Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาขยาต-กิตก์

อาขยาต-กิตก์

Description: อาขยาต-กิตก์

Search

Read the Text Version

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 201 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò สวนธาตุท่ีจะใชในวาจกนี้ ใชสกัมมธาตุ อกัมมธาตุบางตัวมีอุปสัคนำ ใชเปน สกัมมธาตุแลว ก็ใชในวาจกนไี้ ด อุ. อุปฏิยมาโน อัน...บำรุงอยู า ธาตุ ในความตัง้ เปน อกมั มธาตุ อุป เปน บทหนา ใชเปนสกัมมธาตุ จงึ ใชเ ปน กัมมวาจกได. ภาววาจก กิริยาศัพทกลาวแตสักวา ความมี ความเปน ไมกลาวถึงกัตตา คือ ผูทำ และ กรรม คือ ผูถูกทำ กลาวข้ึนมาเฉย ๆ แสดงแตเพียงอาการเทาน้ัน กิริยาศัพทชนิดนี้ เรียกวา ภาววาจก เชน ในอุทาหรณวา การเณเนตถฺ ภวติ พพฺ  แปลวา อนั เหตุ ในสง่ิ น้ี พึงมี. อธิบาย คำวา อนั เหตุ ในคำนนั้ ก็เปน แตเพยี งกลาวขน้ึ ลอย ๆ เทาน้นั คำวา พึงมี กไ็ ม รับรองวา จะมีได จะเปน ไดจ รงิ ทีเดียว กิริยาภาววาจก ไมก ลา วกตั ตาดังกริ ยิ าอาขยาต. กริ ยิ าอาขยาต เชน กโรติ กลาวกัตตา คือนามทเี่ ปน ปฐมบรุ ษุ กโรสิ กลาวมธั ยมบรุ ุษ กโรมิ กลาวอุตตมบุรุษ แตกิริยาภาววาจก แมไมกลาวกัตตา ก็ใชบทตติยาวิภัตติ เปน กัตตาเอง เรยี กวา อนภิหติ กัตตา เชน การเณน ใน อ.ุ น.ี้ ปจจัยในวาจกนี้ใชไดเฉพาะจำพวกกิจจปจจัยและกิตกิจจปจจัย กิจจปจจัยน้ัน คือ อนีย และ ตพฺพ ปจ จัย. สำหรบั ตพพฺ ปจจยั ถา ธาตุ ๒ ตัว เมอ่ื ไมล บท่ีสุดธาตุ ตอ งลง อิ อาคม เชน ภาสติ พฺพ, ภวติ พพฺ . ถาลบท่ีสุดธาตุ ไมต องลง อิ อาคม เชน กาตพฺพ เปนตน. สำหรับ อนีย ไมมีวิธีอะไร จะลงในธาตุตัวใด ก็ลงไดทีเดียว เชน ขาทนีย. โภชนยี  เปน ตน . ธาตุท่ีจะใชในวาจกนี้ ใชอกัมมธาตุโดยมาก ใชสกัมมธาตุก็มีบาง แตนอย. กริ ิยาศพั ทท ่ีเปนวาจกน้ี ใชเฉพาะนปุงสกลิงคป ฐมาวภิ ัตติ เอก.อยางเดียว. 201

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 202 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) เหตุกัตตุวาจก กิริยาศัพทที่กลาวถึงผูใชใหคนอื่นทำ คือ แสดงวา เปนกิริยาของผูใชนั่นเอง น้ีช่ือวา เหตุกัตตุวาจก อุทาหรณวา สเทวก ตารยนฺโต (ทาน) ยังโลกน้ี กับเทวโลก ใหข า มอย.ู อธิบาย ตารยนโฺ ต ใหข า มอยู เปน กริ ยิ าเหตกุ ตั ตวุ าจก ตรฺ ธาตุ ในความขา ม ณย และ อนตฺ ปจจัย ทฆี ะตน ธาตุ สำเรจ็ รปู เปน ตารยนโฺ ต เปนกิริยาเหตุกตั ตุวาจก เอง [ทาน] ซง่ึ ไดแ ก ตวฺ . ตว ศัพทน ี้ เปน คำแทนชอ่ื ของผูใหญค นหนึ่ง ซึง่ สามารถใหสตั วโลกขา ม (ทางกันดาร) ไปได ทานเรียกชื่อวา เหตุกตั ตา ในกริ ิยา คือ ตารยนฺโต. ปจจัยท่ีเปนเครื่องหมายของวาจกน้ี คือ แผนก กิต ปจจัย และกิตกิจจปจจัย เพราะปจจัยในกิริยากิตกนี้ ไมมีเหตุปจจัยสำหรับทำใหแปลงจากกัตตุวาจก จึงตอง เอาเหตุปจ จยั ในอาขยาตมาใชโ ดยวธิ ขี อยมื เหตุปจจยั นั้น คอื เณ ณย ฌาเป ณาปย ท้ัง ๔ นี้ ตัวใดตัวหน่ึงกอนแลว จึงลงปจจัยในกิริยากิตก ท่ีเปนกิตปจจัยและกิตกิจจ ปจจยั ตวั ใดตัวหน่ึงทีหลงั . อนง่ึ ปจจัยทีเ่ น่อื งดวย ณ ทั้งส้นิ พงึ ลบ ณ เสยี เหลอื ไวแต สระที่ ณ อาศัยและพยัญชนะตัวอ่ืนไวแลวพฤทธ์ิตามท่ีกลาวในอาขยาต. อุทาหรณ เชน กาเรนโฺ ต ยงั ชน ใหทำอยู กรฺ ธาตุ ในความทำ ลง เณ ปจจยั ลบ ณ เสยี ทีฆะตัว ธาตุ แลวลง อนตฺ ปจ จยั ทหี ลงั การยนฺโต การาเปนโฺ ต และ การาปยนฺโต ก็เชน กนั นี้สำหรับ อนฺต ปจจัยในจำพวกกิตปจจัยท่ีเปนกิตกัจจปจจัยนั้น เหมือนอยาง มาน ปจจัย เชน การยมาโน การาปยมาโน (ยังชนให) ทำอยู เปนตน. นี้เฉพาะที่เปน ปจ จบุ ันกาล. สว นทบ่ี อกอดีตกาลน้ัน เชน ตฺวา ปจ จยั ไดใ นอทุ าหรณวา รชฺช กาเรตฺวา ยงั ชนใหทำราชสมบัติแลว สพฺพกิจฺจ นิฏาเปตฺวา ยังกิจทุกอยาง ใหสำเร็จแลว รุกฺขมูล โสธาเปตฺวา ยังชนใหชำระซึ่งภายใตไมแลว. สุฌฺ ธาตุ ในความหมดจด แปลง ฌ เปน ธ แลว พฤทธิ์ อุ เปน โอ ดว ยอำนาจ ณ ปจจัย เปน ตน. สวน ต ปจจัยที่ เปนเหตกุ ัตตวุ าจกนั้น ดไู มปรากฏ. ธาตุสำหรบั วาจกน้ี ใชไ ดท ้ังทีเ่ ปน สกมั มธาตุ และ อกมั มธาตุ. 202

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 203 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เหตกุ ัมมวาจก กิริยาศัพทท่ีกลาวถึงส่ิงที่ถูกเขาใชใหทำ คือ แสดงวา เปนกิริยาของสิ่งนั้น ช่ือวา เหตุกัมมวาจก เชน สามิเกน สูเทน โอทโน ปาจาปยมาโน แปลวา ขาวสุก อันนาย ยัง (ใช) พอ ครวั ใหห ุงอย.ู อธิบาย โอทโน ขาวสุก เปนกรรม คือสิ่งที่ถูกเขา (คือนาย) ใชใหพอครัวหุง ใน กิริยาศัพท คือ ปาจาปย มาโน. ปาจาปย มาโน เปน ปจฺธาตุ ในความหงุ มาน ปจจัย เปน เหตุกมั มวาจก บอกปจ จบุ นั กาลเปนตน . สำหรับปจจัยทบ่ี อกวาจกนี้ ใชได ๒ จำพวก คือ กจิ จปจจยั และกิตกิจจปจ จัย. กิจจปจจัยนั้น ไดแก อนยี , ตพพฺ , กติ กจิ จปจ จัยน้นั ไดแ ก มาน และ ต ปจจยั เทา น้นั . วาจกนีก้ ต็ อ งอาศัยเหตุปจ จัยเหมอื นกนั บางทีกม็ ีทง้ั ย ปจจัย และ อิ อาคมดว ย. อนีย ปจจยั น้ี เชน สามิเกน กมฺมกเรน กิจจฺ  การาปนยี  กิจ อันนาย พึงยัง (ใช) กรรมกร ใหทำ. กรฺ ธาต.ุ ในความทำลง ณาเป ปจ จัย เปน การาเป แลว ลง อนยี ปจ จยั . สว น เอ ที่ ป อาศัยนน้ั ถูกลบทงิ้ เพราะให อ อาศัย แมอ ทุ าหรณอ ยา งอืน่ เชน อาจริเยน สิสฺเสน กิจฺจวตฺต สิกฺขาปนีย แปลวา กิจวัตร อันอาจารย พึงยังศิษย ใหสำเหนียก สิกฺขาปนีย สิกฺขฺ ธาตุ ในความศึกษา ลง ณาเป แลว ลง อนีย ปจจัย ทหี ลงั เหมือนกัน. ตพฺพ ปจ จัยน้นั เชน อุทาหรณว า อย ภกิ ฺขุ ปาจติ ตฺ ิเยน กาเรตพโฺ พ แปลวา ภิกษุนี้ (อันพระวินัยธร) พึงยังสงฆ ใหทำปรับ ดวยอาบัติปาจิตตีย เปนตน. นี้ยืม เณ ปจจัยมาลงไวกอน อนีย และ ตพฺพ ปจจัย ๒ นี้ไมตองลง ย ปจจัยและ อิ อาคมหลังธาตแุ ละปจจัย เพราะบอกลกั ษณะวา เปน กมั มวาจก ชดั อยูแ ลว . สว นกติ กจิ จปจ จยั คอื มาน และ ต นนั้ ถา ลงในกมั มวาจกและ เหตกุ มั มวาจก ตอ ง ลง ย ปจ จัย และ อิ อาคมดว ย เชน สามิเกน สูเทน โอทโน ปาจาปยมาโน. ขา วสกุ อันนาย ยัง (ใช) พอ ครัว ใหหงุ อย.ู ปาจาปย มาโน นย้ี มื ฌาเป และ ย ปจจยั อิ อาคม ดวย. ต ปจจัยนนั้ เชน อทุ าหรณว า อย ถโู ป ปติฏ าปโต แปลวา พระสถปู น้ี อันเจา ใหต ั้งไวเฉพาะแลว . ปติฏ าปโต ปฏิ บทหนา เอาเปน ปติ. า ธาตุ ในความตง้ั ยืม ณาเป มาลงไวกอนแลวจึงลง ต ปจจัย อิ อาคม เปนเหตุกัมมวาจก. สวนธาตุที่จะ 203

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 204 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ประกอบในวาจกน้ี ไดท้ังสกัมมธาตุ และอกัมมธาตุ สกัมมธาตุ เชน กาเรตพฺโพ อกมั มธาตุ เชน ปตฏิ  าปโต. ปจจัย ในกิริยากิตกน้ี ทานจัดปจจัยไว ๓ หมวด เพื่อใหรูจักกำหนดวาจกทั้ง ๕ นนั้ ไดส ะดวก คอื ปจจยั ที่จะลงในกตั ตวุ าจกและเหตกุ ตั ตุวาจกไวพวกหนง่ึ เรียกวา กิตปจ จยั . ปจจัยท่ีเปนไดเฉพาะกัมมวาจก ภาววาจก และเหตุกัมมวาจกได พวกหนึ่ง เรยี กวา กจิ จปจจยั ปจจัยที่เปนไดท้ัง ๕ วาจก ไวพวกหน่ึง เรียกวา กิตกิจจปจจัย (เหมือน ในนามกิตก). การจัดปจจัยนี้ ตองอาศัยหลักที่จะประกอบใหเหมาะแกความประสงคของ ธาตุท่ีจะเปนไปได หาไดจัดตามความพอใจไม คือธาตุตัวใดสมควรจะเปนวาจกใด และควรลงปจจัยตัวไหนจึงจะเหมาะแกภาษานิยมแลว จึงลงปจจัยตัวน้ัน เมื่อลงแลว ตองหมายความอยางน้ัน จึงจะถูกความประสงค ฉะนั้น ทานจึงจัดปจจัยไวเปน ๓ หมวด ในหมวดหนึ่งๆ ก็มีจำนวนต้ังแต ๒ ตัวข้ึนไป เพ่ือใหเลือกใชใหเหมาะให ถกู น้นั เอง คอื :- ๑. กิตปจ จัย มี ๓ ตวั อนฺต, ตวนฺต,ุ ตาวี. ๒. กิจจปจ จัย มี ๒ ตัว คือ อนยี , ตพพฺ . ๓. กิตกจิ จปจจยั มี ๕ ตัว คอื มาน, ต, ตูน, ตฺวา, ตฺวาน. ปจจัยเหลา นี้ บอกกาลไดตา ง ๆ กัน ดังนี้ คือ :- อนตฺ , มาน. ๒ นี้ บอกปจ จบุ ันกาล แปลวา อยู, เมอื่ . อนยี , ตพฺพ. ๒ น้ี บอกความจำเปน แปลวา ควร, พึง. ตวนตฺ ,ุ ตาว,ี ต, ตูน, ตฺวา, ตวฺ าน. ๖ น้ี บอกอดีตกาลแปลวา แลว, ครนั้ ...แลว. 204

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 205 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò วิธีลงปจ จยั กติ ปจจยั กิตปจจัย คือ อนฺต ตวนฺตุ ตาวี ๓ นี้ เปนไดท้ังกัตตุวาจกและเหตุกัตตุวาจก เมอ่ื จะลงในธาตตุ วั ใด ตอ งนกึ ถงึ หมวดธาตใุ นอาขยาตเสียกอนวา ควรจะจดั เขา ในธาตุ หมวดใด มีปจจัยอะไรบางสำหรับประกอบในท่ีนั้น เพราะในกิริยากิตกนั้น โดยมาก ตองอาศยั ปจ จยั ในอาขยาตมาลงกอน แลว จงึ ลงปจ จยั ในกิตกท ีหลัง. อนฺต ปจจัย กโรนฺโต ทำอยู กรฺ ธาตุ ในความทำ ลง โอ ปจจัยในอาขยาตมาแลว จึงลง อนฺต ปจ จัย แจก ตามแบบ อ การนั ต ปงุ . ปฐมาวิภัตติ เอา อ กบั สิ เปน โอ สำเรจ็ รูป เปน กโรนโฺ ต. สณุ นโฺ ต. ฟง อยู สุ ธาตุ ในความฟง ณา ปจจยั ธาตตุ ัวเดียวคงปจ จัยไว แลว ลง อนฺต ปจจัย. กเถนฺโต กลาวอยู. กถฺ ธาตุ ในความกลาว เอ ปจจัย แลวลง อนฺต ปจจยั . นีเ้ ปน กตั ตวุ าจก. สวนทเี่ ปน เหตกุ ตั ตุวาจก นัน้ ตองอาศยั เหตุปจ จยั ท้ัง ๔ ตัวคือ เณ ณย ฌาเป ฌาปย ตัวใดตัวหนึ่งมาลงไวกอน แลวจึงลง อนฺต ปจจัยทีหลัง เชน สาเวนฺโต ใหฟงอยู สุ ธาตุ เณ ปจจัยพฤทธิ์ อุ เปน โอ เอา โอ เปน อว แลวทีฆะตนธาตุ ดว ยอำนาจปจจยั เน่อื งดวย ณ ลบ ณ เสยี เหลอื สระ เอ นำสระ เอ เขา กบั สาว เปน สาเว แลว ลง อนฺต ปจจยั จงึ เปน สาเวนฺต แจกตามแบบ อ การนั ต ใน ปงุ . ปฐมาวภิ ัตติ เอา อ กบั สิ เปน โอ สำเร็จรปู เปน สาเวนฺโต. กาเรนโฺ ต ยังบุคคลใหท ำอยู เณ ปจจัย การยนฺโต ยังบุคคลใหทำอยู ณย ปจจยั การาเปนโฺ ต ยังบคุ คลใหท ำอยู ณาเป ปจ จยั มาเรนฺโต มารยนฺโต มาราเปนฺโต มาราปยนฺโต แปลวา ใหตายอยู เมื่อให ตาย อยา งเดียวกันกับอธิบายขา งตน. 205

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 206 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò อนฺต ปจจัยน้ี เปนได ๓ ลิงค ถาเปน ปุง. เปนรูป อนฺโต เชน กโรนฺโต, มาเรนโฺ ต แจกตามแบบ ปุริส ศัพท และ ภวนตฺ ศัพท ก็ได. ถา เปน อติ . เปล่ียนเปน อนตฺ ี เชน กโรนตฺ ,ี สาเวนตฺ ,ี มาเรนตฺ ี แจกตามแบบ อี การนั ตใ น อติ . (นาร)ี . ถา เปน นปงุ . เปน รปู อนตฺ  เชน กโรนตฺ , นสสฺ นตฺ , มารยนตฺ  เปน ตน แจกตามแบบ อ การันต ใน นปงุ . (กลุ ). เฉพาะทีเ่ ปนปุงลิงคจะนำไปแจกตามแบบ ภวนฺต ศัพทก ็ได ตวนฺตุ ปจจยั สตุ วา ฟง แลว สุ ธาตุ ในความฟง ลง ตวนฺตุ ปจ จัย เปน สุตวนฺตุ ศพั ทท ีม่ ี นฺตุ เปนท่ีสดุ แจกตามแบบ ภควนตฺ ุ นาม (๖๔). ภุตฺตวา กนิ แลว ภชุ ฺ ธาตุ ในความกนิ ตวนตฺ ุ ปจ จัย เอาทส่ี ดุ ธาตเุ ปน ตฺ เปน ภุตตฺ วนฺตุ แจกตามแบบนาม สำเรจ็ รปู เปน ภุตฺตวา. วุสิตวา อยูแลว วสฺ ธาตุ ในความอยู เอา ว เปน วุ แลวลง อิ อาคม ตวนตฺ ุ ปจ จัย เปน วสุ ติ วนฺตุ แจกตามนน้ั จงึ เปน วสุ ติ วา. สวนท่ีเปน เหตุกัตตุวาจก ก็ตองอาศัยเหตุปจจัยในอาขยาตมาประกอบไวกอน แลวจึงลงปจจัยทีหลัง เหมือนท่ีกลาวมาแลว เชน สาเวตวา ใหฟงแลว โภชยิตวา ใหกินแลว วาสาเปตวา ใหอยูแลว การปยิตวา ใหทำแลว เปนตน. เฉพาะ ณฺย ณาปย ตองลง อิ อาคมดวย. ศัพทที่ลง ตวนฺตุ ปจจัยนี้ เปนไดท้ัง ๓ ลิงค ถาเปน ปุง. แจกตามแบบ ภควนฺตุ ถาเปน อิต. เปนรูป สุตวตี, ภุตฺตวตี, วุสิตวตี เปนตน แจกตามแบบ (นารี) นาม. ถาเปน นปงุ . แจกตามแบบ กลุ . อนึ่ง ตวนฺตุ ปจจยั มี คติ เหมอื นกบั ต ปจจัย คือ ถาศัพทใดเปนธาตุตัวเดยี ว ไมตองทำพิธีอะไร เอา ตวนฺตุ ไปตอขางหลังทีเดียว เชน สุตวา ฟงแลว วิชิตวา ชำนะแลว หุตวา มีแลว-เปนแลว . ถาเปน ธาตุ ๒ ตัว แปลงทส่ี ดุ ธาตุได เชน ธาตมุ ี จ, ช, และ ป เปน ทีส่ ดุ แปลง ท่ีสุดธาตุ เปน ตฺ เชน :- สติ ฺตวา รดแลว สจิ ฺ ธาตุ ในความรด. ภุตตฺ วา กินแลว ภุชฺ ธาตุ ในความกนิ . เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 206

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 207 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò คตุ ฺตวา คมุ ครองแลว คุปฺ ธาตุ ในความคมุ ครอง. ตตตฺ วา รอนแลว ตปฺ ธาตุ ในความรอ น. ถา หากไมแ ปลงทส่ี ดุ ธาตุ ตอ งลง อิ อาคม เชน ภุ ชฺ ติ วา, จชติ วา เปน ตน . ตาวี ปจ จยั ตาวี ปจจัยน้ี ก็มี คติ เหมือน ตวนฺตุ ปจจัย ถาหากศัพทท่ีจะลงเปนธาตุ ตวั เดยี ว ไมตองทำพิธอี ะไร เอาปจ จัยนไี้ ปตอเขา ขางหลงั ทีเดียว เชน สตุ าวี ฟงแลว สุ ธาตุในความฟง ตาวี ปจจัย. หตุ าวี เปน - มีแลว หุ ธาตุ ในความมี - เปน ตาวี ปจจยั . ถาศพั ทท ่มี ีธาตุ ๒ ตัว มอี ำนาจแปลงท่สี ุดธาตุเปน ต ได ท่วี า นี้หมายความวา ธาตุท่ีมี จ, ช, ป, เปน ทีส่ ดุ . แต ตาวี ปจ จัย ตองคงไวอยางเดิม. เชน ภตุ ตฺ าวี กนิ แลว ภุชฺ. ธาตุ ในความกิน ตาวี ปจจัย แปลงท่ีสุดธาตุเปน ตฺ. คุตฺตาวี คุมครองแลว คุปฺ ธาตุ ในความคมุ ครอง ตาวี ปจ จยั แปลงที่สดุ ธาตเุ ปน ตฺ เหมือนกัน. อนึ่ง เน่ืองแตปจจัยนี้เปนไดท้ัง กัตตุวาจก และ เหตุกัตตุวาจกเหมือนกัน ถา หากจะใหเ ปน เหตกุ ัตตุวาจก ตอ งอาศัยเหตปุ จ จัยทั้ง ๔ ตัวมาประกอบดวย เชน :- ภุชฺ ธาตุ เณ ปจจัย เปน โภเชตาวี ภชุ ฺ ธาตุ ณย ปจ จัย เปน โภชยติ าวี ภุชฺ ธาตุ ณาเป ปจ จยั เปน โภชาเปตาวี ภุชฺ ธาตุ ณาปย ปจ จยั เปน โภชนาปยติ าวี ณฺย และ ณาปย ๒ นี้ตองลง อิ อาคมดวย. ตาวี ปจจัยน้ี เปนได ๓ ลิงค อิตถีลงิ ค ลง อินี ปจ จัย. นปุง. แปลงเปน อ.ิ มีตัวอยางดงั น:้ี - ปงุ . อิต. นปุง. สุตาวี สุตาวนิ ี สุตาวิ ฟงแลว สุ ธาตุ ภุตฺตาวี ภตุ ฺตาวินี ภุตตฺ าวิ กนิ แลว ภชุ ฺ ธาตุ วสุ ิตาวี วุสติ าวนี ี วสุ ติ าวิ อยูแลว วสฺ ธาตุ แปลง ว เปน วุ. ตวนฺ ตุ ตาวี ปจจยั น้ี ถา อยหู นากริ ิยาอาขยาต โดยมากพงึ เหน็ วาเปน เหมอื นบท วเิ สสนะ ในประโยคนน้ั ๆ. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 207

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 208 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) กจิ จปจจัย ในหมวดน้ีมีปจจัย ๒ ตัว คือ อนีย, ตพฺพ. เปนได ๓ วาจกคือ กัมมวาจก ภาววาจก และ เหตุกัมมวาจก ที่เปนภาววาจก แจกไดเฉพาะ เอกวจนะ ป. วิภัตติ นปงุ . อยา งเดยี ว. อนยี ปจจยั ศัพทท่ีลงในปจจัยน้ี ไมตองมีพิธีพิเศษอะไรนัก เปนแตเพียงนำไปตอขาง หลงั ธาตเุ ทาน้นั และสังเกตเห็นไดง าย เพราะมีรูป อนยี ติดอยทู า ยศัพทเสมอไป. แม ในวาจกทั้ง ๓ ก็มีรปู อยา งเดียวกัน. เชน กรณยี  วจนีย โภชนีย ขาทนยี  เปนตน. กรณยี  อนั เขาพึงทำ กรฺ ธาตุ ความทำ ลง อนีย ปจจัยคงธาตุไว แปลง น ปจจยั เปน ณ. แจกตามแบบ อ การนั ต นปงุ . นาม วจนยี  อนั เขาพงึ กลา ว วจฺ ธาตุ ในความกลา ว นำ อนยี ปจ จยั ไปตอ ขา งหลงั สำเร็จรปู เปนเชน กนั . โภชนยี  อันเขาพึงกนิ ภุชฺ ธาตุ ในความกิน แปลง อุ เปน โอ นำ อนีย ปจ จัย ไปตอ ขา งหลงั โดยวิธเี ดยี วกัน. ขาทนีย อนั เขาพงึ เค้ยี ว-ควรเคีย้ ว อนีย ปจ จัยเหมอื นกัน. สวนที่เปน เหตุกัมมวาจก นั้น ตองนำ เหตุปจจัยมาประกอบดวย แตเหตุ ปจ จยั มกั ใชแ ต ณาเป โดยมาก เชน การาปนยี  อนั เขา พงึ ใหท ำ วาทาปนยี  อันเขา พึงใหก ลา ว โภชาปนยี  อันเขาพึงใหกนิ วนฺทาปนยี  อันเขา พงึ ใหไหว เปน ตน . ศพั ทท สี่ ำเรจ็ จากปจจัยนี้ นำไปแจกไดใ นลงิ คทั้ง ๓ คือ :- ปงุ . อิต. นปงุ . กรณีโย กรณยี า กรณีย อันเขา ควร-พึงทำ การาปนีโย การาปนยี า การาปนยี  อนั เขา ควร-พึงใหท ำ ขาทนโี ย ขาทนียา ขาทนีย อันเขา ควร-พึงเคย้ี วกนิ วนฺทนีโย วนทฺ นยี า วนฺทนยี  อนั เขา ควร-พงึ ไหว ดงั นีเ้ ปนตน. 208

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 209 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ศัพทที่ลงปจจัยน้ี บางคราวทานใชเปนนามกิตกก็มี เชน อุ. วา ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน ปริวิสิ [ เขา ] เลี้ยงแลว ดวยของควรเค้ียว ดว ยของควรบริโภค อันประณตี ดงั นี.้ ตพพฺ ปจจัย ปจจัยน้ี เปนปจจัยเน่ืองดวย ต มีอำนาจแปลงธาตุไดหลายอยางเชนกับ ต ปจ จยั คอื มอี ำนาจลบทส่ี ดุ ธาตไุ ดอ ยา งหนงึ่ .ไมล บ แตล ง อิ อาคมไดอ ยา งหนง่ึ . แปลง ท่สี ุดธาตกุ ับปจจยั ตามฐานะท่ีควรอยางหน่ึง. คงธาตไุ วตามเดมิ อยางหนึ่ง. ๑. มีอำนาจลบที่สดุ ธาตนุ ้นั ถาธาตมุ ี ๒ ตัว ลบทีส่ ุดธาตุได เชน กตตฺ พฺพ วตฺตพฺพ ปตตฺ พฺพ เปน ตน . กตฺตพฺพ เปน กรฺ ธาตุในความทำ ลบท่ีสุดธาตุ ซอน ตฺ บางทีลบท่ีสุดธาตุ แลวทฆี ะ อ เปน อา เชน กาตพฺพ. วตฺตพพฺ  เปน วทฺ ธาตุ ในความกลาว ลบทส่ี ุดธาตุ ซอน ต. ปตฺตพพฺ  เปน ปทฺ ธาตุ ในความถึง ลบที่สดุ ธาตุซอน ต. ๒. ไมล บทสี่ ดุ ธาตุ แตต อ งลง อิ อาคม นนั้ คอื ถา ธาตมุ ี ๒ ตวั เมอื่ ไมล บ ท่ีสุดธาตุ ตองลง อิ อาคม เชน เวทิตฺพฺพ, ภาสิตพฺพ, คมิตพฺพ, จชิตพฺพ, วสิตพฺพ เปนตน . เวทิตพฺพ เปน วทิ ฺ ธาตุ ในความรู แปลง อิ เปน เอ. เมอื่ ไมล บท่สี ุดธาตุ ตอง ลง อิ อาคม. ภาสิตพฺพ เปน ภาสฺ ธาตุ ในความกลา ว ลง อิ อาคมเหมอื นกัน. คมติ พฺพํ เปน คมฺ ธาตุ ในความไป-ถึง. จชิตพฺพ จชฺ ธาตุ ในความสละ ลง อิ อาคมหลังธาตุ เหมือนกนั ๓. แปลงทสี่ ดุ ธาตนุ น้ั เชน คนตฺ พพฺ , ทฏ พพฺ . ตฏุ  พพฺ . ลทธฺ พพฺ  เปน ตน . คนตฺ พพฺ  เปน คมฺ ธาตุ แปลงที่สุดธาตุเปน น. ทฏ พพฺ  เปน ทิสฺ ธาตุ ใน ความเห็น ลบ อิ เสีย แปลงท่ีสุดธาตุกับ ต แหง ตพฺพ เปน ฏ จึงเปน ทฏพฺพ. ตุฏพฺพ อันเขาพึงยินดี เปน ตุสฺ ธาตุ ในความยินดี มีวิธีเหมือนกัน. ลทฺธพฺพ เปน ลภฺ ธาตุ ในความได. ธาตมุ ี ภฺ เปน ท่ีสุด แปลงทส่ี ุดธาตุกบั ต แหง ตพพฺ ปจจัย เปน ทธฺ สำเรจ็ รูปเปน ลทธฺ พพฺ . ๔. คงธาตุไวตามเดิมนั้น ขอนี้มักปรากฏเฉพาะธาตุตัวเดียวที่มี อา เปน ที่สุดโดยมาก เชน าตพฺพ, ทาตพพฺ , าตพฺพ, ปาตพฺพ เปนตน . 209

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 210 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) าตพพฺ  อนั เขา พึงรู เปน า ธาตุ ในความรู. ทาตพฺพ อันเขา พงึ ให ทา ธาตุ ในความให. าตพพฺ  อันเขา พงึ ตง้ั ไว า ธาตุ ในความตง้ั . ถา หากธาตุตัวเดียวมี สระ อี มักวิการเปน เอ เชน เนตพฺพ วตั ถุ อนั เขา พึงนำไป นี ธาตุ ในความนำไป แปลง อี เปน เอ. สวนที่เปน เหตุกัมมวาจก นั้น พึงนำ เหตุปจจัย มาประกอบไวดวย เชน กาเรตพฺพ, ปาจาเปตพฺพ เปนตน. ตพฺพ ปจจัย จะเปน กัมมวาจก เหตุกัมมวาจก และ ภาววาจก กเ็ ปน รปู อยางเดียวกันกบั ตวั ประธานใน ๓ ลิงค แตทีเ่ ปนภาววาจกนัน้ ตอ งเปนเฉพาะ ป. วภิ ัตติ เอก. ใน นปุ. เทานนั้ . กิตกิจจปจ จัย กิตกิจจปจจยั หมวดน้ี เปน ไดท ้งั ๕ วาจก ดังทไ่ี ดอ ธิบายมาแลวขางตน เมือ่ ตอ งการใหเ ปน วาจกใด ตอ งนำเอาปจ จยั ทป่ี ระจำของวาจกนน้ั มาประกอบใหถ กู ลกั ษณะ ก็ เปนอันใชไ ด. มาน ปจจยั มาน ปจจัยนี้ มีคติเหมือน อนฺต ปจจัย ถาหากไมมี ย ปจจัยซึ่งเปนเคร่ือง หมายกัมมวาจกแลว พึงเขาใจวา เปน กัตตวุ าจก. ถา มี ย ปจ จยั หรือมี ย ปจจัยและ อิ อาคมแลว ซ่ึงลงในสกมั มธาตุ พึงเขา ใจวา เปนกมั มวาจก 210

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 211 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ศพั ทท ่ลี ง มาน ปจจยั ดังน้ี กัตตุวาจก กัมมวาจก กุรุมาโน ทำอยู กริ ยิ มาโน อันเขาทำอยู. ภุฺชมาโน กนิ อยู ภุ ชฺ ยิ มาโน อนั เขากินอยู. วทมาโน กลา วอยู วจุ จฺ มาโน อนั เขากลา วอย.ู ธาตุที่จะลง มาน ปจจัยน้ี ตองลงปจจัยประจำหมวดธาตุในอาขยาตตาม ลกั ษณะของวาจกเสยี กอ น ท่ีเปน กัตตุวาจก เชน :- กุรุมาโน ทำอยู กรฺ ธาตุ ในความทำ โอ ปจจัยประจำหมวดธาตุ มีอำนาจ แปลง อ ท่ี ก เปน อุ เปน กุร. นำ โอ ปจ จยั มาตอเขา เปนรปู กโุ ร ลง มาน ปจจัย จงึ แปลง โอ ที่ ร เปน อุ สำเร็จรูปเปน กุรมุ าน แจกตามแบบ อ การนต ป.ุ ป. วิภัตติ จึง เปน กรุ มุ าโน (ทำอยู). ภุ ชฺ มาโน กินอยู ภุชฺ ธาตุ อยใู นหมวด รุธฺ ธาตุ จึงลง อปจจัย ธาตหุ มวดน้ี ตอ งลงนคิ คหติ อาคมตน ธาตุ แลว แปลงนคิ คหติ นน้ั เปน พยญั ชนะทส่ี ดุ วรรค แหง พยญั ชนะ ทีส่ ุดธาตุ เชน ภุชฺ ธาตุน้ี มี ช เปน ที่สุด. พยญั ชนะที่สดุ วรรคของ ช ก็คอื  ฉะน้ันจงึ แปลง นิคคหิตเปน  ไวห นา พยัญชนะวรรค และใหเปน สะกด จึงเปน ภุชฺ ฺ นำ มาน ปจจัยไปตอเขา ขางหลงั สำเร็จรูปเปน ภุ ชฺ มาโน กนิ อย.ู วทมาโน กลาวอยู ลง อ ปจจัยประจำหมวดธาตุ จึงนำ มาน ปจจัยมาลง ทหี ลัง จึงสำเรจ็ รปู เปน อยางนี.้ กมั มวาจกน้ัน มักลง ย ปจจยั และ อิ อาคม ตามนยั อาขยาตแลวจงึ ลง มาน ปจจัยทหี ลัง อยาง กรยิ มาโน, ภุชฺ ยิ มาโน เปน ตน . ถาแปลง ย ปจจัยกับท่ีสุดธาตุ ไมตองลง อิ อาคม เชน วุจฺจมาโน อันเขากลา วอยู วจฺ ธาตุ ในความกลา ว ลง ย ปจจัย แลวเอา ว เปน วุ แลวแปลงทสี่ ุด ธาตุกับ ปจ จยั เปน จฺจ จงึ ลง มาน ปจจัยสำเรจ็ รูปเปน วุจฺจมาโน. สวนทเี่ ปน ภาววาจก นั้น มวี ธิ เี หมือนกนั กับกัมมวาจกนี้ ตางแตใชธ าตุไมม ี กรรมเทา นน้ั . (ภาววาจกน้ไี มนยิ มใช) ท่ีเปน เหตุกัตตุวาจก ตองอาศัยเหตุปจจัยในอาขยาตท้ัง ๔ ตัวนั้นมาลงไว เปนเคร่ืองหมายดุจกลาวมาแลว แตโดยมากมีแต ณย ณาปย ปจจัยเทาน้ัน เชน เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 211

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 212 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ปาจยมาโน ใหห งุ อย,ู การาปยมาโน ใหท ำอยู, สารยมาโน ใหร ะลกึ อย,ู าปยมาโน ใหต ้งั อยู เปน ตน. ที่เปน เหตุกัมมวาจก ใหลงเหตุปจจัย และ ย ปจจัย อิ อาคม ดวย เชน ปาจาปยมาโน อันเขาใหหุง-ตมอยู, ปติฏาปยมาโน อันเขาใหตั้งอยู, สาริยมาโน อนั เขาใหระลกึ อยู, สาวยิ มาโน อันเขาใหฟ งอยู เปนตน. อนง่ึ ศพั ทท ปี่ ระกอบดว ยปจ จยั น้ี นำไปแจกดว ยวภิ ตั ตทิ ง้ั ๗ ใน ๓ ลงิ คไ ด ท่ี เปน ปุง. เปน มาโน เชน กุรุมาโน ทเ่ี ปนอติ . เปน มานา เชน กรุ มุ านา, ภุ ชฺ มานา เปน ตน ท่เี ปน นปุ. เปน มาน เชน วทมาน, วจุ ฺจมาน เปนตน . ต ปจจยั ต ปจจัยนี้ ตามหลักก็เปนไดท้ัง ๕ วาจก แตจะนำมาแสดงเทาท่ีเห็นวา จำเปนและทีใ่ ชกันโดยมาก เพราะบางวาจก เชน เหตกุ ัตตวุ าจก มกั ไมค อยมีใช. อน่ึง ต ปจจัยนี้ มีนัยวิจิตรหลายอยาง คือ มีอำนาจลบท่ีสุดธาตุบาง แปลง ทสี่ ุดธาตบุ า ง ถามธี าตุตวั เดยี ว ลง อิ อาคม บา ง ถามธี าตุ ๒ ตัว เม่อื ไมลบที่สุดธาตุ ตองลง อิ อาคม บาง แปลงตัวเองเปนพยัญชนะที่สุดวรรค และอยางอื่นตามฐานะที่ ควรบา ง เมอ่ื ลง ต ปจจัยน้แี ลว ใชเปนนามกิตกก็มีบาง ตามนยั ทที่ านแสดงไวในแบบ จะนำมาแสดงไวอยา งละ ๒-๓ ขอ ดงั นี้ :- ลบท่ีสดุ ธาตนุ ั้น เชน ธาตมุ ี มฺ และ นฺ เปนทีส่ ดุ ลบที่สุดธาตุเสีย คโต ไปแลว คมฺ ธาตุ ในความไป ความถงึ รโต ยินดีแลว รมฺ ธาตุ ในความยินดี แปลงทีส่ ุดธาตุนั้น เชน ธาตุมี จ,ฺ ช,ฺ ป,ฺ เปนทีส่ ดุ เอาท่สี ดุ ธาตุเปน ต.ฺ สิตฺโต อันเขารดแลว สิจฺ ธาตุ ในความรด ภุตฺโต อนั เขากนิ แลว ภุช.ฺ ธาตุ ในความกนิ วตุ ตฺ  อันเขากลาวแลว วจฺ ธาตุ ในความกลา ว เอา ว เปน วุ คุตฺโต อนั เขาคุมครองแลว คปุ ฺ ธาตุ ในความคมุ ครอง. ธาตุมตี วั เดยี ว ลง อิ อาคม. และธาตมุ ี ๒ ตวั เมอื่ ไมลบ ตอ งลง อิ อาคมนนั้ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 212

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 213 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò คือ ธาตุมี อา เปนทีส่ ุดก็ด,ี ต เปน กัมมวาจก ก็ดี ลง อิ อาคม. คำวา ต เปน กมั ม วาจก นี้ หมายความวา ลง ต ปจ จัยใหเปน กัมมวาจก ตองลง อิ อาคม ดว ย เชน :- ิโต ยนื แลว า ธาตุ ในความตั้งอย.ู ปโต อนั เขาด่มื แลว ปา ธาตุ ในความดื่ม. อภชิ ฺฌิโต อันเขาเพงจำเพาะแลว อภ+ิ ฌา ธาตุ ในความเพง ที่แปลงตวั เองเปนพยญั ชนะที่สุดของวรรคนน้ั เชน :- ฉนฺโน อนั เขามุงแลว ฉทฺ ธาตุ ในความปด. รุนโฺ น รองไหแ ลว รทุ ฺ ธาตุ ในความรอ งไห. แปลงเปน พยญั ชนะอื่นนน้ั เชน :- ธาตุมี รฺ เปนทส่ี ุด แปลง ต เปน ณฺณ แลว ลบที่สุดธาตุ. ชณิ โฺ ณ แกแ ลว ชริ ฺ ธาตุ ในความครำ่ ครา. ปุณฺโณ เต็มแลว ปูรฺ ธาตุ ในความเตม็ . ธาตุมี สฺ เปนทีส่ ุด แปลง ต เปน ฏ แลว ลบทส่ี ดุ ธาต.ุ ตฏุ โ ยนิ ดีแลว ตสุ ฺ ธาตุ ในความยินด.ี หฏโ รา เรงิ แลว หสฺ ธาตุ ในความรา เริง. ธาตมุ ี ธฺ และ ภฺ เปนท่ีสุด แปลง ต เปน ทธฺ แลวลบทส่ี ุดธาตุ. พทุ ฺโธ อนั เขารแู ลว พธุ ฺ ธาตุ ในความร.ู ลทฺโธ อันเขาไดแลว ลภฺ ธาตุ ในความได. ธาตมุ ี มฺ เปน ทีส่ ดุ แปลง ต เปน นตฺ แลวลบท่ีสดุ ธาตุ ปกฺกนฺโต หลกี ไปแลว ป+กมฺ ธาตุ ในความกาวไป. สนฺโต ระงบั แลว สมฺ ธาตุ ในความสงบระงับ. ธาตุมี หฺ เปน ทีส่ ดุ แปลง ต เปน ฬฺห แลวลบทส่ี ดุ ธาต.ุ รุฬฺโห งอกแลว รุหฺ ธาตุ ในความงอก. วฬุ โฺ ห อนั น้ำพัดไปแลว วหุ ฺ ธาตุ ในความลอย. ใชเปนนามกิตกบางน้ัน เชน พุทฺโธ แปลวา รูแลว พุธฺ ธาตุในความรู ถาใชเปนนามกิตก แปลวา พระพุทธเจา ก็คือ ทานผูรูนั่นเอง. หรือวา คต การเดิน ติ  การยนื เปน ตน . ทมี่ กั ปรากฏอยหู ลายแหง กเ็ พราะทา นใชเ ปน นามกติ กน น้ั เอง. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 213

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 214 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ทเ่ี ปน กัตตวุ าจก นั้น เชน คโต, ปกฺกนฺโต, ปวิฏโ  เปน ตน คโต ไปแลว คมฺ ธาตุ ในความไป-ถงึ ต ปจ จัย ลบที่สุดธาตุ ปกฺกนฺโต หลีกไปแลว ป+กมฺ ธาตุ ในความกาวไป. ธาตุมี มฺ เปนที่สุด แปลง ต เปน นฺต. ปวิฏโ  เขาไปแลว ป+วิสฺ ธาตุ ในความเขาไป. ธาตุมี สฺ เปนทส่ี ุด แปลง ต เปน ฏ. ทเี่ ปน เหตกุ ตั ตวุ าจก ไมป รากฏวา มที ใ่ี ชเ ลย ทเี่ ปน กมั มวาจกและภาววาจกก็มี รปู เปน อยา งเดยี วกันกับกัตตวุ าจก. จะรูวา เปน วาจกแผนกไหน กต็ องพจิ ารณาถงึ ธาตุ เสยี กอ น คอื ถา เปน กตั ตวุ าจก ใชธ าตไุ ดท ง้ั ๒ คอื สกมั มธาตุ และอกมั มธาต,ุ จำพวก กัมมวาจกใชไดแ ต สกัมมธาตุ. ภาววาจก ใชไดเ ฉพาะแตอ กัมมธาต.ุ ทีเ่ ปน เหตกุ ัมมวาจก นัน้ ตอ งอาศัย เหตุปจจัย และลง อิ อาคม ดวย เชน การาปต, สมุฏาปตา, ตาปาปต เปนตน. การาปต อันเขา (ยังบุคคล) ใหกระทำ แลว กรฺ ธาตุ ลง ณาเป ปจจัย แลวลง ต ปจจยั อิ อาคม, สมฏุ  าปตา อนั เขา (ยงั บุคคล) ใหตั้งไวพรอมแลว. ส+อุ+า ธาตุ ในความยืน. ตาปาปต อันเขา (ยงั บคุ คล) ใหเ ผาแลว ตปฺ ธาตุ ในความรอ น. ๒ นี้ก็เชน กัน. ณาเป ปจ จยั ที่ปรากฏอยู นั้น พึงเขาใจวา นำมาแต เหตุปจจัย สวน ย และอิ อาคมไมตองนำมา ตอเม่ือลง ต ปจจยั แลว จึงตองลงอิ อาคมเปนเคร่อื งหมายวาจกนี.้ อนง่ึ ปจจยั นเ้ี ปน อนพยฺ ยกริ ยิ า แจกไดใ นลิงคท ง้ั ๓ ตามการนั ตน้นั ๆ. ตูนาทิ ปจ จยั ตูน ตฺวา ตฺวาน ๓ น้ี เปน ตูนาทิปจ จยั แปลวา ปจจยั ๓ ตวั มี ตูน เปนตน โดยปรกติ บอกอดีตกาล เพราะแปลวา “แลว” แตแปลเปนอยางอ่ืนบางก็มีมาก ใน เมื่ออยใู นประโยคตามลักษณะของสัมพันธ แตใ นทนี่ ี้ใหแปลวา “แลว” ตามหลกั ไปเสียกอ น. ตนู ตฺวา ตฺวาน กาตูน กตฺวา กตฺวาน ทำแลว . คนตฺ นู คนฺตฺวา คนตฺ ฺวาน ไปแลว. หนตฺ นู หนตฺ ฺวา หนฺตฺวาน ฆาแลว . 214

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 215 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ตูน ปจจัยน้ัน มีท่ีใชนอย ไมคอยปรากฏนัก จึงไมอธิบาย.สวน ตฺวา ตฺวาน ๒ ตวั น้ี มีใชดาดดน่ื ในทที่ ั่วไป. วธิ ีลงปจ จยั ๒ ตัวนี้ กค็ ลาย ต ปจจัย คอื ถาธาตุ ๒ ตัว ใหลบที่สุดธาตุแลวนำ ตฺวา ปจจัยไปตอเขาขางหลังใหเปน ตัวสะกดธาตุทีเดียว เชน กตฺวา กตวฺ าน ทำแลว กรฺ ธาตุ ในความทำ. ถาไมลบท่ีสุดธาตุ ใหลง อิ อาคมที่สุดธาตุได เชน กริตฺวา กริตฺวาน ทำแลว กรฺ ธาตุ เหมอื นกนั ถา ไมล บท่สี ุดธาตุ กใ็ หแ ปลงพยญั ชนะทส่ี ดุ ธาตุ เปนพยญั ชนะที่สุดวรรคของ ตฺวา ได เชน ต แหง ตฺวา ปจจัย เปนพยัญชนะวรรค. ที่สุดวรรคของ ต น้ี คือ น เพราะฉะนัน้ จึงแปลงทีส่ ดุ ธาตุเปน นฺ ได เชน คนฺตฺวา, คนตฺ ฺวาน ไปแลว , คนฺตฺวา, คนฺตวาน เปน คมฺ ธาตุ แปลง มฺ เปน นฺ ถาไมแปลงใหลง อิ อาคมท่ีสุดธาตุ เชน คมิตฺวา, คมิตฺวาน เปนตนท่วี ามานเ้ี ปน กัตตวุ าจก สวนท่ีเปน เหตุกัตตุวาจกนั้น ตองมี เหตุปจจัย มาประกอบกับธาตุไวกอน จึงลงปจจัยนท้ี หี ลังดจุ กลาวแลว เชน กรฺ ธาตุ. เหตุปจ จยั เณ ณย ณาเป ณาปย ตวฺ า ปจจัย กาเรตฺวา การยิตวฺ า การาเปตฺวา การาปยติ ฺวา ตวฺ าน ปจจัย กาเรตวฺ า การยติ วฺ าน การาเปตวฺ า การาปยติ ฺวาน. เหตุปจ จัยท่มี ี ย เชน ณย, ฌาปย ตอ งลง อิ อาคม ท่ี ย ดว ยแตจ ะมากหรอื นอ ยนั้นกแ็ ลว แตจ ะสมควร ที่วาน้กี ็เพยี งแตอทุ าหรณ. ตนู าทิ ปจ จัยน้ี ในกัมมวาจก เหตกุ ัมมวาจก และ ภาววาจก ไมม ที ใ่ี ช เพราะ ทา นใช ต ปจจัยแทน. อนึ่ง ถาธาตุมีอุปสัคนำหนา ใหแปลงปจจัยท้ัง ๓ น้ีเปน ย (ขอน้ีทำให ตูน ปจจยั มคี าขึ้น) เชน :- อาทาย ถือเอาแลว อา+ทา ธาตุ ในความถือเอา ปหาย ละแลว ป+หา ธาตุ ในความละ นสิ ฺสาย อาศยั แลว น+ิ สี ธาตุ ในความอาศยั ปฏาย เริม่ ต้งั แลว ป+า ธาตุ ในความตั้งไว อภิ ฺาย รูย่ิงแลว อภิ+า ธาตุ ในความรู โอหาย ละแลว อว+หา ธาตุ ในความละ 215

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 216 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ที่แปลงเปน ย ปรากฏอยูนี้ โดยมากมักมีเฉพาะธาตุตัวเดียวที่มี อา เปน ที่สุด ถาธาตุมีสระอ่ืนเปนท่ีสุด ก็ตองเปนธาตุชนิดที่แปลงใหเปน อา ได เชน นิสฺสาย นิ+สี ธาตุ แปลง อี เปน อา เปนตน ถาธาตุมีอยางอื่นเปนท่ีสุด ก็แปลง ย ปจจัยกับที่สุดธาตุเปนตางๆ ไปถึงมี ย ปรากฏกไ็ มดีนกั ดงั นี้ :- ถามี ม เปน ทสี่ ดุ แปลง ย กับท่ีสดุ ธาตุเปน มฺม อาคมฺม มาแลว อา+คมฺ ธาตุ ในความไป (อา กลบั ความ) นกิ ฺขมมฺ ออกแลว น+ิ ขมฺ ธาตุ ในความออก. ธาตมุ ี ทฺ เปน ท่สี ดุ แปลง ย กับทีส่ ุดธาตเุ ปน ชชฺ อปุ ฺปชฺช เกดิ ข้ึนแลว อุ+ปทฺ ธาตุ ในความเกิด. ปมชชฺ ประมาทแลว ป+มทฺ ธาตุ ในความเมา. ธาตุมี ธฺ และ ภฺ เปนทีส่ ดุ แปลง ย กบั ทส่ี ุดธาตุ เปน ทฺธา พภฺ วทิ ฺธา แทงแลว วธิ ฺ ธาตุ ในความแทง ลทธฺ า ไดแลว ลภฺ ธาตุ ในความได อารพภฺ ปรารภแลว อา-รภฺ ธาตุ ในความเรมิ่ . ธาตุมี หฺ เปน ทีส่ ุด แปลง ย กบั ท่สี ุดธาตุเปน ยหฺ ปคฺคยฺห ประคองแลว ป+คหฺ ธาตุ ในความประคอง สนฺนยหฺ ผูกแลว ส+ นหฺ ธาตุ ในความผูก. อารยุ ฺห ขนึ้ แลว อา+รหุ ฺ ธาตุ ในความขึ้น. แปลง ตฺวา เปน สฺวา และ ตฺวาน เปน สฺวาน ได. เฉพาะ ทิสฺ ธาตุ เปน ทิสฺวา, ทิสฺวาน แปลวา เห็นแลว. แปลง ทิสฺ เปน ปสฺส แลวลง อิ อาคม เปน ปสฺสติ ฺวา บาง. ตูนาทิ ปจจัยท่ีแปลงเปน ย แลว เอา ย กับท่ีสุดธาตุเปนไปไดหลายอยาง แตก เ็ ปน เฉพาะธาตุตัวหนึ่งๆ เทา นัน้ จะนำมาแสดงไวพอเปน อุทาหรณ เชน :- อทุ ทฺ สิ สฺ แสดงแลว อุ+ทิสฺ ธาตุ ในความแสดง แปลง ย กับท่ีสุดธาตุ เปน สสฺ . วิวจิ จฺ สงัดแลว วิ+วิจฺ ธาตุ ในความสงัด. แปลง ย กับที่สุดธาตุ เปน จฺจ. 216

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 217 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò อาหจจฺ เบียดเบียนแลว อา+หนฺ ธาตุ ในความเบียดเบียน แปลง ย กบั ทส่ี ดุ ธาตเุ ปน จจฺ สว น ปฏจิ จฺ อาศยั แลว ปฏ+ิ อิ ธาตุ ในความไป-ถึง แปลง ย กับ ต อาคมเปน จจฺ . อภสิ เมจจฺ บรรลแุ ลว อภ+ิ ส+ อิ ธาตุ ในความไป-ถึง แปลง ย กับ ต อาคมเปน จจฺ . บทสดุ ทา ย ๑. ปจจัยในกิริยากิตก รวมทั้งส้ินมี ๑๐ ตัว อนฺต, ตวนฺตุ, ตาวี, อนีย, ตพฺพ, มาน, ต, ตนู , ตฺวา, ตฺวาน. ๒. ในปจ จัยเหลา น้ี แบง ออกเปน ๒ คอื จำพวกที่แจกตามวิภตั ตทิ งั้ ๗ ใน ลงิ คท้งั ๓ ไมได เรยี กวา อพฺยยกิรยิ า มีอยู ๓ ตัว คือ ตนู ตวฺ า ตวฺ าน, เรียกวา ตนู าทิ ปจจัย. ๓. ที่แจกตามวิภัตติทั้ง ๗ ในลิงคทั้ง ๓ ได เรียกวา อนพฺยยกิริยา อนพยฺ ยกริ ยิ าน้ี ใชไ ด ๒ อยา ง คอื เปน กริ ยิ าหมายพากยไ ด ๑ เปน วเิ สสนะ ๑ มอี ยู ๗ ตัว คือ อนฺต, มาน, ตวนฺต,ุ ตาวี, ต, อนยี , ตพพฺ . ๔. ปจจัยเหลาน้ี ลวนมีธาตุเปนที่ตั้ง อยูติดกับธาตุเสมอไปมีท่ีสังเกตท่ี ทายธาต.ุ ๕. ปจจัยท่ีใชเปนปจจุบันกาล แปลวา “อยู” หรือ “เม่ือ” มี ๒ ตัว คือ อนตฺ ๑ มาน ๑. ๖. อนตฺ ในอติ ถลี งิ ค เปน อนตฺ ี ตวั อยา ง เชน สณุ นตฺ ,ี กโรนตฺ ,ี คจฉฺ นตฺ ี แจกอยาง (นารี). สวน นปุง. เปน อนฺต เชน คจฺฉนฺต, กโรนฺต แจกตามแบบ (กุล) อ การันต. สวน มาน เปน มานา ตัวอยาง เชน ภุฺชมานา, กุรุมานา, คจฉฺ มานา, แจกตามแบบ อา การันต อิต. (กฺ า). ๗. อนพฺยยกิริยา เม่ือประกอบวิภัตติแลว ต้ังแต ทุ. วิภัตติไป ตองเปน วิเสสนะทง้ั นัน้ เวนไวแ ตใ นทางสมั พันธจ ะเรียกชอื่ ตางไปบาง เพราะกริ ิยาหมายพากย ตอ งเปน ป. วิภัตติอยา งเดยี ว. 217

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 218 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๘. ข้ึนช่ือวาตัวประธานแลว ตองเปน ป. วิภัตติเทานั้น วิภัตติอ่ืน ซง่ึ ไมออกช่อื ในทนี่ ี้ จะเปนตวั ประธานไมได. ๙. ตัวประธานมีรูปอยางไร ตัวกิริยาก็ตองเปนไปตาม ขอนี้เพราะกิริยา กติ กใ ชว ภิ ตั ตนิ ามนัน่ เอง. ๑๐. ปจจัยท่ีเอามาใชเปนอดีตกาล มีอยู ๖ ตัว คือ ตวนฺตุ, ตาวี, ต, ตูน, ตวฺ า, ตฺวาน. แปลวา “แลว.” ๑๑. ตวนตฺ ุ ปุง. แจกอยา ง ภควนฺตุ ศพั ท. ๑๒. ปจจัยที่เอามาใชในความจำเปน แปลวา “พึง-ตอง” หรือ “ควร” มี ๒ ตัว คอื อนยี , ตพฺพ. ๑๓. ในกัตตวุ าจก ใชไดท ง้ั ธาตมุ ีกัมมและธาตุไมม กี มั ม. ๑๔. ธาตุเปนรากเหงาของศัพทท้ังส้ิน มีอยู ๒ จำพวก คืออกัมมธาตุอยาง หนึ่ง สกมั มธาตอุ ยา งหน่งึ แตธ าตุบางอยา งเปน ไดท งั้ สกมั ม. ท้ังอกัมม. ๑๕. ตวั กัมมนน้ั ในพากยท่เี ปน กตั ตวุ าจก ประกอบดวยทุตยิ าวภิ ตั ติ แปลวา “ซ่งึ ” ในพากยท่ีเปนกัมมวาจก ประกอบดวยปฐมาวภิ ตั ิ แปลวา “อนั วา .” ๑๖. กมั มวาจก ใชไดแตธ าตุท่ีมีกัมมอยางเดียว. ๑๗. ตพฺพ ปจจัย มีท่ีใชแต กัมมวาจก และภาววาจก เม่ือใชเปน กัมมวาจก เปนไดท กุ วิภตั ติตามตวั ประธาน สว นท่ใี ชเปน ภาววาจก เฉพาะแต ป. เอก. นปงุ . อยางเดียวเทา นัน้ . ๑๘. ปจจัยที่ใชในภาววาจก โดยมากมีแต ตพฺพ ปจจัย อนีย ปจจัย และ ใชในอกัมมธาตุอยางเดียว สวนปจจัยนอกนั้น แมจะประกอบใหเปนรูปแจกไดตาม วิภตั ติในลงิ คท้ัง ๓ ก็จรงิ แตท านไมน ิยมใช. ๑๙. ธาตุท่ีเรียกหากัมม คือ ทุ. วิภัตติ ในพากยที่เปนกัตตุวาจก,และ ป. วภิ ัตติ ในพากยท ่เี ปน กมั มวาจก เรยี กวา สกัมมธาตุ ธาตุทไี่ มตองเรยี กหากมั มเชน นน้ั เรยี กวา อกัมมธาตุ. ๒๐. กิริยาศัพทที่ประกอบดวย วิภัตติ วจนะ กาล ธาตุ ปจจัย ดังนี้ ชื่อวา วาจก คือ กลาวบทที่ประธานของกิริยาศัพท มี ๕ อยาง คือ กัตตุวาจก. ๑ กมั มวาจก ๑ ภาววาจก ๑ เหตกุ ัตตวุ าจก ๑ เหตกุ มั มวาจก ๑. 218

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 219 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๒๑. ปจจัยท่ีสำหรับประกอบกิริยาศัพท ซึ่งจำตองจัดเปน ๓ จำพวก ก็เพ่ือ ประกอบกับกิริยาศัพทเปนวาจกน้ัน ๆ ดังนี้ คอื :- ก. กิตปจจัย สำหรบั ประกอบศัพทท่เี ปน กตั ตุวาจกอยา ง ๑. ข. กจิ จปจ จยั สำหรบั ประกอบกบั ศพั ทท เี่ ปน กมั มวาจก ภาววาจก และ เหตุกมั มวาจกอยาง ๑. ค. กิตกิจจปจจัย สำหรับประกอบศพั ทไดท กุ วาจกอยา ง ๑. ๒๒. ในปจจัยเหลานี้ หมวดหนึ่ง ๆ มีต้ังแต ๒ ตัวข้ึนไป เพื่อจะเลือก ประกอบใหเ หมาะแกศัพทนั้นๆ. ๒๓. ปจจยั ที่เปน เครอื่ งหมาย เหตกุ ตั ตวุ าจก และเหตกุ มั มวาจกโดยตรงไมมี ตองอาศัยยืมเหตุปจจัย คือ เณ ณย ณาเป ณาปย ในอาขยาตมาใช แตสวนที่เปน เหตกุ มั มวาจก ตอ งมี ย ปจ จยั อิ อาคม ดวย. ๒๔. มาน ปจจัยในจำพวกกิตกิจจปจจัย เปนไดท้ัง ๕ วาจกนั้นในสวนท่ี เปนกมั มวาจก และ เหตกุ ัมมวาจก ตองมี ย ปจ จยั อิ อาคม ดวย. ๒๕. ต ปจจยั ในเหตกุ ตั ตวุ าจก ไมมที ่ีใช มีใชแ ต เหตุกมั มวาจกเทานั้น เชน ปตฏิ  าปโต เปนตน . ๒๖. ขอวา ถามอี ปุ สัค อยหู นา แปลงปจจัยท้งั ๓ คือ ตนู ตวฺ า ตฺวาน ท่เี รียกวา ตนู าทิ ปจ จยั เปน ย เชน อาทาย นิสฺสาย อภิ ฺาย เปนตน แตท ีไ่ มแปลงกม็ ี เชน นกิ ขฺ มติ ฺวา อปุ ปฺ ชฺชิตวฺ า เปน ตน จบกริ ยิ ากิตก 219

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 220 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò แบบประเมนิ ผลตนเองกอนเรียน หนวยท่ี ๗ วัตถปุ ระสงค เพื่อประเมินความรูเดิมของนักเรียนเก่ียวกับเร่ือง “กิริยากิตก คำส่ัง [วิภัตต,ิ กาล,วจนะ,ธาตุ,วาจก,ปจจยั ]” ใหนักเรียนอานคำถาม แลวเขียนวงกลมลอมรอบขอคำตอบ ทถ่ี กู ตอ งทส่ี ุดเพยี งขอเดียว ๑. คำวา “กติ ก” หมายถึงอะไร ? ก. ศัพททป่ี ระกอบปจจยั หมหู นึ่งเพ่ือเปน เครอื่ งหมายของนามศพั ท และกิรยิ าศพั ท ข. ศพั ทท ่ปี ระกอบปจ จัยหมหู น่ึงเพอื่ เปนเครอ่ื งหมายใหทราบวาจก ค. ศพั ททปี่ ระกอบปจ จัยหมูหน่งึ เพอื่ ใชแ ทนศพั ท ง. ศพั ทท ่ีประกอบปจ จัยหมูห นึง่ เพอ่ื ยอศพั ทใหสัน้ ลง ๒. กติ กม กี ี่ประเภท ? ก. ๒ ประเภท ข. ๓ ประเภท ค. ๔ ประเภท ง. ๕ ประเภท ๓. กติ กมีวิเคราะหวา อยา งไร ? ก. กิตปจฺจเยน กรี ยิ เตติ กติ โก ข. กิตปจจฺ เยน กีรตีติ กิตโก ค. กติ ปจจฺ เยน กีรติ เอเตนาติ กิตโก ง. กติ ปจจฺ เยน กรี ติ เอตฺถาติ กติ โก ๔. กาลแหงกริ ยิ ากิตกว าโดยยอ มเี ทาไร ? ก. ๒ ข. ๓ ค. ๔ ง. ๖ ๕. กาลแหง กริ ยิ ากติ กวา โดยพสิ ดารมเี ทา ไร ? ก. ๓ ข. ๔ ค. ๕ ง. ๘ ๖. ในกิริยากติ กแบงวาจกออกเปนเทา ไร ? ก. ๓ ข. ๔ ค. ๕ ง. ๖ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 220

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 221 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๗. ปจจัยใดตอ ไปนี้เปน กัตตุวาจกและเหตกุ ตั ตวุ าจก ไดเ ทา นนั้ ? ก. อนยี , ตพฺพ ข. อนฺต, ตวนฺต,ุ ตาวี ค. มาน, ต ง. ตูน, ตฺวา, ตฺวาน ๘. ปจจัยคอื อนฺต, มาน แปลวา อะไร ? ก. แลว ข. ครัน้ แลว ค. เมอื่ ง. พึง ๙. ปจจัยคือ อนยี , ตพพฺ ไมใชเ ปนวาจกใด ? ก. เหตกุ ัมมวาจก ข. กัมมวาจก ค. ภาววาจก ง. กัตตวุ าจก ๑๐. ปจจยั ใดตอไปนใ้ี ชเ ปนกริ ยิ าคุมพากยไ ด ? ก. อนตฺ ตวนตฺ ุ ตาวี ข. ตนู ตวฺ า ตวฺ าน ค. มาน ง. อนยี ตพพฺ ต ๑๑. จงประกอบกิรยิ ากติ กในประโยคตอไปน้ีใหถกู ตองตามหลัก ? “เสฏ  คามํ คจฺฉนตฺ .. กมฺมนตฺ ํ อกาสิ ฯ” ก. คจฉฺ นตฺ ํ ข. คจฺฉนฺตี ค. คจฺฉนฺโต ง. คจฉฺ นฺตา ๑๒. กิริยากติ กวา “สาเวนโฺ ต” เปนวาจกอะไร ? ก. กัตตุวาจก ข. กัมมวาจก ค. เหตกุ ตั ตวุ าจก ง. เหตุกมั มวาจก ๑๓. า ธาตุ ประกอบกบั ตวนฺตุ ปจจัย ในปุงลงิ ค ปฐมาวิภตั ติ เอกวจนะไดรูปเปน อะไร ? ก. ชานิตวนตฺ ุ ข. ชานติ วา ค. ชานติ วตี ง. ชานติ วนตฺ ํ ๑๔. ปจ จยั กริ ยิ ากิตกห มวดกิจจปจ จัย มปี จจัยอะไรบาง ? ก. มาน ต ข. อนยี ตพฺพ ค. อนตฺ ตวนตฺ ุ ตาวี ง. ตนู ตฺวา ตวฺ าน ๑๕. ปจ จัยใดตอ ไปนีไ้ มน ยิ มใชเปนภาววาจก ? ก. อนีย ข. ตพฺพ ค. มาน ง. ต เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 221

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 222 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๑๖. ต ปจ จยั ไมนิยมใชเปนวาจกใด ? ก. กัตตุวาจก ข. กัมมวาจก ค. ภาววาจก ง. เหตกุ ัตตวุ าจก ๑๗. ปจ จัยใดตอ ไปนเ้ี ปน อัพพยศัพท (แจกดวยวภิ ัตตนิ ามไมได) ? ก. อนฺต มาน ข. อนีย ตพพฺ ค. ต ตวนฺตุ ตาวี ง. ตนู ตวฺ า ตฺวาน ๑๘. ตนู ตฺวา ตวฺ าน ปจ จยั ในทเี่ ชนไรนยิ มแปลงเปน ย ? ก. เมือ่ ตอ งการ ข. เมอื่ มอี ปุ สัคนำหนา ค. เมอ่ื มนี บิ าตนำหนา ง. เมื่อใชเ ปนอดีตกาล ๑๙. ตพพฺ ปจจยั ทเ่ี ปน อติ ถีลงิ ค แจกตามแบบอะไร ? ก. อา การันต (กฺ า) ข. อี การนั ต (นารี) ค. อุ การนั ต (รชชฺ )ุ ง. อู การนั ต (วธ)ู ๒๐. ต ปจ จัยทปี่ ระกอบกบั อกมั มธาตุ ใชเ ปนวาจกใดได ? ก. กตั ตุวาจก ข. กมั มวาจก ค. เหตุกตั ตวุ าจก ง. ไดท้งั ๕ วาจก ๒๑. ลภฺ ธาตุ ลง มาน ปจ จัย ทเ่ี ปนกัมมวาจกมีรปู เปนอยา งไร ? ก. ลภมาโน ข. ลพฺภมาโน ค. ลาภาเปมาโน ง. ลาภาปย มาโน ๒๒. ปจ จัยกริ ิยากิตกต ัวใดตอไปนี้ ใชเ ปน นามกิตกไ ด ? ก. อนีย ตพพฺ ข. มาน ต ค. ตนู ตวฺ า ตฺวาน ง. อนีย ต ๒๓. ทิสฺ ธาตุ ลง ต ปจจยั สำเรจ็ รูปเปน อยา งไร ? ก. ทสิ โต ข. ทิตฺโต ค. ทฏิ โ ง. ทโิ ต เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 222

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 223 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò แบบประเมินผลตนเองหลังเรยี น หนว ยที่ ๗ วตั ถุประสงค เพื่อประเมินผลความกาวหนาของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง “กิริยา คำส่งั กิตก [วิภตั ติ,กาล,วจนะ,ธาต,ุ วาจก,ปจ จัย]” ใหนักเรียนอานคำถาม แลวเขียนวงกลมลอมรอบขอคำตอบ ทถ่ี ูกตอ งที่สุดเพยี งขอ เดียว ๑. คำวา “กิตก” หมายถึงอะไร ? ก. ศัพททีป่ ระกอบปจจัยหมหู นงึ่ เพือ่ ใชแทนศัพท ข. ศพั ทท่ีประกอบปจ จัยหมูหนง่ึ เพอ่ื เปน เครอื่ งหมายใหทราบวาจก ค. ศัพทท ่ีประกอบปจ จัยหมูหนงึ่ เพอื่ ยอ ศัพทใหสัน้ ลง ง. ศัพทท่ีประกอบปจจัยหมูหนึ่งเพ่ือเปนเคร่ืองหมายของนามศัพท และ กริ ิยาศัพท ๒. กิตกมีกี่ประเภท ? ก. ๕ ประเภท ข. ๔ ประเภท ค. ๓ ประเภท ง. ๒ ประเภท ๓. กิตกมวี เิ คราะหว าอยางไร ? ก. กติ ปจฺจเยน กีรตตี ิ กิตโก ข. กติ ปจฺจเยน กรี ติ เอตถฺ าติ กติ โก ค. กติ ปจฺจเยน กรี ติ เอเตนาติ กิตโก ง. กิตปจจฺ เยน กรี ิยเตติ กติ โก ๔. กาลแหง กริ ิยากติ กว า โดยยอ มเี ทา ไร ? ก. ๖ ข. ๔ ค. ๓ ง. ๒ ๕. กาลแหงกริ ิยากติ กว า โดยพิสดารมเี ทา ไร ? ก. ๒ ข. ๓ ค. ๔ ง. ๖ ๖. ในกริ ิยากิตกแบงวาจกออกเปน เทา ไร ? ก. ๓ ข. ๕ ค. ๖ ง. ๗ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 223

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 224 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๗. ปจจัยใดตอ ไปนีเ้ ปน กัตตวุ าจกและเหตุกัตตวุ าจก ไดเ ทานนั้ ? ก. อนฺต, ตวนตฺ ุ, ตาวี ข. ตนู , ตวฺ า, ตฺวาน ค. อนยี , ตพพฺ ง. มาน, ต ๘. ปจ จัยคือ อนฺต, มาน แปลวา อะไร ? ก. ครนั้ แลว ข. เมอ่ื ค. พึง ง. แลว ๙. ปจจัยคือ อนยี , ตพฺพ ไมใชเ ปนวาจกใด ? ก. กัมมวาจก ข. ภาววาจก ค. เหตกุ ัตตุวาจก ง. เหตกุ ัมมวาจก ๑๐. ปจจยั ใดตอไปนีใ้ ชเปน กิริยาคมุ พากยได ? ก. อนยี ตพพฺ ต ข. ตูน ตฺวา ตฺวาน ค. อนฺต ตวนตฺ ุ ตาวี ง. มาน ๑๑. จงประกอบกิรยิ ากิตกใ นประโยคตอไปนี้ใหถ ูกตองตามหลกั ? “เสฏ  คามํ คจฺฉนตฺ .. กมมฺ นตฺ ํ อกาสิ ฯ” ก. คจฉฺ นตฺ า ข. คจฉฺ นตฺ ํ ค. คจฉฺ นฺตี ง. คจฺฉนฺโต ๑๒. กริ ิยากติ กว า “สาเวนโฺ ต” เปน วาจกอะไร ? ก. กตั ตุวาจก ข. เหตกุ ัตตุวาจก ค. กมั มวาจก ง. เหตกุ มั มวาจก ๑๓. า ธาตุ ประกอบกับ ตวนฺตุ ปจจัย ในปุลิงค ปฐมาวิภัตติ เอกวจนะ ไดร ูปเปน อะไร ? ก. ชานิตวา ข. ชานิตวตี ค. ชานิตวนตฺ ํ ง. ชานิตวนตฺ ุ ๑๔. ปจ จยั กริ ยิ ากติ กห มวดกจิ จปจ จยั มีปจจยั อะไรบา ง ? ก. อนีย ตพฺพ ข. มาน ต ค. ตนู ตฺวา ตวฺ าน ง. อนตฺ ตวนฺตุ ตาวี เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 224

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 225 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๑๕. ปจจยั ใดตอไปนีไ้ มนยิ มใชเ ปนภาววาจก ? ก. ตพฺพ ข. มาน ค. อนีย ง. ต ๑๖. ต ปจ จัย ไมนยิ มใชเปนวาจกใด ? ก. กตั ตุวาจก ข. เหตุกัตตุวาจก ค. กมั มวาจก ง. เหตุกมั มวาจก ๑๗. ปจจยั ใดตอ ไปนี้เปนอพั พยศัพท (แจกดวยวภิ ตั ตินามไมไ ด) ? ก. ต ตวนตฺ ุ ตาวี ข. อนฺต มาน ค. ตูน ตฺวา ตฺวาน ง. อนีย ตพพฺ ๑๘. ตนู ตฺวา ตฺวาน ปจ จัย ในทีเ่ ชน ไรนิยมแปลงเปน ย ? ก. เม่อื มีนิบาตนำหนา ข. เม่อื ใชเ ปน อดตี กาล ค. เมื่อมอี ปุ สัคนำหนา ง. เม่อื ตองการ ๑๙. ตพพฺ ปจจยั ที่เปน อิตถลี ิงค แจกตามแบบอะไร ? ก. อุ การนั ต (รชชฺ )ุ ข. อู การันต (วธ)ู ค. อี การนั ต (นาร)ี ง. อา การนั ต (กฺา) ๒๐. ต ปจจัยท่ปี ระกอบกับอกัมมธาตุ ใชเ ปนวาจกใดได ? ก. เหตกุ ัตตุวาจก ข. กมั มวาจก ค. กัตตุวาจก ง. ท้ัง ๕ วาจก ๒๑. ลภฺ ธาตุ ลง มาน ปจ จยั ทเี่ ปน กัมมวาจกมรี ปู เปน อยา งไร ? ก. ลาภาเปมาโน ข. ลาภาปยมาโน ค. ลพฺภมาโน ง. ลภมาโน ๒๒. ปจ จัยกิรยิ ากิตกตวั ใดตอ ไปนี้ ใชเ ปนนามกิตกได ? ก. มาน ต ข. อนีย ต ค. อนยี ตพฺพ ง. ตูน ตวฺ า ตวฺ าน ๒๓. ทิสฺ ธาตุ ลง ต ปจ จัย สำเรจ็ รปู เปน อยา งไร ? ก. ทฏิ โ ข. ทิโต ค. ทติ โฺ ต ง. ทิสโต เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 225

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 226 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เฉลยแบบประเมินผลตนเอง หนว ยที่ ๗ ขอ กอ นเรยี น หลังเรยี น ๑. ก ง ๒. ก ง ๓. ข ก ๔. ก ง ๕. ข ค ๖. ค ข ๗. ข ก ๘. ค ข ๙. ง ค ๑๐. ง ก ๑๑. ค ง ๑๒. ค ข ๑๓. ข ก ๑๔. ข ก ๑๕. ค ข ๑๖. ง ข ๑๗. ง ค ๑๘. ข ค ๑๙. ก ง ๒๐. ก ค ๒๑. ข ค ๒๒. ง ข ๒๓. ค ก เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 226

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 227 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò แผนการสอนวิชาบาลไี วยากรณ หนว ยที่ ๘ เรื่อง “นามกติ ก รูปและสาธนะ” เวลาทำการสอน ๓ คาบ สาระสำคัญ กิตกท ีใ่ ชเปนนามนามกด็ ี คุณนามกด็ ี เรียกวา นามกิตก สาธนะ คือ ศัพทท ่ที านใหส ำเรจ็ มาแตรูปวเิ คราะห จุดประสงค ๑. เพ่ือใหนกั เรียนรแู ละเขา ใจนามกิตก ๒. เพ่อื ใหน กั เรียนรูแ ละเขา ใจรปู และสาธนะ และนำไปใชไ ดถูกตอ ง เน้อื หา ๑. ความหมาย นามกิตก ๒. ความตา งกันของนามศพั ทกบั นามกติ ก ๓. สาธนะ ๗ คือ กัตตุสาธนะ ๑ กัมมสาธนะ ๑ ภาวสาธนะ ๑ กรณสาธนะ ๑ สมั ปทานสาธนะ ๑ อปาทานสาธนะ ๑ อธกิ รณสาธนะ ๑ ๔. รปู วิเคราะหแหง สาธนะ ๓ คอื กัตตุรปู ๑ กัมมรปู ๑ ภาวรปู ๑ กิจกรรม ๑. ประเมินผลกอนเรยี น ๒. ใหน ักเรียนทอ งนามกติ ก รปู และสาธนะ ๓. ครนู ำเขา สูบ ทเรยี น และอธิบายเนอ้ื หา 227

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 228 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๔. บัตรคำ ๕. ครูสรุปเนอื้ หาทง้ั หมด ๖. ประเมนิ ผลหลังเรียน ๗. ใบงาน ๘. กิจกรรมเสนอแนะ ครูสอนควรใหนกั เรียน ๑. ทอ งแมแบบได ๒. ใหนักเรียนหัดตั้งวิเคราะหดวยรูปทั้ง ๓ และสาธนะท้ัง ๗ (ส่งั เปนการบา นดว ย) สอ่ื การสอน ๑. ตำราทใี่ ชป ระกอบการเรียน-การสอน ๑.๑ หนังสอื พระไตรปฎ ก ๑.๒ หนังสือพจนานุกรม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป. หลงสมบญุ สำนกั เรียนวดั ปากนำ้ ๑.๓ หนงั สือพจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ๑.๔ หนังสือพจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท โดย พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยตุ ฺโต) ๑.๕ หนงั สอื คมู อื บาลไี วยากรณ นพิ นธ โดย สมเดจ็ พระมหาสมณเจา ฯ ๑.๖ หนงั สอื ปาลิทเทศ ของ สำนักเรยี นวัดปากน้ำ ๑.๗ คมั ภีรอ ภธิ านปั ปทีปกา ๑.๘ หนังสอื พจนานกุ รมธาตุ ภาษาบาลี ๒. อปุ กรณท่ีควรมีประจำหอ งเรยี น ๒.๑ กระดานดำ-แปรงลบกระดาน-ชอลก หรอื กระดานไวทบอรด ๒.๒ เครื่องฉายขา มศรี ษะ (Over-head) ๓. บัตรคำ ๔. ใบงาน 228

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 229 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò วธิ ีวัดผล-ประเมนิ ผล ๑. สอบถามความเขาใจ ๒. สงั เกตพฤตกิ รรมการมีสว นรวมในกิจกรรม ๓. สงั เกตความกา วหนา ดา นพฤตกิ รรมการเรยี นรขู องผูเรียน ๔. ตรวจใบงาน 229

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 230 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) นามกิตก คำวา นามกิตก ในท่ีนี้ ทานหมายถึงกิตกที่ใชเปนนาม และคำวา นาม ก็ หมายเฉพาะถึงศัพทธาตุที่นำมาประกอบปจจัยในกิตกน้ีเม่ือสำเร็จรูปแลวใชได ๒ อยาง คือ ใชเปน นามนาม ๑ คุณนาม ๑ มิไดหมายถึงศัพทท่ีเปนนามนามและ คณุ นามโดยกำเนดิ เชน รกุ ขฺ (ตนไม) จมู (เสนา) ทกขฺ (ขยนั ) นลี (เขยี ว) เปนตน . กิตกที่สำเร็จรูปเปนนามนาม หมายถึง ธาตุคือกิริยาศัพทที่เปนมูลราก ซึ่งนำมาประกอบปจจัยในนามกิตกแลว ใชไดตามลำพังตัวเอง ไมตองหาบทอ่ืนมา เปนประธาน กลาวอยางงายอ่ืน ใชกิริยาเปนนามน่ันเอง เชน กรณ (ความทำ) าน (ความยืน) นสิ ชฺชา (ความนัง่ ) เปน ตน. สวนกิตกที่สำเร็จรูปเปนคุณนาม จะใชตามลำพังตัวเองไมไดอยางเดียวกับ คุณนามโดยกำเนิดเหมือนกัน ตองอาศัยมีตัวนามอ่ืนเปนตัวประธาน เชน การโก (ผูท ำ) ปาปการี (ผทู ำซง่ึ บาปโดยปกต)ิ อนุสาสโก (ผตู ามสอน) เปนตน. ศัพทเหลาน้ี ลวนตองมีนามนามบทอื่นเปนประธานสิ้น เชน ชโน (ชน) ปุคฺคโล (บุคคล) เปนตน จะยกขึน้ แปลลอย ๆ หาไดไม. ในนามกิตกน ี้ทานจดั เปนสาธนะ และสาธนะน้นั ลว นหมายรดู ว ยปจ จยั เพื่อ ใหม เี น้อื ความแปลกกนั ดงั จะไดอธิบายตอ ไป. สาธนะ คำวา สาธนะ นี้ ทานแปลวา “ศัพทท่ีทานใหสำเร็จมาแตรูปวิเคราะห” หมายความวา รปู สำเรจ็ มาจากการต้งั วิเคราะห คำวา วเิ คราะห กห็ มายความวา การ แยกหรอื กระจายศพั ทออกใหเ หน็ สว นตาง ๆ ของศพั ทท ีเ่ ปนสาธนะ เชนศัพทวา คติ (ภูมิเปนที่ไป) ยอมสำเร็จมาจากรูปวิเคราะหวา “คจฺฉนฺติ เอตถฺ า-ต”ิ เพราะฉะนน้ั คติ จงึ เปน ตวั สาธนะ และคจฉฺ นตฺ ิ เอตถฺ า-ติ เปน รปู วเิ คราะห เม่ือจะเรียงใหเต็มท้ังรูปวิเคราะหและสาธนะก็ตองวา คจฺฉนฺติ เอตฺถา-ติ คติ ในรูป วิเคราะหน ัน่ เอง ยอมเปน เครือ่ งสองใหท ราบสาธนะไปในตัว เชน ในทน่ี ้ี คำวา เอตถฺ (ในภูมินั่น) เปนสัตตมีวิภัตติ บงถึงสถานที่ ก็สองใหทราบวารูปท่ีสำเร็จไปจากคำนี้ 230

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 231 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ตองเปน อธกิ รณสาธนะ เพราะสาธนะน้ี ทานบญั ญตั ใิ หใ ชคำวา “เอตถฺ ” ในเวลาตง้ั รปู วิเคราะห สวนกิริยาที่อยูขางหนาน้ันแสดงถึงรูป ในที่น้ี คจฺฉนฺติ เปนกัตตุวาจก จงึ ตองเปนกตั ตุรูป ฉะนั้น จึงรวมความวา คติ เปน กตั ตุรูป อธกิ รณสาธนะ สาธนะนั้นทา นแบง ไว ๗ อยา ง คอื :- ๑. กตั ตสุ าธนะ ๒. กัมมสาธนะ ๓. ภาวสาธนะ ๔. กรณสาธนะ ๕. สัมปทานสาธนะ ๖. อปาทานสาธนะ ๗. อธิกรณสาธนะ และในสาธนะเหลา น้ี ทา นยงั จดั รปู วเิ คราะหไ วป ระจำอกี ๓ คอื :-กตั ตรุ ปู ๑ กัมมรปู ๑ ภาวรูป ๑. กัตตุสาธนะ สาธนะนี้ เปน ชื่อของผูทำ คือ ผูประกอบกิรยิ าน้ัน ไดแ ก ผใู ดเปน ผูทำ กเ็ ปน ชื่อของผูนั้น กลาวอยางงายก็คือเปนช่ือของคนหรือสัตวเชน อุ. วา กุมฺภกาโร (ผูทำ ซ่งึ หมอ ). ทายโก (ผูใ ห) , โอวาทโก (ผูก ลาวสอน), สาวโก (ผูฟง ), เหลา นเี้ ปน กตั ตุสาธนะ ท้ังน้ัน เพราะลวนเปนช่ือของผูทำ คือ ตองมี ชน หรือ บุคคล เปนตน เปนเจาของ ผทู ำกำกับอยดู ว ย เวลาแปลจะขาดเสียมิได เชน กมุ ภฺ กาโร เวลาแยกตงั้ วเิ คราะหกจ็ ะ ตอ งตัง้ วา กุมฺภ กโรต-ี ติ กุมฺภกาโร แปลวา (โย ชโน ชนใด) ยอ มทำ ซงึ่ หมอ เหตนุ นั้ (โส ชโน ชนนนั้ ) ชอื่ วา กมุ ภฺ กาโร (ผทู ำซง่ึ หมอ ). สำหรับกตั ตุสาธนะเวลาต้งั วเิ คราะห กริ ยิ าจะตองเปนกตั ตวุ าจกเสมอ วิธีแปล กัตตุสาธนะ ทานใหแปลได ๒ นัยคือ “ผู-” ถาลงในอรรถ คือ ตัสสลี ะ แปลวา “ผู. ..โดยปกต”ิ คำวา “ตสั สลี ะ” ในท่นี ้ี หมายความวา สง่ิ ทบี่ คุ คลทำ เปนปกติคือบุคคลทำส่ิงใดเปนปกติ สาธนะนี้กลาวถึงการทำท่ีเปนปกติของบุคคลน้ัน ดวย เชน อุ. วา ธมฺมจารี (ผูประพฤตซิ ึ่งธรรมโดยปกต)ิ เวลาตง้ั วิเคราะหจ ะตองเติม 231

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 232 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) คำวา “สเี ลน” เขา มาดว ยวา ธมฺม จรติ สีเลนา-ติ ธมฺมจารี แปลวา (โย ชโน ชนใด) ยอ มประพฤตซิ ง่ึ ธรรม โดยปกติ เหตนุ น้ั (โส ชโน ชนนนั้ ) ชอ่ื วา ธมมฺ จารี (ผูประพฤติ ซึ่งธรรมโดยปกต)ิ . อีกอยางหนึ่ง ในสาธนะน้ีทานเพ่ิม สมาสรูป ตัสสีลสาธนะ เขามาอีก ที่ เรยี กเชนนั้น กเ็ พราะสาธนะนกี้ ลา วถงึ ความทำเปนปกติของบุคคล เวลาต้ังวิเคราะหมี รูปวิเคราะหคลายสมาส เวลาแปลทานใหแปลวา “ผูมี-” เชน อุ. ธมฺมจารี นั้น ถาต้ังวิเคราะหเปน สมาสรูป ตัสสีลสาธนะ ก็ตองตั้งวา ธมฺม จริตุ สีลมสฺสา-ติ [สีล+อสฺส+อิติ] ธมฺมจารี. การประพฤติ ซึ่งธรรม เปนปกติ ของชนน้ัน เหตุนั้น (ชนน้ัน) ชื่อวา ธมฺมาจารี (ผูมีการประพฤติซึ่งธรรมเปนปกติ) กิริยาในรูปนี้ ตอง ประกอบดวย ตุ ปจจัยเสมอ. กัมมสาธนะ สาธนะน้ี เปนชื่อของสิ่งที่ถูกทำ คือ สิ่งใดถูกเขาทำ ก็เปนชื่อของสิ่งนั้น กลาวอยางงายก็คือเปนช่ือของสิ่งใดส่ิงหน่ึงท่ีมีผูทำข้ึน ในสาธนะน้ีกลาวถึงสิ่งท่ีสำเร็จ ขึน้ โดยอาการ ๒ อยา งคือ ตามธรรมชาตอิ ยา ง ๑ บุคคลทำขึ้นอยาง ๑ ท่ีสำเร็จตามธรรมชาตินั้น คือ มิไดมีใครเปนผูทำขึ้น เชน อุ. วา ปโย (เปนที่รัก) ก็หมายถึงวาใครคนใดคนหน่ึงถูกอีกคนหนึ่งรัก เชน บุตรธิดาถูกมารดา บดิ ารกั หรอื มารดาบิดาถกู บุตรธดิ ารัก ฉะนัน้ บุตรธิดาจึงไดช ่ือวา เปนที่รักของมารดา บิดาหรือมารดาบิดาไดชื่อวาเปนท่ีรักของบุตรธิดา. รโส (วิสัยท่ีเปนที่มายินดี) ก็เชน เดยี วกัน, วสิ ัยในท่นี ห้ี มายถึงอารมณ. คำวา ปโ ย เปน ปย ธาตุ ลง อ ปจ จัย แยกรูป ออกตั้งวเิ คราะหว า (ปต า) ปเยติ ตน-ฺ ติ [ต+อิต]ิ ปโย (ปุตฺโต). (บดิ า) ยอมรกั ซึง่ บตุ ร น้นั เหตุนัน้ (บตุ รนั้น) ชอื่ วา ปโ ย เปน ที่รกั ของ (บดิ า). อีก อ.ุ หน่ึง คือ รโส เปน รสฺ ธาตุ ลง อ ปจจยั ต้งั วิ. วา (ชโน) รสติ ตน-ฺ ติ รโส (วสิ โย). (ชน) ยอมยนิ ดี ซงึ่ วิสัยนั้น เหตนุ ัน้ (วสิ ัยนั้น) ชอื่ วา รโส เปน ทย่ี ินดี (ของ ชน). ทัง้ ๒ อ.ุ น้ี เปน กตั ตุรูป กมั มสาธนะ คือตวั สาธนะเปน กรรม สวนรปู ต้งั วเิ คราะห เปนกตั ตวุ าจก ทา นบัญญตั ิใหแปลวา “เปนท-่ี ” 232

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 233 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò สว นกรรมที่สำเรจ็ ข้ึนโดยถูกบคุ คลทำนั้น เชน อุ. วา กจิ จฺ  (กรรมอนั เขาพึง ทำ), ทาน (ส่ิงของอันเขาพงึ ให) , คำวา กจิ ฺจ เปน กรฺ ธาตุ ลง รจิ ฺจ ปจจยั แยกรปู ออก ต้ัง วิ.วา กาตพฺพนฺ-ติ [กาตพฺพ+อิติ] กิจฺจ (ย กมฺม กรรมใด) (เตน อันเขา) พึงทำ เหตนุ ัน้ (ต กมมฺ  กรรมนนั้ ) ช่ือวา กิจฺจ (อนั เขาพงึ ทำ). อกี อุ. หนงึ่ วา ทาน เปน ทา ธาตุ ลง ยุ ปจจัย แลว แปลงเปน อน แยกรปู ออกต้ัง วิ. วา ทาตพพฺ น-ฺ ติ ทาน. (ย วตฺถุ สิ่งของใด) (เตน อันเขา) พึงให เหตุน้ัน (ต วตถฺ ุ สง่ิ ของนน้ั ) ชอ่ื วา ทาน (อนั เขาพงึ ให) ทง้ั ๒ อ.ุ นี้ เปน กมั มรปู กมั มสาธนะ ลงรอยกนั คอื รปู วเิ คราะหก เ็ ปน กมั มวาจก และสาธนะกเ็ ปน กมั มสาธนะ ทานบัญญัติให แปลวา “อันเขา-” ภาวสาธนะ สาธนะนี้ กลาวถึงอาการคือความมีความเปนเทานั้น ไมกลาวถึง กัตตา (ผูทำ) หรือ กัมม (ผูถูกทำ) กิริยาอาการเหลาน้ันก็เกิดมาจากความทำของนามนาม น่ันเอง กลาวอยางงาย ก็คือ กลาวถึงเฉพาะกิริยาอาการมีการ ยืน เดิน น่ัง นอน เปน ตน ท่ปี รากฏมาจากนามนาม ไมกลาวผทู ำ หรอื ผถู ูกทำ เชน อุ. วา คมน (ความ ไป), าน (ความยืน), นสิ ชฺชา (ความน่ัง), สยน (ความนอน), คำวา คมน เปน คมฺ ธาตุ ลง ยุ ปจจยั แลวแปลงเปน อน แยกรปู ออกต้ัง ว.ิ วา คจฺฉิยเต-ติ คมน (อนั เขา) ยอ มไป เหตุน้ัน ช่ือวา ความไป. าน เปน า ธาตุ ลง ยุ ปจจัย แลวแปลงเปน อน แยกรูปออกตั้ง วิ. วา ติฏ ยเต-ติ าน, (เตน อนั เขา) ยอมยืน เหตนุ ั้น ชื่อวา ความยืน. นสิ ชชฺ า เปน นิ บทหนา สทิ ฺ ธาตุ ในความจม ลง ณฺย ปจ จยั ลบ ณ แหง ณยฺ เสียแลวแปลงท่ีสุดธาตุคือ ทฺ กับ ย เปน ชฺช เปนรูปอิตถีลิงค แยกรูปออกตั้ง วิ. วา นสิ ีทยเต-ติ นสิ ชชฺ า, (เตน อนั เขา) ยอ มนง่ั เหตุนนั้ ช่ือวา ความนั่ง. สยน เปน สี ธาตุ ลง ยุ ปจจยั แลว แปลง ยุ เปน อน พฤทธิ์ อี ที่ สี เปน เอ แลวเอาเปน อย แยกรูปออกตั้ง ว.ิ วา สยเต-ติ สยน (เตน อนั เขา) ยอ มนอน เหตุนน้ั ชอื่ วา ความนอน. 233

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 234 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) สำหรับรปู วิเคราะหใ นภาวสาธนะนี้ ตง้ั ได ๓ วธิ ี คอื :- ใชป ระกอบเปน กริ ยิ าอาขยาต เปน รูปภาววาจก ๑ ใชป ระกอบเปน นามกิตก เปนรปู ภาวสาธนะ ๑ ใชประกอบเปน กริ ยิ ากติ ก เปน รูปภาววาจก ๑ สำหรับรูปวิเคราะห ท่ีเปนกิริยาอาขยาต พึงดูตัวอยางขางตน สวนรูป วิเคราะหท่ีใชประกอบเปนนามกิตก มักใชคงรูปตามเดิม เชน คมน ต้ัง วิ. วา คมน คมน. ความไป ชือ่ วา คมน (ความไป). าน ตงั้ ว.ิ วา าน าน. ความยนื ช่ือวา าน (ความยืน). นสิ ชฺชา ตั้ง วิ. วา นิสชฺชา นสิ ชชฺ า. ความน่งั ชือ่ วา นสิ ชชฺ า (ความนัง่ ) หรือจะใหประกอบ ยุ ปจจัย ต้ัง วิ. วา นิสีทน นิสชฺชา ดังนี้ก็ได แลวแต จะเหน็ ควร. สยน ตง้ั ว.ิ วา สยน สยน. ความนอน ชื่อวา สยน (ความนอน). รูปวิเคราะหที่ใชเปนกิริยากิตก ก็ใชประกอบปจจัยที่เปนภาววาจก เชน คมน ประกอบ ตพฺพ ต้ัง วิ. วา คนฺตพฺพนฺ-ติ คมน. (เตน อันเขา) พึงไป เหตุน้ัน ชอื่ วา คมน (ความไป). าน ตงั้ ว.ิ วา าตพพฺ น-ฺ ติ าน (เตน อนั เขา) พงึ ยนื เหตนุ นั้ ชอ่ื วา าน (ความยืน). นิสชฺชา ต้ัง วิ. วา นิสีทิตพฺพนฺ-ติ นิสชฺชา (เตน อันเขา) พึงน่ัง เหตุน้ัน ชื่อวา นิสชชฺ า (ความน่ัง). สยน ตงั้ ว.ิ วา สยติ พพฺ น-ฺ ติ สยน (เตน อนั เขา) พงึ นอน เหตนุ น้ั ชอื่ วา สยน (ความนอน). รูปวเิ คราะหที่ใชกริ ยิ ากติ กน้นั มกั ใชประกอบกบั ตพฺพ ปจจัยเปนพ้นื รปู อื่น ไมมีใช. ในสาธนะน้ีรูปและสาธนะลงเปนอันเดียวกัน คือ รูปวิเคราะหกับ สาธนะตางก็เปนภาววาจก ทานบัญญัติใหแปลวา “ความ” ก็ได “การ” ก็ได (เตน อันเขา) ท่ีเติมมาในรูปวิเคราะหที่เปนกิริยาอาขยาตและกิริยากิตกในเวลาแปล นนั้ เพอื่ ใหถ กู ตอ งและครบตามรปู ประโยค เพราะกริ ยิ าภาววาจกจะขาด กตั ตา ท่ีเปน ตติยาวิภัตติ ซึ่งแปลวา “อัน-” หาไดไ ม. 234

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 235 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò กรณสาธานะ สาธนะน้ี หมายถึงส่ิงที่เปนเครื่องมือใหสำเร็จการกระทำของบุคคล ผูทำๆ ดวยส่ิงใด ยกสิ่งน้ันข้ึนกลาว เชน ผูกดวยเชือก ประหารดวยดาบ หรือไชดวยสวาน เปนตน คำวา เชือก ดาบ และ สวานเปนเคร่ืองมือใหบุคคลทำกิจมีการผูกเปนตน สำเร็จ เพราะเหตนุ ้ัน จึงชอ่ื วากรณะ เพราะเปนเครอ่ื งมอื ยังการทำของบคุ คลใหส ำเรจ็ ดัง อุ.วา พนฺธน (วัตถุเปนเครื่องผูก), ปหรณ (วัตถุเปนเคร่ืองประหาร), วิชฺฌน (วัตถุเปนเครือ่ งไช) เปนตน ลวนเปนกรณสาธนะ. พนธฺ น เปน พนธฺ ธาตุ ลง ยุ ปจ จยั แลว แปลงเปน อน แยกรปู ออกตง้ั ว.ิ วา พนธฺ ติ เตนา-ติ พนธฺ น (ชโน ชน) ยอมผกู ดวยวัตถนุ ั้น เหตนุ ั้น (ต วตถฺ ุ วัตถนุ นั้ ) ชื่อวา พนธฺ น (เปน เครือ่ งผกู แหงชน). ปหรณ เปน ป บทหนา หรฺ ธาตุ ในความนำไป ลง ยุ ปจ จัยแลวแปลงเปน อณ (เพราะเปน ธาตุมี ณ เปน ที่สุด จึงมิไดแปลงเปน อน) แยกรูปออกตงั้ ว.ิ วา ปหรติ เตนา-ติ ปหรณ. (ชโน ชน) ยอมประหาร ดวยวัตถุนั้น เหตุนั้น (ต วตฺถุ วัตถุน้ัน) ชอ่ื วา ปหรณ (เปนเคร่อื งประหารแหงชน). วชิ ฌฺ น เปน วธิ ฺ ธาตุ ในความแทง ลง ยุ ปจจัย แลวแปลงเปน อน แตธ าตุ ตัวนี้ยังลง ย ปจ จยั ในอาขยาตตดิ มาดว ย คือ เมอื่ ลง ย ปจจยั แลวแปลง ย กบั ธฺ ท่สี ดุ ธาตุเปน ชฺฌ แลว ลง ยุ ปจจยั ในนามกติ กซ ำ้ อกี จึงไดร ปู เปน เชนน้ัน แยกรูปออกตง้ั วิ. วา วิชฌฺ ติ เตนา-ติ วิชฌฺ น. (ชโน ชน) ยอ มไช ดว ยวัตถุนน้ั เหตนุ ้นั (ต วตถฺ ุ วตั ถุน้ัน) ช่อื วา วิชฌฺ น (เปนเครอื่ งไชแหงชน). รูปวิเคราะหที่แสดงมาเหลานี้ กิริยาเปนกัตตุวาจก จึงเรียกวา กัตตุรูป กรณสาธนะ เมอื่ สำเร็จเปน สาธนะแลวแปลวา “เปน เครื่อง-” หรอื “เปน เหต-ุ ” แตในสาธนะน้ียังเปนไดอีกรูปหน่ึง คือ กัมมรูป กิริยาตองประกอบใหเปน กัมมวาจก ดงั ตัวอยางตอ ไปนี้ :- พนฺธน ต้ัง พนฺธ ธาตุ แลวลง ย ปจจัย อิ อาคม สำหรับกัมมวาจกใน อาขยาต ต้ัง ว.ิ วา พนฺธยิ ติ เตนา-ติ พนฺธน. (ชโน ชน) (เตน อันเขา) ยอ มผูก ดวย วัตถุนน้ั เหตุนนั้ (ต วตถฺ ุ วตั ถนุ นั้ ) ชอ่ื วา พนฺธน (เปนเครอ่ื งอันเขาผกู ). 235

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 236 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ปหรณ ตงั้ ป บทหนา หรฺ ธาตุ ลงเครอ่ื งปรงุ กมั มวาจก ตงั้ ว.ิ วา ปหรยิ ติ เตนา-ติ ปหรณ. [ชโน ชน] [เตน อันเขา] ยอมประหาร ดวยวัตถุนั้น เหตุน้ัน [ต วตฺถุ วตถนุ ัน้ ] ช่ือวา ปหรณ [เปน เครอ่ื งอนั เขาประหาร]. วิชฺฌน ตงั้ วธิ ฺ ธาตุ ลง ย ปจ จัยในหมวด ทวิ ฺ ธาตุ ไดร ปู เปน วชิ ฌฺ แลวลง เครื่องปรุงกัมมวาจก ตั้ง วิ. วา วิชฺฌิยติ เตนา-ติ วิชฺฌน [ชโน ชน] [เตน อันเขา] ยอมไข ดว ยวัตถนุ ้ัน เหตนุ ั้น [ต วตถฺ ุ วตั ถุนั้น] ช่ือวา วิชฺฌน [เปนเครื่องอนั เขาไช]. รูปวิเคราะหดังที่แสดงมาเหลาน้ี กิริยาเปนกัมมวาจก จึงเรียกวา กัมมรูป กรณสาธนะ เม่ือสำเร็จเปนสาธนะแลว ทานบัญญัติใหแปลวา “เปนเครื่องอันเขา -” หรือ “เปนเหตอุ นั เขา-” พึงสังเกตในสาธนะนี้ จำตองมีคำวา “เตน” ซึ่งเปนตติยาวิภัตติ แปลวา “ดว ย” ตดิ อยูขา งทายของกริ ยิ าเสมอ ท้ังใน กตั ตรุ ปู และกัมมรูป เพอื่ เปน เคร่ืองแสดง รปู ของสาธนะ จะขาดเสียหาไดไ ม. สัมปทานสาธนะ สาธนะนี้กลาวถึงผูรับ ผูรับน้ีจะเปนบุคคล สัตว หรือส่ิงของก็ได คือ ผูทำ หยิบยกส่ิงของใหแกผูใด หรือแกสิ่งใด ก็กลาวถึงผูน้ัน หรือส่ิงน้ัน เชนคำวา ใหท านแกยาจก, ยาจก จัดวา เปน ผูรบั คือ ผทู เ่ี ขาให สาธนะทกี่ ลาวถงึ ผูร ับเชนนี้แหละ เรียกวา สัมปทานสาธนะ เชน อุ. วา สมฺปทาน [วัตถเุ ปนที่มอบให] ศพั ทน มี้ ลู เดิมมา จาก ส+ป บทหนา ทา ธาตุในความให ลง ยุ ปจจัย แลวแปลงเปน อน และแปลง นคิ คหิตที่ ส เปน ม ในท่ีนเี้ ปนชื่อของผรู ับ จึงเปนสมั ปทานสาธนะ สว นรูปอาจเปนได ท้ังกตั ตรุ ปู และ กัมมรปู . กัตตุรูป สัมปทานสาธนะ ต้ัง วิ. วา สมฺปเทติ เอตสฺสา-ติ สมฺปทาน. [ชโน ชน] ยอมมอบให แกวัตถุน่ัน เหตุน้ัน [เอต วตฺถุ วัตถุนั่น] ช่ือวา สมฺปทาน. [เปนทมี่ อบใหแหงชน]. 236

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 237 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ท่ีเปนกัมมรูป สัมปทานสาธนะ แปลกแตเปล่ียนกิริยาเปนกัมมวาจก ตั้ง วิ. วา สมปฺ ทิยเต เอตสสฺ า-ติ สมปฺ ทาน [สกกฺ าโร สกั การะ] [เตน อนั เขา] ยอมมอบให แกว ัตถุน้นั เหตุนนั้ [เอต วตฺถุ วตั ถนุ ่ัน] ชื่อ สมปฺ ทาน [เปน ที่อันเขามอบให] . อุทาหรณเหลานี้สำเร็จรูปเปนนปุงสกลิงค เพราะหมายถึงวัตถุเปนผูรับ มีเจดียเปนตน ถาผูรับเปนปุงลิงค ก็ตองเปล่ียนบทท้ังปวงเปนรูปปุงลิงค เปน สมฺปทาโน เชน ภิกฺขุ (ภิกษุ) หรือ ยาจโก (ยาจก) เปนตน สวนรูปวิเคราะห คงตามรปู เดมิ สาธนะนี้ ถา เปน กตั ตรปู ทา นบญั ญตั ใิ หแ ปลวา “เปน ท-่ี ” ถา เปน กมั มรูป แปลวา “เปน ท่ีอนั เขา-” และพึงสังเกตในสาธนะน้ีจะตองมีสัพพนามคือ “เอตสฺส” ซึ่งมีรูปเปนจตุตถี วภิ ัตติ ที่แปลวา “แก” ตามหลังกริ ิยาในรปู วิเคราะหเสมอไป ซงึ่ จะขาดเสยี มไิ ด. อปาทานสาธนะ สาธนะนี้เปนสาธนะที่กลาวถึงสิ่งที่ปราศจากไป คือ ผูทำปราศจากสิ่งใดไป กลาวถึงสิ่งนั้น เชนคำวา ไปจากบานสูวัด หรือไปจากวัดสูบาน คำวา จากบาน หรือ จากวัด หมายถึงสิ่งท่ีเขาปราศจากไป สาธนะท่ีกลาวถึงส่ิงท่ีเขาปราศไป เชนนแ้ี หละ เรยี กวา อปาทานสาธนะ เชน อ.ุ ในแบบวา ปภสสฺ โร (แดนซา นออกแหง รศั ม)ี หมายถึง กายของเทวดาจำพวกหนึ่ง ซง่ึ มีรศั มซี านออก, ปภโว (แดนเกิดกอ น) หมายถงึ นำ้ ตก ซึง่ เปนตนเดมิ ของแมนำ้ คือ แมน ำ้ ยอ มเกดิ จากน้ำตกนั้น, ภโี ม (แดนกลวั ) หมายถงึ ยักษ ซงึ่ เปนแดนใหเ กดิ ความกลวั ของมนุษยผูเหน็ . ปภสฺสโร มลู เดมิ มาจาก ปภา (รศั มี) บทหนา สรฺ ธาตุในความซา น อ ปจจยั ลบ อา ที่ ปภา เสีย แลว ซอ น สฺ เพราะมี ส อยหู ลัง แยกรูปออกตัง้ ว.ิ วา ปภา สรติ เอตสฺมา-ติ ปภสฺสโร (เทวกาโย) รัศมียอมซานออก จากกายแหงเทวดานั้น เหตุนั้น (เอโส เทวกาโย) กายแหง เทวดานน้ั ) ช่ือ ปภสฺสโร (เปน แดนซานออกแหง รัศมี). ปภโว มูลเดมิ มาจาก ป บทหนา ภู ธาตุ อ ปจ จยั พฤทธิ์ อู ท่ี ภู เปน โอ แลวเอาเปน อว และ ป บทหนาตัวนั้น ศัพทเต็มรูป คือ ปม (กอน) ทานลบอักษร สองตัวหลังเสียเหลือไวแต ป ในเม่ือสำเร็จรูปเปนสาธนะแลว แยกรูปออกตั้ง วิ. วา 237

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 238 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ปม ภวติ เอตสมฺ า-ติ ปภโว (ปเทโส). (นที แมน้ำ) ยอมเกิดมกี อน แตประเทศนั่น เหตนุ น้ั (เอโส ปเทโส ประเทศนน่ั ) ชอื่ วา ปภโว (เปน คนเกดิ กอนแหง แมน ำ้ ). ภโี ม มูลเดิมมาจาก ภี ธาตุ ในความกลวั ลง ม ปจจัย แยกรูปออกตั้ง ว.ิ วา ภายติ เอตสฺมา-ติ ภีโม (ยกฺโข). ชโน (ชน) ยอมกลัว แตยักษน่ัน เหตุนั้น (เอโส ยกโฺ ข ยกั ษน ั่น) ช่ือวา ภีโม (เปนแดนกลัวแหง ชน). สาธนะน้ี เปนกัตตุรูปอยางเดียว เม่ือสำเร็จเปนสาธนะแลวทานบัญญัติให แปลวา “เปน แดน-” และพึงสังเกตในสาธนะน้ีตองมี ต หรือ เอต สัพพนาม ซ่ึงประกอบดวย ปญจมีวภิ ตั ติ “เอตสมฺ า” แปลวา แต,จาก ตามหลังกิริยา และตอสนธิกบั อิติ ศพั ท ใน เวลาแยกรูปออกตั้งวิเคราะหเ สมอไป จะขาดเสียมไิ ด. อธกิ รณสาธนะ สาธนะนี้หมายความวา สาธนะท่ีกลาวถึงสถานที่เปนที่ทำการคือบุคคล ทำการในสถานท่ีใด สาธนะน้ีกลาวถึงสถานท่ีน้ัน เชน โรงเรียนเปนสถานท่ีเลาเรียน วิชาความรู หรือโรงงานเปนสถานที่ทำงาน เปนตน กลาวสั้นก็คือ ยกสถานที่นั้นข้ึน กลา ว เชน อ.ุ วา านํ (ท่ตี ้ัง, ทยี่ ืน), อาสนํ (ท่นี ่งั ), สยนํ (ทน่ี อน). าน มูลเดิมมาจาก า ธาตุ ในความยืน ลง ยุ ปจจัย แลวแปลงเปน อน แยกรูปออกต้ัง วิ. วา ติฏติ เอตฺถา-ติ านํ (ชโน ชน) ยอมยืน ในท่ีน้ัน เหตุน้ัน (เอตํ านํ ท่นี ่ัน) ช่อื วา านํ (เปนท่ียนื แหงชน). อาสน มูลเดมิ มาจาก อาสฺ ธาตุในความนง่ั ลง ยุ ปจ จยั แลวแปลงเปน อน แยกรูปออกต้ัง วิ. วา อาสติ เอตฺถาติ-อาสนํ (ชโน ชน) ยอมนั่ง ในท่ีนั่น เหตุน้ัน (เอตํ านํ ท่นี น่ั ) ชอื่ วา อาสน (เปนท่นี ่ังแหง ชน). สยนํ มลู เดมิ มาจาก สี ธาตใุ นความนอน แปลง อี ที่ สี เปน เอ แลว เอาเปน อย ลง ยุ ปจจัย แลวแปลงเปน อน แยกรูปออกต้ัง วิ. วา สยติ เอตฺถา-ติ สยน (ชโน ชน) ยอ มนอน ในทนี่ ่ัน เหตนุ ั้น (เอต าน ทนี่ นั่ ) ช่ือวา สยน (เปนท่ีนอนแหงชน). 238

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 239 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò รูปวิเคราะหเหลาน้ันเปนกัตตุรูป เพราะใชกิริยาเปนกัตตุวาจก ถาตองการ ใหเปนกัมมรูป ก็ตองแปลงกิริยาใหเปนกัมมวาจก แตศัพททั้ง ๓ นี้เปนอกัมมธาตุ (ธาตุไมมกี รรม) ถึงจะต้ังรูปวิเคราะหเ ปน กมั มรปู กไ็ มเ หมาะ. ที่เปนกัมมรูป เชน อาฆาตนํ มูลเดิมมาจาก อา บทหนา วธ ธาตุในความ ฆา แปลง วธ เปน ฆาต ยุ ปจจยั แปลง ยุ เปน อน แยกรูปออกตัง้ วเิ คราะหว า อาเนตวฺ า วธยิ เต เอตถฺ า-ติ อาฆาตนํ (สตโฺ ต สตั ว) อนั เขา นำมาแลว ยอ มฆา ฆา ในทน่ี น้ั เพราะ เหตนุ นั้ ทนี่ นั้ ชอื่ วา อาฆาตนํ (เปน ทอ่ี นั เขานำมาฆา แหง สตั ว) เปน กมั มรปู อธกิ รณสาธนะ. ในสาธนะนท้ี เ่ี ปน กตั ตรุ ปู ทา นบญั ญตั ใิ หแ ปลวา “เปน ท-ี่ ” ถา เปน กมั มรปู แปล วา “เปนที่อันเขา-” และพึงสังเกตในสาธนะน้ีตองมี ต หรือ เอต สัพพนาม ซึ่งประกอบดวย สัตตมมี ีวิภัตติ “เอตสมฺ ึ” หรือ “เอตถฺ ” แปลวา ใน ตามหลังกริ ยิ า และตอ สนธกิ ับ อติ ิ ศพั ท ในเวลาแยกรปู ออกต้งั วิเคราะหเสมอไป จะขาดเสียมิได. วิเคราะหแ หง สาธนะ รูปวิเคราะหแหงสาธนะนี้ หมายความวา ตัวที่แยกออกต้ังวิเคราะห ซึ่ง เปนตนเหตุใหสำเร็จรูปเปนสาธนะๆ ที่จะสำเร็จเปนรูปข้ึนได ก็ตองอาศัยรูปวิเคราะห เชน ทายโก (ผูให) เปนสาธนะกอนท่ีจะสำเร็จรูปเปนเชนนั้น ตองมาจากรปู วเิ คราะห เทต+ี ติ ฉะนนั้ เทต-ี ติ จงึ เปน รปู วเิ คราะห ทายโก เปน ตวั สาธนะ. รปู วเิ คราะหนัน้ มีอยู ๓ รูป คอื กัตตุรูป ๑ กัมมรปู ๑ ภาวรูป ๑ ที่เรยี กชอ่ื เชนน้ี กด็ ว ยอำนาจวาจกในอาขยาต เพราะการตง้ั วเิ คราะหต องใช วาจกท้ังน้ัน และวาจกโดยมากก็มักใชในอาขยาตในกิริยากิตกก็มีใชบาง แตเปน สว นนอ ย บางคราวกใ็ ชน ามกติ กน น้ั เองกม็ ี ทก่ี ลา วนม้ี เี ฉพาะกมั มรปู และภาวรปู เทา นน้ั สวนกตั ตุรูปใชก ิรยิ าอาขยาตโดยสวนเดยี ว. 239

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 240 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) รปู วิเคราะหน เ้ี ม่ือจดั ตามวาจกยอ มไดด ังนี้ คือ :- รูปวิเคราะหที่เปนกัตตุวาจกและเหตุกัตตุวาจก จัดเปนกัตตุรูป ๑ รูป วิเคราะหที่เปนกัมมวาจกและเหตุกัมมวาจก จัดเปนกัมมรูป ๑ รูปวิเคราะหเปน ภาววาจก จดั เปนภาวรูป ๑. วธิ ปี รงุ รูปวิเคราะห เปนธรรมดาของการต้ังวิเคราะห กอนอ่ืนเม่ือเห็นศัพทแลวจะตองแยกรปู วา เปน ธาตอุ ะไร มกี รรมหรอื ไม ถา เปน สกมั มธาตุ กใ็ ชไ ดเ ฉพาะกตั ตรุ ปู กมั มรปู , ถาเปน อกมั มธาตุ กใ็ ชไ ดเฉพาะกัตตุรูป ภาวรูป, เมอ่ื เราคนตัวธาตไุ ดแลว ก็นำธาตุตวั นั้นมา ปรุงดวยเคร่ืองปรุงอาขยาต คือ วิภัตติ วาจก และปจจัย ถาจะตอ งการเปน กตั ตรุ ปู ก็ ตอ งใชเ ครอื่ งปรงุ ของกตั ตวุ าจก หรอื เหตกุ ตั ตวุ าจก, กมั มรปู กใ็ ชเ ครอื่ งปรงุ ของกมั มวาจก หรอื เหตกุ มั มวาจก, ภาวรปู กใ็ ชเ ครอ่ื งปรงุ ของภาววาจก เชนเห็นศัพทวา สิกฺขโก (ผูศึกษา) ถาคนดูธาตุก็จะเห็นวาเปน สิกฺข ธาตุ และเปนกัตตุรูป กัตตุสาธนะ เพราะบงผูทำเอง ฉะนั้น เวลาตั้งวิเคราะหก็ตองตั้งเปน กตั ตุวาจก ไดรปู เปน สกิ ฺขติ แลวเตมิ อติ ิ (เพราะเหตุนั้น) มาตอเขาสนธิกบั สกิ ขฺ ติ ไดรูปเปน สกิ ฺขต-ี ติ บทปลงซึ่งเปนตวั สาธนะก็คอื สิกขฺ โก สว นรปู วเิ คราะหอ นื่ กพ็ งึ สงั เกตตามนยั ทไี่ ดอ ธบิ ายมาแลว ในสาธนะนนั้ ๆ เถิด แตมีขอแปลกอีกอยางหนึ่ง คือ สำหรับรูปวิเคราะห ที่เปนเหตุกัตตุวาจก ซ่ึงทานรวม เขา กับกตั ตุวาจกเรยี กวา กตั ตรุ ปู นั้น มที ีใ่ ชบา ง ตอ งสังเกตตามคำแปลจึงจะรูได เชน ศัพทวา อาตาโป (ความเพียรซงึ่ ยงั กเิ ลสใหรอนทั่ว) หตถฺ ิมารโก (นายพรานผยู ังชา ง ใหตาย) เปนตน ตามคำแปลก็บงวา เปนรูปเหตุกัตตุวาจก เพราะมีคำวา “ยัง” ซ่ึง หมายถึงตัวการิต (ตัวท่ีถูกใชใหทำ) บงปรากฏอยู ฉะนั้นเวลาจะต้ังวิเคราะห ตองนำ ธาตุไปปรุงใหเปน เหตกุ ตั ตวุ าจก อาตาโป เปน อา บทหนา ตปฺ ธาตุ นำไปประกอบเปนเหตุกัตตุวาจก ไดร ูป เปน อาตาเปติ (ยัง-ใหรอนท่ัว) ต้ังเปนรูป วิ. วา อาตาเปตี-ติ อาตาโป (วายาโม ความเพียร) (กิเลส ยังกิเลส) ยอมใหรอนทั่ว เหตุนั้น (โส วายาโม ความเพียรน้ัน) ช่ือวา อาตาโป (ยังกิเลสใหร อนท่ัว). 240

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 241 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò หตถฺ มิ ารโก เปน หตถฺ ี (ชา ง) บทหนา มรฺ ธาตุ ประกอบเปน เหตกุ ตั ตวุ าจก ไดรูปเปน มาเรติ (ยัง....ใหตาย) ตั้งเปนรูป วิ. วา หตฺถึ มาเรตี-ติ หตฺถิมารโก (โย ลุทฺทโก นายพรานใด) ยังชาง ยอมใหตาย เหตุนั้น (โส ลุทฺทโก นายพรานน้ัน) ช่ือวา หตฺถิมารโก (ผูยังชางใหตาย) หมายความวา ผูฆาชาง, ในท่ีนี้ทานไดคงตัว การีต คอื หตฺถึ ไว. สว นรปู วิเคราะหท ่ีเปนเหตกุ ัมมวาจานั้นยังไมปรากฏวา มที ่ใี ช. 241

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 242 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò แบบประเมินผลตนเองกอ นเรยี น หนว ยท่ี ๘ วตั ถปุ ระสงค เพื่อประเมินความรูเดิมของนักเรียนเก่ียวกับเร่ือง “นามกิตก คำสั่ง รปู และสาธนะ” ใหนักเรียนอานคำถาม แลวเขียนวงกลมลอมรอบขอคำตอบ ท่ถี ูกตอ งทส่ี ุดเพียงขอเดยี ว ๑. คำวา “นามกิตก” หมายถงึ อะไร ? ก. กิตกท ใ่ี ชเ ปนนามนาม ข. กติ กท ่ใี ชเปนคุณนาม ค. กิตกท่ใี ชเ ปน สัพพนาม ง. กติ กท ่ีใชเ ปนนามนาม และคุณนาม ๒. คำวา “สาธนะ” หมายถึงอะไร ? ก. ศพั ทท่สี ำเร็จมาจากนามศพั ท ข. ศพั ทท ส่ี ำเรจ็ มาจากกริ ิยาศัพท ค. ศพั ททสี่ ำเร็จมาจากรปู วเิ คราะห ง. ศัพทท ี่สำเร็จมาจากปจ จัย ๓. สาธนะแบง ออกเปน เทาไร ? ก. ๓ สาธนะ ข. ๕ สาธนะ ค. ๗ สาธนะ ง. ๙ สาธนะ ๔. กัตตสุ าธนะหมายถงึ อะไร ? ก. ศัพททีเ่ ปน ชอ่ื ของผูทำ ข. ศัพทท่ีเปนชอ่ื ของส่ิงที่ถูกทำ ค. ศพั ทท เ่ี ปน ช่อื ของเครื่องมอื ทใ่ี ชทำ ง. ศัพทท เ่ี ปนช่อื ของสถานท่ๆี ทำ ๕. รูปวเิ คราะหใ ดตอไปนี้ไมจ ัดเปน ภาวรปู ภาวสาธนะ ? ก. คมิยเตติ คมนํ ข. นสิ ที นํ นสิ ชฺชา ค. าตพพฺ นฺติ านํ ง. ภุ ชฺ ติ พฺพนตฺ ิ โภชนํ ๖. ขอใดตอ ไปนี้เปน คำแปลของกตั ตุรูป กรณสาธนะ ? ก. เปน ท.่ี . ข. เปน เคร่อื ง.. ค. เปนแดน.. ง. ผ.ู .โดยปกติ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 242

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 243 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๗. รูปวเิ คราะหใ ดตอ ไปน้ี จัดเปนกตั ตุรปู อธิกรณสาธนะ ? ก. กมมฺ ํ กโรตตี ิ กมฺมกาโร ข. คมนํ คมนํ ค. ปหรติ เตนาติ ปหรณํ ง. สยติ เอตฺถาติ สยนํ ๘. รปู วเิ คราะหตอไปนี้ เปนรูปและสาธนะใด “ธมฺมํ วตตฺ ุ สลี มสสฺ าติ ธมฺมวาที” ? ก. กตั ตรุ ปู ตัสสีละสาธนะ ข. สมาสรปู ตสั สลี สาธนะ ค. กัตตุรปู สัมปทานสาธนะ ง. กัตตรุ ูป อปาทานสาธนะ ๙. รูปวิเคราะหแหงสาธนะทา นแบงไวเทา ไร ? ก. ๒ รปู ข. ๓ รปู ค. ๔ รูป ง. ๕ รูป ๑๐. รูปวเิ คราะหแ หง สาธนะท่เี ปนเหตกุ ัตตวุ าจก จดั เปนรูปอะไร ? ก. กตั ตุรูป ข. กมั มรูป ค. ภาวรปู ง. เหตกุ ตั ตรุ ปู เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 243

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 244 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò แบบประเมนิ ผลตนเองหลังเรยี น หนว ยท่ี ๘ วตั ถปุ ระสงค เพอื่ ประเมนิ ผลความกา วหนา ของนกั เรยี นเกยี่ วกบั เรอ่ื ง “นามกติ ก คำสั่ง รูปและสาธนะ” ใหนักเรียนอานคำถาม แลว เขยี นวงกลมลอมรอบขอ คำตอบท่ีถูกตอ ง ที่สดุ เพยี งขอ เดยี ว ๑. คำวา “นามกิตก” หมายถึงอะไร ? ก. กติ กทใี่ ชเ ปนนามนาม และคณุ นาม ข. กิตกท่ีใชเ ปนนามนาม ค. กติ กท ใ่ี ชเ ปนคุณนาม ง. กติ กท ี่ใชเ ปนสัพพนาม ๒. คำวา “สาธนะ” หมายถึงอะไร ? ก. ศัพทท ่ีสำเร็จมาจากปจจัย ข. ศพั ทที่สำเร็จมาจากรูปวเิ คราะห ค. ศัพทท ี่สำเรจ็ มาจากกริ ิยาศัพท ง. ศัพทที่สำเรจ็ มาจากนามศพั ท ๓. สาธนะแบงออกเปนเทาไร ? ก. ๓ สาธนะ ข. ๔ สาธนะ ค. ๕ สาธนะ ง. ๗ สาธนะ ๔. กัตตุสาธนะหมายถงึ อะไร ? ก. ศพั ทท ี่เปนช่ือของสิ่งท่ถี ูกทำ ข. ศพั ทท เ่ี ปนชื่อของสถานที่ๆ ทำ ค. ศพั ทท เี่ ปน ชอื่ ของผทู ำ ง. ศพั ทท่เี ปนชื่อของเคร่ืองมอื ท่ใี ชทำ ๕. รูปวเิ คราะหใ ดตอไปนไ้ี มจ ัดเปนภาวรปู ภาวสาธนะ ? ก. าตพพฺ นฺติ านํ ข. ภุฺชิตพฺพนฺติ โภชนํ ค. นิสีทนํ นสิ ชฺชา ง. คมยิ เตติ คมนํ ๖. ขอใดตอไปน้เี ปนคำแปลของกตั ตรุ ูป กรณสาธนะ ? ก. ผู..โดยปกติ ข. เปนแดน.. ค. เปนท่.ี . ง. เปนเครือ่ ง.. เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 244

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 245 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๗. รูปวเิ คราะหใดตอ ไปนี้ จัดเปนกตั ตุรูป อธิกรณสาธนะ ? ก. ปหรติ เตนาติ ปหรณํ ข. สยติ เอตถฺ าติ สยนํ ค. คมนํ คมนํ ง. กมฺมํ กโรตตี ิ กมมฺ กาโร ๘. รปู วิเคราะหตอ ไปน้ี เปน รูปและสาธนะใด “ธมมฺ ํ วตตฺ ุ สีลมสสฺ าติ ธมมฺ วาที” ? ก. สมาสรปู ตัสสลี สาธนะ ข. กัตตุรูป อปาทานสาธนะ ค. กตั ตรุ ูป ตัสสลี ะสาธนะ ง. กตั ตุรปู สมั ปทานสาธนะ ๙. รปู วเิ คราะหแหงสาธนะทานแบงไวเทา ไร ? ก. ๓ รปู ข. ๕ รูป ค. ๗ รูป ง. ๙ รปู ๑๐. รปู วิเคราะหแหงสาธนะท่ีเปน เหตกุ ตั ตวุ าจก จดั เปนรปู อะไร ? ก. เหตุกตั ตุรปู ข. กมั มรูป ค. ภาวรปู ง. กัตตุรปู เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 245

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 246 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เฉลยแบบประเมินผลตนเอง หนวยที่ ๘ ขอ กอ นเรยี น หลังเรยี น ๑. ง ก ๒. ค ข ๓. ค ง ๔. ก ค ๕. ง ข ๖. ข ง ๗. ง ข ๘. ข ก ๙. ข ก ๑๐. ก ง เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 246

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 247 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò แผนการสอนวิชาบาลไี วยากรณ หนว ยท่ี ๙ เรอ่ื ง “ปจ จัยนามกิตก” เวลาทำการสอน ๓ คาบ สาระสำคญั ศัพททุกศัพทที่จะสำเร็จเปนนามกิตกไดยอมตองมีการแจกแจงหรือแจกศัพท ใหเ หน็ รปู เดมิ ของศพั ทน น้ั ๆ กอ นเสมอ ซง่ึ การแยกศพั ทต า งๆ น้ี เรยี กวา “รปู วเิ คราะห” และในหนวยนี้จะกลา วถึงปจ จัยในนามกิตก หมวดกิตปจจยั -กิจจปจจยั -กติ กิจจปจ จัย จุดประสงค ๑. เพอื่ ใหน กั เรยี นรแู ละเขา ใจการตง้ั รปู วเิ คราะหด ว ยปจ จยั ในนามกติ ก หมวดกิตปจจยั -กิจจปจ จัย-กิตกจิ จปจ จัย ๒. นกั เรยี นสามารถนำปจ จยั ในนามกติ กท ง้ั หมดไปประกอบกบั ธาตอุ นื่ ได ๓. และเมอ่ื พบศพั ทน ามกิตกต ัวใดๆ กส็ ามารถบอกปจ จัย รปู สาธนะ และ ตั้งรูปเคราะหไ ดถ ูกตอ ง เนอื้ หา ๑. รปู วเิ คราะหใ นนามกติ ก หมวดกิตปจ จัย-กจิ จปจจัย-กิตกจิ จปจ จัย ๒. ปจ จัยในกิตปจจัย ๕ ตัว คอื กฺวิ ณี ณฺวุ ตุ รู ๓. ปจ จัยในกิจจปจจยั ๒ ตวั คอื ข ณฺย ๔. ปจจัยในกิตกจิ จปจจยั ๗ ตวั คือ อ อิ ณ เตฺว ติ ตํุ ยุ ๕. ปจจยั นอกแบบ ๑๔ ตัว กจิ กรรม ๑. ประเมินผลกอ นเรยี น ๒. ใหน กั เรยี นทองปจจยั นามกติ ก หมวดกติ ปจ จยั -กิจจปจจยั -กิตกจิ จปจจยั 247

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 248 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๓. ครูนำเขา สูบทเรยี น และอธิบายเนื้อหา ๔. บตั รคำ ๕. ครสู รปุ เนื้อหาท้งั หมด ๖. ประเมนิ ผลหลงั เรยี น ๗. ใบงาน ๘. กิจกรรมเสนอแนะ ครสู อนควรใหน กั เรียน ๑. ทอ งแมแบบได ๒. ใหน ักเรยี นหดั ต้งั วิเคราะหด ว ยศพั ทท ่ีประกอบดวยปจจัยในนามกติ ก หมวดกิตปจจยั -กจิ จปจ จัย-กติ กจิ จปจ จยั (ส่ังเปน การบานดว ย) ส่อื การสอน ๑. ตำราทใ่ี ชป ระกอบการเรียน-การสอน ๑.๑ หนังสอื พระไตรปฎ ก ๑.๒ หนงั สอื พจนานกุ รม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป. หลงสมบุญ สำนกั เรียนวดั ปากนำ้ ๑.๓ หนังสือพจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ๑.๔ หนงั สอื พจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบับประมวลศพั ท โดย พระธรรมปฎ ก (ป.อ.ปยุตฺโต) ๑.๕ หนงั สอื คมู อื บาลไี วยากรณ นพิ นธ โดย สมเดจ็ พระมหาสมณเจา ฯ ๑.๖ หนงั สอื ปาลิทเทศ ของ สำนักเรยี นวัดปากน้ำ ๑.๗ คัมภีรอภธิ านัปปทีปกา ๑.๘ หนังสอื พจนานุกรมธาตุ ภาษาบาลี ๒. อปุ กรณท ีค่ วรมีประจำหองเรียน ๒.๑ กระดานดำ-แปรงลบกระดาน-ชอลก หรอื กระดานไวทบอรด ๒.๒ เครอ่ื งฉายขามศรี ษะ (Over-head) ๓. บตั รคำ ๔. ใบงาน 248

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 249 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò วธิ วี ัดผล-ประเมนิ ผล ๑. สอบถามความเขา ใจ ๒. สังเกตพฤตกิ รรมการมสี วนรว มในกิจกรรม ๓. สงั เกตความกาวหนาดานพฤติกรรมการเรียนรูของผูเรียน ๔. ตรวจใบงาน 249

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 250 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ปจ จัยแหงนามกิตก ในนามกิตกก็มีปจจัยสำหรับลงท่ีธาตุเชนเดียวกับอาขยาตเหมือนกัน แตในนามกิตกน้ีเม่ือลงที่ธาตุแลว ยอมปรุงธาตุใหเปนนามศัพท คือ นามนาม ๑ คณุ นาม ๑ ทานจดั ไวเปน ๓ พวก คือ กิตปจจัย ๑ กิจจปจจัย ๑ กิตกจิ จปจจยั ๑ ที่ทานจัดไวเปน ๓ พวก และจัดไวเปนหมูเหลา ดวยอำนาจรูปและสาธนะ เพราะปจจัยเหลาน้ีใชลงในรูปและสาธนะหาเสมอกันไม คือ บางตัวก็ลงไดรูปเดียว และสาธนะเดียว บางตัวก็ลงได ๒ รูปและ ๒ สาธนะ บางตัวก็ลงไดทั้ง ๓ รูปและ ทกุ สาธนะ. ปจจัยพวกกิตปจจัย ลงไดเฉพาะกัตตุรูปอยางเดียว หรือท่ีนับเนื่องใน กตั ตรุ ปู เชน สมาสรปู เทา นนั้ จะนำไปประกอบศพั ทท เ่ี ปน รปู อนื่ นอกจากนห้ี าไดไ ม และ เปน ไดเ ฉพาะกตั ตุสาธนะอยางเดยี ว. ปจจัยพวกกิจจปจจัย ลงไดเฉพาะกัมมรูปและภาวรูปเทาน้ัน และ สาธนะก็เปนไดเฉพาะกัมมสาธนะและภาวสาธนะเทาน้ัน จะลงในรูปและสาธนะอื่นหา ไดไ ม. ปจจัยพวกกิตกิจจปจจัย ใชประกอบศัพทลงไดทุกรูปและทุกสาธนะไมมี จำกัด แตก็ยังมีบางท่ีปจจัยบางตัวหาลงในรูปและสาธนะไม กลับไปลงใชแทนวิภัตติ นาม เชน ตุ และ เตฺว ปจ จยั และมี ๒ ตวั น้เี ทา นัน้ ท่แี ปลกจากปจจยั ท้งั หลาย. ปจจัยแหงนามกิตกในบาลีไวยากรณ ทานจำแนกไวมีเพียง ๑๔ ตัว จดั เปน ๓ พวก คือ :- กิตปจ จยั มี ๕ ตัว คอื กวฺ ิ, ณ,ี ณวฺ ุ, ต,ุ ร.ู กจิ จปจจยั มี ๒ ตัว คือ ข, ณฺย. กิตกจิ จปจจยั มี ๗ ตัว คือ อ, อ,ิ ณ, เตฺว, ติ, ตุ, ยุ. ปจจัยที่ยกมากลาวไวในบาลีไวยากรณเพียงเทาน้ี ก็โดยยกเอาเฉพาะปจ จยั ที่ใชมากในปกรณทั้งหลาย และใชสาธนะท่ัวไปแกธาตุทั้งปวง แตเม่ือจะกลาวใหครบ ปจ จัยในแผนกน้ี ยงั มีอยูอีกมากแตโดยมากมักใชล งไดเฉพาะในธาตุบางตวั หรอื ถงึ จะ ลงในธาตุอื่นไดบาง ก็ยากแกการท่ีจะจัดเขาเปนหมวดหมูใหลงรอยกันในรูปสาธนะ เหตุน้ัน ทานจึงยกเวนเสียมิไดนำมากลาวไว ผูศึกษาท่ีตองการความรูกวางขวาง จะตอ งคน ควาหาดวยตนเอง. 250


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook