Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาถิ่นเจ๊ะเห(ตากใบ)

ภาษาถิ่นเจ๊ะเห(ตากใบ)

Description: ภาษาถิ่นเจ๊ะเห(ตากใบ)

Search

Read the Text Version

คำนำ ภาษาถิ่น คือ คาท่ใี ชเ้ รยี กภาษาที่ใช้พดู กนั ในหม่ผู คู้ นที่อยู่ในพ้ืนที่ทางภมู ิศาสตร์ ตา่ งๆกนั โดย ยังคงมลี ักษณะเฉพาะท่สี าคัญของภาษานนั้ เชน่ ภาษาไทย มีภาษาถน่ิ หลายภาษา ได้แก่ ภาษาไทยถ่ิน อีสาน ภาษาไทยถ่ินใต้ ภาษาไทยถน่ิ เหนือ และภาษาไทยกลาง หรือถิ่นกลาง เป็นต้น โดยทุกภาษาถ่ิน ยังคงใช้คาศัพท์ ไวยากรณ์ ที่สอดคล้องกนั แตม่ ักจะแตกต่างกันในเรื่องของวรรณยุกต์ เปน็ ต้น หากพ้นื ที่ ของผู้ใช้ภาษานัน้ กวา้ ง ก็จะมีภาษาถนิ่ ทีห่ ลากหลาย และมีภาษาถิ่นย่อยๆ ลงไปอีก ทัง้ นี้ภาษาถน่ิ แตล่ ะถน่ิ จะมีเอกลกั ษณ์ทางภาษาของตนดว้ ย ภาษาถ่ินนน้ั มกั เปน็ เรื่องของภาษาพดู หรือภาษาทา่ ทาง มากกว่า ภาษาถน่ิ ใต้ของตากใบ หรือ ภาษาเจะ๊ เห เปน็ ภาษาถิ่นใต้ทส่ี ื่อสารกนั มากในพนื้ ที่บางส่วนของ จงั หวดั ปัตตานี จงั หวดั ยะลา และบางส่วนของรฐั กลนั ตัน ประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะอาเภอตากใบ จงั หวดั นราธวิ าส ภาษาเจะ๊ เห เป็นภาษาท่พี ูดกนั ไพเราะ นมุ่ นวล มีความเปน็ เอกลักษณ์ของตนเอง ในการจัดทาเอกสารภาษาไทยถ่ินใต้ “เจ๊ะเห” คร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมข้อมูลประวัติ ความเป็นมาของ “ภาษาเจ๊ะเห” เป็นแหล่งเรียนรู้สาหรับเยาวชนและบุคคลทั่วไปผ่านช่องทางหนังสือ อิเล็คทรอนิก(E-book) ตลอดจนเป็นการอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรม “ภาษาเจ๊ะเห” ในเอกสาร ประกอบด้วยเนื้อหาความรู้เกี่ยวกบั ประวัติความเป็นมา วิถีชีวิตชาวตากใบ และคาศัพท์ภาษาเจ๊ะเห ท่ีใช้ ในชีวิตประจาวัน หากท่านใดมีข้อมูลเพ่ิมเติม สามารถแจ้งข้อมูลและหลักฐานเพิ่มเติมได้ ณ สานักงาน วฒั นธรรมจงั หวัดนราธิวาส ถนนพชิ ิตบารงุ ตาบลบางนาค อาเภอเมืองนราธวิ าส จงั หวัดนราธิวาส สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนราธิวาส ขอขอบคุณ สภาวัฒนธรรมอาเภอตากใบ สภาวัฒนธรรม ตาบล ชมรมชาวตากใบ องค์การบริหารส่วนตาบลบางขุนทอง วิทยาลัยการอาชีพตากใบ โรงเรียนตากใบ คณะทางานฝา่ ยวชิ าการ(คุณอนันต์ สุขเพ็ชร์, คณุ คง แดงเตีย้ , คณุ ภักดี เสารว์ งษ์ และคุณอรทัย ทองคุปต์) ท่ีให้การช่วยเหลือ สนับสนุนและความร่วมมือมาโดยตลอด หวังว่าเอกสารเล่มนี้จะเป็นแหล่งความรู้ และ ประโยชน์สาหรบั ผสู้ นใจทกุ ๆ ทา่ น สานกั งานวฒั นธรรมจังหวัดนราธิวาส

สำรบญั หนำ้ เร่ือง ๑ คานา ๒ สารบาญ ๓ ขอ้ มูลทั่วไปของอาเภอตากใบ ๓ ๓ - ประวัตคิ วามเปน็ มา ๔ - สภาพท่วั ไป ๔ - สภาพทางเศรษฐกจิ ๔ - ลกั ษณะทางภูมิประเทศ ๕ - ลักษณะภมู ิอากาศ ๑๐ - จานวนประชากร ๑๖ - อาชพี - ศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี ประวัตคิ วามเป็นมาของภาษาไทยถนิ่ ใต้ “ตากใบ”(เจะ๊ เห) วถิ ีชวี ิตของชาวตากใบ คาศัพทภ์ าษาไทยถิ่นใต้ “ตากใบ” (เจ๊ะเห) บรรณานุกรมและแหล่งอา้ งอิง ภาคผนวก(เอกสารและภาพประกอบ)

ขอ้ มลู ทัว่ ไปของอำเภอตำกใบ ประวตั ิควำมเปน็ มำ คำว่ำ “ตำกใบ” มีหลักฐำนอ้ำงอิงว่ำมำจำกเม่ือคร้ังสมัยรัชกำลที่ ๕ ได้ออกพระรำชกฤษฎีกำ จัดตัง้ อำเภอเมอ่ื วนั ท่ี ๒๒ สิงหำคม พ.ศ. ๒๔๕๒ และยกฐำนะตำบลเจ๊ะเหขึ้นเป็นอำเภออยู่สังกัดจังหวัด บำงนรำ มณฑลปัตตำนี และพระรำชทำนนำมว่ำ “อำเภอตำกใบ” และต่อมำในปี พ.ศ. ๒๔๕๘ สมัย รัชกำลท่ี ๖ ได้ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ให้เปลี่ยนชื่ออำเภอให้ตรงกับตำบลท่ีตั้งท่ีว่ำกำรอำเภอ ว่ำ “อำเภอเจ๊ะเห” ทำให้ชำวกลันตันและชำวมลำยโู ดยทัว่ ไปจึงยังนยิ มเรยี กอำเภอตำกใบวำ่ “อำเภอเจ๊ะเห” เมื่อวันที่ ๑๐ มีนำคม พ.ศ. ๒๔๕๑ รัฐบำลไทยและรัฐบำลอังกฤษได้ลงนำมร่วมกันใน สนธิสัญญำฉบับหน่ึงเรียกว่ำ สัญญำตำบำ เพรำะไทยใช้วัดชลธำรำสิงเห ตำบลเจ๊ะเห ริมฝั่งแม่น้ำตำกใบ อ้ำงเป็นหลักฐำนยืนยันว่ำ แผ่นดินตำกใบรวมถึงตัวเมืองนรำธิวำส และจังหวัดปัตตำนี เป็นของไทยมำ เก่ำแก่ มีใจควำมว่ำรัฐบำลไทยยินยอมยกดินแดนมลำยู ซึ่งประกอบด้วย ไทรบุรี กลันตัน ตรังกำนู เปอร์ลิส รำมันเขตใต้ และเกำะลงั กำวี ให้แก่รัฐบำลอังกฤษ เพื่อ แลกเปลี่ยนกับที่อังกฤษยินยอมให้คนในบังคับอังกฤษใน ประเทศไทย ทั้งที่เป็นชำวยุโรปและเอเชียขึ้นตรงต่อศำล ไทยในกรณีกระทำควำมผิด นอกจำกนั้นรัฐบำลอังกฤษ ได้ออก เงินกู้จำนวนหนึ่งให้รัฐบำลไทยสร้ำงทำงรถไฟ สำยใต้ จำกจังหวัดเพชรบุรีลงไปจนสุดเขตแดนไทย ปลำยแหลมมลำยู ในอัตรำดอกเบ้ียร้อยละ ๔ ใน กำรแบ่งเขตกันคร้ังน้ันได้ถือเอำ สันเขำและร่องน้ำ เป็นหลัก เป็นผลทำให้ไทยเรำต้องเสียดินแดนรำมัน และระแงะเขตใต้เป็นเน้ือที่จำนวนประมำณ ๓,๘๖๔ ตำรำงกิโลเมตร ให้แก่อังกฤษ และอังกฤษยอมยก ตำบลเจ๊ะเห ซึ่งเป็นดนิ แดนตะวันออกเฉียงเหนือของ รัฐกลันตัน ซ่ึงมีเน้ือที่ ๒๕๖ ตำรำงกิโลเมตร ให้แก่ไทย ในกำรเจรจำเพื่อแบ่งเขตแดนระหว่ำงไทยกับ อังกฤษในปี พ.ศ. ๒๔๕๒ ฝ่ำยรัฐบำลไทยได้ใช้พระไตรรัตนำนุภำพ คืออนุภำพของพระรัตนตรัยเข้ำช่วย ปกป้องคุ้มครอง กล่ำวคือในบริเวณตำบลเจ๊ะเห มีวัดที่สำคัญและเก่ำแก่อยู่คือ “วัดชลธำรำสิงเห” ทำง ฝ่ำยไทยได้อำศัยวัดนี้เป็นส่ิงต่อรองในกำรเจรจำเพ่ือรักษำดินแดนเจ๊ะเห และได้พระรำชทำนธงชำติสยำม นำมำปักแสดงอำณำเขตว่ำเป็นของประเทศไทย ณ บริเวณเกำะยำวตำบลเจ๊ะเห จงึ ทำให้อำเภอตำกใบคง อยู่ในรำชอำณำจักรไทย สืบมำจนกระทั่งถึงปัจจุบัน วัดดังกล่ำวจึงมีช่ือเรียกว่ำ “วัดพิทักษ์แผ่นดิน ไทย” หรือ “วัดพิทักษ์เจ๊ะเห” หลังจำกเจ๊ะเหได้เป็นดินแดนไทยอย่ำงแน่นอนแล้ว ในวันที่ ๒๒ สิงหำคม ร.ศ.๑๒ (พ.ศ. ๒๔๕๒) รัฐบำลไทยได้ประกำศต้ังตำบลเจ๊ะเหข้ึนเป็นอำเภอตำกใบ เป็นอำเภอหน่ึงของ เมอื งนรำ หรือจงั หวัดนรำธิวำสในปจั จุบัน โดยมขี ุนสมำนธำตวุ สิ ทุ ธิ์ (เปลย่ี น กำญจนรนั ย์) เป็นนำยอำเภอ คนแรก(๑ กรกฎำคม พ.ศ. ๒๔๕๒ – ๗ กรกฎำคม พ.ศ. ๒๔๕๕) ในปี พ.ศ. ๒๔๕๘ พระบำทสมเด็จฯพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัวได้ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ให้ เปล่ียนช่ือบำงนรำเป็นเมืองนรำธิวำส และอีก ๓ ปีต่อมำเปลี่ยนเป็นจังหวัด ส่วนอำเภอน้ันได้ทรง พระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ให้เปล่ียนช่ือตรงกับตำบลที่ต้ังที่ว่ำกำรอำเภอ ทำให้ในระหว่ำงปี พ.ศ.๒๔๕๘ -

ห น้ า | ๒ ๒๔๘๑ อำเภอตำกใบมีช่ือใหม่ว่ำ “อำเภอเจะ๊ เห” ตำมชอื่ ตำบลบำ้ นทีต่ ้งั ตัวท่ีว่ำกำรอำเภอ หลงั จำกนั้นได้ เปลี่ยนกลับมำเรยี กว่ำ “อำเภอตำกใบ” ตำมเดมิ จนถงึ ปจั จุบนั สภำพทว่ั ไป อำเภอตำกใบเป็นอำเภอ ๑ ใน ๑๓ อำเภอของจังหวัดนรำธิวำส มีพื้นท่ีประมำณ ๒๕๓.๔๕ ตำรำงกิโลเมตร หรือ ๑๕๘,๑๒๕ ไร่ ท่ีว่ำกำรอำเภอตำกใบต้ังอยู่ที่ ถนนพิทักษ์ประชำกิจ หมู่ที่ ๓ บ้ำนเจ๊ะเห ตำบลเจ๊ะเห ในเขตเทศบำลเมืองตำกใบ อยู่ห่ำงจำกตัวจังหวัดไปทำงทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตำมถนนทำงหลวงจังหวัดหมำยเลข ๔๐๘๔ เป็นระยะทำงประมำณ ๓๓ กิโลเมตร และห่ำงจำก กรงุ เทพมหำนครประมำณ ๑,๑๘๒ กโิ ลเมตร ๑. อำณำเขต ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ ทะเลอ่ำวไทย ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ ทะเลอ่ำวไทย และประเทศมำเลเซยี ทิศใต้ ตดิ ตอ่ อำเภอสุไหงปำดี และอำเภอสไุ หงโก – ลก ทิศตะวันตก ติดตอ่ อำเภอสไุ หงปำดี และอำเภอเมืองนรำธิวำส ๒. กำรปกครองอำเภอตำกใบ แบง่ กำรปกครอง ได้ดงั น้ี ๒.๑ กำรบรหิ ำรำชรำชกำรส่วนภูมภิ ำค อำเภอตำกใบเปน็ อำเภอ ๑ ใน ๑๓ อำเภอของ จังหวดั นรำธิวำส มหี น่วยงำนรำชกำรและหนว่ ยงำนรฐั วิสำหกิจในพ้ืนทีท่ ้งั หมด ๒๔ แหง่ ประกอบดว้ ย หนว่ ยงำนรำชกำร ๑๘ แห่งและหนว่ ยงำนรฐั วิสำหกจิ ๖ แห่ง ๒.๒ กำรปกครองท้องที่ อำเภอตำกใบไดแ้ บง่ เขตกำรปกครองท้องที่ออกเป็น ๘ ตำบล ๕๒ หม่บู ้ำน ไดแ้ ก่ (๑) ตำบลเจ๊ะเห มีจำนวน ๔ หมูบ่ ้ำน (๒) ตำบลไพรวนั มีจำนวน ๑๐ หมู่บ้ำน (๓) ตำบลพร่อน มจี ำนวน ๖ หมู่บำ้ น (๔) ตำบลศำลำใหม่ มจี ำนวน ๘ หม่บู ำ้ น (๕) ตำบลบำงขุนทอง มจี ำนวน ๖ หมู่บ้ำน (๖) ตำบลเกำะสะท้อน มจี ำนวน ๙ หมู่บำ้ น (๗) ตำบลนำนำค มจี ำนวน ๔ หมู่บำ้ น (๘) ตำบลโฆษิต มีจำนวน ๕ หมบู่ ้ำน ๒.๓ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ อำเภอตำกใบ มอี งค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ทั้งหมดจำนวน ๘ แห่ง ได้แก่ (๑) เทศบำลเมืองตำกใบ (ต้ังอยู่ในพืน้ ทข่ี องตำบลเจ๊ะเหบำงส่วน) (๒) องค์กำรบรหิ ำรส่วนตำบลไพรวนั (๓) องค์กำรบรหิ ำรส่วนตำบลพรอ่ น (ตัง้ อย่ใู นพ้ืนที่ของตำบลพรอ่ นท้ังหมดและตำบล เจะ๊ เหบำงสว่ น) (๔) องค์กำรบรหิ ำรสว่ นตำบลศำลำใหม่ (๕) องค์กำรบรหิ ำรสว่ นตำบลบำงขนุ ทอง (๖) องค์กำรบรหิ ำรส่วนตำบลเกำะสะท้อน (๗) องค์กำรบรหิ ำรสว่ นตำบลนำนำค (๘) องค์กำรบริหำรส่วนตำบลโฆษิต

ห น้ า | ๓ สภำพทำงเศรษฐกจิ ๑. กำรประกอบอำชีพ ประชำกรอำเภอตำกใบ มีกำรประกอบอำชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ กำรทำนำ ทำสวน ยำงพำรำ ทำสวนผลไม้ และมีกำรเลี้ยงสัตว์ เพ่ือกำรจำหน่ำยควบคู่กันไปด้วย สัตว์ที่นิยมเลี้ยงกันมำก ได้แก่ โคเน้ือ กระบือสุกร เป็ด ไก่ ฯลฯ ส่วนอำชีพรองลงมำคือกำรรับจ้ำง ค้ำขำย และกำรทำประมง ซ่ึง จะเป็นกำรทำประมงขนำดเล็กชำยฝั่ง ๑.๑ ครัวเรือนที่ประกอบอำชีพเพียงอย่ำงเดียว มีประมำณร้อยละ ๓๕.๖๓ ของจำนวน ครัวเรอื นทัง้ อำเภอ โดยแบง่ ออกเปน็ ๑.๑.๑ อำชีพรับจ้ำงอยำ่ งเดียว มปี ระมำณร้อยละ ๓๕.๖๓ ของจำนวนครวั เรือนทั้ง อำเภอ โดยแบ่งออกเปน็ ๑) งำนอุตสำหกรรมในโรงงำน ประมำณรอ้ ยละ ๒๒.๗๔ ไดแ้ ก่ ๒) งำนเกษตรกรรม (เช่น ทำนำ ทำไร่ ทำสวน เป็นต้น)ประมำณร้อยละ๑๓.๒๒ ๓) ทำกำรประมงรบั จำ้ ง ประมำณรอ้ ยละ ๔.๑๑ ๔) งำนบรกิ ำร (ขบั รถรับจ้ำง) ประมำณร้อยละ ๐.๙๑ ๕) งำนช่ำงฝมี อื (ชำ่ งไม้ ชำ่ งปนู ชำ่ งฟติ ) ประมำณร้อยละ ๓.๗๐ ๑.๑.๒ อำชีพทำประมงเกษตรกรรม มีประมำณรอ้ ยละ ๕.๑๗ - ทำนำประมำณ รอ้ ยละ ๕.๑๗ ๑.๑.๓ อำชพี ประมงชำยฝั่งมีประมำณรอ้ ยละ ๕.๐๔ ๑.๑.๔ อำชีพคำ้ ขำย มีประมำณร้อยละ ๒.๖๘ ๑.๒ ครัวเรอื นท่ีประกอบอำชพี มำกกว่ำ ๑ อำชพี ขึ้นไป มีประมำณรอ้ ยละ ๖๔.๓๗ ของ ครวั เรือนท้งั อำเภอ โดยแบง่ ออกเปน็ ๑.๒.๑ รับจำ้ งและเกษตรกรรม มีประมำณรอ้ ยละ ๔๓.๔๒ ๑.๒.๒ รับจำ้ งและค้ำขำย มีประมำณรอ้ ยละ ๙.๖๒ ๑.๒.๓ เกษตรกรรมและค้ำขำย มปี ระมำณร้อยละ ๑๐.๗๐ ๑.๒.๔ คำ้ ขำยและประกอบอตุ สำหกรรม มปี ระมำณรอ้ ยละ ๐.๖๓ ลกั ษณะภมู ิประเทศ สภำพภมู ิประเทศของอำเภอตำกใบสว่ นใหญ่เป็นท่ีรำบลุ่มมีป่ำละเมำะปกคลมุ อยู่ทั่วไป แหล่งน้ำ สว่ นใหญ่เปน็ นำ้ กรอ่ ยและนำ้ เคม็ แหลง่ น้ำทีส่ ำคัญคือ แม่น้ำตำกใบ แม่นำ้ บำงนรำตอนลำ่ ง แม่นำ้ สุไหง โก-ลก พรุโตะ๊ แดง เปน็ แหลง่ น้ำธรรมชำติท่ีมีน้ำขังตลอดปี และมีคลองชลประทำนโครงกำรชลประทำน มโู นะ ซึ่งขุดตำมโครงกำรพระรำชดำริเพ่ือเกบ็ น้ำจืดไว้ใช้ในกำรทำนำในพื้นที่รำบลุ่ม มีป่ำสงวนแห่งชำติ ๓ แปลง คือ ปำ่ สงวนแห่งชำติ ปำ่ โคกจะโก ป่ำโคกไมเ้ รอื และป่ำลมุ่ นำ้ บำงนรำแปลง ๒ ลักษณะภูมอิ ำกำศ สภำพภูมิอำกำศของอำเภอตำกใบ มีลักษณะคล้ำยกับอำเภออื่นๆในจังหวัดนรำธิวำส เนอื่ งจำก อยู่ติดฝั่งทะเลอ่ำวไทยอำกำศจึงอบอุ่นสบำย มี ๒ ฤดู คือ ฤดูฝน และฤดูร้อน ฝนตกชุกระหว่ำงเดือน พฤศจกิ ำยนถึงเดือนมนี ำคม

ห น้ า | ๔ จำนวนประชำกร อำเภอตำกใบมีประชำกรรวมท้ังส้ินประมำณ ๖๙,๐๙๗ คน โดยแบ่งเป็นประชำกรชำย ๓๔,๐๔๓ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๔๙.๒๗ ประชำกรหญิง ๓๕,๐๕๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๗๓ มีจำนวน ครัวเรือน ๑๕,๗๓๙ ครัวเรอื น โดยเฉลย่ี ครัวเรือนละประมำณ ๔.๓๙ คน (ข้อมูล ณ วันที่ ๕ ก.พ. ๕๖) อำชพี กำรประกอบอำชพี ทส่ี ำคญั ของรำษฎรชำวอำเภอตำกใบ ไดแ้ ก่ ๑. อำชีพด้ำนเกษตรกรรม เช่น ทำนำ ทำสวนยำงพำรำ สวนปำล์มน้ำมัน สวนผลไม้ ปลูก พืชผัก เลยี้ งสัตว์ และทำประมงชำยฝ่ัง เปน็ ต้น ๒. อำชพี ด้ำนกำรค้ำขำย มีท้ังกำรคำ้ ภำยใน และกำรค้ำชำยแดนระหว่ำงประเทศไทย-มำเลเซีย เพรำะมีพ้นื ที่ตดิ ตอ่ กับชำยแดนของประเทศมำเลเซีย ๓. อำชีพด้ำนอุตสำหกรรมกำรแปรรูปผลิตภัณฑ์ขนำดเล็ก เช่น กำรผลิตน้ำ บูดูจำกปลำทะเล กำรทำขำ้ วเกรยี บจำกปลำทะเล กำรสำนเสื่อกระจดู และกำรทอผ้ำ เปน็ ตน้ ๔. อำชพี อ่ืนๆ เช่น รับจ้ำง ขำยแรงงำน และทำงำนในประเทศมำเลเซีย เป็นต้น ศำสนำ วฒั นธรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณี ชำวอำเภอตำกใบนับถือศำสนำอิสลำมประมำณร้อยละ ๘๐ และนับถือศำสนำพุทธประมำณ ร้อยละ ๒๐ ของประชำกรทั้งหมด จึงมีขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีมีลักษณะหลำกหลำยของประเพณี ทำงศำสนำพุทธ ศำสนำอิสลำม และคตินิยมพ้ืนบ้ำนด้ังเดิมเช่นเดียวกับชุมชนอ่ืน ๆ ท่ีมีประชำกรอำศัย อยู่ร่วมกันระหว่ำงชำวไทยพุทธและชำวไทยมุสลิม โดยมีประเพณีที่สำคัญ เช่น กำรบวชนำค ประเพณี แห่พระ พิธีขึ้นปีใหม่ไทยรับเจ้ำเข้ำเมือง พิธีทำบุญเดือนห้ำ พิธีสงกรำนต์รดน้ำขอพรผู้สูงอำยุ พิธีทำขวัญข้ำวและลำซังของชำวนำ พิธีทำบุญเดือนสิบหรือวันสำรทไทย ประเพณีวันลอยกระทง ของ ชำวไทยพุทธ วนั ตรุษจนี ของชำวไทยเชอื้ สำยจีน และกำรถือศีลอด ประเพณีกวนขำ้ วอำซูรอ งำนเมำลิด พธิ ีเขำ้ สนุ ตั กำรละเลน่ พื้นบำ้ นดเี กฮูลู และวันรำยออำดีอัสฮำ ของชำวไทยมุสลิม เปน็ ต้น

