ันบุคคลพึงเลาเรยี น ปริวาร (ปุง.) บรวิ าร ลาภ (ปุง.) ลาภ พยฺ าธิ (ปงุ .) พยาธ,ิ ความเจบ็ ปวย เอกมนตฺ (ปุง.,นปุง.) สวนเดียว,ที่สุดสว นขางหนึง่ ,ที่สมควร กณฺณกิ มณฑฺ ล (นปงุ .) มณฑลแหง ชอฟา ฉทน (นปุง.) หลังคา, วัตถเุ ปน เคร่อื งมุงบัง ปุริมภาค (ปงุ .) สวนอนั มีในเบอื้ งบน ปุพพ (นปงุ .) กอ น,กาลกอน,ขอ จาริก (ปงุ .) ท่ีจารกิ ,ประเทศเปน ท่ีเท่ยี วไป ปจเฺ จกพุทธฺ (ปุง.) พระปจ เจกพุทธเจา ฌาน (นปุง.) ฌาน,ความเพง ธมฺมกถกิ (ปุง.) พระธรรมกถึก,ผูกลาวซงึ่ ธรรม ธมฺมาสน (นปุง.) ธรรมาสน,อาสนะเปนที่แสดงซ่ึงธรรม วิจิตฺตวชี นี (อติ .) พดั อนั วจิ ิตร อาปาณิก (ปงุ .) บุคคลผูอยูในรานตลาด ปตุ ตฺ สิเนห (ปงุ .) ความรักเพยี งดงั บตุ ร กมฺพล (นปุง.) ผากำพล, ผาขนสตั ว อนโฺ ตคนธฺ กฏุ ิ (อิต.) ภายในแหงคนั ธกุฎี เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 336

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 337 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò นามศพั ท คำแปล สยน (นปุง.) ท่ีเปน ทน่ี อน วติ าน (นปุง.) เพดาน วิสารท (ว.ิ ) ผูแกลวกลา กุลธตี ุ (อติ .) กุลธิดา,ธิดาในตระกูล สงฺคห (ปุง.) การสงเคราะห มหาสมฺปตตฺ ิ (อิต.) สมบตั ิใหญ ราชมหามตตฺ (ปุง.) พระราชาและมหาอำมาตย เสส (วิ.) เหลอื นครวาสี (ว.ิ ) ผอู ยูใ นพระนครโดยปกติ ปุนทิวส (ปงุ .) วันรุงข้ึน วิสุ (อัพ.นบิ าต) แยกกนั ,แผนกหนึง่ อนุเถร (ปงุ .) พระอนุเถระ, พระเถระผูน อ ย ปุเรตร (วิ.) กอนกวา อปุ ฏานสาลา (อติ .) ศาลาเปน ทบ่ี ำรงุ มหาเถร (ปุง.) พระมหาเถระ, พระเถระผใู หญ ปรติ ตฺ ก (ว.ิ ) นิดหนอ ย อวสิ ย (วิ.) มใิ ชวิสยั คนฺถกิ ตเฺ ถร (ปงุ .) พระคันถิกเถระ, พระเถระผทู รงไวซึง่ คมั ภีร ปฺห (ปุง.) ปญหา คนถฺ ธุร (นปงุ .) คนั ถธุระ, ธรุ ะคือการเลาเรยี นซึง่ คัมภรี  ราคาทิ (ว.ิ ) มีราคะเปนตน นิพฺพาปนตฺถ (ปงุ .) ประโยชนแกอ นั ยัง..ใหด ับ อุสสฺ าห (ปงุ .) อุตสาหะ,ความพยายาม คลิ านปุ ฏ าน (นปงุ .) การอปุ ฏ ฐากซง่ึ คนไข เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 337

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 338 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò นามศัพท คำแปล มจเฺ ฉรจติ ตฺ (นปุง.) จิตอันสมั ปยตุ แลวดวยความตระหน่ี เวทนานุวตฺตี (วิ.) ผูไปตามซ่ึงเวทนาโดยปกติ สจจฺ มตตฺ (ว.ิ ) สักวาความสัตย สคคฺ (ปุง.) สวรรค คมน (นปุง.) การไป สพฺพปาป (นปุง.) บาปท้ังปวง อกรณ (นปงุ .) การไมกระทำ กสุ ล (นปงุ .) กุศล,ความดี อปุ สมฺปทา (อิต.) การยัง..ใหเ ขา ไปถงึ พรอม,อุปสมั ปทา สจติ ตฺ ปริโยทปน (นปุง.) การยงั จติ ของตนใหผอ งแผว สาสน (นปุง.) คำสอน,ศาสนา อนุตฺตร (ว.ิ ) ยอดเย่ยี ม,อนั มธี รรมอ่ืนย่ิงกวา หามไิ ด สมฺโพธิ (อิต.) ปญญาเปนเคร่อื งตรสั รพู รอม สหคามี (วิ.) ผมู อี ันไปกบั ..เปน ปกติ สปริวาร (ว.ิ ) ผูเปน ไปกับดว ยบริวาร เทวธีตุ (อติ .) เทพธิดา สวํ รกรณ (นปงุ .) การกระทำซึง่ ความสำรวม ภาร (ปงุ .) ภาระ เอกรชชฺ (นปุง.) ความเปนแหงพระราชาพระองคเดยี ว สพพฺ โลกาธิปจจฺ (นปงุ .) ความเปนอธิบดใี นโลกทั้งปวง โสตาปตตฺ ิผล (นปงุ .) โสดาปตติผล วร (วิ.) ประเสรฐิ ,ดี อาฬวีวาสี (วิ.) ผอู ยใู นเมอื งช่ือวาอาฬวโี ดยปกติ ราชปรุ สิ (ปงุ .) ราชบุรุษ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 338

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 339 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò นามศัพท คำแปล อาฆาตน (นปงุ .) ทเี่ ปน ท่นี ำมาฆา ,ตะแลงแกง,ลานประหาร สลู (ปงุ .) หลาว กาลกต (วิ.) มกี าละอนั ทำแลว (ตายแลว) อรหตฺต (นปงุ .) พระอรหัต,ความเปนแหง พระอรหนั ต อุปนสิ สฺ ย (ปุง.) อุปนสิ ยั ,ธรรมเปน ที่เขาไปอาศัย อนฺธ (วิ.) บอด,มืด,โง อนธฺ (ปุง.) คนตาบอด,ความมดื วนิ ิจฺฉย (ปงุ .) การวินจิ ฉยั , การตัดสนิ , โรงเปน ที่วนิ ิจฉยั กุฏฏฏ ปราชติ (ว.ิ ) ผพู ายแพแลว เพราะคดีโกง พนฺธลุ (ปุง.) เสนาบดีช่ือวาพันธุละ มหาวริ ว (ปุง.) การเปลงเสยี งดงั วนิ ิจฉยมจฺจ (ปงุ .) อำมาตยผ วู ินจิ ฉัย กุฏฏฏกรณ (นปุง.) การกระทำซ่ึงคดีโกง อธิมตตฺ (ว.ิ ) มปี ระมาณยงิ่ ทฆี าวุกมุ าร (ปุง.) กุมารชือ่ ทีฆาวุ ปจฉฺ า (อัพ.นบิ าต) ภายหลัง,ในภายหลงั พฺรหมฺ ทตตฺ (ปงุ .) พระเจาพรหมทตั กาสิโกสลรฏ (นปุง.) แควนชอ่ื กาสีและแควน ชอื่ โกศล อคฺคสาวก (ปุง.) อัครสาวก,สาวกผูเลศิ เชตวน (นปงุ .) วหิ ารชื่อวา เชตวัน ราชคห (นปงุ .) กรุงราชคฤห รถ (ปุง.) รถ วถี ิ (อิต.) ถนน,วิถี ยกฺขนิ ี (อิต.) นางยกั ษณิ ี เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 339

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 340 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò นามศพั ท คำแปล อคคฺ ยาคุภตฺต (นปงุ .) ขา วตมและขา วสวยอันเลิศ นวก (วิ.) ใหม, นวกะ อนภิรติ (อิต.) ความไมยินดยี งิ่ นิโครฺ ธ (ปุง.) ตน ไทร,ตนนโิ ครธ เทว (ปุง.) เทวดา,ฝน ตณฺฑลุ (นปงุ .) ขา วสาร อกุ ฺขลิ (อติ .) หมอ ,หมอขาว อทุ ฺธน (ปุง.) เตา,กอ นเสา ตาปส (ปุง.) ดาบส นกฺขตฺตโยค (ปงุ .) การประกอบซ่ึงนักษตั ร ปรนตฺ ป (ปงุ .) พระราชาพระนามวาปรนั ตปะ นกขฺ ตฺตปฬ น (นปง.) การบีบคัน้ ซึ่งนักษัตร โกสมฺพี (อติ .) พระนครชือ่ วา โกสัมพี วาณิช (ปุง.) พอ คา ,นายวาณชิ ติตฺถ (นปงุ .) ทา , ทา น้ำ, ลทั ธิ(นอกพทุ ธศาสนา) ภณฺฑ (นปุง.) สงิ่ ของ, ภณั ฑะ, สนิ คา , ทรัพยอ ันบุคคลพึงหอ สสุ าน (นปงุ .) สุสาน, ปาชา ทิวา (อพั .นิบาต) กลางวนั , ในกลางวนั คามูปจาร (ปงุ .) อุปจารแหงบา น ปตตฺ จีวร (นปุง.) บาตรและจีวร นาวา (อิต.) เรอื , นาวา สมุททฺ (ปุง.) ทะเล, สมทุ ร ตีร (นปงุ .) ฝง, ตลง่ิ , ทา นำ้ อมมฺ า (อิต.) แม เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 340

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 341 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò นามศพั ท คำแปล อนฺโตสาณิ (อิต.) ภายในแหง มาน มนตฺ (ปุง.) มนต วาสลุ ทตฺต (อิต.) นางวาสุลทัตตา ขุชชฺ (วิ.) คอ ม,คนหลงั คอม มุข (นปุง.) ปาก,หนา ,พกั ตร อตพิ หโลฏกโปล (ว.ิ ) มรี ิมฝปากและกระพงุ แกมอนั หนายิ่ง เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 341

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 342 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò กิรยิ าศพั ท คำแปล ทีม่ าของกริ ยิ าศพั ท อุปปฺ นนฺ เกิดขึ้นแลว อุ + ปทฺ + ต ต ยืนแลว า + อิ + ต ภนิ นฺ แตกแลว ภทิ ฺ + ต ทาตพฺพ อนั เขาพึงให ทา + ตพฺพ เปสิต อันเขาสง ไปแลว ปสฺ + อิ + ต มริตพฺพ อนั เขาพึงตาย มรฺ + อิ + ตพฺพ ภวิตพฺพ อันเขาพงึ มี-เปน ภู + อิ + ตพฺพ ตารยนตฺ ยงั ..ใหขา มอยู ตรฺ + ณย + อนตฺ วหิ รติ ยอ มอยู วิ + หรฺ + อ + ติ มาเรตวฺ า ยัง..ใหต ายแลว มรฺ + เณ + ตวฺ า กปเฺ ปสิ สำเรจ็ แลว กปปฺ + เอ + ส + อี ปตฏิ  าปต อนั เขายัง..ใหตง้ั เฉพาะแลว ปฏิ + า + ณาเป + อิ + ต ขมาปต อันเขาใหอดโทษแลว ขมฺ + ณาเป + อิ + ต รฬุ ฺห งอกแลว รุหฺ + ต ปตติ ตกแลว ปตฺ + อิ + ต ชาต เกดิ แลว ชนฺ = ชา + ต เทสติ อนั เขาแสดงแลว ทสิ ฺ + อิ + ต เสวติ พฺพ อันเขาพงึ เสพ เสวฺ + อิ + ตพฺพ ชติ อันเขาชนะแลว ชิ + ต ภณาเปตฺวา ยัง..ใหกลาวแลว ภณฺ + ณาเป + ตวฺ า สณุ สึ ุ ฟงแลว สุ + ณา + อุ ปเวเสตวฺ า ยงั ..ใหเขาไปแลว ป + วสิ ฺ + เณ + ตวฺ า เปสิ วางไวแลว ปฺ + เอ + ส + อี มาริต อนั เขาใหตายแลว มรฺ + เณ + ต เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 342

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 343 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò กริ ิยาศพั ท คำแปล ท่ีมาของกิรยิ าศพั ท หรนตฺ นำไปอยู หรฺ + อนฺต ลชฺชาปต อันเขาใหล ะอายแลว ลชชฺ + ณาเป + อิ + ต อสุ สฺ นนฺ หนาขน้ึ แลว อุ + สทฺ + ต ปรคิ ฺคหิต อนั เขาถือเอารอบแลว ปริ + คหฺ + อิ + ต วตุ ตฺ อนั เขากลา วแลว วทฺ + ต อโหสิ ไดเปน แลว อ + หุ + อ + ส + อี ปหต อันเขาประหารแลว ป + หรฺ + ต รุทนตฺ รอ งไหอ ยู รุทฺ + อนตฺ ปพฺพชิ บวชแลว ป + วชฺ + อ + อี อโนกฺกมนฺต ไมก า วลงอยู น + โอ + กมฺ + อนฺต อติกฺกนฺต กาวลวงแลว อติ + กมฺ + ต อุปปฺ ชฺชิ เกิดข้ึนแลว อุ + ปท + ย + อี อุคคฺ ต ขนึ้ ไปแลว อุ + คม + ต อตถฺ งคฺ ต ตกแลว อตฺถ + คม + ต ปท หนฺติ ยอ มหุบ ป + ธา + อ + อนตฺ ิ โอคาหนตฺ กา วลงอยู โอ + คาธฺ + อนตฺ อุตตฺ ิณณฺ ขามขึน้ แลว อุ + ตรฺ + ต อปุ นฆิ ํสนฺต เขา ไปเสยี ดสอี ยู อุป + นิ + ฆสฺ + อนตฺ ปวสิ ิตวฺ า เขาไปแลว ป + วสิ ฺ + อิ + ตฺวา กตฺวา กระทำแลว กรฺ + ตฺวา ลทธฺ อันเขาไดแ ลว ลภฺ + ต กณี ิตฺวา ซือ้ แลว กี + ณา + อิ + ตฺวา ปริภุชฺ สึ ุ บรโิ ภคแลว ปริ + ภุชฺ + อ + อุ นกิ ฺขมติ ฺวา ออกไปแลว นิ + ขมฺ + อิ + ตวฺ า เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 343

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 344 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò กิรยิ าศพั ท คำแปล ทมี่ าของกริ ิยาศพั ท จริตฺวา เทยี่ วไปแลว จรฺ + อิ + ตวฺ า ปฏนิ ิวตฺตนฺติ ยอมกลับเฉพาะ ปฏิ + นิ + วตตฺ + อ + อนตฺ ิ กโรนตฺ กระทำอยู กรฺ + โอ + อนฺต ทิสวฺ า เห็นแลว ทสิ ฺ + ตวฺ า ปุจฺฉิ ถามแลว ปจุ ฉฺ + อ + อี คาหาเปตวฺ า ยงั ..ใหจบั แลว คหฺ + ณาเป + ตวฺ า นิกฺขนาเปตวฺ า ยงั ..ใหฝ ง ไวแ ลว นิ + ขนฺ + ณาเป + ตวฺ า ปฏิจฺฉาเทตฺวา ยัง..ใหปกปด แลว ปฏิ + ฉทฺ + เณ + ตฺวา ทาเปสิ ยัง..ใหใหแลว ทา + ณาเป + ส + อี ชวี นฺต เปนอยูอยู ชวี ฺ + อนฺต อนพุ ทธฺ อันเขาตดิ ตามแลว อนุ + พนฺธ + ต ปลายมาน หนไี ปอยู ป + ลี + เณ + มาน อปสฺสนตฺ ไมเห็นอยู น + ทสิ ฺ = ปสสฺ + อนฺต คนฺตวฺ า ไปแลว คมฺ + ตวฺ า ทตวฺ า ใหแ ลว ทา + ตฺวา สมาทยติ วฺ า สมาทานแลว สํ + อา + ทา + ย + อิ + ตวฺ า สุณนตฺ ิ ยอมฟง สุ + ณา + อนฺติ ฆเฏตฺวา สืบตอ แลว ฆฏ + เอ + ตฺวา เทเสนตฺ แสดงอยู ทิสฺ + เณ + อนฺต อภาสิ ไดก ลา วแลว อ + ภาสฺ + อ + อี คจฺฉ จงไป คมฺ + อ + หิ อปุ ธาเรตฺวา ใครครวญแลว อุป + ธรฺ + เณ + ตฺวา คณฺหิตฺวา ถือเอาแลว คหฺ + ณหฺ า + อิ + ตฺวา เอหิ จงมา อา + อิ + อ + หิ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 344

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 345 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò กิรยิ าศัพท คำแปล ท่มี าของกิรยิ าศพั ท นิสสฺ าย อาศัยแลว นิ + สี + ตวฺ า อุทปาทิ ไดเ กดิ ขึ้นแลว อุ + ท + อ + ปทฺ + เณ + อี อภภิ ตู อันเขาครอบงำแลว อภิ + ภู + ต อปุ สงกฺ มิ เขาไปหาแลว อปุ + สํ + กมฺ + อ + อี อปุ สงฺกมติ วฺ า เขา ไปหาแลว อุป + สํ + กมฺ + อิ + ตวฺ า วนทฺ ิตฺวา ไหวแ ลว วนทฺ + อิ + ตฺวา นสิ ีทิ นง่ั แลว นิ + สทฺ + อ + อี เปตวฺ า ต้ังไวแ ลว,เวนแลว ปฺ + เอ + ตวฺ า นตฺถิ ยอ มไมมี น + อสฺ + อ + ติ คเหตฺวา ถอื เอาแลว คหฺ + เอ + ตฺวา วินวิ ชิ ฌฺ ิตวฺ า เจาะทะลแุ ลว วิ + นิ + วิธฺ + ย + อิ + ตวฺ า นิกขฺ มิ ออกไปแลว นิ + ขมฺ + อ + อี วสติ ฺวา อยูแลว วสฺ + อิ + ตวฺ า ปวาเรตฺวา ปวารณาแลว ป + วรฺ + เณ + ตฺวา วิจรนฺติ ยอ มเท่ียวไป วิ + จรฺ + อ + อนตฺ ิ สมาปชชฺ ิตฺวา เขาแลว สํ + อา + ปทฺ + ย + อิ + ตวฺ า พนฺธิ ผกู แลว พนฺธ + อ + อิ กริสฺสติ จักกระทำ กรฺ + อ + อิ + สฺสติ ลภิสฺสติ จกั ได ลภฺ + อ + อิ + สสฺ ติ สนนฺ ิปตนตฺ ิ ยอมประชุม สํ + นิ + ปตฺ + อ + อนฺติ วฑเฺ ฒตวฺ า ยัง..ใหเ จริญแลว วฑฺฒ + เณ + ตฺวา อาคนตฺ วฺ า มาแลว อา + คมฺ + ตฺวา อฏ าสิ ไดย นื อยแู ลว อ + า + อ + ส + อี อคมาสิ ไดไปแลว อ + คมฺ + อ + ส + อี เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 345

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 346 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò กิริยาศัพท คำแปล ท่มี าของกริ ิยาศัพท ลภติ ฺวา ปมชชฺ ิตุ ไดแลว ลภฺ + อิ + ตวฺ า วฏฏติ ชานิตุ อ.อันประมาท,เพ่ืออนั ประมาท ป + มทฺ + ย + อิ + ตุ กเถตุ อสกขฺ ิ ยอ มควร วตตฺ + อ + ติ ปพฺพชติ สกฺขสิ ฺสามิ อ.อนั รู, เพ่ืออนั รู า = ชา + นา + อิ + ตุ ปเู รตุ อ.อนั กลา ว,เพอื่ อันกลา ว กถฺ + เอ + ตุ กาตุ วฑฺฒมาน ไดอาจแลว อ + สกฺก + อ + อี อุกขฺ ิปตุ หุตฺวา บวชแลว ป + วชฺ + อิ + ต ปจฺจุปฏ าเปตุ จักอาจ สกกฺ + อ + อิ + สสฺ ามิ อทตวฺ า อสมาทยิตวฺ า อ.อันยัง..ใหเ ต็ม, เพ่ืออันยัง... ปูรฺ + เณ + ตุ รกขฺ ติ ฺวา ใหเ ตม็ ปตตฺ ปตฺถต อ.อันทำ, เพ่ืออันทำ กร + ตุ ปริเยสนตฺ สมปฺ ตฺต เจรญิ อยู วฑฺฒ + มาน นมิ นฺเตตวฺ า อ.อันยกข้ึน, เพื่ออันยกขนึ้ อุ + ขปิ ฺ + อิ + ตุ เปน แลว หุ + ตฺวา อ.อนั ยงั ..ใหเ ขาไปต้งั เฉพาะ, ปฏิ + อปุ + า + ณาเป + ตุ เพือ่ อนั ยงั ..ใหเ ขา ไปตงั้ เฉพาะ ไมใ หแ ลว น + ทา + ตฺวา ไมส มาทานแลว น + สํ + อา + ทา + ย + อิ + ตวฺ า รักษาแลว รกฺข + อิ + ตฺวา ถงึ แลว ปทฺ + ต แผไ ปแลว ป + ถรฺ + ต แสวงหาอยู ปริ + ย + เอสฺ + อนฺต ถงึ พรอมแลว สํ + ปทฺ + ต นมิ นตแ ลว นิ + มนตฺ + เณ + ตฺวา เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 346

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 347 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò กริ ยิ าศพั ท คำแปล ที่มาของกิรยิ าศัพท อทํสุ ไดใ หแลว อ + ทา + อ + อุ เนตฺวา นำไปแลว นี + ตฺวา ฆาเตสสฺ าม จักฆา วธฺ = ฆาตฺ + เอ + สสฺ าม อตุ ตฺ าเสสุ ยัง..ใหน อนหงายแลว อุ + ตสฺ + เณ + ส + อุ สมาน มอี ยู อสฺ + มาน ปฏชิ คฺคิ ปรนนิบตั ิแลว ปฏิ + ชคคฺ + อ + อี สนตฺ มอี ยู อสฺ + อนฺต ชาต เกิดแลว ชนฺ = ชา + ต อาคจฺฉนตฺ มาอยู อา + คมฺ + อนฺต วิรวนฺต รอ งอยู วิ + รวฺ + อนฺต อาโรเจสุ บอกแจงแลว อา + รจุ ฺ + เณ + ส + อุ สุตฺวา ฟงแลว สุ + ตวฺ า โวโรปยมาน อันเขาปลงลงอยู วิ + โอ + รปุ ฺ + ย + อิ + มาน อนตกิ กฺ มติ วฺ า ไมก าวลวงแลว น + อติ + กมฺ + อิ + ตฺวา กาเรสิ ยงั ..ใหกระทำแลว กรฺ + เณ + ส + อี อาปจุ ฉฺ ิตวฺ า อำลาแลว อา + ปจุ ฉฺ + อิ + ตวฺ า อคมสํ ุ ไดไ ปแลว อ + คมฺ + อ + อุ คต ไปแลว คมฺ + ต ปสนนฺ เลอ่ื มใสแลว ป + สทฺ + ต ทนิ นฺ อันเขาใหแลว ทา + อิ + ต ปหาย ละแลว ป + หา + ตฺวา คนฺตพฺพ อนั เขาพึงไป คมฺ + ตพพฺ นวิ าเสตวฺ า ยัง..ใหอยแู ลว นิ + วสฺ + เณ + ตวฺ า ปฏชิ คฺคาหิ จงปรนนิบัติ ปฏิ + ชคฺค + อ + หิ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 347

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 348 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò กิริยาศัพท คำแปล ทม่ี าของกริ ยิ าศัพท วุฏ อยแู ลว,ตกแลว วสฺ + ต ผลนฺติ โธวติ วฺ า ยอมผล,ิ ยอ มเผล็ดผล ผลฺ + อ + อนฺติ ปกฺขิปต วฺ า อาโรเปตวฺ า ลางแลว โธวฺ + อิ + ตฺวา ปกฺก โอตาเรสิ ใสเขาแลว ป + ขปิ ฺ + อิ + ตฺวา อาทาย คจฺฉนฺต ยกขึ้นแลว อา + รุปฺ + เณ + ตฺวา คมสิ ฺสามิ มต สกุ แลว,อนั เขาหงุ แลว ปจฺ + ต อาห อานตี ยงั ..ใหข ามลงแลว โอ + ตรฺ + เณ + ส + อี วสนตฺ นิทฺทายติ พฺพ ถือเอาแลว อา + ทา + ตฺวา = ย ปตวฺ า อาหราเปตฺวา ไปอยู คมฺ + อ + อนตฺ หรนฺต ลชฺชาปต จักไป คมฺ + อ + อิ + สฺสามิ หริต วหิ รนตฺ ตายแลว มรฺ + ต อกุ ฺกณฺต วฺ า อาโรเจสิ กลา วแลว พรฺ ู = อาห + อ + อ คณฺห อนั เขานำมาแลว อา + นี + ต อยูอ ยู วสฺ + อนฺต อนั เขาพงึ ประพฤตหิ ลับ นทิ ฺทา + อาย + อิ + ตพฺพ ถงึ แลว ปทฺ + ตฺวา ยัง..ใหนำมาแลว อา + หรฺ + ณาเป + ตวฺ า นำไปอยู หรฺ + อนตฺ อนั เขาใหละอายแลว ลชฺช + ณาเป + อิ + ต อันเขาลกั แลว ,อันเขานำไปแลว หรฺ + อิ + ต อยูอยู วิ + หรฺ + อนฺต กระสนั ขน้ึ แลว อุ + กณฺ + อิ + ตฺวา บอกแจง แลว อา + รุจฺ + เณ + ส + อี จงถอื เอา,จงเรียนเอา คหฺ + ณหฺ า + หิ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 348

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 349 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò กิริยาศัพท คำแปล ที่มาของกิรยิ าศพั ท วุจจฺ มาน อันเขากลาวอยู วทฺ + ย + มาน วตฺตุ อ.อนั กลา ว, เพือ่ อันกลาว วทฺ + ตุ อสกโฺ กนตฺ ี ไมอาจอยู น + สกฺก + โอ + อนฺต + อี (อิต.) วเทหิ จงกลา ว วทฺ + เอ + หิ ************************ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 349

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 350 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò แบบประเมินผลตนเองกอ นเรยี น หนวยท่ี ๑๐ วตั ถปุ ระสงค เพอื่ ประเมนิ ความรเู ดมิ ของนกั เรยี นเกย่ี วกบั เรอ่ื ง “การใชก ริ ยิ ากติ ก” คำสั่ง (การใชก ริ ยิ ากติ กใ นการแปลมคธเปน ไทยและการแปลไทยเปน มคธ) ใหนักเรียนอานคำถามแลว ทำเครื่องหมายถูก ( ) หนาขอที่ เห็นวา ถูกตอง และทำเครอ่ื งหมายผดิ ( ) หนา ขอทเ่ี ห็นวาผิด ( ) ๑. ปจจัยในกิริยากิตกท่ีใชคุมพากยไดมี ๓ ตัว คือ อนีย, ตพฺพ, ต ปจจัย เหลา นต้ี องประกอบใหม ลี ิงค วจนะ วภิ ัตติ เหมือนกันกบั นามนามที่เปน ประธาน และเรยี งไวต วั สุดทายของประโยค ( ) ๒. จตตฺ าโร ภิกขฺ ู คามํ ปณฺฑาย ปวิฏา. เปน กัตตุวาจก ( ) ๓. นวนนฺ ํ ปตุ ตฺ านํ มาตรา ธนํ ทาตพพฺ .ํ เปน กตั ตุวาจก ( ) ๔. อนุกมฺปาย โส (สนุ โข) ตาย ปุตฺตํ โปสาปโ ต. เปน เหตกุ ัมมวาจก ( ) ๕. การเณเนตฺถ ภวติ พฺพํ. เปน ภาวาจก แปลวา อ.เหตุ ในเรือ่ งนี้ พงึ มี. ( ) ๖. อ.ชน ท. มาก อนั กระบอื ขวดิ แลว . แปลวา พหหู ิ ชเนหิ มหสิ ํ ปหรโิ ต. ( ) ๗. กริ ยิ ากติ กท ไ่ี มใ ชอ พั ยยะ ถา มกี ริ ยิ าวา มี วา เปน อยขู า งหลงั ใหแ ปลวา เปน ( ) ๘. พทุ โฺ ธ วิ ฺูหิ ปูชโิ ต โหติ. แปลวา อ.พระพุทธเจา เปน ผอู นั วญิ ชู น ท. บูชาแลว ยอมเปน . ( ) ๙. อมิ านิ การณานิ มม อาจริเยน ทฏิ านิ ภวสิ ฺสนตฺ ิ. แปลวา อนั อาจารย ของเรา เปน ผูเหน็ แลว ซงึ่ เหตุ ท. เหลาน้ี จักเปน. ( ) ๑๐. ปาโป ชาโตส.ิ แปลวา อ.ทา น เปนคนลามก เปนผูเกิดแลว ยอ มเปน. ( ) ๑๑. อ.ตนไทร ใหญ นี้ เปนของอันเทวดา สิงแลว จักไดเปนแลว. แปลวา อยํ มหา นิโคฺรโธ เทวตํ ปรคิ ฺคหิโต อภวิสฺสา. ( ) ๑๒. อ.ทรัพย ของคนจน เปนของอันโจร ลักแลว พึงเปน. แปลวา โจโร ทลิทฺทสสฺ ธนํ โจรติ มสสฺ . ( ) ๑๓. ในความทอนเดียว ถามีกิริยาซึ่งเนื่องกันตอ ๆ มาโดยลำดับหลายตัว ใชกิริยาอาขยาตแตตัวหลังตัวเดียว บรรดากิริยาขางหนา ใชกิริยากิตก เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 350


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook