Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือครูวิทยาศาสตร์ป.4 เล่ม 1

คู่มือครูวิทยาศาสตร์ป.4 เล่ม 1

Published by AnNe Piwngam, 2019-04-10 04:23:43

Description: คู่มือครูวิทยาศาสตร์ป.4 เล่ม 1

Search

Read the Text Version

เฉลิมพระเกยี รติ สมโเคดรจ็ งพการระจเทดั พทรำำ ัตสนื่อร ๖า๐ชส พุดราร ฯษาสยามบรมราชกุมารี ชดุ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ๔ช้ันประถมศึกษาปที ี่ เลม่ ๑ (สำ� หรับคร)ู กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ส�ำนกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๑ คำแนะนำสำหรับครูผสู้ อน ๑. แนวคิดหลัก การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งให้ผู้เรียนมีความสามารถเข้าใจเน้ือหาสาระวิทยาศาสตร์และ นาความรู้ไปอธิบายหรือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ รวมท้ังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะต่าง ๆ เช่น ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะการ แก้ปัญหา ทักษะการเขียน ทักษะการอ่าน นอกจากน้ีในการจัดกิจกรรมยังมุ่งเน้นการเรียนรูรวมกันเปนกลุม ซ่ึงเป็นการเปดโอกาสใหผูเรยี นได้รวมกันคิด ปรึกษาหารือ อภิปราย แกปญหา แสดงความคิดเห็น สะท้อน ความคิด และได้นาเสนอผลการทากิจกรรม ซึ่งชวยใหผู้เรียนไดพัฒนาท้ังความรู้ ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะอ่ืน ๆ รวมท้ังคุณธรรม จริยธรรมอีกด้วย ในการจัดกลุมอาจจัดเปนกลุม ๒ คน หรือ กลุ่ม ๔-๖ คน หรืออาจจัดกิจกรรมร่วมกันท้ังชั้นทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นัน้ ๆ ในการดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ สิ่งสาคัญท่ีผูสอนควรคานึงถึงเป็นอันดับแรกคือ ความรูพ้ืนฐานของผูเรียน ผูสอนอาจทบทวนหรือตรวจสอบความรู้เดิมของผู้เรียนโดยใชคาถามหรือกลวิธี ต่าง ๆ ที่กระตุ้นความสนใจของผู้เรียนและนาไปสูการเรียนรู้เนื้อหาใหม ข้ันการสอนเน้ือหาใหม่ ผูสอนอาจ กาหนดสถานการณท์ ่เี ชื่อมโยงกับเร่ืองราวในขน้ั ทบทวนความรู้หรือมคี าถาม และมีกิจกรรมให้นักเรียนได้ลงมือ ปฏิบัติด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (inquiry) ในการค้นหาคาตอบที่สงสัยด้วยตนเอง ผูสอนมีบทบาท เป็นผู้ใหอิสระทางความคิดกับผูเรียน คอยสังเกต ตรวจสอบความเข้าใจและคอยให้ความช่วยเหลือและ คาแนะนาอยา่ งใกลช้ ดิ ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ผูสอนควรใหผูเรียนแต่ละคนหรือแต่ละกล่มุ ไดนาเสนอแนวคิด เพราะผเู รยี นมีโอกาสแสดงแนวคิดเพม่ิ เติมรวมกัน ซักถาม อภิปรายข้อขดั แยง้ ดวยเหตแุ ละผล ผูสอนมีโอกาส เสรมิ ความรู ขยายความร้หู รอื สรปุ ประเดน็ สาคญั ของสาระทน่ี าเสนอนั้น ทาใหก้ ารเรียนรูข้ ยายวงกว้างและ ลกึ มากข้นึ สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตจรงิ ได้ นอกจากนย้ี งั ทาใหผ้ ูเรียนเกดิ เจตคตทิ ีด่ ี มีความภมู ิใจ ในผลงาน เกดิ ความรูสกึ อยากทา กลาแสดงออก และจดจาสาระท่ตี นเองไดอ้ อกมานาเสนอไดนาน รวมทั้ง ฝึกการเปน็ ผูน้ า ผตู้ าม รับฟังความคิดเหน็ ของผอู้ น่ื ๒. กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ การนาชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ ครคู วรเตรียมตัวล่วงหน้า ดังน้ี ๑. ศึกษาโครงสรา้ งชุดการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือให้ทราบวา่ ตลอดทัง้ ปีการศึกษา นักเรียนต้อง เรยี นรทู้ ้ังหมดกี่หน่วย แต่ละหน่วยมหี น่วยย่อยอะไรบา้ ง ใชเ้ วลาสอนกชี่ ่วั โมง และมีกีแ่ ผน

๒ ๒. ศึกษาโครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ วา่ แตล่ ะหน่วยการเรยี นรู้มีเนื้อหาอะไรบา้ ง เน้ือหาละกชี่ ว่ั โมง ซึ่งจะชว่ ยใหค้ รูผู้สอนมองเห็นภาพรวมของการสอนในหน่วยดงั กล่าวได้อย่างชัดเจน ๓. ศึกษาแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซ่ึงอยู่หน้าแผนแต่ละแผน เป็นการสรุปแนวการจัดกิจกรรม ในแต่ละขั้นตอนการสอน ทาใหค้ รมู องเห็นภาพรวมของการจดั การเรียนรใู้ นชว่ั โมงนน้ั ๆ ๔. ศกึ ษาแผนการจดั การเรยี นรู้ ตามหวั ข้อตอ่ ไปน้ี ๔.๑ ขอบเขตเนือ้ หา เป็นเนอ้ื หาที่นักเรยี นต้องเรียนรใู้ นแผนท่กี าลงั ศกึ ษา ๔.๒ สาระสาคัญ เป็นความคิดรวบยอดหรอื หลกั การทน่ี ักเรียนควรจะไดห้ ลังจากไดเ้ รยี นรูต้ ามแผน ที่กาหนด ๔.๓ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ แบง่ เปน็ ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และด้าน คุณธรรม ๔.๔ กิจกรรมการเรียนรู้ แบ่งเป็น ขั้นนา ข้ันสอน และข้ันสรุป ซึ่งแต่ละข้ันครูผู้สอนควรศึกษาทา ความเข้าใจอย่างละเอียด นอกจากน้ีครูควรพิจารณาด้วยว่า ในแต่ละขั้นตอนการสอน ครูจะต้องศึกษาว่ามี ส่ือ/อุปกรณ์อะไรบา้ ง ๔.๕ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ เป็นการบอกรายการส่ือ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ท่ีต้องใช้ในการจัด กิจกรรมการเรียนร้ใู นชัว่ โมงนนั้ ๔.๖ การประเมิน เป็นการบอกทั้งวิธีการ เครื่องมือ และเกณฑ์การประเมิน สาหรับเครื่องมือการ ประเมินในชดุ การจดั กิจกรรมการเรียนร้ฯู น้ี ไดจ้ ัดเตรยี มไว้ให้ครผู ูส้ อนเรียบรอ้ ยแล้ว ๓. สอ่ื กำรจดั กำรเรยี นรู้ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรูว้ ิทยำศำสตร์ ช้ันประถมศึกษำปที ี่ ๔ ส่ือการจดั การเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๔ ประกอบด้วย ๓.๑ แผนการจดั การเรียนรู้ สาหรับครใู ช้เป็นแนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูใ้ หก้ ับนกั เรยี น ๓.๒ ใบกิจกรรม สาหรับนักเรียนใช้ฝึกทักษะปฏิบัติ หรือสร้างความคิดรวบยอดในบทเรียน โดยใน ใบกิจกรรมจะประกอบด้วยใบงาน ใหน้ ักเรียนไดบ้ นั ทึกผลการทากจิ กรรม การตอบคาถามหลังจากทากิจกรรม เพ่ือทบทวนส่ิงท่ีได้เรียนรู้จากการทากิจกรรม และมีแบบฝึกหัดเพื่อประเมินการเรียนรู้หลังจากเรียนจบ ในแตล่ ะกจิ กรรม ๓.๓ แบบทดสอบ เป็นการวดั ความรคู้ วามเข้าใจตามตวั ชว้ี ดั ทกี่ าหนดไว้ในหลกั สูตร

๓ ใบกิจกรรมของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ ได้มีการกาหนดสัญลักษณ์รูปดาว ๕ แฉก จานวน ๔ ดวง และแถบสีสม้ โดย บ. หมายถงึ ใบกิจกรรม ผ. หมายถึง แผนการจัดการเรยี นรู้ เชน่ บ. ๑.๑ / ผ. ๑.๑-๐๑ ระดับชน้ั ใบกิจกรรม หนว่ ยที่ หนว่ ยยอ่ ยท่ี แผนที่ ใบงำนท่ี หมายเหตุ เลขแสดงลาดับของแผนการจัดการเรยี นรูจ้ ะเรยี งตอ่ กันจนครบทุกแผนในแตล่ ะหน่วยยอ่ ย และ ใบงานจะเรียงเลขต่อกนั ในแต่ละแผน เมือ่ ขนึ้ หนว่ ยใหม่ การแสดงลาดบั เลขของท้ังหน่วยยอ่ ย แผน และใบงานจะเรมิ่ ตน้ ใหม่ ๔. ลกั ษณะชุดกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ กลุม่ สำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์ ช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี ๔ ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ จัดทาเป็น หน่วยการเรียนรู้ (Learning Unit) โดยผ่านการวิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาจัดทาเป็นหน่วย การเรียนรู้ ในแตล่ ะเลม่ เปน็ ๒ เลม่ ดังนี้ เล่ม ๑ ประกอบด้วย หน่วยกำรเรียนรู้ ๕ หนว่ ย ดังน้ี หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ การจาแนกสง่ิ มชี วี ติ รอบตวั

๔ หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๑ การจาแนกสง่ิ มีชวี ิต หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๒ ส่วนตา่ ง ๆ ของพชื หน่วยยอ่ ยท่ี ๑ หนา้ ท่ีของราก ลาตน้ ใบและดอกของพืช หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๓ แรง หน่วยยอ่ ยที่ ๑ แรง หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๔ แสง หนว่ ยย่อยท่ี ๑ แสงและการมองเห็น หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๕ วัสดแุ ละสสาร หน่วยยอ่ ยท่ี ๑ สมบตั ทิ างกายภาพของวสั ดุ เลม่ ๒ ประกอบด้วยหน่วยกำรเรียนรู้ ๓ หน่วย ดังนี้ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๕ วสั ดแุ ละสสาร หน่วยย่อยท่ี ๒ สถานะของสาร หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๖ ระบบสรุ ิยะและปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ หน่วยยอ่ ยที่ ๑ ดวงจันทรข์ องเรา หน่วยยอ่ ยท่ี ๒ ระบบสุริยะ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๗ วทิ ยาการคานวณ หนว่ ยย่อยที่ ๑ การใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะ หนว่ ยยอ่ ยที่ ๒ การเขยี นโปรแกรมและการหาขอ้ ผิดพลาด หนว่ ยย่อยที่ ๓ การรวบรวมข้อมลู หน่วยย่อยที่ ๔ การค้นหาข้อมลู หน่วยยอ่ ยท่ี ๕ การสร้างทางเลอื กในการแก้ปัญหา หน่วยย่อยที่ ๖ การนาเสนอ หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๗ การประเมินความนา่ เชือ่ ถือของข้อมูล

๕ ๕. แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์ ชนั้ ประถมศึกษำปีที่ ๔ การจัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ กาหนดให้ สอดคลอ้ งกับหน่วยการเรียนรู้ แต่ละหน่วยการเรยี นรู้ประกอบดว้ ย แผนการจดั การเรยี นรู้หลายแผน แผนละ ๑-๒ ช่ัวโมง โดยมีองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้คือ ขอบเขตเนื้อหา สาระสาคัญ จุดประสงค์ การเรียนรู้ซึ่งมีท้ังด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และด้านคุณธรรม กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ และการประเมิน สาหรับแผนการจัดการเรียนรู้ทุกแผนจะมีแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่หน้าแผนทุกแผนซ่ึงเป็นการสรุปภาพรวมของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั่วโมงน้ัน ๆ ในทุกขั้นตอนการ สอนต้ังแต่ขั้นนา ขั้นสอน ข้ันสรุป และการประเมินผล พร้อมท้ังมีเฉลยคาตอบในใบงาน และเฉลย แบบทดสอบ อกี ด้วย

๖ ทักษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการท่ีนักวิทยาศาสตร์นามาใช้เพ่ือศึกษาค้นคว้า สืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาต่าง ๆ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สามารถแบ่งได้ ๒ ระดับ คือ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ ั้นพน้ื ฐานและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสม ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ขัน้ พืน้ ฐำน มีดงั น้ี กำรสังเกต หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหน่ึง หรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่ ตา หู จมกู ลนิ้ ผวิ กาย เพอ่ื บรรยายรายละเอียดของสง่ิ นัน้ โดยไมใ่ ส่ความคดิ เห็นเพม่ิ เติม กำรวัด หมายถึง การเลือกใช้เครื่องมือและวัดหาปริมาณของส่ิงต่าง ๆ และระบุหน่วยของการวัดได้ กำรใช้จำนวน หมายถึง การใช้ความรู้สึกเชิงจานวนและการคานวณ เพื่อบรรยายหรือระบุ รายละเอยี ดเชงิ ปรมิ าณของสิง่ ที่สังเกตหรือทดลอง กำรจำแนกประเภท หมายถึง การแบ่งพวกหรือเรียงลาดับวัตถุ หรือสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ความเหมือน หรอื ความแตกตา่ งกนั เป็นเกณฑ์ กำรหำควำมสัมพันธ์ของสเปซของวัตถุ หมายถึง ที่ว่างท่ีวัตถุน้ันครอบครองอยู่ ซ่ึงจะมีรูปร่าง ลักษณะเชน่ เดยี วกบั วตั ถนุ ้นั โดยทว่ั ไปแล้วสเเปซของวัตถจุ ะมี ๓ มติ ิ คือ ความกวา้ ง ความยาว และ ความสงู - ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสเปซกับสเปซ หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงตาแหน่ง ท่ีอยู่ของวัตถุหน่ึงกับอีกวัตถุหน่ึง ตัวอย่างเช่น การหย่อนก้อนหินลงไปในน้าพบว่าก้อนหินเข้าไปแทนที่น้า สังเกตไดจ้ ากนา้ บางสว่ นซึ่งมีปรมิ าตรเทา่ กับกอ้ นหินไหลออกมาข้างนอก - ควำมสัมพันธ์ระหวำ่ งสเปซกับเวลำ หมายถึง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการเปลี่ยนแปลงตาแหน่งท่ีอยู่ ของวัตถุกับเวลา หรือความสัมพันธ์ระหว่างสเปซของวัตถุที่เปล่ียนไปกับเวลา ตัวอย่างเช่น กลุ่มดาว นายพรานปรากฏบนท้องฟ้าในทิศตะวันอ อก เม่ือเวลาผ่านไป ๑ ชั่วโมง กลุ่มดาวนายพราน เคล่อื นไปทางด้านตะวนั ตก โดยหา่ งจากตาแหนง่ เดิมประมาณ ๕ องศา กำรจัดกระทำและส่ือควำมหมำยข้อมูล หมายถึง การนาข้อมูลท่ีรวบรวมได้ทั้งหมดมาจัดกระทาให้ อยู่ในรูปแบบที่มีความหมาย หรือมีความสัมพันธ์กันมากข้ึน รวมทั้งนาข้อมูลมาจัดทาในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือให้ เข้าใจได้ง่าย กำรพยำกรณ์ หมายถึง การนาข้อมูลที่ได้จากการสังเกตหรือจากประสบการณ์ของเรื่องน้ันท่ีเกิดข้ึน ซ้า ๆ เปน็ แบบรปู มาช่วยในการคาดการณ์สิ่งทีเ่ กดิ ขน้ึ กำรลงควำมเห็นจำกข้อมูล หมายถึง การใช้ความคิดเห็นจากความรู้หรือประสบการณ์เดิม เพือ่ อธบิ ายขอ้ มลู ที่ได้จากการสังเกตอย่างมีเหตุผล

๗ ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตรข์ นั้ ผสม มีดงั นี้ กำรตั้งสมมติฐำน หมายถึง การคิดหาคาตอบล่วงหน้าก่อนการทดลอง โดยอาศัยการสังเกตความรู้ หรอื ประสบการณ์เดมิ เปน็ พืน้ ฐาน กำรกำหนดนยิ ำมเชิงปฏบิ ตั กิ ำร หมายถึง การกาหนดความหมายและขอบเขตของคาต่าง ๆ ท่ีอยใู่ น สมมติฐานท่ีต้องการทดลองให้เขา้ ใจตรงกัน และสามารถสงั เกตหรือวัดได้ กำรกำหนดและควบคมุ ตัวแปร หมายถึง การช้บี ่งตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม และตวั แปรที่ตอ้ งควบคุม ใหค้ งที่ใหส้ อดคล้องกับสมมติฐานของการทดลอง - ตัวแปรต้น หมายถึง สิ่งที่เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดผลต่าง ๆ หรือส่ิงที่เราต้องการทดลองดูว่า เป็นสาเหตทุ ่กี อ่ ให้เกิดผลเชน่ น้ันจริงหรือไม่ - ตัวแปรตำม หมายถึง สิ่งท่ีเป็นผลเนื่องมาจากตัวแปรต้น เมื่อตัวแปรต้นหรือสิ่งท่ีเป็นสาเหตุ เปลยี่ นไปตวั แปรตามหรือส่ิงที่เปน็ ผลจะแปรตามไปดว้ ย - ตัวแปรท่ีต้องควบคุมให้คงที่ หมายถึง ส่ิงอ่ืนๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้นที่อาจทาให้ผลการทดลอง คลาดเคล่ือน ถ้าหากว่าไม่มีการควบคุมให้เหมือนกัน ตัวอย่างเช่น การกาหนดและควบคุมตัวแปรที่มีผลต่อ แรงแมเ่ หล็กไฟฟ้า คือ จานวนรอบของขดลวดและปริมาณกระแสไฟฟ้า การควบคมุ ปรมิ าณกระแสไฟฟ้าท่ีผ่าน วงจรจะทาให้ทราบความสัมพนั ธ์ของจานวนรอบของขดลวดกับแรงแม่เหล็กไฟฟา้ หรือการควบคมุ จานวนรอบ ของขดลวดจะทาใหท้ ราบความสมั พันธร์ ะหว่างปริมาณกระแสไฟฟ้ากบั แรงแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า กำรทดลอง หมายถึง กระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคาตอบจากสมมติฐานท่ีต้ังไว้ในการทดลองจะ ประกอบด้วยกิจกรรม ๓ ขนั้ ตอน ได้แก่ การออกแบบ การปฏบิ ตั ิ และการบนั ทึกผลการทดลอง - กำรออกแบบกำรทดลอง หมายถงึ การวางแผนการทดลองก่อนลงมือทดสอบจริง - กำรปฏิบตั กิ ำรทดลอง หมายถงึ การลงมือปฏิบัตจิ ริงและใช้อปุ กรณ์ได้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม - กำรบันทึกผลกำรทดลอง หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการทดลองซ่ึงอาจเป็นผลจากการ สังเกต การวัด และ อ่ืน ๆ ได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้องตัวอย่างเช่น การทดลองเพื่อเปรียบเทียบความแข็ง ของเนื้อไม้ ๓ ชนิด ทาได้โดยนาตะปูขีดบนเน้ือไม้แต่ละชนิดด้วยแรงที่เท่ากัน จากนั้นสังเกตรอยและ ความลึกของรอยทีเ่ กิดขน้ึ พร้อมท้งั บนั ทึกผล กำรตีควำมหมำยข้อมลู และกำรลงขอ้ สรุป กำรตีควำมหมำยข้อมูล หมายถึง การแปลความหมายหรือบรรยายลักษณะและสมบัติของข้อมูลที่มี อยู่ และสามารถสรุปความสมั พนั ธข์ุ องข้อมลู ท้ังหมด กำรลงข้อสรุป หมายถึง การสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูล เช่น การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรบนกราฟ ถ้ากราฟเป็นเส้นตรงก็สามารถอธิบายได้ว่าเกิดอะไรข้ึนกับตัวแปรตามขณะท่ีตัวแปรอิสระ เปลี่ยนแปลง หรือถ้าลากกราฟเป็นเส้นโค้งให้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรก่อนที่กราฟเส้นโค้ง จะเปลี่ยนแปลงทิศทาง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหลังจากที่กราฟเส้นโค้งเปล่ียนทิศทางแล้ว

๘ กำรสร้ำงแบบจำลอง หมายถึง การสร้างหรือใช้ส่ิงที่ทาขึ้นมาเพื่อเลียนแบบหรืออธิบาย ปรากฏการณท์ ่ศี ึกษาหรอื สนใจ และสามารถนาเสนอข้อมูล แนวคิดรวบยอดเพือ่ ใหผ้ ้อู น่ื เขา้ ใจในรูปแบบจาลอง ต่าง ๆ

๙ โครงสรำ้ งของชุดกำรจดั กิจกรรมกำรเรียนรู้ กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์ ช้ันประถมศึกษำปีที่ ๔ หน่วยกำรเรยี นรทู้ ่ี ๑ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๒ กำรจำแนกส่งิ มีชวี ิตรอบตวั ส่วนตำ่ ง ๆ ของพืช (๑๐ ชัว่ โมง) (๑๒ ชั่วโมง) หนว่ ยกำรเรยี นรู้ท่ี ๗ กลุ่มสำระกำร หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี ๓ วิทยำกำรคำนวณ เรยี นร้วู ิทยำศำสตร์ แรง (๑๐ชว่ั โมง) (๑๐๐ชว่ั โมง/ปี) (๒๐ชัว่ โมง) หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ ๔ หน่วยกำรเรยี นรู้ท่ี ๕ แสง หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๖ วสั ดุและสสำร ระบบสุริยะและ (๓๐ ช่วั โมง) (๘ ชวั่ โมง) ปรำกฏกำรณท์ ำง ดำรำศำสตร์ (๑๐ช่วั โมง)

๑๐ แนวทำงกำรจัดหน่วยกำรเรยี นรู้ ชั้นประถมศึกษำปที ่ี ๔ เลม่ ๑ (ภำคเรียนที่ ๑) เล่ม ๒ (ภำคเรยี นที่ ๒) หนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ ๑ กำรจำแนกสง่ิ มีชวี ิตรอบตัว หน่วยกำรเรยี นรูท้ ี่ ๕ วัสดแุ ละสสำร (ต่อ) หน่วยกำรเรยี นรู้ท่ี ๒ ส่วนต่ำง ๆ ของพืช หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ่ี ๖ หน่วยกำรเรียนรทู้ ่ี ๓ แรง ระบบสุริยะและปรำกฏกำรณท์ ำงดำรำศำสตร์ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ่ี ๔ แสง หน่วยกำรเรยี นร้ทู ี่ ๕ วสั ดุและสสำร หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ ๗ วิทยำกำรคำนวณ

๑๑ โครงสรำ้ งรำยวชิ ำวิทยำศำสตร์ ระดับช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๔ หนว่ ยกำรเรยี นร/ู้ ช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๔ เวลำที่ใช้ (ช.ม.) หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ตวั ชวี้ ดั สำระกำรเรียนรู้ ๑ การจาแนก ส่ิงมชี วี ติ รอบตวั / ว ๑.๓ ป.๔/๑ จาแนกสิง่ มีชีวติ โดยใช้ความ • ส่ิงมีชีวิตมีหลายชนิด สามารถจัดกลุ่มได้โดยใช้ ๑๐ ช่วั โมง เหมอื นและความแตกตา่ งของลักษณะของ ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะ สิง่ มชี วี ิต ออกเป็นกลุม่ พืช กลุ่มสัตว์ และ ต่าง ๆ เช่น กลุ่มพืชสร้างอาหารเองได้ และ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ กลุม่ ท่ไี มใ่ ช่พืชและสตั ว์ เคลอ่ื นทีด่ ว้ ยตนเองไม่ได้ กลุ่มสัตว์กนิ สิ่งมีชีวิต ๒ ส่วนตา่ งๆของ พชื / ๑๒ ชว่ั โมง อื่นเป็นอาหารและเคล่ือนท่ีได้ กลุ่มท่ีไม่ใช่พืช และสตั ว์ เช่น เหด็ รา จุลินทรยี ์ ว ๑.๓ ป.๔/๒ จาแนกพืชออกเป็นพืชดอก • การจาแนกพืช สามารถใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ และพืชไมม่ ีดอก โดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ ในการจาแนก ไดเ้ ปน็ พชื ดอกและพชื ไม่มีดอก โดยใชข้ ้อมลู ที่รวบรวมได้ ว ๑.๓ ป.๔/๓ จาแนกสัตว์ออกเปน็ สตั ว์มี • การจาแนกสัตว์ สามารถใช้การมีกระดูก กระดูกสนั หลังและสัตวไ์ ม่มกี ระดกู สันหลงั สันหลังเป็นเกณฑ์ในการจาแนก ได้เป็นสัตว์มี โดยใช้การมกี ระดกู สนั หลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ กระดกู สันหลงั และสัตว์ไมม่ กี ระดกู สนั หลัง ข้อมูลทร่ี วบรวมได้ ว ๑.๓ ป.๔/๔ บรรยายลกั ษณะเฉพาะที่ • สัตว์มีกระดูกสันหลังมีหลายกลุ่ม ได้แก่ สงั เกตได้ของสตั ว์มีกระดูกสันหลงั กลุ่มปลา กลุ่มสะเทินน้าสะเทินบก กลุ่ม ในกลมุ่ ปลา กล่มุ สัตว์สะเทนิ น้าสะเทินบก สัตว์เล้ือยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เล้ียงลูก กลุม่ สตั ว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์ ด้วยน้านม ซ่ึงแต่ละกลุ่มจะมีลักษณะเฉพาะท่ี เลย้ี งลกู ดว้ ยน้านม และยกตัวอยา่ งสง่ิ มีชีวติ สงั เกตได้ ในแตล่ ะกลุ่ม ว ๑.๒ ป.๔/๑ บรรยายหน้าท่ีของราก • ส่วนต่าง ๆ ของพืชดอกทาหนา้ ทแ่ี ตกต่างกัน ลาต้น ใบ และดอกของพืชดอกโดยใช้ข้อมูล • รากทาหน้าท่ีดูดน้าและธาตุอาหารข้ึนไปยัง ท่ีรวบรวมได้ ลาต้น • ลาต้นทาหน้าที่ลาเลียงน้าต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช • ใบทาหน้าที่สร้างอาหาร อาหารที่พืชสร้างข้ึน คือน้าตาลซ่งึ จะเปลย่ี นเปน็ แปง้ • ด อ ก ท า ห น้ า ท่ี สื บ พั น ธ์ุ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ส่วนประกอบต่าง ๆ ได้แก่ กลีบเลี้ยง กลีบดอก

๑๒ หนว่ ยกำรเรียนรู/้ ช้ันประถมศึกษำปที ี่ ๔ เวลำที่ใช้ (ช.ม.) ตัวชวี้ ดั สำระกำรเรยี นรู้ เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ซึ่งส่วนประกอบ แตล่ ะสว่ นของดอกทาหน้าท่ีแตกตา่ งกัน หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ว ๒.๒ ป.๔/๑ ระบุผลของแรงโน้มถว่ งทมี่ ี • แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นแรงดึงดูดท่ีโลกกระทา ๓ แรง/ ๑๐ ชวั่ โมง ตอ่ วตั ถจุ ากหลักฐานเชิงประจักษ์ ต่อวัตถุ มีทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางโลก และเป็น ว ๒.๒ ป.๔/๒ ใช้เครื่องช่ังสปรงิ ในการวัด แรงไม่สัมผัส แรงดึงดูดท่ีโลกกระทากับวัตถุ นา้ หนกั ของวัตถุ หนึ่ง ๆ ทาใหว้ ัตถุตกลงส่พู ื้นโลก และทาใหว้ ัตถุ ว ๒.๒ ป.๔/๓ บรรยายมวลของวัตถุที่มผี ล มีน้าหนัก วัดน้าหนักของวัตถุได้จากเคร่ืองช่ัง ต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวตั ถุ สปริง น้าหนักของวัตถุข้ึนกับมวลของวัตถุ จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ โดยวัตถุท่ีมีมวลมากจะมีน้าหนักมาก วัตถุท่ีมี มวลนอ้ ยจะมีนา้ หนักน้อย • แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นแรงดึงดูดท่ีโลกกระทา ต่อวัตถุ มีทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางโลก และเป็น แรงไม่สัมผัส แรงดึงดูดท่ีโลกกระทากับวัตถุ หนึ่ง ๆ ทาให้วตั ถุตกลงส่พู ืน้ โลก และทาให้วัตถุ มีน้าหนัก วัดน้าหนักของวัตถุได้จากเครื่องช่ัง สปริง น้าหนักของวัตถุขึ้นกับมวลของวัตถุ โดยวัตถุท่ีมีมวลมากจะมีน้าหนักมาก วัตถุที่มี มวลน้อยจะมีน้าหนักน้อย • มวล คือ ปริมาณเนือ้ ของสารท้งั หมดทป่ี ระกอบ กันเป็นวัตถุซึ่งมีผลต่อความยากง่ายในการ เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุ วัตถุที่มี มวลมากจะเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ีได้ยาก กว่าวัตถุท่ีมีมวลน้อย ดังน้ันมวลของวัตถุ นอกจากจะหมายถึงเนื้อทั้งหมดของวัตถุนั้น แล้วยังหมายถึงการต้านการเปลี่ยนแปลงการ เคลอ่ื นทข่ี องวตั ถุนน้ั ดว้ ย หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ว ๒.๓ ป.๔/๑ จาแนกวัตถุเป็นตัวกลาง • เม่ือมองสิ่งต่าง ๆ โดยมีวัตถุต่างชนิดกันมากั้น ๔ แสง/ ๘ ชว่ั โมง โปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสง จะทาให้การมองเห็นสิ่งนั้น ๆ ชัดเจนต่างกัน โดยใช้ลักษณะการมองเห็นส่ิงต่าง ๆ ผ่าน จึงจาแนกวัตถุที่มากั้นออกเป็นตัวกลางโปร่งใส วตั ถุนนั้ เป็นเกณฑ์จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ซึ่งทาให้มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้ชัดเจน ตัวกลาง

๑๓ หน่วยกำรเรียนรู้/ ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี ๔ เวลำท่ีใช้ (ช.ม.) ตวั ชว้ี ัด สำระกำรเรยี นรู้ โปร่งแสงทาให้มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้ไม่ชัดเจน และวัตถทุ บึ แสงทาให้มองไมเ่ ห็นสงิ่ ตา่ ง ๆ นน้ั หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ว ๒.๑ ป.๔/๑ เปรียบเทียบสมบัติทาง • วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพแตกต่าง ๕ วัสดุและสสาร/ กายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น กัน วัสดุที่มีความแข็งจะทนต่อแรงขูดขีด วัสดุ ๓๐ ช่วั โมง การนาความร้อน และการนาไฟฟ้าของวัสดุ ที่มีสภาพยืดหยุ่นจะเปลี่ยนแปลงรูปร่างเม่ือมี โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลอง แรงมากระทาและกลับสภาพเดิมได้ วัสดุท่ีนา และระบุการนาสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพ ความร้อนจะร้อนได้เร็วเม่ือได้รับความร้อน ยืดหยุ่น การนาความร้อน และการนาไฟฟ้า และวัสดุท่ีนาไฟฟ้าได้ จะให้กระแสไฟฟ้าไหล ของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจาวัน ผ่าน ผ่านได้ ดังนั้น จึงอาจนาสมบัติต่าง ๆ มา กระบวนการออกแบบชิ้นงาน พิ จ า ร ณ า เ พ่ื อ ใ ช้ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร อ อ ก แ บ บ ว ๒.๑ ป.๔/๓ เปรียบเทียบสมบัติของสสาร ช้ินงานเพอ่ื ใช้ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวัน ทั้ง ๓ สถานะ จากข้อมูลที่ได้จากการสังเกต • วัสดุเป็นสสารเพราะมีมวลและต้องการท่ีอยู่ มวล การต้องการท่ีอยู่ รูปร่างและปริมาตร สสารมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแกส๊ ของสสาร ของแข็งมีปริมาตรและรูปร่างคงที่ ของเหลวมี ว ๒.๑ ป.๔/๔ ใช้เคร่ืองมือเพ่ือวัดมวล และ ปริมาตรคงที่แต่มีรูปร่างเปล่ียนไปตามภาชนะ ปรมิ าตรของสสารทั้ง ๓ สถานะของวสั ดุ เฉพาะส่วนท่ีบรรจุของเหลว ส่วนแก๊สมี ปริมาตรและรูปร่างเปล่ียนไปตามภาชนะที่ บรรจุ • วัสดุเป็นสสารเพราะมีมวลและต้องการที่อยู่ สสารมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแกส๊ ของแข็งมีปริมาตรและรูปร่างคงท่ี ของเหลวมี ปริมาตรคงที่แต่มีรูปร่างเปล่ียนไปตามภาชนะ เฉพาะส่วนที่บรรจุของเหลว ส่วนแก๊สมี ปริมาตรแล ะรู ปร่ าง เปล่ี ยน ไ ปต ามภ า ช น ะ ท่ี บรรจุ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ว ๓.๑ ป.๔/๑ อธิบายแบบรูปเส้นทางการ • ดวงจันทร์เป็นบริวารของโลก โดยดวงจันทร์ ๖ ระบบสุรยิ ะและ ข้ึนและตกของดวงจันทร์โดยใช้หลักฐานเชิง โคจรรอบโลกพร้อมกับหมุนรอบตัวเอง ขณะที่ ปรากฎการณ์ทาง ประจกั ษ์ โลกก็หมุนรอบตัวเองด้วยเช่นกัน การหมุนรอบ ดาราศาสตร์ / ๑๐ ว ๓.๑ ป.๔/๒ สร้างแบบจาลองท่ีอธิบาย ตวั เองของโลกจากทศิ ตะวันตกไปทิศตะวันออก ช่วั โมง แบบรูปการเปล่ียนแปลงรูปร่างปรากฏของ ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเมื่อมองจากขั้วโลก

๑๔ หนว่ ยกำรเรียนร/ู้ ชั้นประถมศึกษำปที ่ี ๔ เวลำท่ีใช้ (ช.ม.) ตัวชีว้ ดั สำระกำรเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๗ วทิ ยาการ ดวงจันทร์ และพยากรณ์รูปร่างปรากฏของ เหนือ ทาให้มองเห็นดวงจันทร์ปรากฏขึ้น คานวณ / ๒๐ ชว่ั โมง ดวงจนั ทร์ ทางด้านทิศตะวันออกและตกทางด้านทิศ ว ๓.๑ ป.๔/๓ สร้างแบบจาลองแสดง ตะวันตก หมนุ เวียนเปน็ แบบรปู ซา้ ๆ องค์ประกอบของระบบสุริยะ และอธิบาย • ดวงจันทร์เป็นวัตถุท่ีเป็นทรงกลม แต่รูปร่าง เปรียบเทียบคาบการโคจรของดาวเคราะห์ ของดวงจันทร์ท่ีมองเห็นหรอื รูปร่างปรากฏของ ต่าง ๆ จากแบบจาลอง ดวงจันทร์บนท้องฟ้าแตกต่างกันไปในแต่ละวัน โดยในแต่ละวันดวงจันทร์จะมีรูปร่างปรากฏ เป็นเส้ียวท่ีมีขนาดเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ืองจนเต็ม ดวง จากน้ันรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์จะ แหว่งและมีขนาดลดลงอย่างต่อเนื่องจนมองไม่ เ ห็ น ด ว ง จั น ท ร์ จ า ก นั้ น รู ป ร่ า ง ป ร า ก ฏ ข อ ง ดวงจันทร์จะเป็นเส้ียวใหญ่ข้ึนจนเต็มดวงอีก ครั้ง การเปลี่ยนแปลงเช่นน้ีเป็นแบบรูปซ้ากัน ทุกเดอื น • ระบบสุริยะเป็นระบบท่ีมีดวงอาทิตย์เป็น ศูนย์กลางและมบี ริวารประกอบดว้ ย ดาว เคราะห์แปดดวงและบริวาร ซ่ึงดาวเคราะห์แต่ ละดวงมีขนาดและระยะห่างจากดวงอาทิตย์ แตกต่างกัน และยังประกอบด้วย ดาวเคราะห์ แคระ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และวัตถุ ขนาดเลก็ อนื่ ๆ ว ๔.๒ ป.๔/๑ ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ • การใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์ แก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การ หรอื เงอ่ื นไขทค่ี รอบคลมุ ทุกกรณีมาใช้พิจารณา คาดการณผ์ ลลัพธ์ จากปญั หาอย่างงา่ ย ในการแกป้ ัญหา การอธบิ ายการทางาน หรือ ว ๔.๒ ป.๔/๒ ออกแบบ และเขยี นโปรแกรม การคาดการณผ์ ลลพั ธ์ อย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือและ • สถานะเรม่ิ ต้นของการทางานทแี่ ตกตา่ งกันจะ ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดและแก้ไข ให้ผลลพั ธท์ แี่ ตกตา่ งกนั ว ๔.๒ ป.๔/๓ ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ • ตวั อย่างปัญหา เชน่ เกม OX โปรแกรมทมี่ ี และประเมนิ ความน่าเชื่อถือของข้อมูล การ คานวณ โปรแกรมท่ีมตี วั ละครหลายตวั และมีการสงั่ งานทแ่ี ตกตา่ งหรือมกี ารส่อื สาร ระหว่างกนั การเดนิ ทางไปโรงเรียน โดยวิธีการ

๑๕ หนว่ ยกำรเรยี นรู้/ ช้นั ประถมศึกษำปที ี่ ๔ เวลำที่ใช้ (ช.ม.) ตวั ชว้ี ัด สำระกำรเรยี นรู้ ว ๔.๒ ป.๔/๔ รวบรวม ประเมิน นาเสนอ ต่าง ๆ ข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ท่ี • ก า ร อ อ ก แ บ บ โ ป ร แ ก ร ม อ ย่ า ง ง่ า ย เ ช่ น หลากหลาย เพอื่ แก้ปัญหาในชวี ิตประจาวัน การออกแบบโดยใช้ storyboard หรือการ ว ๔.๒ ป.๔/๕ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่าง ออกแบบอัลกอรทิ มึ ปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตน • การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของ เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เก่ียวข้อง คาส่ัง ให้คอมพิวเตอร์ทางาน เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ เมื่อพบข้อมูลหรือบคุ คลที่ไมเ่ หมาะสม ตาม ความต้องการ หากมีข้อผิดพลาดให้ ตรวจสอบ การทางานทีละคาส่ัง เมื่อพบจุดท่ี ทาให้ผลลัพธ์ ไม่ถูกต้อง ให้ทาการแก้ไขจนกวา่ จะได้ผลลพั ธท์ ี่ถูกตอ้ ง • ตัวอย่างโปรแกรมที่มีเร่ืองราว เช่น นิทานที่มี การโต้ตอบกับผู้ใช้ การ์ตูนสั้น เล่ากิจวัตร ประจาวนั ภาพเคลือ่ นไหว • การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของ ผู้อ่ืนจะช่วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของ ปญั หาได้ดยี ิ่งข้นึ • ซอฟต์แวร์ท่ีใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch, logo • การใช้คาค้นที่ตรงประเด็น กระชับ จะทาให้ ไดผ้ ลลพั ธท์ ีร่ วดเรว็ และตรงตามความต้องการ • การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น พิจารณาประเภทของเว็บไซต์ (หน่วยงาน ราชการ สานักข่าว องค์กร) ผู้เขียน วันท่ี เผยแพร่ขอ้ มลู การอ้างองิ • เมื่อได้ข้อมูลท่ีต้องการจากเว็บไซต์ต่าง ๆ จะต้องนาเนือ้ หามาพิจารณา เปรียบเทยี บ แล้ว เลือกข้อมูลท่ีมีความสอดคล้องและสัมพันธ์กัน การทารายงานหรือการนาเสนอข้อมูลจะต้อง นาข้อมูลมาเรียบเรียง สรุป เป็นภาษาของ ตนเอง ทเ่ี หมาะสมกบั กลุม่ เป้าหมายและวธิ ีการ นาเสนอ (บูรณาการกบั วิชาภาษาไทย)

หนว่ ยกำรเรียนรู้/ ตัวชว้ี ดั ๑๖ เวลำทีใ่ ช้ (ช.ม.) ช้นั ประถมศึกษำปที ่ี ๔ สำระกำรเรียนรู้ • การรวบรวมข้อมูล ทาได้โดยกาหนดหัวข้อท่ี ตอ้ งการเตรียมอปุ กรณ์ในการจดบนั ทกึ • การประมวลผลอย่างง่าย เช่น เปรียบเทียบ จดั กลุม่ เรียงลาดับ การหาผลรวม • วิเคราะห์ผลและสร้างทางเลือกท่ีเป็นไปได้ ประเมนิ ทางเลือก (เปรียบเทยี บ ตดั สนิ ) • การนาเสนอข้อมูลทาได้หลายลักษณะตาม ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม เ ช่ น ก า ร บ อ ก เ ล่ า เอกสารรายงาน โปสเตอร์ โปรแกรมนาเสนอ • ก า ร ใ ช้ ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ เ พื่ อ แ ก้ ปั ญ ห า ใ น ชีวิตประจาวัน เช่น การสารวจเมนูอาหาร กลางวันโดยใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบสอบถาม และเก็บข้อมูล ใช้ซอฟต์แวร์ตารางทางานเพื่อ ประมวลผลข้อมูล รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับ คุณค่าทางโภชนาการและสร้างรายการอาหาร สาหรับ ๕ วัน ใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอผลการ สารวจรายการอาหารที่เป็นทางเลอื กและข้อมูล ด้านโภชนาการ • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธแิ ละหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของ ผู้อ่ืน เช่น ไม่สร้างข้อความเท็จและส่งให้ผู้อ่ืน ไม่สร้าง ความเดือดร้อนต่อผู้อ่ืนโดยการส่ง สแปม ข้อความลูกโซ่ ส่งต่อโพสต์ที่มีข้อมูล ส่วนตัวของผู้อื่น ส่งคาเชิญเล่นเกม ไม่เข้าถึง ข้อมูลส่วนตัวหรือการบ้านของบุคคลอื่นโดย ไม่ได้รับอนุญาต ไม่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์/ชื่อ บัญชีของผู้อื่น • การสื่อสารอย่างมีมารยาทและรู้กาลเทศะการ ปกป้องข้อมูลส่วนตัว เช่น การออกจากระบบ

๑๗ หน่วยกำรเรียนร/ู้ ชัน้ ประถมศึกษำปที ่ี ๔ เวลำท่ีใช้ (ช.ม.) ตวั ชี้วดั สำระกำรเรยี นรู้ เม่ือเลิกใช้งาน ไม่บอกรหัสผ่าน ไม่บอกเลข ประจาตวั ประชาชน

๑๘ หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ กำรจำแนกส่ิงมีชีวิตรอบตวั

๑๙ มำตรฐำนกำรเรียนรู้และตวั ชี้วดั ของหน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ ๑ กำรจำแนกส่งิ มชี วี ติ รอบตัว (จำนวน ๑๒ ชั่วโมง) มำตรฐำนกำรเรียนรู้และตัวชี้วดั มำตรำฐำน ว ๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม สารพนั ธกุ รรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิ ต รวมทัง้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตัวช้วี ัด ป.๔/๑ จาแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะของส่ิงมีชีวิต ออกเป็น กลมุ่ พืช กลุ่มสตั ว์ และกลมุ่ ที่ไม่ใชพ่ ชื และสตั ว์ ป.๔/๒ จาแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก โดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลที่ รวบรวมได้ ป.๔/๓ จาแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยใช้การมี กระดกู สันหลงั เป็นเกณฑ์ โดยใชข้ ้อมูลทรี่ วบรวมได้ ป.๔/๔ บรรยายลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้า สะเทินบก กลุ่มสัตว์เล้ือยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม และยกตัวอย่าง ส่งิ มีชวี ิตในแตล่ ะกลุ่ม

๒๐ ลำดับกำรนำเสนอแนวคิดหลกั ของหนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ ๑ กำรจำแนกส่งิ มชี ีวติ รอบตัว สิ่งมชี วี ิตมีหลายชนิด แตล่ ะชนดิ มีลักษณะบางอยา่ งทเ่ี หมือนกนั และลกั ษณะบางอยา่ งแตกต่างกนั ถ้าใช้การเคลื่อนท่ีและสร้างอาหารเปน็ เกณฑ์ในการจาแนก จะจาแนกสิง่ มชี วี ิตไดเ้ ปน็ กลุ่มพืช กล่มุ สัตว์ และกลุม่ ทีไ่ ม่ใช่พืชและสัตว์ กลุม่ สัตวเ์ ป็นสิง่ มีชวี ิตท่ีสร้างอาหารเองไม่ไดแ้ ละเคลอ่ื นที่ได้ กล่มุ พชื เปน็ สงิ่ มชี ีวติ ทีส่ ร้างอาหารเองได้และ เคล่ือนที่ไม่ได้ ส่วนกลมุ่ ท่ีไมใ่ ช่พชื และสตั ว์ มลี ักษณะแตกต่างจากนี้ สตั ว์มหี ลายชนิด แต่ละชนดิ มีลักษณะบางอยา่ งทเี่ หมือนกันและแตกต่างจากสตั วช์ นดิ อื่น ถ้าใชก้ ารมีกระดูกสนั หลังเป็นเกณฑ์ในการจาแนกจะจาแนกสตั ว์ได้เป็นกลมุ่ สตั ว์มีกระดูกสนั หลัง และกลุ่มสตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลัง พชื มหี ลายชนดิ แตล่ ะชนดิ มลี ักษณะบางอยา่ งที่เหมือนกันและลักษณะบางอย่างแตกต่างกัน ถ้าใชก้ ารมีดอกเปน็ เกณฑ์ในการจาแนกพืชจะจาแนกพชื ได้เป็นกลุ่มพชื ดอก และกลมุ่ พืชไมม่ ีดอก

๒๑ โครงสรำ้ งแผนกำรจัดกำรเรยี นรขู้ องหนว่ ยกำรเรยี นร้ทู ่ี ๑ กำรจำแนกสิ่งมชี ีวิตรอบตัว แผนที่ ๑.๑ แผนที่ ๑.๒ แผนที่ ๑.๓ (การจาแนกส่ิงมีชีวติ ) (การจาแนกสตั ว)์ (การจาแนกพืชดอก) (๔ ชั่วโมง) (๕ ชัว่ โมง) (๓ ช่ัวโมง) หน่วยยอ่ ยที่ ๑ (การจาแนกส่ิงมชี ีวิต) หน่วยกำรเรียนร้ทู ี่ ๑ กำรจำแนกส่ิงมีชีวติ รอบตวั (๑๒ ชัว่ โมง)

กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ๒๒ หนว่ ยยอ่ ยที่ ๑ กำรจำแนกสง่ิ มีชีวิต หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ ชือ่ หน่วย กำรจำแนกส่งิ มีชีวิตรอบตัว จำนวนเวลำเรียน ๑๒ ชวั่ โมง จำนวนแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ ๓ แผน ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สำระสำคัญของหนว่ ย ส่งิ มชี ีวิตมีหลายชนดิ ซงึ่ แตล่ ะชนิดมลี กั ษณะบางอย่างเหมือนกนั และแตกต่างกัน ซ่ึงสามารถนามาใช้ เปน็ เกณฑใ์ นการจาแนกสิ่งมชี ีวติ ออกเปน็ กลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ ในกล่มุ พืชและ กลมุ่ สตั ว์ยังสามารถจัดเป็นกลุ่มตา่ ง ๆ ได้อีกขน้ึ อยู่กับเกณฑ์ทใ่ี ช้ มำตรฐำนและตัวชี้วดั มำตรำฐำน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพนั ธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิต รวมท้งั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ป.๔/๑ จาแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิต ออกเป็น กลุม่ พืช กลุ่มสัตว์ และกลมุ่ ท่ไี มใ่ ชพ่ ืชและสตั ว์ ป.๔/๒ จาแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก โดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลท่ี รวบรวมได้ ป.๔/๓ จาแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยใช้การมีกระดูก สนั หลังเปน็ เกณฑ์ โดยใช้ขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ ป.๔/๔ บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้า สะเทินบก กลุ่มสัตว์เล้ือยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เล้ียงลูกด้วยน้านม และยกตัวอย่าง สิง่ มชี ีวิตในแตล่ ะกลมุ่

๒๓ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๔ ลำดบั กำรนำเสนอแนวคดิ หลักของหนว่ ยย่อยที่ ๑ กำรจำแนกส่งิ มชี ีวติ สิ่งมชี วี ติ มีหลายชนดิ แตล่ ะชนิดมีลกั ษณะบางอยา่ งที่เหมือนกนั และลกั ษณะบางอยา่ งแตกต่างกนั ถา้ ใช้การเคล่ือนที่และสร้างอาหารเปน็ เกณฑใ์ นการจาแนก จะจาแนกส่งิ มีชวี ิตได้เปน็ กลุ่มพืช กลมุ่ สัตว์ และ กลุ่มทไ่ี มใ่ ชพ่ ชื และสตั ว์ กลุ่มสัตวเ์ ปน็ ส่ิงมีชีวติ ที่สร้างอาหารเองไมไ่ ด้และเคลอื่ นท่ีได้ กลุ่มพืชเปน็ ส่ิงมีชีวิตทสี่ ร้างอาหารเองได้และ เคล่ือนท่ีไม่ได้ สว่ นกลมุ่ ท่ีไม่ใช่พชื และสัตว์ มลี กั ษณะแตกตา่ งจากนี้ สตั ว์มีหลายชนดิ แต่ละชนิดมลี กั ษณะบางอย่างท่ีเหมือนกนั และแตกต่างจากสตั วช์ นดิ อ่นื ถ้าใช้การมีกระดูกสนั หลงั เปน็ เกณฑ์ในการจาแนก จะจาแนกสตั วไ์ ด้เปน็ กลุ่มสตั ว์มกี ระดกู สันหลงั และกลุ่มสัตว์ไมม่ ีกระดูกสันหลงั พืชมหี ลายชนดิ แตล่ ะชนดิ มีลักษณะบางอยา่ งทีเ่ หมอื นกันและลกั ษณะบางอย่างแตกต่างกัน ถา้ ใชก้ ารมดี อกเปน็ เกณฑ์ในการจาแนกจะจาแนกพืชไดเ้ ปน็ กลมุ่ พืชดอก และกลุ่มพชื ไม่มีดอก โครงสรำ้ งของหน่วยย่อยที่ ๑ กำรจำแนกสงิ่ มชี วี ติ หน่วยกำรเรยี นรู้ ช่อื หน่วยย่อย จำนวนแผน ช่อื แผนกำรจัดกำร จำนวนชว่ั โมง เรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี หน่วยยอ่ ยท่ี ๑ ๑ การจาแนก การจาแนกส่งิ มีชีวิต ๓ ๑.๑ การจาแนกสิ่งมชี ิวิต ๔ สงิ่ มีชีวติ รอบตวั ๑.๒ การจาแนกสัตว์ ๕ ๑.๓ การจาแนกพืชดอก ๓

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ๒๔ คำชแี้ จงประกอบแผนจัดกำรเรยี นรู้ หน่วยกำรเรยี นรู้ท่ี ๑ แผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ี่ ๑.๑ กำรจำแนกส่งิ มชี ีวติ เวลำ ๔ ชั่วโมง ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. สำระสำคญั ของแผน เม่ือจาแนกส่ิงมีชีวิตโดยใชก้ ารเคลือ่ นทแ่ี ละสรา้ งอาหารเป็นเกณฑ์ จะจาแนกได้เป็นกลุ่มสัตว์ กลุ่มพชื และกลุ่มไมใ่ ช่พืชและสัตว์ ๒. ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติมในกำรนำไปใช้ (ใหร้ ะบุสิ่งทต่ี ้องกำรเนน้ หรือขอ้ สงั เกต ข้อเสนอแนะ คำแนะนำ) ในเรอ่ื งตอ่ ไปน้ี คือ ๒.๑ ขอบขำ่ ยเนือ้ หำ สิ่งมีชีวติ มีหลายชนดิ ซง่ึ แตล่ ะชนดิ มลี กั ษณะบางอยา่ งท่ีเหมือนกนั และลักษณะบางอย่างแตกต่างกัน ถ้าใชก้ ารเคล่ือนทแ่ี ละการสร้างอาหารเปน็ เกณฑ์ จะจาแนกส่งิ มีชีวิตไดเ้ ปน็ กลุ่มพชื และกลุ่มสัตว์ โดยกลุ่มพืช เป็นส่ิงมีชีวิตท่ีสร้างอาหารเองได้และเคลื่อนท่ีไม่ได้ ส่วนกลุ่มสัตว์เป็นส่ิงมีชีวิตท่ีสร้างอาหารเองไม่ได้และ เคลื่อนท่ีได้ นอกจากนี้ยังมีส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ ที่ไม่อยู่ในกลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์ เพราะไม่สามารถเคล่ือนท่ีและ ไมส่ ามารถสร้างอาหารเองได้ ๒.๒ จุดประสงค์กำรเรยี นรู้ (ควำมรู้ ทกั ษะ คณุ ธรรมจริยธรรม ค่ำนิยม) (ถำ้ มี) จดุ ประสงคด์ ำ้ นควำมรู้ ๑. รวบรวมข้อมลู และเปรียบเทียบลักษณะของส่ิงมีชีวติ ๒. จาแนกส่งิ มีชวี ติ ออกเป็นกลุ่ม โดยใช้การเคล่ือนที่และการสร้างอาหารเป็นเกณฑ์ จุดประสงค์ด้ำนทกั ษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ ๑. การสังเกต ๒. การจาแนกประเภท ๓. การลงความเห็นจากข้อมูล จุดประสงค์ด้ำนคุณธรรม ๑. มคี วามมุ่งมน่ั ในการทางาน ๒. มคี วามสามคั คี ช่วยเหลือในการทางานกลมุ่ รว่ มกนั ๓. มคี วามซอ่ื สัตย์ต่อตนเอง

๒๕ ๒.๓ กำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนรู้ ๑) กำรเตรยี มตัวของครู นกั เรยี น (กำรจดั กลุ่ม) (ถ้ำมี) ๑.๑ การจัดกลมุ่ โดยแบง่ นกั เรียนออกเป็นกลุ่ม กลมุ่ ละประมาณ ๔ คน ๑.๒ วางแผนการสอน ๒) กำรเตรยี มสอ่ื วัสดุอปุ กรณ์ ของครู นักเรียน (ถ้ำมี) ส่งิ ทีค่ รูตอ้ งเตรียม คอื เตรยี มบัตรภาพส่ิงมีชีวติ ๑๒ ชนดิ หน้า ๔ จานวน ๑ ชุด/กลุ่ม ๓) เตรยี มใบงำน ใบควำมรู้ ใบกจิ กรรม (ถำ้ มี) ๓.๑ ใบงาน ๐๑ การจาแนกส่ิงมีชวี ติ ๓.๒ ใบงาน ๐๒ แบบฝกึ หดั เรือ่ งการจัดกลุม่ สงิ่ มชี วี ติ ๓.๓ ใบความรูเ้ ร่ืองเห็ดรา ๒.๔ วดั ผลประเมนิ ผล (ถำ้ มี) ๑) วธิ ีกำรวดั ผลประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ ๑.๑ การตอบคาถามในใบงาน ๑.๒ สงั เกตทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการทากิจกรรม ๑.๓ สงั เกตดา้ นคุณธรรมขณะทากิจกรรม ๒) วธิ กี ำร เครอื่ งมือ เกณฑ์ ๒.๑ เครอื่ งมือและเกณฑใ์ นกำรประเมินดำ้ นควำมรู้ ตรวจให้คะแนนจากการตอบคาถามในใบงาน แลว้ ใช้เกณฑ์ในการให้คะแนนดังนี้ - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ต่ากว่า ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ๒.๒ เครื่องมือและเกณฑใ์ นกำรประเมินทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ สังเกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้แบบประเมินทกั ษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ (ดังแนบ) แล้วนาคะแนนมารวมกนั แล้วใช้เกณฑใ์ นการให้คะแนนดังนี้ - มากกว่า ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ตา่ กวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน

๒๖ ๒.๓ เคร่ืองมอื และเกณฑใ์ นกำรประเมนิ ดำ้ นคณุ ธรรม สงั เกตคุณลักษณะดา้ นคุณธรรมโดยใช้แบบประเมนิ ดา้ นคุณธรรม (ดงั แนบ) แลว้ นา คะแนนมารวมกนั แลว้ ใชเ้ กณฑ์ในการให้คะแนนดงั นี้ - มากกว่า ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ต่ากว่า ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ๓) กำรทดสอบก่อนเรยี น หลังเรียน แบบฝึกหดั ก่อนเรยี น หลังเรียน ทาแบบฝึกหดั ในใบงานหลงั เรียน ๓. อื่น ๆ ............................................................................................................................. ........................................... ................................................................................................................................................................. ......

แนวกำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรขู้ หน่วยกำรเรยี นร้ทู ี่ ๑ กำรจำแนกสง่ิ มชี ีวติ รอบตัว เรื่อง กำรจำแน กลมุ่ สำระกำรเรียนร้วู ิทยำศำสตร์ รำยวิชำวิทยำ ขัน้ นำ แนวกำรจัดกจิ ก ข้ันสอน  เล่นเกมทายรูปสิ่งมชี ีวติ  ตอบคาถามเกยี่ วกับการจาแนกสง่ิ มชี ีวิต ข้ันสรปุ  ร่วมกนั อ่านและอภิปรายวธิ กี ารทากิจกรร กำรวดั และประเมนิ ผล  ทาใบงาน ๐๑ การจาแนกสิง่ มีชีวติ  นาเสนอและอภิปรายผลการจาแนกส่ิงมีช  รว่ มกนั สรุปเกย่ี วกับการจาแนกส่งิ มีชวี ติ  ทาใบงาน ๐๒ แบบฝกึ หัด เรื่องการจัดกล  ประเมนิ จากการตอบคาถาม  ประเมนิ จากการทากิจกรรมในชัน้ เรียน  ประเมนิ จากการทาแบบฝกึ หัด

ของแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๑.๑ ๒๗ นกสงิ่ มีชีวติ ำศำสตร์ เวลำ ๔ ชั่วโมง กรรมกำรเรยี นรู้ ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี ๔ รมที่ ๑ เราจาแนกสงิ่ มชี วี ติ ไดอ้ ย่างไร ชีวติ ลุ่มส่งิ มชี ีวิต

หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ ๑ กำรจำแนกสิง่ มชี วี ิตรอบตัว แผนกำรจดั กำรเรียนร กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ หน่วยย่อยท่ี ๑ รำยวิช ขอบเขตเนื้อหำ กจิ กรรมกำรเรียนรู้ (๔ ช่ัวโมง) ชัว่ โมงท่ี ๑ สงิ่ มีชีวิตมหี ลายชนิด ซง่ึ แตล่ ะชนิดมี ขั้นนำ ( ๕ นำที ) ลักษณะบางอย่างที่เหมือนกัน และ ๑. ครูให้นักเรียนเล่นเกมทายรูปว่าเป็นสิ่งม ลักษณะบางอย่างแตกต่างกัน ถ้าใช้การ เคลื่อนท่ีและการสร้างอาหารเป็นเกณฑ์ พืช และเห็ด อย่างละ ๒ รูป ซ่ึงเป็นท่ีรูป จะจาแนกส่ิงมีชีวิตได้เป็นกลุ่มพืชและ เราจาแนกสง่ิ มีชีวิตไดอ้ ย่างไร เช่น ลงิ ปล กลุ่มสัตว์ โดยกลุ่มพืชเป็นส่ิงมีชีวิตที่สรา้ ง ๒. ครตู ัง้ คาถามเกี่ยวการจาแนกสิ่งมชี วี ิตในร อาหารเองได้และเคล่ือนท่ีไม่ได้ ส่วนกลุ่ม ๒.๑ สิ่งมีชวี ิตทีน่ กั เรียนทายมอี ะไรบา้ ง (น สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้ ๒.๒ ถ้าใหน้ กั เรียนจดั กลุม่ สิง่ มีชวี ิตทั้ง ๖ และเคล่ือนที่ได้ นอกจากนี้ยังมีสิ่งมีชีวิต อ่ืน ๆ ที่ไม่อยู่ในกลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์ ใช้เกณฑ์อะไรในการจาแนกสิ่งมีชีวิต เพราะไม่สามารถเคล่ือนที่และไม่สามารถ ตนเอง) สรา้ งอาหารเองได้ ๒.๓ เกณฑใ์ นการจาแนกหมายความวา่ อ ข้นั สอน ( ๔๕ นำที ) ๓. ครูและนักเรียนร่วมกันอ่านช่ือกิจกรรม สิ่งมีชีวิตได้อย่างไร ข้อ ๑ หน้า ๓ จากน สงิ่ มีชวี ติ ทีอ่ ยู่ในตารางในใบงาน ๐๑ การ

ร้ทู ี่ ๑.๑ กำรจำแนกสิง่ มีชวี ติ ๒๘ ๑ กำรจำแนกส่ิงมชี ีวติ ชำวทิ ยำศำสตร์ เวลำ ๔ ช่วั โมง ชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๔ สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ บัตรภาพสิ่งมีชีวิต มีชีวิตอะไร โดยครูนารูปของส่ิงมีชีวิตทั้งที่เป็นสัตว์ ภำระงำน / ช้ินงำน ปที่ไม่ซ้ากับบัตรภาพส่ิงมีชีวิตที่อยู่ในกิจกรรมที่ ๑ ๑. การทากิจกรรมตามใบงาน ลาฉลาม ตน้ มะพร้าว เห็ดฟาง มะนาว ๒. การบนั ทึกผลการทากจิ กรรม รปู โดยอาจใชค้ าถามดังนี้ ในใบงาน นักเรยี นตอบตามรูปทีค่ รนู ามาเล่นเกม) ๓. การจัดกลมุ่ สงิ่ มชี ีวติ ๖ ชนิดน้ี นกั เรียนจะจัดส่ิงมีชวี ิตอะไรไว้ด้วยกันและ ๔. การทาแบบฝึกหดั ตออกเป็นกลุ่ม (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ อยา่ งไร (สิง่ ท่ีใชใ้ นการพจิ ารณาเพือ่ จัดกล่มุ ) ม จุดประสงค์ และวิธีทากิจกรรมที่ ๑ เราจาแนก น้ันอภิปรายเพื่อทาความเข้าใจลักษณะต่าง ๆ ของ รจาแนกสิ่งมชี ีวิต

แผนกำรจดั กำรเรยี นร้ทู หนว่ ยกำรเรยี นรูท้ ี่ ๑ กำรจำแนกส่งิ มีชวี ติ รอบตัว หนว่ ยยอ่ ยที่ ๑ กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ทิ ยำศำสตร์ รำยวิช ๒ จุดประสงคด์ ำ้ นควำมรู้ ๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มได้รับบัตรภาพส่ิงมีช ๑. รวบรวมขอ้ มูลและเปรียบเทยี บ อภปิ ราย และบนั ทึกลงในใบงาน ๐๑ การ ลกั ษณะของสิง่ มีชีวิต ๕. ครูสุ่มนักเรียนนาเสนอผลการบันทึกตา ๒. จาแนกสง่ิ มชี ีวิตออกเปน็ กลุ่ม ถูกต้องในส่ิงที่นักเรียนบันทึก ครูอาจเ โดยใชก้ ารเคลื่อนที่และการสรา้ ง กระดาน เพือ่ ใหน้ ักเรยี นได้เหน็ รว่ มกนั อาหารเปน็ เกณฑ์ ขัน้ สรุป ( ๑๐ นำที ) จดุ ประสงคด์ ำ้ นทักษะกระบวนกำรทำง ๖. นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปเกีย่ วกับลกั ษ วทิ ยำศำสตร์ ชว่ั โมงท่ี ๒ ๑. การสังเกต ข้นั นำ ( ๕ นำที ) ๒. การจาแนกประเภท ๗. ครูชวนนักเรียนทบทวนเก่ียวกับลักษณะ ๓. การลงความเห็นจากข้อมูล ๐๑ แล้วตั้งคาถามว่า เห็ดและรามีลักษณ ตนเอง) ข้ันสอน ( ๔๕ นำที ) ๘. ครูให้นักเรียนอ่านวิธีการทากิจกรรมที่ ๑ ขนั้ ตอนการทากจิ กรรม ๙. นักเรยี นรว่ มกนั อ่านใบความรู้เรื่องเห็ดแล บันทกึ ผลเพิ่มเติมลงในตาราง

๒๙ ท่ี ๑.๑ กำรจำแนกส่งิ มีชีวติ เวลำ ๔ ชว่ั โมง ๑ กำรจำแนกส่งิ มชี ีวติ ชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๔ ชำวทิ ยำศำสตร์ ชีวิต ช่วยกันสังเกตลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต วธิ กี ำรประเมนิ รจาแนกสิ่งมชี วี ิต หน้า ๗ ามใบงาน ๐๑ โดยครูรับฟังและตรวจสอบความ ๑. การตอบคาถามในใบงาน เขียนตาราง ลักษณะของส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ไว้บน ๒. สงั เกตทกั ษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ในการทากิจกรรม ษณะต่าง ๆ ของสง่ิ มชี วี ิตแต่ละชนดิ ๓. สังเกตดา้ นคุณธรรมขณะทากจิ กรรม เกณฑ์กำรประเมนิ ะของเห็ดและราที่ได้บันทึกไว้ในตารางตามใบงาน ๑. การตอบคาถามในใบงานถูกตอ้ งด้วย ณะอะไรอีกบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง - มากกว่า ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ต่ากวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ๑ ข้อ ๒ ๓ ๔ และ ๕ หน้า ๓ และทาความเข้าใจ ละรา จากนน้ั อภิปรายลักษณะของเห็ดและราและ

หนว่ ยกำรเรยี นรูท้ ี่ ๑ กำรจำแนกสิ่งมชี วี ติ รอบตวั แผนกำรจดั กำรเรียนรูท้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ หนว่ ยยอ่ ยที่ ๑ รำยวิชำว จุดประสงคด์ ้ำนคณุ ธรรม ๑๐. ครูอภปิ รายเกยี่ วกับลกั ษณะของส่ิงมชี ีวิตต ๑. มีความม่งุ มั่นในการทางาน ๑๐.๑ เห็ดและราเป็นมีลักษณะใดบ้าง ๒. มคี วามสามคั คี ชว่ ยเหลือใน สง่ิ มีชวี ิตอ่ืนได้ แต่จะย่อยสลายซากสง่ิ และสบื พันธ์ุเพิ่มจานวนได้ ) การทางานกลุม่ รว่ มกัน ๑๐.๒ สิ่งมีชีวติ ใดบา้ งทีส่ รา้ งอาหารเอ ๓. มคี วามซอ่ื สตั ย์ตอ่ ตนเอง ๑๐.๓ สงิ่ มีชีวิตใดบา้ งท่ีกนิ สิง่ มีชวี ติ อนื่ ๑๐.๔ สง่ิ มชี ีวิตใดบ้างทีเ่ คล่อื นไหวได้ ( ๑๐.๕ สิ่งมชี วี ติ ใดบ้างที่เคล่ือนท่ไี ด้ (คา ๑๐.๖ ส่ิงมีชีวติ ใดบ้างท่ีเคล่ือนทไี่ ม่ได้ ๑๐.๗ ส่ิงมีชีวิตใดบ้างที่หายใจได้ (ทุกช ๑๐.๘ สิ่งมีชีวติ ใดบา้ งทเี่ จริญเติบโตได ๑๐.๙ สิง่ มชี วี ติ ใดบา้ งท่ีสบื พนั ธ์ไุ ด้ (ทกุ ๑๐.๑๐ ลักษณะอน่ื ๆ ท่ีพบเพ่ิมเตมิ ม ตอบตามทบ่ี ันทึกไว้) ข้ันสรุป ( ๑๐ นำที ) ๑๑. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรปุ เกี่ยวกบั ลักษณ

๓๐ ท่ี ๑.๑ กำรจำแนกส่ิงมีชวี ิต เวลำ ๔ ช่วั โมง กำรจำแนกสง่ิ มีชีวิต ชนั้ ประถมศึกษำปที ี่ ๔ วทิ ยำศำสตร์ ต่าง ๆ โดยใช้คาถามดังตอ่ ไปน้ี ๒. มีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ง (เหด็ และราไมส่ ามารถอาหารเองได้หรอื กนิ ขณะทากจิ กรรม งมีชีวิต เคลอ่ื นท่ีไม่ได้ หายใจ เจริญเติบโต - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน องได้ (กหุ ลาบ ขา้ ว ปรง) - ตา่ กว่า ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน น (คางคก ปลา คน งู ไก่ มา้ ปู) ๓. มคี ุณลกั ษณะดา้ นคณุ ธรรม (ทุกชนดิ ) - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน างคก ปลา คน งู ไก่ ม้า ป)ู - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน (เห็ด รา กหุ ลาบ ข้าว ปรง) - ต่ากว่า ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ชนิด) ด้ (ทุกชนิด) กชนดิ ) มีอะไรบ้าง และพบในส่ิงมีชีวิตชนิดใด (นักเรยี น ณะต่าง ๆ ของสงิ่ มชี ีวติ อกี ครั้ง

หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ กำรจำแนกส่งิ มีชวี ติ รอบตัว แผนกำรจัดกำรเรยี นรทู้ ี่ กลุ่มสำระกำรเรียนรูว้ ิทยำศำสตร์ หน่วยย่อยท่ี ๑ รำยวิชำว ช่วั โมงท่ี ๓ ขัน้ นำ ( ๕ นำที ) ๑๒. ครูยกสถานการณ์ว่าพบสิ่งมีชีวิตชนิดหน่ึง ไดว้ ิเคราะหว์ ่าเหมอื นสิ่งมีชีวติ ชนิดใดตามท ขน้ั สอน ( ๔๕ นำที ) ๑๓. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายความหม การจาแนกส่ิงมีชีวิตเพื่อให้นักเรียนเข้าใจ ตาราง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่นักเ เกณฑใ์ นการจดั กลุ่มส่ิงมชี วี ติ และจัดกลมุ่ ส ๑๔. นักเรียนเตรียมนาเสนอผลการจัดกลุ่มในร ชว่ ยในการนาเสนอเพ่อื นามาเสนอในช่วั โม ขนั้ สรุป ( ๑๐ นำที ) ๑๕. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปเกยี่ วกับเกณฑท์ ถกู ตอ้ งในการจาแนกสิ่งมชี ีวติ ตามเกณฑ์ทก่ี ชั่วโมงท่ี ๔ ขั้นนำ ( ๕ นำที ) ๑๖. ครทู บทวนเกี่ยวกับลักษณะของสง่ิ มชี ีวิต

๑.๑ กำรจำแนกสงิ่ มีชวี ิต ๓๑ กำรจำแนกสงิ่ มชี ีวติ วทิ ยำศำสตร์ เวลำ ๔ ช่วั โมง ช้ันประถมศกึ ษำปีที่ ๔ งท่ีไม่รู้จัก แล้วบอกลักษณะต่าง ๆ ให้นักเรียน ท่ีได้เรยี นมาแลว้ มายของเกณฑ์ในการจาแนกและยกตัวอย่าง จ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายข้อมูลใน เรียนได้บันทึกไว้ และคอยแนะนาการกาหนด สง่ิ มีชวี ติ ตามเกณฑ์ของกลมุ่ รูปแบบที่นา่ สนใจ โดยอาจใช้โปรแกรมประยกุ ต์ มงถัดไป ทใี่ ชใ้ นการจาแนกสิ่งมีชีวติ และตรวจสอบความ กลมุ่ กาหนด

หนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ ๑ กำรจำแนกส่งิ มีชวี ติ รอบตัว แผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตร์ หน่วยยอ่ ยที่ รำยว ข้นั สอน (๔๕ นำที ) ๑๗. นักเรียนแตล่ ะกล่มุ นาเสนอผลการจาแนกส ๑๘. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายผลการจาแ ๑๘.๑ ผลการจาแนกสิง่ มีชวี ติ ออกเปน็ กล ใด (นักเรียนตอบตามที่ทากิจกรร ในการจาแนก) ๑๘.๒ นอกจากเกณฑ์ที่กลุ่มกาหนดแล เกณฑ์ร่วมกัน จะจาแนกสิ่งมีชีวิต ความเขา้ ใจ) ๑๙. ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภิปรายโดยใชค้ าถ ๑๙.๑ เม่ือใช้การเคล่ือนท่ีและการสร้างอ อย่างไร (ผลการจาแนกเป็นกลุ่มได แต่สรา้ งอาหารเองได้ กลมุ่ สัตว์เป็น กลุ่มทไ่ี มใ่ ช่พชื และสตั ว์ เป็นกลุ่มทีไ่ ๑๙.๒ สง่ิ มชี ีวติ ที่อยใู่ นแต่ละกลุ่มมีอะไรบ้า คางคก ปลา คน งู ไก่ ม้า ปู กลมุ่ ท ๒๐. ครูให้ความรู้กับนักเรียนเพ่ิมเติมเกี่ยวกับแ ชวี ติ ประจาวนั ท้ังในอาหาร อากาศ นา้ หร

ที่ ๑.๑ กำรจำแนกส่ิงมชี วี ติ ๓๒ ๑ กำรจำแนกสิ่งมชี ีวติ วิชำวทิ ยำศำสตร์ เวลำ ๔ ชั่วโมง ช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๔ ส่งิ มีชวี ติ ตามเกณฑท์ ่กี ลุ่มกาหนด แนกสงิ่ มีชีวติ โดยครูใชค้ าถามดังต่อไปน้ี ลุ่มของแตล่ ะกลุ่มเหมอื นกนั หรือไม่ เพราะเหตุ รม เช่น ไม่เหมือนกัน เพราะข้ึนอยู่กับเกณฑ์ท่ีใช้ ล้ว ถ้าใช้การเคล่ือนท่ีและการสร้างอาหารเป็น ตออกเป็นกี่กลุ่ม อะไรบ้าง (นักเรียนตอบตาม ถามดงั ตอ่ ไปน้ี อาหารเป็นเกณฑ์ร่วมกัน ได้ผลการจาแนกเป็น ด้ ๓ กลุ่ม คือ กลุ่มพืช เป็นกลุ่มที่เคล่ือนที่ไม่ได้ นกลุ่มทส่ี รา้ งอาหารเองไม่ได้และเคล่ือนท่ีได้ และ ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้และสรา้ งอาหารเองไมไ่ ด้) าง (กลุ่มพืช ได้แก่ กหุ ลาบ ขา้ ว กลมุ่ สตั ว์ ได้แก่ ท่ีไมใ่ ชพ่ ชื และสัตว์ ได้แก่ เห็ด รา) แบคทีเรียว่าเป็นสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหน่ึงท่ีพบได้ใน รอื ในร่างกายของคน สตั ว์ พืช ซงึ่ มขี นาดเล็ก

หนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ ๑ กำรจำแนกสง่ิ มีชวี ติ รอบตวั แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ทิ ยำศำสตร์ หน่วยยอ่ ยที่ ๑ รำยวิชำ มากมองด้วยตาเปล่าไม่เหน็ แบคทเี รียบาง สรา้ งอาหารเองไมไ่ ด้และเคล่ือนท่ีได้ ๒๑. ครูให้นักเรียนพิจารณาว่าควรจัดแบคท และสัตว์ คาตอบที่ถูกคือ แบคทีเรียจัดอ บางชนิดจะสรา้ งอาหารเองได้เหมือนกลุ่ม ในกลมุ่ พชื นอกจากนแี้ บคทเี รยี นบางชน กลุ่มสัตว์ ซ่ึงถ้านักเรียนได้เรยี นในระดับ อืน่ ๆ อีกทไ่ี มส่ ามารถจดั อยใู่ นกลมุ่ สัตวไ์ ๒๒. นักเรยี นตอบคาถามหลังจากทากิจกรรมห ขั้นสรปุ ( ๑๐ นำที ) ๒๓. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปได้ว่าสิ่งมีชีวิต เหมอื นกนั และลกั ษณะบางอย่างแตกต่า เกณฑร์ ่วมกัน จะจาแนกสิง่ มีชีวิตได้เป็น สร้างอาหารเองได้และเคล่ือนที่ไม่ได้ ส และเคลื่อนที่ได้ นอกจากน้ียังมีสิ่งมีชีว เคล่อื นทีไ่ มไ่ ด้และสร้างอาหารเองไม่ได้หร ๒๔. ครูให้นักเรยี นทาใบงาน ๐๒ แบบฝกึ หดั เร

๑.๑ กำรจำแนกสิง่ มีชีวติ ๓๓ กำรจำแนกสิง่ มีชีวติ ำวิทยำศำสตร์ เวลำ ๔ ช่วั โมง ช้ันประถมศึกษำปีที่ ๔ งชนิดสรา้ งอาหารเองได้ และเคล่ือนที่ได้ บางชนิด ทีเรียไว้ในกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ หรือ กลุ่มท่ีไม่ใช่พืช อยู่ในกลุ่มไม่ใช่พืชและสัตว์ ถึงแม้ว่าแบคทีเรีย มพชื แต่แบคทเี รียก็เคล่ือนท่ีได้ ดงั น้ันจงึ ไมจ่ ัดอยู่ นิดสร้างอาหารเองไม่ได้และเคลอื่ นท่ีได้เหมอื นกับ บชนั้ ท่ีสูงขึ้น แบคทีเรียไม่ใช่สัตว์ เพราะมีลักษณะ ได้ หน้า ๑๐ ตมีหลายชนิด ซ่ึงแต่ละชนิดมีลักษณะบางอย่างท่ี างกัน ถา้ ใช้การเคล่อื นท่ีและการสร้างอาหารเป็น นกลุ่มพชื และกลุ่มสัตว์ โดยกลุม่ พชื เปน็ สิ่งมีชีวิตท่ี ส่วนกลุ่มสัตว์เป็นส่ิงมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้ วิตอื่น ๆ ที่ไม่อยู่ในกลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์ เพราะ รือเคล่ือนที่ไดแ้ ละสรา้ งอาหารเองได้ รอื่ งการจดั กล่มุ สง่ิ มีชีวติ หนา้ ๑๑-๑๒

๓๔ แบบประเมินด้ำนคุณธรรม แผนกำรจดั กำรเรียนร้ทู ่ี ๑.๑ กำรจำแนกส่ิงมชี วี ติ ชอ่ื ผ้ปู ระเมิน/กลุ่มประเมนิ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ชอื่ กลุ่มรบั กำรประเมิน……………………………………………………………………………………………………………………. ประเมนิ ผลครัง้ ท…ี่ ……………….... วนั ……………..……... เดอื น ………..……….…. พ.ศ. ……...….…………........... เรื่อง………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ที่ ลกั ษณะ/พฤติกรรมบง่ ช้ี ระดบั พฤติกรรม คะแนนทไี่ ด้ เกดิ = ๑ ไม่เกิด = 0 ๑. มคี วามมงุ่ ม่ันในการทางาน ๒. มคี วามสามัคคี ชว่ ยเหลอื ในการทางานกล่มุ รว่ มกัน ๓. มคี วามซื่อสตั ยต์ ่อตนเอง รวมคะแนนทไี่ ดท้ ้งั หมด = …………… คะแนน คณุ ลักษณะตามจุดประสงค์ด้านคณุ ธรรม - มากกว่า ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ต่ากวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน

๓๕ แบบประเมนิ ดำ้ นทกั ษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ในกำรทำกิจกรรม แผนกำรจดั กำรเรยี นร้ทู ่ี ๑.๑ กำรจำแนกสิง่ มชี วี ติ เกณฑ์การประเมนิ มีดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถงึ พอใช้ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ส่ิงท่ีประเมิน คะแนน การสังเกต การจาแนกประเภท การลงความเห็นจากข้อมลู รวมคะแนน เกณฑก์ ำรประเมิน ทักษะกระบวนกำร ระดบั ควำมสำมำรถ ทำงวิทยำศำสตร์ ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรับปรุง (๑) การสงั เกต ใช้ตาในการรวบรวมข้อมูล ใช้ตาในการรวบรวมข้อมูล ไม่สำมำรถใช้ตาในการ เก่ียวกับลักษณะต่าง ๆ ของ เกี่ยวกับลักษณะต่าง ๆ ของ รว บรว มข้อมูลเกี่ ย ว กั บ สิ่งมีชีวิตได้ โดยไม่เพ่ิมเติม สิ่งมีชีวิตได้ โดยกำรชี้แนะ ลักษณะต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิต ความคิดเห็นเพ่ิมเติมได้ด้วย ของครหู รือผูอ้ น่ื ได้ ถงึ แม้จะไดร้ ับคาแนะนา ตนเอง จากครหู รือผอู้ นื่ การจาแนกประเภท รวบรวมข้อมูลแล้วกาหนด รวบรวมข้อมูลแล้วกาหนด รวบรวมข้อมูลแล้วกาหนด เกณฑ์ในการจาแนกส่ิงมีชีวิต เ ก ณ ฑ์ ใ น ก า ร จ า แ น ก เ ก ณ ฑ์ ใ น ก า ร จ า แ น ก ออกเป็นกลุ่มและจัด กลุ่ม สิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มและ ส่ิงมีชีวิตออกเป็นกลุ่มและ ส่งิ มีชวี ติ ได้ถูกต้องดว้ ยตนเอง จดั กลมุ่ สง่ิ มีชวี ิตไดถ้ ูกตอ้ ง จัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตได้ถูกต้อง โดยกำรชี้แนะของครูหรือ ถงึ แม้จะได้รับคาแนะนาจาก ผอู้ ่ืน ครูหรือผอู้ ่ืน การลงความเห็นจาก เพิ่มเติมความคิดเห็นเกี่ยวกับ เ พิ่ ม เ ติ ม ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ไม่สำมำรถเพ่ิมเติมความ ข้อมลู ลักษณะของส่ิงมีชีวิตได้อย่างมี เ กี่ ย ว กั บ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง คิดเห็นลักษณะของสิ่งมีชีวิต เ ห ตุ ผ ล จ า ก ค ว า ม รู้ ห รื อ ส่ิงมีชีวิตได้อย่างมีเหตุผล ได้อย่างมีเหตุผล ถึงแม้จะ ประสบการณ์เดิมไ ด้ ด้ ว ย โดยอำศัยคำแนะนำของครู ได้รับคาแนะนาจากครูหรือ ตวั เอง หรือผูอ้ นื่ ผ้อู ่ืน

๓๖ เฉลยใบงำน น้ำ/บก น้ำ บก บก น้ำ/บก บก บก บก บก บก บก น้ำ/บก

๓๗ กำรเคล่ือนที่ ๒ กลมุ่ เคล่อื นท่ีไมไ่ ด้ กุหลำบ ข้ำว ปรง เห็ด รำ เคล่ือนทไ่ี ด้ คำงคก ปลำ คน งู ไก่ ม้ำ ปู หมำยเหตุ : เกณฑ์ที่ใชส้ ำมำรถแตกตำ่ งจำกเกณฑ์นี้ได้ขนึ้ อยู่กับกลุ่มกำหนด

๓๘ ๓ เคลอื่ นท่ไี มไ่ ด้และสรำ้ งอำหำรเองได้ กุหลำบ ข้ำว ปรง เคลอ่ื นทไี่ ดแ้ ละสร้ำงอำหำรเองไม่ได้ คำงคก ปลำ คน งู ไก่ ม้ำ ปู เคลอื่ นทีไ่ มไ่ ดแ้ ละสรำ้ งอำหำรเองไม่ได้ เหด็ รำ

๓๙ อำจเหมือนกนั หรือแตกต่ำงกันข้ึนอยู่กับเกณฑท์ ใ่ี ช้ ๓ กล่มุ คือ กล่มุ พชื กลมุ่ สัตว์ และกลุ่มไมใ่ ช่พชื และสัตว์ กลมุ่ พืช เคลือ่ นท่ีไมไ่ ด้ และสรำ้ งอำหำรเองได้ กลมุ่ สัตว์ เคลื่อนทีไ่ ด้ และสร้ำงอำหำรเองไมไ่ ด้ กล่มุ ไมใ่ ช่พชื และสัตว์ เคล่ือนที่ไมไ่ ดแ้ ละสร้ำงอำหำรเองไม่ได้ เรำสำมำรถจำแนกกลมุ่ ส่ิงมีชีวติ ไดโ้ ดยใช้เกณฑก์ ำรเคล่ือนที่และ กำรสรำ้ งอำหำรเป็นเกณฑ์ร่วมกัน ออกเปน็ ๓ กลมุ่ คือ ๑. กลมุ่ พชื เคล่ือนท่ไี ม่ได้ แต่สรำ้ งอำหำรเองได้ ๒. กล่มุ สัตว์ เคลื่อนทไ่ี ด้ แตส่ รำ้ งอำหำรเองไม่ได้ ๓. กลุ่มไม่ใชพ่ ืชและสัตว์ เคลอ่ื นทไ่ี ม่ได้และสรำ้ งอำหำรเองไมไ่ ด้ หรือเคลอ่ื นท่ไี ด้ แต่สร้ำง อำหำรเองได้

๔๐

๔๑ ๔ เขม็ บัว มอส เฟิน กำรเคลื่อนท่ีไม่ได้และสร้ำงอำหำรเองได้ วำฬ นก หอยทำก สิงโต ม้ำนำ้ กบ มด ก้งิ กำ่ ปะกำรงั เคลือ่ นที่ได้และสร้ำงอำหำรเองไมไ่ ด้ เห็ด รำ เคลื่อนทไ่ี ม่ได้และสรำ้ งอำหำรเองไมไ่ ด้ แบคทเี รีย เคลื่อนท่ไี ด้และสร้ำงอำหำรเองได้

๔๒ กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ คำชีแ้ จงประกอบแผนจัดกำรเรียนรู้ หน่วยกำรเรียนรทู้ ่ี ๑ แผนกำรจดั กำรเรยี นรูท้ ่ี ๑.๒ กำรจำแนกสตั ว์ เวลำ ๕ ช่วั โมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. สำระสำคัญของแผน นักวิทยาศาสตร์จาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ และจาแนกสัตว์มี กระดกู สันหลงั ออกเป็นกลมุ่ ตา่ ง ๆ ตามลกั ษณะเฉพาะทสี่ ังเกตได้ ๒. ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติมในกำรนำไปใช้ (ให้ระบุสิง่ ท่ีต้องกำรเนน้ หรอื ขอ้ สงั เกต ข้อเสนอแนะ คำแนะนำ) ในเรื่องตอ่ ไปน้ี คอื ๒.๑ ขอบขำ่ ยเนอ้ื หำ เราสามารถจาแนกสัตว์ออกเป็น ๒ กลุ่มโดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ได้เป็นกลุ่มสัตว์มี กระดูกสันหลังและกลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง กระดูกสันหลังมีลักษณะเป็นข้อ ๆ เรียงต่อกันทอด เปน็ แนวยาวไปตามลาตัว สตั ว์มกี ระดูกสันหลังจาแนกได้เป็น ๕ กล่มุ ได้แก่ ๑) กล่มุ ปลา ๒) กลุ่มสัตวส์ ะเทนิ น้าสะเทนิ บก ๓) กลุ่มสัตว์เล้ือยคลาน ๔) กลุ่มนก และ ๕) กลุ่มสัตว์เล้ียงลูกด้วยน้านม โดยแต่ละกลุ่มจะมีลักษณะ เฉพาะทสี่ ังเกตไดเ้ ก่ยี วกบั ลกั ษณะของผวิ หนงั ส่วนทใ่ี ชใ้ นการเคลื่อนที่ การออกลูก การวางไขแ่ ละ การ เล้ยี งลูก ๒.๒ จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ (ควำมรู้ ทกั ษะ คณุ ธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม) (ถ้ำม)ี จุดประสงคด์ ้ำนควำมรู้ ๑. อธิบายการจาแนกกลมุ่ สตั วโ์ ดยใช้เกณฑ์ท่ีกาหนดข้ึนเองและเกณฑ์การมีกระดูกสันหลัง ๒. อธิบายการจาแนกสัตว์มีกระดกู สนั หลังออกเป็น ๕ กลุ่ม จากลกั ษณะเฉพาะทีส่ ังเกตได้ จุดประสงคด์ ้ำนทักษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์ ๑. การสังเกต ๒. การจาแนกประเภท ๓. การจัดกระทาและสอ่ื ความหมายข้อมลู ๔. การลงความเห็นจากข้อมูล จดุ ประสงคด์ ้ำนคณุ ธรรม ๑. มคี วามม่งุ ม่นั ในการทางาน ๒. ซอ่ื สตั ย์ตอ่ ตนเอง ๓. ใฝเ่ รียนรู้ ๔. มคี วามมามัคคี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook