จติ รกรรมฝพี ระหตั ถ์ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ภูมพิ ลอดลุ ยเดช กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๗
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ภูมพิ ลอดุลยเดชทรงผนวช พ.ศ. ๒๔๙๙
ด้วยส�ำ นึกในพระมหากรณุ าธิคณุ ท่ีพระราชทานบรมราชานญุ าต ใหเ้ ชิญภาพถา่ ยจติ รกรรมฝีพระหัตถ์เปน็ ภาพปก และภาพน�ำ ในหนังสือ “พระมหากษัตรยิ ์ไทยกับพระพทุ ธศาสนา” คุณประโยชน์อันเกิดจากหนงั สอื นี้ ขอนอ้ มเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย เปน็ พระราชกุศลแด่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั
Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน
สารบญั หนา้ ๓ ดว้ ยสำ�นกึ ในพระมหากรณุ าธิคณุ หน้า ๖ สารจากผรู้ เิ รม่ิ หนา้ ๘ ค�ำ นำ�ของผู้เขียน หน้า ๑๒ บทนำ� หน้า ๒๒ บทที่ ๑ กำ�เนดิ พระพทุ ธศาสนาในชมพูทวีป หน้า ๓๖ บทที่ ๒ การหลงั่ ไหลของพระพทุ ธศาสนาจากอนิ เดยี สู่ดนิ แดนท่ีเปน็ ประเทศไทยในปจั จบุ ัน หนา้ ๖๐ บทท่ี ๓ พระมหากษตั ริยส์ โุ ขทัยและล้านนา กับความรุ่งเรืองของพระพทุ ธศาสนาลงั กาวงศ์ หนา้ ๙๔ บทที่ ๔ พระมหากษตั ริย์แห่งกรุงศรอี ยุธยา กับความรุง่ โรจนข์ องอารยธรรมพระพุทธศาสนา หน้า ๑๓๒ บทที่ ๕ สมเด็จพระเจา้ กรุงธนบรุ ี กบั การฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในสยามประเทศ หนา้ ๑๔๘ บทที่ ๖ พระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรวี งศ์ กบั การอปุ ถัมภ์พระพุทธศาสนา หนา้ ๒๑๔ บทท่ี ๗ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพติ ร กบั ความเปน็ พทุ ธศาสนูปถัมภก หนา้ ๒๗๗ บทส่งท้าย หนา้ ๒๙๒ บรรณานกุ รม หน้า ๒๙๖ สารขอบคณุ
สารจากผรู้ ิเร่มิ หลายปีมาแล้ว ผมมีโอกาสไปเยือนถ้�ำอชันตา (Ajanta Cave) และถ�้ำเอลโลรา (Ellora Cave) เมอื งออรงั คบาด (Aurangabad) รฐั มหาราษฏระ (Maharashtra) ทางตะวนั ตก ของประเทศอินเดีย ซึ่งเคยเป็นที่ประกอบศาสนกิจในพระพุทธศาสนาเม่ือสมัย ๒๐๐ ปี ก่อนคริสตกาล เเละศตวรรษที่ ๑๐ - ๑๒ ตามลําดับ ผมได้เห็นร่องรอยของความเจริญ ของพระพุทธศาสนาในยุคสมัยน้ันๆ สะท้อนอยู่ในงานศิลปะและการก่อสร้าง ซ่ึงเกิดจาก ความศรทั ธาอันแรงกล้า ตลอดจนความทุ่มเทท้ังก�ำลงั กายและก�ำลังใจอย่างใหญ่หลวงของ ผู้สร้างในยุคนั้น ผมรู้สึกฉงนใจว่า เพราะเหตุใดพระพุทธศาสนาซึ่งถือก�ำเนิดเจริญรุ่งเรือง อยู่ในประเทศอินเดีย และเผยแผ่ไปยังประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชีย ต้ังเเต่ประเทศจีน เกาหลี ญ่ปี ่นุ เวยี ดนาม พม่า ศรีลงั กา ลาว กัมพชู า และทสี่ ุดพระพทุ ธศาสนาโดยเฉพาะ นิกายเถรวาทจึงมาเจริญรุ่งเรืองท่ีสุดในประเทศไทย โดยประชากรกว่าร้อยละ ๙๐ เป็น พุทธศาสนิกชน มีวดั กวา่ ๔๐,๐๐๐ แหง่ และพระภิกษสุ งฆ์กว่า ๒๐๐,๐๐๐ รปู โดยส่วนตัวผมเช่ือว่า ความเจริญดังกล่าวเกิดจากแรงบันดาลใจและศรัทธา อันล้นพ้นของคนไทยต่อพระพุทธศาสนา อันก่อก�ำเนิดจากการที่ผู้น�ำสูงสุดของประเทศ คือ พระมหากษัตริย์ ทรงปฏิบัติพระองค์ด้านการท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง และตอ่ เนือ่ งมาเปน็ ระยะเวลากว่า ๗๐๐ ปี นบั แตพ่ อ่ ขุนรามค�ำแหงมหาราช จนถึงรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชในปัจจุบัน ความเคารพรักและศรัทธาของ ประชาชนตอ่ สองสถาบนั หลกั ของประเทศน้ี หลอ่ หลอมเปน็ เอกภาพ น�ำมาซงึ่ แรงบนั ดาลใจ ทยี่ ง่ิ ใหญ่ อนั เปน็ พนื้ ฐานท�ำใหเ้ กดิ ความเจรญิ อยา่ งมน่ั คงของพระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย มิใช่แต่ในด้านวัตถุ คือการสร้างวัดวาอารามและพุทธศิลป์ต่างๆ เท่านั้น แต่ในด้านจิตใจ ทศั นคติ ปรัชญา และวิถชี ีวิตของคนไทยดว้ ย เมอ่ื กลางปี ๒๕๕๔ ผมไดม้ โี อกาสพบ พลตรี ม.ร.ว. ศภุ วฒั ย์ เกษมศรี นกั ประวตั ศิ าสตร์ ทส่ี �ำคญั ทสี่ ดุ ทา่ นหนงึ่ ของประเทศไทย ซงึ่ ทา่ นไดใ้ หข้ อ้ คดิ ในการท�ำงานคน้ ควา้ วจิ ยั อนั อาจ จะตอบค�ำถามทผ่ี มมอี ยอู่ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมและถอ่ งแทไ้ ด้ และผมไดถ้ า่ ยทอดแนวทางดงั กลา่ ว
ให้กับผู้ที่มาท�ำการศึกษาวิเคราะห์จนเป็นหนังสือที่อยู่ในมือท่านในขณะน้ี เเละเพ่ือให้ งานศึกษาวิจัยน้ีมีความสมบูรณ์ที่สุด ผมจึงได้ขอความร่วมมือจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่างๆ ช่วยพิจารณา ให้ค�ำแนะน�ำ และปรับปรุงแก้ไข ก่อนจะด�ำเนินการจัดพิมพ์เผยแพร่ เปน็ วทิ ยาทานแกส่ าธารณชนตอ่ ไป นอกจากนผ้ี มยงั ไดร้ บั การสนบั สนนุ ดา้ นการพมิ พเ์ ผยแพร่ หนังสือนีจ้ ากองคก์ รและหนว่ ยงานตา่ งๆ หลายองค์กร ซึง่ ยินดีและตอบรับตามทผี่ มร้องขอ ผมหวงั อยา่ งยงิ่ วา่ หนงั สอื “พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยกบั พระพทุ ธศาสนา” จะเปน็ ประโยชน์ แกผ่ อู้ า่ น และท�ำใหเ้ หน็ เหตผุ ลของความส�ำคญั ทคี่ นไทยจะตอ้ งชว่ ยกนั ด�ำรงไวซ้ งึ่ ความศรทั ธา และจงรักภักดีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยให้คงอยู่ คสู่ งั คมไทย อกี ทง้ั ชว่ ยเพมิ่ พนู ศรทั ธาและความมงุ่ มน่ั ในการจรรโลงพระพทุ ธศาสนาใหม้ น่ั คง สืบไป เนื่องจากท้ังสองสถาบันน้ีประกอบกันเป็นจิตวิญญาณของคนไทยและของประเทศ ท�ำใหป้ ระเทศไทยมีเอกลักษณพ์ ิเศษ อนั เปน็ ทีช่ ่นื ชมของประชาชนในชาติอื่นๆ ตลอดมา (อ�ำนวย วีรวรรณ) เมษายน ๒๕๕๕
ค�ำ นำ�ของผูเ้ ขียน ในราวกลางปี ๒๕๕๔ ทา่ นอดีตรองนายกรัฐมนตรี ดร. อำ�นวย วีรวรรณ ไดม้ ดี �ำ รวิ า่ ต้องการจัดทำ�หนังสือสารคดีที่มีเนื้อหาอันเก่ียวกับบทบาทของพระมหากษัตริย์ไทยกับ การอุปถัมภ์บ�ำ รุงพระพุทธศาสนา เพอื่ ตอบคำ�ถามท่ีว่า “เหตใุ ดพระพุทธศาสนาเถรวาทจึงมี ความรุง่ เรอื งไพบูลย์ที่สดุ ในประเทศไทย” ท่านอดีตรองนายกรัฐมนตรีได้มอบความไว้วางใจให้คุณพรพิมล กาญจนลักษณ์ และบริษัทอมรินทร์พร้ินต้ิงแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน) โดยคุณเมตตา อุทกะพันธ์ุ ผเู้ ป็นประธานกรรมการบรหิ าร รบั ผิดชอบการน้ี ตง้ั แต่การวางโครงเรื่องหนังสือ การค้นคว้า เรียบเรียง การจัดวางรูปเล่ม การจัดพิมพ์ ซึ่งบริษัทอมรินทร์ฯ ได้ปรารภกับข้าพเจ้าขอให้ เป็นผคู้ น้ คว้าเรยี บเรยี งหนังสือนี้ โดยทำ�งานประสานกนั กบั คณะทำ�งานจากบริษทั อมรนิ ทร์ฯ และนำ�เนื้อหางานวิจัยท่ีจัดทำ�โดยทีมงานของ ม.ร.ว. ศุภวัฒย์ เกษมศรี มาประกอบ การเรยี บเรยี งหนงั สอื เลม่ นีด้ ้วย การท่ีข้าพเจ้าเป็นผู้ศึกษาประวัติศาสตร์และประกอบอาชีพท่ีเกี่ยวข้องโดยตรงกับ วิชาประวตั ิศาสตร์ ทำ�ให้ข้าพเจ้าฉกุ คดิ ได้วา่ อันทจ่ี รงิ มีนกั วิชาการประวัติศาสตร์และผู้ศึกษา ประวัติศาสตร์ไทยเป็นจำ�นวนมาก ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ได้ค้นคว้าและเขียนเก่ียวกับ พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยในยคุ สมยั ตา่ งๆ ในการอปุ ถมั ภบ์ �ำ รงุ พระพทุ ธศาสนา ปรากฏเป็นขอ้ สนเทศในรปู แบบตา่ งๆ มากมาย ไมว่ ่าจะเป็นหนงั สือ ต�ำ รา งานวจิ ัย บทความ ทางวิชาการ บทสารคดี และข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ซ่ึงข้าพเจ้าสามารถนำ�มาอ้างอิงและ วิเคราะห์วพิ ากษข์ ้อมลู ต่อไปได้ อีกประการหนึ่งที่ข้าพเจ้าขอกล่าวไว้ ณ ท่ีน้ีคือ ข้าพเจ้ามีศรัทธาในความตั้งใจริเริ่ม ของ ดร. อำ�นวย วีรวรรณ ท่ีต้องการสนองพระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ผู้หนุนนำ�ธรรมะในพระพุทธศาสนามาสู่ปวงอาณาประชาราษฎร์ และข้าพเจ้ายังตระหนักถึง ศรัทธาของท่านที่ต้องการให้คนไทยได้เข้าใจถึงความเจริญรุ่งเรืองมั่นคงของชาติท่ีเกิดจาก
ความเขม้ แข็ง แขง็ แรงของสองสถาบนั หลัก คอื พระมหากษัตริย์และพระพุทธศาสนา อนั มีมา ตั้งแต่เราเริ่มรวมตัวกันเป็นประชารัฐ ข้าพเจ้าจึงมุ่งม่ันท่ีจะทำ�ให้ความตั้งใจของท่านเกิดเป็น ผลส�ำ เรจ็ ใหไ้ ด้ ในการค้นคว้าและเรียบเรียงหนังสือน้ี ข้าพเจ้าดำ�เนินตามนโยบายริเร่ิมของท่าน อดีตรองนายกรัฐมนตรีว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นหนังสือประเภทสารคดี ไม่ใช่งานวิจัยทาง วิชาการที่ยากและซับซ้อนสำ�หรับผู้อ่านท่ีมิได้อยู่ในแวดวงวิชาการ ดังน้ันรูปแบบการเขียน หนังสือนี้จึงไม่ดำ�เนินตามรูปแบบของงานทางวิชาการ แต่ยังคงแสดงแหล่งอ้างอิงข้อมูลไว้ ในรูปบรรณานกุ รมท้ายเลม่ เพ่อื ท่ผี สู้ นใจศึกษาประเดน็ ตา่ งๆ ในเชิงลึกจกั ได้ค้นควา้ ต่อไปได้ เม่ือข้าพเจ้าเริ่มการค้นคว้าข้อมูลและเรียบเรียงหนังสือน้ี ข้าพเจ้าค่อนข้างได้รับ ความสะดวกจากเหตุทีก่ ลา่ วแล้วข้างต้น คอื การทมี่ ผี ูค้ ้นคว้าและเรียบเรียงพระราชกรณยี กจิ ในการอปุ ถมั ภบ์ �ำ รงุ พระพทุ ธศาสนาของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยในยคุ สมยั ตา่ งๆ ไวเ้ ปน็ จ�ำ นวนมาก ซึ่งมีระดับความละเอียดและลึกซ้ึง รวมท้ังความเป็นงานทางวิชาการที่แตกต่างกันไป และ ข้าพเจ้าได้ค้นพบว่าแม้ข้อมูลเหล่านั้นจะมีความละเอียดหลากหลาย แต่มิได้มีเอกภาพคือ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน อันจะทำ�ให้เกิดเป็นข้อมูลอันมีพลังที่จะสร้างภาพรวมและมิติ ให้ผู้อ่านเข้าใจพัฒนาการในการอุปถัมภ์บำ�รุงพระพุทธศาสนาของพระมหากษัตริย์ไทยจาก อดีตสู่ปัจจุบันได้ เพราะข้อมูลท่ีค้นคว้าได้มากมายนั้น มีอยู่อย่างกระจัดกระจายและเน้น ไปท่ีพระมหากษัตริย์พระองค์ใดพระองค์หนึ่ง หรือยุคสมัยใดสมัยหน่ึงโดยเฉพาะเจาะจง นอกจากนนั้ บรรดานกั วชิ าการและผรู้ ทู้ ง้ั ทเี่ ปน็ พระสงฆแ์ ละฆราวาสตา่ งมลี กั ษณะการน�ำ เสนอ ขอ้ มูลที่แตกตา่ งกนั โดยเฉพาะทศั นคตแิ ละมุมมองที่แตกตา่ งกัน งานของขา้ พเจา้ จงึ เนน้ หนกั ไปทก่ี ารน�ำ เอาขอ้ มลู ทงั้ หลายทคี่ น้ ควา้ ไดน้ นั้ มา “จดั ระบบ” รวมทงั้ วิเคราะห์วพิ ากษ์ในเชิงวชิ าการ เพ่ือท�ำ ให้เหน็ มิตขิ องวิวัฒนาการของพระพทุ ธศาสนา เถรวาทในประเทศไทย และมิติของบทบาทในการอุปถัมภ์บำ�รุงพระพุทธศาสนาของ
พระมหากษัตริย์ไทยต่างยุคสมัย ตั้งแต่พระมหากษัตริย์สุโขทัย ล้านนา อยุธยา ธนบุรี และพระมหากษตั รยิ ์ในพระบรมราชจกั รวี งศ์ มาจนกระท่งั ถงึ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลปจั จบุ นั คณะทำ�งานมีมติเห็นพ้องให้กำ�หนดชื่อหนังสือนี้ว่า “พระมหากษัตริย์ไทยกับ พระพทุ ธศาสนา” เพอ่ื ยาํ้ ใหเ้ หน็ จดุ เนน้ หนกั ของเนอ้ื หาสารคดเี รอื่ งนี้ คอื เนน้ ความส�ำ คญั ของ บทบาทในมิติต่างๆ ของการอุปถัมภ์บำ�รุงพระพุทธศาสนาของพระมหากษัตริย์ไทย ในยคุ สมยั ตา่ งๆ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ บทบาทของความเปน็ “พทุ ธศาสนปู ถมั ภก” และ “มติ ติ า่ งๆ” ของการอุปถัมภ์บำ�รุงพระพุทธศาสนา ได้แก่ การบำ�รุงศาสนธรรม การอุปถัมภ์คณะสงฆ์ การสร้างสรรค์ศาสนวัตถุ และการกำ�หนดรูปแบบและสืบสานศาสนประเพณีและพิธีกรรม ซง่ึ เราจะเหน็ ไดว้ า่ มติ ทิ ง้ั สนี่ น้ั แทจ้ รงิ คอื องคป์ ระกอบของความเปน็ ศาสนาทกุ ศาสนานน่ั เอง ความรอู้ นั เกดิ ขน้ึ จากการเรยี บเรยี งหนงั สอื นมี้ ใิ ช่ “องคค์ วามร”ู้ ทเ่ี กดิ จากการคน้ พบ ขอ้ มูลใหม่ แตด่ งั ท่ีกลา่ วแลว้ วา่ เปน็ การ “จดั ระบบและสร้างท้ังมมุ มองและมิตใิ หม”่ ให้กับ ข้อมูลท่ีมีผู้ค้นคว้าเรียบเรียงกันไว้ก่อนหน้านั้นแล้ว ซึ่งน่าจะเพียงพอท่ีจะตอบได้ว่าเหตุ แห่งความเจริญรงุ่ เรอื งของพระพทุ ธศาสนาในประเทศไทยคอื อะไร ในทา่ มกลางความเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ ในสงั คมไทย อนั มผี ลใหค้ นไทย ร่นุ ใหม่มีความเป็นปจั เจกชนมากขนึ้ ค�ำ นึงถึงประโยชนอ์ นั เป็นสว่ นตนมากขนึ้ นำ�ไปสคู่ วาม พยายามเขา้ ใจโลกและชวี ติ ในมมุ มองทแ่ี ตกตา่ งหลากหลายมากขน้ึ และอาจหลากหลายมาก ขนึ้ จนถงึ ขน้ั ตง้ั ค�ำ ถามตอ่ การมอี ยแู่ ละบทบาทของพระพทุ ธศาสนาและพระสงฆใ์ นสงั คมไทย ความเปล่ียนแปลงดังกล่าวน้ีเป็นธรรมดาโลกที่สรรพสิ่งท้ังหลายย่อมมีความ เปลี่ยนแปลงไปเป็นธรรมดา แต่พระสัทธรรมของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น มคี วามยนื ยงเทยี่ งแทแ้ ละพสิ จู นไ์ ดเ้ สมอ เปน็ “อกาลโิ ก” ทดี่ �ำ รงความเปน็ จรงิ ตลอดกาล ขึ้นอยู่แต่เพียงว่าปัจเจกชนคนใดในสังคมไทยจะมีปัญญาและสติเข้าถึงแก่นแท้ของ พระพุทธศาสนาได้ หากสามารถทำ�ได้ไซร้ พระพุทธศาสนาอันพระมหากษัตริย์ไทย ทกุ ยคุ สมยั ไดท้ รงอปุ ถมั ภบ์ �ำ รงุ มากจ็ ะไดร้ บั การ “สบื อาย”ุ อยบู่ นแผน่ ดนิ ไทยไปตราบนาน เท่านาน ดร. ดินาร์ บุญธรรม
จติ รกรรมฝพี ระหัตถใ์ นพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช
บทน�ำ “ราชา รัฏฐัสสะ ปญั ญาณัง. พระราชาเปน็ สง่าแห่งแว่นแควน้ .” “ราชา มุขงั มนสุ สานงั . พระราชาเป็นประธานของหมมู่ นษุ ย์. เมอื่ โคท้ังหลายวา่ ยขา้ มแมน่ ้ําไป ถา้ โคหัวหน้าฝูงวา่ ยคด โคทง้ั หมดกย็ ่อมวา่ ยคดไปตามกนั ในมนุษยท์ งั้ หลายก็เหมือนกนั ผู้ใดได้รบั สมมตแิ ตง่ ต้ังให้เปน็ ใหญ่ ถา้ ผนู้ ั้นประพฤติไมเ่ ป็นธรรม ประชาชนนอกน้กี ็ประพฤติไม่เป็นธรรมโดยแท้ ถา้ พระราชาผูเ้ ปน็ ใหญ่ต้งั อยใู่ นธรรม รฐั ก็ย่อมอยูเ่ ป็นสขุ ท่ัวกัน” “สพั พัง รฏั ฐงั สขุ ัง โหติ ราชา เจ โหติ ธัมมิโก ถ้าพระราชาเปน็ ผทู้ รงธรรม ราษฎรทัง้ ปวงกเ็ ปน็ สุข.” (พระไตรปฎิ ก) พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยกบั พระพุทธศาสนา 12
พระพุทธศาสนาเกิดข้ึนท่ามกลางประเพณีนิยมอินเดียสมัยโบราณ อันเป็นยุคที่มีพระราชาเป็นผู้ปกครองแว่นแคว้นและนครรัฐท้ังหลายใน ชมพทู วปี พระราชาท้งั หลายมสี ถานภาพเปน็ “สมบรู ณาญาสิทธิราชย์” คือ ทรงไว้ซ่ึงพระราชอำ�นาจเด็ดขาด และโดยประเพณีนิยมในระบบวรรณะ อนั ถอื วา่ กษตั รยิ เ์ ปน็ นกั รบ มหี นา้ ทปี่ อ้ งกนั บา้ นเมอื ง และเปน็ นกั ปกครอง ดงั นนั้ พระพุทธศาสนาจึงได้รับอิทธิพลทางความคิดเรื่องฐานะของพระมหากษัตริย์ จากประเพณนี ิยมพืน้ เมอื งท่ีมีมาแตเ่ ดิมในชมพูทวีปด้วย อย่างไรก็ดี โดยที่พระพุทธศาสนามีหลักการทั้งในเชิงปฏิวัติและปฏิรูป ความคดิ ความเชอื่ ถอื ดง้ั เดมิ กลา่ วคอื สง่ิ ใดทเ่ี หน็ วา่ ไมถ่ กู ตอ้ งกย็ กเลกิ ไป สว่ นสงิ่ ใด ทเี่ หน็ วา่ พอจะไปกนั ไดก้ ย็ อมรบั และปฏริ ปู ใหต้ รงกบั หลกั การของพระพทุ ธศาสนา เช่น ความเช่ือถือดั้งเดิมเรื่องการเข้าถึงโมกษะ (ความหลุดพ้น) ด้วยการปฏิบัติ อย่างเข้มงวดสายหน่ึง และด้วยการเสพกามและหลงอยู่กับโลกียสุขอีกสายหนึ่ง ล้วนเป็นแนวคิดท่ีสุดโต่งตกขอบท้ังคู่ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงปฏิเสธ หลกั การทงั้ สองสาย ทรงสอนใหเ้ ลอื กเสน้ ทางใหม่ คอื “มชั ฌมิ าปฏปิ ทา” อนั เปน็ ตวั อยา่ งของการปฏวิ ตั ิ สว่ นเรอื่ งฐานะของกษตั รยิ น์ น้ั พระพทุ ธศาสนายอมรบั วา่ กษัตริย์หรือพระราชาน้ันมีฐานะเป็น “เทพเจ้า” โดยสมมุติ คือโดยการยอมรับ ภายในหมู่มนุษย์เท่านั้น ไม่ใช่เทพเจ้าตามความเข้าใจของพราหมณ์ ท้ังน้ี พระพุทธศาสนาแบง่ ประเภทของเทพเจ้าออกเปน็ ๓ ลักษณะ คอื ๑. สมมตุ เิ ทพ เทพเจา้ โดยสมมตุ ิ คอื โดยการยอมรบั ของมวลมนษุ ยใ์ นโลก ๒. อปุ ตั ติเทพ เทพเจ้าโดยกำ�เนิด คอื ท่ีสถิตอยู่บนสรวงสวรรค์ ๓. วสิ ุทธิเทพ เทพเจา้ โดยความบรสิ ทุ ธิ์ ไดแ้ ก่ พระอรหันตท์ ้งั หลาย 13
พระพุทธศาสนาให้ความสำ�คัญต่อสถาบันกษัตริย์ไว้มาก ดังท่ีปรากฏ ทัศนะอันเก่ียวกับสถานะ บทบาท และความสำ�คัญของกษัตริย์ในพระไตรปิฎก หลายแห่ง สรุปความว่า กษัตริย์มีความสำ�คัญมิใช่เพียงความเป็นผู้นำ�ในทาง การเมืองเท่าน้ัน แต่ยังเป็นศูนย์กลางที่สำ�คัญท่ีสุดของสังคม เป็นแกนให้เกิด ความเคลื่อนไหวเปล่ียนแปลงทางสังคม เช่นเดียวกับดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง สุริยจักรวาล แม้แต่การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ เช่น ความวิปริตทางดินฟ้า อากาศ ทุพภิกขภัย หรือภัยพิบัติต่างๆ ก็เชื่อกันว่าอยู่ในความรับผิดชอบของ กษตั ริย์ดว้ ย สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเองก็ทรงยอมรับในบทบาทของกษัตริย์ท่ีจะ เปน็ ผอู้ ปุ ถมั ภศ์ าสนาและลทั ธคิ วามเชอ่ื ทางจติ วญิ ญาณทง้ั หลายในราชอาณาจกั ร นนั้ ๆ แมพ้ ระพทุ ธศาสนาในยคุ พทุ ธกาลเองกไ็ ดร้ บั การอปุ ถมั ภจ์ ากพระมหากษตั รยิ ์ ในแวน่ แควน้ ต่างๆ หลายพระองค์ เช่น พระเจ้าพิมพิสารและพระเจา้ อชาตศัตรู แหง่ แควน้ มคธ พระเจา้ ปเสนทโิ กศลแหง่ แควน้ โกศล กษตั รยิ ล์ จิ ฉวแี หง่ แควน้ วชั ชี หรือมัลลกษัตริย์แห่งแคว้นมัลละ ไปจนกระทั่งถึงยุคหลังพุทธปรินิพพานไปแล้ว นับศตวรรษ พระเจ้าอโศกมหาราชแห่งราชวงศ์โมริยะ และพระเจ้ากนิษกะแห่ง ราชวงศ์กุษาณะก็ยังทรงได้ชื่อว่าเป็นบรมกษัตริย์ท่ีทรงมีบทบาทสำ�คัญต่อการ อปุ ถมั ภใ์ หพ้ ระพทุ ธศาสนามคี วามรงุ่ โรจนใ์ นชมพทู วปี ตอ่ ไปได้ และยงั ไดร้ บั การน�ำ ออกไปเผยแผย่ งั ดินแดนต่างๆ นอกชมพทู วปี อีกด้วย ความเสื่อมของพระพุทธศาสนาจากชมพูทวีปเองก็เป็นผลมาจากชนใน วรรณะกษตั รยิ อ์ กี เชน่ เดยี วกนั ดงั ปรากฏวา่ กษตั รยิ ข์ องแวน่ แควน้ ตา่ งๆ ในยคุ หลงั ซึ่งมิได้ศรัทธาในพระพุทธศาสนาต่างก็มีนโยบายที่จะทำ�ให้พระพุทธศาสนา เสื่อมสูญไปจากชมพูทวีป ท้ังด้วยการใช้กำ�ลังเข้าปราบปรามทำ�ลายและการใช้ นโยบายในศาสนาอนื่ เขา้ กลนื ใหพ้ ระพทุ ธศาสนากลายเปน็ สว่ นหนงึ่ ของศาสนานน้ั จนพระพุทธศาสนาเกือบท่ีจะสูญสิ้นไปจากชมพูทวีป และในปัจจุบันเหลือ พุทธศาสนิกชนอยู่ในประเทศอินเดียซึ่งเป็นแดนพุทธภูมิในอัตราส่วนน้อยนิด เมอื่ เปรยี บเทียบกับศาสนกิ ชนฮนิ ดแู ละมสุ ลมิ ในขณะที่กษัตริย์ในชมพูทวีปยุคหลังราชวงศ์โมริยะลงมามีบทบาท ในการทำ�ให้พระพุทธศาสนาเส่ือมสูญไปจากชมพูทวีป กลับมีกษัตริย์ในดินแดน อีกจำ�นวนหนึ่งที่พระพุทธศาสนาได้รับการนำ�ไปเผยแผ่ ให้การอุปถัมภ์ให้ พระพุทธศาสนาได้หยั่งรากลึกลงเป็นแก่นของศรัทธาความเชื่อและหลักปรัชญา 14 พระมหากษัตริยไ์ ทยกบั พระพุทธศาสนา
ในการด�ำ เนินชวี ติ ของมหาชนในดินแดนเหลา่ นั้น กษัตริย์ในลังกาทวีปมีบทบาทในการอุปถัมภ์บำ�รุงให้พระพุทธศาสนา เถรวาทประดิษฐานอย่างม่ันคงในดินแดนน้ัน ก่อนที่จะเผยแผ่ไปยังภูมิภาค โพน้ ทะเลคอื ดนิ แดนภาคพนื้ ทวปี ของเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ อนั เปน็ ดนิ แดนทรี่ บั เอาอารยธรรมอนิ เดยี เขา้ ไปบรู ณาการกบั อารยธรรมดงั้ เดมิ จนเกดิ เปน็ อารยธรรม ที่ยิ่งใหญ่ของชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะการเกิดรัฐท่ีมีกษัตริย์ ตามรูปแบบของอินเดียปกครอง ต้ังแต่ช่วงระยะเวลาประมาณเจ็ดร้อยปีเศษ หลังพทุ ธปรนิ ิพพาน ในบรรดาองค์ประกอบหลักของอารยธรรมอินเดียท่ีเข้าไปบูรณาการ อารยธรรมด้ังเดิมของชนพ้ืนเมืองเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้เกิดเป็นอารยธรรม ทยี่ ง่ิ ใหญข่ น้ึ นนั้ ไมอ่ าจปฏเิ สธไดว้ า่ ทงั้ ศาสนาพราหมณฮ์ นิ ดแู ละพระพทุ ธศาสนา (ท้ังฝ่ายมหายานและเถรวาท) ต่างมีบทบาทในการเข้าไปช่วยกำ�หนดสถานภาพ ของผปู้ กครองดนิ แดนใหก้ ลายเปน็ พระราชาในวรรณะกษตั รยิ ์ ทง้ั ยงั เขา้ ไปผสาน เขา้ กบั คตคิ วามเชอ่ื ดง้ั เดมิ ของชนพนื้ เมอื งเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ กลายเปน็ ระบบ ความเชื่อใหม่และปรัชญาชีวิตให้กับคนพื้นเมืองเหล่าน้ัน โดยศาสนาพราหมณ์ และพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานมีบทบาทนำ�มาก่อนในรัฐภาคพื้นทวีปยุคต้นๆ อันได้แก่ ฟูนัน เจนละ จามปา กัมพูชาสมัยเมืองพระนคร ซ่ึงรับเอาศาสนา พราหมณ์ โดยเฉพาะลัทธิไศวะนิกายเข้าไปเป็นคติความเช่ือหลัก ยกเว้นรัฐ ศรเี กษตร ทวารวดี สุธรรมาวดี และพุกาม ทอ่ี ิทธิพลของพระพทุ ธศาสนาทงั้ ฝา่ ย มหายานและเถรวาทเข้าไปเป็นศาสนาหลักในรัฐ จนกระทงั่ ถงึ ราวพุทธศตวรรษ ท่ี ๑๘ เป็นต้นมา บรรดารัฐและบ้านเมืองของชนพื้นเมืองบนภาคพ้ืนทวีปของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันได้แก่ ชาวมอญ ชาวเขมร ชาวพม่า และชาวไทย กลมุ่ ตา่ งๆ จงึ ยอมรบั เอาพระพทุ ธศาสนาเถรวาทจากลงั กาทวปี เขา้ มาเปน็ ศาสนา ประจ�ำ รัฐของตน พระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาวงศ์มีบทบาทสำ�คัญอย่างย่ิงในการ กำ�หนดรูปแบบของรัฐและการปกครองในรัฐจารีตพ้ืนเมืองเอเชียตะวันออก เฉยี งใตเ้ หลา่ นน้ั โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การก�ำ หนดสถานภาพอนั มน่ั คงและเปยี่ มดว้ ย บญุ ญาบารมขี องกษตั รยิ ผ์ ปู้ กครองรฐั เหลา่ นน้ั พระพทุ ธศาสนาเถรวาทลงั กาวงศ์ ยังกอปรด้วยพลังอันมหาศาลท่ีสามารถจะแทรกซึมเข้าไปผสานและจัดระบบ คติความเชื่อของผู้คนพลเมืองทุกระดับชัน้ ในรัฐจารีตพน้ื เมอื งเหลา่ นไ้ี ด้ หลักการ 15
สำ�คัญของสังสารวัฏคือการเวียนว่ายตายเกิด หลักการของกฎแห่งกรรม และ หลักการของบญุ บารมี ในพระพุทธศาสนาเถรวาทมีพลังอนั มหาศาลท่ีจะก�ำ หนด วิถีชวี ิตของชนพน้ื เมืองเหล่าน้ี ใหด้ �ำ เนินไปตามครรลองของหลกั ธรรมตา่ งๆ จาก พระพุทธวจนะ สบื มาจากสมัยโบราณถึงปจั จุบัน ชนชั้นกษัตริย์อันเป็นผู้ปกครองรัฐต่างๆ บนภาคพื้นทวีปของเอเชีย ทศพิธราชธรรม ๑๐ ตะวันออกเฉียงใต้นั้นเล่า ต่างก็ได้รับเอากรอบและมาตรฐานทางศีลธรรม ทาน (ทาน)ํ ในพระพุทธศาสนาเถรวาทไปเป็นแนวทางสำ�คัญในการปกครองบ้านเมือง เพื่อ ศีล (ศีล)ํ เป็นหลักประกันความชอบธรรมในการดำ�รงอยู่ของสถานะความเป็นกษัตริย์ บริจาค (ปริจจาคํ) อันเรียกว่า “ราชธรรม” ราชธรรมหลักของพุทธกษัตริย์บนภาคพ้ืนทวีปของ ความซือ่ ตรง (อาชชว)ํ เอเชียตะวันออกเฉยี งใตน้ ัน้ ประกอบดว้ ย ความอ่อนโยน (มทฺทวํ) ความเพียร (ตป)ํ ทศพธิ ราชธรรมหรอื ราชธรรม ๑๐ คอื จรยิ วตั ร ๑๐ ประการ ผเู้ ปน็ กษตั รยิ ์ ความไม่โกรธ (อกโฺ กธํ) พึงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำ�พระองค์ หรือเป็นคุณธรรมประจำ�ตนของ ความไมเ่ บียดเบียน (อวิหิงฺสา) ผปู้ กครองบา้ นเมอื ง ใหก้ ารปกครองนน้ั มคี วามเปน็ ไปโดยธรรมและยงั ประโยชนส์ ขุ ความอดทน (ขนฺติ) ใหเ้ กดิ แกป่ ระชาชนจนเกดิ ความชน่ื ชมยนิ ดี ซง่ึ โดยความเปน็ จรงิ แลว้ ทศพธิ ราชธรรม ความเที่ยงธรรม (อวิโรธนํ) นไ้ี มไ่ ดจ้ �ำ เพาะเจาะจงส�ำ หรบั พระเจา้ แผน่ ดนิ หรอื ผปู้ กครองแผน่ ดนิ เทา่ นน้ั บคุ คล จกั รวรรดิวัตร ๑๒ ธรรมดาสามญั ทีต่ อ้ งปกครองดูแลคนหมูม่ ากก็พึงปฏบิ ัตติ ามหลกั ธรรมเหลา่ นไี้ ด้ อนโฺ ตชนสฺมึ พลกายสฺมึ ควรอนุเคราะห์คนในราชส�ำ นกั นอกจากทศพิธราชธรรม ๑๐ ประการแล้ว ราชธรรมสำ�คัญอีกประการ และคนภายนอกให้มีความสขุ หนึ่งสำ�หรับความเป็นพุทธกษัตริย์คือ จักรวรรดิวัตร ๑๒ คือ ธรรมอันเป็น ไม่ปล่อยปละละเลย พระราชจริยานวุ ตั รส�ำ หรบั พระเจ้าจักรพรรดิราช หรือพระราชาเอกในโลก ท้ังนี้ ขตตฺ ิเยสุ ควรผูกไมตรี พระมหากษัตริย์ผู้ปกครองประชาชนทรงถือและอาศัยธรรมข้อนี้เป็นธงชัย กบั ประเทศอื่น ร่วมกับทศพิธราชธรรมและราชสังคหวัตถุ ๔ สำ�หรับทรงดำ�เนินกุศโลบายและ อนยุ นเฺ ตสุ ควรอนุเคราะห์ วเิ ทโศบายในการปกครองบ้านเมอื ง พระราชวงศานวุ งศ์ พฺราหฺมณคหปติเกสุ โดยเหตุท่ีพระพุทธศาสนาเถรวาทมีบทบาทสำ�คัญในการกำ�หนดสถานะ ควรเกื้อกลู พราหมณ์ คหบดี และบทบาทของกษัตริย์ รวมท้ังเป็นหลักประกันสิทธิธรรมความเป็นกษัตริย์ และคฤหบดีชน คือเกื้อกูล ในรัฐพื้นเมืองบนภาคพ้ืนทวีปของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วยน้ัน เป็นผลให้ พราหมณ์และผู้ทีอ่ ยู่ในเมือง เนคมชานปเทสุ ควรอนุเคราะห์ ประชาชนในชนบท สมณพฺราหฺมเณสุ ควร อนุเคราะห์สมณพราหมณ์ผู้มีศีล มิคปกฺขีสุ ควรจักรักษาฝูงเนื้อ นก และสัตว์ท้ังหลาย มิให้สญู พนั ธุ์ อธมฺมการปฏิกฺเขโป ควรห้ามชนทั้งหลายมิให้ ประพฤติผิดธรรม และชักน�ำ ด้วย ตัวอย่างให้อยู่ในกุศลสุจริต บรรดาพุทธกษัตริย์ในภูมิภาคนี้ต่างถือเป็นพระราชภาระสำ�คัญในการอุปถัมภ์ บำ�รุงพระพุทธศาสนาเถรวาทและอุปถัมภ์คณะสงฆ์ในรัฐของตน เพราะการ อย่รู อดปลอดภยั และความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา ย่อมหมายถงึ ความม่นั คง ของพระราชสถานะของกษตั ริยแ์ ละราชบัลลงั กด์ ้วย 16 พระมหากษัตริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา
อธนานํ ธนานุปปฺ ทานํ พระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัยและล้านนาท่ีเกิดข้ึน ควรเลี้ยงดูคนจน เพื่อมิให้ ในช่วงต้นพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ อันเป็นยุคแรกรับพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบ ประกอบการทุจริต กศุ ล ลังกาวงศ์เข้ามาประดิษฐานในประชาคมรัฐของคนไทย มาจนถึงยุคอาณาจักร อยุธยาที่แรกสถาปนาในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ และประสบความสำ�เร็จ และอกุศลต่อสงั คม ในการผนวกเอาแควน้ สโุ ขทยั เขา้ เปน็ สว่ นหนงึ่ จนเกดิ เปน็ พระราชอาณาจกั รสยาม สมณปพญฺรหฺาหาปฺมุจเณฺฉนอุปํ คสวงรกฺ เขม้าิตใกฺวลา้ อันเป็นรากฐานของความเป็นประเทศไทยสืบมาจนถึงปัจจุบันสมัย ตลอดจน สมณพราหมณ์ เพือ่ ศึกษาบุญ พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยแหง่ กรงุ ธนบรุ ี และพระมหากษตั รยิ ใ์ นพระบรมราชจกั รวี งศ์ ซง่ึ ยงั ด�ำ รงพระราชสถานะเปน็ พระประมขุ ของประเทศไทยในปจั จบุ นั น้ี ลว้ นด�ำ รงอยู่ และบาป กุศล และอกุศล ในสถานะความเปน็ “พทุ ธกษตั รยิ ”์ ซง่ึ มรี าชธรรมในพระพทุ ธศาสนาเปน็ เครอ่ื งก�ำ กบั ให้แจ้งชดั การประพฤตพิ ระองคม์ าโดยตลอด แมว้ า่ ในบางรชั สมยั พระมหากษตั รยิ บ์ างพระองค์ อาจทรงแสดงพระราชสถานะและบญุ บารมสี ว่ นพระองคใ์ นลกั ษณะตา่ งๆ อนั เปน็ อธมฺมราคสฺส ปหานํ ควรห้าม สมมติสถานะจากคติความเช่ือในศาสนาต่างๆ ที่เคยเจริญรุ่งเรืองอยู่ในดินแดน จิตมิให้ต้องการไปในทีท่ ี่ ประเทศไทยปัจจุบันก่อนสมัยท่ีคนไทยจะประสบความสำ�เร็จในการสร้างบ้าน แปงเมอื งเป็นประชาคมรัฐ เชน่ การแสดงพระองคเ์ ป็นสมมตเิ ทพ เป็นเทวราชา พระมหากษตั ริย์ไม่ควรเสด็จ อนั เปน็ การสมมตใิ นคตขิ องพราหมณ์ การสมมตพิ ระองคเ์ ปน็ พระโพธสิ ตั วผ์ บู้ �ำ เพญ็ วิสมโลภสสฺ ปหานํ ควรระงับ บารมีเพื่อการตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตกาลตามคติในพระพุทธศาสนา ความโลภมิให้ปรารถนาในลาภ ฝ่ายมหายาน หรือแม้การสมมติพระองค์เป็น “พระศรีสรรเพชญ” เสมอด้วย ที่พระมหากษัตริย์มิควรจะได้ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือเป็นพระเจ้ามหาจักรพรรดิราช อันเป็นคติใน พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทก็ดี พระมหากษัตริย์ไทยทุกยุคสมัยล้วนทรงเคารพ ราชสงั คหวัตถุ ๔ ในพระศรรี ัตนตรัย และยอมรบั การอยู่ในกรอบของราชธรรมในพระพุทธศาสนา สัสสเมธะ ความฉลาดในการ และต่างได้ทรงรับพระราชภาระในการอุปถัมภ์บำ�รุงพระพุทธศาสนาเป็นหน่ึงใน พระราชภาระสำ�คัญมาไม่เคยขาดสาย บ�ำ รุงพืชพันธ์ุธญั ญาหาร ส่งเสริมการเกษตร บ�ำ รงุ การอปุ ถมั ภบ์ �ำ รงุ พระพทุ ธศาสนาของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยนน้ั พระมหากษตั รยิ ์ ข้าวกล้า ส่งเสริมการทำ�กิน แต่ละยุคสมัยจะทรงทำ�นุบำ�รุงองค์ประกอบสำ�คัญทั้ง ๔ ของพระพุทธศาสนา ได้แก่ ศาสนธรรม ศาสนบุคคล ศาสนวัตถุ และศาสนพิธี ซึ่งอันที่จริงแล้ว ของราษฎรให้พ้นจาก องคป์ ระกอบทง้ั สป่ี ระการนค้ี อื องคป์ ระกอบหลกั ของศาสนาตา่ งๆ ทกุ ศาสนาในโลก ความทุกข์ยาก ในบรรดาข้อความอันแสดงพระราชภารกิจน้อยใหญ่ของพระมหากษัตริย์ไทย ที่ปรากฏในหลกั ศลิ าจารกึ พระราชพงศาวดาร จดหมายเหตุ พระราชหตั ถเลขา ปุริสเมธะ ความฉลาดในการ บันทึกส่วนบุคคล และเอกสารราชการต่างๆ ต้ังแต่สมัยสุโขทัยมาจนกระท่ังถึง บำ�รุงข้าราชการ รู้จกั ส่งเสริม ปัจจุบันน้ัน ย่อมปรากฏพระราชภารกิจในการอุปถัมภ์บำ�รุงพระพุทธศาสนา คนดีมีความสามารถ ส่งเสริม ไมท่ างใดกท็ างหนงึ่ อยดู่ ว้ ย อนั สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ การอปุ ถมั ภบ์ �ำ รงุ พระพทุ ธศาสนา น้ันเป็นหน่ึงในกระบวนการสร้างความชอบธรรมให้กับความเป็นกษัตริย์ ท่ีจะ คนดี พัฒนาคนให้มีความรู้ ความสามารถ 17 สัมมาปาสะ ความรู้จกั ผกู ผสาน รวมใจประชาชนด้วยการส่งเสริม อาชีพ เช่น ให้คนจนกู้ยืมทุนไป สร้างตัวในพาณิชยกรรม เป็น บ่วงคล้องใจ ยึดเหนีย่ วสมาน น้ําใจคนในชาติไว้ได้ วาชเปยะ หรือ วาจาเปยยะ ความมีวาจาอนั ดูดดื่มนํ้าใจ นํ้าค�ำ ควรดื่ม คือ รู้จกั พดู รู้จัก ปราศรยั ไพเราะ สภุ าพนุ่มนวล ประกอบด้วยเหตผุ ล มีประโยชน์ เปน็ ทางแห่งสามคั คี ทำ�ให้เกิด ความเข้าใจอนั ดี และความนิยม เชื่อถือ ทั้งนี้ เพราะความยิ่งใหญ่ ทีเ่ กิดจากการให้ย่อมเหนือกว่า ความยิง่ ใหญ่ที่เกิดจากการ ได้ครอบครอง
ปกครองบ้านเมืองและสืบราชสันตติวงศ์อย่างยาวนานผาสุกต่อเน่ืองไป หรือ อาจกลา่ วในอกี นยั หนงึ่ ไดว้ า่ พระพทุ ธศาสนาไดก้ �ำ หนดแนวคดิ หลกั ส�ำ หรบั สถานะ และบทบาทของพระมหากษัตริย์มาต้ังแต่คร้ังพุทธกาลแล้ว และยังคงบทบาท สำ�คัญประการน้ีไว้ในดินแดนที่พระสัทธรรมของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ไดเ้ ผยแผไ่ ป คอื การเปน็ ฐานรองรบั สถานภาพของพระมหากษตั รยิ ใ์ นราชอาณาจกั ร ที่ยอมรบั นบั ถอื พระพทุ ธศาสนาอยูส่ ืบไป การกำ�หนดชื่อหนังสือเล่มน้ีว่า “พระมหากษัตริย์ไทยกับพระพุทธ- ศาสนา” ย่อมจะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นชัดเจนว่า การดำ�เนินเร่ืองของหนังสือนี้ จะเน้นไปท่ีบทบาทของพระมหากษัตริย์ไทยในส่วนท่ีเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาวงศ์ ซึ่งจากการค้นคว้าหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ จะพบว่าบทบาทของพระมหากษัตริย์ไทย อันเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาน้ันมิได้เป็นบทบาทในการอุปถัมภ์บำ�รุง พระพุทธศาสนาแต่เพียงสิ่งเดียวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงบทบาทของการท่ี พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยในแตล่ ะยคุ สมยั ทรงพยายามสรา้ งสมพระราชสถานะความเปน็ “พทุ ธกษตั รยิ ”์ ใหเ้ ปน็ ทป่ี ระจกั ษด์ ว้ ย ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ พระมหากษตั รยิ ใ์ นบางสมยั ทรงเนน้ บทบาทของ “ปราชญร์ ธู้ รรม” คอื การทพ่ี ระองคเ์ องตอ้ งทรงศกึ ษาธรรมใน พระพทุ ธศาสนาใหท้ รงรแู้ ละเขา้ พระราชหฤทยั ในพระพทุ ธศาสนาจนถงึ ขน้ั สามารถ ทจ่ี ะทรงสง่ั สอนธรรมแกอ่ าณาประชาราษฎรไ์ ด้ หรอื ในบางสมยั พระมหากษตั รยิ ไ์ ทย สามารถที่จะทรงนำ�ธรรมะหรืออุดมคติเรื่องต่างๆ ในพระพุทธศาสนาเถรวาท มาอธบิ ายพระราชสถานะและบทบาทของพระองคใ์ นสงั คม เพอ่ื สรา้ งบารมใี หเ้ ปน็ ที่ ประจักษไ์ ด้ หรอื ในบางยุคสมยั พระมหากษตั รยิ ์ไทยกท็ รงนับถือพระพุทธศาสนา บนหลักของเหตุและผล และทรงพยายามปลูกฝังให้อาณาประชาราษฎร์นับถือ พระพุทธศาสนาด้วยความมีเหตุมีผลด้วย ดังนั้นภาพของพระมหากษัตริย์ไทย แต่ละยุคสมัยที่ปรากฏในหนังสือน้ีจึงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยที่ดำ�รงความ เป็น “มนุษย์ปุถุชน” และเป็นกลจักรสำ�คัญในประวัติศาสตร์ที่ก่อเกิดความ เปลีย่ นแปลงตา่ งๆ ในสังคมไทย โดยมีพระพุทธศาสนาเถรวาทเป็นตวั แปรส�ำ คญั หลักฐานและข้อมูลในการเรียบเรียงหนังสือเล่มนี้ ส่วนใหญ่มิได้เป็น หลักฐานที่ค้นพบใหม่แต่อย่างใด เพราะอันท่ีจริงแล้วการศึกษาเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ระหว่างพระมหากษัตริย์ไทยกับพระพุทธศาสนานั้นเกิดขึ้นมานาน หลายทศวรรษแล้ว มีนักวิชาการและผู้รู้จำ�นวนมากทั้งท่ีเป็นชาวไทยและ ชาวต่างประเทศได้ค้นคว้าหลักฐานต่างๆ เรียบเรียงไว้เป็นหนังสือ งานวิจัย 18 พระมหากษัตริย์ไทยกบั พระพุทธศาสนา
วิทยานิพนธ์ กับทั้งบทความต่างๆ และข้อมูลสำ�หรับลงในเว็บไซต์เก่ียวกับ พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทยเปน็ จ�ำ นวนมาก แตล่ กั ษณะส�ำ คญั ของงานคน้ ควา้ ประเภทตา่ งๆ ท่กี ลา่ วมานนั้ สว่ นใหญเ่ น้นศึกษาเฉพาะยคุ สมยั หรอื เน้นเฉพาะ บทบาทของพระมหากษตั ริยไ์ ทยพระองคใ์ ดพระองคห์ นง่ึ กบั พระพุทธศาสนา หนังสือเล่มนี้จึงเป็นการนำ�เอาหลักฐานและข้อมูลต่างๆ ซ่ึงได้มีการ ค้นคว้าศึกษากันมาก่อนหน้าน้ัน มาร้อยเรียงและจัดระบบให้เกิดเร่ืองราวที่มี ความเปน็ เอกภาพ พร้อมท้ังวพิ ากษ์ วิเคราะห์ และอภปิ รายข้อมูลจ�ำ นวนหนงึ่ ที่ เคยมีผู้ศึกษาไว้ก่อนหน้า แต่นำ�เสนอข้อมูลแต่เพียงในมิติของการบรรยายและ พรรณนารายละเอียด ไม่ได้วิเคราะห์ข้อมูลเหล่าน้ันให้เกิดมิติของความเป็นเหตุ และผลแก่กัน ความพยายามของหนังสือเล่มน้ีจึงเป็นความพยายามที่จะสร้าง “งานสารคดี” ที่จะทำ�ให้ผู้อ่านได้มองเห็นภาพรวมของความสัมพันธ์ระหว่าง สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยกับพระพุทธศาสนาเถรวาท และเพื่อเป็นคำ�ตอบ สำ�หรับปรากฏการณ์ท่ีเป็นอยู่ในประเทศไทยปัจจุบัน คือการที่พระพุทธศาสนา ไดป้ ระดษิ ฐานอยอู่ ยา่ งมนั่ คงในสงั คมไทย เปน็ คตคิ วามเชอื่ หลกั ทก่ี ำ�หนดแนวทาง การใช้ชีวิตของคนไทยมาตลอดทุกยุคสมัย ท้ังได้ผ่านความเปลี่ยนแปลงทาง การเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คม มาตลอดยคุ สมยั ตา่ งๆ อนั ยาวนานในประวตั ศิ าสตร์ ไทย แต่หลักธรรมในพระพุทธศาสนายังคงยืนยงอยู่เป็นคำ�ตอบให้กับ ความไมเ่ ทย่ี งแทท้ ง้ั ปวงทเี่ กดิ ขน้ึ ในสงั คมไทยยคุ แลว้ สมยั เลา่ สบื มาจนปจั จบุ นั 19
ปฐมภมู ิจกั รวาล : ถวลั ย์ ดัชนี ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาทศั นศลิ ป์ (จิตรกรรม)
๑บทที่ กำ�เนิดพระพทุ ธศาสนาในชมพทู วีป เราบรรลุอดุ มสมั โพธิญาณท่คี วงไมอ้ ัสสตั ถพฤกษา (แตน่ ั้นมา) รศั มหี นง่ึ วาวงรอบกายของเราอย่เู สมอพวยพงุ่ สงู ๑๖ ศอก อายขุ ัยของเราบัดนี้ เล็กนอ้ ยเพยี งแค่ในรอ้ ยปี แต่ชว่ั เวลาเท่าทด่ี ำ�รงชีวอี ยนู่ ้นั เราได้ชว่ ยใหห้ มชู่ นข้ามพน้ วัฏสงสารไปไดม้ ากมาย ท้ังตั้งคบเพลงิ ธรรมไว้ปลกุ คนภายหลงั ใหเ้ กิดปญั ญาทีจ่ ะต่ืนขนึ้ มาตรสั รู้ต่อไป (โคตมพทุ ธวสํ , ข.ุ พุทธ.๓๓/๒๖/๕๔๓)
อารยธรรมล่มุ แม่นา้ํ สินธุ ชนเผ่าอารยนั จากทุ่งหญา้ มีการสรา้ งเมืองโมเฮนโจดาโร ในเอเชียกลาง เริม่ อพยพลงมา และเมืองฮารัปปา ทางตอนเหนือ และเขา้ แยง่ ชิงครอบครองดินแดน ของอินเดีย ที่เคยเป็นของชาวดราวิเดียน ๒. ใเจรนาิม่ ศกกาเหาสรลนถา่า่าพพยรรทาาอหหดมมคณณัม์์ ภเรีริ่มพ์ มรีระะเบวทบวรรณะ เจา้ ชายสิทธตั ถะประสูติ ๑. ๒,๐๐๐ ปกี อ่ นพทุ ธกาล ๒,๕๐๐ ปกี ่อนพทุ ธกาล ๑,๐๐๐ ปกี อ่ นพุทธกาล ๘๑ ปีก่อนพุทธศักราชที่ ๑ อินเดีย ๒,๕๐๐ ปีกอ่ นพุทธกาล - พทุ ธกาล อารยธรรมลมุ่ แม่นํ้าสินธลุ ่มสลาย แตช่ นเผ่าดราวิเดียนยงั คงตง้ั รกรากอยู่ อารยธรรมลุ่มแม่น้ําสินธุ ทางตอนกลางและตอนใตข้ องดินแดน ชมพทู วีป ชมพูทวีป หรือดินแดนที่เป็นประเทศอินเดียในปัจจุบัน หากย้อน ๑. ประติมากรรมสรีระผูห้ ญิง ศิลปะเก่าแก่แห่งอารยธรรม กลับไปราว ๕,๐๐๐ ปมี าแล้วน้ัน ดนิ แดนอนทุ วีปแหง่ น้เี ปน็ ทีก่ �ำ เนดิ อารยธรรม ลุ่มแม่นํ้าสินธุ ลมุ่ แมน่ าํ้ สนิ ธุ หรอื อกี ชอ่ื หนง่ึ วา่ อารยธรรมฮารปั ปาจากหลกั ฐานทางโบราณคดี ๒. ของเล่นเด็ก ขุดพบได้ที่ คอื ซากเมอื งโมเฮนโจดาโร ทางตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของเมอื งการาจใี นปากสี ถาน เมืองโมเฮนโจดาโร และเมืองฮารัปปา ซงึ่ อยหู่ ่างออกไป ๔๘๒ กิโลเมตร สะท้อนความเจรญิ ในการ ๓. ประติมากรรมรูปคน วางผังเมืองและระบบสาธารณูปโภค พบร่องรอยของการนับถือเทพเจ้าผู้สร้าง บังคับเกวียนเทียมวัว ความอุดมสมบูรณ์แก่พืชพันธุ์ธัญญาหาร และการสร้างศิลปวัตถุยุคแรกของ ขุดพบที่เมืองฮารัปปา อนิ เดียโบราณ ปัจจุบันแสดงอยู่ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หลังจากอารยธรรมฮารัปปาอันรุ่งเรืองสูญส้ินไปอย่างไร้ร่องรอย ในเวลา อินเดีย กรุงนิวเดลี ต่อมา ดินแดนแห่งน้ีก็ยังมีชาวดราวิเดียน หรือในภาษาสันสกฤตเรียกว่า ภาพหน้าขวา : ซากเมือง “ทราวฑิ ” ซึง่ เปน็ ชนชาติเกา่ แกท่ ี่ยงั คงตงั้ รกรากอยู่ โมเฮนโจดาโร กลุ่มชนเชื้อชาติดราวิเดียนหรือทราวิฑเป็นเจ้าของอารยธรรมโบราณ เป็นชนชาติแรกท่ีตั้งรกรากสร้างรัฐและบ้านเมืองอยู่ตามลุ่มแม่น้ําสำ�คัญของโลก เช่น ลุ่มแม่นํ้าไนล์ ลุ่มแม่น้ําไทกริส - ยูเฟรตีส ลุ่มแม่นํ้าสินธุ และรอบทะเล เมดิเตอร์เรเนยี น เป็นต้น เปน็ ชนชาติทม่ี ผี ิวสีคลา้ํ ผมหยกิ นัยนต์ าพอง รา่ งกาย ไมส่ งู นัก พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยกบั พระพุทธศาสนา 24
๓. 25 ช ม พู ท วี ป : พุ ท ธ ก า ล
อิทธิพลของชาวอารยันในอดีต เมื่อราว ๔,๐๐๐ ปีก่อนมีการ อพยพย้ายถิ่นไปเกือบทั่วโลก (พื้นที่สีเขียว) นอกนั้นเป็น ชาวผิวเหลือง (พื้นที่สีเหลือง) และชาวผิวดำ� (พื้นที่สีดำ�) การรุกเขา้ มาในอนิ เดียของชนเผ่าอารยัน ต่อมาราว ๑,๐๐๐ - ๑,๕๐๐ ปีก่อนพุทธกาล ชาวทราวิฑก็ถูกชนเผ่า ในประวัติศาสตร์ของอินเดีย “อารยัน” ท่ีรุกมาจากตะวันตกเฉียงเหนือของอนุทวีป เข้าแย่งชิงดินแดน ถือว่าศาสนาพราหมณ์เป็น จนสามารถครอบครองอินเดียตอนเหนือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่ แหล่งกำ�เนิดลัทธิประเพณี และตอนกลางไว้ได้ทั้งหมด พวกอารยันนั้น เดิมเป็นชนเผ่าเร่ร่อนอยู่ในทุ่งหญ้า ของตน วัฒนธรรมพราหมณ์ ของเอเชยี กลางทางตอนใตข้ องประเทศรสั เซยี ในปจั จบุ นั ลกั ษณะผวิ ขาว รา่ งกาย รวมทั้งขนบธรรมเนียม สูงโปร่ง มีรูปหน้ายาว และจมูกโด่ง พวกนี้ได้อพยพออกมาจากถ่ินฐานเดิม ประเพณีและปรัชญา เปน็ สองสาย พวกหนง่ึ เขา้ มาในอนิ เดยี อกี พวกหนง่ึ อพยพไปทางตะวนั ตกตอนใต้ พราหมณ์นั้น เชื่อว่าเกิด ซึง่ เปน็ ทวปี ยโุ รปในปัจจบุ ัน จากการผสมผสาน วัฒนธรรมอารยันเข้ากับ พวกอารยันมีร่างกายสูงใหญ่และพัฒนาการเคร่ืองมือในการสู้รบท่ีดีกว่า วัฒนธรรมทราวิฑที่สูงกว่า แต่หลังจากมีชัยชนะ ก็มิได้นำ�อารยธรรมของตนซ้อนทับลงไปในอารยธรรม การผสมผสานนี้เกิดขึ้นเป็น ของชนพื้นเมืองแต่อย่างใด แต่ได้เริ่มต้นต้ังหลักปักฐาน สร้างสังคมท่ีผสมผสาน ระยะๆ ตามการรุกเข้ามา ความเป็นอารยันของพวกตนและสังคมเกษตรกรรมของพวกทราวิฑ รวมท้ัง ของพวกอารยัน ผสมกลมกลืนเอาวัฒนธรรมดั้งเดิมของพวกทราวิฑไว้ กลายเป็นวัฒนธรรมผสม เหตุทีเ่ รียกกันวา่ “ศาสนา ระหว่าง ๒ ชนชาติ อาทิ ลัทธิความเช่ือในอำ�นาจของพระผู้เป็นเจ้า คือ พราหมณ”์ เนือ่ งจากมี พระศวิ ะ พระกฤษณะ และการบูชากราบไหว้ศิวลงึ ค์ ซ่งึ เปน็ วัฒนธรรมเดมิ ของ วรรณะพราหมณเ์ ป็นผู้ศึกษา พวกทราวิฑ มาบวกเข้ากับการเคารพในอำ�นาจแห่งธรรมชาติ เช่น อำ�นาจไฟ และสืบทอดความรเู้ หลา่ นน้ั (พระอคั น)ิ อ�ำ นาจนาํ้ (พระวรณุ ) พวกอารยนั กม็ เี ทพเจา้ ทเี่ คารพอยดู่ ว้ ยกนั ๔ องค์ ฉะนน้ั พราหมณจ์ ึงเป็นกลุ่ม คอื พระอินทร์ พระยม พระพริ ุณ พระอาทิตย์ ซ่งึ เปน็ ผกู้ �ำ หนดชะตากรรมมนุษย์ ผู้รูท้ ี่วรรณะอื่นตอ้ งนบั ถือ จงึ มีพธิ ีกรรมขอพรจากเทพเจ้าเหล่านดี้ ้วยการกราบไหว้ เซน่ สรวง และประกอบ เชอ่ื ฟัง ไมเ่ วน้ แม้แตว่ รรณะ พธิ ีบชู ายัญ โดยมีนักบวชผู้ท�ำ หนา้ ท่ีหลักท่ีเรยี กวา่ พราหมณ์ กษัตริย์ เนื่องจากพราหมณ์ สามารถติดตอ่ กับเทพเจา้ ได้โดยตรงและยงั มีความรู้ ความสามารถในการ ประกอบพิธีกรรมเพื่อบูชา เทพเจา้ เหลา่ นน้ั อีกดว้ ย การบชู ายัญจึงเปน็ สิ่ง ทีถ่ ือปฏิบัติกันเรื่อยมา โดยมีพราหมณเ์ ป็น ผูป้ ระกอบพิธีกรรม พระมหากษัตริย์ไทยกับพระพทุ ธศาสนา 26
แคว้นกมั โพชะ ตกั สลิ า แคว้นคนั ธาระ สาคละ แ ่ม สิ น ธุนํ้ า แ ม่ น้ํ า ค หัสตนิ าปรุ ะ ช ม ูพ ท วี ป : ุพ ท ธ ก า ล อนิ ทปัตถ์ ง อหิฉัตระ แคว้นศากยะ มถรุ า ค า สาวัตถี ๑. วเิ ทหะ กบลิ พสั ดุ์ แควน้ โกศล แควน้ มลั ละ ๔. แคว้นวัชชี เวสาลี พาราณสี ๓. ราชคฤห์ อชุ เชนี โกสัมพี จัมปา แคว้นวังสะ ๒. แคว้นอวันตี แคว้นมคธ กลงิ คะ อันธระ ๑. ลุมพนิ วี นั สถานท่ปี ระสตู ิ ๒. พทุ ธคยา สถานทต่ี รสั รู้ ๓. สารนาถ สถานทีแ่ สดงปฐมเทศนา ๔. กุสนิ ารา สถานทป่ี รนิ พิ พาน ดนิ แดนชมพทู วีปแสดงตำ�แหน่งแคว้นส�ำ คญั เมอื ง และสงั เวชนยี สถานในสมยั พทุ ธกาล 27
คมั ภรี พ์ ระเวทและพราหมณ์ ในกาลต่อมาเหล่าพราหมณ์ได้ร้อยเรียงหลักการ หรือตัวบทกำ�หนดเพ่ือ การควบคุมจิตใจและประสานความสัมพันธ์ของผู้คนจำ�นวนมากให้อยู่ร่วมกันได้ อย่างปกติสุขขึ้น อาทิ มีบทร้อยกรองที่เรียกว่า คัมภีร์พระเวท มาเป็นตัวบท ก�ำ หนดในเชิงศาสนา ประกอบด้วย ๔ คัมภรี ์ ไดแ้ ก่ ฤคเวท ยชรุ เวท สามเวท และอถรวเวท (อาถรรพ์ อาถรรพณ์ อาถรรพณะ) ยังมีคัมภีร์พราหมณะและอารัณยกะ ซ่ึงเป็นร้อยแก้ว ให้อรรถาธิบาย เกี่ยวกับพิธกี รรมและวัตรปฏบิ ตั ทิ ี่ระบุไว้ในพระเวทท้ัง ๔ ตอ่ มายังเกดิ คัมภีร์อุปนิษทั ซ่งึ วา่ ดว้ ยความคิดค�ำ นึงทางปรชั ญาเกย่ี วกับ วิถแี หง่ ชีวิตมนุษย์และจิตวิญญาณ คัมภีร์พระเวททั้ง ๔ รวมทั้งคัมภีร์พราหมณะ อารัณยกะ และคัมภีร์ อุปนิษัท เหล่าพราหมณ์ด้วยกันเป็นผู้ถ่ายทอดสืบต่อกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี ดว้ ยการทอ่ งจ�ำ เปน็ ภาษาสนั สกฤต ทง้ั หมดทงั้ ปวงไดส้ บื มาเปน็ ศาสนาพราหมณ์ ในยคุ แรก และกลายมาเปน็ พราหมณ์ - ฮินดูในสมัยหลงั วรรณะ ศาสนาพราหมณน์ ำ�มาซ่งึ การจ�ำ แนกคนออกเป็น ๔ วรรณะ ไดแ้ ก่ ๑. พราหมณ์ มหี นา้ ทส่ี ่งั สอนแบบครบู าอาจารย์ ๒. กษตั รยิ ์ มหี นา้ ทเ่ี ปน็ นกั รบ ปกป้องแผ่นดนิ ๓. แพศย์ มหี น้าทค่ี ้าขายสรา้ งเศรษฐกจิ ใหก้ ับสงั คม ๔. ศูทร มหี นา้ ทที่ ำ�ไรไ่ ถนาและใช้แรงงาน ระบบวรรณะมีพ้นื ฐานท่จี ะมงุ่ ใหค้ นเขา้ ใจและท�ำ หนา้ ที่ของตน หากตา่ ง คนปฏิบัติตัวอย่างถูกต้องก็จะเกิดความสงบสุขข้ึนได้ในสังคม แต่ต่อมาระบบน้ี ได้ถูกบิดเบือนไปเป็นการแบ่งระดับช้ันของคนเพื่อผลประโยชน์ กลายเป็นการ พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยกบั พระพทุ ธศาสนา 28
ภาพจินตนาการ ช ม ูพ ท ีว ป : ุพ ท ธ ก า ล พิธีบูชายัญต่อเทพเจ้า เอารดั เอาเปรยี บ หรอื มกี ารเหยยี ดหยาม ถอื วา่ วรรณะหนงึ่ สงู กวา่ อกี วรรณะหนงึ่ ไมเ่ กดิ ความเคารพยกยอ่ งในหน้าทอี่ ยา่ งทค่ี วรจะเป็น ผูน้ ำ�ในสังคม ในเวลาราว ๑,๐๐๐ กว่าปีที่มีการผสมกลมกลืนระหว่างชนสองเผ่านั้น ดินแดนชมพูทวีปแบ่งเป็นแว่นแคว้น เกิดชนชั้นปกครองในลักษณะต่างๆ กัน มผี ตู้ ง้ั ตวั เองเปน็ หวั หนา้ เผา่ หรอื กลมุ่ คณะปกครอง เรยี กวา่ คณะราชย์ คลา้ ยกบั ระบบสาธารณรัฐหรือประชาธิปไตยในปัจจุบัน เช่น แคว้นวัชชี แคว้นมัลละ เปน็ ตน้ แวน่ แควน้ ทใ่ี หญม่ ากกจ็ ะมกี ษตั รยิ เ์ ปน็ ผนู้ �ำ (ราชาธปิ ไตย) เชน่ แควน้ มคธ แคว้นโกศล แคว้นวังสะ เป็นต้น ชนช้ันปกครองเหล่าน้ี แม้ส่วนใหญ่มาจาก วรรณะพราหมณ์ซึ่งเป็นผู้กำ�หนดพัฒนาการของศาสนาพราหมณ์เอง แต่ก็ไม่ได้ มคี วามเช่อื ในศาสนาของตนเสมอไป ยงั มีการร้องเรียนหรอื ตอ่ ต้านความเชอื่ ทาง ศาสนาระหว่างผู้นำ�ด้วยกันเองอยู่เสมอมา โดยเฉพาะในแง่ของการบูชาอำ�นาจ ของเหล่าทวยเทพ รวมท้ังการแบ่งวรรณะก็ไม่ได้ทำ�ให้เกิดความสงบแท้จริง ผู้น�ำ ในสังคมบางสว่ นจึงเร่ิมมีการแสวงหาส่ิงท่เี รยี กวา่ ความสขุ แหง่ ชวี ติ มีรัฐเล็กๆ อีกแห่งหน่ึง ตั้งอยู่ทางเหนือสุดของอินเดียที่เชิงเขาหิมพานต์ (ภูเขาหิมาลัย) ชื่อ กรุงกบิลพัสด์ุ ข้ึนกับแคว้นศากยะ มีกษัตริย์ราชวงศ์ศากยะ ปกครอง พระราชาทรงพระนามวา่ พระเจา้ สทุ โธทนะ พระอคั รมเหสพี ระนามวา่ พระนางสิริมหามายาเทวี ทั้งสองพระองค์มีพระราชโอรสซึ่งในกาลต่อมา จะได้ทรงเป็นผู้นำ�ทางจิตวิญญาณของมหาชน หรือศาสดาในศาสนาใหม่ท่ีมี แนวคิดแตกตา่ งไปจากศาสนาพราหมณอ์ ย่างใหญห่ ลวง 29
พระมหากษตั ริยไ์ ทยกับพระพทุ ธศาสนา 30
เจ้าชายสทิ ธัตถะ ช ม ูพ ท ีว ป : ุพ ท ธ ก า ล ๘๐ ปกี อ่ นพทุ ธศกั ราช เจา้ ชายสทิ ธตั ถะ ราชโอรสของพระเจา้ สทุ โธทนะ และพระนางสิริมหามายา แห่งแคว้นศากยะ เสด็จอุบัติท่ีลุมพินีวันอันเป็น ราชอุทยานหลวง ระหวา่ งเมืองกบลิ พสั ดุ์กับเมืองเทวทหะ เม่ือเจ้าชายสิทธัตถะมีพระชนมายุได้ ๒๙ พรรษา เสด็จออกผนวช (มหาภิเนษกรมณ์) ท่ีริมฝั่งแม่น้ําอโนมานที ทรงสละนิวาสสถานของพระองค์ ๑. เพ่อื แสวงหาสจั ธรรม ทรงแสวงหาแนวทางให้หลดุ พน้ จากความทุกข์ ดว้ ยวธิ ีการ ต่างๆ ท้ังถูกและผิด จนทรงค้นพบอริยสัจ ๔ (การมีอยู่ของทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ ความดับทุกข์ และหนทางไปสู่ความดับทุกข์) ด้วยวิธีฝึกจิตด้วยสติจนถึงซ่ึง ความรแู้ จง้ ในสรรพสง่ิ ๒. ตรสั รูแ้ ละปฐมเทศนา ๑. ประติมากรรมพระพุทธ ในวันเพญ็ วิสาขปุรณมี เจ้าชายสทิ ธัตถะพระชนมายุ ๓๕ พรรษา ตรสั รู้ ประวัติ ประสูติที่ลุมพินีวัน เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่โคนต้นมหาโพธิพฤกษ์ ริมฝ่ังแม่นํ้าเนรัญชรา ๒. รูปเคารพ พระพุทธเจ้า ต�ำ บลอรุ เุ วลา เสนานคิ ม (ปจั จบุ นั เรยี กวา่ “พทุ ธคยา”) ในแควน้ มคธ (แควน้ ใหญ่ แคว้นหนง่ึ ในชมพูทวปี สมยั พุทธกาลปกครองโดยพระเจ้าพมิ พิสาร) แสดงปฐมเทศนา สร้างขึ้นในอินเดีย ในวนั เพญ็ อาสาฬหปรุ ณมี หรอื สองเดอื นภายหลงั ตรสั รู้ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ ทรงแสดงปฐมเทศนา ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรแก่เบญจวัคคีย์ คือฤาษีท้ังห้ารูป ท่ีปา่ อิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมอื งพาราณสี ภาพหน้าซ้าย : ลุมพินีวัน สถานที่ประสูติ ของพระพุทธเจ้า ภาพพิมพ์ จากภาพวาดสีนํ้าโดยศิลปิน พิษณุ ศุภนิมิตร 31
ศาสดาแห่งพุทธ ออกจาริกเผยแผ่ แกน่ ธรรม พทุ ธประวัติจากพระโอษฐ์ ตอ่ จากนน้ั พระพทุ ธเจา้ ไดเ้ สดจ็ เรา ในบดั นี้ ผู้สมั พทุ ธโคดม เจริญมาในศากยสกุล... นคร จารกิ ไปมาในบรเิ วณทร่ี าบลมุ่ แมน่ า้ํ คงคา อันเป็นถิ่นแดนของเราชื่อว่า เป็นระยะเวลา ๔๕ ปี ทรงประกาศ กบิลพัสดุ์ พระเจ้าสทุ โธทนะ คำ�สอนของพระองค์และทรงชักชวนชน เปน็ พระบิดา พระมารดา ทุกช้ันวรรณะและทุกลัทธิความเช่ือถือ ผชู้ นนมี พี ระนามวา่ มายาเทวี ให้มาอยู่ในความหมายแห่ง “ธรรมะ” เราครองอาคาริยวิสัยอยู่ หรือ “ความจริงแห่งชีวิต” ท่ีพระองค์ ๒๙ พรรษา มีปราสาท ๓ ไดท้ รงคน้ พบ หลงั ชื่อวา่ สุจนั ทะ โกกนุท และโกญจะ พร้อมด้วยสตรี พ ร ะ อ ง ค์ ท ร ง ส อ น ไ ว้ อ ย่ า ง สี่หมื่นนางเฝา้ แหนอลงั การ เรียบง่ายว่า ชีวิตมนุษย์เป็นทุกข์เน่ืองมาจากกิเลสตัณหา มนุษย์จะสามารถ ยอดนารีมีนามวา่ ยโสธรา กำ�จัดความทุกข์น้ีได้ด้วยการปฏิบัติตนตามวิถีทาง ๘ ประการ ได้แก่ เห็นชอบ ดำ�ริชอบ พูดชอบ ทำ�ชอบ เลี้ยงชีวิตชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ และ โอรสนามว่า ราหุล ต้งั ใจมน่ั ชอบ เราเห็นนิมิต ๔ ประการแลว้ ชีวิตมนุษย์มี “กรรม” คือผลรวมแห่งการกระทำ�ของตนเป็นสิ่งครอบงำ� สละออกผนวชด้วยม้า กำ�หนด หาใช่เทพยดาหรือพระผู้เป็นเจ้าองค์ใดเป็นผู้กำ�หนด เพราะฉะน้ัน เปน็ ราชยาน บำ�เพ็ญเพียร ด้วยการปฏิบัติตนตามวิถีทางที่ยึดมั่นในจิตใจของตนเองเท่าน้ัน มนุษย์จึงจะ อันเปน็ ทุกรกิริยาสิน้ เวลา สามารถทำ�ลายพันธนาการแห่ง “กรรม” แล้วบรรลุถึง “นิรวาณ” คือการดับ แห่งกเิ ลสและกองทกุ ข์ ๖ ปี (คร้ันตรัสรู้แลว้ ) ไดป้ ระกาศธรรมจักรที่ พระพุทธศาสนาจึงเป็นศาสนาท่ีสอนให้ประพฤติปฏิบัติอย่างมีเหตุมีผล ปา่ อิสิปตนมฤคทายวนั ถึงจะมีแนวทฤษฎีและวิธีปฏิบัติอยู่หลายระดับ แต่โดยเนื้อหาแล้วพุทธศาสนา ในถิ่นแห่งพาราณสี ถอื หลกั อนั เปน็ สายกลางทเี่ รยี กวา่ มชั ฌมิ าปฏปิ ทา โดยมคี �ำ สอนทเี่ ปน็ หลกั ใหญ่ เรา ผโู้ คตมสัมพทุ ธ เปน็ ที่พึง่ ๓ ขอ้ เรยี กวา่ พุทธโอวาท ๓ คือ ของมวลประชา มีภิกษุ ๒ รูป เปน็ อคั รสาวก คือ อปุ ดิสส์ และโกลิต มีอุปฏั ฐากอยู่ ภายในใกลช้ ิดชื่อว่า อานนท์ ภิกษณุ ีที่เปน็ คู่อัครสาวิกา คือ เขมา และอุบลวรรณา อุบาสกผ้เู ป็นอัครอปุ ัฏฐาก คือ จิตตะ และหตั ถาฬวกะ กบั ท้งั อบุ าสิกาที่เปน็ อัครอุปฏั ฐายิกา คือ นันทมารดา และอตุ ตรา พระมหากษัตริยไ์ ทยกับพระพุทธศาสนา 32
๑. สพพฺ ปาปสสฺ อกรณํ (ไมท่ �ำ ความช่ัวทั้งปวง) ช ม ูพ ท ีว ป : ุพ ท ธ ก า ล ๒. กสุ ลสฺสปู สมปฺ ทา (ทำ�แต่ความดี) เราบรรลอุ ดุ มสมั โพธิญาณ ๓. สจิตตฺ ปริโยทปนํ (ทำ�ใจของตนให้สะอาดบริสทุ ธ์)ิ ทีค่ วงไม้อสั สตั ถพฤกษา (แตน่ ัน้ มา) รัศมีหนึ่งวา ศาสนาพทุ ธเสนอหนทางใหค้ นยดึ มน่ั อยใู่ นจติ ใจตนเอง จงึ แตกตา่ งจาก วงรอบกายของเราอยเู่ สมอ ศาสนาพราหมณต์ รงความเป็น “อเทวนยิ ม” (ไมน่ บั ถอื เทพยดาหรอื ผ้มู ฤี ทธ)์ิ พวยพุ่งสงู ๑๖ ศอก ด้วยเหตคุ วามนิยมในศาสนาใหม่ หลังจากยสกุลบุตร และสหาย ๕๔ คน อายขุ ัยของเราบดั นี้ ออกบวชและบรรลุอรหัตตผลแล้ว เกิดมีพระอรหันตสาวกยุคแรก ๖๐ รูป เล็กนอ้ ยเพียงแคใ่ นรอ้ ยปี พระพุทธองค์จึงทรงส่งพระสาวกไปประกาศพระศาสนา ด้วยพุทธพจน์ แตช่ ั่วเวลาเท่าทีด่ �ำ รงชีวี ซ่ึงมีตอนสำ�คัญที่จำ�เป็นหลักกันสืบมาว่า “จรถ ภิกฺขเว จาริกํ พหุชนหิตาย อยู่นั้น เราไดช้ ว่ ยให้ พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย” (ภิกษุท้ังหลาย เธอท้ังหลายจงจาริกไป เพ่ือ หมูช่ นขา้ มพน้ วัฏสงสาร ประโยชนส์ ขุ แก่ชนจ�ำ นวนมาก เพอื่ เกื้อการุณย์แก่ชาวโลก) ไปไดม้ ากมาย ท้งั ต้งั ตลอดเวลา ๔๕ พรรษาแหง่ การเผยแผธ่ รรม พระสงฆส์ าวกเพมิ่ จ�ำ นวนขน้ึ คบเพลิงธรรมไว้ปลุกคน มากมายนับพันนบั หมนื่ ผคู้ นทห่ี นั มาเลอ่ื มใสออกบวช มตี ัง้ แตพ่ ระราชา เจา้ ชาย ภายหลังใหเ้ กิดปัญญาที่ พราหมณ์ และนักบวชในลัทธอิ ่ืน พ่อค้าวาณิชไปจนถงึ โจรไพร (องคุลีมาล) และ จะตื่นขึ้นมาตรสั ร้ตู ่อไป มีกษัตริย์พระองค์หน่ึงได้เข้ามาเป็นเอกอัครศาสนูปถัมภกพระองค์แรกใน อีกไมน่ านเลย แมเ้ รา พทุ ธประวัติ น่ันคือ พระเจ้าอชาตศตั รู ผู้เป็นพระราชาแหง่ แควน้ มคธหลงั จาก พรอ้ มทั้งหมูส่ งฆส์ าวก กระท�ำ ปติ ฆุ าตแกพ่ ระบดิ าของพระองคเ์ อง (พระเจา้ พมิ พสิ าร) แตไ่ ดท้ รงส�ำ นกึ ถงึ กจ็ ะปรินิพพาน ณ ทีน่ ีแ้ ล “กรรม” อนั ใหญห่ ลวงนี้ จงึ ทรงบ�ำ เพญ็ กศุ ลตา่ งๆ เพอื่ ลบลา้ ง และทรงปฏญิ าณตน เหมือนดงั ไฟที่ดับไปเพราะ เป็นอบุ าสกบรษิ ัท ตั้งมั่นในคำ�สอนของพระพุทธองค์ สิ้นเชือ้ ประดาเดชอนั ไม่มี พระเจา้ อชาตศตั รเู ปน็ กษตั รยิ ใ์ นชว่ งปลายและหลงั พทุ ธกาล ทรงปกครอง ใดเทียบได้ ความยิ่งใหญ่ บ้านเมืองโดยตั้งอยู่ในทศพิธราชธรรมและราชสังคหวัตถุ ทำ�ให้ประชาราษฎร์ ทศพลญาณและฤทธา อยู่อย่างเป็นสุข แต่พระองค์ก็ไม่สามารถอุปสมบทหรือบรรลุธรรมขั้นสูง เพราะ ปาฏิหาริย์ หมดสิ้นเหล่านี้ การกระทำ�กรรมหนักคือปิตุฆาต พระองค์ทำ�ได้เพียงทำ�นุบำ�รุงพระพุทธศาสนา พร้อมท้งั เรือนรา่ งวรกายที่ ด้วยดีจนตลอดพระชนม์ชพี ทรงไวซ้ ึง่ คุณสมบตั ิ วิจิตรดว้ ยวรลกั ษณท์ งั้ ๓๒ ประการ อันมีดวง ประภาฉัพพรรณรงั สี ที่ไดฉ้ ายแสงสวา่ งไสวไป ท่ัวทศทิศ ดจุ ดวงอาทิตย์ ศตรังสี ก็จกั พลนั ลบั ดับหาย สังขารทั้งหลาย ล้วนว่างเปล่าดังนี้มิใช่หรือ (โคตมพุทธวสํ , ข.ุ พทุ ธ. ๓๓/๒๖/๕๔๓) 33
ปางชนะมาร : ปรชี า เถาทอง ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาทศั นศิลป์ (จติ รกรรม)
๒บทท่ี การหล่ังไหลของพระพทุ ธศาสนาจากอนิ เดีย สดู่ ินแดนทีเ่ ป็นประเทศไทยในปัจจบุ นั สัตว์ท้ังหลาย เปน็ ผมู้ ีกรรมเป็นของตน เปน็ ทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำ�เนดิ มีกรรมเปน็ เผา่ พันธ์ุ มีกรรมเปน็ ท่ีพึง่ อาศัย กระทำ�กรรมใดไว้ ดกี ต็ าม ชั่วก็ตาม จักเป็นผรู้ ับผลแหง่ กรรมนั้น ... สัตวโ์ ลกยอ่ มเป็นไปตามกรรม กรรมจำ�แนกสัตวใ์ หเ้ ลวหรอื ดี ให้ทรามหรือประณีต ... หว่านพชื เช่นไร ได้ผลเช่นนน้ั ทำ�ดีไดด้ ี ทำ�ช่วั ไดช้ ั่ว ... (พทุ ธวจนะ)
๘ เดือนก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑ ทพทผปอู้วั่รรรงะอะปุ สดเินถจริษเัมา้า้ดฐภองียาพโพ์ นศทรทุ พกะรธรมเงศจะสหาดศ่งาสียคารนสสณาานถชะฝาาธจา่นร๙ักยร๘รเสมถพ๔าทรร,ยวตู๐ราอด๐ทอิ๐กแไปหง่ ปฐมสงั คายนา โดยพระอรหันต์ ๕๐๐ รปู ณ ถา้ํ สตั ตบรรณคหู า ภูเขาเวภารบรรพต เมืองราชคฤห์ มีพระมหากสั สปะเป็น ประธาน พระเจ้าอชาตศตั รูทรงอุปถัมภ์ เริม่ สรา้ งวดั ถ้าํ อชนั ตา ตัง้ แต่ พ.ศ. ๓๔๓ มีอายุ ๑. ใช้งานถึงราว ๘๕๐ ปี หลังปรนิ ิพพาน ๑ ปี = พ.ศ. ๑ พุทธศตวรรษท่ี ๑ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒ พทุ ธศตวรรษที่ ๓ พุทธศตวรรษที่ ๔ อินเดีย หลงั พุทธกาล สังคายนาครัง้ ที่ ๒ พระพุทธศาสนาไดแ้ ตกออกเป็น สองนิกายใหญ่ คือ เถรวาท และ มหาสงั ฆิกะ (ต้นเค้านิกายมหายาน) การสบื ทอดศาสนา ระหว่างห้วงเวลา ๘๐ พรรษา ที่เรียกกันว่าพุทธกาลนั้น มิได้มีเพียง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ตรัสรู้ธรรมแล้วออกเผยแผ่ ยังมีผู้นำ�ในสังคมอีก มากมายท่ีพากันออกแสวงหาสรรพความรู้จนถึงระดับท่ีเป็นศาสดา ศาสดา เจ้าลัทธิท่ีมีความเด่นชัดในความนิยมและกลายเป็นศาสนาขึ้นมาอีกผู้หนึ่งคือ มหาวรี ะ (นคิ รนถนาฏบุตร) ศาสดาแห่งศาสนาเชน/ไชนะ เป็นอกี ศาสนาหนง่ึ ทม่ี ีความเช่อื ในกฎแห่งกรรมคล้ายกับศาสนาพทุ ธ แต่มีวิถที างไปสคู่ วามสุขถาวร ในอีกแบบหนงึ่ มหาวรี ะกเ็ ป็นศาสดาทมี่ สี าวกอยู่มากมายทวั่ ไป แต่หลังจากทา่ น ไดส้ น้ิ ชพี ลงไดเ้ กดิ เหตกุ ารณท์ ะเลาะววิ าทในหมสู่ าวกดว้ ยเรอ่ื งการตคี วามค�ำ สอน พระพุทธองค์ทรงมีปรารภในเร่ืองน้ีว่า ศาสนาพุทธเองก็ควรมีการ สังคายนาเพ่ือให้การสืบทอดนั้นมีอยู่ต่อไป ระหว่างนั้นก็มีอัครสาวกผู้หน่ึงคือ พระสารีบตุ ร ได้แสดงสังคีติสูตรไวเ้ ปน็ ตวั อย่างด้วย ค�ำ ปรารภของพระพทุ ธองค์ เรอื่ งการสงั คายนากลายเป็นความจรงิ ในเวลาอีกเพยี งไมน่ าน “อายุขยั ของเราบัดนี้ เล็กนอ้ ยเพียงแค่ในร้อยปี แต่ชว่ั เวลาเทา่ ที่ดำ�รงชวี ี อยู่น้ัน เราได้ช่วยให้หมู่ชนข้ามพ้นวัฏสงสารไปได้มากมาย ท้ังตั้งคบเพลิงธรรม ไวป้ ลกุ คนภายหลังใหเ้ กดิ ปัญญาทจ่ี ะต่นื ขึน้ มาตรสั รู้ต่อไป” (โคตมพทุ ธวสํ , ขุ.พุทธ.๓๓/๒๖/๕๔๓) พระมหากษตั ริย์ไทยกบั พระพุทธศาสนา 38
พกพำทรุ �เะธนพศิดกัิลพตปรรแ์ะ์อบพอบทุ กอธไินรปูปเทดาใียนงแกสทรม้ทีกัยี่เคมตัน่อือธมงมาารถจะึรุงมาี พ.ศ. ๖๒๑ - พ.ศ. ๖๔๔ รชั สมยั พระเจา้ พถพือทุระเธปเศจน็ ต้ายจวุครันทรทษี่อริทนคเี่ ุป๘ดตีย-ท์รุ่งี่๑๑เ๑รตือัง้งรทาาชงวพงุทศธค์ ศุปิลตปะ์ ช ม ูพ ท วี ป : ห ัล ง ุพ ท ธ ก า ล กนิษกะ ผูจ้ ารึกพระไตรปิฎกไวใ้ น แผ่นทองแดง บรรจลุ งในสถูปเปน็ ต้นฉบับหลวง กนำิก�เานยิดมพหุทาธยศาานสนา พุทธศตวรรษที่ ๔ พทุ ธศตวรรษท่ี ๕ พทุ ธศตวรรษท่ี ๖ พทุ ธศตวรรษท่ี ๗ พทุ ธศตวรรษท่ี ๘ พทุ ธศตวรรษที่ ๙ กำ�เนิดพระเยซูคริสต์ ในวันเพ็ญวิสาขปุรณมี (๑ ปีก่อนพุทธศักราช) น้ันเอง หลังจากบำ�เพ็ญ พุทธกิจมานาน ๔๕ พรรษา พระพุทธเจ้ามีพระชนมายุ ๘๐ พรรษา พระองค์ เสด็จปรนิ พิ พานทีส่ าลวโนทยาน เมืองกุสนิ ารา พระพุทธปัจฉิมวาจา... “วยธมฺมา สงฺขารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ” (สังขารท้ังหลายมีความเส่ือมสลายไปเป็นธรรมดา จงทำ�กิจทั้งปวงให้ถึงพร้อม ดว้ ยความไม่ประมาท) ๓ เดือนหลังพุทธปรินิพพาน (๙ เดือนก่อนพุทธศักราช) จึงมีการ สังคายนาครั้งที่ ๑ ด้วยเหตุที่จะให้พระธรรมวินัยรุ่งเรืองอยู่สืบไป รวมทั้งเหตุ ที่ไม่ทันไรก็มีพระสาวกผู้บวชเม่ือแก่รูปหนึ่งนามว่า สุภัททภิกษุ แสดงตนขึ้นมา กลา่ วจาบจว้ งพระธรรมวนิ ัย การสงั คายนามขี น้ึ ในทป่ี ระชมุ พระอรหนั ต์ ๕๐๐ รปู ณ ถา้ํ สตั ตบรรณคหู า ภูเขาเวภารบรรพต เมืองราชคฤห์ มีพระมหากัสสปะเป็นประธาน พระอุบาลี เป็นผู้วิสัชนาพระวินัย พระอานนท์วิสัชนาพระธรรม (ท่ีจัดแยกเป็นพระสูตร และพระอภธิ รรม) พระเจ้าอชาตศัตรูทรงอปุ ถมั ภ์ การสังคายนาคร้ังที่ ๑ หรือท่ีเรียกว่า การประมวลคำ�สอนของ พระพุทธเจ้า ใช้เวลาสอบทานอยู่ ๗ เดือน จึงได้สำ�เร็จเป็นครั้งแรก นับเป็น ต้นกำ�เนิดของคัมภีร์พระไตรปิฎก คำ�สอนท่ีลงมติกันไว้ในคร้ังปฐมสังคายนานี้ เรียกว่า เถรวาท มีความหมายถึง คำ�สอนต่างๆ ที่วางไว้เป็นหลักการโดย พระเถระ คำ�ว่า เถระ ในที่น้ีหมายถึง พระเถระผู้ประชุมทำ�สังคายนาครั้งแรก 39
พุทธศาสนาเริ่มเผยแผ่เขา้ สู่จีน พวกฮ่นั บกุ เขา้ ยึดอินเดียตอนเหนือ ใกหชนมาลปรพวเรงูทดะจินววีนีปัตทฟิศาแางาลเทสหว้ ีเ่ตียกปรนลน็ ์ บัหเดไลปินักเทฐขาาียงนนจสบาำกนั�คจทญั ีนึกสู่ ทำ�ลายพุทธวิหาร เทวาลยั และ กำ�เนิดมหาวิทยาลยั พุทธ นาลันทา พทุ ธศิลปห์ มดสิน้ อกอาิสำ�หเลนราิดับมศโพดาสย.ศนท.า่า๑อน๑ิสม๖ลุฮ๕าัมมมขดั ึ้นเใรนิม่ ดศินักแรดานช เพด.ินศท. ๑าง๑จ๗าก๓จภีนิกมษาุเอหินีย้ เนดจียงั (พระถงั ซัมจั๋ง) พุทธศตวรรษที่ ๙ พุทธศตวรรษที่ ๑๐ พุทธศตวรรษท่ี ๑๑ พุทธศตวรรษที่ ๑๒ พทุ ธศตวรรษที่ ๑๓ อินเดีย หลงั พุทธกาล ศาสนาพทุ ธในอินเดีย เชือ่ วา่ มีอาณาจกั รทวารวดีในดินแดนทีเ่ ป็น เริม่ อ่อนแอลงตั้งแต่ ประเทศไทยในปัจจบุ ันราวพุทธศตวรรษ พทุ ธศตวรรษที่ ๑๓ ที่ ๑๑ - ๑๖ ศาสนาพราหมณ์ฮินดู รงุ่ เรืองขึน้ มาแทน และพระพุทธศาสนาซึ่งถือตามหลักท่ีได้สังคายนาคร้ังแรกดังกล่าว เรียกว่า แต่ก็ถูกกองทพั อิสลาม เริ่มเข้ามารกุ ราน อย่ถู ึงราว ๓๐๐ ปี นิกายเถรวาท อันหมายถึง คณะสงฆ์กลุ่มท่ียึดคำ�ส่ังสอนของพระพุทธเจ้า ทั้งถ้อยคำ�และเน้ือความที่ท่านสังคายนาไว้โดยเคร่งครัด ตลอดจนรักษาแม้แต่ ตัวภาษาดั้งเดิมคือภาษามคธหรือภาษาบาลี นิกายเถรวาทจึงเป็นชื่อของ นกิ ายท่เี กา่ แก่ทีส่ ุดในศาสนาพทุ ธ หลงั พระบรมศาสดาสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ปรนิ พิ พานลว่ งแลว้ ได้ ๑ ป/ี พรรษา จึงมีการนับพุทธศักราชเป็นปีท่ี ๑ พระพุทธศาสนาในดินแดนชมพูทวีปก็เริ่มมี การสืบทอด รุ่งเรอื ง และถา่ ยทอดส่ดู ินแดนอื่นๆ นบั ต้งั แตบ่ ัดน้นั พ.ศ. ๑๐๐ พระพทุ ธศาสนาแตกเป็นสองนิกาย ภายใน ๑๐๐ ปีหลงั พทุ ธปรินพิ พาน ชมพทู วปี กร็ วบรวมแว่นแควน้ ต่างๆ เข้าด้วยกันมากขึ้น โดยมีแคว้นมคธขึ้นมาครองความเป็นใหญ่ มีความพยายาม ทจ่ี ะสถาปนาเมืองหลวงในทา่ มกลางการเปล่ียนรชั กาลครั้งแลว้ ครง้ั เล่า โดยการ ทำ�ปิตุฆาตหรอื การปลงชีพกษัตริย์แล้วข้ึนตง้ั ราชวงศ์ใหม่ กระทง่ั ถงึ พ.ศ. ๑๐๐ จงึ มาถงึ วาระของกษตั รยิ ผ์ มู้ นี ามวา่ พระเจา้ กาลาโศก แห่งราชวงศ์สุสุนาคผู้สถาปนาเมืองหลวงของแคว้นมคธขึ้นที่ปาฏลีบุตรอย่าง เปน็ การถาวร คร้งั นั้นได้เกิดแนวคิดใหมๆ่ ในหมู่ภกิ ษขุ ้ึนมาให้ตคี วาม โดยเฉพาะ ในกลุ่มของภิกษุวัชชีบุตร ผู้เสนอในส่ิงที่คล้ายกับจะเป็นเรื่องนอกธรรมวินัย 40 พระมหากษัตริยไ์ ทยกบั พระพุทธศาสนา
พ.ศ. ๑๒๔๙ สถาปนาราชวงศป์ าละ พ.ศ. ๑๕๘๗ สถาปนา พ.ศ. ๑๗๔๙ ศาสนาพทุ ธในอินเดีย ช ม ูพ ท วี ป : ห ัล ง ุพ ท ธ ก า ล มีความพยายามฟืน้ ฟศู าสนาพุทธ อาณาจกั รพุกาม ถึงกาลลม่ สลายโดยการบุกรกุ ทำ�ลาย ในอินเดียได้เพียงบางส่วน และเริ่ม ของกองทพั มสุ ลิม เผยแพรเ่ ข้าส่ทู ิเบต ตอ่ มาใน พ.ศ. ๒๐๖๙ - พ.ศ. ๒๔๐๑ ราชวงศโ์ มกลุ (อิสลาม) ปกครอง ยุคพทุ ธศิลป์โจฬะในอินเดียใต้ อินเดียอยู่ถึง ๓๐๐ ปี เริ่มรวบรวมนครรฐั สโุ ขทยั พ.ศ. ๑๗๘๐ พุทธศตวรรษที่ ๑๓ พุทธศตวรรษท่ี ๑๔ พุทธศตวรรษที่ ๑๕ พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖ พุทธศตวรรษที่ ๑๗ พทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ สถาปนาเมืองพระนครแห่งอาณาจักรขอม ปราสาทนครวดั สถาปนาเมืองพระนครหลวง พ.ศ. ๑๔๓๒ - พ.ศ. ๑๔๔๓ เริ่มสรา้ ง พ.ศ. ๑๖๕๖ แห่งอาณาจักรขอม พ.ศ. ๑๗๔๖ - พ.ศ. ๑๙๗๔ ดว้ ยเหตนุ ี้ กลมุ่ ของพระยศกากณั ฑกบตุ รจงึ ไดช้ กั ชวนพระอรหนั ตร์ วม ๗๐๐ รปู ประชมุ สงั คายนาขนึ้ เปน็ ครงั้ ที่ ๒ โดยมพี ระเจา้ กาลาโศกทรงอปุ ถมั ภ์ การประชมุ ท�ำ ที่วาลิการาม เมอื งเวสาลี พระเรวตะเปน็ ผ้ถู าม พระสพั พกามเี ป็นผูว้ สิ ัชนา พระพทุ ธรูปของฝ่ายมหายาน กลุ่มของภิกษุวัชชีบุตรนั้นเองซ่ึงมีจำ�นวนมากพอสมควรจึงได้ทำ�การ ซึ่งมีขึ้นหลังพุทธศตวรรษที่ ๗ ประกาศแยกตัวออกจากนิกายเถรวาทไปเป็นพวกที่เรียกว่า “มหาสังฆิกะ” มี ความหมายถึง พวกสงฆ์หม่ใู หญ่ และทำ�สังคายนาข้นึ ตา่ งหาก เรยี กว่ามหาสังคตี ิ เป็นอาจริยวาทกลุ่มใหม่ ซ่ึงเป็นจุดเริ่มต้นให้เกิดนิกายขึ้น และเป็นต้นกำ�เนิด ของอาจารยาท/อาจรยิ วาท ท่ตี อ่ มาเรียกตนเองวา่ “มหายาน” ภายในอีก ๑๐๐ ปีต่อมา พ.ศ. ๒๐๐ อาจารยาท/อาจริยวาทก็ได้แตก ออกเป็นนิกายย่อยๆ อีกถึง ๑๗ นิกาย คร้ังนั้นพระพุทธศาสนานับว่าได้กลาย เปน็ มนี ิกายยอ่ ยทง้ั หมด ๑๘ เรียกวา่ ๑๘ อาจรยิ วาทบ้าง ๑๘ อาจริยกุลบ้าง ๑๘ นกิ ายบา้ ง (คือ เถรวาทด้ังเดิม ๑ กบั อาจาริยวาทอ่นื ๆ ๑๗) ภายหลังจึงมกี าร สรุปเป็นหลักใหญ่ว่า ในพระพุทธศาสนาได้แตกออกเป็น ๒ นิกายใหญ่ คือ เถรวาทและมหายาน 41
พุทธศตวรรษท่ี๓ : ยุครงุ่ เรอื งของพระพุทธศาสนาในสมยั พระเจา้ อโศกมหาราช พุทธศตวรรษท่ี ๑ และ ๒ เป็นการลงหลักปักฐานพระธรรมคำ�สอน ให้กว้างขวางท่ัวไปในดินแดนชมพูทวีป ดำ�เนินไปท่ามกลางภาวะแวดล้อม หลายประการคือ ๑. ภาวะของการเปลยี่ นผา่ นผอู้ ปุ ถมั ภ์ ซง่ึ ไดแ้ ก่ กษตั รยิ แ์ ละราชวงศท์ ขี่ น้ึ มาเปน็ ใหญใ่ นแควน้ หลกั คอื แควน้ มคธ จากราชวงศส์ สุ นุ าค มาเปน็ ราชวงศน์ นั ทะ มาส่รู าชวงศ์โมริยะ ตามลำ�ดับ ๒. ภาวะของการเปน็ เสน้ ขนานกบั ศาสนาพราหมณฮ์ นิ ดทู ม่ี วี ถิ ที างแตกตา่ ง พระพทุ ธศาสนาทแี่ ตกนิกายออกไป ส่วนหนง่ึ กม็ แี นวคิดองิ ไปทางพราหมณ์ฮนิ ดู อีกด้วย ๓. ภาวะของดินแดนท่ีต้องคอยรับมือกับผู้รุกราน อันได้แก่ พระเจ้า อเลก็ ซานเดอรม์ หาราช กษตั รยิ ก์ รกี แหง่ มาซโิ ดเนยี ในชว่ ง พ.ศ. ๑๕๖-พ.ศ. ๑๕๘ ไดย้ กทพั ผา่ นแควน้ โยนก (บากเตรยี ) เขา้ คนั ธาระ มาตง้ั ทต่ี กั สลิ า เตรยี มยกเขา้ ตมี คธ ของราชวงศน์ นั ทะ และไดพ้ บกบั พระเจา้ จนั ทรคปุ ต์ (ผเู้ ปน็ ตน้ ราชวงศโ์ มรยิ ะในเวลา ต่อมา) แตแ่ ลว้ เลกิ ล้มความคดิ ยกทพั กลบั ไป ยุครุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาครั้งแรกหลังพุทธปรินิพพาน เกิดขึ้นใน ชว่ งตน้ ของพุทธศตวรรษท่ี ๓ พ.ศ. ๒๑๔ เจา้ ชายอโศกซง่ึ เป็นอุปราชของพระเจา้ พนิ ทสุ าร (ผคู้ รองราชยต์ อ่ จากพระเจา้ จนั ทรคปุ ต)์ อยทู่ ก่ี รงุ อชุ เชนี ในแควน้ อวนั ตี ด�ำ เนนิ การยดึ อ�ำ นาจและขนึ้ สกู่ ารอภเิ ษกเปน็ กษตั รยิ ใ์ นอกี ๔ ปตี อ่ มา แลว้ ท�ำ การ แผข่ ยายอ�ำ นาจออกไปจนกวา้ งใหญ่ไพศาล พระเจา้ อโศก กษตั รยิ ท์ มี่ งุ่ หวงั แตก่ ารแผอ่ �ำ นาจดว้ ยการรบพงุ่ และฆา่ ฟนั เร่ิมด้วยการกำ�จัดพ่ีน้องจนหมดส้ินเส้ียนหนาม เม่ือราชาภิเษกแล้วก็มุ่งหน้า ออกตีเอาดินแดนต่างๆ พระหัตถ์เปื้อนโลหิตอยู่ถึง ๘ ปี จนได้สมญาว่ากษัตริย์ ผู้เห้ียมโหด แม้แต่แคว้นใหญ่และเข้มแข็งอย่างแคว้นกลิงคะก็ยังถูกกองทัพของ พระองคเ์ อาชนะไดอ้ ยา่ งเดด็ ขาด จากชัยชนะที่แคว้นกลิงคะน้ีเอง ทำ�ให้พระเจ้าอโศกทรงมองเห็นอนิจจัง ผทู้ ่ีได้ชื่อวา่ เปน็ ศตั รูกับพระองคซ์ ่งึ ก็คือปุถชุ น เป็นเพื่อนมนุษยท์ ีต่ อ้ งมาบาดเจ็บ พระมหากษตั รยิ ์ไทยกับพระพทุ ธศาสนา 42
ลม้ ตายเกลื่อนกลาดอยูใ่ นสนามรบ ภาพทเ่ี หน็ เลือดนองแผน่ ดนิ ราวกับแม่นํา้ นนั้ ช ม ูพ ท วี ป : ห ัล ง ุพ ท ธ ก า ล ทำ�ให้พระเจา้ อโศกทรงเศร้าสลดพระราชหฤทัย หลังจากน้ันจึงทรงตง้ั ปณิธานวา่ จะไมท่ ำ�ศึกสงครามอีก พระเจ้าอโศกทรงหันมานับถือพระพุทธศาสนาในห้วงเวลาน้ัน และในปี ท่ี ๑๐ แหง่ รชั กาล พระองคจ์ งึ เริม่ ด�ำ เนนิ ตามเส้นทางของพระสัมมาสัมพุทธเจา้ ทรงสร้างอนุสรณ์สถานพร้อมเสาศิลาจารึกไว้ ณ ท่ีต่างๆ เป็นการประกาศ หลักธรรมสู่ประชาชน ถือได้ว่า กษัตริย์พระองค์น้ีเป็นผู้ทำ�ให้การมีชีวิต ตัวตน ของพระพุทธเจ้าซึ่งเสด็จดับขันธ์ไปแล้วถึงสองร้อยกว่าปีให้เกิดเป็นรูปธรรม หลักศิลาใหญ่แห่งสำ�คัญน้ันยังเป็นประจักษ์พยาน ณ สถานที่แสดงปฐมเทศนา ต�ำ บลสารนาถ (อสิ ปิ ตนมฤคทายวนั ) เปน็ เสาสงู มรี ปู หวั สงิ หท์ ง้ั สแ่ี ละมธี รรมจกั รเทนิ อยู่บนยอดเสา รูปหัวสิงห์ได้กลายมาเป็นตราแผ่นดินของประเทศอินเดีย และ พระธรรมจกั ร ก็เปน็ สญั ลกั ษณอ์ ยกู่ ลางธงชาตขิ องอนิ เดียในปจั จุบนั เช่นกัน อนสุ รณส์ ถานแหง่ ส�ำ คญั ทพี่ ระองคท์ รงสรา้ งและยงั คงเปน็ ประจกั ษพ์ ยาน มาจนถึงปัจจุบันน้ีก็คือ พระมหาสถูปสาญจี บรรจุพระบรมสารีริกธาตุอยู่ท่ี รฐั มธั ยประเทศ นอกจากการสร้างอนุสรณ์สถาน พระเจ้าอโศกยังได้ทรงสร้างวิหารหรือ วัดวาอารามไปท่วั ดินแดนถงึ กว่า ๘๔,๐๐๐ แหง่ เพ่อื ใหเ้ ปน็ ศูนย์กลางการศกึ ษา โดยรอบวิหารหรือวดั กจ็ ะมสี ิง่ สาธารณปู โภค เช่น อโรคยาวหิ าร (สถานพยาบาล) เพ่ืออำ�นวยประโยชน์ด้านความเป็นอยู่ของประชาชนอีกมากมาย ด้วยความ มีหลักธรรมในการปกครองนี้เองท่ีทำ�ให้พระองค์กลายเป็นกษัตริย์ผู้ย่ิงใหญ่ พระองค์หน่ึงในประวัติศาสตร์อินเดียและประวัติศาสตร์โลก ในเวลาต่อมา พระองคจ์ ึงได้รบั สมัญญานามว่า พระเจา้ อโศกมหาราช ในศลิ าจารกึ แหง่ ไพรตั พระเจา้ อโศกฯ ไดต้ รสั ปราศรยั กบั พระภกิ ษสุ งฆว์ า่ “ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้าทั้งหลาย พระผู้เป็นเจ้าท้ังหลายย่อมทราบว่า โยมมีความเคารพและเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ มากเพยี งใด... สิง่ ใดกต็ ามท่พี ระผู้มพี ระภาคพุทธเจา้ ตรัสไวแ้ ล้ว สง่ิ นน้ั ๆ ทง้ั ปวง ลว้ นเปน็ สภุ าษติ ” 43
๑. ๒. ๓. ๔. 44 พระมหากษตั ริยไ์ ทยกับพระพุทธศาสนา
นโยบาย “ธรรมวิชัย” ของพระองค์นำ�มาซึ่งความรุ่งเรืองสูงสุดของ ช ม ูพ ท วี ป : ห ัล ง ุพ ท ธ ก า ล พระพุทธศาสนาเปน็ เวลารว่ มร้อยปี ในยคุ ดังกล่าวศาสนาพราหมณ์ - ฮนิ ดถู งึ กับ เงียบงันลงไประยะหนึ่ง และก็ด้วยความรุ่งเรืองน้ีเองท่ีทำ�ให้เกิดลาภสักการะ ในหมู่สงฆ์อุดมสมบูรณ์ จึงมีการ “ปลอมบวช” เพียงเพื่อความสะดวกสบาย ทีจ่ ะไดร้ ับ พระเจ้าอโศกมหาราชได้ทรงให้สกึ พระนอกศาสนาเหลา่ นน้ั ออกไปถึง ๖๐,๐๐๐ รูป และทรงอุปถัมภ์ให้พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระเป็นประธาน ท�ำ การสังคายนา ครงั้ ท่ี ๓ พร้อมด้วยพระอรหนั ตท์ แี่ ตกฉานในพระไตรปฎิ กรวม ๑,๐๐๐ รปู ณ อโศการาม เมอื งปาฏลบี ตุ ร การสงั คายนาครงั้ นน้ั ไดม้ กี ารรวบรวม ค�ำ สอนของพระพทุ ธองคเ์ ปน็ พระไตรปฎิ กอยา่ งสมบรู ณท์ งั้ ๓ หมวดคอื พระสตู ร พระวินัย และพระอภธิ รรม แมว้ า่ พระเจา้ อโศกมหาราชจะใหค้ วามส�ำ คญั กบั การท�ำ นบุ �ำ รงุ ศาสนาพทุ ธ แตก่ ไ็ มไ่ ดท้ รงตอ่ ตา้ นศาสนาอนื่ เพราะทกุ ศาสนาตา่ งกม็ หี ลกั เพอื่ ยดึ มน่ั ในกรรมดี ทง้ั สนิ้ ดังศิลาจารกึ ฉบับที่ ๑๒ มีพระราชด�ำ รัสวา่ ภาพหน้าซ้าย : “สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นท่ีรักแห่งทวยเทพ ย่อมทรง ๑. หัวเสาพระเจ้าอโศก ยกย่องนับถือศาสนิกชนแห่งลัทธิศาสนาทั้งปวง ท้ังท่ีเป็นบรรพชิตและคฤหัสถ์ มหาราชรูปสิงห์ ๔ ตัว ดว้ ยพระราชทาน และการแสดงความยกยอ่ งนบั ถอื อยา่ งอน่ื ๆ แตพ่ ระผ้เู ป็นทร่ี กั ๒. รูปสลักพระเจ้าอโศก แหง่ ทวยเทพ ไมท่ รงพจิ ารณาเหน็ ทางหรอื การบชู าอนั ใดทจ่ี ะเทยี บไดก้ บั สงิ่ นเี้ ลย ๓. อักษรในศิลาจารึกของ สิ่งนี้คืออะไร? นั้นก็คือการที่จะพึงมีความเจริญงอกงามแห่งสารธรรมในลัทธิ ศาสนาท้งั ปวง กค็ วามเจรญิ งอกงามแหง่ สารธรรมนี้ มอี ยมู่ ากมายหลายประการ พระเจ้าอโศก แต่ส่วนที่เป็นรากฐานแห่งความเจริญงอกงามน้ันได้แก่สิ่งน้ีคือ การสำ�รวมระวัง ๔. ลายเส้นรูปทรงของ วาจา ระวังอย่างไร? คือ ไม่พึงมีการยกย่องลัทธิศาสนาของตน และการตำ�หนิ ลัทธิศาสนาของผู้อ่ืน เม่ือไม่มีเหตุอันควร... การสังสรรค์สมาคมกันนั่นและ สถูปสาญจี เป็นส่ิงดีงามแท้ จะทำ�อย่างไร? คือ จะต้องรับฟังและยินดีรับฟังธรรมของกัน และกัน จริงดังน้ัน พระผู้เป็นที่รักแห่งทวยเทพทรงมีความปรารถนาว่า เหล่า ศาสนิกชนในลัทธิศาสนาทั้งปวง พึงเป็นผู้มีความรอบรู้ และเป็นผู้ยึดม่ันใน กรรมดี... จะบังเกิดผลให้มีท้ังความเจริญงอกงามแห่งลัทธิศาสนาของตนๆ และความรุ่งเรืองแห่งธรรม” 45
หลงั การสังคายนาคร้ังท่ี ๓ จึงมกี ารจัดส่งพระศาสนทตู ออกไปประกาศ พระศาสนาในตา่ งแดนถงึ ๙ สาย คงจะเปน็ ครงั้ แรกทศี่ าสนาพทุ ธจากชมพทู วปี เรม่ิ เผยแผอ่ อกสโู่ ลกกว้าง ท่ีนับวา่ สำ�คัญตอ่ การมศี าสนาพุทธในประเทศไทยก็คอื ๒ ใน ๙ สาย สายที่ ๘ น้ันมีพระโสณะและพระอุตตระมุ่งมายังดินแดนที่กลายมาเป็น ประเทศไทยในปจั จบุ นั และสายท่ี ๙ มพี ระมหนิ ทะเดนิ ทางไปยงั ตมั พปณั ณทิ วปี หรือกค็ อื ลังกาหรอื ศรลี งั กาในปัจจุบนั พทุ ธศาสนาในลังกา ศาสนาพุทธมาเติบโตในดินแดนลังกาอย่างกว้างขวางซึ่งส่งผลมายัง นครรัฐที่จะกลายเป็นประเทศไทยในอีกราว ๑,๓๐๐ ปีต่อมา โดยมีเส้นทาง สู่เมอื งทางภาคใต้อยา่ งนครศรธี รรมราชก่อน ณ ลงั กาทวปี พระเจา้ เทวานมั ปยิ ตสิ สะ (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๖ - พ.ศ. ๒๗๖) ทรงสดบั ธรรมจากพระมหนิ ทเถระทอ่ี นรุ าธปรุ ะแลว้ ทรงนบั ถอื และอปุ ถมั ภบ์ �ำ รงุ พระพุทธศาสนาอย่างย่ิง รวมทั้งสร้างมหาวิหารที่ได้เป็นศูนย์กลางใหญ่ของ พระพทุ ธศาสนาเถรวาทสืบมา ในปนี ้นั มกี ารสังคายนาคร้งั ท่ี ๔ เพือ่ การประดษิ ฐานพระพุทธศาสนาใน ลังกาทวีป มีพระสงฆ์ ๖๘,๐๐๐ รูปประชุมกัน พระมหินทเถระเป็นประธาน และเปน็ ผถู้ าม พระอรฏิ ฐะเปน็ ผวู้ สิ ชั นา ณ ถปู าราม เมอื งอนรุ าธปรุ ะ โดยพระเจา้ เทวานัมปิยติสสะทรงอุปถัมภ์ ใช้เวลา ๑๐ เดือน การสังคายนาครง้ั น้ีควรเปน็ ครัง้ ที่ ๔ ในประวัติศาสตร์ แตเ่ นอื่ งจากเปน็ กจิ กรรมตามข้อปรารภพเิ ศษโดยท่วั ไป จงึ ไม่นับเขา้ ในประวัตสิ ังคายนา ในช่วงเวลาเดียวกัน พระนางอนุฬา ชายาแห่งพระกนิษฐภาดาของ พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ และสตรีในราชสำ�นักจำ�นวนมากปรารภจะอุปสมบท พระมหินทเถระจึงแนะนำ�พระราชาให้ส่งทูตไปทูลพระเจ้าอโศก ขออาราธนา พระสังฆมิตตาเถรีมาประดิษฐานภิกษุณีสงฆ์ในลังกาทวีป การเดินทางมาของ พระสงั ฆมิตตาเถรีไดน้ �ำ กิ่งพระศรีมหาโพธมิ์ าปลกู ทอ่ี นรุ าธปรุ ะดว้ ย 46 พระมหากษัตริย์ไทยกบั พระพุทธศาสนา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308