ประวตั คิ วามเปน็ มาของภาษาไทยถิน่ ใต้ “ตากใบ” (เจ๊ะเห) ภาษาตากใบ หรอื เจ๊ะเห เป็นภาษาถ่ินทม่ี คี วามแตกต่างจากถ่นิ อื่น มีรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี ๑. ความหมาย หรือท่ีมาของคาวา่ “เจะ๊ เห”และ“ตากใบ” ๒. แหลง่ ทีพ่ ูดสาเนยี งตากใบ (เจ๊ะเห) ๓. ประวัติ และความเปน็ มาของคน ๔. ลกั ษณะภาษาไทยถิน่ ใตต้ ากใบ (เจ๊ะเห) ๕. ข้อสังเกตบางประการเกย่ี วกับคนพูดสาเนยี งตากใบ ๑. ความหมายหรอื ที่มาของคาว่า “เจะ๊ เห” และ “ตากใบ” ๑.๑ เจะ๊ เห ปจั จบุ ัน “เจ๊ะเห” เป็นชื่อของตาบลหนึ่ง ของอาเภอตากใบอย่ใู นเขตจังหวัดนราธิวาส ห่างจากตัว เมืองนราธิวาส ๓๓ กิโลเมตร มีเขตติดต่อกับรัฐกลันตันของประเทศมาเลเซีย ก่อนปี พ.ศ. ๒๔๕๒ เจ๊ะเห อยู่ในเขตครอบครองของกลันตนั คาว่า “เจ๊ะเห” มีท่ีมา ๒ กระแส คือ กระแสท่ี ๑ อาจารย์เฉลิม แสงสุวรรณ อดีตครูใหญ่โรงเรียนโคกมะม่วง ได้เล่าความเป็นมาจาก คุณพ่อ คือ ขุนวรสิทธ์ิสาธร(ดี) อดีตกานันตาบลพร่อน สมัยพระบาทสมเดจจพระมงกุเเกล้าเจ้าอยู่หัว ว่า “เจ๊ะเห” มาจากคาว่า “เจ๊ะเหง” เพราะเจะ๊ เหง เป็นคนแรกที่เข้ามาตั้งถ่นิ ฐานในบรเิ วณนี้ ตอ่ มามคี นอื่นๆ อพยพมาตง้ั ถน่ิ ฐาน จนเปน็ ชุมชน ต่อมาเรยี กเพย้ี นไปเปน็ “เจะ๊ เห” จนทุกวันนี้ กระแสที่ ๒ จากเอกสาร “ชื่อบ้านนามเมืองนราธิวาส” พิมพ์เมื่อ พ.ศ.๒๕๕๕ หน้า ๖๓ ว่า “ท่ี พ่อค้าจีนแล่นเรือสาเภามาค้าขายและเรือล่ม พ่อค้าจีน ไต้ก๋ง พร้อมลูกเรือพยายามช่วยเหลือตัวเอง จน สามารถข้ึนเกาะท่ีอุดมสมบูรณ์ แห่งหนึ่งได้ทุกคน เม่ือคล่ืนสงบจึงพากันไปกู้เรือและนาสินค้าขึ้นฝั่งได้ สาเรจจ จากน้ันจึงเอาใบเรือ เส้ือผ้า ตากตามก่ิงไม้ ตน้ ไม้ มีชาวพื้นเมืองคนหนึ่ง มีอาชีพตัดไมข้ าย ได้มาตัด ไม้บรเิ วณท่ีพ่อค้าจนี ตากใบเรือและเสื้อผ้า เมื่อเหจนสิ่งเหล่านี้จึงคิดขโมย และได้ไปตัดไม้ท่ีมีเสื้อผ้าตากอยู่ แต่พ่อค้าและลูกเรือ กลับมาเหจนเสียก่อน จึงร้องเอะอะข้ึนว่า เจ๊ะ.....เฮ้ๆ ” เอาเส้ือผ้าอั๊วคืนมา จึงเป็นชื่อ ของ “เจะ๊ เห” ในเวลาต่อ” ๑.๒ ตากใบ คาวา่ “ตากใบ” มที ม่ี าหลายกระแส ล้วนมีความเปน็ มานา่ สนใจกลา่ วคอื กระแสที่ ๑ จากหนังสือสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคใต้ เล่ม ๖ หน้า ๒๖๒๑ ได้ให้ความหมาย ของคาว่า “ตากใบ” มีการสันนิษฐานว่ามาจากช่ือไทยมุสลิมคนหน่ึง ชื่อ “ตาบา” ซ่ึงเป็นคนแรกท่ีเข้าไป ต้ังถิ่นฐานในตากใบ ต่อมาประชาชนในที่ต่างๆ ได้อพยพเข้าไปอาศัยอยู่กับ “ตาบา” เพิ่มข้ึน รวมทั้งคน ไทยพุทธจากภาคกลางด้วย จนกลายเป็นชุมชนใหญ่ขึ้น จึงเรียกหมู่บ้านดังกล่าวว่า “ตาบา” แต่เดิมบ้าน ตาบาเป็นแขวงข้ึนอยู่กับเมืองกลันตัน อยู่ในเขต ตาบลเจ๊ะเห ชาวกลันตันและมลายูโดยทั่วไป จึงยังคง เรยี กอาเภอตากใบว่า อาเภอเจะ๊ เห กระแสที่ ๒ คาว่า “ตากใบ” อาจมาจากคาว่า “ตะไบ” ตะไบเป็นชื่อเกาะ เกาะหนึ่งอยู่บริเวณ ปากแม่น้าสไุ หงโก-ลก มีคนอยูอ่ าศัยเป็นชมุ ชน แต่ปจั จบุ นั เกาะตะไบหายไป อันเน่อื งมาจากกระแสนา้ และ คล่ืนลมในทะเล ผู้รู้บางท่านว่าตะไบเป็นภาษาอาหรับ แปลว่า ตลาด “ตะไบ” และปรากฏอยู่ใน สนธิสัญญากรุงเทพ ฯ ร.ศ. ๑๙๐๖ (พ.ศ. ๒๔๕๒) (วิมลพรรณ ปิตธวัชชัย ๒๕๔๘: ๘๔๙) ด้วยข้อความว่า “สัญญาวา่ ด้วย เขตรแดนตดิ ท้ายหนังสอื ลงวันที่ ๑๐ มีนาคม รัตนโกสินทร์ศก ๑๒๗ คฤสตศักราช ๑๙๐๖

ห น้ า | ๖ ในสัญญา ข้อท่ี ๑ วรรค ๗ ว่า บรรดาเกาะที่อยู่ใกล้แขวงเมืองกลันตัน และเมืองตรังกานู และใต้เส้น บรรทัด ตรงทิศตะวันออกและตะวันตก มีลาน้าโก-ลก จดทะเล ท่ีเรียกว่า ปากน้าตะไบ น้ันจะได้โอนให้ เป็นของกรุงอังกฤษและบรรดาเกาะท่ีอยู่เหนือบรรทัดน้ันคงเป็นของกรุงสยาม” .... (ตัวอักษรเป็นไปตาม หนงั สือสญั ญา) กระแสท่ี ๓ เป็นตานานท่ีเกี่ยวเนื่องกับโคกอิฐ(อิฐกอง) ชุมชนโบราณในเขตตาบลพร่อน อาเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ตั้งอยู่ริมคลองพร่อน ห่างจากท่ีว่าการอาเภอตากใบ ประมาณ ๙ กิโลเมตร ตาม เสน้ ทางตากใบ โคกมะม่วง-โคกใน ตานานกลา่ วไว้โดยเล่าสบื ต่อกนั มาว่า เม่ือประมาณ ๖๐๐-๗๐๐ ปีมาแล้ว บริเวณตากใบ ปัจจุบันเป็นทะเลมีสันทราย ผุดข้ึนเป็นจุดๆ เป็นเส้นทางผ่านของนักเดินเรือท้ังหลาย ทั้งนักแสวงโชค นักผจญภัย พ่อค้า นักบวช บริเวณน้ีไม่มีชื่อ ไม่ เป็นทรี่ ูจ้ กั มกี ลุ่มคน เช่อื สายมอญ ไทยใหญ่ไทยล้ือ มคี วามศรัทธาในพุทธศาสนา ต้องการจะไปนมสั การสถูป บุโรบุโด ในประเทศอินโดนีเซีย ได้นัดหมายกับชาวธิเบต เพื่อไปนมัสการด้วยกัน ขณะน้ันพุทธศาสนาได้ เสือ่ มสูญ ไปจากอินเดียแล้ว แตไ่ ปเจริญท่ลี ังกาและอนิ โดนเี ซีย คณะมีหวั หนา้ คณะช่ือ องค์โทธมะ(โต๊ะชาย ดา) เจ้าแสงเพชร(โต๊ะชายเพชร) นางสงวน ทองทิพย์เกษร(ภรรยาเจ้าแสงเพชร น้องสาวองค์โทธมะ) เจ้า จันทร์แดง ตาอินทร์ ยายจันทร์ ฯลฯ เดินทางมาพร้อมกับเรือ ๗ ลา พร้อมสัมภาระของมีค่าต่างๆ เช่น ทองคา พระพุทธรูป ฯลฯ เดินทางมาถึงปากแม่น้า ใหญ่ เรือได้ถูกพายุและกระแสน้าไหลเช่ียว ทาให้เรือในคณะลาหนึ่งล่มลง นางสงวน ทองทิพย์เกษร เสียชีวิตท่ีปากน้าน้ีด้วย เม่ือคลื่นลมสงบ จึงช่วยกันกู้เรือเกจบสัมภาระต่างๆ พร้อมกับรอขบวนเรือของชาว ธเิ บตไปด้วย ขณะที่รอกจต้องคอยหลบหลกี โจรสลัด ที่คอยปล้นเรือ คณะได้นาเอาใบเรือ ขึ้นฝ่ังไปตากแดด ตามสันทราย ต่อมาบริเวณน้ีรู้จักกันในนาม “ตากใบ” เพราะไม่เคยมีชื่ออ่ืนมาก่อน คณะท้ังหมดได้ ตัดสนิ ใจนาขบวนเรือล่องเข้าไปตามลาน้าคลองพร่อน และต้งั ชมุ ชนข้นึ รู้จกั ในภายหลงั ว่า “โคกอิฐ” ต่อมาคณะได้ถูกโจรสลัดชาวจีน ปล้นเรือและทรัพย์สินมีค่า มีคนถูกฆ่า เป็นจานวนมาก ที่ เหลือเช่ือกันว่า ส่วนหนึ่งเป็นบรรพบุรุษของชาวพร่อน(ตากใบ) พร้อมกับถ่ายทอดความเชื่อ(นับถือหงส์) ประเพณีวัฒนธรรม ภาษาพูด เล่ากันว่าทรัพย์สมบัตินอกจากจะฝั่งไว้ที่โคกอิฐแล้วนาไปเกจบไว้ท่ีเขากาปั้น ทถ่ี า้ ฤาษี ในเขตกะลุวอเหนือ อาเภอเมอื งนราธิวาส จงั หวดั นราธวิ าส สรปุ คาวา่ “ตากใบ” นา่ จะมาจาก ตากใบเรือนเ้ี อง โดยพิจารณาจากเหตกุ ารณส์ ภาพแวดล้อม ๒. แหลง่ ทีพ่ ดู สาเนียงตากใบ(เจะ๊ เห) มีข้อน่าสังเกตว่า กลุ่มบุคคลที่พูดสาเนียงตากใบ(เจ๊ะเห) จะอยู่บริเวณริมฝั่งอ่าวไทยได้แก่บริเวณ ตอ่ ไปน้ี

ห น้ า | ๗ ๒.๑ จงั หวดั นราธวิ าส พูดกันในทุกอาเภอ ๒.๒ จังหวัดปัตตานี ใช้พูดใน อาเภอบาเจาะ(พิเทน), อาเภอปะนาเระ, อาเภอสายบุรี, อาเภอ ทงุ่ ยางแดง, อาเภอไม้แก่น และอาเภอกะพ้อ ๒.๓ จงั หวดั จันทบุรี มีสาเนียงคล้ายตากใบทบ่ี า้ นคลองลาว ตาบลทา่ ใหม่ อาเภอนายายอาม ๒.๔ ชาวมาเลเซีย เช้ือสายไทยในรัฐกลันตัน ฝั่งตะวันออก เช่น ตุมปัด, ปาเซมัส, ปาเซร์บุเต๊ะ, โกตาบาร,ู ตาเนาะห์แมเราะห์ ๓. ประวตั แิ ละความเป็นมาของคนทพ่ี ูดสาเนียงตากใบ เน่ืองจากภาษาพูด วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ของชาวตากใบ แปลกกว่าท้องถ่ินท่ัวๆไป จึงเป็น ปัญหาว่า พวกเรามาจากไหน จากการสอบถามผู้มีความรู้รุ่นก่อนๆ บอกแต่เพียงว่ามาจาก “สะตก”คาว่า “สะตก”หมายถึงทิศตะวันตก เป็นคาเรียกให้ หมายความวา่ ได้อพยพมาจากตอนบนของประเทศ แต่บอก ไม่ได้ว่ามาจากไหน แต่จากการศึกษาจากเอกสารต่างๆ ได้กล่าวความเป็นมาของภาษาตากใบ และ ใกลเ้ คยี งไว้ ในเอกสารต่อไปน้ี ๓.๑ จากสารานุกรมวัฒ นธรรมไทยภาคใต้ เล่มที่ ๑๒ หน้า ๕๖๗๙-๕๖๙๑ ว่า ได้มี นักภาษาศาสตร์ ๒ ทา่ นไดท้ าการศกึ ษาวจิ ัย ท่านท่ี ๑ J.Marvin Brown จากผลงานวิจัยเร่ือง From Ancient Thai Modern Dialects วา่ ภาษาถนิ่ ใต้ตากใบมาจากสุโขทัยโดยตรง ต้ังแต่ ค.ศ.๑๔๐๐(พ.ศ.๑๙๔๓) อกี สายหน่ึงจากสุโขทยั ตรงมา ทน่ี ครศรธี รรมราช กลายเป็นภาษาถน่ิ ของจังหวดั ต่างๆ ใชเ้ วลาศึกษาตงั้ แตป่ ี พ.ศ.๒๕๐๘-๒๕๑๒ ท่านที่ ๒ Anthony Van Nostrand Diller ในงานวิจัยช่อื Toward a model of southern Thai Dialossic speech Variation โดยแบ่งเป็นกลุ่มๆต้ังแต่ กลุ่ม A-F กลุ่ม F เป็นภาษา ที่ใช้พูดอยู่ใน จังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส และสตูลบางส่วน ท้ังสองท่านไม่ได้กล่าวถึงภาษาของคนไทย เชื้อสาย มาเลเซียที่อยู่ในบริเวณรัฐกลันตัน ตรังกานูของประเทศมาเลเซยี แมจ้ ะมีสาเนยี งภาษาใกล้เคยี งกันมาก ๓.๒ วีระ สุวรรณ และแฮลาย ปรามวล ได้กล่าวไว้ในบทนาหนังสือ ช่ือบันทึกมรดกวัดไทยใน รัฐกลนั ตัน ความโดยยอ่ ตอนหนึ่งว่า “คนมาเลเซยี เชื้อสายไทย หรอื คนสยาม ที่อาศยั อยใู่ นรฐั กลันตันเป็น ชนชาติท่ีตั้งถิ่นฐานอยู่ในรัฐกลันตันมานาน สันนิษฐานว่ามากกว่า ๖๐๐ ปี ส่วนใหญ่จะใช้ภาษาไทยถ่ินใต้ สาเนียงตากใบหรือภาษาเจ๊ะเหในชีวิตประจาวัน (คนไทยบางส่วนในจังหวัดนราธิวาส และปัตตานี กจใช้ ภาษาเจ๊ะเหในชีวิตประจาวัน คาดว่าคนเหล่านี้เป็นคนกลุ่มเดียวกัน อาศัยอยู่ในแผ่นดินเดียวกนั โดยอพยพ มาจากถน่ิ อ่นื ซ่งึ จากข้อสังเกต พบว่าชนกลุ่มน้จี ะอาศัยอยู่ในรัฐ และจงั หวัดที่อยูต่ ดิ กับทะเลจนี ใต้) การอยูอ่ าศยั ของคนสยามในรัฐกลนั ตนั แบ่งออกเป็น ๓ กลมุ่ - กลุม่ ที่อยู่อาศัยชายแดนประเทศไทย อาศยั ในเขต ๓ อาเภอคือ - อาเภอตาเนาะแมเราะห์ ติดกบั อาเภอแวง้ - อาเภอปาเสมัส ตดิ กบั อาเภอสุไหงโก-ลก - อาเภอตมุ ปัด ติดอาเภอตากใบ - กลุ่มติดทะเลจนี ใต้ จะอยูอ่ าศยั กบั แม่นา้ ทเี่ ช่ือมต่อกับทะเลจีนใต้ เช่นแม่นา้ สไุ หงโก-ลก แม่นา้ กลนั ตัน แมน่ ้าเสมอรกั (Semarak) - กลุ่มอ่ืนๆ คือกลุ่มที่อพยพจากกลุ่มท่ี ๑ และ ๒ เพื่อหาท่ีดิน ทานา ทาไร่ เมื่อได้ท่ี เหมาะสมจงึ ตั้งเป็นชมุ ชน นอกจากนี้ประวัติของบางหมู่บ้าน เช่น บ้านยามู อาเภอตุมปัด กล่าวว่า บ้านยามู เริ่มต้นใน สมัยอยุธยา โดยพระเจ้าแผ่นดินของอยุธยาได้เสดจจ มาถึงหัวเมืองทางใต้ หรอื หวั เมืองมาลายู ขณะทรงหยุด

ห น้ า | ๘ พักทัพช้างเผือก ซึ่งเป็นช้างทรงของพระองค์ ได้เตลิดหนีเข้าป่า พระองค์จึงให้ทหารและไพร่พล... ออก ตามหาช้าง และคาดโทษล่วงหน้าไว้ว่าหากจับช้างไม่ได้ จะประหารชีวิตท้ังหมด(เรื่องเดียวกัน หน้า ๕๘) ที่หมู่บ้านบังหญัง อาเภอตุมปัด กลันตัน จากคาบอกเล่าต่อๆกันมาหลายชั่วอายุคนพอจับใจความได้ว่า กล่มุ คนที่อาศัยหมู่บา้ นบังหญงั เปน็ กลมุ่ คนทม่ี าจากสุโขทยั ตอนปลาย (เรอื่ งเดียวกนั หน้า ๗๕) “ช้าง” นีป้ รากฏช่อื เกยี่ วกับ “ช้าง” อยใู่ นเขตนราธิวาส ๓ แห่ง ด้วยกนั คือ - บ้านปลักช้าง อยู่ในเขตตาบลพร่อน อาเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส เดิมเป็นปลัก ขนาดใหญ่ - ตาบลไพรวัน อาเภอตากใบ บางคนไดใ้ หข้ อ้ สงั เกตว่าน่าจะมาจาก “พลายวนั ” - อาเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส มีช่อื บ้านว่า กาเยาะมาตี แปลว่า “บ้านช้างตาย” (มาจากคาวา่ คช คะชา กาเยาะ(ช้าง)-มาต(ี ตาย) ๓.๓ เจรญิ ไชยชนะ ได้กล่าวไวใ้ นหนังสือภูมศิ าสตร์ประวตั ิศาสตร์สากล พิมพ์เม่ือ พ.ศ.๒๔๙๒ มี ขอ้ ความ ดังน้ี “ประจวบ กันคร้ังนั้น มีเหตุเกิดขึ้นในประเทศลานนาไทย เมื่อพระเจ้าสามฝั่งแกนข้ึนครอง เมืองเชียงใหม่ เจ้าย่ีกุมกาม ผู้เป็นพระเชษฐา ซึ่งครองเมืองเชียงรายอยู่ กจปรารถนาจะได้ครองเมือง เชียงใหม่ จึงยกทัพมาหมายจะรบ แต่กลับสู้ทัพเชียงใหม่ไม่ได้ จึงขอกาลังพระมหาธรรมราชาท่ี ๒ ไปช่วย พระมหาธรรมราชาที่ ๒ เหจนเป็นโอกาส จึงเชิญสมเดจจพระราเมศวร ข้ึนไปท่ีเชียงใหม่ พระมหาธรรมราชา เป็นทัพหน้า ครั้งนั้นได้ครอบครัวเปน็ พวกไทยล้ือ เป็นเชลยมาเป็นอันมาก จึงโปรดให้ส่งไปต้ังภูมิลาเนาอยู่ ตามหัวเมืองในแหลมมาลายู นับเป็นต้นวงศ์ของพวกชาวนคร” ท่ียังพูดเป็นสาเนียง ล้ือ และใช้ศัพท์ ภาษาไทยลอ้ื ปัจจบุ ันนี้” ๓.๔ จากพงศาวดาร สมยั อยุธยา ได้บันทกึ ไวใ้ นสมัยพระราเมศวร (คร้ังท่ี ๒) มขี ้อความวา่ “เมื่อศักราช ๗๔๖ ปีชวดฉอศก (พ.ศ.๑๙๒๗) สมเดจจพระราเมศวร ให้เลียบพลขึ้นไปเมือง เชียงใหม่ ต้ังค่ายหลวงใกล้คูเมือง ๑๕๐ เส้นให้เร่งปล้นวันจันทร์ เดือน ๔ ขึ้น ๔ ค่า เพลา ๓ ทุ่ม ๒ บาท เดือนตก เจ้าพนักงานยิงปืนใหญ่ ปืนน้อย ระดมทั้ง ๓ ด้าน เอากระไดหก พาดปืนกาแพงข้ึนไป พระเจ้า เชียงใหม่ต้านไม่ได้ เทครัวหนีออกเพลา ๑๑ ทุ่ม ทหารเข้าเมือง ได้แต่นักส้างบุตร เจ้าเมืองเชียงใหม่มา ถวายพระเจ้าอยู่หวั ตรัสกบั นกั ส้างวา่ พระเจ้าเชียงใหม่บิดาทา่ น หาสัตยานุสัตยม์ ิได้ เราคดิ วา่ จะออกมาหา เราโดยสัตย์ เราจะให้คงครองราชสมบัติ ตรสั ดังนั้นแล้วให้นกั ส้าง ถวายสัตยานสุ ัตย์ พระเจ้าอยหู่ วั กใจ ห้แบ่ง ไพร่พลเมือง ไว้ตามสมควร เหลือน้ันกจให้เทครัวอพยพหญิงชายลงมา ให้นักส้างลงส่งเสดจจถึงหัวเมือง สวางคบุรี ทรงพระกรุณา ให้นักส้าง กลับขึ้นไปครองราชสมบัติในเมืองเชียงใหม่ พระเจ้าอยู่หัวเสดจจ เข้า เมอื งพษิ ณโุ ลก นมสั การพระชินศรี พระชินราช เปลื้องเคร่อื งตน้ สกั การบูชา สมโภชเจ๊ดวัน เสดจจ ลงมาพระ นคร และลาวซึ่งต้อนลงมานั้น ให้ส่งไปไว้เมืองพัทลุง เมืองสงขลา เมืองนคร เมืองจันทบูร แล้วเสดจจออก ทรงศลี ยงั พระท่ีน่งั มังคลาภิเษก เพลา ๑๐ ทุม่ ” จากพงศาวดารอยุธยา และจากประวัติศาสตร์ทาให้เช่ือได้ว่า กลุ่มคนท่ีพูดสาเนียงตากใบ (เจ๊ะเห) ทาให้เขตปัตตานี นราธิวาส ยะลา คนเช้ือสายไทยในมาเลเซีย เป็นคนกลุ่มเดียวกัน คืออพยพมา จากภาคเหนือแถบเชียงใหม่ สุโขทัย ทั้งนี้ พิจารณาถึง วัฒนธรรมด้านต่างๆ ซึ่งเป็นภาษากลางเลิกการใช้ แล้วแต่ทางตากใบยังใช้อยู่ ดังปรากฏในหนังสือ ไตรภูมิพระร่วง พระราชนิพนธ์ โดย พระมหาธรรมราชา- ลไิ ท

ห น้ า | ๙ เชน่ เลกิ หมายถึง ยกขึ้น เบิก หมายถึง เปิด ผ้ารา้ ย หมายถึง ผ้าขี้ร้ิว ครน หมายถึง เกรงกลวั โจกเจก หมายถึง ตงั้ แง่ ฯลฯ ๔. ลักษณะของภาษาถ่ินใตต้ ากใบ(เจ๊ะเห) ท่วงทานองการพูดนิ่มนวล เนิบช้า ไม่กระด้าง อ้อยสร้อย ผิดกับภาษาถ่ินใต้อ่ืนๆ ท่ี ห้าว ห้วน เฉียบขาด เร่งเร้า รวบรัด แต่เนื่องจากตากใบ เป็นทางผ่านของนักเดินเรือ นักผจญภัย นักเส่ียงโชค นักพรต นักบวช พ่อค้า เคยอยู่ในเขตการปกครองของอาณาจักรโบราณ หลายอาณาจักร เช่น ลังกาสุกะ ตามพรลิงค์ ศรวี ิชัย มัชปาหิต เจนละ ตลอดจนชาตติ ะวันตก ทาใหม้ ีภาษาต่างๆปะปนอยใู่ นสาเนียงตากใบ (เจ๊ะเห)มากมาย เช่น ภาษาชวา-มาลายู ภาษาเขมร ภาษาจีน ภาษาบาลสี นั สกฤต ๕. ข้อสงั เกตบางประการเกย่ี วกับคนทพ่ี ูดสาเนยี งตากใบ ๕.๑ การเรยี กช่ือ สงิ่ ของ เครื่องใช้ จะมีคาราชาศัพท์ ปะปนอยู่ ทาให้เขา้ ใจว่า บริเวณน้ีคงจะเป็น ท่ตี ง้ั ถน่ิ ฐานของเจ้านายผูม้ ีบรรดาศักดส์ิ ูงพอสมควร ๕.๒ การใชค้ านาหน้าผู้ชาย ท่ีบวชเรียนแล้วว่า “เจา้ ” แทนที่จะใชค้ าวา่ “ทิด” เหมือนภาคกลาง คนทไ่ี มไ่ ด้บวชจะใช้ คาอ่นื เช่น เณร...อี ตามดว้ ยชื่อ ๕.๓ ผชู้ ายมอี ายุ นิยมโพกหัวดว้ ยผ้าขาวมา้ คลา้ ยผชู้ ายเชือ้ สายเจ้านายทางเหนอื ๕.๔ เมอื่ ๖๐-๗๐ ปี มาแล้ว พ่อกบั ลกู ใชค้ าพูดว่า “กู” แทนตวั เองถอื ว่าเป็นคาสุภาพ ๕.๕ นับถือรูปหงส์ ผู้ที่จะบวชเรียนจะมีซองหมากพลู ธูปเทียน ดอกไม้ และรูปหงส์แกะสลักให้ ลูกหลานไปกราบขอขมาผู้สูงอายุ หรือขอขมาลาโทษ ขออโหสิกรรม ตามวัดต่างๆ จะมีเสาธงรูปหงส์ปัก เอาไวด้ ้วย แตป่ ัจจุบนั เลอื่ นหายไป ๕.๖ มีคุณธรรม จริยธรรมสูงมาก หากพบพระภิกษุ สามเณรในระหว่างทางจะหลีกทางให้พร้อม ท้ังก้มลงกราบทพ่ี ื้นดนิ ผสู้ นใจศึกษาภาพจติ รกรรมฝาผนงั ได้ท่ีวัดชลธาราสงิ เห ตาบลเจ๊ะเห อาเภอตากใบ จงั หวดั นราธิวาส ๕.๗ การแตง่ กายของสตรสี งู อายุ จะเกล้ามวย ชาวบ้านเรยี ก “เกลา้ มวยดากแตแหร” และจะมผี ้า คลมุ หนา้ อกคลา้ ยสะไบ หมายเหตุ คาว่า “แตแหร” เป็นคาเรยี กช่อื มะม่วงหิมพานต์ ภาษามาลายู อ่านวา่ “แตแฆ” คาว่า “ดาก” คือ เมลจดมะม่วงหมิ พานต์สว่ นทแี่ ขจง

วิถีชวี ิตชาวตากใบ ชาวตากใบมีวิถชี ีวิตที่ละม้ายคล้ายคลึงกับชาวไทยท้องถ่นิ โดยทว่ั ไป เมื่อไดผ้ สมผสานสภาพความ เป็นอยู่ร่วมกันกับวิถีชีวิตของชาวไทยมุสลิมแล้ว ทาให้เกิดความกลมกลืนกันในทางด้านภาษาและสภาพ ความเป็นอยใู่ นบางสว่ น ทต่ี ้องมีการพึ่งพาอาศัยกนั เรื่อยมาด้วยความปกตสิ ุข แตอ่ ย่างไรก็ตามดว้ ยลักษณะ ของความเป็นไทยท้องถ่ินท่ียังคงรกั ษาประเพณีวัฒนธรรมเฉพาะของตนเองสบื ทอดต่อ ๆ กันมา คนไทยที่ ใชภ้ าษาถ่ินตากใบจึงยังคงมกี ารสืบทอดลักษณะเฉพาะของตนเองที่เป็นเอกลักษณ์พอจะสังเกตได้ ในด้าน ต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี้ ๑. ลักษณะการสรา้ งบา้ นเรือน ๑.๑ นิยมสร้างบ้านชัน้ เดยี วเพราะถ้าสรา้ งบ้านเป็น ๒ ช้ันข้ึนไป ในบางครงั้ เดก็ อาจจะไปอยูบ่ นช้ัน ท่ีสูงกว่าหรือบนหัวของผู้ใหญ่ และในกรณีพระกับชาวบ้านก็เช่นกัน ชาวบ้านไม่ควรอยู่บนหรืออยู่ในที่สูง กว่าพระ ไม่ว่าจะเป็นพระพุทธรูปหรือพระสงฆ์ จะเป็นสิ่งท่ีไม่ดี แสดงให้เห็นถึงความเชื่อของชาวบ้านที่ เชื่อถือสบื ต่อกนั มา ๑.๒ ไม่นิยมการสร้างบ้านให้ตั้งอยู่ในทิศท่ีความยาวของตัวบ้านขวางทิศทางของดวงตะวันหรือ ขวางทางกับทิศตะวันออก(คือการสร้างบ้านให้ความยาวของสันหลังคา ยาวจากทิศเหนือไปยังทิศใต้หรือ จากทิศใต้ไปทิศเหนือ)เพราะเช่ือว่าเจ้าของบ้านจะอยู่ไม่เป็นสุขจะทาอะไรก็จะมีปัญหาและอุปสรรคอยู่ เสมอ ๑.๓ นิยมสร้างบ้านยกพ้ืน ใช้ไม้ทาพื้นบ้าน นอกจากไม้กระดานแล้วยังใช้ไม้ชะโอน(หลาวโอน) ไม้ หมาก ไม้ไผ่ ตามลาดับ พ้ืนบ้านมีความแตกต่างหลาย ระดับกัน เพราะเช่ือถือกันมาแต่โบราณว่าเด็กไม่ควร นงั่ เสมอผู้ใหญ่ ผู้ท่ีมีศักด์ิหรือฐานะสูงกว่าไม่ควรน่ังต่า กว่าผู้ทม่ี ศี ักดิห์ รือฐานะต่ากวา่ ๑.๔ การสร้างบ้านนิยมรองปลายด้านล่างของ เสาโดยใชฐ้ านรองท่เี รียกเปน็ ภาษาพนื้ บ้านวา่ ตนี เสา(ปูนหลอ่ ขนาดเสาแต่ส่วนทีเ่ ป็นพ้นื ล่างหล่อให้มีขนาด ใหญ่ออกมาเป็นฐานท่มี ัน่ คง) เพราะเปน็ ประโยชน์ในการรอ้ื ถอน เคล่ือนย้าย กนั เสาชื้นผุ และกันปลวก ๑.๕ การสร้างบ้านแต่ด้ังเดิม ได้นาส่วนต่าง ๆ ของบ้าน เช่น เสา รอด หลังคา พ้ืน ฝา ฯลฯ มา ประกอบกันเปน็ บา้ น โดยใชเ้ ดือยทาจากไม้เหลากลมเจาะและตอกยดึ แทนตะปู ๑.๖ บ้านที่สร้างเป็นตัวบ้านหลักหลังแรกเรียกเป็นภาษาพื้นบ้านว่า “แม่เริน”(เริน=บ้าน) หลังจากน้ัน มีการต่อเติมส่วนประกอบอื่น ๆ ตามมา ทาให้บ้านสมบูรณ์พร้อมสาหรับใช้สอยและอาศัยอยู่ ได้อย่างมีความสุข ส่วนประกอบของบ้านดังท่ีกล่าวมา มีลักษณะการสร้างผสมผสานเข้ากับความเชื่อใน เร่อื งตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปนี้ ๑.๖.๑ หน้าบ้านมีนอกชานไว้ตั้งน้าด่ืม ล้างจานหรอื วางส่งิ ของ บางบ้านใช้บริเวณนอกชาน หน้าบา้ น และกน้ั ด้วยไมไ้ ผ่ขัด เรียกเปน็ ภาษาพนื้ บา้ นว่า “ตหึ รา๊ ง” กนั้ แล้วใช้เป็นทปี่ สั สาวะของคนในบา้ น ไดท้ ุกคน ๑.๖.๒ รึเบียงกับซึหงาบ เป็นตัวประกอบของบ้านรองจากตัวเรือน เอาไว้เพ่ือการใช้สอยให้ บ้านสมบูรณ์ข้ึนอาจใช้เป็นห้องนอน ห้องน่ังเล่น ห้องรับแขก ห้องครัว ห้องเก็บของ ฯลฯ การที่จะ เรียกชื่อวา่ รึเบียงหรือซึหงาบนั้น เรียกได้ตามลักษณะการต่อเติมบ้านท่ีแตกต่างกันคือ รึเบียง จะใช้เรียก

ห น้ า | ๑๑ ส่วนของบ้านท่ีต่อเตมิ ออกมาจากด้านท่ีเป็นชายคาบา้ น ส่วนท่ีเรยี กวา่ ซึหงาบจะใช้เรียกส่วนของบา้ นที่ต่อ เติมออกมาจากทางด้านที่เปน็ จ่ัวของบ้าน ๑.๖.๓ บันได ขั้นบันไดหรือลูกบันไดมักใช้ไม้กลม นิยมใช้จานวนข้ันเป็นเลขคี่ เพราะมี ความเชื่อด้านไสยศาสตร์ว่าถา้ เป็นเลขคู่ จะเป็นบันไดใชส้ าหรับผเี ดิน ๑.๖.๔ ประตู ไม่นิยมทาหันหน้าไปทางทิศตะวันตก เพราะมีความเช่ือทางไสยศาสตร์ ว่าไม่ เป็นมงคล และวสั ดุที่ใชท้ าประตูห้ามทาจากไม้ไผ่ขดั ๑.๖.๕ หน้าจั่วภาษาตากใบเรียกว่า “หัวตะโหร่” หน้าจั่วทั้งสองข้างของหลังคาบ้านจะทา ขน้ึ จากไม้ไผส่ านเพื่อปิดป้องกันแสงแดด กนั ฝนสาด และใช้ป้องกนั ไมใ่ ห้สัตวม์ ีพษิ และสตั วอ์ ่ืน ๆ เข้ามาใน บ้านได้ ๑.๖.๖ หลังคาท่ีมุงด้วยจาก จะร้อยผูกแกนไม้ตับจากกับโครงหลังคาด้วยเชือกท่ีทาจาก ตน้ ไมไ้ ผ่อ่อนท่ีภาษาพ้ืนบา้ นเรียกกนั ว่า “ตอกบิด” ๑.๖.๗ ฝาบ้าน ทาด้วยไม้กระดานเรียกว่า กือดานก้าน(ก้ัน) หรือทาด้วยไม้ไผ่สานข้ึนอยู่กับ ฐานะ ความจาเป็นและความยากง่ายในการทา ส่วนมากหอ้ งนอนหรือท่ีน่ังเลน่ เป็นประจานนั้ มกั กน้ั ด้วยไม้ เพราะว่ามิดชดิ กว่า ๒. อาชพี ๒.๑ อาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะอาชีพการทานาเป็นอาชีพหลักนอกจากนั้นคือทาสวน ทาไร่ เป็นอาชีพรองลงมา แต่ที่เป็นมาแต่ดั้งเดิมจะทานาเพียงอย่างเดียวแล้วหยุดพักผอ่ นเพื่อรอฤดูการทานาใน ปีต่อไป จะมีการเพาะปลูกบ้างก็คือปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อบริโภคในครัวเรือนและแลกเปลี่ยนแบ่งปันกัน กนิ หรอื มคี ้าขายบ้างแตม่ ีเพยี งเล็กน้อยเท่านั้น เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ทางการเกษตรก็จะผลิตข้ึนมาเองโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีส่ังสมการปรับปรุง มาอย่างต่อเน่ืองให้เกิดการพัฒนาเปล่ียนแปลงรูปร่างให้เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ เคร่ืองมือในการ ประกอบอาชพี การเกษตร เช่น ตาเยาะ ไถ แอกเด่ยี ว แอกคู่ จอบ พร้า กอื ปะ มดี ทบั ๒.๒ อาชีพประมง เป็นอาชีพรองลงมา ในที่นี้คือการประมงพ้ืนบ้าน เป็นการประมงน้าจืดที่ สามารถนามาใช้บริโภคในครัวเรือน และเมื่อเหลือกินเหลอื ใช้ก็นามาแลกเปล่ียนแบ่งปันหรือนามาขายหา รายไดเ้ ขา้ สคู่ รอบครัว เคร่ืองมือทาประมงน้าจืด เช่น แห หยุด ไซ ซ่อน ชุด กระบอกดักปลาไหล(ภาษาตากใบเรียกว่า “ทวน” ภาษากลางเรียกว่า “ลัน”) เล้า สุ่ม นั่งได้ กือหย่อง ร้านวิ่ง ดักหลุม ดักไห รางวิดปลา ปิด ตะโล๊ะ ทงเบด็ ตกเบ็ด ฉมวก คึนาง ๒.๓ อาชีพล่าสัตว์อ่ืน ๆ เป็นอาชีพที่คนส่วนมากไม่ค่อยจะนิยมเพราะถือว่าเป็นการทาบาป มี คนเพียงส่วนน้อยบางคนท่ีชอบล่าสัตว์ตามท้องถิ่น เชน่ นก กะรอก แย้ แลน(ตะกวด) และท่ีอาศัยอยู่ตาม ปา่ เช่น หมูปา่ ค่าง ลงิ ไกป่ า่ มสู ัง หนนู า ค้างคาว ตอ่ ผ้ึง ฯลฯ เครอื่ งมือลา่ สัตว์ เช่น ปืนแก็บ หนา้ ไม้ ปาง(หนังสะติ๊ก) ธนคู ัน(ทาแบบธนูแตใ่ ชก้ ระสนุ เหมือนกับ หนังสะต๊ิก) แร้ว แร้วคันยัก แร้วกระบอก(ดักแย้) กับดักหนู กือบับ(กับดักหนูแบบภูมิปัญญาพ้ืนบ้าน) หวบุ เบด็ ราว เปน็ ตน้ ๓. อาหารการกิน อาหารคาว อาหารหลกั คอื ขา้ ว มีบางคร้งั บริโภคกลอย เผอื ก มัน และบกุ แกงท่ีใช้รับประทานกับข้าว เช่น แกงกะทิ แกงส้ม แกงเรียง ตุหมิ(สมรม) ปลาต้ม ปลากือตุก ปลาผะอวน ปลารา้ ตม้ ปลาร้าค่ัว ปลาซ๊อก ปลาเจ้ียน ลูกกือไตซอก

ห น้ า | ๑๒ มีอาหารที่น่าสนใจเป็นพิเศษและน่า สื บ ท อ ด ไ ว้ ให้ เป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ใน ท า ง ก า ร ใ ช้ สมุนไพร คือ ข้าวท่ีหุงเป็นลักษณะเฉพาะ คล้ายข้าวยา แต่ประกอบด้วยสมุนไพรหลาย ชนิดที่เข้มข้นกว่าข้าวยาเรียกว่า ข้าวขยา ใช้ รับประทานแทนข้าว และนอกจากน้ียังมีน้า แ ก ง ที่ ป รุ งด้ ว ย ส มุ น ไพ ร เห มื อ น กั บ ท่ี ใช้ หุ ง ข้าวขยาใช้ดื่มเปล่า ๆ เป็นอาหารว่างไม่ได้ รบั ประทานกับข้าวขยาหรือข้าวเปล่าแต่อย่าง ใด เรียกว่า ขยาเปียก อาหารสองอย่างน้ีชาวพื้นบ้านตากใบ เช่ือถือว่ามีประโยชน์ต่อร่างกายหรือปรุงข้ึน เป็นอาหารว่าง แล้วชักชวนเพ่ือนบ้านใกล้เรอื นเคียงมารับประทานด้วยกันซ่ึงคนที่ได้รับการชักชวนถือว่า เป็นผู้ที่มีเกียรติท่ีได้รับความรักและปรารถนาดี เพราะปรุงขึ้นมาเป็นพิเศษอยากจะให้ญาติมิตรได้มา รบั ประทานดว้ ยกนั มีอาหารพิเศษและทาง่าย ๆ ใช้เป็นยาแก้โรคบางอยา่ งเรยี กว่า การเปียก(การปรุงให้เป็นน้า) เช่น เปียกชะเอาะหรือชะเอาะเปยี ก เปียกใบยอ เป็นต้น ส่วนมากมักบอกว่า แก้รดั ดวง(ริดสีดวง) อาหารหวาน เช่น ปะหงาด(บวด) กอแหล บอขอ ดอดอย กือเหนียวชาว(ซาว)พร้าว ขนมโก บวั ลอย(ลอดชอ่ ง) ขนมคนที ขอื เหนยี วกวน ข้าวเปียก ขนมปา ๔. การแต่งกาย (ภาษาตากใบใช้ว่า แตง่ ตัว,กือดับดัว,ทรงเคร่อื ง) ผู้ชาย สมัยก่อนนุ่งผ้าทอ ผ้าโสร่ง ผ้าซักน้า(การนุ่งผ้าปล่อยชายที่ไม่ได้เย็บเป็นผ้าถุงแบบโสร่ง เรียกว่า นุ่งผ้าปล่อย)โพกหัวผ้าเช็ดหน้าหรือผ้าขาวม้า การนุ่งผ้าน้ันสลับชายไว้ข้างหน้าแล้วม้วนข้ึนเป็น ก้อนไว้หน้าท้องเรียกว่า นุ่งผ้ากือแหม็ด ไม่ใส่เส้ือ ไม่ใส่เกือก(รองเท้า) เม่ือเวลาไปงาน คนรวยเหน็บกริช พร้าโอ่ หรือถือมีดลาดิง ต่อมานิยมนุ่งผ้าแดงเลือดนก นุ่งผ้าอ่อน(ผ้าสีน้าเงิน) ไม่ใส่เสื้อ ต่อมานุ่งกางเกง ขาสั้นและขายาว(เหน็ดเพลา)สีกากี และนุง่ ผ้าโสรง่ ใส่เข็มขดั ใส่เสอ้ื หรือเสื้อโก๊ะ แล้วพฒั นาตามลาดับมา จนกระทงั่ แตง่ อยา่ งปจั จุบัน ผู้หญิง นุ่งผ้าถุง(โสร่ง) นุ่งผ้าไหม โสร่งดอกหญ้า รัดสายเอว(เข็มขัด) คนทั่วไปใช้สายเอวเงิน (เข็มขัดเงิน)คนรวยใช้สายเอวนาค ใส่เส้ือ ห่มเส้ือเข้าตัว(เป็นเส้ือทรงไทยเอวเข้ารูป) เส้ือบางชนิดมีช่ือ เรียก เช่น เสื้อบายอ(แขนยาวชายยาวข้างหน้า) สมัยก่อน บางคร้ังมีการห่มผ้าบือไลเหนียง(ใชผ้ ้าแพรหรือ ผ้าขาวม้าคล้องคอแลว้ สอดสลบั เฉียงผ่านใต้รกั แร้ไปด้านหลังเพ่ือปิดนม) เมื่ออยกู่ ับบ้านนงุ่ ผ้าอิงนม(การใช้ ผ้าชนิดต่าง ๆ พันตัว ส่วนมากเป็นผ้าถุงท่ีนุ่งให้สูงเพียงรัดเอาไว้ท่ีอก) เครื่องประดับ ใส่สายมือ ไม้หู สายคอ แหวนเปน็ หวั หรอื ปลอ้ งอ้อยแล้วแตห่ าได้ ทรงผม เกล้ามวยดากกอื แหร ไม่ใส่เกอื ก(รองเทา้ ) ๕. การละเล่น ๕.๑ การละเลน่ พ้ืนบา้ นประเภทการละเล่นสาหรับเดก็

๑. หยอจบั ติด (ชาย-หญิง) ๑๒. ลากกือเตา๊ ะหมาก ห น้ า | ๑๓ ๒. หมาชงิ มุม ๑๓. โลกอือ้ ๓. ว่ิงเชือก ๑๔. ขวิดโต้ง ๒๓. ว่งิ เปีย้ ว ๔. โลกแก็บ ๑๕. เปลโยน ๒๔. ชกั กะเย่อ ๕. โลกขมุ ๑๖. โลกข่าง ๒๕. ขาย่าง(ขาหยั่ง) ๖. โลกเรือบนิ ๑๗. โลกแร้น(ซ่อนหา) ๒๖. เดนิ กอื พรก ๗. โลกทอด ๑๘. คาดตาตหี มอ้ ๒๗. ชนลกู ยาง ๘. หมากราง ๑๙. มอญซอ่ นผ้า ๒๘. ดดี กัน ๙. ยิงรางยางวง ๒๐. รีๆขา้ วสาร ๒๙. ทอดหลมุ ดากกอื แหร ๑๐. เปา่ ยางวง ๒๑. ขีม่ า้ ชิงหมวก ๓๐. โลกหบี ๑๑. โลกล้อ ๒๒. ตกั นา้ (ซอ้ น)ใส่ขวด ๓๑. โลกถอนขนตา ๕.๒ การแสดงพนื้ บ้าน - โนราแขก - โนราโลน - ซลี ะ - เครอ่ื งปึโคม ๖. การทกั ทายและการตอ้ นรบั มีการกล่าวทกั ทายในลักษณะของสถานการณต์ า่ ง ๆ ดังน้ี ๖.๑ เมื่อไปเจอกนั ตามสถานทตี่ า่ ง ๆ เชน่ “มึงมานานแล้วหมี” ๖.๒ เมื่อจะเดินทางกลบั หรือพบปะกันนอกบ้าน เช่น “จีไปข้างขือไหน”,“มาจีไหน”,“เตอะไปเร- เรนิ กเู ด”้ ๖.๓ เมือ่ ไม่ได้พบเจอกันเป็นเวลานาน เชน่ “สบายดีโหย่หมี”,“พวกตามเรินเพลงไหนโหยม่ ัง” ๖.๔ เมื่อมีแขกมาเยือนหรือเจ้าของบ้านกาลังจะรับประทานอาหาร เช่น “ข้ึนมาก่อน..มากินข้าว เย็นก่อนเติด” ฯลฯ การทกั ทายบางโอกาสจะมีการพดู หลาย ๆ อย่างตามข้อทีก่ ล่าวมาข้างตน้ ๗. ลกั ษณะนิสยั ๗.๑ ชอบความสะดวกสบาย ตามอัตภาพที่มีอยู่ โดยไม่มีการแสวงหาสิ่งใหม่ ๆ ให้เป็นภาระ ยุ่งยาก ใช้ชีวิตง่าย ๆ ตามลักษณะของคนในสมัยก่อน ซ่ึงมีชีวิตอยู่ท่ามกลางความอุดมสมบูรณ์ทาง ธรรมชาติในท้องถ่ิน ซึ่งไม่ต้องมีการต่อสู้ด้ินรนทามาหากิน เสร็จจากการทานาท่ีเป็นอาชีพหลักก็จะ พกั ผอ่ นอยู่กับบ้าน ไปมาหาสู่เย่ียมเยยี นหรือบางคร้งั ก็อยู่ค้างคืน เพือ่ พบปะพูดคุยถามข่าวคราวทกุ ข์สขุ กัน บางครอบครัวก็อาจจะมีอาชีพเสริมบ้าง เช่น ปลูกผักสวนครัว ดักจับปลา ดักล่าสัตว์ต่าง ๆ เพื่อความ พอมพี อกนิ ในบ้าน และแบ่งปันแลกเปล่ยี นกัน ๗.๒ เอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่กันเม่ือมีความสุขก็แบ่งปันความสุขต่อกัน เช่น เมื่อมีอาหารการกิน ก็ชวนกัน กินหรือแบง่ ปันกับเพ่อื นบ้าน แกงหรอื กับข้าวต่าง ๆ เมอ่ื สุกแลว้ กต็ ักแบ่งปันกนั ระหว่างบา้ นใกล้เรอื นเคียง ๗.๓ เช่ือคาสั่งสอน อบรม ว่ากล่าวจากผู้ใหญ่โดยห้ามไม่ให้มีการโต้เถียง มีการปลูกฝังส่ังสอนกัน ต่อ ๆ มาวา่ การโตเ้ ถียงผใู้ หญ่จะเป็นบาปทรี่ า้ ยแรงมาก

ห น้ า | ๑๔ ๗.๔ เคารพนับถือบรรพบุรุษโดยสังเกตได้จากประเพณีการทาบุญทุกครั้ง ก็จะมีการกรวดน้า ทาบุญอุทิศเพื่อส่งผลบุญให้ถึงไปยังบรรพบุรุษ และมีประเพณีทาบุญเดือนห้า ที่เรียกว่า“บังกุลบัว”ซ่ึงมี การสวดบวั ทบ่ี รรจุกระดูกบรรพบรุ ษุ และจดั พธิ ีทาบุญเลี้ยงพระ(ถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์) ๘. ความเช่อื ๘.๑ เชื่อเรื่องบาปบุญ สังเกตจากการทาบุญในโอกาสและประเพณีต่าง ๆ มีการทาบุญบริจาค ทานและกล่าวอุทิศส่วนกุศลใหเ้ กดิ บญุ กุศลแก่ผ้เู ก่ยี วข้องทง้ั ในโลกน้ี โลกหนา้ และตอ่ ตนเอง ๘.๒ เชื่อเร่ืองไสยศาสตร์ และเวทมนต์คาถาโดยมีพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น ไหว้เจ้าเท่ ไหว้หน้าบ้าน รับเจ้าเข้าเมือง สวดยักษ์ เสียแม่เซ้อ ไล่ผี จับผี ลงไม้หาเพชร ปะดาน เส้นชินดิน การทาเสน่ห์ การ วา่ กล่าวคาถาอาคมในโอกาสก่อนการออกเดนิ ทาง การเข้าป่า และการรักษาพยาบาลคนปว่ ย ฯลฯ ๘.๓ เชื่อเร่ืองฤกษ์ยามว่ามีความจาเป็นอย่างยิ่งโดยมีการหาฤกษ์ยามในการประกอบกิจกรรม ต่างๆ เช่น การออกเดินทาง การทาบุญและประกอบกิจกรรมตามประเพณีต่าง ๆ การเริ่มก่อสร้างสิ่ง ใหม่ การเอาของมาไวใ้ นบ้าน การซ้ือของเข้าบ้าน การซื้อยวดยานพาหนะ การแรกเร่ิมในการลงมือทา ทุกส่ิงทุกอย่างที่เห็นวา่ สาคัญ สมควรแก่การหาฤกษ์ยาม ท่ียึดถือกันว่าอัปมงคลคอื ห้ามทาการใดๆ ในวัน พระเดือนหมด(แรม ๑๕ ค่า) และวันท่ีเป็นอัปมงคลอย่างยิ่งกว่าคือ วนั ที่เรยี กกันวา่ วันโกนขาด(หมดเดือน เพยี งวันแรม ๑๔ ค่า) ๘.๔ เชื่อเร่ืองแม่โพสพ โดยมีพิธีกรรมต่าง ๆ ประกอบกับคากล่าวในการทาไร่นา เช่น แรกนา สวดนา แหก่ าข้าวใหญ่ กองข้าว หยบิ ข้าวนวด กนิ ขา้ วใหม่ ๙. ประเพณี ๙.๑ ประเพณีท่ีคล้ายคลึงกันกับประเพณี ไท ย ที่ เป็ น ส า ก ล คื อ มี ลั ก ษ ณ ะ ค ล้ า ย ค ลึ ง กั น กั บ ประเพณีไทยทั่ว ๆ ไปในการดาเนินพิธีกรรมตา่ ง ๆ เช่น ประเพณีการบวช ประเพณีการแต่งงาน ประเพณีการทาบุญงานศพหรือพิธจี ัดงานศพ การ ทาบญุ ทอดกฐนิ ทอดผ้าป่า ๙.๒ ประเพณีเฉพาะถิ่น เช่น แห่กาข้าว- ใหญ่ สวดนา กนิ กอื พ๊องขา้ ว บังกลุ บวั ชงิ เปรต ๑๐. เครอ่ื งมือเคร่ืองใช้ ๑๐.๑ เคร่อื งมอื ประกอบอาชีพ เช่น พรา้ ตาเยาะ กอื ปะ ขวานไต มีดตอก โฉง้ ไม้ถะล้า จอบงอ จอบเซอะ ซึ้ง เลื่อยอีเนะ เล่ือยบ้อง บุ้ง กือดา(ฝานบือเกา=ยาเส้น) มีดทับ มีดขวานหยวก พร้า พร้า บ้อง กบ มอด คราด แอก ไถ สึแหรก จอเนาะ กือเปี้ยว กือดังฝัด กือดังแร่ง ครกท่ิม สาก ครกบด ครกสขี ้าว ครกเหยียบ ฯลฯ ๑๐.๒ เคร่อื งมือจับสัตว์ จับปลา เช่น สุ่ม ทน ไซ ชุด คนึ าง ซ่อน ซ่อนหนะ ทวน แห ยกกือห ย่อง เล้า ร้านวิ่ง หยุด แบ็ด แบ็ดทง แบ็ดคันยัก แบ็ดราวดักค้างคาว หวุบ ดักไห กือบับ(กับดักหนู แบบภูมิปัญญาพ้ืนบ้าน) แร้ว แร้วคันยัก แร้ว กระบอก(ดักแย้) ปืนแก็บ หน้าไม้ ปาง(หนัง สะติ๊ก) ธนูคัน(ทาแบบธนูมีรังกระสุนถักไว้ตรง

ห น้ า | ๑๕ กลางสายและใช้กระสุนเหมือนกบั หนงั สตก๊ิ ) กึบ็อง(จบั ผ้งึ ) ฯลฯ ๑๐.๓ เคร่ืองใช้ในชีวิตประจาวันอ่ืน ๆ เช่น เครื่องใช้ในครัว มีดังต่อไปน้ี แม่ตีไฟ ก้อนเส้า ผรา ลอยกึเล กล้อง(ทาจากบ้องไม้ไผ่ใช้เป่าไฟ) โต๊ก กือหนี โคลก ไม้กือแดด็ เจ้ยี นซ่ี ไม้พาย มดี คล็อก กือดาน ฝานเคร่ือง กืออ๋อม ไหกือสาร กือแจ๋ง กือแจ๋งแส๊งปลา กือแจ๋งรับเพละ เคร่ืองใช้ในบ้านและบริเวณบ้าน อื่นๆ เช่น อ่างล้างตีน กือพรกน้า กือหมา พุ่น กือจ๋ง กือโต๊ง พึโอ๋ง ไม้เกี่ยว ไม้เก่ียวบ่อ ร้านปลาร้า ไหปลาร้า ร้านพร้าว เครื่องใช้ติดตัวในการเดินทาง เช่น มีดเหน็บ มีดงับ มีดลาดิง พร้าโอ่ กือตะ๊ หลอกเกาะ กอื ต๊ะใบจาก ผา้ โพกหวั ผ้าซกั น้า ผ้าปินป้อ ฯลฯ

คำศัพทภ์ ำษำถน่ิ ใตต้ ำกใบ (เจ๊ะเห) ก ภำษำถ่นิ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย ภำษำกลำง กอ๋ กา สนั . แล้ว, จึง, ยอ่ ม, เชน่ พอหันหน้ามาก็พบเขา ก ก๊อก (ก๊อกค้าย) ทาดกี ็ได้ดี. ก็ ก่อก ก. แนบไว้กับอก โดยปรกติเป็นอิริยาบถนอน เช่น กก กง๊ (ก๊งลอ่ ) กกไข่ กก๊ ก๋งก๋าร น. พวก, หมู่, เหล่า, โดยปรกติมกั ใช้เขา้ คกู่ นั วา่ กง ก็องซี เปน็ กก๊ เป็นพวก เป็นก๊กเปน็ หมู่ เป็นก๊กเปน็ เหล่า กงการ กอ็ งซนุ ,ก็องสุ่น น. วง, สว่ นรอบของลอ้ เกวยี นหรือลอ้ รถ กงสี น. กิจการ, หนา้ ท่ี, ธรุ ะ กงสลุ โกง๊ (โกง๊ ถ่ือน)ู น. ของกองกลางที่ใชร้ วมกนั สาหรับคนหมหู่ น่ึง ๆ, โกงโคง่ หุ้นสว่ น, บรษิ ัท ก่ง (กง่ ธนู) กอ็ ด น. เจ้าพนกั งานทรี่ ฐั บาลส่งไปดแู ลผลประโยชน์ ก้งโคง้ กอ็ ดหมาย และคนในบังคับซ่ึงอาศัยอยู่ในประเทศอ่ืน กฎ,กด เชน่ กงสลุ ฮอลนั ดา ก็คือเจ้าพนกั งานทีร่ ัฐบาล กฎหมาย กือถิน ฮอลันดาส่งมาประจาในประเทศไทย ก. ทาใหง้ อเป็นรูปโคง้ , ทาใหโ้ คง้ , เชน่ กง่ ศร กฐิน ถา้ ย ก. โก่งก้นใหโ้ ด่ง, โนม้ ตัวลงยกกน้ ให้สงู ขึ้น, ร็อกข่ีคว้ ด โกง้ โคง้ ก็วา่ ก้น ก็อบดา๋ น ก. จดไวเ้ ปน็ หลักฐาน. น. ขอ้ กาหนด, ข้อบงั คับ ก้นขวด กือบ็อด ก. จดบนั ทึกไว.้ น. ระเบียบซ่ึงรฐั บาลกาหนดไว้ กบดาน เปน็ ข้อบงั คบั มีการลงโทษผู้ละเมิด เชน่ กฎหมาย กบฏ กอ็ ม อาญา กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ น. ผา้ ท่ที ายกนามาถวายแดพ่ ระสงฆ์ผอู้ ย่จู าพรรษา ก้ม แล้ว ทเ่ี รียกเช่นนี้ เพราะเวลาจะตดั ใชส้ ะดึงทาบ การทน่ี าผ้าไปถวาย เรียกว่า ทอดกฐนิ น. ส่วนระหวา่ งโคนขากับลาตัว น. ส่วนล่างของภาชนะของขวด ก. อยูใ่ นบา้ นหรอื ที่พักไมอ่ อกไปไหน เชน่ เขา กบดานอยู่ในบ้าน น. ความโกง, การล่อลวง, การทรยศหรือ ประทษุ รา้ ยตอ่ เจา้ หน้า หรือบ้านเมอื ง;บคุ คลผทู้ า ความผดิ ตอ่ ความมนั่ คงของประเทศใน ราชอาณาจกั ร, เขยี นเปน็ ขบถ กม็ ี ก. โค้งตวั ใหศ้ ีรษะตา่ ลง

ห น้ า | ๑๗ ภำษำกลำง ภำษำถน่ิ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย กรง กร๋ง น. ส่งิ ทท่ี าเป็นซี่ ๆ สาหรับขงั นกเป็นต้น กรด กรอ็ ด น. เปน็ สารอันตรายทกี่ ัดกรอ่ นโลหะได้,สารอย่างหนึง่ กรน กรน๋ มีรสเปร้ยี ว โดยปกติกัดหรือทาให้สิ่งอน่ื แปรไป กรม กร๋ม ก. หายใจดงั ในลาคอเวลานอนหลับ น. ลาดับ, หมู่, กอง; หนว่ ยงานใหญใ่ นราชการ มี กรรไกร,กรรไตร กือไกร๋,ตือไกร๋ อธบิ ดีเปน็ หัวหน้า เช่น กรมการศาสนา; คานาหนา้ กรรเชียง กือเชียง แสดงอสิ ริยศักดิเ์ จา้ นาย เช่น กรมหมน่ื กรม ขุน กรมหลวง กรมพระยา กรรม กา น. ตะไกร น. เครื่องพายเรือ รูปคลา้ ยแจว แต่ยาวกวา่ ; กรรมกร กาม่ะก๋อน อาการทีพ่ ายด้วยกรรเชียง เรยี กวา่ ตกี รรเชียง, กรรมการ กาม่ะกา๋ น (ชบ.) นกั มวยท่ีถอยหนีคู่ต่อสู้บนเวที เรียกวา่ ตี กรรเชยี งหนี กรรมฐาน กาม่ะฐาน น. การ, การงาน, การกระทา; บาป, เวร, เชน่ ทา กรรมใดไว้เหมือนเงาตามตน ; ความตาย ในคาว่า กรวด กรว๊ ด ถึงแก่กรรม กรวย กร๋วย น. คนงาน, คนใช้, ลกู จ้างซึ่งใช้แรงงานแลกค่าจา้ ง กรอ ตรอ น. ผ้ทู างาน, เจา้ หนา้ ที่, ผู้ทาหน้าที่, ผู้ไดร้ ับแตง่ ตัง้ - กรอด้าย - ตรอด^าย จากหมู่คนให้กระทากิจการอยา่ งใดอย่าง กรอก กรอ๊ ก หนง่ึ กรรมการมีหลายคนรวมเปน็ คณะทางานโดย ประชุมปรึกษากนั กรอง กรอ๋ ง น. ท่ตี งั้ แหง่ การงาน หมายเอาอบุ ายทางใจ มี ๒ กร่อน กรอ๊ น ประการ คือ สมถกรรมฐาน เป็นอุบายสงบใจ และ กรอบ กร็อบ วิปสั สนา กรรมฐาน เป็นอบุ ายเรืองปัญญา. น. หินกอ้ นเลก็ ๆ โตกว่าเมด็ ทราย น. ของกลมมียอดเรียวแหลม ก. มว้ นด้ายเขา้ หลอดด้วยมือหรอื เคร่ืองจักร ก. เติม, เขียนเติม,พอ่ แม่กาลงั กรอกประวตั ิของลูก,ลง ขอ้ ความหรอื จานวนเลข,เท,คนไขท้ ด่ี ื้อไมย่ อมกนิ ยา พยาบาลต้องชว่ ยกรอกยาใส่ปาก,เทลงในชอ่ งแคบ เชน่ กรอกหม้อ, กรอกขวด ก. รอ้ ย, ถัก; คดั เอาแต่ส่วนละเอยี ดและบรสิ ุทธ์ิ ก. สกึ , เห้ยี น, หมดไป, คอดเข้าไป, ร่อยหรอ. น. สง่ิ ทปี่ ระกอบตามรมิ วตั ถมุ รี ปู ภาพเป็นต้น, โดยปรยิ าย หมายความว่า ขอบเขตกาหนด เชน่ ทางานอยใู่ น กรอบ. กรอบ ๒ : ว. แตกหักเป็นช้นิ เลก็ ชน้ิ น้อยไดง้ ่าย, เปราะ; (ปาก) แทบดารงตนไปไมร่ อด เช่น จนกรอบ.

ห น้ า | ๑๘ ภำษำกลำง ภำษำถน่ิ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย กรอม กรอ๊ ม กรอ่ ย กรอ๊ ย ว. ปกหรือคลุมยาวลงมาเกินควร เชน่ นุ่งผ้าซนิ่ กระ กระ๊ กรอมส้น. กระจก กือจ็อก ,แก^ว กระจกเงา แหว่น ว. คอ่ นข้างเค็ม, ไม่จืดหรือไม่หวาน; ไมส่ นกุ , ไม่ ครกึ คร้นื กระจง กื่อจ๋ง กือจง๋ น. เต่า, รอยด่างเป็นจุดๆ ทป่ี รากฏตาม ตัวคนแก่ กระจอก กอื จ๊อก และสิง่ ของบางอยา่ ง เรียกวา่ ตกกระ กระจ้อน กอื จ็อน น. แกว้ ทท่ี าเป็นแผ่น กระจะ , จะจะ จะ๊ ,จ๊ะจะ๊ ,กือจะ๊ น. แผน่ กระจกฉาบด้านหลงั ด้วยแผ่นบาง ๆ ของ กระจัง กือจัง โลหะเงินหรือโลหะเจือปรอทแลว้ ทาสีทับ ใช้ สาหรบั ส่องหนา้ กระจัดกระจาย กือจดั กือจ๋าย กระจบั กอื จับ น. สัตว์เคย้ี วเออ้ื ง คลา้ ยเนอ้ื แต่ไม่มเี ขา ตวั ขนาด กระจา่ กือหวกั ,จือหวกั ,ตือหวัก เล็กสงู ราว ๑๒ นว้ิ มเี ข้ียวออกมา กระจ่าง กอื จ๊าง กระจาด กอื จ๊าด,กือแจง๋ น. ภาชนะใสข่ อง กระจาย กือจ๋าย น. นกเลก็ ตวั ลาย อาศยั อยู่ตามชายคาเรือน เรยี ก กระจอกบ้าน, อยู่ตามป่าเป็น กระจอกป่า; เรียกคนหรอื สง่ิ อนื่ ๆ อย่างดูหมนิ่ ว่า คน กระจอก รถกระจอก น. สัตวส์ ่ีเทา้ รูปร่างคลา้ ยกระรอกแต่ตัวย่อม กวา่ ปากแหลมคล้ายพังพอน ชอบอยู่ตามพน้ื ดนิ หรือ ขึ้นตน้ ไมเ้ ตย้ี ๆ ว. ชัดเจน น. ชื่อลายเครือ่ งประดบั ที่อยู่บนช้ันหรือขอบของ สงิ่ บางอย่าง เชน่ ชั้นฐานธรรมาสน์, เครื่องประดบั ที่มีลวดลายชนิดนเ้ี รียกว่า ตัวกระจัง ใช้ประดบั หลงั เฟยี้ มลับแลและอืน่ ๆ; ปลาชนิดหนึ่ง อาศัยอยู่ ในน้ากร่อยและน้าเคม็ รูปคล้ายปลาตนี แตล่ าตวั โตกวา่ ปลาตนี ชนิดธรรมดา ว. เรย่ี ราย ไป, แตกซ่านเซ็นไป, ไมร่ วมอย่ใู นพวก เดียวกนั น. พันธไ์ุ ม้นา้ มีฝักเปลือกแข็งสดี า เนือ้ ในสขี าว รับประทานได้ น. เครอ่ื งใช้ตกั แกงหรือตักขา้ ว ทาดว้ ย กะลามะพรา้ ว มีดา้ มถือ ก. สว่าง, สกุ ใส, ชดั เจน, แจม่ น. ภาชนะสาน ปากกวา้ ง ก้นสอบ สณั ฐานเตยี้ ก. ทาให้แพร่หรอื แตกแยกออกจากกันไปในทีต่ า่ ง ๆ, แพร่ หรอื แตกแยกออกจากกันไปในทต่ี า่ ง ๆ; แผ่ซา่ น, จางออก

ห น้ า | ๑๙ ภำษำกลำง ภำษำถ่นิ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย กระจาบ กระจบิ กอื จา๊ บ น. นกตวั เลก็ ขนาดนกกระจอก กระจกุ กระจยุ กระจาย กอื จบิ น. นกกระจบิ เป็นนกพันธุ์เล็ก รอ้ งจ๊ิบๆ กระจูด กือจกุ น. รวมกันเป็นกลมุ่ กระเจีย๊ บ กอื จ๋ยุ กือจา๋ ย ว. กระจายยงุ่ เหยิง กระเจี๊ยว กระโจน กือจดู๊ น. ตน้ หญา้ ชนดิ หน่งึ ใชส้ านเส่อื , เสื่อทส่ี านดว้ ย กระโจม ตน้ หญ้าชนิดน้ัน เรยี กว่า เส่อื กระจูด กระโจมอก กระฉอก กือเจี๊ยบ น. ตน้ ไมช้ นดิ ลม้ ลกุ เปลือกเป็นปอเหนียว ผลสีแดง กระฉีก รสเปรีย้ ว ใชท้ าแยม; น้าท่ที าใหส้ าเร็จจากดอก กระฉดู กระเจีย๊ บ มสี แี ดง เรียกวา่ น้ากระเจี๊ยบ กระเฉด โหลกกือด๋อ น. อวัยวะสืบพันธเ์ ดก็ ผู้ชาย กระฉบั กระเฉง กระชอน กือโจน๋ ก. กระโดดพุ่งไปโดยเร็ว, เผ่นข้ามไป, โจน. กระชงั กอื โจ๋ม น. ซ้มุ , นักเดินปา่ ต้องกางกระโจมสาหรับนอนใน กระชัง กระช้นั เวลากลางคืน,ส่ิงท่ตี ามปกติมียอดเปน็ ลอมอยา่ งซุ้ม กระชบั กระชาก ใชเ้ ปน็ เคร่ืองกาบังแดดลม กระชาย หน่งุ พาอิงนม ก. นุ่งผา้ สูงปดิ อก. ว. อาการทน่ี งุ่ ผา้ สูงปดิ อก กระชุ กอื ช้อก,แคล้ก ว. แหว่ง, เว้า, ใช้กับลักษณะของศีรษะที่ลา้ นแหวง่ , ฉอก ก็เรยี ก. ก. กระเพื่อมออก ดงั หรงิ น. หนา้ ขา้ วเหนยี ว(ชาวตากใบนิยมทาในพธิ ี แต่งงาน) กอื ชู้ด ก. พุ่งออก, พุ่งออกไป, ไสไปโดยแรง. ผักกอื ช้ดี น. พรรณไมท้ ี่ขึ้นลอยอยใู่ นน้า ตามลาตน้ มีปลอก เปน็ ปยุ ขาวๆ พองๆ ใชเ้ ปน็ อาหารได้ กะหล๊ะ ว. คลอ่ งแคล่ว, กระปรีก้ ระเปร่า. กือตร๋อง น. เครื่องกรอง โดยปรกตสิ านด้วยผวิ ไผ่ ใชก้ รอง กะทเิ ป็นตน้ ปจั จบุ นั ใชแ้ ผ่นอะลมู ิเนียมแทนไมไ้ ผ่ กอื ชงั น. ท่ขี ังปลาเล้ียงในนา้ กือแชง้ น. บังสาดที่ปิดเปิดได้ กอื ช่ัน ว. ใกลช้ ิดเขา้ มา, เร่งเขา้ , ใช้เขา้ ค่กู ับคา กระโชก กือชั่บ ก. แน่น, เนยี น, แนบกันสนิท กือฉาก ก. ฉดุ โดยแรง, กระตุกโดยแรง, โดยปริยาย หมายความว่า พูดเสียงดังห้วนๆ เชน่ พูด กระชาก เสียง, และใชเ้ ข้าคู่กับคา กระโชก กือชาย น. พันธุไ์ มต้ น้ เต้ยี มหี วั เรียวยาวอยใู่ ต้ดนิ ใช้ รับประทานได้ รสฉุนๆ เผ็ดๆ, บางทอ้ งถิ่นเรียก ละแอน กือฉุ น. ภาชนะสาน รปู กลม สงู ใชบ้ รรจนุ นุ่ หรอื ถา่ น; ต้นกระทุ

ห น้ า | ๒๐ ภำษำกลำง ภำษำถ่ินตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย กระเชอ กอื เชอ น. ภาชนะสานชนดิ หนึ่ง คล้ายกระบงุ ก้นสอบ กระเช้า กือชา่ ว ปากผาย; อตั ราตวงของโบราณ เทา่ กบั ๕ ทะนาน, กระเชียง กอื เชียง และ ๕ กระเชอ เป็น ๑ สัด. กระแชง กือแชง น. ภาชนะสานมีหูสาหรบั ห้อยและหว้ิ , บางอย่าง ก็ กระโชก กอื โฉก ใช้ต้ัง กระซิบ กือซบ่ิ ,ช้ชู ้ี น. เคร่อื งพุ้ยนา้ ใหเ้ รอื เดิน รูปคลา้ ยแจว; ตีน กระดก กอื ด็อก หลงั สดุ ของปูม้าหรอื ปูทะเล เรยี ก กระเชยี งปู กระด้ง กื่อดัง กระด้ง กอ่ื ดงั แหร่ง น. เครื่องบังแดดฝน เยบ็ ดว้ ยใบเตยหรือใบจาก, กระดอ กอื ด๋อ ลกั ษณนามว่า ผืน; เรอื ที่มหี ลงั คาทที่ าดว้ ยวัสดุ กระดอง กือด๋อง ชนิดน้เี รียกวา่ เรือกระแชง; เชือกหนงั ติดกับสายรดั กระดอน กือด๋อน,กือท่อน ประโคนให้ควาญชา้ งจับยดึ ; เชือกคล้องช้าง, กระดังงา ดา๋ หงา ลกั ษณนามวา่ เสน้ . กระด้าง กอื ดาง กระดาน กือดา๋ น ว. ทาให้กลวั , ทาให้ตกใจ; กระแทก. กระโชก กระช้นั , กระโชกกระชาก ว. กระแทกกระทน้ั แรงๆ กระดาษ กอื ด๊าด , พูดกระแทกเสียง กระดิก กือดิก ก. พูดเบาๆ. กระซิบกระซาบ ก. บอกเบาๆ ใหร้ ู้ กระดง่ิ กอื ดิ๊ง ก. ทาให้ปลายขา้ งหนึ่งสูงขนึ้ , เผยอขึน้ ข้างหนงึ่ น. ภาชนะสานรูปแบนกลมสาหรับฝดั ข้าว. น. ภาชนะสานรปู แบนกลมสาหรบั ฝดั ข้าว มีตาหา่ ง เลก็ กวา่ กระด้ง น. อวัยวะเพศชาย น. สว่ นแขง็ ทีห่ มุ้ ตวั เต่า ปู หรือแมงดาทะเล ก. สะทอ้ นขน้ึ น. ต้นไมช้ นดิ หนงึ่ มีลักษณะเป็นเถา ดอกมกี ล่ินหอม ว. หยาบ, แขง็ กระดา้ ง,กริ ยิ าทา่ ทางของเขาดแู ขง็ กระด้างเหลอื เกิน, มีกรยิ าวาจาไม่ออ่ นตาม น. ไม้เปน็ แผน่ ๆ; ลักษณนามเรียกการแข่งขนั ท่ีเดิน บนตากระดานซึ่งถึงทีส่ ดุ แล้ว เช่นวา่ เล่นหมากรุก ชนะ ๒ กระดาน น. วัตถุเปน็ แผน่ บางๆ ทาจากเศษผ้าหรอื ฟางหรือ เปลอื กไม้และหญ้าบางชนิด ใช้เขียนหรอื พิมพ์ หนงั สือ. ก. ไหว. น. เคร่ืองทาเสยี งสัญญาณทาดว้ ยโลหะ มรี ูปคลา้ ย ระฆงั แต่ขนาดเล็กกว่า มีต้มุ เลก็ ๆ อยขู่ า้ งใน สาหรบั ทาให้เกิดเสยี ง, โดยปรยิ ายหมายถึงสิ่งที่มี ลกั ษณะคลา้ ยคลึงเช่นนนั้ เชน่ กระด่ิงจักรยาน

ห น้ า | ๒๑ ภำษำกลำง ภำษำถ่นิ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย กระดี่ กอื ด๊ี,ปลา๋ ด๊ี น. ปลาเลก็ คลา้ ยปลาสลดิ แต่ตัวเล็กกว่า อาศยั อยู่ กระเดียม กระดุกกระดิก ในหนองบึง แมน่ ้าลาคลองทว่ั ไป กระดุม กือเดียม ใช้เขา้ คู่กับคา กระด้ี กระดูก กอื ดุกกือดกิ ,ดุกดิก ว. อาการทขี่ ยบั ไปขยบั มาไมอ่ ยนู่ ิง่ ๆ, ยกั ไปยกั มา กระเด็น กือดุ๋ม,โหลกกอื ดุ๋ม น. เครอื่ งกลดั กับสว่ นต่างๆ ของเสื้อผ้าไม่ให้แยก กระเดาะปาก ออกจากกนั ทาเปน็ รูปตา่ งๆ มกั มีรังดุมสาหรับขดั , กระเดยี ด กระเดื่อง ลกู ดุม หรือ ลกู กระดุม ก็เรียก กระโดง กือโด๊ก น. โครงรา่ งกายที่เป็นสว่ นแข็ง; เรียกผลไม้ท่ีมีเนื้อ กระโดด กระได นอ้ ยเชน่ มะปรางว่า มะปรางกระดูก กระต๊อบ กระตา๊ ก กอื เดน๋ ก. เคลือ่ นจากท่ีเดิมหรือแตกแยกจากทีเ่ ดิมออกไป กระต่าย โดยเรว็ เพราะกระทบส่ิงใดสิง่ หนึ่งโดยแรง. กระตา่ ย กือเดา๊ ะป๊าก ก. ทาปากให้ดังดว้ ยอาการกระดกล้ินดนั เพดาน กระติก กระตุก แล้ว สลดั ลง กระเตง กือเดยี๊ ด ก. เอาเข้าข้างสะเอว; ค่อนข้าง กระเตาะ ครอ็ กเยย๊ี บ น. เครอ่ื งตาขา้ วชนิดหน่ึง ใช้เท้าเหยยี บปลาย กระแต กระเด่ืองแล้วถีบให้กระดก กระโตกกระตาก กอื โด๋ง,เสากือโดง๋ น. เสาใบเรอื กระถด กอื โด๊ด ก. ใชก้ าลงั เทา้ ถีบพ้นื ให้ตัวลอยสงู ข้นึ กอื ได๋ น. บันได, ส่งิ ท่ีทาเปน็ ขัน้ ๆ สาหรบั ก้าวขึ้นลง กอื หนา,คือหนา,ซอื หนา น. กระท่อมเล็ก ๆ. กือตา๊ ก เสียงไก่ กือต๊าย น. สตั วส์ เี่ ทา้ ขนาดแมว หูยาว เลยี้ งลกู ด้วยนม ขดุ ดนิ ทาเป็นโพรงอยตู่ ามป่าท่วั ไป แหล็กคู้ด น. เคร่อื งมือตอกลวดเป็นฟนั บนหน้ากระดาน ใช้ ขูดมะพร้าวที่กะเทาะเปลือกแลว้ กือติก น. ภาชนะสาหรบั ใสน่ ้าใช้เวลาเดนิ ทาง กือตุก ก. ชักเข้ามาโดยเร็ว, งอเขา้ มาโดยเร็ว, อาการของ กลา้ มเนื้อทีห่ ดและยืดตวั ขน้ึ มาเองอย่างฉบั พลนั กือเตง๋ ก. แกว่งโตงเตง, อมุ้ เข้าสะเอวอย่างไม่กระชบั , อุ้ม กระเตงๆ แต๊กสาว ว. แรกร่นุ เพง่ิ แตกเนื้อสาว. กือแต,๋ แอจ็อน น. สตั วส์ ่ีเทา้ เล้ยี งลกู ดว้ ยนม คลา้ ยกระรอก แต่มี ขนาดเล็กกวา่ ปากแหลม ไม่มีฟันแทะ กิน สัตว์ และผลไม้ มีหลายชนิด กอื โตก๊ กือต๊าก ก. สง่ เสียงใหเ้ ขารูอ้ ย่างไกก่ าลังออกไข่, และ หมายความวา่ เปิดเผยข้อความทต่ี อ้ งการปิดบัง กอื ถ็อด,แถ็ด ก. ถดถอย, ถัด, กระเถบิ , ขยบั ไป, เขยบิ กน้ ไป, เลอ่ื นไป.

ห น้ า | ๒๒ ภำษำกลำง ภำษำถิ่นตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย กระถาง กอื ถาง กระโถน กือโถน น. ภาชนะปากกว้าง รปู อย่างถังสาหรบั ปลูกต้นไม้ กระถนิ กอื ไต๋เบ๋า หรือใสน่ า้ และอ่นื ๆ กระทก กือท็อก น. ภาชนะสาหรับบ้วนนา้ และทิ้งของตา่ งๆ ท่ไี ม่ ตอ้ งการ ทาดว้ ยโลหะก็มี ทาดว้ ยกระเบื้องก็มี. กระทง กือทง น. ช่อื พรรณไม้พมุ่ หรือไมต้ น้ ทไ่ี ม่มีหนาม มหี ลายชนิด กระทบ กือท็อบ เชน่ กระถินเทศ ตน้ มีหนาม ดอกเหลือง กลิน่ หอม ฝกั กระทรวง กอื ทรวง กลม มยี างเหนียว, กระถินไทย หรอื กระถนิ บ้าน ไม่มี กระทอก กอื ถอก หนาม ดอกสีนวล ฝกั แบน ใบอ่อน และฝักออ่ นใช้เป็น กระท้อน กอื ท่อน อาหาร, (ถต.) ตอเบา, กระถนิ พมิ าน ไมต้ น้ ใหญก่ วา่ กระถนิ ชนิดท่ีกลา่ วมาแล้ว มีเนอื้ ไม้แข็งแรงและทน กระทา กือทา กระทาย กือทาย ก. กระตกุ เชน่ เงื่อนกระทก, กระตุกเรว็ ๆ กระทิง กือทิง เชน่ กระทกข้าวทตี่ าแล้วใส่กระดง้ รอ่ นและกระตุก กระทบื กือถืบ เร็วๆ เพือ่ ให้กากขา้ วแยกจากขา้ วสาร กระทุ กือโถะ น. ภาชนะท่เี ยบ็ ด้วยใบตองหรือวัตถอุ น่ื สาหรับใส่ ของ, ภาชนะทีท่ าขึ้นสาหรับลอยนา้ ในพธิ ีลอย กระทง; แปลงนาซงึ่ มีคนั ก้นั , อันนา กเ็ รียก; ผ้า ท่อนหนึง่ ๆ ของจีวร สงั ฆาฏิ และสบง มลี ักษณะ เหมอื นกระทงนา; ไม้ท่ียดึ กราบเรอื พาดเปน็ ช่องๆ; ตอนหน่ึงๆ ของข้อความ; (กม.) สว่ นหน่ึงๆของ ความอาญาท่วี นิ ิจฉัยความผิดได้ เรยี กวา่ กระทง หนงึ่ ๆ. ว. หนุ่ม, เรยี กไก่หนมุ่ ว่า ร่นุ กระทง ก. ถกู ตอ้ ง, ปะทะ, ต่อสกู้ ัน น. หมู่, พวก, ชนิด, อยา่ ง, แบบ, กระบวน; แผนก ราชการส่วนใหญ่, ระบบราชการ ก. กระแทกขนึ้ กระแทกลง, กาแนน่ แลว้ รดู ขึน้ รดู ลง , กระตกุ น. ไมต้ น้ ขนาดใหญ่ ผลค่อนข้างกลม เปลอื กนุ่ม สี เหลอื ง เนอื้ กนิ ได้, สะท้อน กเ็ รยี ก, (ถน.) มะตนื หรือ มะต้อง. ก. กระเด็นกลับ, กระดอนขนึ้ น. นกขนาดเลก็ อยใู่ นวงศ์เดยี วกันกับไก่ฟ้า ตัวกลม ขนลายเป็นจุดกระๆ ลกั ษณะคล้ายนกกวกั น. กระบงุ เล็กปากผาย น. ววั ปา่ ก. ยกเทา้ กระแทกลงไป น. ไมพ้ ุ่มชนดิ หน่ึง ในวงศช์ มพู่ ใบหนาสเี ขยี วแก่ ผลกลม เมอ่ื สกุ สีมว่ งดา มีรสหอมหวาน ขึ้นชมุ ตาม ป่าโปรง่ ทางปกั ษ์ใต้

ห น้ า | ๒๓ ภำษำกลำง ภำษำถน่ิ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย กระทุง กือทุง กระทุ้ง กือทุ่ง,ฆฮ่ือดะ น. นกนา้ ขนาดใหญ่ ขนสเี ทาๆ ตัวขนาดห่านปาก กระทุ่ม กอื ถุ่ม ยาวใหญ่ มีเหนียงยานท่คี อ ชอบอยตู่ ามแม่นา้ ลา กระทู้ กอื โท่ คลองและชายทะเล กระเทียม กือเทยี มขาว กระเทือน กอื เทือน ก. เอาส่ิงทีม่ ีลักษณะยาวกระแทกให้แนน่ หรอื ให้ กระแทก กอื แถก ออก กระบวย กือบ๋วย กระบอก กอื บ๊อก ก. เอาเท้าตนี า้ เม่ือเวลาว่ายนา้ กระบอง กือบ๋อง น. เสารัว้ ; (กม.) ข้อถามในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่ง กระบะ กือบ๊ะ สมาชิกคนใดคนหน่ึงต้ังถามรัฐมนตรีเก่ียวกบั งานใน หนา้ ทีข่ องรฐั มนตรี น. พืชพรรณชนิดล้มลกุ คล้ายหอม หัวเปน็ กลีบ เมื่อแหง้ แลว้ สขี าว มกี ลิน่ ฉุน ใช้ปรุงอาหาร, (ถน.) หอมเตียม, (ถอ.) หอมขาว, (ถต.) หวั เทยี ม ก. ไหวไปถงึ , ส่ันไปถงึ , สะเทือน ก็ว่า, ใช้เข้าคกู่ ับ คา กระทบ ก. กระทบโดยแรง, กระทุ้ง; พูดกระชากเสยี ง แสดงอาการไมพ่ อใจหรือโกรธ, และใช้เข้าค่กู ับคา กระทบ น.ภาชนะสาหรับตักน้าทที่ ามาจากกะลามะพร้าว น. ไม้ไผ่ที่ตดั เปน็ ท่อน ของอ่นื ๆ ท่ีมีรปู คล้ายคลงึ เช่น กระบอกปืน กระบอกตา ลกั ษณนามบอก สณั ฐาน สาหรบั ใชก้ บั ของกลมยาวแต่กลวง เช่น ขา้ วหลาม ๓ กระบอก เส้ือชนดิ หนง่ึ ช่วงตวั สัน้ เสมอบัน้ เอว แขนรดั ตัวรัด คอสูง เรียกว่า เสื้อ กระบอก หุ่นชนิดหนึ่งมแี ตส่ ว่ นหัวและมอื ๒ ข้าง ลาตัวทาดว้ ยไม้กระบอก มีผา้ เยบ็ เปน็ ถงุ คลมุ เวลา เชิดใช้มอื สอดเขา้ ไปจับไม้กระบอกน้นั เชดิ เรยี กวา่ หนุ่ กระบอก (เรขา) รปู ตนั ทก่ี าเนิดข้ึนจากการ เขียนรูปส่ีเหลย่ี มผนื ผา้ โดยใช้ด้านใดด้านหนง่ึ เป็น แกนแล้วหมุนโดยรอบฐาน ปลายท้งั ๒ ข้างมีหน้า เป็นวงกลม เรยี กว่า รปู ทรงกระบอก หรือ รูป กระบอก ลกั ษณะได้แก่รูปท่ีมีสัณฐานกลมยาวและ ตรงซึ่งมสี ่วนสดั กลมเท่ากันตัง้ แต่ตน้ จนปลาย. น. ไมส้ ั้น รูปทรงกลมก็มี เหลย่ี มกม็ ี ลักษณะคลา้ ย พลองแตส่ นั้ กว่า, ตะบอง หรอื ตระบอง ก็เรยี ก น. ภาชนะไมก้ น้ แบนมขี อบ ใชอ้ ย่างถาด; ชอื่ รถ ชนดิ หนงึ่ ใชบ้ รรทกุ ส่งิ ของ ทาตัวถังอย่าง กระบะ เรยี กว่า รถกระบะ

ห น้ า | ๒๔ ภำษำกลำง ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย กระบาก กือบา๊ ก น. ไม้แกน่ คลา้ ยต้นยาง ลาต้นตรงขนาดใหญ่และ กระบาย กือบา๋ ย สงู ใชท้ าบ้านเรือน โดยมากใชเ้ ป็นไมแ้ บบหล่อเสา กระบาล กือบา๋ ล คอนกรีต. กระบ่ี กือบี,๊ กือบี กระบุง กือบงุ๋ น. กระบงุ เลก็ กระเบน กอื เบน๋ น. ศรี ษะ กระเบา กือเบ๋า น. ลิง; มีดเหมอื นดาบ มฝี กั ที่ด้ามถือมโี กรง่ กระเบียด กอื เบีย๊ ด กระเบ้ือง กอื เบื^อง น. ภาชนะสานทึบ รปู กลมสูง แต่พนื้ กน้ เปน็ กระแบก กือแบ๊ก,ตอื แบก๊ สีเ่ หลีย่ ม กระป๋อง กอื ป๋อง กระปุก กอื ปุก น. ปลากระดกู ออ่ นพวกหน่ึง ส่วนใหญพ่ บในทะเล; กระเป๋า ถุง ชายผา้ น่งุ ทม่ี ว้ นเหน็บไว้ข้างหลัง เรียกวา่ ชาย กระเป๋า ฮบ๊ี ,เบ๊ะ(ทับศัพท์มาลาย)ู กระเบน หรอื หาง กระเบน; โคนหางของช้าง กระโปก กอื โปก๊ ,โหลกกือโปก๊ กระโปรง กือโปรง,กือโปร๋ง น. ต้นไม้ขนาดย่อมถึงขนาดใหญ่ มีหลายชนิด ผล กระผม ผม มกั กลม ขนาดผลมะนาวถึงผลมะขวดิ หรือ สม้ โอ กระพอก กือผอก ย่อมๆ เปลอื กแขง็ เป็นขน สนี ้าตาลแก่เกือบดา เมล็ดมีนา้ มัน, ดอกตัวผขู้ องกระเบาใหญ่หรือ กระพอง ตือพอง กระเบานา้ เรียกว่า ดอกกาหลง กลิน่ หอม น้ามัน กระเบาใช้รกั ษาโรคเร้ือน โรคผิวหนังอ่ืนๆ และขบั ตัวพยาธิ น. มาตราวดั มพี กิ ดั เท่ากับ ๑ ใน ๔ ของนิ้ว น. ของทาดว้ ยดนิ หรือวัตถอุ ย่างอนื่ เป็นแผ่นใช้มงุ หลังคา ปูพื้น หรือผนัง น. ไม้ตะแบก น. ภาชนะท่ีทามาจากโลหะใชบ้ รรจุสง่ ของ น. ภาชนะเครอื่ งปนั้ ดินเผาและแก้ว ปากแคบ ขนาดเลก็ น. กระเปา๋ (เสือ้ ,กางเกง) น. สาหรับใส่เส้อื ผา้ น. อณั ฑะ, ส่วนหนงึ่ ของอวยั วะสบื พนั ธภ์ุ ายนอก ของชายหรอื สัตว์ตัวผู้ น. ผา้ นุ่งผู้หญงิ แบบสากลนิยม, กะโปรง ก็ใช้; ฝา หน้าหม้อรถยนต์ตอนที่คลมุ เคร่อื งยนต์. ส. คาใชแ้ ทนตัวผู้พูด เพศชาย พดู กับผใู้ หญ่ เป็น สรรพนามบุรษุ ที่ ๑. น. กล่องสานมีฝาครอบสาหรับใส่อาหาร รูปคล้าย กระทาย; การเลยี้ งกนั , ทีเ่ ลี้ยงกนั ; หมอ้ ; กระบะ สาหรบั ใสก่ ับขา้ ว น. ส่วนทน่ี ูนเป็นป่มุ สองข้างที่ศรษี ะชา้ ง

ห น้ า | ๒๕ ภำษำกลำง ภำษำถ่ินตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย กระพงั โหม พาโหม น. ไม้เถากลิน่ เหม็น มีนวล ดอกสีมว่ งแกมชมพู ใบ กระพี้ กอื พี,่ กือเพ่ เรียวเลก็ ใช้ทายา กระพือ กอื พือ น. สว่ นของเนือ้ ไมท้ ่หี ้มุ แกน่ กระพุ้งแก้ม กือพุ่งแกม็ ก. โบก, พดั ให้ลมเกดิ ข้นึ โดยใช้สิง่ ทีเ่ ปน็ แผน่ หรือ เป็นผนื ไม่หนานกั โบกข้ึนลง, พัดไป; แผ่ซ่านไป กระพมุ่ กือผุม่ กระเพาะ กอื เผาะ น. ปลาอาศัยอยู่ในน้าหายใจทางเหงอื กซ่งึ อยู่ใน กระพงุ้ แกม้ กระเพื่อม กือเผ่ือม น. กระพ่มุ มือไหว้ กระมัง เย้ยี ง,สาหว่า กระยาง กือยาง,น็อกยาง น. อวยั วะภายในของคนและสตั ว์ กระยาจก ขอทาน คือ กระเพาะ อาหารและกระเพาะปสั สาวะ; ภาชนะ กระรอก กอื หรอก,แอหรอก สานสาหรบั ตวงข้าว มีความจุเทา่ กับ ๔ กระผกี ก. อาการกระเทือนขน้ึ ๆ ลงๆ อยา่ งน้า กระเรยี น กอื เรียน กระเพ่อื ม หรอื เน้ือกระเพ่ือม กระไร หว่าพนั ไหน ว. คาแสดงความไม่แน่ใจ, คาแสดงความคาดคะเน กระวาน กือหวาน น. นกยาง กระเวน กอื เหวน น. ขอทาน,ยาจก,วณพิ ก กระษัตริย์,กษตั ริย์ กอื สดั ,จ^าว กระษยั กอื ษัย น. สัตว์สี่เท้า ขนาดกระแต หางเปน็ พวง ชอบอาศยั กระสวย กือสวย ตามตน้ ไม้ กระโดดไปมาได้เก่ง กนิ ผลไมแ้ ละอ่ืนๆ กระสอบ กือซ้อบ น. นกกินปลาตัวใหญ่ รอ้ งเสยี งดัง บินสูง กระสา กอื สา ว. อะไร, อย่างไร. กระสาย กือสาย กระสือ กือสอื น. ผลไมจ้ าพวกขิงข่า ชอบขึ้นในปา่ ดิบชื้น ตามภมู ิ ประเทศทเ่ี ป็นเขา กลิน่ หอมฉุน ใช้ปรุงอาหารและ กระสนุ กือสนุ ทายา เรยี กวา่ ผลกระวาน, อีกอยา่ งหนึ่งเรยี กวา่ ผลกระวานเทศมาจากอินเดีย น. กองตระเวน. ก. ตระเวน, คอยดู, เทย่ี วไป; วนเวยี น. น. พระเจ้าแผ่นดิน, ใช้เตม็ ว่า พระมหากษัตริย์ น. โรคทที่ ากายให้ทรุดโทรม น. เครอ่ื งบรรจุดา้ ยสาหรับทอผ้าหรอื เย็บผา้ น. เครือ่ งสานหรอื ทอด้วยตน้ กระจดู หรือป่านปอ ใชบ้ รรจุขา้ วและของอน่ื ๆ น. นกกินปลาตวั คลา้ ยนกยาง แตโ่ ตกว่า น. เครอ่ื งแทรกยา ปรกตเิ ปน็ ของเหลว เชน่ เหลา้ . น. ผีที่สงิ ในกายหญิง ชอบกินของโสโครก ลักษณะ เป็นดวงไฟแวมๆ ในกลางคนื น. เครือ่ งยิงมีคนั ใชส้ ายโก่ง ยิงด้วยลกู ดินปน้ั กลม; ลูกปนื

ห น้ า | ๒๖ ภำษำกลำง ภำษำถน่ิ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย กระหนก กอื หน็อก น. ชือ่ แบบลายไทยประเภทหน่ึง ใชผ้ กู เขียนเป็น กระหนาบ กอื นา้ บ,คือนา๊ บ ลวดลาย มที งั้ ระบายสี ปิดทองรดน้า ปั้น หรอื แกะสลัก กระหม่อม กือม้อม ก. ประชดิ เข้าไปทั้ง ๒ ขา้ ง เช่น ตีกระหนาบ; กระหวดั กือหวัด,ตอื หวัด อาการทีอ่ ยู่ท้ัง ๒ ขา้ ง; ดุเอา เชน่ เขาถกู บดิ า กระหงั กือหงั กระหนาบ. กระหาย ยา้ ก กระเหว่า กอื เหวา,ตือเหวา น. กลางกบาลศรี ษะ; (รศ.) คาสาหรบั ใชค้ วบกับคา กระแนะกระแหน หวา่ กือแถก ที่ข้นึ ต้นวา่ เกลา้ เช่น ทราบเกลา้ ทราบ กระออม กือออ๋ ม กระหม่อม ทูลเกลา้ ทูลกระหมอ่ ม กระอกั กืออัก ก. ตวัด, วัดเข้ามาโดยเร็ว, รดั รงึ ; ยอ้ น กระแอม กือแอม๋ ,ข่ือแอ๋ม กรัง กรัง น. ผผี ชู้ าย ชอบกินของโสโครก กรมั กรัม,คีด้ ก. รสู้ กึ คอแห้งดว้ ยอยากดืม่ น้าเพราะมีอาการร้อน กราก กรา๊ ก ใน กรานกฐิน กร๋านกือถนิ น. นกดุเหว่า ก. พดู กระทบหรอื พดู เป็นเชิงเสยี ดสี น. ไมเ้ ถาล้มลกุ ขึ้นท่ัวไปตามท่รี กๆ ลาต้นเรยี วเป็น รอ่ ง ใบสเี ขียวอ่อน ขอบใบหยักเปน็ จกั ลกึ ดอกขาว เลก็ ผลปอ้ มๆ สามเหลี่ยม เมล็ดกลมดา สีนา้ ตาล แก่ ใช้ทายา รากใช้เปน็ ยาระบาย โดยมากเรยี กกัน ว่า โคกกระออม; ภาชนะบรรจนุ า้ ก. ทะลักออกมาจากคอ ก. ทาเสียงในคอคล้ายไอ เพ่ือให้โปร่งคอหรอื ให้ เสียงหายเครอื ก. เลอื ดแห้งติดอยู่ น. หน่วยมาตราชงั่ น้าหนักตามมาตราเมตริก เท่ากบั ๑๐๐ เซนตกิ รมั หรือ ๑ ใน ๑,๐๐๐ แหง่ กิโลกรัม, เทียบมาตราไทย อัตรา ๖๐๐ กรมั เทา่ กับ ๑ ช่งั หลวง ก. น้าเชย่ี ว ก. ขึงไม้สะดึง คือ เอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรเข้าขึงท่ี ไมส้ ะดึง เย็บเสร็จแล้วบอกแก่ภกิ ษทุ ั้งหลายผรู้ ่วม ใจกันยกผ้าให้ในนามของสงฆ์เพ่ือ อนุโมทนา ภิกษุ ผเู้ ย็บจีวรเชน่ นนั้ เรียกวา่ ผกู้ ราน พธิ ีทาบัดนี้ คือ สงฆ์ยกผ้าอันไม่พอแจกกนั ให้ภิกษรุ ปู หนึง่ ภิกษุรปู นั้นทาตัง้ แต่ซัก กะ ตัด เย็บ ยอ้ ม เสร็จในวันน้ัน ทาพินทุกปั ปะอธิษฐานเปน็ จวี รครอง เป็นจีวรกฐิน เรยี กวา่ กรานกฐนิ .

ห น้ า | ๒๗ ภำษำกลำง ภำษำถิน่ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย กราบ กร๊าบ ก. การแสดงความเคารพ มีดงั ต่อไปนี้ ๑. กราบเบญจาง กราม กร๋าม คประดิษฐ์ คือ กราบองค์ ๕ (ผูก้ ราบนงั่ คุกเข่า) เข่า ๒ มอื กราว กร๋าว ๒ หน้าผาก ๑ ลงถึงพื้น ทา ๓ ครง้ั ต่อเนอื่ งกัน ใชส้ าหรับ กร้วิ คึ^ง กราบพระเทา่ นั้น ๒. หมอบกราบ ผูก้ ราบนง่ั พับเพยี บ กรดี กรด๊ี พนมมือ แลว้ ก้มตัวลงไปจนมอื ทีพ่ นมอยู่น้ันตั้งบนพ้นื วาง กรุ กรุ๊ หน้าผากลงบนมือทพี่ นมอยูน่ น้ั ครงั้ เดียว แล้วเงยข้ึน ขณะเดยี วกนั มอื ทพ่ี นมอยกู่ ็แยก ทาคร้ังเดียว ใชส้ าหรับ กรุง กรุ๋ง กราบคฤหัสถ์ และกราบศพคฤหสั ถ์, โดยปรยิ ายเป็นคา กรณุ า ก๊ารู้หนา ขึน้ ตน้ จดหมาย เชน่ กราบ กราบเรียน กราบทลู กราบ บงั คมทูล. ว. จนถงึ , ตราบ เช่น ตราบเท่า กรูด กรู๊ด กล ก๋น น. ฟนั ซใี่ หญ่อยู่ที่ขากรรไตร กลด กล็อด กลบ กือหล็อบ,ตือหลอ็ บ,กล็อบ ว. เสียงตบมือ กลม กลม๋ กลวง กล๋วง ก. โกรธ,กรว้ิ โกรธ,เคือง กลวม กล๊วม กลว้ ย กล^วย ก. ขีดลากไป; ถูมดี ใหค้ ม. กล้วยไม้ กล^วยม่าย น. หอ้ งท่ีทาไว้ใต้ดินหรือใต้พระเจดีย.์ ก. ปดิ กัน ชอ่ งโหว่ เช่น กรฝุ า, รองไว้ข้างลา่ ง เชน่ กรุก้น ชะลอม, ปิดก้นั เชน่ กรบุ ่อ น. เมอื งหลวง, เมอื งใหญ่ น. ความเอ็นดู, ความปรารถนาจะใหผ้ ู้อน่ื พน้ ทุกข์, ความเอาใจชว่ ยเหลอื เขาในเม่ือเหน็ เขาต้องภัยได้ ทกุ ข์ เปน็ ขอ้ ๑ ในพรหมวหิ าร ๔ ว. เสยี งเชน่ เสยี งทีล่ ากของถูไป; เคล่ือนถอยอย่างลากไป เช่น ถอยกรูด, น. โรคหดู .2.(ถต.) น. มะกรดู น. ชนั้ เชงิ , การลอ่ ลวง, วิธกี าร, อบุ าย น. รูปคลา้ ยร่ม แตม่ ีคนั ยาว ใช้สาหรับกันแดดเวลาเสด็จ พระราชดาเนิน, ร่มคนั ยาวใชส้ าหรับเจา้ หรือภกิ ษุ ก. ปดิ , ถม, เอาดินถมหลมุ ว. มีสัณฐานไม่เปน็ เหลย่ี มไมร่ ี ว. เปน็ ร,ู เป็นโพรงตลอด, เปน็ โพรงข้างใน ก. สวมทบั น. ต้นไม้พวกหน่งึ ลาต้นเป็นกาบๆ มหี ลายชนิด ผลเป็นอาหาร น. ดอกเอ้ืองมีมากหลายพนั ธ์ุ ท้งั ทขี่ ึน้ กบั ดนิ และ เกาะอาศยั สิง่ อน่ื เชน่ ต้นไม้และหิน มที งั้ ทเี่ ป็นของ เทศและของไทยแท้ ท่ีมกี ลิ่นหอมมีมากโดยเฉพาะ กลว้ ยไม้ของไทยเรามหี ลายช่ือ เช่น หวายตะมอย ช้างดา ช้างแดง ช้างเผอื ก เอ้ือง-กุหลาบ เออื้ งสาม ปอยขุนตาล สามปอยหลวง เออื้ งสามปอยดง

ห น้ า | ๒๘ ภำษำกลำง ภำษำถ่นิ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย กลอก กลอ๊ ก กลอง กล๋อง ก. โคลง, กลับ, กลิง้ , ไม่ลงที่. กลอ่ ง กลอ๊ ง น. เคร่ืองทาเพลงชนดิ หนึง่ ขึงดว้ ยหนงั ใชต้ ี กลอน กลอ๋ น กลอน กลอ๊ น น. ภาชนะใส่สงิ่ ของรปู กลมหรอื เหลีย่ มมฝี าปิด, ส่ิง ท่ที าเปน็ รูปส่ีเหล่ียมผืนผา้ ขนาดเลก็ มลี ิ้นชักเข้า กล่อม กลอม ออกได้ สาหรบั บรรจุไม้ขดี ไฟ เรยี กวา่ กล่องไมข้ ีด ไฟ กลอย กล๋อย น. เครอ่ื งสลกั ประตู,หนา้ ต่าง กลน่ั กลนั๊ น. คาประพันธ์ซึ่งแตเ่ ดิมเรียกคาเรยี งท่ีมสี ัมผสั กลน้ั กล^ั น ทว่ั ไป จะเป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ หรือร่ายกต็ าม เชน่ กลอ้ ง กล^อง ในคาว่า ชุมนุมตารากลอน, ครัน้ เรยี กเฉพาะคา ประพันธ์เฉพาะอยา่ งเป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ รา่ ย แล้ว คาประพันธน์ อกนี้อกี อย่างหนง่ึ จึงเรียกว่า กลอน เปน็ ลานาสาหรับขับรอ้ งบา้ ง คอื บทละคร สักวา เสภา บทดอกสร้อย ก. รอ้ ง, ขบั ; ถนอม; เลา้ โลม; ทาใหก้ ลม เช่น กลอ่ มเสา ; รอ้ งเพื่อเลา้ โลมหรือโน้มนา้ วใจให้ คลอ้ ยตาม เช่นกล่อมอารมณ์, พดู โน้มน้าวใจใหเ้ ห็น คลอ้ ยตาม เชน่ กล่อมฝ่ายที่ไมเ่ ห็นดว้ ยให้คล้อย ตามเปน็ ผลสาเรจ็ ได้, ทาให้ใจอ่อนเห็นคลอ้ ยตาม เชน่ ผใู้ ต้บงั คบั บัญชากล่อมผู้บงั คับบัญชาใหค้ ล้อย ตามได้ ก. ร่วม, คล้อย เชน่ กลอยใจ. น. ไมเ้ ถาต้นจะแยกกัน เป็นตน้ ตวั ผู้ต้นตัวเมยี ต้นตัวผู้มดี อกออกเป็นชอ่ ใหญส่ ี เหลอื งหรือเขียวอมเหลือง เมื่อ เวลาบานจะส่งกลนิ่ หอมไปไกลมาก หอมฉนุ ๆ หวั กนิ ได้ ก. คดั เอาแต่ส่วนหรือสงิ่ ที่สาคัญหรือทีเ่ ปน็ เนือ้ แท้ ดว้ ยวธิ ตี ม้ ใหอ้ อกเปน็ ไอ แลว้ ใช้ความเย็นบังคับให้ เปน็ ของเหลว เช่น กลน่ั นา้ , โดยปริยายหมายความ ว่า คัดเอา เลอื กเอา ก. กล้ันหายใจ น. วัตถุลักษณะยาวกลวงตลอด, เรยี กของใช้ บางอยา่ งท่มี ลี ักษณะเชน่ น้นั เช่น กลอ้ งส่อง; เครือ่ งที่มีรปู ร่างต่าง ๆ ประกอบดว้ ยเลนส์สาหรบั ถ่ายภาพหรอื ขยายภาพ เช่น กลอ้ งถ่ายรูป กลอ้ ง จุลทรรศน์; กล้อง ๒ : [กลฺ อ้ ง] ว. เรยี กข้าวท่สี เี อา เปลือกออกโดยยังมจี มูกข้าวและเย่อื หุม้ เมลด็ ขา้ ว อยวู่ ่า ข้าวกล้อง.

ห น้ า | ๒๙ ภำษำกลำง ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย กลบั หลอ็ บ(หลอ็ บเริน) ก. ตรงกนั ข้ามกบั ภาวะเดิมหรือทศิ ทางเดิม เชน่ กลับ บ่ือเหละ กลับหน้าเป็นหลัง กลับบา้ น กลัว กลวั ก. ใสเ่ ส้ือกลบั ข้าง กลา้ หาน,กล^า ก. ขลาด, ตระหนกตกใจ, เกรงวา่ เชน่ กลวั ว่าเขา กล้า กล^า ไปแล้วจะไม่กลับมา. กลาก กล๊าก กลาง กลา๋ ง ก. เก่ง, อาจหาญไมก่ ลวั ใคร. ว. แขง็ . กล้าม กล^าม ข. กลา้ ไม้,ตน้ ขา้ วออ่ นที่หว่านไว้ น. โรคผวิ หนังชนดิ หนึง่ ขึ้นเปน็ วงและมีอาการคัน กลาย กลา๋ ย กลา่ ว กลา๊ ว น. ส่วนทไี่ ม่คอ่ นไปขา้ งใดขา้ งหนึ่ง, ภายใน, ระหวา่ ง กลน่ิ กลน๊ิ น. เน้ือมะพรา้ วหา้ ว; มัดเนื้อที่รวมกันเปน็ ก้อน ๆ กลีบ กล๊ีบ ในกายคนและสตั ว์ เรียกวา่ กลา้ มเนื้อ กลึง กลงึ ก. แปรไป,เปลี่ยนไป กลืน กลนื ก. พูด, ว่า, เชน่ กล่าวกลอน; (ชบ.) แต่งงาน เชน่ กลมุ่ กลมุ๊ ไปกลา่ วเมยี กลุ้ม กล^ุ ม กวน ก๋วน น. สง่ิ ที่ร้สู กึ ด้วยจมูก เชน่ เหม็น และหอม; ช่อื พวงดอกไมร้ ้อยแบนๆ ประกอบกับอุบะ กวาง กวา๋ ง กวา้ ง กว^าง น. กาบที่หุ้มเกสรดอกไม้, ใชเ้ รยี กของอนื่ ทมี่ ี กวาด กวา๊ ด สัณฐานเชน่ น้ัน เชน่ กลบี เมฆ กลบี ผา้ เป็นต้น กอ กอ๋ ก. ทาใหก้ ลมดว้ ยอาการหมุน ก. ทาให้ล่วงลงไปในลาคอ, กิน; เข้ากัน เช่น กอ่ กอ๊ สี กลนื กนั กอง กอ๋ ง น. หมู่, หมวด; ด้ายท่ีม้วนเป็นก้อนกลม ก. รุม, คลุ้ม; รู้สึกยุง่ ยากใจ ก. รบเรา้ ; คนให้เข้ากนั , คนใหท้ ว่ั กนั ; เคยี่ วแลว้ คน ให้แห้ง. น. เรยี กของท่ีทาด้วยผลไมต้ ม้ กับน้าตาล คนเคีย่ วจนขน้ เชน่ ทุเรียนกวน มะม่วงกวน น. สัตวส์ ีเ่ ทา้ ชนิดหน่ึง จาพวกเนื้อ มเี ขาเป็นกิง่ น. ดา้ นสั้นคกู่ ับด้านยาว. ว. ขวาง; ใหญ่ ก. ตอ้ น; ทาให้เตยี น; เอายาป้ายในลาคอ เรยี กวา่ กวาดยา น. หมู่, พวก; ต้นไม้ทข่ี น้ึ เปน็ กลุ่ม เช่น กอไผ่เป็น ตน้ , ตน้ ไมช้ นิดหนงึ่ มีมากทางปักษ์ใต้ ผลเปลือก แข็ง เยอ่ื ในรสมัน คลา้ ยเกาลดั ก. สรา้ ง, ทา, ปรุงข้ึน, ตงั้ ข้นึ น. หมู่, พวก, เหล่า, กลมุ่ ; ชอ่ื ตน้ ไมช้ นดิ หนึ่ง; ส่วนราชการ ทร่ี องจากกรม; (ถน.) ถนน, ทางเดิน. ก. ทาให้เปน็ กลุ่ม

ห น้ า | ๓๐ ภำษำกลำง ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย กอด ก็อด กอ่ น ก๊อน ก. โอบไว้ในวงแขน, โดยปริยายหมายถึงอาการที่มี ก้อน กอ็ น ลักษณะคลา้ ยคลงึ เช่นนนั้ กอบ กอ๊ บ ว. เก่า, แก่, นานกว่า, เดิม, เร่ิม, แรก. กอ้ ย ก^อย น. แทง่ , ใช้ในส่งิ ทม่ี เี นอ้ื รวมติดกัน เช่น กอ้ น กะชะ กือฉะ อฐิ กอ้ นกรวด ก้อนหิน กอ้ นขนม กะทิ ก^างปา๊ รา่ ก. ทามือ ๒ ขา้ งตดิ กันช้อนสิง่ ของขนึ้ , ปริมาณ ๒ กะทือ กอื เถะ ฟายมือรวมกนั . ว. บรบิ ูรณ์, เตม็ ไป กะเทย กือทือ กะเทาะ กอื เทย น. นิ้วที่ ๕ นับจากนิว้ หัวแมม่ อื ; ช่ืออาหารชนดิ กะบงิ้ กอื เถาะ หน่งึ คลา้ ยพลา่ ทาดว้ ยกุง้ สด หั่นเนือ้ เปน็ ชนิ้ ๆ แล้ว กะปะ กอื บิ^ง ทาให้สกุ ด้วยนา้ ส้ม มเี ครอ่ื งประสม คือ ตะไคร้ กือป๊ะ มะเขือเปราะ ใบมะกรดู ใสพ่ ริก รับประทานกับใบ กะปิ ชะพลเู ป็นคาๆ หยอดด้วยน้าพริกเผาซึ่งละลายเปน็ กะพง บอื่ หลา่ จัน น้า เรียกวา่ ก้อยก้งุ กะพรบิ (เพ้ียนมาจากภาษามาลายู) น. ภาชนะสาน คล้ายตะกรา้ รูปสงู ตรง ปากไม่มี กะพรุน กอื พง ขอบ ใช้บรรจเุ คร่ืองเดินทาง ร้อยเชือกแขวนไปบน กือพริ่บ,กือหลบิ ,กลบิ หลังสัตว์พาหนะ กือพรนุ น. ชื่อไม้เถาชนดิ หนง่ึ ใบมขี น ลูกสกุ สแี ดง ใบเป็น สมนุ ไพร น. นา้ ทีค่ ้ันออกจากเยอื่ มะพร้าว, ช่อื มะพรา้ วทผ่ี ล มนี ้าขน้ เนื้ออ่อนกว่ามะพรา้ วกะทิ น. พนั ธไ์ุ ม้พวกขิง เหง้ามีกลน่ิ หอม ใช้เปน็ เคร่ืองยา และปรงุ อาหาร. กะทือซา่ น. ยากะทอื น. คนท่ีมอี วยั วะเพศทั้งชายและหญิง, คนท่มี จี ิตใจ และกริ ยิ าอาการตรงข้ามกบั เพศของตน น. สงิ่ ท่ลี ่อนออกจากพนื้ เดมิ . ก. ทาใหล้ ่อนหลุดออก น. เรียกท่ีดินนอ้ ยๆ แปลงหนึ่งๆ วา่ กะบ้งิ หนึ่งๆ, ของท่ีเป็นแผ่นเล็กๆ น. ชือ่ งูพิษชนิดหนึง่ ตวั โตขนาดนิ้วมอื หัวรูปสามเหลย่ี ม จมกู ทู่งอน มีพันธเุ์ ดยี วกนั เช่น กะปะนา้ และ กะปะหาง ยาว ลกั ษณะคล้ายงูแมวเซา ชกุ ชมุ แถบปา่ ทบึ . น. ของเค็มทาด้วยเคยกับเกลือโขลกและหมักไว้ ใช้ ปรุงอาหาร น. ช่ือปลามที ั้งน้าจืดและน้าเคม็ มหี ลายชนดิ ก. ขยบิ ตา, เปิดปิดโดยเร็ว เชน่ ไฟกะพริบ เขา กะพริบตาอยูเ่ สมอ ดาวกะพริบแสงอยู่ในทอ้ งฟา้ น. แมงกะพรนุ สัตวน์ า้ เค็มตวั กลมๆ อ่อนใส เหมอื นวนุ้ มหี นวด ใชท้ าอาหารได้

ห น้ า | ๓๑ ภำษำกลำง ภำษำถิ่นตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย กะพ้อ กือพอ่ กะเพรา กอื เพรา น. ปาลม์ ชนิดหน่งึ กะละมงั บนิ่ ผนู่ น. ไม้ผกั ใบมกี ลิน่ ฉนุ ใช้ปรงุ อาหารและทายา, กะละแม ดอ่ ดอย เรียกชือ่ ต่างๆ เชน่ กะเพราปา่ กะเพราใหญ่ กะเพราญวน จันน้อย ยี่หร่า และโหระพาช้าง กะละออม กือออ๋ ม กะลา กา๋ หลา น. ภาชนะใสน่ ้าหรอื ส่ิงของ กะลา กือพรอ็ ก น. ชอ่ื ขนมเหนยี วกวนดว้ ยขา้ วเหนยี วกบั กะทิและ กะวะ กอื วะ น้าตาล. กะโหลก กอื โล้ก น. ภาชนะสาหรบั ใสน่ ้า กัง กงั น. ชอ่ื ไมล้ ม้ ลกุ ชนดิ หนง่ึ ต้นคล้ายข่า ชอ่ ดอกคลา้ ย กังวล ย่งุ ใจ๋ บวั ตูมแตก่ ลีบแขง็ สชี มพหู รือแดง มดี อกเลก็ ๆ กังหัน โหลก-ลม แนน่ เปน็ กระจุกอยู่ภายใน ก้านช่อดอกผดุ ขึ้นจาก กดั ขอ็ บ ดินและยาวได้ถงึ ๑ เมตร หน่อและดอกอ่อนใชเ้ ปน็ กดั กั^ด อาหาร กาหลา กัด แกลด็ น. กะโหลกมะพรา้ วซงึ่ ผ่าคร่ึงซีก กัน กั๊น,กัน น. ชือ่ นกเงอื กชนดิ หนง่ึ โคนปากด้านบนมีลักษณะ กัน กนั โหนกคลา้ ยกลอ่ งขนาดใหญ่ คอสีขาว ปีกสีดาพาด กันดาร กันดา๋ น เหลอื ง ปลายปกี ขาว หางสขี าวพาดดา กณั ฑ์เทศน์ กนั เถด น. กะลามะพร้าวทีใ่ ชเ้ ปน็ ภาชนะตักน้า; กระดกู ที่ กา กา๋ หุม้ มันสมอง; เรยี กลน้ิ จี่และลาไยที่โตกว่าปรกติ กา กอื หนี เชน่ ลิ้นจี่กะโหลก ลาไยกะโหลก กาก ก๊าก น. ลิงหางส้นั ก. หว่ งใย มใี จพะวงอยู่. น. ส่งิ ทปี่ ระกอบดว้ ยใบพดั หมุนไดด้ ้วยกาลงั ลม ก. ขบ, ตอด, ทาให้กร่อน, ทาใหข้ าด น. ชื่อปลานา้ จดื ตวั เลก็ คนเลยี้ งไวใ้ หส้ ้กู ัน เรยี กวา่ ปลากัด ก. สัตว์กดั ผลไม้ ก. กันชน,กนั ผม ก. กนั คน,กนั แดด,กันสาด,กันเอง น. ป่าดง, ทางลาบาก. ว. อตั คดั , ฝืดเคือง. น. เครอ่ื งไทยธรรมถวายพระเทศน์, ส่ิงของสาหรบั ถวายพระเทศนโ์ ดยเอาเงนิ หรือสง่ิ ของบชู า ธรรม เนื่องในการเทศน์เรยี กวา่ ตดิ กณั ฑเ์ ทศน์ น. กาตม้ นา้ น. กาใสน่ า้ ถวายพระ น. ส่ิงท่เี หลอื เมอื่ คั้นหรอื คัดเอาส่วนดอี อกแลว้ เช่น กากมะพร้าว

ห น้ า | ๓๒ ภำษำกลำง ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย กากบาท ก๋ากือบา๊ ด กาง กา๋ ง น. ชื่อเคร่ืองหมายอย่างตีนกา มรี ปู + หรอื x ก้าง ก^าง กางเกง แหน็ดเพลา,ก๋างเก๋ง ก. ถา่ งออก, คลี่, เหยียดออกไป, ขึงออกไป, แบะ กานพลู จอื แก,๋ ด๊อกแก๋ ออก. ว. ถ่างอยู่, แบะอยู่ กา้ น ก^าน น. กระดูกปลา กาบ กา๊ บ ก้าม ก^าม น. เครื่องนงุ่ มี ๒ ขา กาย กา๋ ย ก่าย ก๊าย น. ชือ่ ไม้ต้นขนาดกลาง ดอกตูม มรี สเผด็ รอ้ น ตาก การ กา๋ น แห้งแล้วใชเ้ ปน็ เครอ่ื งเทศและทายา การพนนั แล็นเบี^ย น. ส่วนทต่ี ่อดอก หรือใบ หรอื ผล กับกิง่ ไม้, เรยี ก การบูร กา๋ รบนู๋ สิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นน้ัน เช่น กา้ น การเวก กือเวก้ ตมุ้ หู ก้านไม้ขดี การันต์ กา๋ รนั ต์ น. เปลือกห้มุ ช้นั นอกลาต้น ผล และดอกของ กาลี ก๋าหลี ต้นไม้ บางชนดิ เป็นแผ่นๆ เป็นกลบี ๆ ลอกออกได้ กาว กา๋ ว กาเหวา่ กอื เหวา,ตือเหวา น. อวัยวะสว่ นหนา้ ของสตั ว์เช่นปแู ละกุ้ง ใช้คีบ กา กา อาหาร กาจดั กาจั^ด น. ตัว เชน่ ไมม่ ผี า้ พันกาย, และมกั ใชเ้ ข้าคู่กบั คา ร่าง เปน็ รา่ งกาย ก. นอนเอาขากา่ ยกนั ก. พาด, พาดไขวก้ ัน, เชน่ เอาฟืนก่ายกนั น. การเสยี่ งโชค, การเดมิ พัน น. ตน้ ไมช้ นิดมยี างเปน็ เกล็ดขาว กลน่ิ ฉนุ ร้อน ใช้ ทายา. น. นกในนยิ ายว่าร้องไพเราะมาก สตั ว์ทัง้ หลายได้ ยนิ ก็น่งิ งันไปหมด น. อกั ษรตวั ทีส่ ุดแห่งคา เชน่ การันต์, ใน ภาษาไทยเรา ใชเ้ ปน็ ช่ือของอักษรที่ไม่ออกเสยี ง พรอ้ มด้วยเคร่อื งหมายดงั น้ี เชน่ ราชสาสน์ [ราด- ชะ-สาน] ราชสาสน์ [ราด-ชะ-สาด] ว. ชวั่ รา้ ย, เสนยี ดจัญไร น. ยางเหนียวสาหรบั ผนกึ ส่งิ ของ, ว. จับอย่าง เหนยี วแนน่ น. ชือ่ นกชนดิ หนึง่ ตวั ผู้มสี ีดา ตัวเมียสนี ้าตาลย่อม กวา่ กาเลก็ น้อย บางทีกม็ ลี ายจดุ ขาวๆ ก. งอนิ้วเข้าจดองุ้ มือ, จบั ไว้โดยอาการงอนิ้วท้ัง ๔ เข้าจดอุ้งมือ ใชห้ ัวแม่มอื กดน้ิวเหล่านนั้ . น. มือที่ งอน้ิวเข้าไว้; จานวนของเตม็ มือท่ีกาเข้า; มาตราวัด รอบของกลม น. ขจดั , ขับไล่, ปราบ,ทาให้ส้ินไป

ห น้ า | ๓๓ ภำษำกลำง ภำษำถ่ินตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย กาเดา จือมู้กแตก๊ เข็ม กานัน กาหนัน น. เลอื ดกาเดา, เลือดที่ออกทางจมูก กาเนดิ กาเนด้ิ น. ตาแหน่งพนกั งานฝา่ ยปกครองซ่ึงมีอานาจ กาป่ัน กาปน๋ั หนา้ ท่ีปกครองราษฎรท่อี ยูใ่ นเขตตาบล กาปั้น หมดั น. การเกิด ก. เกิด, มีขน้ึ , เปน็ ขน้ึ กายาน กาหยาน น. เรอื กาปนั่ ,เรอื เดนิ ทะเลขนาดใหญ่ชนิดหน่ึง กาเริบ กาเริบ้ รปู ร่างหัวเรอื เรยี วแหลม ท้ายเรือมนและราบใน ระดับเดียวกับหัวเรือ กาไร กาไหร กาลงั กาหลัง น. มอื ทีก่ าเขา้ ใหแ้ ข็งเพือ่ จะชกหรอื ทบุ กาไล กือไหม น. เครือ่ งหอม,เคร่อื งร่า,วตั ถเุ ครือ่ งหอมชนดิ หนึ่ง เกดิ จากชนั หรือยางท่ีออกจากเปลือกของตน้ กงิ่ กิ๊ง กายาน มกี ลนิ่ หอม ใชเ้ ผาอบผา้ และทายาได้ กง้ิ กา่ ป๋อกกอ๋ ก. รนุ แรงขนึ้ , กาแหง, บงั อาจ, โอหัง, เหิมเกรมิ , กิ้งกือ กงิ กือ อหังการ, ผยอง, ลามปาม, โอหงั กนิ กนิ น. ประโยชน,์ ผลประโยชน,์ ผลกาไร กนิ น้า กินนา่ ม น. พลงั , แรง, พละกาลัง เชน่ เขาเปน็ คนที่มี กนิ นร กินหนอน ร่างกายแขง็ แรง จึงทาให้มีพละกาลงั มาก กโิ ลกรัม กี๊โล น. เครือ่ งประดับสาหรับสวมข้อมือ มีลกั ษณะเป็น กโิ ลเมตร แกโ๊ ล วงกลม ทาดว้ ยทอง หยก เปน็ ต้น กว่ิ กิ๊ว กี่ โฮก้ น. แขนง, กงิ่ ไม้, กง่ิ กา้ น, สว่ นที่แยกออกจากตน้ ก่ี คี^(คี^หน) น. ปอม, กะปอม,ชอ่ื สตั วเ์ ล้อื ยคลานในวงศ์ Agamidae ตวั มีเกล็ด หางยาว ชอบอาศัยบน ตน้ ไม้ มหี ลายสกุลและหลายชนดิ น. สัตว์ตัวกลมยาวราว 1 คืบ ไม่มีกระดูกสันหลงั ชนดิ หน่ึง ในวงศ์ Julidae มขี าเปน็ ข้อๆ ก. ได้หรอื เสยี ในการเลน่ การเล่นพนนั ,ใช้, เปลอื ง, ทจุ รติ , คอร์รัปชน่ั , โกงกนิ ,ทาน, รับประทาน, รับประทาน, รบั ทาน, บริโภค ก. มสี ่วนลึกของเรือท่จี มลงไปในนา้ . น. สัตวใ์ นนยิ ายชนดิ หนึ่ง เดมิ ตวั เปน็ คน หัวเป็นมา้ (หรอื ตวั เปน็ ม้ามีหัวเปน็ คน) ไทยเราประดิษฐร์ ูป สัตว์ชนดิ นี้ใหม้ กี ายเบื้องลา่ งเปน็ นก เบ้ืองบนเป็น คน. น. ช่อื มาตราช่ังน้าหนกั เท่ากับ 1,000 กรัม น. ชอ่ื มาตราวัด เทา่ กับ 1,000 เมตร ว. คอดมาก เลก็ ตอนกลาง เช่น คอก่วิ น. เครื่องทอผ้า ว. คาประกอบหนา้ คาอน่ื หมายความว่า เทา่ ไร

ห น้ า | ๓๔ ภำษำกลำง ภำษำถิ่นตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย กีด กี๊ด กีบ กบ๊ี ก. ขวาง, ก้ัน กุ้ง กุ^ง น. เลบ็ ที่ห้มุ เทา้ สัตวบ์ างชนิด กญุ แจ กือแจ๋ - ตัวกุญแจ - แหมก่ ือแจ๋ น. ชื่อสตั วน์ ้าไม่มีกระดูกสันหลงั ในชั้น Crustacea - ลกู กญุ แจ - โหลกกือแจ๋ อนั ดับ Decapoda มีหลายวงศ์ หายใจดว้ ยเหงือก กุฏิ ลาตัวยาว แบนหรอื กลม แบง่ เป็นปล้องๆ เปลอื กที่ กนุ กดุ หุม้ ท่อนหวั และ อกกา้ มและขาอยู่ท่สี ่วนหัวและอก กนุ๋ มี 10 ขา มีทั้งในนา้ จืดและน้าเค็ม กุม กมุ๋ น. เคร่ืองสาหรบั ใส่ประตหู น้าต่างเป็นตน้ เพ่ือยดึ กมุ หรอื สลักไม่ใหเ้ ปดิ เข้าออกได้ เวลากดหรอื ไขออก กมุ๊ มเี สยี งลนั่ ดังกริก๊ มลี กู ไข เรยี กว่า ลกู กุญแจ กมุ าร กุย กูหมาน น. เรอื นหรอื ตึกสาหรบั พระภิกษุสามเณรอยู่ กุเลา โก๋ย กุลี กเู หลา น. ปกี นุ , ปหี ม,ู ชือ่ ปที ่ี 12 ของรอบปนี กั ษตั ร มีหมู กู กูหลี เปน็ เคร่ืองหมาย กู๊ กู่ ก. จับ เชน่ ขณะทเี่ ขากรอกเหล้าเขา้ ปากแกว้ แลว้ กอื โล้ย,กือเวว้ แก้วเลา่ มืออกี ขา้ งของเขากเ็ ล่ือนมากุมดา้ มมดี ที่ กดู พกอยขู่ า้ งเอว กบู ผักกูด๊ เก่ง กู๊บ น. ช่ือไม้ต้นชนดิ หนงึ่ ใบเป็นใบประกอบมีใบยอ่ ย ๓ ใบ เกตุ ฉั่ง ดอกเปน็ ชอ่ กลบี ดอกสีขาวแล้วกลายเปน็ สีเหลอื ง ผลกลม เกต๊ หรือรูปไขผ่ วิ นอกแข็งและสาก ๆ สเี ขยี วนวล เชน่ กุ่มบก เกบ็ แกบ็ น. เดก็ ชาย น. หมดั กาปั้น มกั ใช้เขา้ ค่กู ับคา ลกู วา่ ลูกกุย น. ปลากเุ รา. น. จับกงั , กรรมกร ส. คาใช้แทนตวั ผ้พู ูด ในปัจจุบันมกั ถือกนั วา่ ไม่ สุภาพ เป็นสรรพนามบุรุษท่ี ๑. ก. ร้อง, กูร่ ้อง, ร้องเรยี ก, กเู่ รียก, สง่ เสยี งเป็น สญั ญาณให้ร้วู ่าอยู่ทไ่ี หน น. เรยี กตน้ เฟินหลายชนดิ ที่กินไดว้ า่ กูด น. ที่นงั่ บนหลงั ชา้ ง ก. สามารถ, รอบรู้ น. ดาวเกต,ุ ดาวพระเกตุ, ช่อื ดาวพระเคราะหด์ วง ท่ี 9 หมายถงึ ตาแหน่งทีด่ วงจันทร์ผ่านจากเหนือ ระนาบสุริยวิถีลงสู่ใตร้ ะนาบสรุ ยิ วถิ ี สว่ นตาแหนง่ ท่ี ดวงจนั ทรผ์ า่ นจากใตร้ ะนาบสุริยวถิ ีขึน้ เหนอื ระนาบสรุ ยิ วิถี เรียกวา่ พระราหู ก. สะสม, รวบรวม เชน่ เราพยายามใหม้ ีการสรา้ ง เขอ่ื นเพือ่ เกบ็ นา้ ไว้ทาฝนเทยี ม

ห น้ า | ๓๕ ภำษำกลำง ภำษำถ่นิ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย เกย เก๋ย เกรง เกรง๋ ก. ตดิ เช่น นา้ พดั พาลกู ของฉันซงึ่ กาลังจะหมดแรง เกร็ง แกรง๋ ขนึ้ ไปเกยหาดรมิ ฝั่งหว้ ยอีก เกรอ่ หมาก ก. กลัว, หว่นั เชน่ บรรดาผบู้ รกิ ารเกรงว่า การนา รถหุน่ ยนต์มาใช้งานจะทาให้คนงานไม่พอใจ เกรอะ เกรอ๊ ะ เกราะ เกร๊าะ ก. คลาย เช่น เราต่างนัง่ ซมึ ศีรษะหลบุ ตา่ เกร็งมือ เกราะ เคลา๊ ะ ทงั้ สองขา้ งจนเส้นเอน็ ท่ลี าแขนเต้นระรกิ ว. ลกั ษณะบางอย่างท่ีเก่ียวกับเรอื่ งกินเร่ืองใช้เป็น เกรยี น เกรยี น ตน้ ทีค่ นโดยมากมกั ทากัน เช่นกนิ กันเกร่อ เทยี่ วกนั เกรยี ม เกรียม เกร่อ ใชก้ ันเกรอ่ . เกเร รา่ ย,เกะ๊ ก๊ะ เกลอ เกล๋อ ก. เขรอะ, เขลอะ เช่น นกตวั น้ันมรี อยขีดขว่ น เกลา เกล๋า,ล็อบเลีย้ ม ยาวๆ หลายแห่ง และมีเลือดไหลออกมาเกรอะกรง เกล้า กล^าว เกลยี่ เกล๊ยี น. เครื่องสวมใส่หรือเคร่ืองหุ้มสาหรบั ปอ้ งกันอาวธุ เกลียด เกลย๊ี ด หรืออนั ตราย เกลี้ยง เกล^ี ยง น. เคร่ืองตี เครื่องตที ่ีเปลยี่ นแปลงมาจากการตบ เกลียว เกล๊ียว มอื นนั้ มีแยกออกได้หลายอยา่ ง เชน่ กรบั เกราะ เกลอื เกลือ โกร่ง เกลือก เกล๊อื ก ว. สัน้ , เหย้ี น เชน่ วยั รุน่ ผมเกรียน ว. ไหมเ้ กรียม เชน่ สภาพท่เี ห็นเหลอื แต่ศพบางศพ ท่ีไหมเ้ กรียมเหลือแตก่ องกระดกู หุ้มหนัง ก. มีนสิ ยั เป็นพาล ชอบแกล้ง ชอบรงั แกและเอา เปรยี บ น. เพื่อนสนิท ก. ถากพอให้ได้รูป, เหลา, ขดั ถ,ู ทาให้เกลีย้ ง. ว. เกล้ยี ง น. หัว. ก. ขมวดผม. เกล้ากระผม, เกล้าผม ส. ฉนั (พดู กับผใู้ หญ่ เป็นการแสดงความนบนอบ) ก. กระจายออกไปให้เสมอกัน ก. เบื่อหน่าย, ชงั , ไมช่ อบ, บางคราวใชค้ วบกับ ว. ไม่ขรขุ ระ, หมด, ไมเ่ หลือ, ไมม่ ีติดอย.ู่ น. สม้ ชนดิ หนงึ่ ผิวเกลีย้ ง เมื่อสุกสีเหลือง ผลกลมใหญ่ เป็นไม้พมุ่ หรอื ไม้ยืนตน้ ขนาดเลก็ ผวิ ผลมตี ่อม นา้ มัน กลนิ่ ออกฉุนๆ น. เชอื กท่ีฟั่นควบเป็นเสน้ เดียวกนั , รอยสิ่งของที่ พันกันดจุ เกลยี วเชือก. ว. เข้ากันเป็นเกลยี ว น. วตั ถทุ ีม่ รี สเค็ม ใช้ประกอบอาหารเปน็ ต้น โดยทั่วไปได้มาจากน้าทะเล,เกลอื สมทุ ร ก. คลกุ , เคล้า. สัน. หาก, ถ้า, แม,้ เผอื่ ว่า, กล้งิ

ห น้ า | ๓๖ ภำษำกลำง ภำษำถ่ินตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย เกล่ือน ผน่ั ,ผัน่ หาย ว. เกลอ่ื นกลาด, กระจดั กระจาย เชน่ เม่ือคราวที่ เกลื้อน เกล^ื อน ลมพัดแรง ดอกมงั คดุ สีม่วงชมพูทิ้งกลบี เกลือ่ นบน เกวียน เกวียน ลานทรายขาวโพลน เกา ค้วน น. โรคผิวหนัง เกา่ กา๊ ว เกา้ ก^าว น. ยานชนิดหนง่ึ มี ๒ ล้อ เทยี มดว้ ยววั หรอื ควาย; เก้าอี้ ก๊าวเอ๊ ชอ่ื มาตราตวง ๘๐ สดั หรอื ๑๐๐ ถัง เป็น ๑ เกนิ เกิน เกวียน เกี่ยว เกี๊ยว ก. เอาเล็บหรือส่ิงที่มีลกั ษณะคลา้ ยเลบ็ ครดู ผวิ หนัง เพือ่ ใหห้ ายคัน เกือก เกอ๊ื ก เกอื บ แข,่ แฉ็ด,ช้าบ ว. กอ่ น, แก่; โบราณ, ไมใ่ หม่ - เกือบจะถงึ - แขจ่ ที ้งึ น. ชื่อการนบั ระหวา่ ง ๘ กับ ๑๐; ช่ือของเดือนทาง - เกือบไป - แขแ่ ล้ว จันทรคติ เรยี กวา่ เดอื น ๙ อยใู่ นราวเดอื นสงิ หาคม แก แก๊ แก่ แก๊ น. ทส่ี าหรับนง่ั มีขาและพนักพงิ มกั ยกยา้ ยไปมาได้ แกง แก๋ง แกน่ แกน๊ ว. พ้น, เลย, คาน้ใี ชแ้ กล่ กั ษณะที่มีมากกวา่ หรอื ย่ิง กวา่ กาหนด เชน่ เกินขนาดเกินฐานะ เกินเวลา เกนิ สมควร ก. อาการที่ส่งิ งอเป็นขอเกาะตดิ หรือเหนีย่ วไว้ เช่น ทอดสมอให้เกย่ี วแง่หนิ ไว้, เอาของทม่ี ลี ักษณะ เชน่ นนั้ เกาะติดหรือเหนยี่ วไว้ เชน่ เอาขอเก่ียว, ตดิ ต่อผกู พนั , แตะต้อง, ยุ่งเก่ยี ว, ข้องแวะ, เชน่ เรื่องนอี้ ันตรายมากอยา่ เอาตวั เขา้ ไปเกีย่ วเลย , เก่ยี วข้อง ก็วา่ ; อาการทีส่ งิ่ แหลมคมขดู ขดี สะกดิ เป็นต้น เชน่ หนามเกยี่ ว ตะปูเก่ียว, ตดั ดว้ ยเคียว เชน่ เกย่ี วขา้ ว เก่ียวหญา้ เกี่ยวแฝก; โดยปริยาย หมายความวา่ เน่ือง เช่น เก่ียวดว้ ยเรื่องน้ี น. รองเท้า, ลักษณนามว่า คู่ หรอื ข้าง ว. แทบ, เจียน, จวน, หวดิ , เกือบจะ เชน่ ข้นั ตอน ระหว่างกระบวนการแปลจะมีการแก้ไขแทรกอยู่ ดว้ ยเกือบทุกขนั้ ตอน ส. เอง็ , เจ้า, เขา, ทา่ น ว. มอี ายมุ าก เชน่ แก่ไปทุกวัน ไม้แก่ เด็กคนน้ีแก่ กวา่ เด็กคนนน้ั , อย่ใู นวยั ชรา เช่น คนแก่ หญงิ แก่ น. กบั ข้าวประเภททเ่ี ป็นนา้ มีช่อื ตา่ ง ๆ ตามวธิ ี ปรงุ และเคร่ืองปรุง เชน่ แกงจืด แกงเผ็ดแกงส้ม. น. เนื้อไมแ้ ขง็ และมสี เี ข้ม อยู่ถดั กระพเ้ี ขา้ ไป, เนอื้ แท้, หลักสาคญั เชน่ แกน่ พระศาสนา. ว. ดอ้ื รัน้ ซุกซนไม่เกรงกลวั ใคร

ห น้ า | ๓๗ ภำษำกลำง ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย แก้ม แก็ม แกล้ง แกล^ง น. บริเวณหน้าทั้ง ๒ ข้างถัดตาลงมา แกลบ แกลบ๊ แกลม้ แก^ลม ก. แสรง้ , จงใจทาใหผ้ ดิ ความคาดหมาย, ไม่ทาจริง, ทาใหข้ ดั กบั ความประสงค์ แกว แกว๋ แก้ว แก^ว น. เปลือกข้าว แกว้ น้า จอ๊ ก,จอ๊ กแก^ว น. ของกนิ กับเหล้า, กบั แกลม้ กว็ า่ . ว. ไปด้วยกัน, แกวง่ แกวง๊ ควบคกู่ นั ไป, แกมกัน, (ใช้แก่กิรยิ ากิน) เช่น กิน แกลม้ เหล้า แกะ แกะ๊ น. มันชนิดหน่ึงมรี สหวานเอียนๆ ใชก้ ินดบิ ๆ โกง โก๋ง โก้งโค้ง โกงโคง่ น. ต้นแก้ว, นกแก้ว, หินแขง็ ใส แลลอดเข้าไปขา้ ง โกฏิ โกด๊ ในได้ ได้แก่จาพวกเพชรพลอย, ของที่ทาเทียมให้มี โกน โกน๋ ลักษณะเช่นน้ัน, ของท่ีไดจ้ ากการใช้ทรายขาวเป็น สว่ นประกอบสาคญั มาหลอมกบั สารทมี่ ีสมบัติเป็น โกย โกย๋ ดา่ งเชน่ ออกไซด์ของโซเดียม ออกไซดข์ อง แคลเซยี ม แล้วมลี ักษณะเชน่ นั้น โกรก โกรก๊ น. ถว้ ยน้า ก. อาการที่เคล่ือนไหวไปทางโนน้ ทีทางนท้ี โี ดยที่ โคนหรือต้นของสงิ่ นัน้ ติดอยกู่ ับสิ่งอื่น, โดยปริยาย หมายความว่า ไม่อยู่กับท่ี, ไม่อยู่ในแนว, เชน่ จติ แกว่ง น. ช่อื สัตวเ์ คย้ี วเอ้อื งลกั ษณะรูปร่างคลา้ ยแพะแต่มี ขนเป็นปยุ หนา ใช้ทาเป็นเครอ่ื งนุง่ หม่ ได.้ ก. สลกั , แคะออก. ว. คด, ไมต่ รง. ก. คดิ คด, ฉ้อ ก. โกง่ กน้ ให้โด่ง, โน้มตัวลงยกก้นให้สูงขน้ึ , กง้ โค้ง ก็วา่ . น. มาตรานับของไทย เท่ากับ ๑๐ ล้าน ก. ขูดผมหรือขนด้วยคมมดี . น. ชอ่ื วันท่ีพระสงฆ์ใน เมืองไทยปลงผม ตรงกับวันข้ึน ๑๔ คา่ หรือ แรม ๑๔ ค่า ถ้าเปน็ เดือนขาดกเ็ ป็นแรม ๑๓ คา่ เรยี กว่า วนั โกน, คู่กับ วนั พระ; (ปาก) ชอื่ วนั ก่อนวันพระวันหน่งึ ไดแ้ ก่วันข้ึน ๗ ค่า ขึน้ ๑๔ คา่ แรม ๗ คา่ และแรม ๑๔ ค่า ถา้ เปน็ เดอื น ขาดก็แรม ๑๓ ค่า เรยี กวา่ วนั โกน ก. อาการที่ใชม้ อื หรือสงิ่ อ่ืนกวาดของใหเ้ ขา้ มาใน ภาชนะเชน่ โกยข้าว เป็นต้น, พยุ้ เอาเขา้ มา; วง่ิ หนี ไปอย่างรวดเรว็ ก. เทใหไ้ หลเร่อื ยไปยงั ท่หี มาย เชน่ โกรกนา้ , เทให้ ไหลลงไป เช่น เอานา้ โกรกหัว; เล่อื ยกระดานไป ตามยาวหรอื ตามแนวทีก่ าหนด เชน่ โกรกไม้; พัด อยเู่ รอ่ื ย ๆ เช่น ลมโกรก

ห น้ า | ๓๘ ภำษำกลำง ภำษำถิน่ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย โกรธ คึ^ง ก. การขุน่ เคืองใจอย่างแรงหรือไม่พอใจอย่าง รุนแรง โกหก คหี ็อก ก. ปด, พูดเท็จ, พูดปด, จงใจกลา่ วคาพดู ไม่จริง ใกล้ แข่ เคียง, ชดิ , ใกล้เคียง, ประชดิ ไก่ กา๊ ย น. สตั วป์ ีกจาพวกนกตวั เทา่ เป็ด มปี ีกคลา้ ยนก มี หลายชนิด เชน่ ไก่อู ไก่แจ้ ไก่ตอ๊ ก ไก่งวง ไกล ไกล๋ ว. หา่ ง, ยืดยาว, นาน ไกว แกวง๊ ก. ทาสง่ิ ท่หี อ้ ยอยู่ใหแ้ กว่งไปมา

ห น้ า | ๓๙ ข ภำษำถน่ิ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย ภำษำกลำง ค^อ ข ขจัด คื^อจัด ก. กาจัด, ขบั ไล่ ขจาย ขจยุ กือจ๋าย,คื^อจ๋าย ก. กระจาย, ขจรขจาย ขด ขน้ กือจยุ ,คื^อจุ๋ย ก. กระจุย ขนม ขอ็ ด น. มว้ น ก. วง,ขด ขนมจนี ค^อน(เสยี งส้ัน) ว. เข้มขน้ เช่น การหลนหมายถงึ การทาอาหารให้ ขนมปัง สุกด้วยการใชก้ ะทขิ น้ ๆ ขนมฝักบวั คื^อหนม น. ของหวาน, อาหารหวาน ขนมใส่ไส้ คื^อหนมจีน น. อาหารชนิดหนง่ึ ทาดว้ ยแปง้ เป็นเส้นกลมๆ ขนาด คล้ายเสน้ หม่ี กนิ กบั นา้ ยาน้าพรกิ ขนาน ขนาบ คื^อหนมป๋ัง น. อาหารชนดิ หนงึ่ ทาดว้ ยแป้งผสมเชอ้ื เรยี กวา่ ขนา ขนมปัง ขนุน คื^อหนมจ๋น น. อาหารชนดิ หนึง่ มลี ักษณะเปน็ วงกลม เป็นการ ขบ ขบถ นาแป้ง แป้งข้าวเจา้ น้าตาลปบี๊ หรอื นา้ ตาล ขบวน ข่ม มะพรา้ วและกะทิ ผสมให้เข้ากนั ข่มเหง ขมวด คื^อหนมฮ้อ น. เป็นขนมไทยที่ใช้ในพธิ ขี ันหมากในสมยั โบราณ ลักษณะห่อดว้ ยใบตอง เป็นทรงสงู ขนม ใส่ไส้มีกลิ่นหอมและหวานจากตวั ไส้ รสเค็มมันดว้ ย หน้ากะทิท่สี ดใหม่ หน้าขน้ พอดี ไมเ่ ละ คื^อนา้ ด น. ลักษณะของรูปที่กาหนดสังเกตไดว้ า่ ใหญ่ เลก็ สัน้ ยาว หนัก หรือ เบา เทา่ นั้นเทา่ นี้ เช่น ขนาด ใหญ่ ขนาดยาว ขนาด 2 X 1 เมตร คื^อหนาน ก. เรยี งค่กู ันไป, เคยี งคู่ กอื น้าบ,คื^อน้าบ ก. ประกบเข้าให้แนน่ , ประชิดเขา้ ไปทัง้ 2 ขา้ ง, ตดิ ชดิ กนั อยทู่ ั้ง 2 ขา้ ง คื^อหนา,ซื^อหนา น. กระท่อม คื^อหนนุ น. ต้นไม้ชนดิ หน่งึ ผลเปน็ หนามๆ เนอื้ ในเป็นยวง รสหวาน เน้ือไม้สเี หลอื ง ขอ็ บ ก. กัด, ขบกดั กอื บ็อด,คื^อบ็อด น. กบฎ, ผทู้ รยศ ก.ทรยศ คื^อบว๋ น น. แถว, แนว, กระบวน ค้ม ก. บงั คบั ค้มเฮ้ง ก. กดข่ี กือม้วด,คื^อม้วด ก. บิดมว้ นแล้วขอดใหเ้ ป็นปม

ห น้ า | ๔๐ ภำษำกลำง ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย ขมวน คื^อหมวน ว. ผุ ยยุ่ ใช้แกเ่ นอ้ื แห้งปลาแหง้ ทเ่ี ก็บไว้นาน ๆ ซง่ึ ขมอง ขม่อม เกดิ จากเชื้อราหรอื ตัวขมวนกัดกิน เช่น ปลาเปน็ ขมับ ขมวน เนื้อเปน็ ขมวน. ขมา คื^อหมอง,ซื^อหมอง น. สมอง ขมน้ิ กือม้อม น. กระหม่อม, หวั , ศรษี ะ ขมิบ กอื หมบั ,คื^อหมับ น. อวยั วะทสี่ ดุ หางคิว้ ที่เป็นรอยบุบลงไปเหนือ ขมงึ ขมุกขมวั กระดูกแก้มทงั้ ๒ ข้าง ขมบุ ขมบิ คื^อหมา,ซื^อหมา ก. กล่าวคาขอโทษ เชน่ ไปขมาศพ. น. การยกโทษ ขโมย ขย่ม ใหเ้ มื่ออกี ฝ่ายหน่ึงยอมรบั ผดิ เชน่ ขอขมา ขยอก คื^อมิน น. วา่ นพวกหน่งึ ใช้หัวประกอบอาหาร ย้อมผ้า ทา ขย้อน ยา หรือทาเป็นผงทาตัว; ช่ือนกชนดิ หนง่ึ ตวั ขนาด ขยะ ขยกั เทา่ นกเอี้ยง ขยัน ขยับ กอื หมบิ ,คื^อหมิบ ก. กระหมบิ , บบี เขา้ หรือเม้มเขา้ ซ้า ๆ กัน (มักใช้ ขยาด แก่ปากช่องทวารหนกั และทวารเบา) ขยาย คื^อหมึง,ทาหนา่ ขงึ ก. เพ่ง, เล็ง, (ขมงึ ตา) หมดื มวั ๆ ว. มดื ๆ มวั ๆ, โพลเ้ พล้, จวนค่า, จวนมืด คื^อหมบุ คื^อหมิบ ก. อาการทรี่ ิมฝปี ากเผยอขนึ้ และหุบลงโดยเร็ว, อาการของปากท่ีพูดอย่างไม่ออกเสยี ง เชน่ ทาปาก ขมบุ ขมบิ สวดมนตข์ มุบขมิบ ลั่ก น. ผลู้ ักทรัพย์. ก. ลัก คื^อยม้ ,ซื^อง้ม ก. ใช้น้าหนักตัวกดลง แลว้ ยกตวั ขนึ้ แลว้ กลับกดลง อกี ซา้ ๆ กนั คื^อย้อก ก. อาการที่ค่อย ๆ กลนื อาหารท่ีคบั คอลงไปทลี ะ น้อย กระเดือกเขา้ ไป. กือท่อนจหี ราก ก. ทาอาการจะอว้ ก คือย๊ะ น. หยากเยื่อ, มลู ฝอย คื^อหยัก ก. ชกั ไว้, แบ่งไว้, ทาใหเ้ หลอื ไว้ คื^อหยนั ,จดั ก. หมัน่ , เพียร, เข้าที, แข็งขัน กือหยับ,คื^อหยับ ก. เคล่ือนไหวหรือทาท่าวา่ จะทาอยา่ งใดอย่างหน่ึง เช่น ขยบั ปากจะพูดขยับปีกจะบิน สาคร่าม ก. ครัน่ คร้าม, กลวั เพราะเคยรู้ฤทธม์ิ าแลว้ , เขด็ เพราะเคยได้รับผลรา้ ยมาแล้ว คื^อหยาย ก. อธิบาย, ชแ้ี จง, เช่น ขยายความ, แผ่กวา้ ง ออกไป เช่น ขยายตวั , เปิดเผย เช่น ขยายความลบั , คลายให้หายแนน่ เชน่ ขยายเข็มขัดใหห้ ลวม, คลี่, แย้ม, เชน่ ดอกไม้ขยายกลบี , ทาใหก้ ว้างใหญ่ ออกไป เช่น ขยายห้อง ขยายรูป

ห น้ า | ๔๑ ภำษำกลำง ภำษำถ่ินตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย ขยา ขยา้ คื^อหยา ก. บบี , คั้น, นวด, คลุก ขยิบ ยา่ ก. เอาปากงับกัดอย่างแรง ขยี้ ขยุกขยิก กือหยิบ ก. ทาหลบั ตาแล้วลมื โดยเรว็ ครั้งหนึ่ง โดยเปน็ ขยุ้ม อาณัติสัญญาณให้ผู้อื่นกระทาหรือเว้นกระทาอย่าง ขรม ขรุขระ ใดอยา่ งหนงึ่ ขลาด ขลุ่ย ข่ือยี ก. บ้ี, บดเพื่อใหแ้ หลก ขวด กือหยกุ กือหยกิ ก. ไม่อย่นู ิ่ง ๆ ขยบั ไปขยับมา (ใชใ้ นอาการทแี่ สดง ขวดโหล ถึงความไมเ่ รียบร้อย) เช่น น่งั ขยุกขยิก ขว่ น ขวบ ชอื่ ยมุ ก. หยบิ สิง่ ของด้วยนวิ้ มือทง้ั ๕ นิว้ รวมเขา้ ขวับ โช้หาย ว. อึกทึก, เอด็ อึง ขวาก ครุคระ,ม^ายเหรียบ ว. ไมเ่ รยี บ, เปน็ ปุม่ ป่ํา, เช่น ถนนหนทางขรขุ ระ ขว้าง ขวาน คล้าด,คีคล้าด ว. กลัว, ไม่กล้า ขวาน คลยุ้ น. ชือ่ เครอื่ งดนตรชี นิดหนงึ่ สาหรับเป่าใหเ้ ป็นเพลง ขอ้ มกั ทาด้วยไมร้ วกเจาะรตู ามยาวมรี ะยะห่างพอควร ข้อง สาหรับเอานิ้วปดิ และเปิดให้เป็นเพลงเมื่อเปา่ ค้วด น. ภาชนะกลวงใน ทรงสงู ส่วนคอถึงปากแคบ มี รูปต่าง ๆ กนั โดยมากทาดว้ ยแก้วและใชใ้ ส่นา้ ม^อลอ้ น. ขวดปากกวา้ งมีฝา คว้ น ก. ขดู ด้วยเลบ็ , ขดู หรือขดี ด้วยของแหลม ค้วบ น. ป,ี รอบปี, ลักษณนามใชแ้ ก่อายุของเดก็ ประมาณ ๑๒ ปีลงมา เช่น เด็กอายุ ๕ ขวบ, เวลา ท่ีนับมาบรรจบรอบ เชน่ ชนขวบ ค-หวบั ว. เสียงหวดไม้เรียว; เร็ว, ทันที คว้าก น. ไมห้ รือเหลก็ เป็นตน้ มปี ลายแหลม สาหรบั ปกั หรือโปรยเพอ่ื ดักหรอื ใหต้ าผู้ผ่านเขา้ ไป ซด่ั ก. ท้ิงออกไปอย่างแรง, ปา กือป๊ะ น. เครอ่ื งตดั หรือฟนั ทาด้วยเหล็ก มีชอื่ เรยี กหลาย อย่างตามลักษณะท่ีใช้ เชน่ ขวานปุลู ใช้ตัดและ ถาก, ขวานหมู ใชต้ ัด ถาก ฟัน, ขวานผา่ ฟืน ใชต้ ดั ผ่า โหลกขวาน น. ขวานขนาดเล็ก หนา้ ประมาณนิว้ ครง่ึ ใชเ้ หน็บ หลังเปน็ อาวธุ . ค^อ น. เรื่องความตอนหน่ึง; ส่วนตรงที่ขัน้ ปล้องไม้; หัวตอ่ กระดูก เช่น ข้อมอื ขอ้ เทา้ ขอ้ เข่า ค^อง น. ภาชนะสานชนิดหนง่ึ สาหรบั ใสป่ ลา. ก. เกี่ยว, ตดิ อย่.ู ขอ้ งขดั ก. ตดิ ขัด, ขดั สน. ขอ้ งใจ ก. ตดิ ใจ สงสยั . ข้องแวะ ก. ผกู พัน, เอาใจใส่, นาพา

ห น้ า | ๔๒ ภำษำกลำง ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย ขอด ขอน ค้อด ก. ขมวดเปน็ ปม เช่น ขอดเชือก; งวด, แห้ง, จวนหมด, ขอบ เชน่ นา้ ขอดคลอง ขา้ วขอดหม้อ; ทาให้หมดไป ข่อย ลาตงั น. ท่อนไม้ใหญ่ทั้งต้นท่โี ค่นลงแลว้ ทงิ้ ไว้ ขะแยะ คอ้ บ น. รมิ รอบ เช่น ขอบโต๊ะ, รมิ ที่ยกให้สูงขนึ้ โดยรอบ ขันหมาก เชน่ ขอบสระ ขอบถนน. ขอบ ๒ : ก. ทดแทน, ขน้ั ข้ัว ตอบ, รบั ขา ขา่ คอ้ ย น. ต้นไมข้ นาดย่อมชนิดหนง่ึ ใบคายๆ เปลือกใช้ ข้า ทาปอหรือกระดาษ ขาก ขอื่ แหยะ ก. ตาเบา ๆ ตาแซะ ๆ ขา่ ง ขา้ ง - ข่อื แหยะลง - อาการวางส่งิ ของลงแรงๆแบบประชดด้วยความ ขาม - ขื่อแหยะทา้ ย ไมพ่ อใจ - การลืน่ ล้มไปข้างหลงั แบบ “ก้นจ้าเบ้า” ขันม้าก น. ขันใสห่ มากพลเู ป็นต้นซง่ึ เชญิ ไปพร้อมกบั ของ อ่นื ๆ ในพิธีหมั้นหรือแต่งงาน เป็นเครอื่ งคานบั ผู้ปกครองฝ่ายหญงิ คั^น น. ชนั้ ที่ทาลดหลนั่ กันเป็นลาดบั เชน่ ขน้ั บนั ได; ลาดับ, ตอน, เช่น ในข้ันนี้ คั^ว น. กา้ นทต่ี ิดกบั ผลไม้; ตน้ เคา้ ; สว่ นสุดทางเหนือ และใต้ของโลก เรียก ขวั้ โลกเหนอื และขัว้ โลกใต้ จ๋า ว. คาขานรับของผู้หญิง. คา้ น. คนปา่ จาพวกหนงึ่ อยู่ในตระกูลมอญ-เขมร เชน่ ข่าอัตตะปือ ข่าตองเหลือง และอีกเผ่าอยู่ใน ตระกูลชวา-มลายู ไดแ้ ก่ ขา่ ระแด และขา่ จะราย; ไม้ท่ีทาเป็นร้านคร่อมกองไฟใช้ป้งิ ปลา; ต้นไม้ จาพวกขงิ ใช้ทายาและปรุงอาหาร; ต้นไม้ขนาด เขอ่ื ง เนื้อไมม้ ีกล่นิ หอม ค^า น. บา่ วไพร่, คนรับใช.้ ข้า ๒ : ส. คาใชแ้ ทนตวั ผู้พดู พูดกับผู้ที่เสมอกันอยา่ งเป็นกันเองหรือผ้ใู หญ่พดู กบั ผู้นอ้ ย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑ ค้าก ก. อาการที่ทาใหเ้ สมหะเปน็ ต้นในลาคอหลุดออก มกั มีเสียงดัง โหลกค้าง น. ของเลน่ อย่างหนึ่งเปน็ ลูกกลมมีเดอื ย ใช้ปน่ั ให้ หมุนดว้ ยมือหรือด้วยเชอื กลกู ขา่ ง ค^าง น. เบ้อื ง เช่น ข้างหน้า ขา้ งหลงั ; สว่ น เช่น ขา้ ง หวั ขา้ งท้าย; ฝ่าย เชน่ ข้างไหน ขา้ งนี้; สีข้าง เชน่ เอาข้างเขา้ ถ.ู บ. ใกล้, ริม, เช่น ตน้ ฝรัง่ ข้างร้ัว คร่าม ก. ครา้ ม, เกรง, มกั ใชเ้ ขา้ คกู่ บั คา เกรง เปน็ เกรงขาม

ห น้ า | ๔๓ ภำษำกลำง ภำษำถ่นิ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย ข้าม ค^าม ก. ผา่ นไปข้างบน, กา้ วเกินลาดับไป เช่น ขา้ มชนั้ ; ขาว ลว่ งเกินไมใ่ ห้ความสาคัญ เชน่ ข้ามหนา้ ขา้ มหวั ขา่ ว ขาว น. สชี นิดหน่ึงเหมือนสาล.ี ว. มสี อี ย่างสาลี, มี ขา้ ว - กนิ ข้าว หมายความวา่ แจม่ แจ้ง, สะอาดบริสุทธ์ิ, ปราศจาก - จานข้าว ขา้ วเกรียบวา่ ว มลทนิ ขา้ วตงั คา้ ว น. คาบอกเลา่ เร่ืองราวซง่ึ โดยปรกติมกั เป็นเรื่องเกิด ขา้ วตอก ใหมห่ รือเปน็ ท่ีสนใจ, คาบอกกลา่ ว, คาเล่าลือ ขา้ วโพด ค^าว,ข่าว น. พชื ที่ใชเ้ มลด็ เปน็ อาหารท่ัวไป ข้าวเมา่ - กินข้าว ข้าวสาร - ชามข่าว ข้าวเหนยี ว คือหนมกอื่ ดัง น. ของกินทาด้วยแป้งขา้ วเจา้ หรอื แป้งข้าวเหนยี ว ขา้ วเหนยี ว ขา้ วหมาก เป็นแผน่ ตากใหแ้ ห้ง แล้วปง้ิ หรอื ทอด มหี ลายชนิด ขิง เช่น ข้าวเกรยี บวา่ ว ขี่ กือดงั ค^าว น. ขา้ วสกุ เป็นแผ่นๆ ทตี่ ิดเกรียมอยตู่ ามก้นหม้อ ข่หี ลงั ข้ี หรือก้นกระทะ กอื ต๊อก น. ข้าวเปลอื กท่คี วั่ ให้เมล็ดแตกแล้วกนิ กับนา้ กะทิ หรือทาขนมอ่ืนๆ หร่ือคง น. ชอื่ ไมล้ ้มลกุ ชนดิ Zea mays L. ในวงศ์ Gramineae ลาตน้ สูงคลา้ ยอ้อยหรอื ข้าวฟา่ ง เมล็ด เรยี งชิดกนั แนน่ รอบซงั เปน็ ฝกั กลม ๆ ยาว ๆ มีกาบ หมุ้ หลายช้นั คื^อม^าว น. ข้าวเปลอื กทีค่ ่วั แล้วตาให้แบน เรยี กว่า ตา ขา้ วเมา่ กือสาร น. ขา้ ว ทส่ี ซี อ้ มเอาเปลือกและราออกหมดแล้ว. 2. น. ไมเ้ ถาชนิดหนง่ึ ดอกรบั ประทานได้ กอื สารคื^อเหนียว น. ข้าวเหนียวท่ียงั ไม่ไดห้ ุง คื^อเหนยี ว น. ขา้ วเหนยี วทหี่ งุ แลว้ หรอ่ื ฆฮี น. ขนมอยา่ งหนึง่ ทาด้วยขา้ วเหนยี วน่ึงแลว้ หมกั กับแปง้ เช้อื ขีง น. พืชพวกว่าน รสเผ็ด ใช้ประกอบกับเครื่อง อาหารและทายา เค้ ก. น่ังเอาขาครอ่ ม, นั่งไปบนรถหรอื สตั ว์พาหนะ โผ่ ก. นั่งเอาขาคร่อมไปบนแผ่นหลงั คี^ ก. กิรยิ าที่ถา่ ยกากอาหารออกทางทวารหนกั , ถ่ายอุจจาระ ,น. กากอาหารท่รี ่างกายไมต่ อ้ งการแลว้ ขบั ถา่ ยออกทาง ทวารหนกั , อุจจาระ, ว. ใช้ประกอบหนา้ คาที่แสดง ความหมายในทางทีไ่ ม่ดี เช่น ขเี้ กยี จ ขี้เหนียว

ห น้ า | ๔๔ ภำษำกลำง ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย ขี้กา ข้ีเกยี จ คี^กา๋ น. ไม้เถาหลายชนิดในวงศ์ฟกั แฟงแตงกวา ผลกลม ขท้ี ูด ขผ้ี ้งึ สกุ สแี ดง เมลด็ มีเย่ือเมือกๆ ขี้มูก ขี้หนอน ครา่ น,ค^ี ครา่ น ก. เกยี จครา้ น, สันหลังยาว ข้เี หร่ บอ่ื ดนั น. ชือ่ โรคเรอื้ นชนดิ ทาให้มือกุดเท้ากุด ขี้เหลก็ คี^พึ^ง น. รงั ผง้ึ ท่เี อามาหุงใช้ในการต่าง ๆ เช่น ทาเทียน ขีด ทาสผี งึ้ ขึ้ง ขึ้น คี^หมกุ น. น้าเมอื กท่ีไหลออกทางจมูก ขื่น คี^หนอน น. ตน้ ไมข้ นาดกลางถึงขนาดสงู ใหญ่ชนดิ หนงึ่ , ข่อื ขุ่น ตน้ ไม้ชนดิ หนง่ึ ผลเป็นหนามคล้ายผลก่อหรือ ขู่ เกาลดั ซอื งา ว. ไม่สวย, ไม่งาม, บางทใี ช้เข้าคูก่ บั คา ข้ีริ้ว เป็น ข้ี รวิ้ ข้ีเหร่ คี^แหล็ก น. ตน้ ไมข้ นาดกลางถึงขนาดใหญ่ ไมม้ สี นี ้าตาล แก่ แข็ง เหนียว และหนักมาก ใช้ทาเสาเรอื น รอด ตง เครอื่ งเรือน ด้ามเครอ่ื งมือ ฯลฯ ใบออ่ น และดอก แกงรับประทานได้ คด้ี ก. ใชข้ องแหลมหรือมีดเป็นต้นทาใหเ้ ปน็ เส้นหรือ รอยยาว. น. แนวเสน้ ; ระดบั เชน่ เกนิ ขดี , ขดี ข้นั ก็ว่า; ลกั ษณนามเรยี กส่งิ ท่ีเป็นเสน้ หรือรอยยาว ปรากฏอยบู่ นพืน้ สงิ่ ใดส่ิงหน่งึ เช่น มีรอย ๓ ขีด; (ปาก) เรียกเคร่ืองหมายแสดงระดับชน้ั ของ ขา้ ราชการพลเรือน เชน่ ข้าราชการช้ันตรที ี่บ่ามีขีด ใหญ่ ๑ ขีด; เรียกนา้ หนกั ๑ ใน ๑๐ ของกิโลกรมั วา่ ขีดหนง่ึ คึ^ง ก. แคน้ , เคือง, โกรธ, มกั ใช้เข้าคู่กบั คาอ่นื เชน่ โกรธขงึ้ ข้ึงโกรธ ข้ึงเคียด คึ^น น. ขา้ งขน้ึ เช่น ขึ้น ๑ ค่า ข้นึ ๒ คา่ . ก. นบั ถือ; สู่ สานัก; เคล่ือนไปข้างบน, ตรงกนั ขา้ มกับลง; เนา่ พอง เชน่ ศพขนึ้ ; กง่ เช่น ขึน้ ธนู; ขงึ เชน่ ข้นึ กลอง; เพม่ิ ขึน้ เช่น ขึน้ ราคา; เปล่งขาน เช่นขน้ึ เสยี ง; ต้งั ตน้ เชน่ ขน้ึ บรรทัดใหม่; ทาใหเ้ ป็น รูปร่าง เช่น ขึ้นรูปส่ิงของ; บรรจุ เชน่ ขนึ้ บญั ชี ครนื้ ว. รสฝาดเฝื่อนชวนให้คล่นื ไส้ ไมช่ วนกนิ เคอ้ น. ช่อื ไมเ้ ครื่องบนเรือน สาหรับยดึ ปลายเสา ๒ ขา้ งตามด้านขวาง; เครอ่ื งจองจานกั โทษ คุ้น ว. มีลกั ษณะมัว ไมใ่ ส ไม่ชัดเจน คู้ ก. ตวาด, คาราม, ทาให้กลวั

ห น้ า | ๔๕ ภำษำกลำง ภำษำถน่ิ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย เขก เข่ง เคก,เขาะ ก. โขก, งอน้วิ มือเขา้ แล้วหงายมอื เคาะลงไป เข็ด เค^ง,กอื ฉะ น. ภาชนะสานอยา่ งหน่ึงอย่ใู นพวกตะกร้า; ช่ือ เขต ขนมของจนี อย่างหนึ่งทบ่ี รรจุลงในเขง่ แลว้ นึ่งให้สุก เข็น เป็นขนมทีใ่ ห้กันในวนั สารทจีน หรอื อยา่ งทเี่ รียกกนั เข็มขดั เข้ม ว่า สารทขนมเข่ง เขมง็ เขม่น แขด็ ,ปรี๊ น. ดา้ ยหรือไหมหลายๆ ไจรวมกัน เรยี กวา่ เขด็ เขมร หนงึ่ . ก. คร้าม, กลวั , ขยาด, เสยี วแสยง, ไมก่ ลา้ ทา เขมา่ เขมือบ อกี เขยก เค้ด น. แดนทีก่ าหนดขดี ค่ันไว้ เช่น เขตปา่ เขตบ้าน, เขยง่ เวลาทีก่ าหนดขดี คน่ั ไว้ เชน่ หมดเขตวนั ท่ี ๑๕. รนุ ก. ดันส่ิงท่ตี ดิ ขัดไม่อาจเคลื่อนไปได้โดยปรกตใิ ห้ เคลอื่ นไป เช่น เขน็ เรือ เข็นเกวยี น, ดันใหเ้ คลอ่ื นที่ ไป เช่น เขน็ รถ, ใช้เกวียนเปน็ ต้นบรรทกุ ไป เช่น เขน็ ขา้ ว เขน็ ไม้; โดยปริยายหมายความว่า เรง่ รัดใหด้ ี เช่น เดก็ คนนี้เข็นไมข่ ้นึ . เขน็ ครกขน้ึ เขา , เขน็ ครกขึ้นภูเขา (สา) ก. ทางานที่ยากลาบาก อย่างย่งิ โดยต้องใช้ความเพียรพยายามและอดทน อย่างมาก หรือบางทีก็เกินกาลังความสามารถหรือ สตปิ ญั ญาของตน สายเอ๋ว น. เครอื่ งคาดเอวชนิดหนึง่ , สายรัดเอว แค^ม(เสียงส้นั ) ว. แรงกลา้ เช่น รสเข้ม เหล้าเขม้ ; แก่, จัด, (มักใช้ แกส่ แี ละรส) เช่น สเี ข้ม คือแหมง็ ว. ตงึ เครียด; แน่น, แข็ง; อยา่ งแนว่ แน่ เชน่ จอ้ ง เขม็ง. ก. ทาใหต้ ึง เชน่ เขมง็ เกลียว กือแมน้ (เสยี งส้นั ) ก. อาการทีก่ ลา้ มเนือ้ กระตกุ เต้นเบา ๆ ขนึ้ เอง ตาม ความเชอ่ื โบราณถอื ว่าเปน็ นมิ ติ บอกเหตุร้ายหรอื ดไี ด้ คื^อเม๋น น. ชือ่ ประเทศและชนชาตทิ อ่ี ยู่ในเอเชยี ตะวันออก เฉยี งใต้ มีพรมแดนติดตอ่ กบั ไทย ลาว และ เวียดนาม มภี าษาพูดอยู่ในตระกลู มอญ-เขมร และ มอี ักษรของตนเองใช้ เรียกวา่ อกั ษรขอม. คื^อม้าว น. ละอองดาๆ ที่เกิดจากควนั ไฟหรือดนิ ปนื คื^อเม้ือบ ก. กลืนกินอย่างปลา, กินอย่างตะกละ กือเย้ก,คื^อเยก้ ก. อาการท่ีเดนิ หรือว่ิงดว้ ยปลายเทา้ อย่างคนเท้า เจ็บ, อาการทเี่ ดนิ หรือว่งิ เอียงไปข้างใดขา้ งหน่ึง อยา่ งคนขาพิการ กอื เยง้ ,คื^อเยง้ ก. ยืนด้วยปลายเท้า, พยงุ ตวั ให้สูงขน้ึ , กระโดดด้วย เท้าข้างเดียว

ห น้ า | ๔๖ ภำษำกลำง ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย เขยา่ คื^อเหยา,ซ้ัน เขยบิ กือถ็อด,คื^อหยับ ก. อาการที่จับสง่ิ ใดส่ันหรอื ยกข้นึ ยกลงเร็ว ๆ เพื่อใหส้ ่งิ นัน้ เขยื้อน เขลอ่ื น,เหลอ่ื น กระเทอื นหรือเคล่ือนไหว เช่น เขยา่ ตัวเพ่ือให้ต่นื เขย่า เขา เค้า (เสียงสน้ั ) ขวดเพอ่ื ใหย้ าระคนกัน เขยา่ กิ่งไมเ้ พ่อื ใหล้ กู ไมห้ ลน่ , เขา่ ค้าว,หัวค้าว กระเทือน, ทาให้กระเทอื น, เชน่ รถเขย่า เขา้ ค^าว ก. ขยับเลื่อนไปเล็กน้อย เขา้ เคา้ ค^าวคา่ ว เข้าใจ โรฟ่ ัง,ค^าวใจ ก. ไหวตวั หรือเคลื่อนทีไ่ ปเล็กน้อย, ทาใหไ้ หวตัว เขย่ี เคีย้ หรอื ให้เคล่ือนที่ไปเลก็ นอ้ ย เขียง เคย้ี ง, กือดา๋ นเค้ยี ง น. สรรพนามบุรุษท่ี ๓ น. สว่ นที่ตอ่ ระหว่างขาส่วนบนกับขาส่วนลา่ ง สาหรับคขู้ าเขา้ และเหยยี ดขาออก เชน่ คกุ เขา่ ตี เขา่ ขน้ึ เขา่ ก. อาการที่เคล่ือนไปข้างในหรือทาให้เคลอื่ นไปข้าง ใน เช่น เขา้ บ้าน เข้าถา้ เอาหนังสือเข้าตู้; เคลอ่ื น มาสทู่ ่ี, มาถึง, เชน่ รถด่วนเข้า ๑๐ โมง; ใส่, บรรจุ, เช่น เขา้ หบี ; ประสม, แทรก, เช่น เข้ายาดา; รวม เช่น เข้าหุ้น เขา้ ทนุ ; รวมเปน็ พวก เชน่ เขา้ พรรค เขา้ แถวเขา้ ขา้ ง; ถูกกัน, ลงรอยกัน, ทาใหล้ ง รอยกัน, เหมาะเจาะ, เชน่ เสยี งเขา้ กัน สีเขา้ กนั เขา้ ไม้; เคลื่อนมาสู่ เชน่ พระศกุ ร์เข้า; สงิ เชน่ เจา้ เข้า ผเี ข้า; เรมิ่ เชน่ เข้าเรียน, เริม่ ทางาน เช่น โรงเรียนเข้า; เร่ิมอยใู่ นภาวะ เช่น เข้าโรงเรยี น เขา้ ทางาน. ว. ตรงข้ามกบั ออก เชน่ ทางเขา้ ขาเขา้ ; ใช้ประกอบคาอื่นแสดงความหมายเรง่ รัดหรอื เนน้ ความว่า มากขนึ้ เชน่ เรว็ เข้าคิดเข้า หนักเข้า ดกึ เข้า นานเขา้ . ก. เหมาะกับรูปร่าง เคา้ หน้า หรือ กริ ยิ าทา่ ทาง, เหมาะกับเรือ่ งราวหรือเหตุผล ก. ร้เู ร่อื ง, ร้คู วามหมาย ก. ใช้ไมห้ รือสง่ิ อื่น ๆ ทาให้สงิ่ ใดสง่ิ หนงึ่ เคล่ือนที่ไป เชน่ เขีย่ ฟตุ บอล เขี่ยสวะ; ค่อย ๆ สะกิดออก เชน่ เขยี่ ผง ท่ลี กู ตา เอาก้านพลเู ขย่ี ตา; สะกดิ เช่น เอานิ้วเข่ยี หลงั ; คุ้ย เข่ียให้ไฟกลับลกุ ขนึ้ อีก เชน่ เข่ียขไี้ ต้ เข่ยี ขี้เถา้ , เอาน้ิว เคาะหรอื ดีดบหุ รห่ี รือเอาบหุ รเี่ คาะท่สี ิง่ อ่ืนเพ่อื ใหข้ บ้ี หุ รี่ รว่ ง เรยี กวา่ เข่ยี บุหร;่ี ขีดไปขดี มาหรือปัดไปปดั มาเพ่ือให้ กระจายออก เช่น เขีย่ ดนิ เพือ่ หาของท่ีตกอยใู่ นดิน ไกเ่ ข่ยี ดินหาอาหาร; (ปาก) เขยี นหรอื วาดอย่างหวดั ๆ เช่น ชว่ ย เข่ีย ๆ ประวตั เิ รือ่ งนี้ใหห้ น่อยเถอะ ลายมือเปน็ ไก่เขย่ี ; ปดั ไปใหพ้ ้น เชน่ ถูกเขย่ี ออกไป น. ไมร้ องรับการสบั ห่นั มกั เป็นแผน่ กลม ๆ

ห น้ า | ๔๗ ภำษำกลำง ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย เขียด เขยี น เคี้ยด น. ชือ่ สัตวส์ เ่ี ทา้ สะเทนิ นา้ สะเทินบกในวงศ์ Ranidae เขี้ยว ซ่งึ เปน็ วงศเ์ ดยี วกบั กบแตม่ ักมขี นาดเลก็ กวา่ เข่ือง เขื่อน เคี้ยน ก. วาด, ขดี ใหเ้ ป็นตัวหนังสอื หรือเลข, ขดี ให้เปน็ แขก เสน้ หรอื รูปตา่ งๆ, แตง่ หนังสือ แข็ง เค^ี ยว น. ฟนั แหลมคมสาหรับฉีกเนื้อและอาหาร อยู่ แข่ง ระหว่างฟนั หน้ากับกราม แข้ง แขนง เคื้อง ว. คอ่ นข้างใหญ่, คอ่ นข้างโต แขม่ว แขยง เคือ้ น น. เครอ่ื งป้องกันไม่ใหด้ ินริมน้าพงั , ส่ิงทีส่ รา้ งขึน้ แขวก แขวะ ขวางก้ันลาน้า เพ่ือกักเก็บน้าไวใ้ ชป้ ระโยชนใ์ นทาง โขก ชลประทานเป็นต้น เช่น เขื่อนเจ้าพระยา โข่ง โขด แคก้ น. คนจาพวกหนงึ่ มีหลายชาติ; ผู้มาหา, ผมู้ าจาก โขยก ต่างบา้ น, ผมู้ าเยอื น; ชาว เชน่ ขอมแขก คือ ชาว เขมร; คนแปลกหนา้ ; ช่อื นกกะลงิ แขง ว. กระด้าง เช่น ล้นิ แข็ง; ไม่อ่อน, ไม่นม่ิ , เช่น เน้อื แขง็ ของแขง็ ; กลา้ เช่น แดดแขง็ ; ไม่ยอมง่าย ๆ, ไม่รู้สึกสงสาร, เชน่ ใจแข็ง; แรง เชน่ วนั แขง็ ชะตา แขง็ , เขม้ แข็ง, ทนทาน, เกง่ , เช่น ทางานแขง็ วง่ิ แข็ง; วา่ ยาก เชน่ เดก็ คนน้แี ข็ง; นิง่ ไม่ไหวติง, ไม่ กระดิกกระเดีย้ , เช่น ขาแข็ง ตัวแขง็ แค้ง,แขงกัน ก. ขนั สู้, หมายเอาชนะ, ประชนั กนั , ชิงเอาชนะกนั แข่ง น. สว่ นหนา้ ของขา ใตเ้ ข่าลงไปถงึ ข้อเท้า คื^อแหนง น. กงิ่ ไม้เล็กๆ ทอี่ อกจากลาต้น, เรยี กกิ่งไม้ไผ่ วา่ แขนงไผ.่ ก. เคลอื บแคลง กือแหมว่ ,คื^อแหม่ว ก. ผอ่ นลมหายใจให้ท้องยุบลง, บังคบั กล้ามเนื้อ ทอ้ งให้ทอ้ งยุบลง กอื แหยง,คื^อแหยง น. ชื่อปลาชนิดหนึ่ง มีหนวดยาวทีใ่ กล้ รจู มูก แคว้ก น. นกชนดิ หนงึ่ อยูต่ ามชายป่า หาปลากนิ ในเวลา กลางคนื เรยี กชื่อตามเสียงร้องของมัน แวะ้ ก. เจาะ, ทะลวง, คว้าน โค้ก ก. ควา่ ภาชนะเป็นตน้ แล้วเคาะลงทีส่ งิ่ ใดส่ิงหนึ่ง โดยแรง, กิรยิ าทคี่ วา่ หน้าลงแลว้ เอาหน้าผาก กระแทกพนื้ เปน็ ตน้ เชน่ เอาหนา้ ผากโขกพ้ืน โค้ง น. ชอ่ื หอยชนิดหนงึ่ โข้ด,ก^อนหีน น. ดินหรือหินทสี่ งู ขึน้ เปน็ โคกเปน็ เนิน, ดิน หนิ หรือทรายทเี่ ป็นจอมสงู ขน้ึ พ้นน้าบ้าง อย่ใู ตน้ า้ บา้ ง คื^อโหยง ก. กะโผลกกะเผลก, ว่งิ ไม่สม่าเสมอ, เดินหรือวง่ิ ดว้ ยอาการคลา้ ยกระโดด มักจะเป็นลักษณะของมา้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook